Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ความรู้ดีๆ มีไว้ทำกิน: 9 องค์ความรู้ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล จัดทำและเรียงเรียงโดย สถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา

ความรู้ดีๆ มีไว้ทำกิน: 9 องค์ความรู้ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล จัดทำและเรียงเรียงโดย สถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา

Published by RMUTL Knowledge Book Store, 2020-07-07 21:12:20

Description: องค์ความรู้และเทคโนโลยี จากผลงานวิจัยและบริการวิชาการของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลทั้ง 9 แห่ง สู่สาธารณชน ร่วมกันระหว่างนักวิจัย ปราชญ์ชาวบ้าน และประชาชนทั่วไป จำนวน 9 เรื่อง ดังนี้
1) การประดิษฐ์ของที่ระลึกจากผ้าใยบัว
2) การปลูกกล้วยไม้เหลืองจันทบูร
3) การแปรรูปสินค้าจากสมุนไพร (ยาหม่อง)
4) การจัดทำผลิตภัณฑ์จากสมุนไพร
5) การปลูกพืชไร้ดิน
6) การผสมอาหารสัตว์ใช้เองในฟาร์มเกษตรรายย่อย
7) การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช และการพัฒนาผลิตภัณฑ์
8) การผลิตกล้วยฉาบ
9) การจัดการการท่องเที่ยวโดยชุมชน

Keywords: การยกระดับคุณภาพชีวิต,มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล,องค์ความรู้

Search

Read the Text Version

6. ทาํ การพนั ด้วยฟลอรา่ เทปตัง้ แตโ่ คนใบบวั ถงึ ปลายลวดแลว้ ฉกี ฟลอรา่ เทปออก 7. ทาํ การดดั ใบบัวใหโ้ ค้งขน้ึ โคง้ ลงตรงขอบเส้นลวดแตล่ ะช่องสลับกนั ไปเพอ่ื ใหเ้ กิดความพลิ้วไหวของใบบวั หมายเหตุ สามารถนาํ ดอกบัวเศรษฐีหรอื ใบบวั ไปจัดใส่แจกนั หรือภาชนะทีม่ ฟี ลอรา่ โฟม (ที่ใช้จัดดอกไม้แห้ง) หรือนําหลายๆ ดอกมาจัดช่อโดยใช้ฟลอร่าเทปพันรวมกัน หรือใช้ใบบัวพันกับดอกเป็นคู่ๆ ขึ้นอยู่ กบั ความตอ้ งการของผู้ทํา จดั ท�ำและเรียบเรยี งโดย สถาบนั ถ่ายทอดเทคโนโลยสี ชู่ มุ ชน มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลลา้ นนา

คำ� นำ� หนังสือ “ความรู้ดีๆ มีไว้ท�ำกิน” องค์ความรู้ 9 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคล ฉบับนี้ ได้จัดท�ำขึ้นเพ่ือใช้เป็นเอกสารประกอบการฝึกอบรมถ่ายทอดองค์ ความรู้และเทคโนโลยีสู่การประกอบอาชีพของ ภาคประชาชน ในงานประชุมสัมมนา วชิ าการนานาชาติ “การยกระดบั คณุ ภาพชวี ติ และภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ อาเซยี น” ครงั้ ที่ 2 (2nd International symposium on Local Wisdom and Improving Quality of Life) ในระหวา่ งวันที่ 30 พฤศจกิ ายน – 3 ธนั วาคม 2558 โดยมีวัตถปุ ระสงค์หลกั เพอื่ ถา่ ยทอดองคค์ วามร้แู ละเทคโนโลยี จากผลงานวจิ ยั และบริการวิชาการของหน่วยงาน ส่สู าธารณชน รว่ มกนั ระหว่างนกั วิจัย ปราชญ์ชาวบา้ น และประชาชนท่วั ไป มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ท้ัง 9 แห่ง หวังเป็นอย่างยิ่งว่าหนังสือ “ความรูด้ ๆี มไี วท้ ำ� กิน” 9 มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคล จะเป็นประโยชนต์ ่อผเู้ ข้า รบั การฝกึ อบรมและผู้ทส่ี นใจทวั่ ไป คณะกรรมการจดั การประชุมสัมมนาวชิ าการนานาชาติ “การยกระดบั คณุ ภาพชีวิตและภูมิปัญญาทอ้ งถิ่นอาเซียน” ครง้ั ท่ี 2 (2nd International symposium on Local Wisdom and Improving Quality of Life)

สารบัญ • การประดิษฐข์ องท่ีระลึกจากผา้ ใยบัว 2 12 • การปลกู กล้วยไมเ้ หลืองจนั ทบรู 20 28 • การแปรรูปสินคา้ จากสมนุ ไพร(ยาหม่อง) 36 56 • การจัดทำ� ผลิตภณั ฑจ์ ากสมุนไพร 64 • การปลกู พืชไรด้ ิน 78 • การผสมอาหารสตั ว์ใชเ้ องในฟาร์ม 84 เกษตรกรรายย่อย • การเพาะเลย้ี งเนือ้ เยอื่ พืช และการพฒั นา ผลติ ภณั ฑ์ • การผลติ กลว้ ยฉาบ • การจัดการการทอ่ งเท่ียวโดยขมุ ชน

การประดิษฐ์ ของที่ระลึก จากผ้าใยบัว มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลรตั นโกสินทร์

6. ทาํ การพนั ดว้ ยฟลอรา่ เทปตงั้ แตโ่ คนใบบัวถึงปลายลวดแลว้ ฉีกฟลอร่าเทปออก 7. ทาํ การดัดใบบัวใหโ้ คง้ ขนึ้ โคง้ ลงตรงขอบเสน้ ลวดแตล่ ะช่องสลบั กันไปเพื่อใหเ้ กดิ ความพลวิ้ ไหวของใ หมายเหตุ สามารถนาํ ดอกบัวเศรษฐีหรอื ใบบวั ไปจดั ใสแ่ จกนั หรือภาชนะท่มี ีฟลอร่าโฟม (ท่ีใช้จัดดอกไม หรือนําหลายๆ ดอกมาจัดช่อโดยใช้ฟลอร่าเทปพันรวมกัน หรือใช้ใบบัวพันกับดอกเป็นคู่ๆ ข กับความตอ้ งการของผ้ทู าํ การประดษิ ฐ์ ของท่ีระลึก จากผา้ ใยบัว มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ โดย อาจารย์ศรทั ธา สินสาธติ สกุ ุล ดอกไมผ้ า้ ใยบัว ดอกไมผ้ ้าใยบวั วัสดอุ ปุ กรณ์ในการประดิษฐ์ดอกไมจ้ ากผา้ ใยบวั 1. ผา้ ใยบวั สีตา่ งๆ เช่น สีชมพู สีขาว สีเหลือง ฯลฯ หรือผ้าใยบัวเหลือบสี เช่น สีฟ้าเหลือบขาว สชี มพูเหลอื บขาว ฯลฯ 2. ท่อพวี ซี ี ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 2, 3, 4, 5, 6, 7 และ 8 ซม. ถ้าไม่มีท่อสามารถใช้ภาชนะท่ีมีรูป ทรงกระบอกแทนได้ เชน่ ขวดนํา้ แกว้ น้าํ 3. ลวด เบอร์ 28, 26, 24 และเบอร์ 22 สาํ หรับทํากลีบดอกและใบ เช่น สีเงิน สีทอง สีเขยี ว ฯลฯ 4. ก้านสาํ เร็จรูป ยาว 12 นิ้ว ใชส้ าํ หรบั ดามก้านดอกไม้ทม่ี ลี ักษณะดอกใหญ่หรือเปน็ ชอ่ 5. กรรไกรเล็กปลายแหลม สําหรับตัดผ้า ควรเลือกชนิดปลายกรรไกรคม เพราะผ้าใยบัวมีลักษณะ ยืดและเหนยี ว 6. คมี ปากแหลม ใชส้ ําหรับดดั กลบี บีบปลายลวดใหแ้ นน่ ควรเลอื กชนดิ ปากแนน่ สนิท 7. คีมตัดลวด ใชส้ าํ หรับตดั ลวด ควรเลือกชนดิ ปากคม 8. สียอ้ มผ้า ใชส้ ําหรบั ย้อมผา้ ใยบัวสขี าวให้เหลอื บสีตา่ งๆ 9. ดา้ ย เบอร์ 60 สําหรับมดั กลบี ดอกไม้และใบ 10. ฟลอร่าเทป สเี ขียว สีนาํ้ ตาล และสขี าว สําหรบั พนั กา้ นดอก 11. เกสร เลือกใชใ้ หเ้ หมาะสมกับชนดิ ของดอกไม้ทอี่ อกแบบ 12. ฟลอรัลโฟม สําหรับบรรจใุ นภาชนะใชส้ าํ หรับจดั 13. ภาชนะสาํ หรบั จัดดอกไม้ เช่น แจกนั อา่ ง กระถาม ตะกรา้ กระเช้า ฯลฯ 14. ทชิ ชูหรอื กระดาษเยอ่ื สําหรบั พันเสรมิ ก้านใหไ้ ดข้ นาดท่ีตอ้ งการ การเตรยี มผ้าใยบวั 1. ผา้ ใยบวั ที่ซือ้ มาใหมม่ ีความตงึ แนน่ คอ่ นข้างมาก ให้สอดมือระหว่างสนั ทบทง้ั สองขา้ ง และดึงให้ตึง พอประมาณ ทําซ้ํา 2-3 ครั้ง ให้ผา้ ใยบวั ยืดออก 2. ใชก้ รรไกรตดั สนั ทบขา้ งใดขา้ งหนึ่งให้ขาดจากกนั จะได้ผา้ ใยบัวเป็นผืนสีเ่ หลี่ยมผืนผา้ 2

9. ด้าย เบอร์ 60 สําหรบั มดั กลบี ดอกไมแ้ ละใบ 10. ฟลอร่าเทป สเี ขยี ว สนี าํ้ ตาล และสีขาว สาํ หรบั พันกา้ นดอก 11. เกสร เลือกใชใ้ หเ้ หมาะสมกับชนิดของดอกไม้ทอี่ อกแบบ 12. ฟลอรลั โฟม สาํ หรบั บรรจุในภาชนะใช้สาํ หรับจัด 13. ภาชนะสาํ หรบั จดั ดอกไม้ เช่น แจกนั อา่ ง กระถาม ตะกรา้ กระเช้า ฯลฯ 14. ทชิ ชูหรอื กระดาษเย่อื สําหรบั พนั เสริมก้านให้ได้ขนาดทต่ี อ้ งการ การเตรยี มผ้าใยบวั 1. ผ้าใยบัวทซี่ ื้อมาใหมม่ ีความตึงแนน่ คอ่ นขา้ งมาก ให้สอดมอื ระหว่างสันทบท้งั สองขา้ ง และดึงให้ตึง พอประมาณ ทําซา้ํ 2-3 ครง้ั ให้ผา้ ใยบัวยดื ออก 2. ใชก้ รรไกรตดั สนั ทบขา้ งใดขา้ งหนง่ึ ให้ขาดจากกัน จะได้ผ้าใยบวั เปน็ ผืนส่ีเหลี่ยมผืนผ้า ดงึ ให้ผา้ ยดื ตัว ตดั สนั ทบ เป็นผนื สีเ่ หลีย่ ม ข้อแนะนาํ ในการประดษิ ฐ์ดอกไมจ้ ากผา้ ใยบัว 1. การดึงผ้าใยบัวตึงเกินไปจะทําให้การดัดกลีบเป็นรูปแบบต่างๆ หรือดัดขอบกลีบพล้ิวจะทําได้ยาก และจะทําให้ผ้าใยบัวขาดง่าย 2. การดงึ ผ้าใยบัวหย่อนจะทาํ ใหก้ ลบี ดอกดูหนาและสนิ้ เปลอื งผา้ โดยไม่จาํ เปน็ 3. การทํากลีบดอกและใบแต่ละคร้ังควรระวังผ้าใยบัวไปเกี่ยวกับลวด เพราะจะทําให้ผ้าใยบัวขาด ง่ายแบบเดยี วกบั ถงุ น่อง 4. การดามกลีบดอกและใบ พนั ปลายลวดริมขอบกลบี ควรพันปลายลวดใหแ้ นน่ เกบ็ ใหเ้ รยี บร้อยโดย ใช้คมี ปากจ้ิงจกบีบปอ้ งกนั ผา้ ใยบวั เกี่ยวขาด 5. การเลือกผ้าใยบัวมาประดษิ ฐ์ควรคํานึงถงึ สีของดอกไม้ทีจ่ ะประดิษฐ์เลียนแบบเปน็ หลกั เพื่อให้เกิด ความสวยงามเหมอื นธรรมชาติ 6. ผ้าใยบัวเหลือบสีขาว อาจใช้ผ้าใยบัวสีขาวมัดด้วยด้ายเป็นช่วงๆ แล้วนําไปแช่ในน้ําสีที่เตรียมไว้ แล้วนําไปผ่งึ ให้แหง้ 7. เศษของผ้าใยบวั อย่าทง้ิ ควรนํากลับมาประดษิ ฐด์ อกไม้ผา้ ใยบัวดอกเล็กๆ เช่น ดอกเดซี่ ดอกเขม็ 8. ดอกไม้บางชนิด เช่น ดอกลิลล่ี มีลวดลายบนกลีบดอกอาจใช้พู่กันจุ่มสีแต้มลวดลายบนกลีบดอก ใหเ้ หมอื นธรรมชาติ 9. การเลือกสีภาชนะจัดดอกไม้ ควรเลือกสีกลาง เช่น สีขาว สีดํา สีเขียวเข้ม สีนํ้าตาล จะทําให้ สามารถจัดดอกไม้ได้ทุกสี และควรเลือกภาชนะให้เหมาะสมกับดอกไม้ เช่น ดอกบัวควรเลือก ภาชนะลักษณะเปน็ อ่าง 10. วัสดุตกแต่งชนิดอ่ืนๆ ข้ึนอยู่กับดอกไม้และภาชนะท่ีนํามาจัด ควรใช้วัสดุตกแต่งจากธรรมชาติ เช่น มอสแห้ง หนิ เป็นตน้ ขน้ั ตอนการทําดอกบวั เศรษฐจี ากผา้ ใยบัว โดย อาจารย์ศรทั ธา สินสาธติ สุกลุ วสั ดุ/อุปกรณ์ 3 1. ผา้ ใยบัว สขี าว สเี ขยี วตองออ่ น สเี ขยี ว 2. เกสรดอก 3. ลวดดดั กลบี ดอก เบอร์ 24 4. ลวดทาํ ใบไม้

สามารถจัดดอกไม้ได้ทุกสี และควรเลือกภาชนะให้เหมาะสมกับดอกไม้ เช่น ดอกบัวควรเลือก ภาชนะลักษณะเป็นอ่าง 10. วัสดุตกแต่งชนิดอื่นๆ ข้ึนอยู่กับดอกไม้และภาชนะท่ีนํามาจัด ควรใช้วัสดุตกแต่งจากธรรมชาติ เช่น มอสแห้ง หิน เปน็ ตน้ ขั้นตอนการทำ� ดอขก้ันตบอัวนกเศารทราํ ษดอฐกีจบัวาเศกรษผฐจีา้ าใกยผ้าบใยวั บโดวั ย อาจารย์ศรทั ธา สินสาธิตสกุ ลุ วัสดุ/อุปกรณ์ 1. ผ้าใยบวั สีขาว สเี ขยี วตองอ่อน สเี ขียว 2. เกสรดอก 3. ลวดดดั กลบี ดอก เบอร์ 24 4. ลวดทําใบไม้ 5. กา้ นดอก ขนาด 10 น้วิ 6. ฟลอร่าเทป 7. ด้ายพันดอกและใบ 8. กรรไกรปากแหลม วิธกี ารทํากลบี ดอก 1. นําเส้นลวดสที องเสน้ ยาว 72 ซม. มาตดั เป็นเสน้ สน้ั 3 เสน้ ความยาวประมาณเสน้ ละ 24 ซม. 1 ดอก ใช้ 15 เส้นส้นั (เท่ากับใช้เส้นยาว 72 ซม. จาํ นวน 5 เส้น) 2. นําเส้นลวดมาดัดทรงบนแม่พิมพ์สําเร็จรูป โดยตรงส่วนที่ลวดท้ัง 2 ข้างมาบรรจบกันตรงส่วน ปลายแมพ่ ิมพ์ให้บิดลวดเขา้ หากนั 3–4 คร้ัง แล้วจับขาลวดท่ีเหลอื ยืดตรง ทาํ จนครบ 15 เส้น 3. นําผ้าใยบัวมายืดออกทาบลงบนลวดกลีบดอกที่ดัดกับแม่พิมพ์ไว้แล้ว ดึงผ้าใยบัวให้ตึงทับเส้นลวดท้ัง 2 ดา้ น รวบไว้ตรงส่วนปลายท่ีลวดพันกัน นําเส้นด้ายมาพันประมาณ 4-5 คร้ัง กระตุกด้ายให้ขาดโดยไม่ต้อง ตัดและไม่ต้องผูกเส้นด้าย นํากรรไกรมาตัดผ้าใยบัวส่วนที่ เหลือออก แล้วทําซ้ําแบบเดิม ทําให้ครบ 15 เส้น โดย แบง่ เป็นดงั น้ี - ผ้าใยบัวสีขาว 5 เส้นกลีบดอก - ผา้ ใยบวั สีเขยี วตองออ่ น 5 เส้นกลีบดอก - ผ้าใยบัวสเี ขยี ว 5 เสน้ กลีบดอก 4 4. นําเกสร 1 มัดเล็กมาพบั คร่งึ เป็นช่อเกสร

4. นําเกสร 1 มัดเลก็ มาพบั ครึง่ เปน็ ช่อเกสร 5. นํากลีบดอกสีขาวมาทาบกบั กา้ นเกสรโดยให้ปลายผา้ ใยบวั ทีม่ ีดา้ ยพนั อย่ตู รงกบั เกสร แล้วพนั ดา้ ยใหแ้ นน่ 6. นํากลีบดอกสีขาวกลีบท่ี 2 ทับซ้อนกับกลีบแรกพอประมาณ (วนไปด้านขวามือ) แล้วพันด้วยด้าย (ต้องให้ ตาํ แหนง่ ทพ่ี ันด้ายตรงกันเสมอ) ทาํ แบบเดิมใหค้ รบทั้ง 5 กลบี เพอื่ เป็นการวางกลีบดอกชน้ั แรก 5

7. นํากลีบดอกสีเขียวตองอ่อนมาวางสับว่างกับกลีบสีขาว แล้วพันด้วยด้ายให้แน่น ต่อจากนั้นทํากลีบท่ี 2 โดยทับซ้อนกับกลีบแรกพอประมาณวนไปด้านขวามือ แล้วพันด้วยด้าย (ต้องให้ตําแหน่งที่พันด้ายตรงกัน เสมอ) ทาํ แบบเดมิ ให้ครบทัง้ 5 กลีบ เพ่ือเป็นการวางกลีบดอกช้ันท่ี 2 8. นํากลีบดอกสีเขียว (กลีบ เล้ียง) มาวางลับว่างระหว่าง กลีบสีเขียวตองอ่อนโดยพัน ด้ายให้ตรงตําแหน่งเดิม ทํา จนครบ 5 กลีบ เพื่อเป็นการ วางกลบี ดอกชน้ั สุดท้าย (เนือ่ งจากความหนาทําใหพ้ ันดา้ ยยากขน้ึ ผทู้ ําจึงต้องใช้นว้ิ หรอื เล็บกดใหแ้ นน่ ก่อนพันดว้ ยดา้ ย และควรเรียงเส้นด้าย ใหเ้ รียบรอ้ ยตรงตําแหน่งเดิมเสมอ เพราะไม่เชน่ นั้นตอนดดั กลบี ดอกจะทาํ ใหก้ ลีบดอกหลุดออกจากข้วั ดอกได้) 9. นําก้านดอกที่มีขนาด 10 น้ิว (โดยประมาณ) เสียบเข้ากึ่งกลางดอก แล้วรวบเส้นลวดกลีบดอกทั้งหมดให้ หุ้มทบั กา้ นดอก จากน้นั พันดว้ ยด้ายให้แนน่ ตั้งแตโ่ คนดอกจนสุดเสน้ ปลายลวดกลีบดอก 6

9. นําก้านดอกท่ีมีขนาด 10 น้ิว (โดยประมาณ) เสียบเข้ากึ่งกลางดอก แล้วรวบเส้นลวดกลีบดอกท้ังหมดให้ หมุ้ ทับกา้ นดอก จากนน้ั พนั ด้วยดา้ ยใหแ้ นน่ ต้ังแตโ่ คนดอกจนสุดเสน้ ปลายลวดกลบี ดอก 10. ใช้ฟลอร่าเทปพัน โดยเริ่มตรงกลางของเส้นลวดกลีบดอกแล้วไล่ขึ้นไปจนถึงโคนดอกเพื่อปิดส่วนท่ีใช้ด้าย พัน แล้วไล่ลงมาจนเกือบสุดก้านดอก เมื่อพันเสร็จฉีกฟลอร่าเทปแล้วใช้นิ้วปั่นให้แนบกับก้านดอก (เนื่อง จากฟลอร่าเทปมีกาวฉาบผิวในตัวแล้ว การพันก้านดอกจึงควรดึงฟลอร่าเทปในระหว่างพันไปด้วยเพ่ือให้ ติดกันดีขน้ึ ) 11. การดัดกลบี ดอกให้โค้งบานมีวิธีคือ ใช้น้ิวชี้ดัดจากโคนกลีบไล่ขึ้นมาท่ีปลายกลีบ โดยให้นิ้วหัวแม่มือรองอยู่ ท่ีปลายด้านล่างของกลีบดอก จากนั้นใช้ปลายน้ิวช้ีกับน้ิวหัวแม่มือดัดตรงปลายกลีบดอกให้งอลงเล็กน้อย จะทําให้กลีบดูอ่อนช้อยเป็นธรรมชาติมากข้ึน ให้ทําลักษณะเดียวกันน้ีท้ังกลีบสีเขียวและสีเขียวตองอ่อน สว่ นกลีบสีขาวกางกลบี ดอกออกเลก็ นอ้ ยเท่านน้ั วธิ กี ารทาํ ใบบัว 1. นําลวดดัดใบบัว จํานวน 5 เส้น มาดัดให้เป็นรูปตัวยูพร้อมกันทั้ง 5 เส้น (ขนาดใบบัวจะเล็กหรือใหญ่ข้ึนอยู่ กับการดัดความยาวด้านก้นตัวยูของเสน้ ลวดวา่ มมี ากนอ้ ยเพยี งใด) 7

วิธกี ารทําใบบวั 1. นําลวดดัดใบบัว จํานวน 5 เส้น มาดัดให้เป็นรูปตัวยูพร้อมกันท้ัง 5 เส้น (ขนาดใบบัวจะเล็กหรือใหญ่ขึ้นอยู่ กับการดัดความยาวด้านก้นตวั ยูของเสน้ ลวดว่ามีมากนอ้ ยเพียงใด) 2. นําปลายขาเส้นลวดท่ีดัดทรงแล้วมาบิดพันกันประมาณ 4-5 คร้ัง แล้วนําเส้นที่เหลือมาพันแบบเดิมวนจน ครบท้งั 5 เสน้ จะได้เป็นวงกลม 3. รวบปลายขาเส้นลวดท้ังหมดเข้าหากันแล้วรีดขึ้นด้านบนโดยให้ขาเส้นลวดแนบกันทั้งหมด จะได้โครงลวด ลักษณะวงกลมคลา้ ยใบบัว 8 4. บิดปลายลวดท้ังหมดให้เป็นเกลียวและแน่นติดกัน ทําการ แยกเส้นลวดแต่ละขาออกเล็กน้อยเพื่อให้มีลักษณะแทนเส้น ใบบัวทม่ี อี ยูต่ ามธรรมชาติ

3. รวบปลายขาเส้นลวดท้ังหมดเข้าหากันแล้วรีดข้ึนด้านบนโดยให้ขาเส้นลวดแนบกันทั้งหมด จะได้โครงลวด ลักษณะวงกลมคล้ายใบบวั 4. บิดปลายลวดทั้งหมดให้เป็นเกลียวและแน่นติดกัน ทําการ แยกเสน้ ลวดแต่ละขาออกเล็กน้อยเพื่อให้มีลักษณะแทนเส้น ใบบวั ท่ีมีอยตู่ ามธรรมชาติ 5. นําผ้าใยบัวสีเขียวสอดข้ึนมาจาก เส้นลวดท่ีทําการแยกออกช่องใด ช่องหนึ่งก็ได้ แล้วกางผ้าใยบัวให้ ค ร อ บ ทั บ โ ค ร ง ล ว ด ใ บ บั ว ท้ั ง หมดแล้วตลบปลายผ้าใยบัวลงไปท่ี โคนใบบัวให้ตึง ใช้นิ้วบีบไว้ท้ัง ปลายผ้าใยบัวกับเส้นผ้าใยบัวที่ เหลือ ทําการพันด้วยด้ายให้แน่น แล้วใชก้ รรไกรตดั ผา้ ใยบัว 9

6. ทําการพนั ดว้ ยฟลอร่าเทปตง้ั แต่โคนใบบัวถึงปลายลวดแล้วฉีกฟลอรา่ เทปออก 7. ทําการดัดใบบวั ใหโ้ คง้ ขึ้นโค้งลงตรงขอบเสน้ ลวดแตล่ ะชอ่ งสลบั กนั ไปเพือ่ ให้เกดิ ความพลว้ิ ไหวของใบบัว หมายเหตุ สามารถนําดอกบัวเศรษฐีหรือใบบวั ไปจดั ใสแ่ จกันหรือภาชนะทีม่ ีฟลอรา่ โฟม (ที่ใช้จัดดอกไม้แห้ง) หรือนําหลายๆ ดอกมาจัดช่อโดยใช้ฟลอร่าเทปพันรวมกัน หรือใช้ใบบัวพันกับดอกเป็นคู่ๆ ขึ้นอยู่ กับความต้องการของผู้ทํา 10

การปลกู กลว้ ยไม้ เหลืองจันทบูร มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลตะวนั ออก

การปลูกกลว้ ยไม้ การกระจายพนั ธ์ุ พบเฉพาะถ่ินในป่าแถบภาคตะวันออก ของไทยตงั้ แตฉ่ ะเชงิ เทรา ระยอง จนั ทบรุ ี ตราด จนถงึ เหลืองจันทบรู ป่าแถบชายแดนกัมพูชาด้านที่ติดกับภาคตะวันออก ของไทย และมรี ายงานวา่ พบในป่าแถบปราจนี บุรแี ละ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวนั ออก นครราชสีมาเช่นกัน กล้วยไมเ้ หลืองจันทบรู เหลืองจันทบูรเป็นกล้วยไม้สกุลหวาย พบทั่วไปในป่าแถบจังหวัด จันทบุรีและตราด กล้วยไม้เหลืองจันทบูรสายพันธุ์เหลืองปลอด โดยพบเกาะอาศัยอยู่ตามต้นไม้แต่ไม่ได้ ดูดน้�ำเลี้ยง มีชอ่ื วิทยาศาสตร์ หรือแย่งอาหารเหมือนอย่างพวกกาฝาก เพียงอาศัย Dendrobium friedericksianum Rchb.f. เกาะอยูเ่ ท่าน้ัน เพราะเป็นกล้วยไม้ ท่มี ีระบบรากเปน็ จนั ทบรู ชนิดมแี ตม้ มชี ่อื วิทยาศาสตร ์ รากอากาศ ออกดอกเป็น ชอ่ ทง้ั ต้น ดอกบานทนนาน Dendrobium friedericksianum Rchb.f ออกดอกปีละครั้ง ระหว่างเดือนมกราคมถึงมีนาคม var. oculatum กลบี ดอกสเี หลอื งสดเปน็ มนั อาจมแี ตม้ สแี ดง ภายในคอ สกลุ Dendrobium ขนาดตา่ งๆ กนั หรอื เปน็ เพยี งขดี สแี ดง หรอื ไมม่ แี ตม้ เลย วงศ ์ Epidendroideae ชนดิ ทม่ี แี ตม้ มกั เรยี กวา่ เหลอื งขมน้ิ หรอื เหลอื งนกขมนิ้ สว่ นดอกทไ่ี มม่ แี ตม้ เปน็ สเี หลอื งลว้ นเรยี กวา่ เหลอื งปอด 12

เหลืองปอด เหลืองจุด 2 ตา เหลอื งจดุ 2 ตา เหลอื งจดุ ตาเดยี ว 13

เหลืองจันทบูรเป็นกล้วยไม้ท่ีมีการเจริญแบบ ใบ – ลำ� ลกู กลว้ ย กลว้ ยไม้เหลืองจนั ทบูร แตกกอ ซงึ่ ลำ� ตน้ จรงิ ของกลว้ ยไม้ จะแนบอยกู่ บั พน้ื ผวิ ท่เี กาะหรอื เคร่อื งปลูก มีข้อและปล้อง แต่ละข้อปลอ้ ง จะมีตาเพ่ือเกดิ เป็นหนอ่ ใหม่ แตล่ ะหน่อกจ็ ะทำ� ใหเ้ กิด เป็นล�ำลูกกล้วยขึ้นมา ที่ล�ำลูกกล้วยนี้จะมีใบ ล�ำลูก กล้วยท่ีเจริญเติบโตเต็มท่ี จะมีหน่อใหม่แทงออกมา ตรงตาทอี่ ยตู่ รงโคนล�ำลูกกล้วย เกิดเป็นหน่อใหมเ่ ชน่ นเี้ รอ่ื ยๆ จนเปน็ กอใหญ่ ลักษณะล�ำต้นเหลืองจันทบูร เป็นกล้วยไม้ อิงอาศัยที่มีกอขนาดใหญ่ห้อยลงสู่พื้น มีการเจริญ เติบโตแบบ sympodial ล�ำต้นเจริญทางด้านข้าง ลำ� ลกู กล้วยทรงกระบอก โคนล�ำคอด สว่ นปลายเรียว ยาวประมาณ 40-70 เซนตเิ มตร แตล่ ำ� ทยี่ าวทสี่ ดุ เทา่ ที่ เคยพบยาวถงึ 140 เซนตเิ มตร เสน้ ผา่ ศนู ยก์ ลางประมาณ 1-1.5 เซนตเิ มตร ผิวแหง้ มีรอ่ งตื้นตามยาว รูปร่างของใบเป็นรูปหอกขนาดประมาณ 8-10×2.0-2.5 เซนติเมตร แผ่นใบค่อนข้างบางแต่ เหนียว เรียงตวั สลับกัน เกอื บตลอดทั้งล�ำและมกั ทงิ้ ใบ ในช่วงท่ีมดี อก ฝักกลว้ ยไมเ้ หลอื งจันทบูร ดอกออกเปน็ ช่อ ช่อละ 3-6 ดอก ช่อดอกจะ เกิดใกล้ปลายล�ำ ลักษณะเป็นช่อส้ัน ต�ำแหน่งท่ีเกิด ช่อดอกแล้วจะไม่เกิดช่อดอกอีกในปีต่อๆ ไป ดอกมี สีเหลืองสดใส มีผิวมันคล้ายเคลือบด้วยพลาสติก เม่ือดอกบาน คร้ังแรกจะมีสีเหลือง อ่อนแล้วค่อย ๆ มสี ีเขม้ ข้ึน บางต้นอาจมี สีเหลอื งเข้มแบบสีจำ� ปา ดอก กว้างประมาณ 4.5 เซนติเมตร กลีบเล้ียงและกลีบ ดอกรูปรี กลีบปากรูปหัวใจ หรือเกือบกลมสีเดียวกับ กลบี ดอก บางต้นอาจมีแตม้ สีแดงเลอื ดหมูหรอื น้ำ� ตาล แดงสองแต้ม แตม้ มตี ั้งแต่เป็นขดี เลก็ ๆ 2-3 ขดี จนถึง เป็นแต้ม ขนาดใหญ่ มาชนกัน จนดูเหมือนเป็นแต้ม เดยี วรอบคอ ออกดอกปีละคร้งั ฤดูออกดอกชว่ งเดือน กมุ ภาพนั ธ-์ มนี าคม แตล่ ำ� ลกู กลว้ ยบางลำ� อาจออกดอก นอกฤดกู าลได้แต่ดอกไม่ดกเหมือนในช่วงฤดกู าล 14

การติดฝักในธรรมชาติเกิดได้น้อยมากซึ่ง อุปกรณ์  เป็นลักษณะของกล้วยไม้ ที่เส้าเกสรตัวผู้มีฝาครอบ • ภาชนะที่ใช้ปลูก อาจจะเป็นกระถาง ส่วนเส้าเกสรตัวเมียอยู่ในร่องด้านล่างแยกส่วน พลาสติก ขอนไม้ กระถางดินเผา แล้วแต่ กับเกสรตัวผู้อย่างสิ้นเชิง การผสมของเกสรตัวผู้ และ ความชอบและความเหมาะสม เกสรตัวเมยี จึงตอ้ งอาศัยตวั ชว่ ย เชน่ แมลง ฯลฯ ดอก •  เครื่องปลูก อาจจะเป็นกาบมะพร้าว ถ่าน ทไ่ี ดร้ บั การผสมแลว้ จะเหย่ี วภายใน 2-3 วนั และภายใน ตอไม้ ในกรณีทใ่ี ช้กาบมะพรา้ วกต็ ้องผา่ น 7 วนั จะเหน็ กา้ นดอกพองออกและคอ่ ย ๆ มขี นาดใหญ่ การแช่น้�ำเพอ่ื ลดความฝาด ข้ึน กลายเป็นฝักซึ่งมีเมล็ดเล็ก ๆ อยู่ภายในมากมาย ฝกั ทม่ี นี ้�ำหนัก 5.82 กรัม (น�ำ้ หนกั เปลือก 5.67 กรมั วิธีการ น�้ำหนักเมล็ดประมาณ 0.15 กรัม) มีเมล็ด จ�ำนวน การตัดแยกกล้วยไม้ท่ีจะตัดแยกควรมีล�ำลูก ประมาณ 6-7 แสน เมล็ดขึ้นไป มีเมล็ดลีบประมาณ กลว้ ยอยา่ งนอ้ ย 4 ลำ� เพราะการตดั แยกแตล่ ะตน้ ทตี่ ดั 10 เปอร์เซน็ ต์ ลกั ษณะของฝักเปน็ รูปกระสวย ขนาด แยกควรมลี ำ� ลกู กลว้ ยอยา่ งนอ้ ย 2 ล�ำ และควรตรวจดู ของฝกั ขน้ึ กบั ความสมบรู ณ์ ของตน้ และจำ� นวนฝกั ตอ่ ลำ� ตาทโี่ คนล�ำหลงั ถ้าตาแหง้ ตายไปแลว้ การตัดแยกจะไม่ นำ้� หนักของฝักประมาณ 5–10 กรมั มีตะเขบ็ จำ� นวน ไดผ้ ล ใชม้ ดี หรอื กรรไกรตดั แตง่ กงิ่ ไมช้ นดิ ใบบางทค่ี มๆ 3 ตะเขบ็ และสันจ�ำนวน 6 สนั สอดเข้าไประหวา่ งลำ� ลูกกลว้ ยแลว้ ตดั ส่วนของเหงา้ ให้ เมล็ดมีรูปร่างคล้ายกระสวยขนาดประมาณ ขาดจากกัน ใช้ปลายมีดแบนๆ ป้ายปูนแดงแล้วทาที่ 300-375 ไมครอน ติดอยู่กับโครงสร้างที่เรียกว่า บาดแผลใหท้ วั่ เพอื่ ใหแ้ ผลแหง้ และเปน็ การปอ้ งกนั เชอื้ spring hair ซ่ึงมีลักษณะเป็นเส้นยาว ๆ คล้ายขน โรคทีอ่ าจจะเข้าทำ� ลายทางบาดแผลด้วย เนื่องจากลำ� สขี าวใส เมอื่ ฝกั แตกตามธรรมชาติ ความชน้ื ในอากาศที่ หลงั เปน็ ลำ� แกท่ อ่ี ยใู่ นระยะฟกั ตวั ถา้ ยกไปปลกู เลยราก เปลยี่ นไปจะทำ� ใหเ้ กดิ การเคลอื่ นไหวของเสน้ ยาวเหลา่ แก่อาจจะช�ำรุดได้ รากใหม่ก็ไม่มีโอกาสเจริญออกมา นซ้ี ึ่งจะช่วยกระจาย เมลด็ ออกจากฝกั ไดด้ ีย่งิ ข้นึ เมลด็ จะท�ำให้การแตกหน่อล่าช้าและได้หน่อใหม่ท่ีไม่ ออ่ นของเหลอื งจนั ทบูร จะมสี ขี าวอมเขยี วออ่ น เมล็ด แขง็ แรงการตดั แยกเพอ่ื ใหเ้ กดิ ลำ� ใหมเ่ รว็ ควรทำ� ในชว่ ง จะมสี ีเหลืองเขม้ ในเดอื นที่ส่ีแต่ยงั เกาะกนั แน่น เมื่อฝกั ต้นฤดูร้อน ซึ่งเป็นระยะที่ต้นกล้วยไม้เร่ิมจะเกิดหน่อ อายปุ ระมาณ 6 เดือน เมล็ดจะเริ่มรว่ นเปน็ ผง อายฝุ ัก ใหม่หลังจากฟักตัวในช่วงฤดูหนาว หน่อใหม่จะเจริญ ประมาณ 7-8 เดอื น เมลด็ จะร่วนเปน็ ผงอย่างสมบรู ณ์ เติบโตข้ึนมาพรอ้ มทีจ่ ะยกออกไปปลูกไดใ้ นช่วงฤดูฝน อายฝุ กั ประมาณ 14-16 เดอื น ผนงั ฝกั จะมสี เี หลอื งและ ปรอิ อกตามรอยตะเข็บ ในการเพาะเมลด็ จึงนิยมใช้ฝกั 2. การแยกตะเกียง ทม่ี ีอายุประมาณ 5 เดือนขึน้ ไป เน่ืองจากกล้วยไม้จะมีการแตกหน่อจากตา ก า ร ข ย า ย พั น ธุ ์ ก ล ้ ว ย ไ ม ้ ท่ีอยู่ขา้ งลำ� ต้นเปน็ หน่อหรือตะเกียง หน่อหรือตะเกียง นสี้ ามารถตัดแยกไปปลูกใหมไ่ ด้ การตัดแยกหน่อหรือ ตะเกียงไปปลูกใหม่ควรเป็นหน่อหรือตะเกียงท่ีเจริญ เหลอื งจันทบูร เติบโตพอ สมควร มีรากที่แข็งแรงและยาวพอสมควร ติดอยู่อย่างน้อย 2–3 รากและมีใบ 2–3 คู่ ใช้มีด 1.การแยกกอ หรือกรรไกรคมๆ ตัดยอดกล้วยไม้ที่มีตะเกียงติดอยู่ เป็นวิธีการขยายพันธุ์ที่ใช้ได้กับกล้วยไม้ ตรงบรเิ วณใตต้ ะเกยี งประมาณ 2-3 เซนตเิ มตร หรอื ตดั ประเภทแตกกอท่ีมีล�ำลูกกล้วย เช่น กล้วยไม้สกุล เฉพาะตะเกียงที่มีหน่อติดอยู่ ใช้ปูนแดงทาท่ีบาดแผล แคทลียา สกุลหวาย สกลุ ออนซเิ ดีย้ ม เหลืองจนั ทบรู เมื่อปลูกเล้ียงนานจะมีกอขนาดใหญ่ขึ้นและมีล�ำลูก กล้วยมากข้นึ 15

เพ่ือป้องกันโรค น�ำหน่อหรือตะเกียงไปปลูกไว้ในที่ร่ม การผสมพันธุ์กล้วยไม้ นอกจากต้องค�ำนึงถึง จนกวา่ จะตงั้ ตวั ไดจ้ งึ นำ� ไปไวใ้ นทม่ี ี สภาพเหมาะสมตาม ดอกกล้วยไม้ท่ีต้องบานเต็มที่ การผสมพันธุ์ต้องท�ำ ปกติ ฤดกู าลทเ่ี หมาะแกก่ ารตดั แยกคอื ตน้ ฤดฝู นเพราะ ตอนเชา้ เวลาทไี่ มม่ แี สงแดด ฝนไมต่ กแลว้ ยงั ตอ้ งคำ� นงึ เปน็ ฤดทู กี่ ลว้ ยไมก้ ำ� ลงั เจรญิ เตบิ โตเมอ่ื ตดั แยกไปปลกู ถึงเร่ืองความสะอาดของอุปกรณ์หรือไม้ท่ีใช้เขี่ยเกสร รากจะเจรญิ เกาะเคร่อื งปลกู ไดเ้ รว็ กว่าฤดอู นื่ ไมท่ �ำให้ ตัวผู้ต้อง สะอาดปราศจากเช้ือรา เมื่อปัจจัยทุกอย่าง การเจรญิ เติบโตหยุดชะงัก พร้อมจึงเริ่มทำ� การผสมพันธกุ์ ล้วยไม้ โดยนำ� ไมจ้ ิ้มฟัน ทสี่ ะอาดเขยี่ เกสรตวั ผขู้ องตน้ ทต่ี อ้ งการใหเ้ ปน็ พอ่ พนั ธ์ุ 3. การเพาะเมล็ด ในการผสมพนั ธกุ์ ลว้ ยไม้ ซ่ึงมีเรณูอยู่มากมายใส่ลงที่ยอดเกสรตัวเมียของต้นแม่ จะไดผ้ ลหรอื ไม่ข้นึ อย่กู บั ปัจจัยต่างๆ ดงั นี้ พันธุ์ซ่ึงเป็นแอ่ง ในแอ่งน้ีมีน้�ำเมือกเหนียวๆ ใสคล้าย • กล้วยไม้ที่ผสมกันได้ต้องเป็นกล้วยไม้ที่ แป้งเปียก เมื่อน�ำก้อนเกสรตัวผู้ใส่ลงไปแล้ว น้�ำเมือก มีการเจริญแบบเดียวกัน เช่น กล้วยไม้ จะชว่ ยให้กอ้ นเกสรตวั ผตู้ ิดอยูไ่ ด้ ก้อนเกสรตัวผู้ท่ีเปน็ ประเภทโมโนโพเดียลซ่ึงเจริญเติบโต สเี หลอื งจะละลายออ่ นตวั กลนื เขา้ กบั นำ�้ เมอื ก เรณขู อง ทางยอดต้องผสมกับกล้วยไม้ประเภท เกสรตวั ผแู้ ตล่ ะเมด็ จะงอกเปน็ หลอดเขา้ ไปในกา้ นดอก โมโนเดียลด้วยกัน จะผสมกับกล้วยไม้ หรอื รงั ไข่ หลอดแตล่ ะหลอดจะเขา้ ไปผสมกบั ไขต่ วั เมยี ประเภทซิมโพเดียลซึ่งเจริญเติบโตแบบ ไข่น้ันจะเกิดเป็นเช้ือท่ีสมบูรณ์ แล้วรังไข่ก็จะพองโต แตกหนอ่ ออกมาดา้ นขา้ งไม่ได้ เกิดเป็นฝกั ฝักของกลว้ ยไม้จะแกต่ อ้ งใชเ้ วลานาน เชน่ • กล้วยไม้ที่ผสมกันถ้าอยู่ในสกุลเดียวกัน ฝักของกลว้ ยไม้สกุลหวายใชเ้ วลาประมาณ 4–7 เดือน จะผสมกันได้ง่ายกว่า เช่น กล้วยไม้ ฝกั ของกลว้ ยไมส้ กลุ แวนดา้ ใชเ้ วลาประมาณ 7–8 เดอื น สกุลแวนด้าผสมกับกล้วยไม้สกุลแวนด้า แต่ถ้าเป็นฝักของฟ้ามุ่ยจะต้องใช้เวลาประมาณ ด้วยกัน หรือกล้วยไม้สกุลข้างผสมกับ 17–18 เดือน การเพาะฝักกลว้ ยไมจ้ ะเพาะฝักแกห่ รือ สกุลช้างด้วยกนั ฝักอ่อนก็ได้ ฝักอ่อนกล้วยไม้มีสีเขียวแต่พอเร่ิมแก่จะ • การผสมเกสรกล้วยไม้ต้องเลือกพ่อแม่ เริ่มเปล่ียนเป็นสีเหลืองและเป็นสี น้�ำตาลเมื่อแกจัด พันธุ์ที่เจริญเติบโตเต็มท่ี ถ้าต้นเล็กหรือ ขณะท่ีฝักเริ่มเปลี่ยนเป็นสีเขียวอมเหลืองหรือสีเหลือง ล�ำต้นไม่แข็งแรงอาจท�ำให้อาหารที่มา ต้องระวังไม่ให้ถูกน้�ำ ฝักกล้วยไม้สุกจะมีสีเหลืองแบบ เลี้ยงฝักไม่เพียงพอ เป็นผลให้ฝักไม่ มะนาวสกุ แสดงว่าฝกั สกุ เกบ็ ฝกั ไปเพาะได้ อยา่ รอให้ สมบูรณ์ เมื่อน�ำเมล็ดไปเพาะแล้วลูกไม้ ฝักเป็นสีน�้ำตาล เพราะฝักจะแตก การเพาะฝักอ่อน ทเ่ี กดิ มาอาจไม่แข็งแรงเลย้ี งยาก ต้องเป็นฝกั ออ่ นท่มี ีเชอ้ื สมบูรณแ์ ลว้ หลงั จากผสมแล้ว • ระยะเวลาท่ีเหมาะสมและความสมบูรณ์ ไขจ่ ะกลายเป็นเช้อื ท่ีสมบรู ณ์ไดน้ นั้ ข้นึ อย่กู บั ชนดิ ของ ของดอก คือ ดอกกล้วยไม้ท่ีบานเต็มที่ กล้วยไม้ เช่น หวายประมาณ 45 วัน แวนด้าประมาณ ทง้ั ดอกแมพ่ นั ธ์แุ ละพอ่ พนั ธ์ุ โดยลกั ษณะ 80–90 วนั หรอื ใชเ้ วลาประมาณ 1 ใน 3 ของระยะฝกั แก่ ดอกที่บานเท่ากัน ไม่บานน้อยหรือบาน ฝกั อาจแก่เร็วหรอื ชา้ ขนึ้ อยูส่ ง่ิ แวดลอ้ ม เชน่ แสงสว่าง มานานจนจวนจะโรย ส�ำหรับระยะเวลา ความช่มุ ชน้ื และความสมบูรณ์ เป็นตน้ ท่ีเหมาะสมในการท�ำการผสมพันธุ์ควร เป็นเวลาเช้า แสงแดดยังไม่จัดและไม่มี ฝนตก 16

กลา้ เหลอื งจนั ทบรู ระยะเร่ิมงอก ตน้ กลา้ เหลอื งจันทบรู ในขวดทพี่ ร้อมออกขวด กล้าเหลืองจนั ทบูรทต่ี ้องรบี ออกจากขวดลักษณะต้นชนขวด อาหารหมด สแฟกน่ัม มอสท่ี การนำ� กล้วยไม้ ใชป้ ลกู ออกจากขวด กล้วยไม้ กระถางนิ้ว การนำ� เหลอื งจนั ทบรู ออกมาจากขวดโดยใชค้ มี การเอา คบี แบบยาวดงึ กลว้ ยตรงโคนออกมาทางปากขวด แลว้ กล้วยไม้ น�ำมาลา้ งอยา่ งเบามอื แบบไม่ให้มีวุ้นตดิ รากประมาณ ออกจาก 2 ครัง้ เพ่ือท่จี ะไม่ใหเ้ กิดเช้ือราจากนนั้ กน็ ำ� มาอนบุ าล ขวด ในกระถางน้ิวหรือกระถางเจี๊ยบ พร้อมกับใส่วัสดุปลูก เป็นสแฟกน่ัมมอส หลังจากปลูกไปสักปีหนึ่ง มีความ 17 สูงประมาณ 10-15เซนติเมตร น�ำมาลงในกระถาง 3 นิ้ว โดยไม่ปลูกด้วยแก่นไม้ เพราะจะเติบโตได้ ช้ามาก จึงเลี้ยงในกระถางท่ีเป็นกาบมะพร้าวไปก่อน แลว้ ค่อยน�ำไปเกาะแก่นไม้ ใส่ปุ๋ยเกรด็ ท่สี ูตรตวั หนา้ สงู เพื่อบ�ำรุงต้นบ�ำรุงใบ แล้วพอเมื่อออกดอก ควรใส่ปุ๋ย สูตรเสมอ ส�ำหรับต้นท่ีเกาะแก่นไม้ อาจจะน�ำผ้าขาว บางห่อปุ๋ย แล้วก็น�ำมาห้อยไว้ข้างๆต้น พร้อมกับคอย ใหน้ ำ�้ สม่�ำเสมอ หากต้นทีก่ ำ� ลังขาดน้�ำ ก็ใหส้ งั เกตไปท่ี ล�ำตน้ คอื ลำ� ตน้ จะแฟบๆไมต่ งึ และเมอ่ื ได้นำ้� มากพอ ต้นก็อวบขึน้

การเอากล้วยไม้ออกจากขวด ล้างวนุ้ ออกให้หมด ปลกู เหลอื งจนั ทบรู ลงกระถางนิว้ ปลูกเหลืองจันทบูรลงกระถางน้วิ ตน้ กล้าเหลอื งจนั ทบรู ท่ปี ลกู เสรจ็ แลว้ เตรียมไปไวใ้ นโรงเรอื นท่มี หี ลังคาและพลาสตกิ คลมุ กันฝน 18

การแปรรปู สินค้าจาก สมนุ ไพร (ยาหมอ่ ง) มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ

การแปรรปู สินค้า จากสมุนไพร (ยาหม่อง) มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรงุ เทพ โดย ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.อมรรตั น์ อนันต์วราพงษ์ ยาดมสมุนไพร สว่ นผสม • รกจันทน์ 20 กรมั • กานพลู 25 กรัม • อบเชยบบุ พอแตก 25 กรมั • พรกิ ไทยดา 45 กรัม • ลูกกระวาน 15 กรัม • ไมก้ ฤษณา 1 กรมั • พิมเสนบด ละเอยี ด 10 กรมั • เมนทอลบดละเอียด 30 กรมั • การบรู บดละเอียด 10 กรัม วิธีทำ� 1. ผสมพิมเสน การบูร เมนทอลเขา้ ด้วยกนั ในขวด เขยา่ สงั เกต ส่วนผสม ท้งั สามจะเริ่มละลาย 2. น�ำสมุนไพรในข้อ 1-7 ผสมใหเ้ ขา้ กัน เทส่วนผสมในขอ้ 1 คลกุ เคล้าให้ เข้ากนั ดี บรรจขุ วด 20

สาระนา่ รูเ้ ร่ืองสมุนไพร จันทนเ์ ทศ สรรพคุณ เนื้อจันทน์เทศ มีสรรพคุณช่วยขับลม แก้บิด ดอกตัวผู้ตากแห้ง เป็นส่วนผสมในเคร่ืองยาจีน มีฤทธิ์ช่วยขับลม แกท้ อ้ งอดื ทอ้ งเฟอ้ ธาตอุ าหารพกิ าร นามาชงนา้ รอ้ ยดมื่ ชว่ ยยอ่ ยอาหาร ท�ำให้สบายท้อง ลูกจันทน์ มีน�้ำมันหอมระเหย น�ำมาท�ำเป็นยาดม แกว้ งิ เวยี นหนา้ มอื ตาลาย ดอกจนั ทน์ (รกจนั ทน)์ และลกู จนั ทน์ ใชเ้ ปน็ ยาแก้ไข้ แก้ปวดศีรษะ ร้อนใน ผื่นคัน ลมจุกเสียด เลือดกาเดาออก ทอ้ งรว่ ง บำ� รงุ ปอด หัวใจ ตับ นำ้� ดี ผิวพรรณ ช่วยเจริญอาหาร ขบั ลม ขับเสมหะ และกระจายเลือดลม กานพลู สรรพคุณ • เปลอื กตน้ แกป้ วดท้อง แกล้ ม คมุ ธาตุ • ใบ แก้ปวดมวน • ดอกตมู รบั ประทานขบั ลม ใชแ้ ตง่ กลน่ิ ดอกกานพลแู หง้ ทย่ี งั ไมไ่ ดส้ กดั เอานำ�้ มนั ออก และมกี ลน่ิ หอมจดั มนี ำ�้ มนั หอมระเหยมาก รสเผ็ด ช่วยขับลม แก้อาการท้องอืด ทอ้ งเฟอ้ ปวดทอ้ ง และแนน่ จกุ เสยี ด แกอ้ จุ จาระพกิ าร แก้ โรคเหนบ็ ชา แก้หดื แก้ไอ แก้น�้ำเหลอื งเสยี แก้เลอื ดเสีย ขบั นำ�้ คาวปลา แกล้ มแกธ้ าตพุ กิ ารบำ� รงุ ธาตุ ขบั เสมหะ แก้ เสมหะเหนยี ว ขบั ผายลม ขบั ลมในลำ� ไส้ แกท้ อ้ งเสยี ในเดก็ แก้ปากเหม็น แก้เลือดออกตามไรฟัน แก้ร�ำมะนาด กับกลิ่นเหลา้ แกป้ วดฟนั • ผล ใช้เปน็ เครื่องเทศ เปน็ ตวั ช่วยให้มกี ล่ินหอม • น้ามันหอมระเหยกานพลู ใช้เป็นยาชาเฉพาะแห่ง แก้ ปวดฟัน ฆ่าเชื้อทางทันตกรรม เป็นยาระงับการ ชักกระตุก ทำ� ให้ผิวหนังชา 21

อบเชย สรรพคุณ อบเชยท�ำให้ท้องเป็นปกติดี แก้อาการจุกเสียด แน่นท้อง ขับลม ช่วยรักษาแผลในกระเพาะอาหาร แก้ท้องร่วง ขับปัสสาวะ ย่อยไขมัน ใช้ปรุงอาหารเช่นทาพะโล้ ใช้ท�ำยาไทยหลาย ตำ� รับ ต�ำราไทยระบวุ ่าอบเชยมีกลิน่ หอม มีรสสุขุม มสี รรพคุณใชบ้ ำ� รงุ จติ ใจ แกอ้ อ่ นเพลยี บำ� รงุ กาลงั ขบั ลม บำ� รงุ ธาตุ แกบ้ ดิ แกไ้ ข้ สนั นบิ าต ใชป้ รงุ ยานตั ถแ์ุ กป้ วดหวั เพม่ิ ความสดชน่ื ลดอาการออ่ นเพลยี แนน่ ทอ้ ง นอกจากการใชเ้ ปลอื กตำ� ราไทยยงั ระบวุ า่ รากและใบมกี ลนิ่ หอมรสสขุ มุ ใชต้ ้มดืม่ ขบั ลมบ�ำรงุ ธาตุ แก้ทอ้ งอืด ทอ้ งเฟอ้ ใบกิง่ ยงั นำ� มาสกัดน�้ำมัน หอมระเหยได้อกี ดว้ ย (Essential oil) ซ่ึงจะมีมากในอบเชยญวณท่ใี ห้ น้ำ� มนั หอมระเหย 2.5% พริกไทย สรรพคุณ พริกไทยด�ำ ช่วยขับลม มีน้�ำมันหอมระเหยมาก ประมาณร้อยละ 2-4 และมีสารแอลคาลอยด์เป็นสารสาคัญ เช่น Piperine ซ่ึงเป็นตัวท�ำให้มีรสเผ็ด นอกจากนี้ยังมี Piperidine, Piperitine, Peperyline, Piperolein A และ B ลกู กระวาน สรรพคุณ ลูกกระวานมีลักษณะกลมรี สีขาวนวล เปลือกสี ขาวไม่แข็ง ภายในมีเม็ดสีน�้ำตาลจ�ำนวนมาก มีกลิ่นหอมฉุน มีรสเผ็ด ใช้ดับกล่ินคาวและท�ำให้แกงมีกลิ่นหอม เป็นยาบ�ำรุงธาตุ ช่วยขับลม ในกระเพาะอาหาร ขับเสมหะ แก้อาการท้องเดินท้องอืด ท้องเฟ้อ จกุ เสยี ดแน่นและใชเ้ ป็นสว่ นผสมในยาถา่ ย กฤษณา สรรพคุณ เน้ือไม้ รสขม หอม เป็นยาบำ� รงุ หัวใจ ช่วยตบั ปอด ให้เป็นปกติ แพทย์ตามชนบทใช้ปรุงเป็นยาหอมแก้ลมหน้ามืดวิงเวียน ผสมเครื่องหอมทุกชนิด ใช้ในอุตสาหกรรมเคร่ืองหอม เช่น ธูปหอม นำ�้ อบไทย สมุ ศรี ษะ แกล้ มทรางสาหรบั เดก็ รบั ประทานใหช้ มุ่ ชน่ื หวั ใจ กฤษณาชนิด Aquilaria agallocha ใชเ้ น้อื ไม้เปน็ ยารักษาโรคปวดขอ้ น�ำ้ มนั จากเมลด็ - รกั ษาโรคเรอื้ น และโรคผวิ หนังได้ 22

พมิ เสน การอบสมุนไพรใช้พิมเสนเป็นส่วนประกอบในตัวยา พิมเสน ซ่งึ ระเหดิ เมอ่ื ถูกความรอ้ น มีกลิ่นหอม ใช้แต่งกลน่ิ บารุงหวั ใจ แกโ้ รค ผิวหนัง ผสมในลูกประคบเพ่ือช่วยแต่งกลิ่น มีฤทธ์ิแก้พุพอง แก้หวัด นอกจากน้ียังผสมอยู่ในยาหม่อง น้�ำอบไทย ในยาหอมจะมีใบพิมเสน และพิมเสนผสมอยู่ด้วย พิมเสนน้�ำ ใช้ดมแก้หวัด บรรเทาอาการ วิงเวียนศีรษะ เมารถ เมาเรือ บรรเทาอาการบวมจากแมลงสัตว์ กัดต่อย แกป้ วดเม่ือย เคลด็ ขัดยอก พมิ เสนนา ใชด้ มแก้หวดั บรรเทา อาการวิงเวียนศีรษะ เมารถเมาเรือ ทาบรรเทาอาการบวมจากแมลง สัตว์กดั ต่อย แกป้ วดเมือ่ ย เคลด็ ขดั ยอก วิธที �ำพิมเสนน้�ำส่วนประกอบ คือ เมนทอล 16 กรัม พิมเสน 8 กรัม การบูร 4 กรัม ยูคาลิปตัส 2 ซีซี น�ำส่วนผสมท้ังหมดใส่ในขวดแก้วปิดฝาแล้วเขย่า ส่วนผสมจะ ค่อยๆ ละลายจนเป็นน้�ำใส เขย่าไปเร่ือย ๆ จนเข้ากันดี น�ำไปบรรจุ ใส่ขวด โดยปั้นสาลีใส่ในขวดพอประมาณใช้ไซริงค์ดูดพิมเสนน�้ำหยด ใส่ส�ำลี เมื่อบรรจุขวดแล้ว ปิดฉลากชื่อผลิตภัณฑ์ท่ีขวดให้เรียบร้อย และน�ำไปจ�ำหน่าย หรือเตรียมเป็นยาหม่องโรลออน ซ่ึงประกอบด้วย น�้ำมันระก�ำ น�้ำมันยูคาลิปตัส พิมเสน การบูร เมนทอล ซัลลิไซเลท สว่ นผสมปรบั เปลย่ี นไดแ้ ลว้ แตผ่ ผู้ ลติ ซงึ่ อาจมกี ารแตง่ สแี ตง่ กลนิ่ ใหเ้ ปน็ ที่ดึงดดู การบูร เม่ือน�ำส่วนต่าง ๆ ของการบูรมากลั่นจะได้น�้ำมันหอมระเหย สาหรับ camphor ใช้เป็นยาระงับเช้ืออย่างอ่อน ยากระตุ้นหัวใจ ขับลม ขับเสมหะ ขับปสั สาวะ แก้ปวด ทายาทาถูนวด แก้ปวดตามขอ้ เมนทอล เมนทอล ได้มาจากเกล็ดสะระแหน่ มีสรรพคุณมากมาย เชน่ เป็นยาดบั ร้อน ถอนพษิ ไข้ ขบั ลม ขบั เหงื่อ รักษาอาการ หวัดได้ และยังสามารถแก้อาการ ปวดท้อง ท้องอืด ท้องเฟ้อได้ นอกจากน้ี การบริโภคสะระแหน่ ยังช่วยให้สมองปลอดโปร่ง โล่งคอ ป้องกัน ไข้หวัด บำ� รุงสายตา และช่วยใหห้ วั ใจแข็งแรง อ้างอิงจาก: http://www.trytodream.com/topic/7826 23

ยาหม่องสมุนไพร ส่วนผสม • วาสลิน 200 กรมั • พาราฟิน 100 กรัม • ขผ้ี ง้ึ 100 กรัม • ไพลสดบดละเอียด 100 กรัม • ขมนิ้ ชันบดละเอียด 40 กรมั • นำ้� มันระกา 4 ช้อนโตะ๊ • น้�ำมนั สะระแหน่ 4 ช้อนโต๊ะ • เมนทอล 4 ชอ้ นโตะ๊ • การบูร 4 ชอ้ นโต๊ะ • พมิ เสน 4 ช้อนโต๊ะ • น้ำ� มันการพลู 1 ชอ้ นชา • น้ำ� มนั อบเชย 1 ชอ้ นชา วิธที �ำ ใช้ภาชนะโลหะ หรือใช้หม้อตุ๋น ถ้าใช้ภาชนะโลหะควรตั้งบน น�้ำเดอื ด เพราะถ้าต้ังทไ่ี ฟเลยควรใชไ้ ฟออ่ น ๆ ถา้ ไฟแรงกล่นิ จะระเหย ไปหมด น�ำวาสลิน พาราฟนิ ขผี้ ึง้ ใส่ภาชนะให้ถูกความร้อนจนละเลย ใส่ไพลสด ขม้ินชัน น้�ำมันระกา น�้ำมันสะระแหน่ เมนทอล การบูร พิมเสน นำ้� มนั กานพลู น�ำ้ มันอบเชย กวนให้ละลายใหห้ มด แล้วกรอก ใส่ขวดโดยกรองผา่ นกรวยหรือผ้าขาวบาง เพ่ือจะทาให้ยาหม่องไม่หก ออกนอกขวด *** ถา้ ตอ้ งการยาหมอ่ งนำ�้ ไมต่ อ้ งใชว้ าสลนิ พาราฟนิ ขผ้ี ง้ึ แต่ ใช้น�ำ้ มันแกว้ ปรมิ าณ 4 ออนซแ์ ทน 24

สาระนา่ รู้ วาสลิน เป็นสารกึ่งแข็งกึ่งเหลว ใส ค่อนข้างเหลือง ไม่มีสี ไม่มีกล่ิน และไม่มีรส ได้จากการสกัดสารไฮโดรคาร์บอนท่ีเรียกว่า Crude petroleum ถา้ อยากนกึ ภาพออก นกึ ถงึ สผี ง้ึ ปา้ ยปากทคี่ ณุ ยา่ คณุ ยาย ใช้ วาสลนิ มกั ถกู นำ� มาใชเ้ ปน็ สว่ นผสมในเครอ่ื งสาอาง เพอื่ การบารงุ ผวิ ใหน้ มุ่ เนยี นและชมุ่ ชน้ื เพราะวาสลนิ จะปกปอ้ งผวิ ไมใ่ หม้ กี ารสญู เสยี นำ้� มากเกนิ ไป และวาสลนิ ยงั เปน็ ตวั ทำ� ใหผ้ วิ นมุ่ ดว้ ย ลองนกึ ถงึ คนโบราณ ท่ใี ชส้ ผี ้ึงทาปาก เขาจะใชก้ ันชว่ งหน้าหนาวเพอ่ื กันริมฝปี ากแตก พาราฟิน หรอื เคโรซนี เป็นผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมซึ่งกลั่นแยกออกจากน้�ำมันดิบ จุดหลอมเหลวประมาณ 47-64 องศาเซลเซียส จุดเดือดประมาณ 150 -275 องศาเซลเซียส ไม่ละลายในน�้ำ สามารถใช้ประโยชน์ได้ มากมาย และ มหี ลายสถานะดว้ ยกนั การใชง้ าน หรือ ประโยชน์ (แบง่ ตามสถานะ) แกส๊ ใช้เปน็ เชอ่ื เพลงิ ของเหลว ใชเ้ ปน็ เชอื้ เพลงิ ใชเ้ ปน็ ยารกั ษาโรค ใชใ้ นการทำ� ครวั ของแขง็ (ในรปู ขผ้ี งึ้ ) ใชผ้ ลติ เทยี น ใชเ้ คลอื บกระดาษบางชนดิ ใชเ้ คลอื บ เสื้อผ้า ส่วนผสมทายาหม่อง ใช้ท�ำปาก ผิว เพื่อลดความหยาบกร้าน (เพ่มิ ความชุม่ ช้ืน) ขผ้ี ้งึ ไขมันในสถานะของแข็ง มนุษย์น�ำขี้ผึ้งไปใช้ในการผลิต เทียนคุณภาพดี, เคร่ืองส�ำอาง รวมถึงวัสดุและสารขัดเงา (มักจะเป็น ยาขัดรองเท้า) และเป็นส่วนประกอบในการประดิษฐ์หุ่นข้ีผ้ึง รวมถึง ผลิตภัณฑ์อ่ืนๆ ข้ีผึ้งเมื่อน�ำมาใช้เป็นเทียนจะไม่เกิดน้�ำตาเทียนและมี ควันที่น้อยกว่าธูปหรือเทียนธรรมดาอย่างมาก ซ่ึงท�ำให้มันเป็นท่ีนิยม ใช้ในการประกอบพิธีทางครสิ ต์ น้ำ� มนั ระก�ำ นำ�้ มนั หอมระเหยทสี่ กดั มาจากตน้ wintergreen (Gaultheria procumbens) ใช้สาหรับทาถนู วดใหร้ อ้ นแดง 25

นำ้� มนั หอมระเหยสะระแหน่ เปน็ พชื ทสี่ กดั นำ้� มนั โดยวธิ กี ลนั่ ดว้ ยไอนำ�้ ใชอ้ ยา่ งกวา้ งขวางใน อาหาร ยา คณุ สมบตั ชิ ว่ ยใหเ้ กดิ สมาธิ กระตนุ้ รา่ งกายและจติ ใจใหต้ นื่ ตวั คลายความล้า ระงับปวด และกระตุ้นกาหนัด ช่วยย่อย ขับลม ฆา่ เชอื้ โรค ลดการบวมของเยอื่ จมกู ทำ� ใหห้ ลบั ขอ้ ควรระวงั อาจระคาย เคืองผิวหนังควรใช้น้�ำมันสะระแหน่ในความเข้มข้นต�่ำ ห้ามใช้ในสตรี ที่ครรภ์ และให้นมบุตร นำ�้ มนั อบเชย (นวดคลายเส้น) ชว่ ยบรรเทาอาการเคล็ด ขดั ยอก นวดคลายเสน้ ปวดต้นคอ และจดุ ตา่ งๆอบเชยมฤี ทธอ์ิ นุ่ รอ้ น มรี สหอมหวาน ชว่ ยขบั เหงอ่ื ใหค้ วาม สดชนื่ แกอ้ าการอ่อนเพลีย ขับลม แกอ้ าการทอ้ งอืดทอ้ งเฟ้อ มฤี ทธิฆ์ า่ เชอ้ื ราและเชอ้ื จลุ นิ ทรยี ์ แตม่ ผี ลขา้ งเคยี งคอื กอ่ ใหเ้ กดิ ความระคายเคอื ง ส่วนน้�ำมันในอบเชยเทศใช้เป็นส่วนผสมในยาทาถูนวดเพ่ือบรรเทา อาการปวดข้อ ข้ออกั เสบ นำ�้ มันอบเชยเลยใชเ้ ปน็ ยาบ�ำรุงธาตุ ขบั ลม และมีฤทธิ์ฝาดประสาท ช่วยลดปริมาณของน�้ำนม มีฤทธิ์ฆ่าจุลินทรีย์ แตท่ ำ� ใหเ้ กดิ การระคายเคอื งมากกว่าน้ำ� มนั อบเชยเทศ ไพล หัวหรอื เหงา้ ควรใช้เหง้าแก่จัด ขับประจ�ำเดือนให้สะดวก ทาถูนวด แก้เหน็บชา แก้เมื่อยขบ เคล็ดขัดยอก ฟกบวม แก้ท้องอืด มีฤทธิ์ ระบายอ่อนๆ แกบ้ ดิ สมานล�ำไส้ นิยมใชห้ ลงั การคลอดบตุ รฝน ทาแก้ ฟกช�้ำบวม เสน้ ตงึ เมือ่ ยขบ เหน็บชา สมานแผล จากการทดลองพบ วา่ มีฤทธลิ์ ดการอกั เสบ แกห้ อบหืด รกั ษาโรคหืดในเดก็ ขม้ินชนั หรือ ขม้ินแกง ขมิน้ หวั สรรพคณุ และวธิ ใี ชร้ บั ประทาน แกโ้ รคกระเพาะ ทอ้ งอดื ทอ้ งเฟอ้ มสี ารเคอรค์ วิ มนิ (curcumin) มฤี ทธย์ิ บั ยงั้ การหลงั่ ของกรดในกระเพาะ รักษาโรคกระเพาะอาหาร ช่วยเพิ่มแบคทีเรียที่มีประโยชน์ในล�ำไส้ รักษาอาการน่ิวในถุงน�้ำดี มีฤทธิ์ในการฆ่าเช้ือรา เช้ือแบคทีเรีย และ ไวรสั บรรเทาอาการแพ้ มฤี ทธเ์ิ ปน็ antihistamine ชว่ ยสมานแผลและ บ�ำรุงผิว มีสารต้านอนุมูลอิสระ ขับลม (ใช้ทาภายนอกแก้อาการแพ้) ลดการอกั เสบ บรรเทาอาการปวดบวม แกป้ วดบวมขอ้ และลดระดบั คอเลสเตอรอล โดยการเร่งการผลิตและส่งออกจากตับไปสู่ล�ำไส้เล็ก พรอ้ มกับน้ำ� ดี ช่วยให้ฮอร์โมนอินซลู ินยอ่ ยสลายน้�ำตาล จึงช่วยผู้ป่วย เบาหวานควบคมุ ระดับน้�ำตาลในเลือดได้ 26

การจดั ท�ำ ผลิตภณั ฑจ์ าก สมุนไพร มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ ี

การผลติ ภณั ฑ์ จากสมนุ ไพร มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ ี ยาดมสม้ โอมอื ยาดมสม้ โอมือ คือยาดมทไี่ ด้จากการนำ� ผิวสม้ มอื หรอื ผิวสม้ โอทอ่ี ย่ใู นสภาพสดหรอื แห้ง อยา่ งใดอย่าง หน่ึงหรอื ผสมกบั สมนุ ไพรและนำ้� พมิ เสน ห่อด้วยผ้าขาวบางบรรจใุ นบรรจภุ ณั ฑ์ยาดมสม้ โอมอื วัสดุอปุ กรณส์ ้มโอมอื 9. ดอกจันทน์ 1. ส้มโอมือ 1 ผล (ถา้ ใช้แบบแห้ง 2 ขดี ) 10. พริกไทย 2. เปลือกส้มโอ (ทองด,ี ขาวใหญ่) 1 ผล 11. ดปี ลี 3. อบเชย 12. โถแก้ว 4. กระวาน 13. ช้อน 5. เมนทอล 2 ขดี 14. พายไม้ 6. พิมเสน 1 ขีด 15. ผ้าขาวบาง/ผา้ ก๊อต 7. การบรู 2 หอ่ 16. ครกบดยา 8. กานพลู วธิ ที �ำ การปรุงพิมเสนน้�ำ พิมเสนน้�ำ ได้จากการน�ำพิมเสนมาบดให้ละเอียด ปรุงแต่งกล่ินด้วยเมนทอล เปบเบอร์มินท์ ผสมแล้วคนจนละลายเป็นของเหลวใส ส่วนผสม 1.พิมเสน 1 ขีด 2.การบรู 1 ขดี 3. เมนทอล 2 ขีด การปรงุ ยาดมส้มโอมอื 1. ปอกเปลอื กสม้ โอลา้ งสม้ โอใหส้ ะอาด หนั่ เปลอื กเขยี วเปน็ ชน้ิ ขนาด 0.5 เซนตเิ มตร นำ� เปลอื กสม้ โอ ทีห่ นั่ ไว้แลว้ ตากแหง้ หรอื ใช้สด 2. ผสมพิมเสน การบรู เมนทอลเข้าด้วยกันจนละลาย 3. น�ำเปลอื กสม้ โอ มาส่วนผสม กับสมนุ ไพรต่างท่เี ตรยี มไวแ้ ละน้�ำพิมเสน คลุกเคล้าให้เขา้ กนั 4. น�ำส่วนผสมยาดมสม้ โอมือท่ีปรุงแลว้ มาห่อดว้ ยผ้าขาวบาง/ผ้ากอ๊ ตมดั ดา้ ยใหแ้ นน่ นำ� มาบรรจุใน บรรจุภณั ฑท์ ีเ่ ตรยี มไว้ สรรพคณุ : ยาดมส้มโอมือ แกห้ นา้ มืด เป็นลม วิงเวียนศรี ษะ 28

ลกู ประคบหน้าใส ใบหนา้ เปน็ สว่ นแรกของรา่ งกายทไ่ี ดพ้ บ จดจำ� ชน่ื ชม และประทบั ใจ ในความงามของผวิ พรรณบนใบหนา้ สขุ ภาพผวิ หนา้ ทที่ กุ คนปรารถนา คอื มผี วิ พรรณทอี่ อ่ นเยาว์ ไรร้ ว้ิ รอย ไรจ้ ดุ ดา่ งดำ� ดเู ปน็ ธรรมชาติ แตเ่ นอ่ื งจาก สภาพแวดล้อม วิถีชีวิตที่เปล่ียนไป  เช่น  ความเครียด  นอนดึก อากาศเป็นพิษจากควันรถ แสงแดด รวมถึง การแสดงสีหนา้ ส่งผลใหเ้ กดิ ริ้วรอย ตีนกา ใบหน้าดแู ก่กอ่ นวยั อันควร ดังนน้ั การประคบที่มคี วามร้อนชว่ ยคลาย กลา้ มเนอื้ กระตนุ้ การไหลเวยี นเลอื ด จะทำ� ใหเ้ พมิ่ การไหลเวยี นเลอื ด และสาระสำ� คญั ในลกู ประคบจะทำ� ใหช้ ว่ ย บำ� รงุ เซลลผ์ วิ ทำ� ใหผ้ วิ พรรณเปลง่ ปลงั่ ลดรวิ้ รอย ลดรอยดา่ งดำ� จงึ เปน็ อกี ทางเลอื กในการดแู ลผวิ หนา้ นอกจากนี้ สมนุ ไพรทนี่ ำ� มาเปน็ สว่ นผสมสมนุ ไพรในลกู ประคบ  เชน่  ไพล ชว่ ยเพม่ิ การไหลเวยี นเลอื ด ชว่ ยผอ่ นคลายกลา้ มเนอื้ ขมน้ิ ช่วยบ�ำรงุ ผวิ พรรณให้เปลง่ ปลงั มะขามป้อมมวี ติ ามนิ ซี ช่วยให้ผวิ กระจ่างใส วธิ ตี รวจสภาพผิวหนา้ ดว้ ยตนเอง คณุ มีผวิ แบบไหน   ส�ำหรับผหู้ ญิงทุกคนทรี่ กั สวยรกั งามแลว้ การร้วู า่ สภาพผิวของคณุ เปน็ แบบไหนเป็นสง่ิ ทจ่ี �ำเปน็ อยา่ งยิ่ง เพราะวา่ จะทำ� ให้คณุ ผูห้ ญิงใช้วิธีการบำ� รงุ ดูแลผิวท่เี หมาะสม และเลือกใชผ้ ลติ ภัณฑบ์ ำ� รงุ ผวิ ทเ่ี หมาะสมสำ� หรับ ความตอ้ งการของผิวของคณุ โดยเฉพาะ สขุ ภาพผวิ หรอื ชนิดผวิ ของคุณจะถกู ก�ำหนดโดยพันธกุ รรม หมายความ ว่าคุณจะเกดิ มาพรอ้ มกับผิวชนดิ นั้น   อย่างไรก็ตาม สุขภาพและความงามของผิวของคุณต่อไปในชีวิต ส่วนใหญ่ข้ึนอยู่กับสิ่งท่ีคุณกินและวิธี การทค่ี ุณดูแลตวั เอง ชาวรัสเซยี มคี ำ� กล่าวว่า “ หลังจากอายุ 30  ผู้หญิงจะดูเป็นอย่างไรนน้ั ข้ึนอยู่กบั วธิ ีการท่ี เธอดแู ลตวั เอง “ เพอื่ ใหผ้ วิ ของคณุ ดดู เี สมอ ขนั้ ตอนแรกคอื การตรวจสอบสภาพผวิ ของคณุ การทค่ี ณุ รวู้ า่ ผวิ ของ คุณเปน็ ชนดิ ไหน ท�ำใหค้ ณุ สามารถเลือกคำ� แนะน�ำและวธิ ีการที่ดีทส่ี ดุ เพอ่ื ปรับปรุงรปู ลกั ษณ์ของคณุ และชะลอ กระบวนการเสอ่ื มสภาพของผวิ   โดยท่วั ไป เราสามารถแบง่ ประเภทผวิ ข้ันพื้นฐานออกได้เป็น 5 แบบ  ได้แก่ ผวิ ปกติ , ผิวแห้ง , ผวิ มนั , ผิวผสม และผิวแพ้ง่าย  ผิวแต่ละชนิดมีลักษณะเฉพาะและต้องการการบ�ำรุงดูแลท่ีเฉพาะเจาะจงต่างกันไป คณุ จะรไู้ ด้ว่าคุณมีผวิ แบบไหน โดยเรามวี ธิ ตี รวจสภาพผิวหนา้ ด้วยตวั ของคณุ เองมาใหค้ ณุ ไดท้ ดลองท�ำดู   เพ่ือกำ� หนดประเภทผิวของคุณใหใ้ ช้การทดสอบอยา่ งงา่ ย โดยใชท้ ิชชู (หรอื กระดาษบาง เช่น กระดาษ ซับมนั ) ที่สะอาด เช็ดใบหนา้ ของคณุ ในตอนเชา้ ทนั ทเี ม่ือคุณตืน่ ขน้ึ มา   1.  ผิวปกติ  (Normal Skin) ถ้าผิวของคุณเป็นผิวแบบปกติ ทิชชูหรือกระดาษจะไม่มีร่องรอยใด ๆ ของน้�ำมัน ผิวของคุณจะรู้สึกมี ชวี ิตชีวา ยืดหยุ่นและอ่อนนุ่ม ผิวปกติเป็นผิวชนิดที่มีปัญหานอ้ ยทสี่ ุด ผวิ จะดสู ะอาดและเรยี บเนยี น มกี ารไหลเวยี นของเลอื ดทดี่ แี ละมสี ขุ ภาพด ี  ถงึ แมจ้ ะมกี ารดแู ลไมม่ ากนกั ผิวก็จะดดู ีแม้อายุของคณุ จะมากข้ึน 29

  2  ผวิ แหง้  (Dry Skin) ถ้าคณุ เป็นคนผิวแหง้ กระดาษกจ็ ะสะอาด ไมม่ ีรอยนำ้� มนั เชน่ กัน แตค่ ุณจะรู้สกึ วา่ ผิวหน้าของคุณตึง ไม่ ยดื หย่นุ อาจจะแหง้ และเปน็ ขยุ หรอื อาจรสู้ กึ เป็นสะเก็ด หลงั จากที่คณุ ใช้ทิชชูเช็ดบริเวณนน้ั ผวิ แหง้ มกั จะไมม่ ปี ญั หาเรอื่ งรขู มุ ขนกวา้ ง แตม่ แี นวโนม้ คอ่ นขา้ งมากทจี่ ะเกดิ รวิ้ รอยและการระคายเคอื ง ได้ง่าย ผิวแหง้ อาจจะดดู เี มือ่ คุณยงั สาวอยู่ แตเ่ พอ่ื ใหผ้ ิวมสี ขุ ภาพดีและชะลอการเกดิ ริว้ รอย คุณควรให้การดูแล อย่างสม่�ำเสมอ และใช้ผลิตภัณฑ์บ�ำรุงผิวประเภท moisturizers เป็นประจ�ำ เพ่ือเพ่ิมความชุ่มช้ืนและลดการ สูญเสียน�ำ้ จากผวิ ของคณุ   3  ผวิ มัน  (Oily Skin) หากสภาพผิวของคุณเป็นคนท่ีมีผิวมัน  กระดาษจะมีจุดของน้�ำมันบนใบหน้าที่สอดคล้องกับพื้นท่ีของ แก้ม จมูก และหนา้ ผากท้งั 3 จดุ บนใบหน้า ผิวมันเปน็ ผิวชนิดที่อาจมปี ญั หาได้มาก อาจจะมีลักษณะผิวหยาบ และเปน็ มันเงา มรี ูขุมขนกวา้ ง และมีแนวโน้มท่จี ะเปน็ สิวไดง้ ่าย ขอ้ ดขี องผิวมันก็คือ เปน็ ผิวชนิดท่ีมแี นวโน้มน้อยมากท่ีจะดูมีอายุ เหีย่ วยน่ และเกดิ ริว้ รอย การทำ� ความสะอาด ผวิ อยา่ งระมดั ระวงั ลดการบรโิ ภคอาหารประเภทคารโ์ บไฮเดรต จะมปี ระโยชนใ์ นการปรบั ปรงุ คณุ ภาพของผวิ มนั 4  ผวิ ผสม  (Combination Skin) ถ้าผิวคุณคือผิวผสม เหมือนผู้หญิงส่วนใหญ่ ทิชชูก็จะมีร่องรอยของน้�ำมันท่ีมาจากจมูกและหน้าผาก ของคุณ แต่จะมีความสะอาดในพ้ืนที่ท่ีได้สัมผัสแก้มของคุณผิวผสมมีลักษณะของผิวแห้งและผิวมันท้ังสองแบบ และแนน่ อนวา่ ผิวผสมตอ้ งการการบ�ำรงุ ดแู ลทแ่ี ตกต่างกันส�ำหรบั สว่ นต่างๆบนใบหนา้ โซนผวิ แหง้ ซงึ่ ปกตจิ ะอยบู่ นแก้มและรอบดวงตา ควรได้รบั การบ�ำรุงดว้ ยครีมทม่ี ีคณุ สมบัตใิ นการเก็บ กักน�้ำไว้ในช้ันผิวและผลิตภัณฑ์ประเภท moisturizers  ขณะท่ีพ้ืนท่ีผิวมันซึ่งปกติจะเป็นท่ีบนหน้าผากและ จมูก  ควรจะได้รบั การทำ� ความสะอาดอย่างละเอยี ดอ่อนและบ่อยครั้ง...   5  ผิวแพง้ า่ ย  (Sensitive Skin) ผิวท่ีบอบบางโดยปกติจะแห้งมาก และมีแนวโน้มท่ีจะรู้สึกผิวตึง ผิวอาจจะอักเสบและระคายเคืองได้ อย่างง่ายดาย โดยปกติผิวท่ีบอบบางมักจะเกิดรอยแดงและผิวเป็นขุย ซึ่งจะท�ำให้เกิดอาการคันและมีแนวโน้ม ท่ีจะเกิดเป็นจุดบนใบหนา้ ผิวแพ้ง่ายเป็นชนิดท่ีมีปัญหาและเปราะบางมากที่สุด เป็นผิวท่ีต้องการการดูแลเป็น พเิ ศษอย่างมาก เพ่ือให้ไดผ้ ลติ ภณั ฑ์ท่เี หมาะสมส�ำหรับผิวประเภทนตี้ อ้ งเลอื กใชอ้ ยา่ งระมัดระวงั หลังจากท่ีได้ทดสอบและรู้ว่าสภาพผิวของตัวคุณเป็นแบบไหนแล้ว เพื่อให้สภาพผิวของคุณดูดีและ สวยงามอ่อนเยาว์อยู่เสมอก็คงจะต้องพ่ึงพาการดูแลและบ�ำรุงผิวหน้าที่ถูกต้องและเหมาะสมกับสภาพผิวแต่ละ ประเภท รวมไปถึงการเลือกใช้ผลิตภัณฑ์บ�ำรุงผิวท่ีเหมาะสมกับสภาพผิวของคุณเพ่ือคงความงามของผิวพรรณ ไว้อยา่ งยาวนาน 30

 อปุ กรณ์ วธิ ที �ำลกู ประคบสมนุ ไพรหน้าใส 1. ผ้าส�ำหรับห่อลูกประคบ ขนาดกว้าง 1. น�ำสมุนไพรลูกประคบหน้าใสท้ังหมด 30 เซนติเมตร ยาว 30 เซนตเิ มตร มาหนั อย่างหยาบเล็กๆ 2. เ ชื อ ก ส� ำ ห รั บ มั ด ผ ้ า ห ่ อ ลู ก ป ร ะ ค บ 2. น�ำสมุนไพรหน้าใสทั้งหมดมาผสม ยาว 60 เซนติเมตร รวมกนั 3. จานกระดาษรองลกู ประคบ 3. แบ่งใส่ผ้าดิบ ขนาดเท่ากับลูกปิงปอง 4. มดี แล้วมดั เป็นลกู ประคบ 5. เขยี ง 6. ถาด วิธีประคบ 7. ถ้วยตวง 1. น� ำ ลู ก ป ร ะ ค บ ที่ ไ ด ้ ไ ป น่ึ ง ป ร ะ ม า ณ 8. ถงุ มอื 15-20 นาที 9. พายผสมผงสมุนไพร 2. ใช้ผ้าจบั ลูกประคบขณะร้อน ยกขนึ้ จาก 10. ถุงซบิ ปากหม้อ 3. ใช้ลูกประคบแตะที่ท้องแขนตนเอง ส่วนประกอบลกู ประคบสมนุ ไพร ทดสอบความร้อน 1. ไพลสด 4. ช่วงแรก แตะลูกประคบ และยกขึ้น 2. ขมิน้ ช้ันสด โดยเรว็ จนกวา่ ลกู ประคบจะคลายความ 3. วา่ นนางค�ำ รอ้ นลง 4. มะขามป้อม 5. จากน้ัน จึงวางลูกประคบให้นานพอ 5. พญายาผง ประมาณ แล้วกดเนน้ บริเวณทตี่ ้องการ 6. ชะเอมเทศ 6. เปล่ยี นลูกประคบเม่อื เย็นลง 7. แครอท 7. แนวการประคบเราจะประคบขนึ้ ไปทาง 8. บวั บก ศีรษะ 9. เกลือ สรรพคณุ สมนุ ไพร ข้อห้าม หรอื ข้อจ�ำกดั ในการใช้ลูกประคบ 1. ไพลสด กระตุ้นการไหลเวียนเลือด 1. ห้ามใช้ลกู ประคบที่ร้อนเกนิ ไป 2. ขมน้ิ ช้นั สด สมานแผล 2. ควรใชผ้ า้ ขนหนรู องบรเิ วณผวิ หนงั ออ่ นๆ 3. ว่านนางค�ำ บ�ำรุงผิว หรอื บาดเจ็บ 4. มะขามป้อม มีวิตตามินซีท�ำให้ 3. ควรระวังผู้ป่วยท่เี ปน็ เบาหวาน อัมพาต ผวิ กระจา่ งใส เด็ก ผู้สูงอายุ เพราะการตอบสนองต่อ 5. พญายาผง ปอ้ งกันแสงแดด ความรอ้ นชา้ 6. ชะเอมเทศ บ�ำรุงผิว ท�ำให้ชมุ่ ชน่ื 4. ไม่ประคบเม่ือมีอาการอักเสบ หรือ 7. แครอท ทำ� ใหผ้ ิวเปล่งปลั่ง บวม ใน 24 ช่ัวโมงแรก เพราะอาจบวม 8. บวั บก ลดการอักเสบ มากขึน้   9. เกลือ นำ� พาสารเขา้ สผู่ ิวได้ดียิ่งขึ้น 31

การเก็บรักษาลูกประคบ 1. ลูกประคบที่ท�ำครั้งหน่ึง เก็บในตู้เย็นสามารถได้ 1 เดือนถ้าใช้แล้ว สามารถนำ� มาใชไ้ ดอ้ กี 3-5 คร้ัง 2. ควรผึ่งให้แห้งก่อนเก็บ ไม่ให้อับชื้น ถ้าเก็บในตู้เย็นจะเก็บได้นาน มากขนึ้ 3. ลกู ประคบทแ่ี ห้ง กอ่ นใชค้ วรพรมดว้ ยน�ำ้ หรือเหล้าขาว วสั ดุปกรณก์ ารทำลกู ประคบหน้าเด้ง จำนวน   1 ส่วน ลำดบั วัสด/ุ อปุ กรณ์ 1 ส่วน 1 สว่ น 1 ไพลสดหรือแหง้ 0.5 สว่ น 2 ขม้ินสดหรือแห้ง 0.5 ส่วน 3 ว่านนางคำสดหรอื แห้ง 0.5 ส่วน 4 ทนาคา 0.5 ส่วน 5 พญายา 2 สว่ น 6 มะขามป้อมสดหรือแห้ง 0.25 สว่ น 7 แครอทสอด 0.5 ส่วน 8 กราวเครอื 0.25 สว่ น 9 ชะเอมเทศ 10 ใบบวั บกสดหรือผง 11 เกลือ 32

วัสดปุ กรณ์การทำลูกประคบหน้าขาว ใส จำนวน   0.5 ส่วน ลำดับ วัสดุ/อปุ กรณ์ 0.5 สว่ น 0.5 สว่ น 1 ไพลสดหรือแหง้ 1 ส่วน 2 ขมนิ้ สดหรอื แห้ง 1 ส่วน 3 วา่ นนางคำสดหรือแหง้ 1 ส่วน 4 ทนาคา 1 สว่ น 5 พญายา 0.5 สว่ น 6 มะขามปอ้ มสดหรอื แห้ง 0.25 ส่วน 7 แครอทสอด 0.25 สว่ น 8 ชะเอมเทศ 9 ใบบวั บก 10 เกลือ 33

วสั ดุปกรณ์การทำลูกประคบหนา้ สิว จำนวน   0.25 สว่ น ลำดับ วสั ด/ุ อุปกรณ์ 0.25 ส่วน 0.5 ส่วน 1 ไพลสดหรอื แหง้ 0.5 ส่วน 2 ขม้ินสดหรอื แหง้ 0.5 สว่ น 3 ทนาคา 0.5 ส่วน 4 พญายา 1 สว่ น 5 มะขามป้อมสดหรอื แหง้ 1 สว่ น 6 แครอทสอด 1 สว่ น 7 ใบบัวบกสดหรอื ผง 1 สว่ น 8 ฟ้าทะลายโจรสดหรือผง 0.5 สว่ น 9 รางจดื 0.25 สว่ น 10 ห้าราก 11 พมิ เสน 12 เกลือ 34

การปลกู พชื ไร้ดนิ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลสวุ รรณภมู ิ

การปลูกพืช ไร้ดิน มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลสวุ รรณภมู ิ ความรู้ทั่วไปเก่ียวกับการ ปลกู พืชโดยไม่ใชด้ นิ 1. ความหมายของคำ� วา่ “การปลกู พชื โดยไม่ ดนิ ” จากคำ� วา่ “ไฮโดรโปนกิ ส”์ หรอื Hydroponics ใช้ดิน” การทราบความหมาย และระบบปลกู จะมีผล เปน็ การปลูกพืชท่ไี ม่ใช้วสั ดุปลกู (nonsubstrate หรอื ตอ่ การเลอื กรปู แบบการผลติ ทเ่ี หมาะสม คำ� วา่ การปลกู water cuture) กล่าวคือ จะท�ำการปลูกพืชลงบน พืชโดยไม่ใช้ดิน มีช่ือเรียกในภาษาไทยหลายชื่อ เช่น สารละลายธาตุอาหารพืช โดยให้รากพืชสัมผัสกับสาร การปลูกพืชไร้ดิน การปลูกพืชในน�้ำที่มีธาตุอาหารพืช อาหารโดยตรง (Water culture) นั่นเอง เน่อื งจาก คำ� การปลูกพืชในสารอาหารพืช การปลูกพืชในวัสดุปลูก วา่ Hydroponics มาจากการรวมคำ� ในภาษากรกี สองคำ� ที่ไม่ใช้ดินที่มีธาตุอาหารพืช การปลูกพืชโดยให้ราก คอื คำ� ว่า “Hydro” หมายถงึ “นำ้� ” และ “Ponos” พืชสัมผัสสารอาหารโดยตรงท่ีไม่มีดินเป็นเครื่องปลูก หมายถงึ “งาน” ซง่ึ เมอ่ื รวมคำ� สองคำ� เขา้ ดว้ ยกนั ความ เปน็ ต้น แตไ่ ม่ว่าจะเรียกวา่ อะไรก็ตาม สามารถอธิบาย หมายก็คือ“Waterworking” หรือหมายถึง “การ ได้ 2 ลักษณะ ตามระบบหรือวิธีการปลูกและความ ท�ำงานของน�้ำท่มี สี ารละลายธาตอุ าหารผา่ นรากพชื ผู้ หมายของคำ� ทแ่ี ปลมาจากภาษาองั กฤษ 2 คำ� คอื คำ� วา่ ที่จะทำ� Soilless Culture และคำ� วา่ Hydroponics การปลูกตามลักษณะ “การปลูกพืชโดยไม่ใช้ 1.1 ความหมายของค�ำว่า “การปลูกพืช ดนิ ” จากคำ� วา่ “Hydroponics” หรอื “ไฮโดรโปนกิ ส”์ โดยไมใ่ ชด้ ิน” จากค�ำวา่ “ซอยเลส คลั เจอร”์ หรือ นจ้ี ะตอ้ งควบคมุ อณุ หภมู ขิ องสารละลายธาตอุ าหารพชื “Soilless culture” เป็นวิธีการปลูกพืชเลียนแบบ ใหเ้ หมาะสมกับการเจริญเตบิ โตของพชื ให้ดี การปลูกพืชบนดินโดยไม่ใช้ดินเป็นวัสดุในการปลูก แม้ว่า การปลูกพืชโดยไม่ใช้ดินแบบที่เรียกว่า แต่เป็นการปลูกพืชลงบนวัสดุปลูกชนิดต่างๆ ซึ่ง Hydroponics จะเป็นการปลูกพืชในสารละลายธาตุ วัสดุปลูกแทนดินน้ีมีหลายชนิดคือ วัสดุปลูกที่เป็น อาหารพืชท่ีไม่ใชด้ ินจรงิ ๆ ตามที่นกั วทิ ยาศาสตรไ์ ด้คน้ อนินทรีย์สาร วัสดุปลูกที่เป็นอินทรีย์สาร และวัสดุ คิด และพัฒนาขึ้นมาก็ตาม แต่พืชก็ยังสามารถเจริญ ปลูกสังเคราะห์ โดยพืชสามารถเจริญเติบโตบนวัสดุ เติบโตได้ในวสั ดุปลกู อ่ืนๆ ทไ่ี ม่ใช่ดิน เช่น ทราย กรวด ปลกู จากการได้รับสารละลายธาตอุ าหารพืช (หรือสาร หิน เกล็ดด้วยการให้น�้ำท่ีผสมธาตุอาหารท่ีค้นคิดขึ้น อาหาร) ท่ีมีน้�ำผสมกับปุ๋ยท่ีมีธาตุต่างๆ ที่พืชต้องการ มาจึงเรียกการปลูกพืชแบบไม่ใช้ดินนน้ีเป็นค�ำรวมว่า (Nutrient Solution) จากทางรากพืช Soilless culture ความหมายของคำ� วา่ “การปลกู พชื โดยไมใ่ ช้ ประโยชน์ของการปลกู พืชโดยไมใ่ ช้ดนิ 36

การปลูกพืชโดยไม่ใช้ดินกับสภาพความ ตามสิ่งท่ีน้�ำไหลผ่าน จึงมักมีส่ิงเจือปนมาก ควร เป็นอยู่การปลูกพืชแบบไม่ใช้ดินเป็นวิทยาการทาง ระมดั ระวังในการใช้ วทิ ยาศาสตรแ์ ละศลิ ปะผสมกนั ทส่ี ามารถใชป้ ลกู พชื ได้ ในทุกสถานท่ีโดยไม่มีขอบเขตจ�ำกัด ไม่ว่าจะเป็นการ น�้ำที่จะใช้ปลูกในระบบ Hydroponics ควร ปลูกจ�ำนวนน้อยเพื่อบริโภคในครัวเรือนหรือการผลิต ได้รับการตรวจวิเคราะห์ก่อนเบื้องต้นว่ามีปริมาณสิ่ง เชิงธุรกิจ เป็นวิธีท่ีเหมาะสมกับความต้องการส�ำหรับ เจือปนมากนอ้ ยเพียงใด  โดยการตรวจค่า EC ซงึ่ การ ผปู้ ลกู ที่มพี ืน้ ทปี่ ลกู น้อย เชน่ แฟลต อพารต์ เม้นท์ จึง บอกคา่ รวม หากมากกวา่ 0.5 ควรนำ� ไปตรวจสอบอยา่ ง สามารถปลูกได้ในเมอื งหลวงของเมืองทแ่ี ออดั คับแคบ ละเอียดอกี ครงั้ วา่ เปน็ สารชนดิ ใดบ้าง อยู่ในปริมาณท่ี ด้วยผู้คน เช่น ประเทศญ่ีปุ่น ไต้หวัน เนเธอร์แลนด์ เปน็ อนั ตรายกบั พชื หรอื ไม ่ สามารถแกไ้ ข และตอ้ งเสยี องั กฤษ เบลเยย่ี มสำ� หรบั การปลกู แบบขนาดเลก็ ๆ เพอื่ ค่าใช้จ่ายมากน้อยเพียงใด ปลูกไว้ดูเล่นแบบสันทนาการ และมีอาหารจากการ •ระบบไฟฟ้า  ตอ้ งมีระบบส�ำรองไฟหรอื ไม่ ปลูกเพ่ือบริโภคในครอบครัวจะไม่มีความยุ่งยากใน •ระบบการควบคมุ อุณหภมู ิ ความช้ืน การปลูก และดูแลรักษาเปรียบเหมือนกับการท�ำสวน ก.ระบบ  EVAP  ใชร้ งั ผง้ึ พดั ลม ตามปกติที่ให้ความเพลิดเพลิน การเรียนรู้เบ้ืองต้นใน ข.ระบบพ่นน�ำ้ เปน็ ละออง การปลกู พชื แตถ่ า้ เปน็ การปลกู แบบเชงิ การค้าจะต้อง ค.การใหค้ วามเย็นกับระบบราก มกี ารใช้เทคนิค หลักการตา่ งๆ ในการควบคมุ การผลิต มากยง่ิ ข้นึ ขอ้ ดีและขอ้ ดอ้ ยของการปลกู พชื ไร้ดิน ที่มา : farmkaset.blogspot.com ข้อดี 1. สามารถทำ� การเพาะปลกู พชื ในบรเิ วณพน้ื ที่ แหลง่ นำ้� ท่ีใช้ในการปลกู พืชแบบไมใ่ ช้ดิน ดินไม่ดหี รอื สภาพแวดล้อมไมเ่ หมาะสมตอ่ การปลูก 1.น้�ำฝน  ถือว่าเป็นแหล่งน้�ำที่ดีท่ีสุด  2. ใช้พ้ืนที่เพาะปลูกน้อยและสามารถท�ำการ เนอ่ื งจากมสี งิ่ เจอื ปนนอ้ ย และตน้ ทนุ ตำ�่ ในตา่ งประเทศ ผลิตไดอ้ ยา่ งสม่�ำเสมอ จะขดุ สระขนาดใหญ่ ทป่ี ทู บั ดว้ ยพลาสตกิ ใชส้ ำ� รองนำ้� 3. ลดค่าขนส่งเพราะสามารถเลือกผลิตใกล้ ใช้ตลอดปี เขตชุมชนหรือโรงงานอุตสาหกรรมฯ ที่รับซ้ือ ท�ำให้มี 2. น้�ำประปา  ส่วนใหญ่ใช้ในการปลูกได้ดี ศักยภาพในเชิงการคา้ สูง เนอ่ื งจากมสี งิ่ เจอื ปนนอ้ ย  แตม่ รี าคาคอ่ นขา้ งแพง  บาง 4. ประหยัดเวลา แรงงาน และค่าใช้จ่ายใน แหง่ อาจต้องระวังเร่ืองคลอรนี   การเตรยี มดินและกำ� จดั วชั พชื 3. น�้ำชลประทาน  เกิดจากการกักเก็บน้�ำ 5. ใช้แรงงานนอ้ ยแต่มปี ระสทิ ธิภาพสูง จากผวิ ดนิ เพอื่ ใชใ้ นการเกษตร  กอ่ นนำ� มาใชค้ วรมกี าร 6. สามารถปลกู พชื อยา่ งตอ่ เนอ่ื งไดต้ ลอดปใี น ตรวจสอบกอ่ น   พืน้ ทเี่ ดียวกนั 4. นำ�้ บาดาล หรอื นำ้� ใตด้ นิ   สว่ นใหญม่ กั มธี าตุ 7. พชื เจรญิ เตบิ โตไดเ้ รว็ และใหผ้ ลผลติ ทมี่ ากก โซเดยี ม และสารพวกโลหะหนกั ทเี่ ปน็ พษิ กบั พชื ปนอย ู่ ว่าการปลกู แบบธรรมดาอย่างน้อย 2 สปั ดาห์ ดงั นน้ั ควรมกี ารตรวจสภาพสงิ่ เจอื ปนของนำ้� กอ่ นนำ� มา 8. สามารถตดั ปญั หาเกยี่ วกบั ศตั รพู ชื ทเี่ กดิ จาก ใช้ ดิน ท�ำใหส้ ามารถปลูกพืชในพ้ืนทเี่ ดียวกนั ได้ตลอดปี 5.น้�ำคลอง  คุณภาพของน�้ำมักเปลี่ยนแปลง ถึงแมจ้ ะเป็นพชื ชนดิ เดยี วกัน 9. สามารถใช้น้�ำและธาตุอาหารพืชอย่างมี 37

ประสิทธิภาพมากท่ีสุด เช่น ปริมาณนำ้� ใชล้ ดลงไม่ต่�ำ ออกซิเจนในพืชโดยเฉล่ียมีประมาณร้อยละ40 พืชได้ กวา่ 10 เทา่ ตวั ของการปลกู แบบธรรมดา รับธาตุออกซิเจนท่ีมีอยู่มากมายในชั้นของบรรยากาศ 10. สามารถควบคุมสภาพแวดล้อมต่างๆ ที่ และในรปู ของแกส๊ ออกซเิ จนทล่ี ะลายในนำ้� หรอื อาจได้ เก่ียวข้องกับการเจริญของพืชได้อย่างถูกต้องแน่นอน จากการสงั เคราะห์ด้วยแสงของตน้ พชื และรวดเร็ว โดยเฉพาะในระดับรากพืช ได้แก่ การ พืชมีความต้องการใช้แก๊สออกซิเจนใน ควบคุมปริมาณธาตุอาหาร ค่าความเป็นกรดด่าง กระบวนการหายใจ พืชดดู ซมึ แกส๊ ออกซเิ จนส่วนใหญ่ อุณหภมู คิ วามเข้มข้นของออกซิเจน ฯลฯ ซง่ึ การปลกู ทางปากใบและบางส่วนทางชอ่ งเลตเิ ซล ซง่ึ จะอยตู่ าม พชื แบบทวั่ ไปทำ� ไดย้ าก ทำ� ใหผ้ ลผลติ และคณุ ภาพของ ผวิ ของลำ� ตน้ และกง่ิ พชื ใชแ้ กส๊ ออกซเิ จนโดยออกซไิ ดซ์ พชื ท่ไี ดจ้ งึ สูงกว่าการปลูกแบบทั่วๆ ไปมาก สารพวกน�ำ้ ตาลให้มีขนาดโมเลกลุ เล็กลง และพลังงาน ท่ีได้นำ� มาใชใ้ นเซลลข์ องพชื สารละลายธาตอุ าหารพืช ท�ำให้พชื มชี วี ิตและเจริญเติบโตไดเ้ ป็นอยา่ งดี ธาตุอาหารที่พืชต้องการในการเจริญเติบโต รากพืชตอ้ งการแก๊สออกซิเจนเพ่อื ใชอ้ อกซไิ ดซ์ และให้ผลผลิต มีทั้งหมด 16 ธาตุ ซ่ึง 3 ธาตุ คือ สารในเซลล์ที่มีชีวิตให้เป็นพลังงานไว้ใช้ส�ำหรับการดูด คาร์บอน ไฮโดรเจน และออกซิเจน ได้จากน้�ำและ ซึมของธาตุอาหารและการด�ำเนินกิจกรรมของเซลล์ อากาศ และอีก 13 ธาตุ ได้จากการดูดกินผ่านทาง ดังนั้นจึงมีความจ�ำเป็นท่ีจะต้องให้แก๊สออกซิเจนแก่ ราก ทัง้ 13 ธาตุแบง่ ออกเป็น 2 กลมุ่ ตามปรมิ าณทพ่ี ชื รากพืชทจ่ี มุ่ อย่ใู นน้ำ� ใหเ้ พียงพอ ต้องการ คือ ธาตุอาหารท่ีพืชตอ้ งการเป็นปรมิ าณมาก 3.ธาตุไฮโดรเจน(H) มีความจ�ำเป็นใน และธาตอุ าหารที่พืชตอ้ งการเปน็ ปริมาณนอ้ ย กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงเป็นองค์ประกอบของ ทม่ี า www.tistr.or.th คาร์โบไฮเดรต ซ่ึงพืชสามารถได้จากน้�ำเป็นส่วนใหญ่ หรอื อาจได้จากชน้ั ของบรรยากาศ ธาตอุ าหารทพ่ี ืชต้องการในการเจริญเติบโต 4.ธาตุไนโตรเจน(N) ไนโตรเจนเป็นองค์ 1.ธาตุคาร์บอน(C) เมื่อได้รับธาตุคาร์บอน ประกอบของสารอินทรีย์ โดยเป็นส่วนประกอบ ในรูปของแก๊สคาร์บอนได้ออกไซด์ จากบรรยากาศที่ โครงสร้างของพืช เช่น คลอโรฟีลล์ กรดอะมิโน และ เข้มข้น แก๊สคาร์บอนได้ออกไซด์เข้าสู่พืชได้ทางปาก องค์ประกอบของโปรตนี ซึ่งเกยี่ วข้องกบั กระบวนการ ใบเพ่ือท�ำปฏิกิริยาสังเคราะห์ด้วยแสงกับโมเลกุลของ เจริญเติบโตของพืชอย่างมาก ถ้าขาดไนโตรเจนก็จะ น�้ำภายในของคลอโลพลาสต์ได้สารคาร์โบไฮเดรท ท�ำใหต้ น้ พืชแคระแกรนใบเล็กเรยี วใบร่วง ใบแกจ่ ะมสี ี ซึ่งเป็นแหล่งพลังงานของพืชธาตุคาร์บอน เป็นองค์ เหลอื งซีด แหลง่ ของไนโตรเจนสามารถไดจ้ ากการตรงึ ประกอบของพืชร้อยละ40ดังน้ันจึงเป็นองค์ประกอบ ในบรรยากาศหรือจากการย่อยสลายสารอินทรีย์ซาก หลกั ในโครงสรา้ งของพชื มคี วามจำ� เปน็ ในกระบวนการ พชื ซากสัตว์ท่ีตายแลว้ ถา้ ไนโตรเจนสูงมาก จะท�ำให้ สังเคราะห์ด้วยแสงแต่พืชก็ไม่ขาดแคลนทั้งนี้เพราะ ต้นพืชมกี ารขยายเซลล์กวา้ ง ต้นอวบเปน็ ผลใหเ้ ชื้อโรค ปัจจุบันบรรยากาศน้ันมีคาร์บอนไดออกไซด์เพ่ิมขึ้น เข้าท�ำลายง่ายและพืชจะมีการสร้างใบมาก จนไม่มี จากการเผาไหมข้ องวัสดุ เชือ้ เพลงิ ที่ใชก้ ับยานพาหนะ การสะสมอาหาร เพื่อให้ผลผลิตประมาณร้อยละ20 โรงงานผลติ กระแสไฟฟา้ และโรงงานอตุ สาหกรรมตา่ งๆ ของธาตุไนโตรเจนในพืชเป็นโครงสร้างโปรตีนท่ีต่อกัน อย่างมากมาย ด้วยโมเลกุลของกรดอะมิโน กรดอะมิโน ได้จากสาร คาร์โบไฮเดรตที่ถูกออกซิไดซ์มาเป็นกรดอินทรีย์ เม่ือ 2.ธาตุออกซิเจน (O) ปริมาณของธาตุ ท�ำปฏิกิริยากับแอมโมเนียมอิออนในเซลล์พืช ได้เป็น 38

กรดอะมิโน กรดอะมิโนที่ได้ก็จะถูกล�ำเลียง ส่งไปใช้ ท�ำปฏิกิริยาในเซลล์พืชช่วยปฏิกิริยาสังเคราะห์สาร สงั เคราะหโ์ ปรตนี ท่ี ไรโบโซม หากขาดธาตจุ ะทำ� ใหพ้ ชื คาร์โบไฮเดรต โปรตีนและไขมันช่วยเร่งรากพืชให้ดูด สะสมแป้งหรือน�้ำตาลมากกว่าปกติ ซึ่งจะเป็นสาเหตุ ซมึ ธาตุไนโตรเจนให้เร็วข้ึน ของการสร้างสารเซลลูโลสเพิ่มมากขึ้น ในเซลล์ท�ำให้ พืชที่ขาดธาตุโพแทสเซยี มจะแสดงอาการตน้ ลบี เนอ้ื เยอื่ อพชื แขง็ กระดา้ ง ถา้ เปน็ พชื ผกั จะทำ� ใหเ้ หนยี ว ใบลบี และบอบบางอยา่ งเหน็ ไดอ้ ยา่ งชดั เจนเมอ่ื ลมผา่ น แข็ง และไม่น่ารับประทานหรือจ�ำหน่ายผลผลิตไม่ได้ แรงๆจะล้มง่ายมีผลต่อปริมาณการเก็บเกี่ยวช่วงท้าย ราคา ของฤดูกาลปลกู พชื ในทางตรงกันข้าม ถา้ ต้นไม้มีปรมิ าณไนโตรเจน ปรมิ าณธาตโุ พแทสเซยี มทพ่ี อเหมาะในสารละลาย มากเกินไป แต่ต้นพืชสร้างคาร์โบไฮเดรตไม่ทันเพราะ ธาตุอาหาร ปัจจัยแสงสว่างก็เป็นตัวก�ำหนดปริมาณ เกิดการขาดน�้ำ หรือมีแสงไม่เพียงพอ ต้นพืชก็จะใช้ การใช้ธาตุโพแทสเซียมในช่วงฤดูท่ีมีแสงจ้าอย่างเช่น ธาตุไนโตรเจนท่ีดูดซึมเข้าไปสร้างงสารอินทรีย์พวก ในฤดูร้อน ผู้ปลูกสามารถลดปริมาณความเข้มข้นของ เอมีดซ่ึงเป็นพวกโมเลกุลขนาดเล็กจ�ำนวนมาก ธาตุโพแทสเซียมในสารละลายลงได้ถึงร้อยละ60 ของ จะท�ำให้พืชบอบบางอ่อนแก่ เมื่อถูกลมพัดจะล้มหรือ ที่ใช้อยู่ ถ้าป็นช่วงฤดูฝนท่ีท้องฟ้ามักจะมืดและมีแสง หักง่ายและโรคแมลงเข้าท�ำลายได้ท�ำให้เกิดความเสีย สว่างน้อยแสงแดดมีความเข้มข้นน้อยท�ำให้ปริมาณ หายเป็นอย่างมาก แสงมีไม่พอเพียงต่อกระบวนการท่ีสังเคราะห์ด้วย ซึง่ จะเห็นไดว้ า่ การที่จะเนน้ ความส�ำคัญของ แสงซึ่งจะท�ำให้พืชผลิตสารคาร์โบไฮเดรตได้น้อย การ ธาตอุ าหรท่ีธาตุใดธาตหุ นึ่งน้ันไมไ่ ดเ้ ลย พืชจำ� เปน็ ตอ้ ง ผลิตสารโปรตีนในพืชจึงน้อยตามไปด้วย ปริมาณธาตุ มธี าตไุ นโตรเจนในสดั สว่ นทพ่ี อเหมาะกบั ธาตคุ ารบ์ อน โพแทสเซยี มทม่ี มี ากในสารละลายจะเปน็ ตวั ชว่ ยกระตนุ้ เมอื่ พชื ไดร้ บั ธาตไุ นโตรเจนซงึ่ อยใู่ นรปู ของเกลอื ไนเตรต การสังเคราะห์สารคาร์โบไฮเดรตและการสังเคราะห์ เกลอื ไนไตรต์ และแอมโมเนยี ทล่ี ะลายอยใู่ นนำ�้ หรอื จาก โปรตนี ในภาวะทีค่ วามเขม้ ข้นของแสงนอ้ ย แก๊สไนโตรเจนนในบรรยากาศเมื่อเกิดฟ้าแลบฟ้าร้อง 6.ธาตฟุ อสฟอรสั (P) ในรปู ของเกลอื ฟอสเฟส แกส๊ ไนโตรเจนจะถกู ออกซไิ ดซก์ ลายเปน็ เกลอื ทล่ี ะลาย จะละลายนำ�้ ได้ ธาตฟุ อสฟอรสั จงึ เคลอื่ นยา้ ย ไปตามทอ่ น้�ำและะเปน็ ประโยชน์ตอ่ ตน้ พชื นำ้� ในพชื และเคลอ่ื นยา้ ยระหวา่ งเซลลไ์ ด้ นอกจากพชื จะ 5.ธาตุโพแทสเซียม (K) เก่ียวข้องกับ ดูดซมึ ธาตุฟอสฟอรสั ทางราก ในรปู ของเกลือฟอสเฟส กระบวนการในการเคลอ่ื นยา้ ยของธาตอุ าหารและเปน็ แล้ว รากพืชยังดูดซึมธาตุฟอสฟอรัสในรูปของกรด ธาตทุ มี่ กี ารเคลอ่ื นยา้ ยไดส้ ะดวก เชน่ การทพ่ี ชื ขาดธาตุ นิวคลีอิกได้อีก พืชใช้ธาตุฟอสฟอรัสในปริมาณที่น้อย โพแทสเซยี มทำ� ใหต้ น้ พชื เลก็ บอบบางและหกั ลม้ ไดง้ า่ ย กวา่ ธาตุไนโตรเจนและแคลเซยี ม ในการปลูกพชื ไม่ใชด้ นิ จงึ จ�ำเป็นตอ้ งใหใ้ นปรมิ าณสูง ธาตุฟอสฟอรัสเป็นองค์ประกอบของสารที่ โพแทสเซียมเป็นธาตุอาหารท่ีจ�ำเป็นของ ส�ำคัญหลายชนิดในเซลล์ของพืช ซ่ึงสารเหล่าน้ี เช่น พืช พบมากในบริเวณต่างๆท่ีมีเนื้อเยื่อเจริญของพืช กรดนวิ คลีอิก อะดีโนซีน ไตรฟอสเฟต อะดโี นซนี ได เช่น บริเวณปลายยอด ปลายราก ตาข้าง เป็นต้น ฟอสเฟต ฟอสโฟไลปดิ และโปรตีน ไนโพรโทพลาซึม โพแทสเซียมเป็นธาตุที่สามารถเคลื่อนย้ายได้สะดวก ธาตุฟอสฟอรัสยังเป็นตัวช่วยในกระบวนการสลาย ในพืช พืชแต่ละชนิดมีความต้องการในปริมาณท่ี แห้งให้เป็นน�้ำตาล และะกระบวนการสังเคราะห์แป้ง แตกต่างกันออกไป พบว่าธาตุโพแทสเซียมไม่ได้เป็น จากน�้ำตาลธาตุฟอสฟอรัสยังเป็นส่วนประกอบของ ส่วนประกอบของโครงสร้างของโมเลกุลเหมือนธาตุ สารไฟติน ไนโตรเจนหรือแคลเซียมแต่ช่วยเอนไซม์กระตุ้นการ ซงึ่ ชว่ ยกระตุ้นการท�ำงานของเอนไซด์ ในกระบวนการ 39

รดี วิ ซไ์ นเตรต ธาตฟุ อสฟอรสั ชว่ ยลดความเปน็ กรดของ อาหารของพืช เช่น ช่วยเพ่ิมอัตราการดูดซึมธาตุ นำ้� ในเซลล์พืชไดด้ ว้ ย โพแทสเซียม ชว่ ยละพษิ ของธาตแุ มกนีเซยี ม ทำ� ใหพ้ ืช พชื ที่ขาดธาตฟุ อสฟอรสั จะมผี ลใหเ้ กดิ การติด ดูดซมึ ธาตุแมกนีเซยี มไดม้ ากขน้ึ และธาตแุ มกนเี ซียม ผลและเมล็ดของพืชน้อยลง ใบพืชจะเขียวคล�้ำกว่า ไปใช้ประโยชน์ การสังเคราะห์สารคลอโรฟีลล์ ธาตุ ปกติ สว่ นพชื ไม้ผลทีไ่ ด้รบั ธาตุฟอสฟอรสั เพียงพอ ผล แคลเซียมเป็นปัจจัยร่วมของเอนไซม์หลายชนิดของ จะดเี พราะเจรญิ เตบิ โตรวดเรว็ กวา่ ปกตแิ ละสกุ เรว็ กวา่ พชื ดังนน้ั สารละลายธาตอุ าหารท่ีมคี ุณภาพ จงึ ตอ้ งมี ต้นที่ได้รับธาตุฟอสฟอรัสไม่เพียงพอ ธาตุฟอสฟอรัส สัดส่วนของปริมาณธาตุแคลเซียมต่อธาตุแมกนีเซียม ชว่ ยสร้างรากได้ดีมาก โดยเฉพาะท�ำใหร้ ากชนิดสะสม ทม่ี คี วามเหมาะสมตอ่ ชนดิ ของพชื ดว้ ยนอกจากนย้ี งั พบ อาหารมีความแข็งแรงและสมบูรณ์ ท�ำให้ต้นพืชเจริญ วา่ สดั สว่ นของธาตแุ คลเซยี มตอ่ ธาตไุ นโตรเจนกม็ ผี ลตอ่ เติบโตเต็มท่ี สัดส่วนของการให้ธาตุฟอสฟอรัสในรูป ลกั ษณะของการเจริญเตบิ โตของตน้ พืชด้วยเช่นกนั ของสารละลายธาตุอาหารน้ันข้ึนอยู่กับปริมาณของ ธาตุแคลเซียมท�ำหน้าที่เป็นโครงสร้างผนัง ธาตุไนโตรเจนถ้าปริมาณของธาตุไนโตรเจนมีมากจะ เซลล์ของต้นพืช ท�ำให้มีความแข็งแรงและยังช่วยใน ตอ้ งเพม่ิ ปรมิ าณธาตฟุ อสฟอรสั ในสารละลายดว้ ย ทง้ั น้ี ปจั จัยรว่ มของเอนไซมใ์ นกระบวนการสร้างโปรตีน ถา้ เพราะถ้าธาตุไนโตรเจนถูกดูดซึมเข้าสู่พืชมากเกินไป หากพืชขาดแคลเซียมก็จะท�ำให้รากพืชพัฒนาน้อย จะมีผลในการยับย้ังการดูดซึมธาตุฟอสฟอรัสอีกธาตุ ยอดออ่ น ด้วน สั้นใบเลก็ ตน้ แคระแกรน็ เป็นต้น หนึ่งคือธาตุเหล็กในสารละลายธาตุอาหารพืชจะต้อง 8. ธาตแุ มกนเี ซยี ม (Mg) เปน็ องคป์ ระกอบที่ มีสัดส่วนของธาตุฟอสฟอรัสและธาตุเหล็กท่ีสมดุลกัน ส�ำคญั ของโมเลกุลคลอโรฟลี ล์ ดงั นนั้ พืชสเี ขยี วจงึ ตอ้ ง ด้วย เพราะถ้ามีธาตุฟอสฟอรัสจะท�ำปฏิกิริยากับธาตุ ใช้ธาตุแมกนีเซียมเพ่ิมสร้างคลอโรฟีลล์ ส�ำหรับการ เหลก็ ทำ� ใหธ้ าตเุ กดิ การตกตะกอนในสารละลาย ทำ� ให้ เจรญิ เตบิ โตของตน้ พชื ธาตแุ มกนเี ซยี มชว่ ยเคลอ่ื นยา้ ย พชื ขาดธาตเุ หลก็ ไดห้ รอื ตรงกนั ขา้ มถา้ สารละลายธาตุ ธาตุฟอสฟอรัสโดยไปรวมกับธาตุฟอสฟอรัสท�ำให้ได้ อาหารมธี าตเุ หลก็ มากเกนิ ไป กจ็ ะทำ� ใหธ้ าตฟุ อสฟอรสั สารประกอบแมกนีเซียมฟอสเฟตที่เคลื่อนย้ายได้ง่าย เกดิ การตกตะกอน ซง่ึ กท็ ำ� ใหพ้ ชื ขาดธาตฟุ อสฟอรสั ได้ ถ้าต้นพืชขาดธาตุแมกนีเซียม ต้นพืชก็มักจะมีอาการ เชน่ กัน ดังน้ัน สดั สว่ นทีถ่ ูกตอ้ งระหว่างธาตุฟอสฟอรสั เหลือซีดที่ใบอ่อน หรือใบแก่ข้ึนอยู่กับชนิดของต้นพืช กับธาตุเหล็กในสารละลายธาตุอาหารของพืช จึงเป็น ถ้าต้นพืชนั้นมีการเคลื่อนย้ายธาตุแมกนีเซียมออกจาก เรอ่ื งทส่ี ำ� คญั และจะตอ้ งตรวจสอบใหม้ เี สมอในระหวา่ ง ใบแก่ กแ็ สดงอาการเหลอื งซดี ไดท้ ใี่ บแก่ แตถ่ า้ ตน้ พชื ท่ี ใชก้ ับพืชที่ปลกู อยู่ ไมม่ กี ารเคลอื่ นยา้ ยแมกนเี ซยี ม กจ็ ะแสดงอาการเหลอื ง 7. ธาตุแคลเซียม (Ca) เป็นส่วนประกอบ ซีดท่ีใบอ่อน โดยการเหลืองซีดดังกล่าวมักจะเกิดท่ี ของสารเชื่อมผนังเซลล์ของเซลล์ให้ติดกันและยังเป็น บรเิ วณสว่ นทเี่ ปน็ เนอ้ื ใบของตน้ พชื กอ่ นสว่ นของเสน้ ใบ ปัจจัยร่วมของเอนไซม์ในปฏิกิริยาสังเคราะห์โปรตีน พชื เชน่ ตน้ ถวั่ ดำ� ทข่ี าดธาตแุ มกนเี ซยี มจะแสดงอาการ และปฏกิ ริ ยิ าของเอนไซมอ์ กี หลายชนดิ ในเซลลท์ ม่ี ชี วี ติ เชน่ นช้ี ดั เจน เปน็ ตน้ จะพบธาตแุ มกนเี ซยี มเปน็ จำ� นวน พชื ทข่ี าดธาตแุ คลเซยี มกจ็ ะแสดงอาการลกั ษณะรากกดุ มากในเมลด็ ใบเลย้ี ง ยอดออ่ น และในใบ ถา้ ตอ้ งการให้ รากมกี ารแตกแขนงนอ้ ย ปรมิ าณรากนอ้ ย ยอดดว้ น ขอ้ เมลด็ พชื สมบรู ณจ์ ะขาดธาตแุ มกนเี ซยี มไมไ่ ดเ้ ลยแตถ่ า้ สนั้ ใบเลก็ ทำ� ใหแ้ ลดตู น้ พชื แคระแกรน็ ไมส่ มประกอบ พชื ได้รบั ธาตุแมกนเี ซียมมากเกนิ ไปพืชจะแสดงอาการ ธาตุแคลเซียมมีหน้าที่ในสารละลายธาตุ ม้วนใบและมีอาการตายจากปลายใบของตน้ พชื 9. ธาตุก�ำมะถัน (s) ต้นพืชจะขาดธาตุ 40

กำ� มะถนั ในการสังเคราะห์กรดอะมโิ นคอื ซสี ทีน ซีสเท ต้องการธาตุทองแดง พบธาตุทองแดงมากตรงบริเวณ อิน และเมไธโอนินพบว่าร้อยละ7ของธาตุก�ำมะถันที่ เนื้อเยื่อในสารละลายธาตุอาหารที่ใช้ส�ำหรับปลูก พบในพชื อยใู่ นกรดซีสทีน ธาตุกำ� มะถนั กระจายในทกุ มะเขือเทศ พืชท่ีขาดธาตุทองแดงจะแสดงอาการต้น สว่ นของเนอ้ื เยอื่ ของตน้ พชื แตพ่ บมากในใบพชื ทไ่ี ดร้ บั พืชอ่อนแอ เช่น ใบของถ่ัวเหลืองจะเกิดอาการเหลือง ธาตุก�ำมะถันอยา่ งเพยี งพอจะมรี ะบบรากท่ดี ี ปริมาณ ซีดเป็นแห่งๆหรือเป็นจุดเหลืองกระจายอยู่บนใบของ คลอโรฟลี ลม์ าก ชว่ ยใหพ้ ชื ตระกลู ถวั่ สรา้ งปมทมี่ ขี นาด พืช เปน็ ต้น ใหญ่และสมบูรณ์ดี พืชท่ีปลูกต้องการปริมาณธาตุ 5.ธาตุแมงกานีส (Mn) พืชส่วนใหญ่ต้องการ ก�ำมะถันในกรณีที่พืชขาดธาตุก�ำมะถันพืชจะแตกพุ่ม ธาตุแมงกานีส เพ่ือใช้ในทุกส่วนของพืชแต่ที่พบจะ อยา่ งมากและใบจะเหลอื งดว้ ยทำ� ใหอ้ ตั ราการรดี วิ ซไ์ น สะสมมากในใบพชื มากกวา่ ในสว่ นตา่ งๆของตน้ พชื ใบ เตรตต่ำ� อตั ราการออกซิไดซ์น�้ำตาลต่ำ� ท้งั สองสาเหตุมี ข้าวโพดธาตแุ มงกานีส ประมาณ0.043ppm แตข่ ณะ ผลตอ่ การสงั เคราะหโ์ ปรตนี และการหายใจของพชื ตาม ทล่ี ำ� ตน้ ของขา้ วโพดมเี พยี ง0.017ppm พชื พรรณไมน้ ำ้� ล�ำต้น นอกจากนั้นธาตุก�ำมะถันยังเป็นวัตถุดิบในการ ก็ตอ้ งการธาตุ สังเคราะห์กรดอะมิโน ซ่ึงเป็นสารตั้งต้นในการเจริญ แมงกานีสมากกว่าพืชบก ส่วนพวกต้นไม้ เตบิ โตในพชื และเกย่ี วขอ้ งกบั การเกดิ กลนิ่ ในตน้ พชื เชน่ ใบเขียวตลอดปีใช้ธาตุแมงกานีสมากกว่าต้นไม้ผลัดใบ ในหอม กระเทยี ม เป็นต้น ถ้าพืชขาดธาตุแมงกานีสก็จะท�ำให้ธาตุเหล็กอยู่ในรูป ของเฟอรร์ สั ออิ อนจำ� นวนมากและเกดิ เปน็ พษิ ตอ่ ตน้ ไม้ ธาตอุ าหารทพ่ี ชื ตอ้ งการเพียงเล็กน้อย ได้ เชน่ ท�ำให้พวกถ่ัวเกิดลักษณะใบด่างหรือในกรณมี ี 1.ธาตเุ หลก็ (Fe) มหี น้าท่ีในการช่วยให้ ธาตุแมงกานีสมากเกินไปก็จะท�ำให้เฟอร์รัสอิออนถูก พืชสังเคราะห์ด้วยแสง โดยเป็นตัวน�ำพาออกซิเจนใน ออกซิไดซ์ไปเป็นเฟอร์ริกอิออน ซ่ึงพืชใช้ประโยชน์ได้ กระบวนการหายใจและมีบทบาทในการสังเคราะห์ นอ้ ยลงพชื กม็ กั จะขาดธาตเุ หลก็ ทง้ั ทใี่ นสารละลายธาตุ คลอโรฟลี ล์ มคี วามจำ� เปน็ ในการสรา้ งนำ้� ตาลและแปง้ อาหารมีธาตุเหล็กอยู่ด้วยดังน้ันการเตรียมสารละลาย ถ้าหากต้นพืชขาดธาตุเหล็กท�ำให้ใบเหลืองซีดท้ังใบ ธาตุอาหารของพืช จ�ำเป็นจะต้องค�ำนึงถึงสัดส่วนของ อ่อนและใบแก่ ความสามารถในการเคลื่อนออกซิเจน ธาตุแมงกานสี กับธาตุเหลก็ ดว้ ย ไดน้ ้อยลง 6.ธาตโุ มลบิ ดนิ มั ( Mo) ชว่ ยใหพ้ ชื สามารถใช้ 2.ธาตุคลอรีน (Ci) มีหน้าท่ีในการช่วยให้ ออิ อนไนเตรตได้ โดยเปลยี่ นสารไนเตรต ใหเ้ ปน็ ไนไตร พืชสังเคราะห์ด้วยแสงช่วยเพิ่มความเป็นกรดในเซลล์ ตด์ ว้ ยเอนไซมไ์ นเตรตดคั เตสซง่ึ ไนไตรตท์ ไี่ ดก้ เ็ ปลย่ี นตอ่ กระตุ้นการท�ำงานของเอนไซม์ ในสภาพทั่วไปคลอรีน ไปจนกระทั่งได้สารแอมโมเนยี มอิ จะมีเพียงพอต่อความต้องการของตน้ พชื ออนซง่ึ จะถกู นำ� ไปสรา้ งกรดอะมโิ นภายในเซลลข์ องพชื 3.ธาตุโบรอน (B) มีความส�ำคัญกับ อกี ตอ่ ไปพชื ทขี่ าดธาตโุ มลบิ ดนิ มั จะแสดงอาการเหลอื ง กระบวนการเจริญเติบโตของต้นพืช ท�ำให้ต้นพืชใช้ ซดี ทใ่ี บแกค่ ลา้ ยอาการขาดธาตไุ นโตรเจน พชื ตระกลู ถว่ั ธาตแุ คลเซยี มดมี ากขน้ึ ในการสรา้ งโครงสรา้ งผนงั เซลล์ จะสรา้ งปมรากถวั่ ได้น้อย อาจชว่ ยในกระบวนการเคลอ่ื นยา้ ยสารอาหารในตน้ พชื 7. ธาตุสงั กะสี (Zn) ธาตสุ งั กะสเี ก่ียวข้องกบั ถ้าหากขาดท�ำให้การสร้างน้�ำตาลลดลงและในพืชบาง การสงั เคราะหส์ ารฮอรโ์ มนออกซนิ ทปี่ ลายยอด ใบออ่ น ชนิดมีลำ� ตน้ กลวง และตาอ่อนของต้นพืชการขาดธาตุสังกะสีจะท�ำให้พืช 4. ธาตุทองแดง (Cu) พืชชั้นสูงส่วนใหญ่ ล�ำต้นเตี้ย ใบเล็ก และนอกจากน้ียังมีส่วนเก่ียวข้อง 41

กับการเปล่ียนแปลงของสารประกอบซัลไฮดริลซ่ึงพืช 2. ระบบ DFT (Deep Flow Techique) ต้องการธาตุสังกะสีในปริมาณน้อยเช่นเดียวกับธาตุโม เป็นการปลูกพืชโดยให้รากสัมผัสกับสารอาหารในน�้ำ ลิบดินัม ต้นพืชต้องการธาตุสังกะสีในสารละลายธาตุ ลึก3-5เซนติเมตร โดยจะปลูกในราง ในภาชนะ หรือ อาหารหรอื ในปุ๋ยท่รี ะดับเขม้ ขน้ ไมเ่ กนิ 1 ppm ในถาดปลกู ก็ได้ 8. ธาตไุ อโอดนี (I) สว่ นใหญพ่ บในตน้ พชื ตระกลู ถว่ั ตน้ ผกั กาดหอมและตน้ ผกั ขม ธาตไุ อโอดนี ชว่ ยทำ� ให้ พืชมีใบเขียวสดถ้าพืชดูดซึมเข้าสู่ต้นมากเกินไปก็จะ ไปชะงักการเจริญเติบโตของพืชได้ ในสารละลายธาตุ อาหารไม่ควรมีธาตไุ อโอดีนเข้มขน้ เกนิ กว่า 0.5ppm 9.ธาตซุ ลิ คิ อน (Si) ส่วนใหญพ่ บธาตซุ ิลคิ อน ในใบ ตน้ และรากของพชื ตระกลู ถว่ั ธาตซุ ลิ คิ อนจะชว่ ย ให้ชั้นผิวของพืชแข็งแรงป้องกันการท�ำลายจากแมลง ศตั รูพืชและรากพืชเชน่ โรคสนิม โรครานำ�้ คา้ งเปน็ ต้น 10. ธาตุโซเดียม (Na) ตน้ พืชบางชนดิ จะดดู ซึมธาตุโซเดียมเข้าไปช่วยเจริญเติบโตได้ดีเช่นเดียวกับ ธาตุโพแทสเซียม โดยเฉพาะต้นพืชที่ขึ้นได้ในดินเค็ม ได้แกพ่ วกโกงกาง แสม ทีม่ า http://njschool.maeklong.org ระบบไฮโดรโปรนิกส์ที่ใช้โดย ท่ัวไป 3.ระบบ DRFT (Dynamic Root Floating 1.ระบบ NFT(Nutrient Film Techique) Technique)จะคลา้ ยกับระบบ DFT เปน็ การปลูกพชื เป็นการปลูกพืชโดยให้รากสัมผัสกับสารอาหาร โดยใหร้ ากสมั ผสั กบั สารอาหารในนำ้� ลกึ 3-5 เซนตเิ มตร โดยสารอาหารจะไหลเป็นแผ่นฟิล์มบางๆหนา1-3 และอากาศ มิลลิเมตร และสารละลายธาตุอาหารจะมีการไหล หมุนเวยี นกับมาใช้อีกครั้ง 42

4. ระบบ Aeroponics คอื การปลูกพชื โดยการฉดี พ่น รถแยกบอกความเขม้ ขน้ ของเกลอื แตล่ ะตวั ได้ พชื แตล่ ะ น�้ำสารละลายธาตุอาหารให้กับรากพืชท่ี ลอยอยู่ใน ชนิดจะใชค้ า่ ECทแ่ี ตกตา่ งกนั อากาศ เคร่ืองEC Meter เปน็ เครือ่ งมอื ที่มปี ระโยชน์ ทีม่ า http://www.phukethy dro.com ม า ก ค ว ร มี ไ ว ้ ใ ช ้ เ พื่ อ ต ร ว จ ส อ บ คุ ณ ภ า พ ข อ ง น้� ำ อปุ กรณท์ จี่ ำ� เปน็ ในการปลกู พชื ไมใ่ ชด้ นิ (สถาบนั วจิ ยั หมายเหตุ ค่าECของน�้ำท่ีใช้ในการปลูกไม่ควร และพฒั นา มทร.สุวรรณภมู )ิ เกนิ 0.6ms/cm อปุ กรณโ์ รงเรือนประกอบด้วย 1.โรงเรอื นและอปุ กรณ์ 2.น้�ำ 3.สารละลายธาตอุ าหารของพืช 4.EC วัดค่าความเข้มขน้ ของสารอาหาร 1.โครงเหลก็ ดดั โคง้ ส�ำหรบั สร้างโรงเรือน ECคอื อะไร EC ย่อมาจากค�ำว่าElectric conductivity หมายถึง คา่ การนำ� ไฟฟา้ ของเกลอื (ในไฮโดรโปรนกิ สจ์ ะหมายถงึ เกลอื ของธาตอุ าหาร)ทง้ั หมดทล่ี ะลายอยใู่ นนำ�้ โดยปกติ แล้วน้�ำบริสุทธิ์จะมีค่าความน�ำไฟฟ้าเป็นศูนย์ แต่เม่ือ น�ำธาตุอาหารละลายในน้�ำเกลือของธาตุอาหารเหล่านี้ จะแตกตัวเป็นประจุบวกและประจุลบซึ่งจะเป็นตัวน�ำ ไฟฟา้ ทำ� ใหม้ คี า่ ความนำ� ไฟฟา้ (Electric Conductivity) ซ่ึงค่าน�ำไฟฟ้าที่เกิดขึ้นจะเป็นสัดส่วนโดยตรงกับ ปริมาณเกลือของธาตุอาหารที่ละลายอยู่ในน�้ำ ดังน้ัน เราจึงใช้การวดั คา่ การน�ำไฟฟา้ ของสารละลาย(คา่ EC) เพอื่ เปน็ ตวั บอกปรมิ าณเกลอื ธาตอุ าหารทล่ี ะลายในนำ้� 2.พลาสติกใสเคลือบสารป้องกันรังษีUV(ใช้ท�ำเป็น แตก่ ารวดั คา่ ECนนั้ เปน็ เพยี งการวดั คา่ โดยรวมไมส่ ามา หลงั คาคุมโรงเรอื น) 43

5.รางปลกู ที่มลี อนรบั รากพชื ประกอบดว้ ย 3.มุ้งกนั แมลงผสมสารกันรงั สUี V 5.1 รางปลูกช่วงหวั 5.2รางปลูกชว่ งกลาง 4.พลาสติกดำ� รองรับน้�ำ (PEด�ำ)ปูรองบนรางปลกู 5.3 รางปลกู ชว่ งทา้ ย 44

9.สายท่อสำ� หรบั ตอ่ ปั้มน้�ำ 6.แผ่นปลูก มีท้งั ใช้กับผักท่วั ไปและผักสลดั 10.ชุดหัวพ่นน้�ำ 7.ถงั พกั น้ำ� สำ� หรบั ใสส่ ารละลายธาตอุ าหาร 11.ขอ้ ต่อชดุ หวั พน่ น�ำ้ 8.ปั้มน้�ำ 12.สายยน่ สำ� หรบั ต่อวาลว์น้�ำลงถงั พกั 45 สารละลายธาต ุ อาหาร