Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เอกสารประกอบการฝึกระบบเบรกรถแทรกเตอร์ ส่งพิมพ์

เอกสารประกอบการฝึกระบบเบรกรถแทรกเตอร์ ส่งพิมพ์

Description: เอกสารประกอบการฝึกระบบเบรกรถแทรกเตอร์ ส่งพิมพ์

Keywords: รถไถ,รถแทรกเตอร์,ซ่อม,วิธี,หาวิธีซ่อม,ข้อม,ูลซ่อม,จำรัส เจริญเขตต์

Search

Read the Text Version

เอกสารประกอบการฝึ ก ภาคความรู้และภาคทกั ษะ ระบบเบรก รถแทรกเตอร์การเกษตร จดั ทาโดย จารัส เจริญเขตต์ กล่มุ งานกาหนดมาตรฐานฝี มือแรงงาน สานักพฒั นามาตรฐานและทดสอบฝี มือแรงงาน กรมพฒั นาฝี มือแรงงาน กระทรวงแรงงาน 1 Hs3cmi

คานา การอา่ นเอกสารประกอบการฝึกทาใหผ้ รู้ ับการฝึกกา้ วสู่โลกแห่งการเรียนรู้ สาหรับผรู้ ับการฝึกควรหา ความรู้และเพมิ่ ทกั ษะฝีมือแรงาน ความรู้และทกั ษะ ผรู้ ับการฝึกไดฝ้ ึกมาน้นั เป็นเพียงส่วนหน่ึง ของการท่ีผรู้ ับการ ฝึกไดฝ้ ึกมา ที่ตอ้ งหาเพ่ิมเติมภายหลงั จากการฝึกจบมาแลว้ หรือกาลงั ฝึกอยกู่ ็ตาม เอกสารประกอบการฝึกเป็นส่วน หน่ึงของขมุ ปัญญาความรู้และทกั ษะ ซ่ึงใหค้ วามรู้ เพ่มิ เติมแก่ผรู้ ับการฝึกได้ เพอื่ ทาความเขา้ ใจและขอ้ คิดสาหรับ ผรู้ ับการฝึกที่ยงั ไม่เขา้ ใจ และท่ีตอ้ งการหาความชานาญเพมิ่ เติม สามารถหาอ่านจากเอกสารประกอบการฝึกน้ีได้ การจดั ทาเอกสารประกอบการฝึ ก จะเป็นประโยชน์ แก่บุคคลที่นามาใชแ้ ละเพอ่ื พฒั นาความรู้และทกั ษะใหไ้ ด้ มาตรฐานฝีมือแรงงานใหด้ ีข้ึน เอกสารประกอบการฝึกเล่มน้ี ใหท้ ้งั ภาคความรู้และภาคทกั ษะท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั รถแทรกเตอร์การเกษตร โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ระบบเบรก ซ่ึงมีส่วนประกอบต่างๆของระบบเบรก หลกั การทางานและทกั ษะการถอด ประกอบ การตรวจสอบ การปรับต้งั ตามคา่ กาหนด การแกไ้ ขปัญหาเบรกรถแทรกเตอร์การเกษตรได้ ตลอดจนถึงขอ้ มูล ต่างๆน้นั ส่ิงท่ีผูร้ ับการฝึก ตอ้ งคานึงถึงเสมอ ขณะเมื่อทาการฝึกภาคทกั ษะฝีมือ เพื่อหาความชานาญ ตอ้ งคิดถึงใน ส่ิงเหล่าน้ีเสมอ คือ 1.ความปลอดภยั ในการทางานดา้ นสถานที่ ดา้ นตวั รถแทรกเตอร์การเกษตร และดา้ นบุคคล 2.ควรหาความรู้และทกั ษะพ้ืนฐานในการฝึกภาคทกั ษะน้นั ๆ 3.ความถูกตอ้ งและความเรียบร้อยในการฝึกภาคทกั ษะ 4.วธิ ีการปฏิบตั ิงานซ่ึงจะตอ้ งเนน้ ถึงข้นั ตอน 5.การเลือกใชว้ สั ดุ เคร่ืองมือ ที่เหมาะสม ถูกตอ้ ง และประหยดั 6.ระยะเวลาที่ใชใ้ นการทางาน ควรมีการวางแผนในการเร่ิมงานและเสร็จสิ้นงานน้นั ๆ ที่ดี 7.ผลงานที่สาเร็จออกมาวา่ เป็ นงานอยา่ งไร มีความสมบูรณ์มากนอ้ ยเพยี งได ในปัจจุบนั การไดร้ ับความรู้และทกั ษะเกี่ยวกบั รถแทรกเตอร์การเกษตร มีนอ้ ยมาก ขา้ พเจา้ จึงไดจ้ ดั ทา เอกสารประกอบการฝึกน้ีออกมา ใหม้ ีรายละเอียดตา่ งๆเพ่ิมเติมมากข้ึน ซ่ึงไดน้ ามารวบรวมไว้ เพอ่ื เป็นเอกสาร ประกอบการฝึกอบรม และเป็นเอกสารประกอบการฝึกของผรู้ ับการฝึก หลกั สูตรฝึ กเตรียมเขา้ ทางาน ตลอดจน หลกั สูตรยกระดบั ฝีมือแรงงาน สาขาช่างกลการเกษตร เพ่ือเป็ นการฝึกเตรียมตวั ก่อนการทดสอบมาตรฐานฝีมือ แรงงานแห่งชาติ ต่อไป จดั ทาโดย จารัส เจริญเขตต์ งานเครื่องกล กลุ่มงานกาหนดมาตรฐานฝีมือแรงงาน สานกั พฒั นามาตรฐานและทดสอบฝีมือแรงงาน กรมพฒั นาฝี มือแรงงาน 2 Hs3cmi

สารบญั หนา้ 4 1.จุดประสงค์ เพ่ือใหผ้ รู้ ับการฝึกจะไดร้ ับ 2.ภาคความรู้ 5 เน้ือหา 6 20 1.1.หนา้ ที่ของระบบเบรกรถแทรกเตอร์การเกษตร 22 1.2.ชนิดของเบรก 24 1.3.คุณสมบตั ิของเบรกจานแบบแซ่ลงในน้ามนั 28 1.4.การลื่นของเบรกรถแทรกเตอร์การเกษตร 1.5.ระบบเบรกขณะขบั เคลื่อน 29 1.6.การเบรกขณะจอดรถแทรกเตอร์การเกษตร(เบรกมือ) 34 3.ภาคทกั ษะ 39 เน้ือหา 41 3.1.ทกั ษะในการถอดและประกอบเบรกและการตรวจสอบและปรับต้งั 58 3.2.การตรวจสอบชิ้นส่วนที่สึกหรอ 3.3.การตรวจสอบและการปรับต้งั 59 3.4.หลกั การถอด ประกอบเบรกแบบไฮดรอลิกแบบจานเบรก 3.5.ขอ้ ขดั ขอ้ งและสาเหตุและวธิ ีการแกไ้ ข 67 3.6.หลกั การใชต้ ารางคา่ มาตรฐานและค่าแรงบิดใชใ้ นการขนั โบลท์ น๊อต สกรู สลกั เกลียว ระบบนิ้ว และระบบมิลลิเมตร 3.เอกสารอา้ งอิง ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ 3 Hs3cmi

จุดประสงค์ 1.ภาคความรู้ 1.1.เพื่อใหผ้ รู้ ับการฝึกสามารถบอกชนิดของเบรกรถแทรกเตอร์การเกษตรไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง 1.2.เพอ่ื ใหผ้ รู้ ับการฝึกสามารถอธิบายหนา้ ที่ของเบรกรถแทรกเตอร์การเกษตรไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง 1.3.เพอ่ื ใหผ้ ูร้ ับการฝึกสามารถบอกขอ้ ดี ขอ้ เสียของเบรกรถแทรกเตอร์การเกษตรไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง 1.4.เพื่อใหผ้ รู้ ับการฝึกสามารถอธิบายหลกั การทางานของระบบเบรกแบบขยายออกไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง 1.5.เพื่อใหผ้ ูร้ ับการฝึกสามารถอธิบายหลกั การทางานของระบบเบรกแบบรัดเขา้ ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง 1.6.เพอ่ื ใหผ้ รู้ ับการฝึกสามารถอธิบายหลกั การทางานของระบบเบรกแบบกลไกลไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง 1.7.เพ่อื ใหผ้ รู้ ับการฝึกสามารถอธิบายหลกั การทางานของระบบเบรกแบบไฮดรอลิกไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง 1.8.เพอื่ ใหผ้ รู้ ับการฝึกสามารถอธิบายหลกั การทางานของระบบเบรกแบบแผน่ ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง 1.9.เพอื่ ใหผ้ ูร้ ับการฝึกสามารถบอกคุณสมบตั ิของเบรกแบบจานแซ่ลงในน้ามนั ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง 1.10.เพ่ือใหผ้ รู้ ับการฝึกสามารถอธิบายการล่ืนของเบรกรถแทรกเตอร์การเกษตรไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง 2.ภาคทกั ษะ 2.1.เพื่อใหผ้ รู้ ับการฝึกสามารถบอกส่วนประกอบของเบรกขบั เคล่ือนรถแทรกเตอร์การเกษตรไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง 2.2.เพื่อใหผ้ รู้ ับการฝึกสามารถบอกจานวนของเบรกรถแทรกเตอร์การเกษตรไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง 2.3.เพ่ือใหผ้ รู้ ับการฝึกสามารถทาการถอด ประกอบของเบรกจอดรถแทรกเตอร์การเกษตรไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง 2.4.เพื่อใหผ้ รู้ ับการฝึกสามารถทาการถอด ประกอบของคนั เบรกรถแทรกเตอร์การเกษตรไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง 2.5.เพอ่ื ใหผ้ รู้ ับการฝึกสามารถบอกส่วนประกอบของคนั เบรกรถแทรกเตอร์การเกษตรไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง 2.6.เพอื่ ใหผ้ ูร้ ับการฝึกสามารถบอกส่วนประกอบเพลากา้ มลูกเบ้ียวของเบรกรถแทรกเตอร์การเกษตรไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง 2.7.เพ่ือใหผ้ รู้ ับการฝึกสามารถทาการตรวจสอบชิ้นส่วนดว้ ยสายตาของเบรกรถแทรกเตอร์การเกษตรไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง 2.8.เพอื่ ใหผ้ รู้ ับการฝึกสามารถใชเ้ ครื่องมือมาตรฐานไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง 2.9.เพือ่ ใหผ้ รู้ ับการฝึกสามารถใชเ้ ครื่องมือ ไดแอลเกจไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง 2.10.เพ่ือใหผ้ รู้ ับการฝึกสามารถใชเ้ คร่ืองมือเวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง 2.11.เพ่อื ใหผ้ รู้ ับการฝึกสามารถใชโ้ ตะ๊ ระดบั ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง 2.12.เพอ่ื ใหผ้ รู้ ับการฝึกสามารถทาการตรวจสอบการเคล่ือนตวั ของเพลากา้ นเพลาลูกเบ้ียวไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง 2.13.เพอ่ื ใหผ้ รู้ ับการฝึกสามารถทาการตรวจสอบชิ้นส่วนท่ีสึกหรอไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง 2.14.เพอ่ื ใหผ้ รู้ ับการฝึกสามารถทาการตรวจสอบและปรับต้งั เบรกไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง 2.15.เพือ่ ใหผ้ รู้ ับการฝึกสามารถทาการแกไ้ ขปัญหาขอ้ ขดั ขอ้ งสาเหตุและวธิ ีการแกไ้ ขปัญหาต่างๆไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง 2.16.เพอ่ื ใหผ้ รู้ ับการฝึกสามารถใชป้ ะแจวดั แรงบิดไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง 2.17.เพื่อใหผ้ ูร้ ับการฝึกสามารถอธิบายการใชต้ ารางคา่ แรงบิด ใชก้ ารขนั โบลท์ น๊อต สกรู ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง 2.18.เพ่อื ใหผ้ รู้ ับการฝึกสามารถบอกความหมายต่างๆที่เขียนบนโบลท์ น๊อต สกรู ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง 2.19.เพอ่ื ใหผ้ รู้ ับการฝึกไดร้ ับมีความรู้และเพิม่ ทกั ษะมากข้ึน ตามที่คลาดหมายไวแ้ ละไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง 4 Hs3cmi

ภาคความรู้ Knowledge ระบบเบรกรถแทรกเตอร์การเกษตร BRAKES SYSTEM หนา้ ท่ีของเบรก ขณะรถแทรกเตอร์การเกษตรเคลื่อนท่ีหรือตอ้ งการจอดอยกู่ บั ท่ี เบรกเป็นอุปกรณ์ที่ทา หนา้ ที่ควบคุมความเร็วขณะใชง้ านหรือสาหรับจอดรถแทรกเตอร์การเกษตร ขณะทาการเบรกจะทาใหร้ ถแทรกเตอร์ การเกษตรชา้ ลงแลว้ หยดุ รถแทรกเตอร์การเกษตร เพื่อความปลอดภยั ในการทางาน เบรกสามารถแบง่ ออกเป็ น 2 แบบ ตามลกั ษณะการใชง้ านคือ 1.เบรกขณะขบั เคล่ือนหรือขณะรถเคลื่อนที่ 2.เบรกขณะจอดใชเ้ พลาอานวยกาลงั (P.T.O) รถแทรกเตอร์การเกษตรเราเรียกวา่ เบรกมือ รถแทรกเตอร์การเกษตรแบบลอ้ ยางมีระบบเบรกอิสระแยกเบรกลอ้ ซา้ ย ลอ้ ขวาไดเ้ พ่อื ใหร้ ถแทรกเตอร์ การเกษตร สามารถเล้ียววงแคบๆได้ ในขณะทางานในแปลงเพาะปลูก เบรกลอ้ ซา้ ยและลอ้ ขวาสามารถลอ็ คให้ ทางานพร้อมๆกนั ในขณะรถวง่ิ บนทอ้ งถนน รถแทรกเตอร์การเกษตร หลายรุ่นมีอุปกรณ์ล็อคคนั เหยยี บเบรก ในขณะจอดรถ ในกรณีที่ใชร้ ถแทรกเตอร์การเกษตร ในแปลงนา ซ่ึงมีน้าขงั เบรกจะถูกออกแบบมาเพือ่ ป้องกนั น้า ได้ โดยจะตอ้ งคานึงการกระจายความร้อนของเบรกดว้ ย โดยปกติรถแทรกเตอร์การเกษตร ท่ีใชร้ ะบบเฟื องทดขบั ลอ้ เพือ่ ใหม้ ีอตั ราทดและแรงบิดสูง จะมีเบรกอยทู่ ี่เพลาขบั ลอ้ ทา้ ยตอ่ กบั เฟื องทดขบั ลอ้ เฟื องทดทา้ ย ซ่ึงเพลาน้ีจะมี แรงบิดค่อนขา้ งสูง ซ่ึงแสดงในรูปที่ 1. เบรก รูปท่ี 1 เบรก รูปท่ี 1 5 Hs3cmi

ชนิดของเบรก Brake type เบรกของรถแทรกเตอร์การเกษตร สามารถแบง่ ตามลกั ษณะ การทางานและอุปกรณ์และวธิ ีการใชง้ านของ เบรกไดด้ งั น้ี 1.แบ่งตามลกั ษณะการทางานของอุปกรณ์ 1.1.แบบขยายออก Internal expansion type 1.2.แบบรัดเขา้ External contraction type 2.แบ่งตามวธิ ีการใชแ้ รงเบรก โดยพิจารณาถึงการถ่ายทอดแรงเบรก 2.1.แบบกลไก Mechanical type 2.2.แบบไฮดรอลิก Hydraulic type 1.1.เบรกแบบขยายออก Internal expansion type 3 12 4 5 รูปท่ี 2 ลกั ษณะของเบรกรถแทรกเตอร์การเกษตร แบบขยายออกซ่ึงแสดงในรูปท่ี2 โดยมีส่วนประกอบสาคญั คือ จานเบรก(1) ผา้ เบรก(2) สปริงดึงฝักเบรก(3) ลูกเบ้ียว(4)และสกรูปรับต้งั (5) จานเบรกจะยดึ ติดกบั เพลาที่ตอ้ งการ เบรก ฝักเบรกสองตวั ซ่ึงมีผา้ เบรกอดั ติดอยดู่ า้ นนอกจะติดต้งั อยภู่ ายในจานเบรก โดยส่วนล่างของฝักเบรกจะยึด ติดกนั และส่วนบนมีลูกเบ้ียวคนั่ อยู่ สปริงจะดึงฝักเบรกท้งั สองเขา้ หากนั ทาใหเ้ กิดช่องวา่ งระหวา่ งฝักเบรกกบั จานเบรก เม่ือกดคนั เหยยี บเบรก กา้ นต่อจะหมุนลูกเบ้ียว(6)ทาใหฝ้ ักเบรกท้งั สองขา้ งถ่างออก ผา้ เบรกจะกดลงบนจานเบรกดา้ นใน ทาใหเ้ พลาหยุด หมุน 6 Hs3cmi

1.2.เบรกแบบรัดเขา้ External contraction type เบรกชนิดน้ีนิยมใชก้ บั รถแทรกเตอร์การเกษตรเป็ นเบรกมือเป็นส่วนมาก อยา่ งเช่น รถแทรกเตอร์การเกษตร ยห่ี อ้ John Deere เกือบทุกรุ่นจะใชเ้ ป็ นเบรกมือ ส่วนเบรกการขบั เคลื่อนจะแยกอีกชุดและจะเป็นเบรกเพลาอานวย กาลงั (P.T.O shaft brake) 5 เพลาเบรก 7 4 4 71 23 6 เพลาเบรก รูปที่ 3 เบรกแบบรัดเขา้ แสดงในรูปที3 มีส่วนประกอบที่สาคญั คือ สปริง(1) กา้ นตอ่ (2) เขม็ ขดั เบรก(3)หรือฝักผา้ เบรก(6) จานเบรก(4) คนั เหยยี บเบรก(5) เมื่อเรากดคนั เหยยี บเบรก กา้ นต่อจะถูกดึงไปขา้ งหนา้ ทาใหเ้ ขม็ ขดั เบรก หรือฝักผา้ เบรก ซ่ึงมีผา้ เบรกติดอยดู่ า้ นใน รัดรอบจานเบรก เมื่อเราปล่อยคนั เหยยี บเบรก สปริงทาหนา้ ท่ีดึงขดั เบรก ออกห่างจานเบรก การปรับโดยขอ้ ต่อปรับต้งั (7) (F) 1.3.เบรกแบบแผน่ Disk type รูปที่ 4 7 Hs3cmi

เบรกแบบแผน่ แสดงในรูปที 4 มีส่วนประกอบท่ีสาคญั คือ แผน่ กดจานเบรก จานเบรก ซ่ึงจะหมุนตามเพลา กา้ นดึง แผน่ ขบั แขนดึงแผน่ กด เมด็ ลูกปื นเบรก ในขณะเบรก แผน่ กดจานเบรก ซ่ึงมีผา้ เบรกอดั ติดอยทู่ ี่ผวิ ดา้ นติด กบั จานเบรกจะกดติดจานเบรก ทาใหจ้ านเบรกหยดุ หมุน เม่ือเหยยี บคนั เหยยี บเบรก กา้ นดึงจะดึงเมด็ ลูกปื นเบรก ระหวา่ งแผน่ กดจานเบรก ใหเ้ คลื่อนออกจะดนั ใหแ้ ผน่ กดจานเบรก เคลื่อนไปกดจานเบรก เบรกแบบแผน่ น้ีจะมีการ ถ่ายเทความร้อนไดด้ ี 2.1.เบรกแบบกลไก Mechanical type รูปท่ี 5 รูปท่ี5 แสดงลกั ษณะการทางานเบรกแบบกลไกของเบรกแบบขยายดา้ นใน เมื่อผรู้ ับการฝึกกดคนั เหยยี บ เบรกจะทาใหก้ า้ นตอ่ ขยบั ตวั กา้ นเบรก ทาใหล้ ูกเบ้ียวหมุนไปดนั ฝักเบรกทางานไปตามทิศทางลูกศร เมื่อผรู้ ับการ ฝึกปล่อยดนั เหยยี บเบรก สปริงทาหนา้ ท่ีดึงฝักเบรกกลบั จะทาใหผ้ า้ เบรกจากออกจานเบรก แบบกลไกน้ียงั สามารถแบง่ ออกอีกดงั น้ี ผู้รับการฝึ กสามารถแบ่งออกเป็ น 4 แบบ คือ 2.1.1.เบรกแบบกลไกแบบลูกเบ้ียว (S-CAM) (5) มีจุดหมุนสองจุด (8) หรือจุดยดึ และยนั แยกออกเป็นสอง จุด โดยลูกเบ้ียวจะทางานตามลูกศรลูกเบ้ียวจะมีจุดหมุนอยกู่ ่ึงกลางลูกเบ้ียว บางรุ่นจะมีลูกกล้ึงดว้ ย เพอ่ื ป้องกนั ไมใ่ หเ้ กิดการสึกหรอไดง้ ่าย รูปท่ี 6 8 Hs3cmi

2.1.2.เบรกแบบกลไก แบบล่ิมดา้ นเดียว (wedge) (5) และดนั ฝักเบรก (6) มีจุดหมุนสองดา้ น (8) หรือจุดยดึ และยนั แยกออกเป็นสองจุด รูปท่ี 7 2.1.3.เบรกแบบกลไก แบบล่ิมสองดา้ น(4)มีตวั ดนั ฝักเบรก(3) สองดา้ น รูปที่ 8 2.1.4.เบรกแบบกลไก แบบลิ่มมีลูกกล้ึงแลว้ ถูกดึงทาใหฝ้ ักเบรกถ่างออก รูปท่ี 9 9 Hs3cmi

2.2.เบรกแบบไฮดรอลิก Hydraulic type รูปที่ 10 หลกั การของน้ามนั ไฮดรอลิก รูปที่10 แสดงการที่นาเอาน้ามนั ไฮดรอลิกมาใชแ้ ทนการถ่ายทอดกาลงั งานจากจุดตน้ กาลงั เพอ่ื ถ่ายทอดไป ยงั จุดหน่ึงโดยผา่ นน้ามนั ไฮดรอลิกเป็นตวั กลาง จากขอ้ แตกตา่ งระหวา่ งใชน้ ้า อากาศ หรือของเหลวชนิดอ่ืนๆจาก คุณสมบตั ิเฉพาะตวั มีดงั น้ี w1 w2 = น้าหนกั A1 A2 = พ้ืนท่ี P = แรงดนั น้ามนั ไฮดรอลิก P= W1 = w2 a2 A1 รูปที่ 11 10 Hs3cmi

รูปท่ี 11 แสดงถึงน้ามนั ไฮดรอลิกน้นั ไม่มีการยบุ ตวั ของน้ามนั เป็นไปตามแรงดนั และยงั ส่งความดนั แรงดนั น้นั ไปยงั จะมีแรงดนั เสมอตลอดท่ีน้ามนั ไหลไป เกิดจากโมเลกลุ ของน้ามนั ไฮดรอลิกอยใู่ กลช้ ิดติดกนั เมื่อมี แรงดนั มากระทากบั น้ามนั ไฮดรอลิกหรือถูกดนั ตวั จะไม่มีการยบุ ตวั ตามแรงดนั จะทาให้เพม่ิ แรงดนั ข้ึนเทา่ ตวั แรงดนั น้ามนั ณ จุดเริ่มตน้ ที่มีแรงดนั จะเทา่ กบั แรงดนั ที่ปลายทางหรือปลายทอ่ เช่น แรงดนั ในกระบอกปั๊มไฮ ดรอลิก ส่งไปตามท่อทางเดินของน้ามนั ไปยงั กระบอกยกอุปกรณ์พวงสามจุด ณ ท่ีจุดยกอุปกรณ์ยงั คงมีแรงดนั เทา่ กบั กระบอกปั๊มไฮดรอลิก ไม่วา่ กระบอกยกอุปกรณ์เล่ือนไปเทา่ ใดก็ตาม หรือมีพ้นื ท่ี มีปริมาณเทา่ ใดก็ตาม กค็ ง ยงั มีแรงดนั เท่าเดิมอยู่ ตามรูปตวั อยา่ งดงั น้ี รูปที่ 12 แสดงถึงการส่งแรงดนั ของน้ามนั ไฮดรอลิกไปยงั อุปกรณ์ แรงดนั ยงั คงที่ ไมว่ า่ ทางเดินจะมีพ้ืนที่ ไมเ่ ทา่ กนั รูปท่ี 12 แสดงถึงส่วนประกอบเบรก แบบน้ีจะใชน้ ้ามนั เบรก มีส่วนประกอบ คนั เหยยี บเบรก แมป่ ๊ัมเบรก สายน้ามนั เบรก กระบอกป๊ัมเบรก สปริงเบรก ฝักเบรก กา้ นส่งฝักเบรก ระบบเบรกจะใชน้ ้ามนั เบรกเป็นการ ถ่ายทอดแรงไปตามท่อน้ามนั เบรกไปสู่กระบอกเบรกเพือ่ ไปดนั ฝักเบรกใหท้ างาน โดยใชห้ ลกั การทางานของ ระบบไฮดรอลิก แมว้ า่ เบรกแบบน้ีจะช่วยใหผ้ ขู้ บั ขี่ ใชแ้ รงกดท่ีคนั เหยยี บเบรกนอ้ ยลง และการเบรกมีความแน่นนอน ปลอดภยั แต่เน่ืองจากกลไกการทางานที่ยงุ ยาก ทาใหไ้ ม่ค่อยนิยมใชก้ บั รถแทรกเตอร์การเกษตรมากนกั มาเท่าท่ีควร เนื่องจากการใชง้ านของรถแทรกเตอร์การเกษตรตอ้ งใชง้ านในไร่ ในนาท่ีมีท้งั น้า หญา้ ตน้ ไม้ ก่ิงไม้ ท่ีทาใหเ้ กิด ความเสียหายต่ออุปกรณ์ต่างๆของระบบเบรกแบบน้ี ตลอดจนตอ้ งมีการบารุงรักษา แต่ถา้ มีการออกแบบไดด้ ีจะใช้ งานไดด้ ีพอสมควร รถแทรกเตอร์การเกษตรที่นิยมและนามาใชค้ ือรถแทรกเตอร์การเกษตร ยหี่ อ้ John Deere เพราะ ตอ้ งการความแน่นนอน ปลอดภยั เบาแรงในการเบรก รูปที่ 13.แสดงแรงที่กระทา (W) หรือ F น้าหนกั ที่กดลงบนพ้ืนที่ (A) ทาใหเ้ กิดแรงดนั A น้ามนั ไฮดรอลิก (P) p 11 Hs3cmi

แบรกท่ีใชก้ บั รถแทรกเตอร์การเกษตรใชร้ ะบบเบรกจานแซ่น้ามนั เกียร์ สามารถทาการเบรกแยกอิสระได้ ท้งั ลอ้ ดา้ นซา้ ยและลอ้ ดา้ นขวา ทาใหเ้ บรกไดแ้ น่นนอนและสามารถล็อคคนั เหยยี บเบรกใหท้ าการเบรกไดท้ ้งั สอง ขา้ งพร้อมๆกนั ได้ ในขณะขบั อยบู่ นทอ้ งถนนตอ้ งใส่เบรกท้งั สองเขา้ ดว้ ยกนั รูปท่ี 14 ระบบเบรกไฮดรอลิกผรู้ ับการฝึกสามารถแบ่งออกเป็น 2 แบบ 1.แบบขยายออกโดยใชแ้ รงดนั น้ามนั ไฮดรอลิก 2.แบบจานเบรกโดยใชแ้ รงดนั น้ามนั ไฮดรอลิก 1.แบบขยายออกโดยใชแ้ รงดนั น้ามนั ไฮดรอลิก ส่วนมากนิยมใชก้ บั รถแทรกเตอร์ขนาดเล็ก เมื่อเวลาท่ีผรู้ ับการฝึกทาการปรับต้งั ตอ้ งยกลอ้ ใหส้ ูงจากพ้ืนดิน ก่อนทาการปรับต้งั ซ่ึงจะมีส่วนประกอบคลา้ ยกบั เบรกแบบจานเบรกโดยใชแ้ รงดนั น้ามนั ไฮดรอลิก แตกต่างกนั ท่ี แบบขยายออกกบั การบีบจานเบรกเทา่ น้นั นอกน้นั จะมีอุปกรณ์จะมีแมป่ ั๊มเบรก เรือนคาลิเปอร์หรือกระบอกเบรกที่ ลอ้ มีฝักผา้ เบรก สปริงเบรก เป็นตน้ แตใ่ นท่ีน้ีจะเนน้ ถึงระบบแบบจานเบรกโดยใชแ้ รงดนั น้ามนั ไฮดรอลิกเป็นหลกั เบรกแบบขยายออกโดยใชแ้ รงดนั น้ามนั ไฮดรอลิก ผรู้ ับการฝึกสามารถแบ่งออกเป็น 5 แบบ 1.1.แบบกระบอกเบรก มีกระบอกไฮดรอลิกจานวนหน่ึงกระบอก (5) หลกั การทางานดนั ผา้ เบรกสองดา้ น ใหถ้ ่างออกหรือกางออก มีจุดหมุนสองจุด(8) ที่แยกออกเป็นสองจุดยดึ และยนั รูปที่ 15 12 Hs3cmi

1.2.แบบกระบอกเบรกมีกระบอกไฮดรอลิกจานวนหน่ึงกระบอก (5) หลกั การทางานดนั ผา้ เบรกสองดา้ น มีจุดหมุนเพยี งจุดเดียว(8) รูปที่ 16 1.3.แบบกระบอกเบรกมีจานวนสองกระบอกไฮดรอลิก (4) หลกั การทางานจะดนั ผา้ เบรกดา้ นเดียว อีกดา้ น หน่ึงกระบอกจะทาหนา้ ท่ีเป็ นจุดหมุน (5)และจุดยดึ และยนั ไปดว้ ย รูปท่ี 17 รูปท่ี 18 13 Hs3cmi

1.4.แบบกระบอกเบรกมีกระบอกไฮดรอลิกจานวนหน่ึงกระบอก(4)หลกั การทางานดนั ผา้ เบรกสองดา้ น มีสกรู ปรับต้งั ฝักผา้ เบรกและเป็นจุดยดึ และยนั อีกดา้ นหน่ึง(7) รูปท่ี 19 1.5.แบบกระบอกเบรกมีกระบอกไฮดรอลิกจานวนสองกระบอก(4)หลกั การทางานดนั ผา้ เบรกดา้ นเดียวในแตล่ ่ะตวั แต่อีกดา้ นหน่ึงของกระบอกไฮดรอลิกทาหนา้ ท่ีเป็ นจุดยดึ และยนั ไปดว้ ย (5) รูปที่ 20 รูปที่ 21 14 Hs3cmi

รูปที่ 22 2.แบบจานเบรกโดยใชแ้ รงดนั น้ามนั ไฮดรอลิก จานเบรก (Disc brake) จานเบรกที่ใชใ้ นรถแทรกเตอร์การเกษตร ซ่ึงมีขอ้ ดีกวา่ เบรกแบบขยายออกที่ใช้ แรงดนั น้ามนั ไฮดรอลิก จานเบรก (Disc) จะหมุนอยใู่ นที่โล่งซ่ึงอากาศสามารถถ่ายเทและระบายความร้อนของแผน่ จานเบรกไดง้ ่าย ดงั น้นั โอกาสที่จะเกิดการเบรกไมอ่ ยเู่ นื่องจากเบรกร้อนจดั จึงเกิดข้ึนยาก ส่วนมากจะทาการเบรกที่ เพลาขบั ลอ้ หนา้ รถแทรกเตอร์ท่ีมีระบบขบั เคล่ือนสี่ลอ้ ส่วนลอ้ หลงั จะเป็นเบรกแบบแผน่ จานเบรกโดยใชแ้ รงดนั น้ามนั ไฮดรอลิก ระบบเบรกแบบแผน่ จานเบรกที่ใชแ้ รงดนั น้ามนั ไฮดรอลิก จะมีคนั เหยยี บท้งั ลอ้ ดา้ นซา้ ยและลอ้ ดา้ นขวาและสามารถเบรกเฉพาะลอ้ ดา้ นซา้ ยอยา่ งเดียวก็ไดห้ รือทาการเบรกเฉพาะลอ้ ขวาอยา่ งเดียวก็ได้ จึงมีลูกสูบ แมป่ ๊ัมเบรก คนั เหยยี บเบรกสองชุดและยงั มีระบบขอ้ ตอ่ ระบบเบรกไปยงั ลอ้ ท่ีลากจูงเทเลอร์ไดอ้ ีกดว้ ย โครงสร้างและส่วนประกอบของแบบจานเบรก มีดงั น้ี 1. แม่ป๊ัมเบรก (MASTER CYLINDER) ทาหนา้ ที่สร้างแรงดนั น้ามนั จากสภาพปกติใหม้ ีแรงดนั แลว้ ส่งผา่ น ทอ่ ไปสู่ตวั เรือนคาลิเปอร์ (CALIPER) และลูกสูบเบรกหรือกระบอกเบรกไฮดรอลิกที่ลอ้ แบบต่างๆขา้ งตน้ รูปที่23 15 Hs3cmi

2. เรือนคาลิเปอร์(CALIPER) เป็นชุดอุปกรณ์ท่ีสาคญั ท่ีติดต้งั ลูกสูบเบรกจะอยใู่ นตาแหน่งทางดา้ นขา้ งท้งั สองของ แผน่ จานเบรก (DISC) ในการทางานเม่ือมีการเหยยี บเบรกกาลงั ดนั น้ามนั ไฮดรอลิกท่ีมาจากแมป่ ๊ัมเบรก (MASTER CYLINDER) จะดนั ลูกสูบภายในตวั เรือนคาลิเปอร์ใหด้ นั ลูกสูบเบรก (แผน่ ผา้ เบรก) ท้งั สองเขา้ ตา้ นการหมุนของ แผน่ จานเบรก รูปที่ 24 เรือนคาลเิ ปอร์ทมี ีใช้อยู่ในปัจจุบันผ้รู ับการฝึ กสามารถแบ่งออกเป็ น 3 แบบด้วยกนั คือ ผ้รู ับการฝึ กสามารถแบ่งตามลกั ษณะการทางานของลกู สูบเบรกและตวั คาลเิ ปอร์ ได้ดังนี้ 2.1. เรือนคาลิเปอร์แบบอยกู่ บั ที่ (FIXED CALIPER) จะเป็นเรือนคาลิเปอร์ที่มีลูกสูบอยทู่ างดา้ นขา้ งของแผน่ จาน เบรกขา้ งละหน่ึงลูก ตวั เรือนคาลิเปอร์จะติดอยแู่ น่นกบั ชิ้นส่วนท่ีอยคู่ งที่ของตวั รถแทรกเตอร์การเกษตร ในการ ทางานลูกสูบท้งั สองจะถูกดนั เขา้ หาแผน่ จานเบรก โดยกาลงั ของน้ามนั ไฮดรอลิกทาใหล้ ูกสูบเบรกและแผน่ ผา้ เบรก เคลื่อนที่เขา้ ตา้ นกบั แผน่ จานเบรกที่กาลงั หนุน รูปท่ี 25 16 Hs3cmi

2.2. เรือนคาลิเปอร์แบบลอยตวั (FLOATING CALIPER) เป็นตวั เรือนคาลิเปอร์ที่สามารถขยบั ตวั เคล่ือนตวั เขา้ ออก ได(้ ตามลูกศร) โดยที่ตวั เรือนคาลิเปอร์ยดึ ติดอยบู่ นบูช๊ ยางซ่ึงยอมใหต้ วั เรือนคาลิเปอร์เคลื่อนที่หรือขยบั ตวั ไดค้ าลิ เปอร์แบบลอยตวั น้ีมีลูกสูบเดียวในการทางานกาลงั ดนั น้ามนั ไฮดรอลิก จากแม่ป๊ัมเบรก (MASTER CYLIPER) ที่ส่ง มายงั ตวั เรือนคาลิเปอร์จะดนั ใหล้ ูกสูบเคล่ือนที่เขา้ หาแผน่ จานเบรกและตวั เรือนคาลิเปอร์จะเคลื่อนตวั ดว้ ย รูปที่ 26 มีส่วนประกอบและโครงสร้างท่ีสาคญั ดงั น้ี รูปท่ี 27 17 Hs3cmi

ในขณะเดียวกนั แรงดนั ที่แผน่ ผา้ เบรกน้ีจะตา้ นกบั แผน่ จานเบรกทาให้ตวั เรือนคาลิเปอร์เคล่ือนตวั สวนทาง กบั ลูกสูบทาใหล้ ูกสูบลูกสูบเบรกซ่ึงติดอยกู่ บั ตวั เรือนคาลิเปอร์อดั กบั ผิวหนา้ ของแผน่ จานเบรกดว้ ย อาการเบรกกจ็ ะ เกิดข้ึน ส่งผลทาใหผ้ รู้ ับการฝึ กสามารถบงั คบั ให้ลอ้ รถแทรกเตอร์การเกษตรชา้ และหยดุ ในที่สุด รูปที่ 28 จากรูปที่ 28 แสดงการระบายความร้อนและการระบายน้าออกจากจานเบรก เพ่อื ความปลอดภยั ในการใชร้ ถ แทรกเตอร์การเกษตร การออกแบบมาเพ่อื ไมใ่ หจ้ านเบรกรับความร้อนมากเกินไป และตอ้ งระบายความร้อนและน้า ออกจากจานเบรกใหด้ ีที่สุด จานเบรกจึงมีลกั ษณะมีช่องระบายความร้อนภายใน 2.3. เรือนคาลิเปอร์แบบเลื่อน (SLIDING CALIPER) ตวั เรือนคาลิเปอร์แบบน้ีมีลกั ษณะโครงสร้างที่คลา้ ยกบั ตวั เรือนคาลิเปอร์แบบลอยตัวจะแตกต่างกันตรงท่ีตัวเรื อนคาลิเปอร์แบบน้ีจะแขวนตัวบนสลักซ่ึงอยู่ ภายในของบู๊ชยาง เม่ือมีการเบรกกาลังน้ามนั ไฮดรอลิกท่ีมาจากแม่ปั๊มเบรกจะเขา้ มาทางดา้ นหลงั ของลูกสูบท่ี เรือนคาลิเปอร์ดนั ใหล้ ูกสูบเบรก เคลื่อนไปอดั ตวั กบั แผน่ จานเบรก ท่ีกาลงั หมุนในขณะเดียวกนั กาลงั ดนั ของ น้ามนั ไฮดรอลิก ก็จะดนั ให้ตวั เรือนคาลิเปอร์เคลื่อนท่ีสวนทางกบั ลูกสูบตามแนวสลกั ที่แขวนชุดเรือนคาลิเปอร์ ทา ใหแ้ ผน่ จานเบรกถูกอดั หรือบีบตวั ดว้ ยผา้ เบรกท้งั สองขา้ ง จึงทาใหเ้ กิดอาการเบรกรถแทรกเตอร์การเกษตร รูปท่ี 29 18 Hs3cmi

2.4. แผน่ ผา้ เบรก และลูกสูบเบรก (Brake pads and shoes) แผน่ ผา้ เบรกของเบรกแบบจานเบรก น้ีจะอดั ติดกบั ลูกสูบเบรกหรือแยกออกจากกนั แลว้ แตผ่ ผู้ ลิตออกแบบ ซ่ึงอาจจะเป็ นลกั ษณะกลมหรือแผน่ สี่เหล่ียม ดงั รูป รูปที่ 30 ตารางเปรียบเทียบขอ้ ดีและขอ้ เสียของเบรกแบบจานเบรก ขอ้ ดี ขอ้ เสีย 1.ตา้ นทานการเบรกไดด้ ีกวา่ เบรกแบบขยายออก 1. ผา้ เบรกสึกหรอเร็วกวา่ เม่ือเปรียบเทียบกบั เบรกแบบ ในขณะเบรกจะเกิดความร้อนขณะใชง้ าน แผน่ เบรกเพราะสามารถป้องกนั น้าได้ 2.แผน่ จานเบรกสะอาดปราศจากสกปรกและ 2.ผา้ เบรกจะเสียดสีมีเสียงดงั ไดง้ ่ายกวา่ เพราะจะตอ้ ง ละอองน้า ทาใหผ้ วิ หนา้ เบรกไดด้ ีกวา่ เบรกแบบ โดนน้า โคลนโตรม กิ่งไม้ หญา้ ตน้ ไม้ และกร็ ะบบ ขยายออก จึงทาใหเ้ บรกไดด้ ีกวา่ เมื่อใชง้ านในนาท่ี เบรกน้ีจะถูกติดต้งั ไวท้ ่ีบริเวณใตท้ อ้ งรถแทรกเตอร์ มีน้าขงั การเกษตร 3.แรงเบรกคงท่ีเพราะคา่ สมั ประสิทธ์ิความเสียด 3.เกิดสึกเป็นร่องที่รอยสมั ผสั มากกวา่ โดยเฉพาะอยา่ ง ทานเปล่ียนแปลงนอ้ ยลงมาก ยงิ่ เมื่อใชใ้ นสภาพพ้ืนดินท่ีมีน้าขงั ในนา ในไร่ หรือ 4.ง่ายตอ่ การซ่อมเปลี่ยนแผน่ ผา้ เบรกเนื่องจากมี ในสวนก็ตาม การติดต้งั อยภู่ ายนอก จึงง่ายต่อการซ่อม รูปท่ี 31 19 Hs3cmi

มีส่วนประกอบของระบบเบรก ดงั นี้ มีส่วนประกอบดงั น้ี 1.เส้ือเบรก 2.จานลูกเบ้ียว 3.กา้ นจานลูกเบ้ียวเบรก 7 ตวั ใน 4.กา้ นจานลูกเบ้ียวเบรก ตวั นอก 5.คนั เบรกมือ 6.คนั เหยยี บเบรก 7.กา้ นเบรกมือ รูปท่ี 32 หลกั การทางาน เม่ือผรู้ ับการฝึกดึงคนั เบรกมือข้ึน(5)หรือเหยยี บคนั เบรก (6) กา้ นเบรกมือ(7)เลื่อนข้ึนทาให้ แป้นคนั เหยยี บเบรก(6)เลื่อนตามลูกศรทาใหล้ ูกเบ้ียวเบรกทางาน โดยการบิดตวั ของจานลูกเบ้ียวลูกปื นจะเลื่อนท่ีข้ึน สูงข้ึนมาดบั จานเบรกและแผน่ ผา้ เบรกจบั ยดึ ทาใหส้ ามารถเบรกเพลาลอ้ ได้ คุณสมบตั ขิ องเบรกจานแบบแซ่ลงในนา้ มนั Features of wet disk brake ใหผ้ รู้ ับการฝึกศึกษาเร่ืองคุณสมบตั ิและหนา้ ที่สาคญั ที่มีผลของเบรกรถแรกเตอร์การเกษตร มีดงั น้ี อ่างน้ามนั ไฮดรอลิก หรือ น้ามนั เกียร์ รูปท่ี 33 20 Hs3cmi

1.สามารถลดการสึกหรอของของจานเบรก Reduced disc wear การใชง้ านงานรถแทรกเตอร์การเกษตร ในระยะแรกของการทางานประมาณ 50 ชวั่ โมงหรือนอ้ ยกวา่ การ สึกหรอของแผน่ เบรกแบบเปี ยก จะสูงประมาณหลายสิบไมคร่อนท่ีเดียว ท้งั น้ีข้ึนอยกู่ บั หนา้ สมั ผสั และความถูกตอ้ ง ของชิ้นส่วน หลงั จากน้นั การสึกหรอของแผน่ เบรกแทบจะไม่มีเลย ท้งั น้ีข้ึนอยกู่ บั การใชง้ านเป็นหลกั รวมถึงน้ามนั เกียร์ท่ีนามาใชก้ บั รถแทรกเตอร์การเกษตร น้นั ดว้ ย 2.สามารถทาการเบรกไดแ้ น่นนอน Stable braking รูปที่ 34 เนื่องจากแผน่ เบรกแซ่อยใู่ นน้ามนั เกียร์ การล่ืนท่ีมีผลจากการเบรกบ่อยๆคร้ัง จะเกิดข้ึนนอ้ ยมาก แต่ยงั คง ทาใหส้ ามารถเบรกไดแ้ น่นนอน 3.ระยะต่าของคนั เหยยี บเบรกไมเ่ ปล่ียนแปลงเน่ืองจากความร้อนที่เกิดข้ึน Pedal stroke does not change under influence of heal รูปท่ี 35 21 Hs3cmi

แสดงถึงความแตกต่างจานเบรก ที่ใชร้ ะบบขยายออก ซ่ึงระยะห่างของฝักเบรกกบั จานเบรกจะห่างจาก ออก เน่ืองจากการขยายตวั เมื่อมีความร้อนเกิดข้ึนมาก ทาใหร้ ะยะต่าของขาเหยยี บเบรกเพมิ่ ข้ึน สาหรับระบบเบรก แบบจานเปี ยกในลกั ษณะการแซ่ลงในน้ามนั เกียร์ จะมีระยะห่างของแผน่ เบรกกบั จานเบรกคงที่ 4.ความเร็วและน้าหนกั ของตวั รถแทรกเตอร์การเกษตร ถา้ ผรู้ ับการฝึกขบั รถดว้ ยความเร็วสูงและยง่ิ บรรทุก น้าหนักมาก หรื อมีการลากจูงเทเลอร์ ในขณะท่ีผู้รับการฝึ กเบรกรถแทรกเตอร์ ต้องใช้แรงเบรก และแรงดนั น้ามนั ไฮดรอลิกมากข้ึนไปดว้ ย 5.สภาพพ้นื ดินและสภาพของถนน ถา้ พ้ืนที่มีความลาดสนั มากหรือถนนมีโคลนดินจะมีระยะเบรกมากข้ึน 6.จานวนลอ้ ท่ีถูกเบรกขณะน้นั ดว้ ย ถา้ ผรู้ ับการฝึกต้งั คนั เบรกไวล้ อ้ เดียว ยง่ิ ไม่ปลอดภยั ในขณะขบั รถ แทรกเตอร์การเกษตรบนทอ้ งถนน ฉะน้นั เมื่อเราขบั รถบนถนนตอ้ งล็อคคนั เหยยี บเบรกใหท้ างานท้งั ลอ้ ซา้ ยและ ขวา 7.แรงท่ีใชใ้ นการเบรก เบรกท่ีถูกออกแบบมาในแต่ละชนิดจะมีกลไกและอุปกรณ์แตกตา่ งกนั ออกไป มีผล ทาใหก้ ารใชเ้ บรกมีความแตกต่างกนั ดว้ ย 8.ผวิ หนา้ สัมผสั ของผา้ เบรกของแตล่ ะชนิดมีความแตกต่างกนั เพราะเน่ืองจากวสั ดุท่ีนามาทามีคุณสมบตั ิ แตกตา่ งกนั จะมีความฝืดไม่เหมือนกนั ในขณะเราทาการเบรกรถแทรกเตอร์การเกษตร กย็ อ้ มมีความแตกตา่ งกนั 9.จานวนของดอกยาง จะเห็นไดว้ า่ ดอกยางของรถแทรกเตอร์การเกษตรจะใหญ่และมีจานวนนอ้ ย ทาใหม้ ี แรงเกาะยดึ และมีแรงดนั ตระกุยดินและออกแบมาเพ่ือใชใ้ นงานในไร่ ในนา ที่มีน้าขงั โคลนโตรม พ้นื ดินอ่อน ดิน ร่วนซุย ดอกยางจะทาให้รถแทรกเตอร์การเกษตร ทางานไดด้ ีมากข้ึน การล่ืนของเบรกรถแทรกเตอร์การเกษตร Fading is phenomenon of braking การล่ืนของแผน่ เบรกกบั จานเบรก เป็ นผลการเกิดข้ึน เน่ืองจากความร้อนที่เกิดข้ึนจากการเสียดทาน ระหวา่ งแผน่ เบรกกบั จานเบรก เม่ือมีการเบรกบ่อยๆคร้ัง โดยทวั่ ไปแลว้ คา่ สมั ประสิทธ์ิของการเสียดทานระหวา่ ง แผน่ เบรกกบั จานเบรกจะลดลง เม่ืออุณหภูมิสูงข้ึน ดงั น้นั เม่ืออุณหภูมิสูงข้ึน คา่ สมั ประสิทธ์ิของการเบรกจะตอ้ ง ลดลงไปดว้ ยอยา่ งแน่นนอน รูปที่ 36 22 Hs3cmi

จากตารางขา้ งตน้ ความสัมพนั ธ์ของค่าสัมประสิทธ์ิของการเสียดทานของวตั ถุใดๆในที่น้ีหมายถึงคา่ สมั ประสิทธ์ิของระบบเบรกรถแทรกเตอร์การเกษตร มีแผน่ ผา้ เบรกกบั จานเบรกที่ทาใหเ้ กิดความร้อน ตลอดจน อุณหภูมิของน้ามนั เกียร์ที่เกิดจาก การทางานของระบบต่างๆของรถแทรกเตอร์การเกษตร ท่ีมีการเสียดสีเสียดทาน ซ่ึงกนั และกนั จึงทาใหเ้ กิดความร้อนและอุณหภูมิข้ึนได้ จากตวั อยา่ งถา้ อุณหภูมิที่ 100 องศา ค่าสัมประสิทธ์ิของ การเบรกจะอยทู่ ่ีประมาณ 0.4 ไมคร่อน แตถ่ า้ อุณหภูมิสูงข้ึนประมาณ 500 องศา จะทาใหค้ า่ สมั ประสิทธ์ิการเบรก ลดลงเหลือเพยี ง 0.1 ไมคร่อนเทา่ น้นั แสดงวา่ ถา้ ค่าสัมประสิทธ์ิของการเบรกมีการเปล่ียนแปลงตามอุณหภูมิของ น้ามนั เกียร์ดว้ ย รูปท่ี37 คา่ สัมประสิทธ์ิ ในการเบรก ซ่ึงแสดงสมรรถนะในรูปแบบกราฟและแรงกระทากบั การเบรก รูปที่ 38 แสดงสมรรถนะการเบรกและค่าสัมประสิทธ์ิ ในการเบรกและการล่ืนไถลของการเบรก 23 Hs3cmi

ระบบเบรกขณะขบั เคล่ือน Traveling brake รูปท่ี39 ส่วนประกอบของเบรก 6.เมด็ ลูกปื น 1.เพลาเบรก 7.แผน่ ลูกเบ้ียวเบรก 2 2.เส้ือเบรก 8.แหวนลอ็ คนอก 3.แผน่ เบรก 9.เพลาแกนลูกเบ้ียว 4.แผน่ กดเบรก 10.แกนลูกเบ้ียว 5.แผน่ ลูกเบ้ียวเบรก 1 จากรูปที่ 39 สาหรับการเบรกขณะรถแทรกเตอร์การเกษตรขบั เคล่ือน จะอาศยั การทางาน โดยอิสระของ แผน่ เบรกแบบเปี ยกท่ีเกิดต้งั บนเพลาเบรก(1) ซ่ึงส่งกาลงั งานตอ่ ไปยงั เพลาลอ้ หลงั เบรกชนิดน้ีจะประกอบไปดว้ ยเส้ือเบรก(2) ซ่ึงใส่น้ามนั เกียร์เบรกออกแบบมาเพ่ือใหท้ างานในน้ามนั เกียร์ มี การทางานดงั น้ีเม่ือลูกเบ้ียว1(5)ถูกกดเขา้ กบั แผน่ เบรก(3) ซ่ึงสวมอยบู่ นเพลาเบรก โดยระบบเฟื องลกั ษณะเป็น สไปรน์เป็นลกั ษณะปลายเพลาเป็นร่องเฟื อง เพอื่ ให้ต่ออุปกรณ์อ่ืนตอ่ ไป และหมุนไปพร้อมกบั เพลาเบรก (3) ทาให้ แกนลูกเบ้ียวทางานหรือกดเขา้ หาแผน่ เบรกโดยใชล้ ูกเบ้ียวบนแผน่ ลูกเบ้ียวและเมด็ ลูกปื นเหล็ก(6) เพื่อใหเ้ บรก ทางานไดด้ ี ข้ึนจาเป็นตอ้ งมีแผน่ เบรกหลายแผน่ หลายอนั แผน่ กดเหล่าน้ีจะติดต้งั อยทู่ ้งั ทางดา้ นลอ้ ซา้ ยและลอ้ ขวา พร้อมท้งั แผน่ กดเบรก(4)หรือจานเบรก ซ่ึงยดึ ติดอยกู่ บั เส้ือเบรกโดยอยรู ะหวา่ งแผน่ เบรก 24 Hs3cmi

รูปท่ี 40 มสี ่วนประกอบดงั นี้ 1.เพลาเบรก 2.เส้ือเบรก 3.แผน่ เบรก 4.แผน่ กดเบรก 5.แผน่ ลูกเบ้ียวเบรก1 6.เมด็ ลูกปื น มีจานวน 6 เมด็ 7.แผน่ ลูกเบ้ียวเบรก2 8.เพลาแกนลูกเบ้ียว 9.แกนลูกเบ้ียว หลกั การทางานขณะเบรกทางาน During braking จากรูปที่ 40 เม่ือเราเหยยี บคนั เหยยี บเบรกลงไปบนท่ีคนั เหยยี บเบรก แรงเหยยี บจะทาใหเ้ พลาแกนลูกเบ้ียว (8)หรือกา้ นจานลูกเบ้ียวตวั นอก เคล่ือนท่ีไปตามทิศทางลูกศร ขณะเดียวกนั แกนลูกเบ้ียว(9)หรือกา้ นจานลูกเบ้ียวตวั ใน ซ่ึงยดึ ติดกบั เพลาแกนลูกเบ้ียว(8) โดยระบบปลายเพลาทาร่องฟันเฟื อง (แบบสไปรน์) จะเคล่ือนที่ไปดว้ ย ซ่ึงจะ ทาใหเ้ กิดแรงไปดนั แผน่ ลูกเบ้ียวเบรก 1 (5) เคลื่อนท่ีไปตามลูกศร เมด็ ลูกปื นเหลก็ (6) ซ่ึงยใู นร่องของแผน่ ลูกเบ้ียว เบรก 2 (7) จะผลกั แผน่ ลูกเบ้ียวหรือจานลูกเบ้ียว 1 (5 ) เขา้ หาแผน่ เบรก (3) ทาใหเ้ กิดการเบรกหรือเกิดการลด ความเร็วลงของเพลาจนหยดุ ในท่ีสุด เน่ืองจากแรงเสียดทานของแผน่ เบรกกบั แผน่ กดเบรกหรือจานเบรก(4) น้นั เอง จานวนแผน่ เบรก สาหรับรถแทรกเตอร์การเกษตรคูโบตา้ มีดงั น้ี รุ่น M4030 (DT) กบั รุ่นM4500 (DT) มีแผน่ เบรกจานวน 2 แผน่ รุ่น M5030 กบั รุ่นM6030และM6030 (DT มีแผน่ เบรกจานวน 3 แผน่ รุ่น M7030 กบั รุ่นM7030 (DT และM8030 (DT) มีแผน่ เบรกจานวน 4แผน่ สาหรับรถแทรกเตอร์การเกษตรฟอร์ด รุ่น 2000 3000 4000 5000 มีแผน่ เบรกจานวน 5แผน่ รุ่น 5500 6600 6610 7600 8600 มีแผน่ เบรกจานวน 4แผน่ 25 Hs3cmi

สาหรับรถแทรกเตอร์การเกษตรจอห์นเดียร มีแผน่ เบรกจานวน 5แผน่ รุ่น 2250 2450 2650 2650N และ 2850 มีแผน่ เบรกจานวน 1แผน่ รุ่น 2120 มีฝักผา้ เบรกจานวน 1แผน่ รุ่น 2120 มีแผน่ เบรกจานวน 5แผน่ สาหรับรถแทรกเตอร์การเกษตรแมสส้ีย-เฟอร์กสุ ่นั มีแผน่ เบรกจานวน 5แผน่ รุ่น MF175 187 รุ่น MF240 275 290 มีฝักเบรกจานวน 2แผน่ มีแผน่ เบรกจานวน 2แผน่ สาหรับรถแทรกเตอร์การเกษตรมิชูบีชิ รุ่น MT190 มีฝักผา้ เบรกจานวน 2แผน่ รุ่น MT230 กบั รุ่นMT270 มีฝักผา้ เบรกจานวน 4แผน่ สาหรับรถแทรกเตอร์การเกษตรอีเชกิ รุ่น TX 1000 TX 1000F TX1300F รุ่น TX 15000 TX1500F รูปท่ี 41 แสดงสาหรับแผน่ เบรกแบบจานเบรกโดยใชแ้ รงดนั น้ามนั ไฮดรอลิก และจานวนแผน่ เบรก รูปท่ี 42 แสดงสาหรับแผน่ เบรกแบบจานเบรก ใชล้ ูกปื นกลม และจานวนแผน่ เบรก 26 Hs3cmi

ลกั ษณะการติดต้งั และการใชเ้ บรก จานวนของแผน่ เบรก (Number of brake disc) แตล่ ะบริษทั ออกแบบมาในแต่ล่ะรุ่น ไมเ่ หมือนกนั เน่ืองจาก ขนาดตวั รถแรกเตอร์การเกษตร การใชง้ าน การลงทุน ลกั ษณะการเบรก ชนิดของเบรก และตาแหน่งติดต้งั ของเบรก การติดต้งั จะอยทู่ ่ีเพลาขา้ งเฟื องขบั ลอ้ ท่ีเพลาเบรกก่อนจะตอ่ ไปขบั เฟื องลอ้ หลงั หรือเบรกจะถูกติดต้งั ดา้ นเฟื องทด ขบั ลอ้ เบรกที่นิยมใชใ้ นรถแทรกเตอร์การเกษตร ท่ีมีขนาดแรงมา้ ต่ากวา่ 40 แรงมา้ จะเป็นเบรกแบบขยายออก (Internal expansion type) เช่นรถแทรกเตอร์การเกษตร ย่ีหอ้ มิตชูบิชิ รุ่น MT 190 รถแทรกเตอร์การเกษตร ยหี่ อ้ อีเซกิ รุ่น TX 1000 เป็นตน้ ตารางขา้ งล่างเป็นเพยี งตวั อยา่ ง รุ่นรถ เบรก ลกั ษณะการใช้ ลกั ษณะการ จานวนแผน่ ตาแหน่งการ เบรก เบรกกลไก ติดต้งั เบรก การเบรกขณะ ใชเ้ ทา้ ทาการ แบบกลไกกา้ น ท่ีเพลาเบรก M4030 ขบั เคลื่อน 2 (ในเส้ือเบรก) เบรก ต่อ แบบกลไกกา้ น 2 ที่เพลาเบรก M4030 การเบรกขณะจอด ใชม้ ือทาการ ตอ่ ร่วมกบั เบรก (ในเส้ือเบรก) เบรก ขบั เคล่ือน M5030 การเบรกขณะ ใชเ้ ทา้ ทาการ แบบกลไกกา้ น ท่ีเพลาเบรก 3 (ในเส้ือเบรก) M6030 ขบั เคลื่อน เบรก ต่อ แบบกลไกกา้ น 3 ท่ีเพลาเบรก M5030 การเบรกขณะจอด ใชม้ ือทาการ ตอ่ ร่วมกบั เบรก (ในเส้ือเบรก) M6030 เบรก ขบั เคล่ือน M7030 การเบรกขณะ ใชเ้ ทา้ ทาการ แบบกลไกกา้ น ที่เพลาเบรก 4 (ในเส้ือเบรก) M8030 ขบั เคล่ือน เบรก ตอ่ แบบกลไกกา้ น 4 ที่เพลาเบรก M7030 การเบรกขณะจอด ใชม้ ือทาการ ต่อร่วมกบั เบรก (ในเส้ือเบรก) M8030 เบรก ขบั เคล่ือน รูปที่ 43 27 Hs3cmi

ระบบเบรกขณะจอดรถแทรกเตอร์การเกษตร(เบรกมือ) Perking brake system รูปที่ 44 มีส่วนประกอบดงั น้ี 1.คนั เบรกมือ 2.คนั เหยยี บเบรก 3.กา้ นเบรกมือ 4.กา้ นตอ่ เบรก จากรูปท่ี 44 การทางานเมื่อผรู้ ับการฝึกดึงเบรกมือข้ึนกา้ นต่อ จะทางานร่วมกนั กบั กา้ นตอ่ เบรกขบั เคล่ือน ดว้ ยกนั เม่ือดึงดนั เบรกมือ(1)ข้ึนจะเกิดผลเช่นเดียวกบั การเหยยี บลงไปบนคนั เหยยี บเบรก (2) โดยอาศยั กา้ นตอ่ เบรกมือ(3) และทาใหก้ า้ นต่อเบรกทางาน ทาใหจ้ ุดหมุนคนั เหยยี บเบรก(9) ดึงกา้ นเบรก(4) เคลื่อนท่ีตามลูกศร ซ่ึงจะ ทาให้ ชุดจานเบรก ลูกเบ้ียวเบรก แผน่ เบรก เหมือนเบรกดว้ ยเทา้ ไว้ ในขณะจอด เพ่อื ป้องกนั ไมใ่ หร้ ถแทรกเตอร์ การเกษตร ล่ืนไหลจากตาเหน่งที่จอด เพอื่ ความปลอดภยั รูปท่ี 45 28 Hs3cmi

ภาคทักษะ Skill ทกั ษะในการถอด ประกอบ การตรวจสอบและการปรับต้งั สิ่งท่ีผรู้ ับการฝึกตอ้ งคานึงถึงเสมอคือความปลอดภยั ในการทางาน ควรศึกษารายละเอียดของคูม่ ือ การซ่อมและคู่มือการใชง้ าน ใหป้ ฏิบตั ิตามคาแนะนา ในสัญลกั ษณ์หรือขอ้ คาเตือนตา่ งๆในคูม่ ือการซ่อมและคู่มือ การใชง้ าน หรือแผน่ ป้ายเตือนท่ีติดอยู่ กบั ตวั รถแทรกเตอร์การเกษตร เป็ นหลกั การทางานควรครอบคลุมในเร่ือง ดงั ต่อไปน้ี 1.ความปลอดภยั ในการทางานดา้ นสถานที่ ดา้ นตวั รถแทรกเตอร์ และดา้ นบุคคล 2.มีความรู้และทกั ษะพ้ืนฐานในการฝึกทกั ษะงานน้นั ๆ 3.ความถูกตอ้ งและความเรียบร้อยในการทางาน 4.วธิ ีการทางานซ่ึงจะตอ้ งเนน้ ถึงข้นั ตอน 5.การเลือกใชว้ สั ดุ เคร่ืองมือ ท่ีเหมาะสม ถูกตอ้ ง และประหยดั 6.ระยะเวลาที่ใชใ้ นการทางาน ควรมีการวา่ งแผนในการเริ่มงานและเสร็จสิ้นงานน้นั ๆที่ดี 7.ผลงานที่สาเร็จออกมาวา่ เป็ นงานแบบไหน เช่นความสมบูรณ์ของงาน 1.ให้ผู้รับการฝึ กทาการการถอด ประกอบคนั เบรก Brake pedal รถแทรกเตอร์การเกษตร ในแตล่ ะรุ่นแต่ละยห่ี อ้ จะมีส่วนประกอบของเบรก ซ่ึงมีความแตกต่างกนั ออกไป ผูู ู้รับการฝึกตอ้ งศึกษาจากเอกสารประกอบการฝึกเพมิ่ เติม อนั ดบั แรก ส่ิงท่ีผรู้ ับการฝึกตอ้ งฝึกการจดจา ชื่อ ชิ้นส่วน จานวน ลกั ษณะ การติดต้งั ขอ้ ควรระวงั ขอ้ ควรจา ขอ้ สาคญั และทกั ษะในการถอดและประกอบ ตอ้ งรู้ หลกั การทางานของสิ้นส่วนน้นั ๆ ขอ้ สาคญั คือ ตอ้ งเขา้ ใจดว้ ยเหตุผลวา่ ทาท่ีตอ้ งออกแบบมาลกั ษณะน้ี มีไวเ้ พ่ือ อะไร เพราะอะไร เม่ือหาเหตุผลไดแ้ ลว้ จ่ึงจะทาใหผ้ รู้ ับการฝึกทางานดว้ ยความรู้ ความเขา้ ใจอยา่ งแทจ้ ริง จึงจะไม่ ลืม ซ่ึงมีส่วนประกอบดงั น้ี รูปที่46 มีส่วนประกอบดงั น้ี 1.คนั เหยยี บเบรกดา้ นขวา 2.สปริงดงั กลบั 3.กา้ นตอ่ เบรก 1 4.น๊อตล็อค 5.กา้ นตอ่ ปรับต้งั 6.กา้ นต่อเบรก 2 7.แหวนลอ็ คตวั นอก 8.ปลอกเหล็ก 9.ซีลกนั ฝ่ นุ 29 Hs3cmi

10.บูช๊ 11คนั เหยยี บเบรก ดา้ นซา้ ย 12.สกรูล็อค 13.ปลอกเพลาเบรก 14.เพลาเบรก 15. ปิ้ นล็อค รูปที่ 47 ข้นั ตอนการถอดและประกอบคนั เหยยี บเบรก Brake pedal 1.ใหผ้ รู้ ับการฝึกถอดปิ้ นลอ็ ค(15)ที่กา้ นต่อเบรก 1 (3)ออก 2.ใหผ้ รู้ ับการฝึกถอดสกรูลอ็ คและแหวนลอ้ คตวั นอก(7) ดึงเพลาคนั เหยยี บเบรกออก(14) 3.ใหผ้ รู้ ับการฝึกถอดน๊อตยดึ ปลอกเพลาเบรกและถอดเพลาเบรกออก(13) เมื่อผรู้ ับการฝึกทาการประกอบ ใหผ้ รู้ ับการฝึกทาการประกอบยอ้ นข้นั ตอนการถอด ขอ้ ควรจา 1.หลงั จากผรู้ ับการฝึกขนั น๊อตใหไ้ ดค้ ่าแรงบิด ตามกาหนดแลว้ ใชล้ วด สอดท่ีหวั น๊อตจะเป็นลกั ษณะพิเศษทาเป็นรูไว้ สาหรับสอดลวด และบิดเส้นลวดใหเ้ ป็นเกลียว ใหแ้ น่นเพ่ือไมใ่ หน้ ๊อตคลายตวั ได้ 2.หลงั จากผรู้ ับการฝึกประกอบคนั เหยยี บเบรกแลว้ ใหท้ าการอดั จาระบี จนกระท้งั จาระบีลน้ ออกมา แสดงวา่ จาระบี เขา้ ไปเตม็ แลว้ รูปท่ี 48 ขอ้ สาคญั มาก หลงั จากผรู้ ับการฝึกประกอบคนั เหยยี บเบรกแลว้ อยา่ ลืม ปรับระยะคนั เหยยี บเบรกให้ไดต้ ามคา่ กาหนดตามคู่มือการ ซ่อม เพือ่ ความปลอดภยั ในการใชง้ าน สกรูล็อค 17.0 ถึง19.0กกร.ม แรงบิดใชใ้ นการขนั น๊อต สกรูยดึ ปลอกเพลาคนั เบรก 7.9 ถึง 9.2 กกร.ม 30 Hs3cmi

2.ให้ผ้รู ับการฝึ กทาการการถอด ประกอบเบรก Brake รถแทรกเตอร์การเกษตร ในแตล่ ะรุ่นแต่ละยหี อ้ จะมีชิ้นส่วนและจานวนลกั ษณะการถอดและการประกอบ มีความแตกต่างกนั ออกไป ผรู้ ับการฝึกตอ้ งศึกษาจากเอกสารประกอบการฝึกเพิ่มเติม ซ่ึงจะมีส่วนประกอบดงั น้ี มีส่วนประกอบ 1.ปิ้ นล็อค 2.แผน่ ลูกเบ้ียว 2 3.สปริง 4.เมด็ ลูกปื น 5.ปิ้ นลอ็ คสปริง 6.แผน่ ลูกเบ้ียว 2 7.แผน่ เบรก 8.ปะเก็น 9.เส้ือเบรก 10.น๊อต 11.ปลอกนา 12.แผน่ กดเบรก 13.แหวนล็อคตวั นอก 14.กา้ นลูกเบ้ียว 15.แหวนยาง (O-ring) 16.เพลากา้ นลูกเบ้ียว รูปท่ี 49 ใหผ้ รู้ ับการฝึกจะทาการถอดแผน่ ลูกเบ้ียว 1 และแผน่ ลูกเบ้ียว 2 และแผน่ เบรก แผน่ กดเบรก ออกแยกจากชุดเบรก ใหผ้ รู้ ับการฝึกทาตามข้นั ตอนดงั น้ี 1.ใหผ้ รู้ ับการฝึกใชต้ ะขอเก่ียวดึงสปริงข้ึน และใชค้ ีมดึงปิ้ นล็อคออก(1)และถอดสปริงออก (3) 2.ใหผ้ รู้ ับการฝึกถอดน๊อตออก (10) และดึงแผน่ ลูกเบ้ียว 1 (2) ยกเมล็ดลูกปื นออกจากเป้า ดึงแผน่ ลูกเบ้ียว 2 (6) ดึงแผน่ เบรก (7) และแผน่ กดเบรก (12) และ แยกออกจากกนั 3.ใหผ้ รู้ ับการฝึกถอดแหวนล็อคสปริงตวั นอก(13)และ ถอดแผน่ กดเบรกออกจากเพลาเบรก(16) 31 Hs3cmi

ขอ้ ควรระวงั แผน่ ผา้ เบรก เวลาจดั วาง อยา่ วางในลกั ษณะแนวต้งั ใหผ้ ูร้ ับการฝึกวางลกั ษณะแนวนอนเพื่อป้องกนั ไม่ใหเ้ กิดความ เสียหายและชารุดไดง้ ่าย เม่ือผรู้ ับการฝึกทาการประกอบ ใหผ้ รู้ ับการฝึกดูร่องน้ามนั ของแผน่ เบรกหรือแผน่ ความฝืด เมื่ออยใู่ นน้ามนั จะมีพ้ืนท่ีหรือมีขนาดไม่มากกวา่ 1 ใน3 ส่วน ของพ้ืนที่ตามร่องของน้ามนั บนแผน่ เบรกท้งั หมด รูปท่ี 50 คนั เหยยี บเบรกแบบคนั เหยยี บเบรกบน รูปที่ 51 คนั เหยยี บเบรกแบบคนั เหยยี บเบรกล่าง เม่ือถอดแยกออกจากชุดเบรกมาแลว้ จะมีส่วนประกอบดงั น้ี รูปท่ี 52 1.หมายเลข(2)แผน่ ลูกเบ้ียว 2 2.หมายเลข(6)แผน่ ลูกเบ้ียว1 แรงบิดใชใ้ นการขนั น๊อต น๊อตยดึ แผน่ ลูกเบ้ียว 2 3.หมายเลข(7)แผน่ เบรก 4.หมายเลข(9)เส้ือเบรก 5.หมายเลข(12)แผน่ เหลก็ 6.หมายเลข(14)กา้ นลูกเบ้ียวเบรก 7.หมายเลข(16)เพลากา้ นลูกเบ้ียวเบรก 8.หมายเลข(17)เพลาลูกเบ้ียวเบรก 9.หมายเลข(18)แหวนล็อคปลายเพลา 48.1 ถึง 55.9นิวตนั .ม 4.9 ถึง 5.7 กกร.ม 35.4 ถึง 41.2 ฟุต.ปอนด์ 32 Hs3cmi

3.ให้ผ้รู ับการฝึ กทาการการถอด ประกอบเพลาก้านลกู เบยี้ วเบรก รถแทรกเตอร์การเกษตร ในแตล่ ะรุ่นแตล่ ะยหี อ้ จะมีเพลากา้ นลูกเบ้ียวลกั ษณะไมเ่ หมือนกนั จะตอ้ งทา เคร่ืองหมายก่อนการถอด หรือมีลกั ษณะ มีความแตกตา่ งกนั ออกไปผรู้ ับการฝึก ตอ้ งศึกษาจากเอกสารประกอบการ ฝึกเพ่ิมเติม มีส่วนประกอบดงั น้ี มีส่วนประกอบดงั น้ี 1.เพลากา้ นลูกเบ้ียว 2.กา้ นลูกเบ้ียว 3.เคร่ืองหมายการถอด และประกอบ(มาร์ค) รูปท่ี 53 รูปท่ี 54 รูปท่ี 55 ใหผ้ รู้ ับการฝึกทาการถอดตามข้นั ตอนดงั น้ี 1.ใหผ้ รู้ ับการฝึกทาเคร่ืองหมายก่อนทาการถอดเพ่ือใหง้ ่ายตอ่ การประกอบ 2.ใหผ้ รู้ ับการฝึกถอดแหวนสปริงตวั นอกท่ีอยบู่ นเพลากา้ นลูกเบ้ียว 3.ใหผ้ รู้ ับการฝึกถอดเพลากา้ นลูกเบ้ียว(1)และกา้ นลูกเบ้ียว(2) เม่ือผรู้ ับการฝึกทาการประกอบ 1.ใหผ้ รู้ ับการฝึกใชจ้ าระบีทาเลก็ นอ้ ยบริเวณ(A) ก่อนทาการประกอบเขา้ ดว้ ยกนั 2.ใชแ้ หวนยางตวั ใหม่ (O-ring) 3.ใหผ้ รู้ ับการฝึกใหเ้ ครื่องหมายหรือมาร์ค (3) ใหต้ รงกบั เพลากา้ นลูกเบ้ียวกบั กา้ นลูกเบ้ียว 33 Hs3cmi

การตรวจสอบชิน้ ส่วนทส่ี ึกหรอ การตรวจสอบชิ้นส่วนของระบบเบรกรถแทรกเตอร์น้ัน หรือเราเรียกอีกอย่างหน่ึงว่าการบริการ เบรก (Servicing) การแก้ไขปัญหา การซ่อมชิ้นส่วนที่สึกหรอ ส่วนมากการซ่อมจะเป็ นการเปล่ียน ชิ้นส่วนใหม่ เข้าแทนที่ชารุดที่เสียหาย แต่ก่อนจะทาการเปล่ียนทุกคร้ัง ผูร้ ับการฝึ กต้องทาการตรวจสอบ ชิ้นส่วนน้นั ๆก่อนทุกคร้ัง การตรวจสอบกระทาไดห้ ลายแบบ หลายวธิ ี ถา้ ผรู้ ับการฝึกตรวจสอบโดยใชเ้ คร่ืองมือ คา่ ที่ วดั ไดน้ าไปเปรียบเทียมกบั ค่ามาตรฐานกบั คู่มือการซ่อมที่กาหนดไว้ จะอยใู่ นเกณฑค์ ่าใชไ้ ดห้ รือไม่ แตถ่ า้ ผูร้ ับการ ฝึกวดั ไดเ้ กินกวา่ ค่าที่กาหนดไว้ ใหผ้ รู้ ับการฝึกตอ้ งเปลี่ยนใหมท่ นั ที การตรวจสอบผรู้ ับการฝึกสามารถแบ่งออกเป็น 2 วธิ ี ดงั น้ี 1.วธิ ีการตรวจสอบดว้ ยสายตา 2.วธิ ีการตรวจสอบดว้ ยเคร่ืองมือพเิ ศษ รูปท่ี 56 1. การตรวจสอบดว้ ยสายตาน้นั สามารถทาไดไ้ ดง้ ่าย แต่ไมม่ ีความถูกตอ้ งและไม่แน่นนอน ถา้ ชิ้นส่วนน้นั มีการสึกหรอไม่มากนกั หรือสึกหรอเพยี งเลก็ นอ้ ย การตรวจแบบน้ีจะทาใหค้ ่าผดิ พลาดค่อนขา้ งสูง และทาใหเ้ กิด ปัญหาตามมากบั การเบรก ไม่จบสิ้น เพราะบางคร้ังการตรวจสอบของผรู้ ับการฝึกแต่ละคนจะแตกต่างกนั อาจจะ ถูกตอ้ งหรือผดิ ไมม่ ีส่ิงท่ีบอกได้ อาจก่อใหเ้ กิดอนั ตรายต่อ ผรู้ ับการฝึกเอง หรือบุคคลอ่ืน และตวั รถแทรกเตอร์ได้ แต่ก็เป็นการทาไดง้ ่าย ในระดบั เบ้ืองตน้ เท่าน้นั และลงทุนนอ้ ย รูปท่ี 57 34 Hs3cmi

2. การตรวจสอบดว้ ยเคร่ืองมือพเิ ศษ น้นั กระทาไดไ้ มง่ ่ายจนเกินไป ท้งั ผรู้ ับการฝึกตอ้ งไดร้ ับการฝึก เกี่ยวกบั การใชเ้ คร่ืองมือน้นั อยา่ งถูกตอ้ งและถูกวธิ ี การใชต้ อ้ งมีความเขา้ ใจในการใชเ้ ครื่องมือแต่ละชนิด คา่ ที่วดั ได้ นาไปเปรียบเทียบกบั คา่ มาตรฐานจากคู่มือการซ่อมรถแทรกเตอร์การเกษตรในแต่ละรุ่นแตล่ ะยห่ี อ้ น้นั ดว้ ย เช่น เคร่ืองมือพิเศษ ไดแอลเกจ ไมโครมิเตอร์ เวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ โตะ๊ ระดบั เป็นตน้ รูปท่ี 58 1. ให้ผู้รับการฝึ กทาการตรวจสอบช่องว่างระหว่างเพลาคนั เหยยี บเบรกกบั บู๊ช 1.1.ใหผ้ รู้ ับการฝึกวดั ความโตภายนอกของเพลาเบรก(หนา้ สัมผสั แบร่ีง)ดว้ ยไมโครมิเตอร์วดั นอก 2.2.ใหผ้ รู้ ับการฝึกวดั ความโตภายในของบูช๊ เพลาเบรก ดว้ ยเกจวดั กระบอก(ทาเหมือนกบั ทีคนั เหยยี บคลตั ช์ วดั ความโตภายในของบูช๊ เพลาคลตั ช์ 3.3.ใหผ้ รู้ ับการฝึกวดั ความโตภายในของปลอกบูช๊ เพลาเบรกดว้ ยเกจวดั กระบอก(ไดแอลเกจ) 4.4 .ถา้ ผรู้ ับการฝึกตรวจสอบแลว้ ถา้ มีช่องวา่ งมากกวา่ ค่าที่ใชไ้ ด้ ใหผ้ รู้ ับการฝึกเปล่ียนใหม่ ขอ้ มูลเฉพาะรถแทรกเทรกเตอร์การเกษตรตระกูล M ของคูโบตา้ แทรกเตอร์ ช่องวา่ งระหวา่ งเพลาเบรกกบั บูช๊ ค่ากาหนด 0.050 ถึง 0.152 ม.ม คา่ ใชไ้ ด้ 0.0020 ถึง 0.0059 นิ้ว ความโตนอกของเพลาเบรก ค่ากาหนด 0.5 ม.ม ความโตในบูช๊ คนั เบรก ค่ากาหนด 0.0197 นิ้ว คนั คลตั ช์ ปลอกเพลาเบรก 27.948 ถึง 28.00ม.ม 1.100 ถึง 1.1023 นิ้ว 28.050 ถึง 28.00 ม.ม 1.1044 ถึง 1.1063นิ้ว 35 Hs3cmi

2. ให้ผู้รับการฝึ กทาการตรวจสอบการเคล่ือนทข่ี องเพลาก้านเพลาลกู เบีย้ ว Brake camshaft movement รูปท่ี 59 ใช้ ใหผ้ รู้ ับการฝึกทาตามข้นั ตอนดงั ต่อไปน้ี 2.1.ใหผ้ รู้ ับการฝึกใชม้ ือขยบั เพลากา้ นลูกเบ้ียวดู เพ่อื ตรวจสอบการเคลื่อนท่ี 2.2.เมื่อผรู้ ับการฝึกตรวจสอบแลว้ ถา้ การเคล่ือนที่ค่อนขา้ งหนกั หรือมีความฝื ดๆมาก ใหผ้ รู้ ับการฝึกถอดออก กระดาษทราย ขดั ระหวา่ งเพลากา้ นลูกเบ้ียว และรูบนเส้ือเบรกดว้ ยกระดาษทรายละเอียด 2.3.ใหผ้ รู้ ับการฝึกทาจาระบีเพยี งเล็กนอ้ ยท่ีแกนกา้ นลูกเบ้ียว 2.4.ใหผ้ รู้ ับการฝึกทาการประกอบและทาการตรวจสอบการเคลื่อนที่ 3. ให้ผู้รับการฝึ กทาการตรวจความเรียบของแผ่นลกู เบยี้ ว 1 Cam plate 1 flatness รูปท่ี 60 36 Hs3cmi

ใหผ้ รู้ ับการฝึกทาตามข้นั ตอนดงั ต่อไปน้ี 3.1.ใหผ้ รู้ ับการฝึกวา่ งแผน่ ลูกเบ้ียว1 ลงบนแผน่ เหลก็ เรียบ(โตะ๊ ระดบั )และสอดฟิ ลเลอร์เกจขนาด 0.3 ม.ม (0.012 นิ้ว)เขา้ ไประหวา่ งหนา้ สัมผสั ท้งั สอง เพื่อทดสอบตรวจดูวา่ ฟิ ลเลอร์เกจเขา้ ไปสะดวกหรือไม่ 3.2.ใหผ้ รู้ ับการฝึกตรวจสอบอยา่ งนอ้ ย 4 จุด โดยใหส้ อดฟิ ลเลอร์เกจอยใู่ นแนวต้งั ฉากกนั กบั แผน่ ลูกเบ้ียวเสมอ 3.3.ถา้ ผรู้ ับการฝึกตรวจสอบแผน่ ลูกเบ้ียว แลว้ ไม่เรียบ โดยไดค้ ่ามากกวา่ คา่ ใชไ้ ด้ ใหใ้ ชก้ ระดาษทราย ขดั แผน่ ลูก เบ้ียว 1 โดยขดั หมุนวนไปรอบๆ ใหเ้ ป็นลกั ษณะเป็นเลขแปด ถา้ สึกหรอมากเกิน ใหผ้ รู้ ับการฝึกเปล่ียนใหม่ 3.4.ใหผ้ รู้ ับการฝึกตรวจสอบดู เบา้ เมด็ ลูกปื นวา่ สึกหรอสม่าเสมอหรือไม่ 3.5.ใหผ้ รู้ ับการฝึกตรวจสอบรูร่องสลกั สึกหรอหรือไม ถา้ มีการสึกหรอเลก็ นอ้ ยควรซ่อมหรือเปล่ียนใหม่ ความเรียบของแผน่ ลูกเบ้ียว 1 คา่ ใชไ้ ด้ 0.3 ม.ม 0.012 นิ้ว 4.ให้ผู้รับการฝึ กทาการตรวจสอบการสึกหรอของแผ่นเบรก Brake disc wear รูปท่ี 61 ใหผ้ รู้ ับการฝึกทาตามข้นั ตอนดงั ต่อไปน้ี 4.1.ใหผ้ รู้ ับการฝึกทาการวดั ความหนาของแผน่ เบรกดว้ ยเวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ 4.2 .ถา้ ผรู้ ับการฝึกตรวจสอบเบรกแลว้ ไดค้ วามหนานอ้ ยกวา่ คา่ ใชไ้ ด้ ใหเ้ ปลี่ยนแผน่ เบรกใหม่ 4.3 .ใหผ้ รู้ ับการฝึกตรวจสอบฟันเฟื องหรือเข้ียวฟันเฟื อง วา่ มีการสึกหรอหรือแตกหกั หรือไม่ ถา้ มีการชารุดเสียหาย ใหเ้ ปล่ียนใหม่ ความหนาของแผน่ เบรก คา่ กาหนด 4.1 ถึง 4.3 ม.ม ค่าใชไ้ ด้ 3.3 ม.ม 37 Hs3cmi

5. ให้ผ้รู ับการฝึ กทาการตรวจการสึกหรอของแผ่นกดเบรก Plate wear รูปท่ี 62 ใหผ้ รู้ ับการฝึกทาตามข้นั ตอนดงั ต่อไปน้ี 5.1.ใหผ้ รู้ ับการฝึกวดั ความหนาของแผน่ กดเบรก ดว้ ยเวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ 5.2. ถา้ ผรู้ ับการฝึกตรวจสอบความหนาแลว้ ไดค้ วามหนาของแผน่ กดเบรกนอ้ ยกวา่ ค่าใชไ้ ด้ ใหเ้ ปลี่ยนแผน่ กดเบรก ใหม่ 5.3. ใหผ้ รู้ ับการฝึกตรวจสอบความบิดเบ้ียวความ โก่งงอ ของแผน่ กดเบรก ความหนาของแผน่ กดเบรก ค่ากาหนด 2.1 ถึง 2.5 ม.ม คา่ ใชไ้ ด้ 1.5 ม.ม 38 Hs3cmi

การตรวจสอบและปรับต้งั 1.ให้ผู้รับการฝึ กทาการตรวจสอบและปรับต้งั คนั เบรก Brake pedal รูปที่ 63 รูปท่ี64 การปรับระยะฟรีของคันเบรก Brake pedal free playให้ผู้รับการฝึ กทาตามข้นั ตอนดังต่อไปนี้ 1.1.ใหผ้ รู้ ับการฝึกกดคนั เหยยี บเบรกแตล่ ะขา้ ง 3 คร้ัง ดว้ ยแรง 392-490 นิว.ตนั (40-50 ก.ก,88-110ปอนด์) แลว้ ปลด ล็อคเบรกออกใหเ้ ป็ นอิสระ 2.2.ใหผ้ รู้ ับการฝึกกดท่ีก่ึงกลางของดา้ นคนั เบรกลอ้ ซา้ ย หรือดา้ นเบรกลอ้ ขวา ดว้ ยแรง10 ก.ก (22 ปอนด)์ และวดั ระยะฟรีการเคลื่อนตวั ของปลายคนั เบรกดา้ นคนั เบรกลอ้ ซา้ ยหรือดา้ นคบั เบรกลอ้ ขวา 3.3. ถา้ ผรู้ ับการฝึกปรับระยะฟรีไมไ่ ด้ คา่ อยใู่ นระหวา่ งคา่ กาหนด ใหผ้ ูร้ ับการฝึกปรับที่สกรูขนั กา้ นขอ้ ตอ่ ปรับ 1 ระยะฟรีของคนั เบรก คา่ กาหนด 45 ถึง 50 ม.ม 1.75 ถึง 1.79 นิ้ว รถแทรกเตอร์ คูโบตา้ 20 ถึง 30 ม.ม ระยะฟรีของคนั เบรก ค่ากาหนด 0.79 ถึง 1.18 นิ้ว รถแทรกเตอร์ มิตชูบิชิ 1/3 รอบ หรือ 2-3 ม.ม ระยะฟรีของคนั เบรก หมุนสกรูปรับต้งั จนชนคนั เบรกและ 1 ½ นิ้ว รถแทรกเตอร์ จอห์นเดียร หมุนกลบั 3.8 ซ.ม 1 นิ้ว ระยะฟรีของคนั เบรก ค่ากาหนด รถแทรกเตอร์ ฟอร์ด ระยะฟรีของคนั เบรก คา่ กาหนด รถแทรกเตอร์ แมสส้ีย-เฟอร์กสุ ่นั 39 Hs3cmi

ขอ้ สาคญั มาก -ผรู้ ับการฝึกทาการปรับต้งั ระยะฟรีของคนั เบรก ท้งั ดา้ นคนั เบรกลอ้ ซา้ ยและดา้ นคนั เบรกลอ้ ขวา จะตอ้ งไมม่ ีระยะ ฟรีที่แตกต่างกนั เกิน 5 ม.ม (0.20 นิ้ว) ส่วนประกอบ 1.ขอ้ ต่อปรับต้งั 2.น๊อตล็อค รูปที่ 65 ขอ้ ควรจา -หลงั จากผรู้ ับการฝึ กทาการปรับต้งั ไดต้ ามคา่ กาหนดแลว้ ใหล้ ็อคขอ้ ตอ่ ปรับต้งั (1) ใหแ้ น่นดว้ ยน๊อตล็อค (2) 2.ให้ผู้รับการฝึ กทาการปรับต้งั เบรกมือ Parking brake มีส่วนประกอบ 1.กา้ นตอ่ เบรกมือ 1 2.น๊อตล็อค 3.ขอ้ ต่อปรับต้งั 4.กา้ นต่อเบรกมือ 2 5.คนั เบรกมือ 6.ปิ้ นลอ็ คพร้อมแหวนรอง รูปท่ี 66 40 Hs3cmi

การปรับต้งั เบรกมือ สาหรับจอดจะไมใ่ ชร้ ถแทรกเตอร์การเกษตร หรือใชใ้ นกรณีท่ีตอ้ งการใชเ้ พลาอานวย กาลงั หรือใชใ้ นกรณีท่ีตอ้ งการเกบ็ รถแทรกเตอร์การเกษตรเป็ นเวลานานๆ การปรับต้งั เบรกมือตอ้ งล็อคคนั เบรกท้งั สองขา้ งเขา้ ดว้ ยกนั ก่อน หลงั จากน้นั ใหผ้ รู้ ับการฝึกทาตามข้นั ดงั ต่อไปน้ี 2.1.ใหผ้ รู้ ับการฝึ กกอป่ ุมล็อคเบรกแลว้ ดึงดนั เบรกมือข้ึนใหส้ ุด และปล่อยกบั ที่เดิม 2.2.ใหผ้ รู้ ับการฝึกทาการยกคนั เบรกมือข้ึนลง 4-5 คร้ัง 2.3.ใหผ้ รู้ ับการฝึกทาการสตาร์ทเคร่ืองยนต์ และเร่งรอบเคร่ืองยนตใ์ หอ้ ยทู่ ี่ความเร็วรอบเดินเบา 2.4.ใหผ้ รู้ ับการฝึกทาการเหยยี บเบรก(ใชค้ วามเร็วสูงสุด)ประมาณ16 คร้ัง เพื่อใหเ้ พลาเบรกหมุนดว้ ยความเร็ว 2.5.ใหผ้ รู้ ับการฝึกกลบั ไปทาดา้ นคนั เหยยี บคลตั ช์ ใหผ้ รู้ ับการฝึกเหยยี บคนั คลตั ช์แลว้ เขา้ เกียร์และปล่อยคลตั ชช์ า้ ๆ ตรวจสอบรอบการทางานของเคร่ืองยนต์ หรือตรวจสอบรถแทรกเตอร์การเกษตรเร่ิมเคลื่อนที่ และทาซ้าๆประมาณ 4-5 คร้ัง และปลดเกียร์ใหอ้ ยใู่ นต่าแหน่งเกียร์วา่ ง 2.6.ถา้ ผรู้ ับการฝึกตรวจสอบแลว้ รถแทรกเตอร์การเกษตรยงั จอดไม่อยกู่ บั ที่ ใหท้ าการปรับต้งั โดยการคลายน๊อตล็อค (2)และหมุนปรับขอ้ ตอ่ ปรับต้งั (3) หลกั การถอดและประกอบเบรกแบบไฮดรอลกิ แบบจานเบรก ระบบน้ีผรู้ ับการฝึกสามารถแบ่งออกเป็ นสองแบบคือ 1.คนั เหยยี บเบรกแบบคนั เหยยี บเบรกบน 2.คนั เหยยี บเบรกแบบคนั เหยยี บเบรกล่าง 1.คันเหยยี บเบรกแบบคนั เหยยี บเบรกบน ในระบบเบรกไฮดรอลิกแบบจานเบรกจะมีส่วนประกอบแยกส่วนระหวา่ เบรกลอ้ ดา้ นซา้ ยและลอ้ ดา้ นขวา ซ่ึงสามารถทาการเบรกลอ้ ดา้ นขวาและดา้ นซา้ ย หรือทาการเบรกไปพร้อมกนั ได้ โดยการล็อคคนั เหยยี บเบรก และ จะมีชุดลูกสูบแม่ป๊ัมเบรกแยกชุด แต่จะอยใู่ นเรือนแมป่ ๊ัมเบรกเดียวกนั จะเห็นไดว้ า่ มีความแตกตา่ งกบั ระบบเบรกรถ สาหรับรถยนตท์ ว่ั ไป จะมีแม่ปั๊มเบรกและลูกสูบแม่ปั๊มเบรกเพียงชุดเดียว และทาการเบรกไดท้ ้งั ส่ีลอ้ หรือหกลอ้ และ สิบลอ้ ไปพร้อมกนั ไมส่ ามารถแยกการเบรกลอ้ ซา้ ยหรือลอ้ ขวาได้ ไม่เหมือนกบั ระบบเบรกรถแทรกเตอร์การเกษตร ซ่ึงมีส่วนประกอบดงั น้ี รูปท่ี 67 41 Hs3cmi

มีส่วนประกอบดงั น้ี 11.ชุดลิ้นเบรกหรือลูกสูบแม่ปั๊มเบรก ใช้ 2 ชุด (L) 1.แหวนยาง O-ring (A) 12.ลิ้นป้องกนั การรั่วไหล ใช้ 2 ตวั (M) 2.ลิ้นควบคุมความดนั ทางเขา้ ใช2้ ตวั (B) 13.น๊อตยดึ ลิ้นป้องกนั การร่ัวไหล ใช้ 2 ตวั (N) 3.ปลก๊ั อุด (C) 14.สปริงใช้ 2 ตวั (O) 4.ขอ้ ต่อแบบฉาก(D) 15.ลูกปื นกลมใช้ 2 เมด็ (P) 5.แหวนยาง O-ring (E) 16.หมวกสปริง ใช้ 2 ตวั (Q) 6.สกรูปรับต้งั ใช2้ ตวั (F) 17.สปริง ใช้ 2 ตวั (R) 7.แหวนน้ามนั หรือซีลใช2้ ตวั (G) 18.ลูกสูบแมป่ ั๊มเบรก ใช้ 2 ตวั (S) 8.แหวนยางO-ring (H) 19.ปะเก็น ** (T) 9.ลิ้นเบรกท่ีเส้ือแมป่ ๊ัมเบรก (I) 20.แผน่ ยดึ หรือแผงยดึ ** (U) 10.สวติ ชไ์ ฟเบรกหรือสวติ ช์ (J) 21.ปะเก็น *** (V) แรงดนั น้ามนั ไฮดรอลิก ใช้ 2 ชุด * (K) 2.คันเหยยี บเบรกแบบคนั เหยยี บเบรกล่าง ในระบบเบรกไฮดรอลิกแบบจานเบรกคนั เหยยี บเบรกแบบคนั เหยยี บเบรกล่างน้ีกจ็ ะมีส่วนประกอบคลา้ ย กบั ระบบเบรกแบบคนั เหยยี บเบรกแบบคนั เหยยี บเบรกบน จะแตกต่างกนั ตรงท่ีตาแหน่งติดต้งั และคนั เหยยี บเบรก ซ่ึงจะแยกส่วนระหวา่ เบรกลอ้ ดา้ นซา้ ยและลอ้ ดา้ นขวา ซ่ึงสามารถทาการเบรกลอ้ ดา้ นและดา้ นซา้ ยหรือ ทาการเบรก ไปพร้อมกนั ได้ โดยการลอ็ คคนั เหยยี บเบรก และจะมีชุดลูกสูบแม่ปั๊มเบรกแยกชุด แตจ่ ะอยใู่ นเรือนแม่ป๊ัมเบรก เดียวกนั จะเห็นไดว้ า่ มีความแตกต่างกบั ระบบเบรกรถเช่นกนั รูปท่ี 68 42 Hs3cmi

มีส่วนประกอบดงั น้ี 15.แหวนยาง O-ring ใช้ 2 ตวั 1.ลิ้นควบคุมความดนั ป้องกนั ไหลกบั ชนิด Later type * 16.สกรูปรับต้งั ใช้ 2 ตวั 2.ลิ้นควบคุมความดนั ป้องกนั ไหลกบั ชนิด earlier type * 17.เส้ือลิ้นเบรกหรือแมป่ ั๊มเบรก 3.แหวนยาง o - ring * 18.ปลอกเล่ือน 4.น๊อตขอ้ ต่อ * 19.ลูกสูบแมป่ ๊ัมเบรก ใช้ 2 ตวั 5.ขอ้ ต่อฉากดา้ นป้องกนั น้ามนั ไหลเขา้ * 20.สปริง ใช้ 2 ตวั 6.แหวนยาง O-ring 21.หมวกหรือบา่ ลูกปื น ใช้ 2 ตวั 7.น๊อตขอ้ ต่อ 22.ลูกปื นกลม ใช้ 2 เมด็ 8.แหวนยาง O-ring ใช้ 2 ตวั 23.สปริง ใช้ 2 ตวั 9.ลิ้นควบคุมความดนั ป้องกนั ไหลกบั 24.แหวนยาง O-ring ใช้ 2 ตวั 10.แหวนยาง O-ring ใช้ 2 ตวั 25.น๊อตยดึ ลูกสูบแมป่ ั๊มเบรกหรือซีลลิ้น 11.ขอ้ ต่อน้ามนั ไฮดรอลิกดา้ นไหลกลบั ใช้ 2 ตวั 12.แหวนยาง O-ring 26.ชุดลิ้นเบรกหรือลูกสูบแมป่ ๊ัมเบรก ใช้ 2 ชุด 13.น๊อตยดึ ลิ้นควบคุมความดนั 27.สวติ ชไ์ ฟเบรกหรือสวิตช์แรงดนั น้ามนั 14.ซีลป้องกนั น้ามนั ไฮดรอลิกรั่ว ใช้ 2 ตวั ไฮดรอลิก ใช้ 2 ชุด ** 28.ลิ้นลดแรงดนั ใช้ 2ตวั 1.ส่วนประกอบของเบรกล้อหน้าแบบจานเบรกโดยใช้นา้ มันไฮดรอลกิ รูปที่ 69 43 Hs3cmi

มีส่วนประกอบดงั น้ี 6.สลกั ใช้ 2 ตวั (F) 1.แผน่ ยดึ (A) 7.ชุดลูกสูบกระบอกเบรก (G) 2.ขอ้ ต่อสามทางชนิดสามทาง (Sequence valve) (B) 8.ผา้ เบรก (H) 3.แผน่ จานเบรก (C) 9.สปริงล็อคผา้ เบรก (I) 4.สกรูไล่ลม (D) 5.เส้ือเบรก (E) 2.ให้ผู้รับการฝึ กทาการฝึ กประถอดประกอบเบรกล้อหลงั รูปท่ี 70 มีส่วนประกอบดงั น้ี 4.แผน่ กดแผน่ เบรก (D) (pressure ring) 1.สลกั (A) (Retraction pin assemblies) ใช้ 3 ตวั 5.แผน่ เบรก (E) (Brake Disk) 2.ซีลแหวนยาง (B) (Seal ring) 6.แผน่ กดแผน่ เบรก (F) (Brake ring) 3.ซีลแหวนยาง (C) (Seal ring) 1.ให้ผู้รับการฝึ กทาการถอดประกอบแผ่นจานเบรกและแผ่นกดแผ่นเบรก รูปที่ 71 44 Hs3cmi

2.ให้ผู้รับการฝึ กทาการการถอดแผ่นกดแผ่นเบรก ใชส้ ลกั (D) สอดเขา้ ไปในแผน่ กดเบรก (A) เพอ่ื ใหง้ ดออกได้ รูสารับสอดสลกั แผน่ กดแผน่ เบรกมีอยสู่ ามรู (C) รูปที่ 72 มีส่วนประกอบดงั น้ี 1. (A).แผน่ กดแผน่ เบรก 3. (C) กระบอกขนาดเส้นผา่ ศูนยก์ ลาง 7 ม.มหรือ0.28 นิ้ว 2.(B) แผน่ รอง 4. (D) สลกั หรือป๊ิ น 3.ให้ผู้รับการฝึ กทาการถอดประกอบเพลากาลงั ขับของชุดขบั ท้าย ใหผ้ รู้ ับการฝึกทาการตอกเส้ือเบรกใชส้ ลกั ตอกและดนั วงแหวนออกโดยใชส้ ลกั สามตวั (B) แลว้ ตอกยนั เขา้ ไปแลว้ จะทาใหว้ งแหวนเคลื่อนออกมาขอ้ ควรระวงั มากใชส้ ลกั (A) ใหเ้ ขา้ ที่เพ่ือใหก้ ารทางานไดด้ ี รูปที่ 73 45 Hs3cmi

4.ให้ผู้รับการฝึ กทาการการประกอบสลกั หรือ ปิ้ น ใหผ้ รู้ ับการฝึกทาการทาน้ามนั หล่อลื่นท่ีเกลียวดว้ ยค่าแรงบิดขนั ประมาณ 15 นิวตนั เมตรหรือ11ฟุตปอนด์ รูปที่ 74 5.ให้ผู้รับการฝึ กทาการการประกอบซีลแหวนยาง ใหผ้ รู้ ับการทาการประกอบซีลแหวนยาง(A) และซีลแหวนยาง(C) เขา้ ไปในเรือนวงแหวนแรงดนั (B) ให้ ผรู้ ับการฝึกทาดว้ ยจาระบีเอกประสงค์ JOHN Deere EP หรือจาระบีน้ามนั เอกประสงคเ์ บอร์ SAE EP รูปท่ี 75 6.ให้ผู้รับการฝึ กทาการประกอบแผ่นกอแผ่นเบรกหรือแผ่นวงแหวนเบรก ใหผ้ รู้ ับการฝึกทาการประกอบแผน่ กดแผน่ เบรกหรือแผน่ วงแหวนเบรกตอ้ งใส่ใหส้ ลกั ท่ีเส้ือเบรกเขา้ ท่ีใช้ แท่นกดไฮดรอลิกทาการอดั เขา้ ท้งั สามจุดดว้ ยความระมดั ระวงั ตอ้ งแน่ใจวา่ การซีลแหวนยางเขา้ ท่ี กดลงไปจนสุด รูปที่ 76 46 Hs3cmi

7.ให้ผู้รับการฝึ กทาการตรวจสอบแรงดันนา้ มันไฮดรอลกิ และตรวจสอบการร่ัวการไหลกลบั การเคล่ือนตวั ของวงแหวน ใหแ้ รงดนั น้ามนั ไฮดรอลิก แรงดนั ประมาณ 300 kPa หรือ3 Barหรือ 44 Psi ที่ แผน่ วงแหวนของแรงดนั ขอ้ ควรจา ใหแ้ รงดนั ลดลงจากแรงดนั สูงๆแลว้ จะตอ้ งเคลื่อนที่กลบั ใชเ้ วลา ประมาณ 10 วนิ าท่ีแรงดนั ตอ้ งลดลง ประมาณ 10kPas หรื 0.1 Bar หรือ 1.5 Psi จึงถือวา่ การเคลื่อนตวั ของวงแหวนแรงดนั ถูกตอ้ ง เม่ือแรงดนั ไหลกลบั แลว้ ตรวจสอบระดบั ของขอบวงแหวนท้งั 3จุด ทามุมกนั ประมาณ 120 องศา หลงั จากตรวจสอบการเคลื่อนตวั แลว้ ของวงแหวนควรจะตอ้ งมีคา่ นอ้ ยกวา่ 0.28 ม.ม หรือ0.011 นิ้วในเวลาประมาณ 15 วินาที การเคล่ือนตวั ไม่ควรเกิน 0.35ม.ม หรือ0.014 นิ้ว รูปที่ 77 มีส่วนประกอบดงั น้ี 1.(A) ขอ้ ต่อ 3. (C) เครื่องมือตรวจสอบลิ้นระบายแรงดนั 2.(B) ใดแอลเกจ 4.(D) ปั๊มไฮดรอลิกดว้ ยมือ 8.ให้ผ้รู ับการฝึ กทาการประกอบแผ่นเบรกเข้ากบั ตวั รถแทรกเตอร์การเกษตร ใหผ้ รู้ ับการฝึกทาการประกอบแผน่ เบรก(C) ดว้ ยใชต้ วั ปิ ดดา้ นแผน่ จานเบรกลูกเบ้ียวเบรกหรือใชห้ นา้ สัมผสั ของเส้ือเกียร์ ก่อนทาการประกอบตวั ขบั สุดทา้ ยเพลาขา้ งควรทาการตรวจสอบแผน่ เบรกใหส้ นิทกนั หรือการ ประกอบเพลาเบรก (A) ดว้ ยแผน่ จานเบรก (B) ในชุดขบั เพลาลอ้ สุดทา้ ย การประกอบควรทาใหล้ ะเอียดในข้นั ตอน ท้งั หมด รูปที่ 78 47 Hs3cmi

9.ให้ผ้รู ับการฝึ กทาการตรวจสอบเพลาเบรก ใหผ้ รู้ ับการฝึกทาการตรวจสอบระดบั ความหนาของแผน่ ผา้ เบรก ตอ้ งไมม่ ีจาระบีหรือน้ามนั อยเู่ ลย ความ หนาประมาณ 14.85 ถึง 15.10 ม.ม หรือ 0.585 ถึง 0.594 นิ้ว คา่ ที่ใชไ้ ดไ้ มค่ วรต่ากวา่ 7.85 ถึง 8.10 ม.มหรือ 0.309 ถึง 0.318 นิ้ว โดยการวดั สองแผน่ เบรกมากประกบกบั แลว้ ตรวจสอบความหนาท้งั หมด ดงั รูป รูปท่ี 79 10.ให้ผ้รู ับการฝึ กทาการตรวจสอบเพลาขบั จานเบรกหรือจานเบรก ใหผ้ รู้ ับการฝึกตรวจสอบความหนาท้งั หมดประมาณ 23.9 ถึง 24.1 ม.ม หรือ 0.940 ถึง 0.948 นิ้ว ค่าใชไ้ ด้ ประมาณ22.9 ม.ม หรือ0.901นิ้ว ค่าการบิดเบ้ียวไมเ่ กิน 0.1 ถึง 0.15 ม.ม หรือ 0.004 ถึง 0.006 นิ้ว และคา่ สูงสุดแผน่ ความฝืดประมาณ0.1 ถึง ม.ม หรือ0.004 นิ้ว รูปที่ 80 48 Hs3cmi

11.ให้ผู้รับการฝึ กทาการการประกอบเพลาขบั เบรก ค่าแรงบิดขนั น๊อตที่เส้ือเพลาคานหนา้ ประมาณ 170 นิวตนั เมตร หรือประมาณ125 ฟุต-ปอนด์ ถา้ เป็นบาง รุ่น ประมาณ75 นิวตนั เมตร หรือประมาณ 55 ฟุต-ปอนด์ รูปท่ี 81 ให้ผ้รู ับการทาการการถอดประกอบแม่ป๊ัมเบรกและการตรวจสอบการสึกหรอ รูปที 82 รูปที่ 83 ใหผ้ รู้ ับการฝึกทาการถอดประกอบแม่ป๊ัมเบรกแยกออกไดด้ งั น้ี 1.ให้ผ้รู ับการทาการตรวจสอบลูกสูบเบรกและลนิ้ ควบคุมแรงดันทางเข้า (A) ขอ้ ความสาคญั มาก ก่อนทาการถอดประกอบคนั เหยยี บเบรกลิ้นควบคุมแรงดนั (A) ทางเขา้ ก่อน เพอ่ื ความถูกตอ้ งและออกง่าย ใหผ้ รู้ ับการฝึกตรวจสอบการสึกหรือตามข้นั ดงั ตอ่ ไปน้ี 49 Hs3cmi

รูปท่ี 84 ใหผ้ รู้ ับการฝึกทาการตรวจสอบลูกสูบเบรกและลิ้นควบคุมแรงดนั ทางเขา้ (A) และลูกสูบแม่ปั๊มเบรก วา่ มี การสึกหรอหรืตรวจสอบขนาดเส้นผา่ นศูนยก์ ลาง การบิดเบ้ียวตวั ของลูกสูบ (B) (ตามลูกศร) เมื่อประกอบ หนา้ สัมผสั ของลูกสูบใหอ้ ยใู่ นตาแน่งท่ีถูกตอ้ งไม่มีการสึกหรอ 2.ให้ผู้รับการทาการประกอบซีลนา้ มนั และลนิ้ (equalizing valves) รูปท่ี 85 ใหผ้ รู้ ับการฝึกทาการประกอบซีลน้ามนั และลิ้นปรับแรงดนั ใหเ้ ทา่ กนั (Equalizing valves) ตรวจสอบการ เคล่ือนตวั ของซีลน้ามนั การสึกหรอ และประกอบลิ้นปรับแรงดนั ใหเ้ ทา่ กบั (A) เขา้ ไป ขอ้ ควรจา ใหผ้ รู้ ับการฝึกควรทาจาระบีเอกประสงคข์ องจอห์นเดียรก่อนทาการปรกอบ 50 Hs3cmi