Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานฉบับสมบูรณ์_สพข. 7_5 มี.ค. 64

รายงานฉบับสมบูรณ์_สพข. 7_5 มี.ค. 64

Published by ศศิธร ได้ไซร้, 2021-03-10 06:32:51

Description: รายงานฉบับสมบูรณ์_สพข. 7_5 มี.ค. 64

Search

Read the Text Version

แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟพู น้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษด์ นิ และน้า ลุ่มน้าหว้ ยน้าแหง

แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟพู น้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษด์ นิ และน้า ลุ่มน้าหว้ ยน้าแหง

แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟพู น้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษด์ นิ และน้า ลุ่มน้าหว้ ยน้าแหง

แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟพู น้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษด์ นิ และน้า ลุ่มน้าหว้ ยน้าแหง

การจัดทำแผนการบริหารจัดการป้องกันการชะลา้ งพังทลายของดนิ และฟื้นฟูพื้นท่ีเกษตรกรรม ด้วย ระบบอนุรักษ์ดินและนำ้ มีความสอดคล้องและเชื่อมโยงของยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580) : ยุทธศาสตร์ที่ 5 ด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ความสอดคล้องของ แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ: แผนแม่บทการบริหารจัดการน้ำท้ังระบบ และสอดคล้องของ ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการน้ำของประเทศ (พ.ศ. 2558 - 2569): ยุทธศาสตร์ท่ี 5 การอนุรักษ์ฟื้นฟู สภาพป่าต้นน้ำทีเ่ สื่อมโทรมและป้องกนั การพังทลายของดิน กลยุทธ์ : การอนุรักษ์ฟืน้ ฟูพ้ืนท่ีเกษตรกรรม ในพื้นที่ดินเสื่อมโทรมและชะล้างพังทลายของดิน โดยมีเป้าหมายสำคัญสงู สดุ คือ พื้นที่เกษตรกรรมได้รบั การอนุรักษ์และฟื้นฟูให้สามารถใช้ที่ดินได้อย่างถูกต้องและเหมาะสมตามศักยภาพของพื้นที่ ไม่น้อยกว่า 20 ล้านไร่ ภายใน 20 ปี คณะทำงานจัดทำแผนการบริหารจัดการโครงการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่ เกษตรกรรมดว้ ยระบบอนรุ กั ษ์ดนิ และน้ำ พื้นทล่ี ุม่ น้ำห้วยน้ำแหง อำเภอนาน้อย จังหวัดนา่ น ไดด้ ำเนนิ การ ศึกษา วิเคราะห์ และประเมินสถานภาพทรัพยากรดินเชิงระบบสำหรับแก้ปัญหาด้านการชะล้างพังทลาย ของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรม ผ่านกระบวนการมีส่วนร่วมและความต้องการของชุมชน และการรับ ฟงั ขอ้ คดิ เห็นขอ้ เสนอแนะจากหน่วยงานภาคีเครือข่ายที่เก่ยี วข้องท้ังในสว่ นกลางและสว่ นภมู ิภาค ทำให้ได้ แผนการบรหิ ารจดั การโครงการที่กรมพฒั นาท่ีดินสามารถนำไปใช้ในการขบั เคล่ือนการดำเนินงานด้านการ อนุรักษ์ดินและน้ำให้บรรลุเป้าหมายตามยุทธศาสตร์ชาติ แผนปฏิรูปประเทศ และแผนบริหารจัดการน้ำ ของประเทศ การกำหนดกรอบแนวคิดจากหลักการ เข้าใจ เข้าถึง และพัฒนา โดยการนำฐานข้อมูลด้านทรัพยากรดิน ประกอบด้วย ดินปัญหาและการชะล้างพังทลายของดิน เป็นตัวกำหนดพื้นที่เป้าหมายจากสภาพปัญหา สำหรบั นำไปใชใ้ นการบริหารจัดการ โดยยึดประชาชนเปน็ ศูนย์กลางของการพัฒนาและเน้นกระบวนการมี ส่วนร่วมของชุมชน บูรณาการข้อมูลเชิงสหวิชาการเพื่อใช้ในการพัฒนาและวางแผนการใช้ที่ดิน กำหนด มาตรการด้านการอนุรักษ์ดินและน้ำให้สอดคล้องกับสภาพปัญหาของพื้นที่และความต้องการของชุมชน เพื่อให้ได้เขตอนุรักษ์ดินและน้ำที่มีการบริหารจัดการเชิงระบบ เกษตรกรสามารถใช้ประโยชน์พื้นที่ การเกษตรได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเหมาะสมตามศักยภาพของที่ดิน โดยสามารถสรุปผลการจัดทำ แผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรม ด้วยระบบอนุรักษ์ดิน และนำ้ ดงั น้ี แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟพู น้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษ์ดนิ และน้า ล่มุ น้าหว้ ยน้าแหง

จากการศึกษาและสำรวจข้อมูลดินในพื้นท่ีลุ่มน้ำห้วยน้ำแหง เพื่อจัดทำฐานข้อมูลและประเมิน สถานภาพทรพั ยากรดนิ โดยเนน้ ด้านการชะลา้ งพงั ทลายของดนิ ทงั้ น้ีเพ่ือนำไปสกู่ ารวเิ คราะห์แนวทางการ ใช้ที่ดินด้านการเกษตร และกำหนดมาตรการเพื่อป้องกันชะล้างพังทลายของดินและอนุรักษ์ดินและน้ำท่ี เหมาะสม ผลการจำแนกสภาพปัญหาของดินหรือข้อจำกัดต่อการใช้ที่ดินด้านการเกษตร แบ่งเป็น 5 ประเภท หลัก ได้แก่ (1) การใช้ที่ดินไม่ตรงตามศักยภาพของดิน (ที่ดอนทำนา) ครอบคลุมเนื้อที่รวม 664 ไร่ หรือ คิดเป็นร้อยละ 0.72 (2) ดนิ ค่อนขา้ งเป็นทรายและความอุดมสมบูรณข์ องดินต่ำท่ีบนพืน้ ที่ดอน ครอบคลุม เนื้อที่รวม 915 ไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 1.00 และ (3) ดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่ำบนพื้นที่ดอน ครอบคลุม เนื้อที่รวม 3,400 ไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 3.71 (4) ดินตื้น เป็นอุปสรรคต่อการเจริญเติบโตของพืชด้านการ ชอนไชของรากพืช ครอบคลุมเน้ือท่ีรวม 6,253 ไร่ หรือคิดเปน็ ร้อยละ 6.82 (5) ปญั หาพืน้ ท่มี ีความลาดชัน สูง ครอบคลุมเนื้อที่รวม 68,030 ไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 74.20 ส่วนใหญ่มีสภาพการใช้ที่ดินเป็นป่าไม้ มี เนอ้ื ท่ี 78,863 ไร่ หรือคดิ เป็นรอ้ ยละ 67.68 ของเนื้อทท่ี ัง้ หมด จากการศกึ ษาความสัมพันธข์ อง 3 ปจั จยั หลกั ได้แก่ การใชท้ ี่ดิน และทรัพยากรดิน ข้อมูลสภาพ ภูมิอากาศ พบวา่ พื้นท่ลี มุ่ น้ำหว้ ยน้ำแหงมีพนื้ ที่ 146.71 ตารางกิโลเมตร (91,696 ไร่ ) มปี ริมาณน้ำท่าคิด เป็น 48.43 ล้านลูกบาศกเ์ มตรต่อปี ซง่ึ แสดงใหเ้ หน็ วา่ มศี ักยภาพในการพัฒนาด้านการเก็บกักน้ำท่าเพ่ือใช้ ในพื้นที่การเกษตรได้ พื้นที่ส่วนใหญ่มีความรุนแรงของการชะล้างพังทลายในระดับรุนแรง โดยมีปริมาณการสูญเสีย ดิน 5-15 ตันต่อไร่ต่อปี โดยครอบคลุมพื้นท่ีร้อยละ 78.71 ของเนื้อที่ทั้งหมด มีลักษณะการชะล้าง พังทลายของดนิ เปน็ รอ่ งลึกเกิดขึ้นทว่ั ไป และมีการใช้ทด่ี นิ ในการปลกู ขา้ วโพด และขา้ วโพด (ไร่หมุนเวยี น) เมื่อพิจารณาถึงการประเมินการชะล้างพังทลายของดินในแต่ละพื้นท่ี และแต่ละระดับ แม้ใน พื้นที่ที่มีการชะล้างพังทลายในระดับน้อย มีปริมาณการสูญเสียดนิ 0-2 ตันต่อไร่ต่อปี ก็ไม่ควรเพิกเฉยต่อ การใช้มาตรการอนุรักษ์ดินและน้ำ และหากมีการละเลยหรือมีการจัดการที่ไม่เหมาะสม ไม่ถูกต้องตาม หลักวิชาการอาจส่งผลกระทบที่รุนแรงขึ้น ก่อให้เกิดปัญหาการสูญเสียดิน ปริมาณและคุณภาพผลผลิต และส่งผลกระทบต่อต้นทุนการผลิต การจัดการดิน น้ำ ปุ๋ย จนส่งผลให้เกษตรกรในพื้นที่มีค่าใช้จ่ายที่เพิม่ สูงขึ้นตามไปดว้ ย แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟพู น้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษ์ดนิ และน้า ลมุ่ น้าหว้ ยน้าแหง

จากการศึกษาข้อมูล เศรษฐกิจและสังคมโดยเฉพาะในพื้นที่ได้รับผลกระทบจากการชะล้ าง พงั ทลายของดนิ พบวา่ เกษตรกรมีความรู้ ความเขา้ ใจในวิธีการรักษาและป้องกันไม่ให้เกิดการชะล้างพังทลาย ของดินในแต่ละวิธีการมากน้อยแตกต่างกัน เมื่อพิจารณาความต้องการ วิธีการรักษาและป้องกันการชะล้าง พังทลายของดิน จะเห็นว่า เกษตรกรมีความต้องการ การทำคันดินขวางทางลาดเท การทำฝายน้ำล้น หรือ คันชะลอความเร็วของน้ำ การยกร่อง และการปลูกพืชตามแนวระดับ เมื่อพิจารณาผลกระทบด้านต้นทุน การผลิต ผลผลิต และผลตอบแทนเหนือต้นทุนทั้งหมดของการปลูกพืชในพื้นที่ที่มีระดับการชะล้าง พังทลายของดินต่างกัน จะเห็นว่า ต้นทุนการผลิตของแต่ละพืช มีแนวโน้มสูงขึ้นตามระดับความรุนแรง ของการชะล้างพังทลายของดินที่เพิ่มขึ้น โดยเฉพาะในพื้นที่ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ซึ่งต้นทุนเพิ่มขึ้นอาจ เป็นผลจากการเปลีย่ นแปลงตน้ ทนุ ผันแปรในการผลิต เช่น คา่ จ้างแรงงาน คา่ เมลด็ พนั ธุ์ คา่ ปุ๋ย นอกจากน้ี ยังพบว่า ผลผลิตของทุกพชื ลดลงตามความรุนแรงของการชะลา้ งพังทลายของดนิ โดยเฉพาะข้าวโพดเลี้ยง สตั ว์ และยางพารา ในการคัดเลือกพื้นท่ีเพื่อดำเนินการ โดยอาศัยปัจจัยหลักและเกณฑ์ท่ีกำหนด สำหรับพิจารณา จัดลำดับความสำคัญมี 6 ด้าน ประกอบด้วย (1) ระดับความรุนแรงของการชะล้างพังทลายของดิน (2) เอกสารสิทธิ์ (3) การใช้ที่ดิน (4) กิจกรรมที่ดำเนินงานในพื้นที่ (5) แผนปฏิบัติงานของพื้นที่ (6) ความ ตอ้ งการของชุมชน เพื่อให้การดำเนินงานสอดคล้องกับสภาพปัญหาของพ้ืนท่ีและความต้องการของชุมชน สามารถนำมาจัดทำแผนการดำเนินงาน 4 ปี โดยกำหนดแนวทางและมาตรการที่มีความสอดคล้องกับ สภาพปญั หา แผนการใชท้ ดี่ นิ บนพ้นื ฐานการมีส่วนร่วม ดังน้ี แบ่งตามระดับความรุนแรงของการชะล้างพังทลายของดิน ในพื้นที่ที่มีระดับรุนแรงมาก และระดับปาน กลาง กำหนดมาตรการในการไถพรวนและปลูกพืชตามแนวระดับ การยกร่องตามแนวระดับ การสร้างคัน ดิน คันดินเบนน้ำ แนวหญ้าแฝก ทางลำเลียง คูรับน้ำขอบเขา ทางระบายน้ำ ฝายชะลอน้ำ และบ่อดัก ตะกอน ส่วนระดับรุนแรงน้อย มีมาตรการเพิ่มเติมตามลักษณะภูมิประเทศ คือ การไถพรวนดิน การปรับ ระดับ และปรับรปู แปลงนา ส่วนใหญ่มีปัญหา พื้นที่เกษตรมีความลาดชันสูง ดินตื้น และดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่ำ กำหนดมาตรการโดยเน้นการเพิ่ม อินทรียวตั ถุดว้ ยการปลูกพืชคลุมดนิ ปลกู พชื ปุ๋ยสด การใชป้ ยุ๋ คอก ปุ๋ยหมกั และปยุ๋ ชีวภาพ ในพื้นที่ทาง การเกษตรซึ่งมีสภาพปัญหาการขาดแคลนน้ำ จึงกำหนดมาตรการตามสภาพปัญหาและสอดคล้องตาม แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟูพน้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษ์ดนิ และน้า ลุม่ น้าหว้ ยน้าแหง

ความต้องการของชุมชน คือ อ่างเก็บน้ำ สระเก็บน้ำ ฝายทดน้ำ การปรับปรุงลำน้ำ คลองส่งน้ำ ระบบส่ง น้ำดว้ ยท่อ และระบบใหน้ ำ้ แบบ micro irrigation แผนการบริหารจัดการทรัพยากรดินและน้ำเชิงบูรณาการ เพื่อป้องกันการชะล้างพังทลายของดิน เป็นรปู แบบการบริหารจัดการลุม่ น้ำเชงิ ระบบ ครอบคลุมทกุ มติ ิแบบองคร์ วม ได้แก่ มติ ทิ างกายภาพ สังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดลอ้ ม โดยกำหนดทศิ ทางจากสภาพปญั หาเปน็ ตวั นำ ความรู้ทางวิชาการทห่ี ลากหลาย สาขาผ่านกระบวนการคิด วิเคราะห์จากงานวิจัย และเทคโนโลยีด้านการพัฒนาที่ดิน การอนุรักษ์ดินและ น้ำ ผ่านกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชน ประกอบด้วย การวิเคราะห์สภาพปัญหาของพื้นท่ี คัดเลือก วิธีการประเมินปัญหาการชะล้างพังทลายของดิน และตรวจสอบข้อมูลที่เป็นปัจจุบันครอบคลุมประเด็น ปญั หาของสภาพพ้นื ทอี่ ยา่ งแทจ้ รงิ ได้แก่ ขอ้ มูลการชะล้างพังทลายของดนิ ข้อมลู ดา้ นทรัพยากรดิน ขอ้ มูล สภาพการใช้ที่ดนิ ระดับการเปล่ียนแปลงของการใช้ที่ดิน ข้อมูลด้านทรัพยากรน้ำ สภาพภูมปิ ระเทศ และ สิ่งแวดล้อม ข้อมูลทางเศรษฐกิจและสังคม ซึ่งมีความเชื่อมโยงกันในด้านกายภาพ เศรษฐกิจ และสังคม โดยนำข้อมูลมาประกอบการวิเคราะห์และจัดทำแผนปฏิบัติการเพื่อป้องกันการชะล้างพังทลายของดิน และฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ทั้งนี้ เพื่อให้มีประสิทธิภาพ เกิดประสิทธิผล ถกู ตอ้ งตามสมรรถนะและศักยภาพของท่ดี ิน และใหผ้ ู้ที่เก่ยี วขอ้ งได้เกิดความระหนกั และการเรยี นรู้นำไปสู่ การจัดการที่ถูกต้อง พร้อมทั้งการประเมินสถานการณ์การเปลี่ยนแปลง โดยการติดตามและประเมินผล ตามตัวชี้วัด เพื่อให้ทราบผลสำเร็จจากการดำเนินงานด้านการลดอัตราการชะล้างพังทลายของดิน และ ด้านเศรษฐกิจสังคมของชุมชนบริเวณบนพื้นที่ลุ่มน้ำสู่การพัฒนาระบบการบริหารจัดการด้านการอนุรักษ์ ดินและนำ้ ใหเ้ กษตรกรและชุมชนสามารถใช้ท่ีดนิ ไดอ้ ยา่ งย่งั ยืน การดำเนินงานตามแผนบรหิ ารจดั การป้องกันการชะลา้ งพังทลายของดินและฟื้นฟพู ื้นที่เกษตรกรรม ด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ มีกลไกการขับเคลื่อนการดำเนินงานในรูปแบบคณะกรรมการและ คณะทำงาน ในการจัดทำต้นแบบแผนการบริหารจดั การโครงการจัดการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟู พื้นทเ่ี กษตรกรรม ดว้ ยระบบอนุรักษด์ ินและน้ำ สำหรบั ขับเคลื่อนการดำเนินงานด้านการอนุรักษ์ดินและน้ำให้ บรรลเุ ป้าหมายตามยุทธศาสตร์ 20 ปี แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 12 และแผนแม่บท การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ ดังนั้น เพื่อให้แผนบริหารจัดการเกิดผลสัมฤทธิ์ในทางปฏิบัติ บรรลุ วัตถุประสงค์และเปา้ หมายที่กำหนดไว้ จงึ จำเป็นตอ้ งได้รับการขบั เคล่อื นและผลักดันจากทุกภาคส่วน และให้ เกิดการบูรณาการทุกระดับผ่านกระบวนการมีส่วนร่วม เพื่อให้การบริหารจัดการทรัพยากรดินและน้ำมี เป้าหมายไปในทิศทางเดียวกัน ควรมีแนวทางการดำเนนิ งาน ดงั นี้ แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟูพน้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษด์ นิ และน้า ลมุ่ น้าหว้ ยน้าแหง

เพื่อป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรม ให้สามารถนำไปสู่ การวางแผน การกำหนดมาตรการและบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรรมที่มีความเสี่ยงต่อการชะล้าง พงั ทลายของดนิ และพน้ื ทด่ี ินเสอื่ มโทรม โดยนำแนวทางการปฏิบัติงานไปกำหนดเป็นแผนงานโครงการ และ กำหนดเป็นข้อตกลงการทำงานระหว่างหน่วยงาน เน้นการทำงานเชิงบูรณาการ เพื่อขับเคลื่อนองค์กรให้ บรรลุเป้าหมายทก่ี ำหนดไว้ โดยจัดตั้งคณะทำงาน ติดตามประเมินผลที่มีกลไกและเครือข่ายการดำเนินงานทั้งหน่วยงานที่ปฏิบัติงานในส่วนกลางและส่วน ภูมิภาคเชื่อมโยงการประเมินผล ทุกมิติ ประกอบด้วย มิติทางกายภาพหรือสิ่งแวดล้อม มิติสังคม และมิติ เศรษฐกจิ ที่สามารถสะทอ้ นผลสมั ฤทธข์ิ องงานไดช้ ดั เจน จนนำไปส่กู ารปรบั ปรุงพฒั นาแผนการดำเนินงาน โครงการใหเ้ กดิ ประสทิ ธผิ ลและมปี ระสทิ ธภิ าพ แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟูพน้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษ์ดนิ และน้า ลมุ่ น้าหว้ ยน้าแหง

กรมพัฒนาที่ดิน มีภารกิจสำคัญเกี่ยวกับการแก้ไขปัญหาทรัพยากรที่ดิน โดยการพัฒนาที่ดินและ อนุรักษ์ดินและน้ำ ซึ่งมาตรการด้านการอนรุ ักษ์ดินและน้ำจะช่วยปรบั โครงสร้างพืน้ ฐานของที่ดนิ ในพื้นที่ ให้เหมาะสมกับการปลูกพืช พร้อมกับช่วยรักษาระบบนิเวศทางดินให้เกิดการใช้ที่ดินได้อย่างยั่งยืน โดย ก่อนเริ่มดำเนินงานจำเป็นต้องมีการศึกษาและวิเคราะห์สภาพของที่ดินในพื้นที่ในการกำหนดมาตรการ ด้านอนุรักษ์ดินและน้ำด้วยวิธีกลและวิธีพืชเฉพาะพื้นที่ เพื่อควบคุมหรือป้องกันความรุนแรงของสภาพดิน ปัญหาไม่ให้ส่งผลกระทบก่อปัญหาเพิ่มขึ้นในพื้นที่อื่น ดังนั้น กรมพัฒนาที่ดิน จึงเป็นหน่วยงานที่มบี ทบาท สำคญั ในการบรหิ ารจดั การทรัพยากรดินเชิงบูรณาการระดบั ลุ่มนำ้ โดยนำหลักวิชาการด้านการอนุรักษ์ดิน และน้ำ พิจารณาจากสภาพพื้นที่และความต้องการของชุมชนเป็นหลัก นอกจากน้ียังศึกษาแนวนโยบาย ด้านการเกษตรของรัฐบาล และท้องถิ่นในระดับต่าง ๆ เพื่อนำมาวิเคราะห์กำหนดมาตรการในแผนการใช้ ที่ดินพร้อมข้อเสนอแนะด้านการจัดการพื้นที่ ให้เป็นแนวทางในการใช้ที่ดินอย่างมีประสิทธิภาพและใช้ได้ อย่างยั่งยืน คณะทำงานจัดทำแผนการบรหิ ารจัดการโครงการป้องกนั การชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพ้ืนที่ เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ พื้นที่ลุ่มน้ำห้วยน้ำแหง อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน ได้ดำเนินการ ศึกษา วิเคราะห์ เพื่อประเมินสถานภาพทรัพยากรดินเชิงระบบสำหรับแก้ปัญหาด้านการชะล้างพังทลาย ของดนิ และฟื้นฟูพ้ืนท่ีเกษตรกรรมผ่านกระบวนการมีสว่ นร่วมและความต้องการของชุมชน และการรับฟัง ข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะจากหน่วยงานภาคีเครือข่ายและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ที่ปฏิบัติงานในส่วนกลาง และสว่ นภูมิภาค ทำให้ไดต้ ้นแบบแผนการบรหิ ารจดั การโครงการท่ีกรมพัฒนาท่ีดินสามารถนำไปใช้ในการ ขับเคลื่อนการดำเนินงานด้านการอนุรักษ์ดินและน้ำให้บรรลุเป้าหมายตามยุทธศาสตร์ชาติ แผนปฏิรูป ประเทศ และแผนบริหารจัดการน้ำของประเทศ ในโอกาสนี้ ขอขอบคุณคณะกรรมการขับเคลื่อนโครงการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและ ฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรม ด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ นักวิชาการที่ปฏิบัติงานส่วนกลางและส่วนภูมิภาค เจา้ หน้าท่ขี องสำนักงานพัฒนาท่ีดินเขต 7 สถานีพฒั นาทด่ี นิ น่าน หน่วยงานภาคเี ครือข่ายและหน่วยงานท่ี เกี่ยวข้อง และเกษตรกรในชุมชนพื้นที่ลุ่มน้ำห้วยน้ำแหง อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน ที่มีส่วนร่วมในการ ดำเนินงานโครงการให้สำเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดีจนบรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการ เพื่อนำข้อมูลแผนการ บรหิ ารจดั การโครงการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟ้ืนฟูพื้นทเ่ี กษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดิน และน้ำไปขยายผลในพื้นที่อื่นสู่การแก้ไขปัญหาให้กับเกษตรกรที่อยู่ในพื้นที่เสี่ยงต่อการชะล้างพั งทลาย ของดินและพื้นที่ดินปัญหา ทำให้สามารถใช้ที่ดินได้อย่างเหมาะสมตรงตามศักยภาพของพื้นที่ และมี คณุ ภาพชีวิตที่ดีขน้ึ คณะทำงานฯ มถิ นุ ายน 2563 แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟพู น้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษ์ดนิ และน้า ลุ่มน้าหว้ ยน้าแหง

1.1 หลกั การและเหตุผล 2 1.2 วตั ถปุ ระสงค์ 3 1.3 กรอบแนวคิดการดำเนินงาน 3 1.4 เปา้ หมาย 4 1.5 ขนั้ ตอนการดำเนนิ งาน 4 1.6 สถานท่ดี ำเนนิ งาน 5 1.7 ระยะเวลาดำเนินการ 5 1.8 ผลผลติ 6 1.9 ผลลัพธ์ 6 1.10 ผลกระทบ 6 1.11 ตัวชีว้ ดั ความสำเรจ็ 6 1.12 ผลประโยชน์ทคี่ าดวา่ จะไดร้ ับ 7 1.13 ผ้รู บั ผิดชอบ 7 1.14 ทป่ี รกึ ษาโครงการ 7 1.15 การส่งมอบงาน 7 2.1 การรวบรวมข้อมูล 11 2.2 การสำรวจศกึ ษาและวิเคราะหข์ ้อมลู พืน้ ฐาน 11 2.3 การประเมนิ พน้ื ท่ีการชะลา้ งพังทลายของดิน 17 2.4 การจดั ทำแผนการใช้ทดี่ ิน 19 2.5 การรบั ฟงั ความคดิ เห็นจากผูม้ ีส่วนไดส้ ว่ นเสีย 21 2.6 การวเิ คราะห์ลำดับความสำคญั 23 2.7 การจดั ทำแผนบริหารจดั การเพื่อปอ้ งกนั การชะล้างพังทลายของดินและฟน้ื ฟพู ้นื ท่ี 24 เกษตรกรรมดว้ ยระบบอนรุ ักษ์ดินและนำ้ แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟูพน้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษด์ นิ และน้า ลมุ่ น้าหว้ ยน้าแหง

3.1 ท่ีตง้ั และอาณาเขต 28 3.2 สภาพภมู ิประเทศ 28 3.3 สภาพภูมิอากาศ 31 3.4 ทรัพยากรดนิ 33 3.5 ทรพั ยากรน้ำ 41 3.6 ทรัพยากรป่าไม้ 45 3.7 ขอบเขตท่ดี ินตามกฎหมายและนโยบาย 46 3.8 สภาพการใช้ท่ดี ิน 50 3.9 พืน้ ที่เสีย่ งตอ่ การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ 57 3.10 สภาวะเศรษฐกิจและสงั คม 61 3.11 การวิเคราะหส์ ภาพแวดลอ้ มและศกั ยภาพ (SWOT) 75 3.12 ภาวะการผลิตพืช 79 4.1 เขตพน้ื ทป่ี ่าไม้ตามกฎหมาย 94 4.2 เขตเกษตรกรรม 96 4.3 เขตพ้ืนท่ชี ุมชนและสิ่งปลกู สรา้ ง 98 4.4 เขตแหล่งน้ำ 99 4.5 เขตพื้นทคี่ งสภาพปา่ ไมน้ อกเขตป่าตามกฎหมาย 99 4.6 เขตพน้ื ท่อี ่นื ๆ 99 5.1 แผนการดำเนนิ งาน 106 5.2 ความกา้ วหน้าผลการดำเนนิ งาน 107 5.3 แนวทางการรับฟังความคดิ เห็นของชมุ ชนต่อการดำเนนิ โครงการผา่ นกระบวนการมี 108 ส่วนรว่ มของชุมชนในพนื้ ทลี่ มุ่ นำ้ หว้ ยนำ้ แหง 112 5.4 แผนบรหิ ารจัดการปอ้ งกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดินและฟน้ื ฟูพนื้ ที่เกษตรกรรมดว้ ย 118 ระบบอนุรกั ษ์ดนิ และนำ้ 6.1 แนวทางการขบั เคลอ่ื นไปสกู่ ารปฏบิ ัติ แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟพู น้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษด์ นิ และน้า ลุ่มน้าหว้ ยน้าแหง

6.2 บทบาทของหน่วยงานและภาคีเครือข่ายทุกระดับในการขับเคลือ่ นแผนบริหารจัดการ 119 ทรัพยากรดินและน้ำ เพื่อป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นท่ี 121 เกษตรกรรม 6.3 แนวทางการติดตามและประเมินผลตามแผนบริหารทรัพยากรดินเพื่อป้ องกัน การชะล้างพังทลายของดนิ และฟืน้ ฟพู นื้ ทเ่ี กษตรกรรม แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟูพน้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษ์ดนิ และน้า ลมุ่ น้าหว้ ยน้าแหง

2-1 ระดับความรุนแรงของการชะล้างพงั ทลายของดิน 18 2-2 ช้ันของการกัดกร่อน 19 3-1 ความลาดชันพ้ืนที่ลุ่มน้ำหว้ ยนำ้ แหง อำเภอนาน้อย จงั หวดั นา่ น 28 3-2 สถิติภูมิอากาศโดยเฉลี่ยในคาบ 30 ปี (พ.ศ. 2531-2561) ณ สถานีตรวจวัดอากาศ 32 จังหวดั นา่ น 35 3-3 ทรัพยากรดนิ ในพน้ื ทลี่ ่มุ นำ้ ห้วยนำ้ แหง อำเภอนาน้อย จงั หวดั น่าน 39 3-4 สภาพปัญหาของดนิ ในพน้ื ที่ล่มุ นำ้ หว้ ยนำ้ แหง อำเภอนาน้อย จงั หวดั นา่ น 44 3-5 แหล่งนำ้ ตน้ ทุนที่ดำเนินการผา่ นโครงการพฒั นาแหล่งน้ำตน้ ทนุ อำเภอนานอ้ ย จงั หวัดนา่ น 45 3-6 สถานภาพทรัพยากรปา่ ไม้ในพนื้ ทลี่ ่มุ นำ้ หว้ ยน้ำแหง อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน 46 3-7 ข้อมลู ท่ดี ินของรัฐทใ่ี ช้รว่ มในการวิเคราะห์ด้านทรัพยากรป่าไม้ อำเภอนาน้อย จงั หวัดน่าน 47 3-8 พ้นื ท่ีเขตป่าสงวนแห่งชาตใิ นพนื้ ทีล่ มุ่ นำ้ ห้วยน้ำแหง อำเภอนาน้อย จังหวดั นา่ น 48 3-9 พ้นื ท่เี ขตการใช้ประโยชน์ทรพั ยากรและที่ดินป่าไม้พน้ื ทลี่ มุ่ นำ้ หว้ ยน้ำแหง อำเภอนานอ้ ย จังหวัด 49 น่าน 49 3-10 พื้นที่ชน้ั คุณภาพล่มุ น้ำในพื้นท่ลี ุ่มนำ้ หว้ ยนำ้ แหง อำเภอนานอ้ ย จังหวดั น่าน 53 3-11 พื้นทเ่ี ขตปา่ ไม้ถาวรนอกเขตป่าในพื้นที่ลุ่มน้ำห้วยนำ้ แหง อำเภอนานอ้ ย จงั หวัดนา่ น 58 3-12 ประเภทการใชท้ ี่ดินในพื้นทล่ี ่มุ น้ำห้วยนำ้ แหง อำเภอนานอ้ ย จงั หวดั น่าน 3-13 ระดับความรุนแรงของการชะล้างพังทลายของดินในพื้นที่ลุ่มน้ำห้วยน้ำแหง อำเภอ 65 66 นานอ้ ย จงั หวัดน่าน 68 3-14 ประชากรและโครงสรา้ งประชากรในพนื้ ทลี่ ุ่มนำ้ หว้ ยน้ำแหง อำเภอนานอ้ ย จังหวัดน่าน 3-15 ปญั หาและความตอ้ งการของเกษตรกรเกี่ยวกบั การใชท้ ด่ี นิ 70 3-16 ความรู้ ความเข้าใจด้านการอนุรักษ์ดินและน้ำในพื้นที่ลุ่มน้ำห้วยน้ำแหง อำเภอนาน้อย 72 จงั หวัดนา่ น ปีการผลิต 2563 75 3-17 ความรแู้ ละความเขา้ ใจ และลำดับความต้องการของวธิ กี ารรักษาและป้องกันการชะลา้ ง พังทลายของหน้าดนิ พ้นื ทล่ี ุ่มนำ้ หว้ ยน้ำแหง อำเภอนาน้อย จงั หวัดน่าน ปกี ารผลติ 2563 3-18 ทศั นคตขิ องเกษตรกรดา้ นการใช้ท่ดี นิ 3-19 ทศั นคติของเกษตรกรท่เี ป็นปัญหาและอุปสรรคต่อการอนรุ กั ษด์ นิ และนำ้ แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟพู น้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษ์ดนิ และน้า ลุ่มน้าหว้ ยน้าแหง

3-20 ภาวะการผลิตพืช ปีการผลิต 2562/63 ในพื้นที่ทำการเกษตรที่มีความรุนแรงของการสญู เสียดิน 80 ในระดับรุนแรง 3-21 ต้นทุนและผลตอบแทนในการผลิตข้าวโพด ปีการผลิต 2562/63 ในพื้นที่ทำการเกษตรที่มีความ 81 รุนแรงของการสูญเสียดนิ ในระดับรุนแรง 3-22 ต้นทุนและผลตอบแทนในการผลติ ยางพารา ปีการผลิต 2562/63 ในพ้ืนท่ีทำการเกษตรที่มีความ 83 รนุ แรงของการสูญเสียดินในระดบั รุนแรง 3-23 ภาวะการผลิตพืช ปีการผลิต 2562/63 ในพื้นที่ทำการเกษตรที่มีความรุนแรงของการสญู เสียดนิ 84 ในระดับปานกลาง 3-24 ต้นทุนและผลตอบแทนในการผลิตข้าวโพด ปีการผลิต 2562/63 ในพื้นที่ทำการเกษตรที่มีความ 86 รุนแรงของการสญู เสียดินในระดับปานกลาง 3-25 ต้นทนุ และผลตอบแทนในการผลติ ยางพารา ปีการผลิต 2562/63 ในพ้ืนที่ทำการเกษตรที่มีความ 87 รนุ แรงของการสญู เสียดินในระดบั ปานกลาง 3-26 ภาวะการผลิตพืช ปีการผลิต 2562/63 ในพื้นที่ทำการเกษตรที่มีความรุนแรงของการสญู เสียดิน 88 ในระดับน้อย 3-27 ต้นทุนและผลตอบแทนในการผลิตข้าว ปีการผลิต 2562/63 ในพื้นที่ทำการเกษตรท่ีมีความ 90 รนุ แรงของการสูญเสียดนิ ในระดับนอ้ ย 3-28 ต้นทุนและผลตอบแทนในการผลิตข้าวโพด ปีการผลิต 2562/63 ในพื้นที่ทำการเกษตรที่มีความ 91 รนุ แรงของการสูญเสยี ดินในระดับนอ้ ย 4-1 แผนการใช้ที่ดินเพื่อการอนุรักษ์ดินและน้ำในพื้นที่ลุ่มน้ำห้วยน้ำแหง อำเภอ 100 นาน้อย จงั หวัดน่าน 4-2 สรุปแนวทางแผนการใช้ที่ดินเพื่อการอนุรักษ์ดินและน้ำในพื้นที่ลุ่มน้ำห้วยน้ำแหงอำเภอนาน้อย 102 จังหวัดนา่ น 5-1 แผนดำเนินงาน 106 5-2 กำหนดการประชุมรบั ฟังความคดิ เห็น 110 5-3 รปู แบบการจดั ประชุมและส่ือประกอบการประชมุ ประชาพิจารณ์ 111 6-1 บทบาทของหนว่ ยงานและภาคีเครือขา่ ยทุกระดับในการขบั เคลอื่ นแผนบรหิ ารจัดการทรพั ยากรดิน 119 และนำ้ เพอื่ ป้องกันการชะล้างพงั ทลายของดนิ และฟนื้ ฟพู นื้ ที่เกษตรกรรม 6-2 กรอบตวั ช้วี ัดในการติดตามและประเมินผล 122 6-3 การจัดทำฐานข้อมูลเพอื่ ประเมินการเปลยี่ นแปลงตามตัวช้ีวัดมิติกายภาพ เศรษฐกิจและสงั คม 124 แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟูพน้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษ์ดนิ และน้า ลุ่มน้าหว้ ยน้าแหง

1-1 กรอบแนวคดิ การดำเนินงาน 4 2-1 กรอบวธิ ีการดำเนินงาน 10 2-2 ประเดน็ การรบั ฟังความคิดเหน็ ของชมุ ชนแบบมสี ่วนร่วม 22 2-3 หลกั การสำคัญในการจัดทำแผนการบรหิ ารจัดการทด่ี ินและทรัพยากรดนิ ของประเทศ 25 3-1 ที่ต้งั และอาณาเขต และลกั ษณะภมู ิประเทศ พื้นท่ีลมุ่ นำ้ ห้วยน้ำแหง อำเภอนานอ้ ย จงั หวดั นา่ น 29 3-2 ความลาดชันพ้นื ท่ลี มุ่ น้ำหว้ ยนำ้ แหง อำเภอนานอ้ ย จังหวดั น่าน 30 3-3 สมดุลของนำ้ เพื่อการเกษตร (พ.ศ. 2531-2561) จงั หวดั นา่ น 33 3-4 ทรัพยากรดินพ้ืนท่ีลุ่มน้ำหว้ ยน้ำแหง อำเภอนาน้อย จงั หวดั น่าน 37 3-5 สภาพปญั หาทรพั ยากรดินพืน้ ท่ลี มุ่ น้ำห้วยน้ำแหง อำเภอนานอ้ ย จงั หวัดนา่ น 40 3-6 เสน้ ทางนำ้ และเสน้ ทางคมนาคมในพืน้ ท่ีลมุ่ น้ำห้วยน้ำแหง อำเภอนาน้อย จังหวัดนา่ น 42 3-7 พ้นื ทลี่ ่มุ น้ำห้วยน้ำแหง อำเภอนาน้อย จังหวดั นา่ น 43 3-8 ความสมั พนั ธ์ระหว่างปรมิ าณน้ำทา่ เฉลย่ี รายปแี ละพืน้ ท่รี บั น้ำฝนของลุ่มนำ้ นา่ น 44 3-9 สถานภาพป่าไม้ และแปลงที่ดนิ ทำกนิ ในพน้ื ท่ลี ุ่มนำ้ หว้ ยน้ำแหง อำเภอนานอ้ ย จงั หวดั น่าน 52 3-10 สภาพการใช้ทด่ี ิน ในพ้ืนที่ล่มุ น้ำหว้ ยน้ำแหง อำเภอนานอ้ ย จงั หวัดน่าน 56 3-11 การสูญเสยี ดินในพ้ืนท่ีลมุ่ น้ำหว้ ยน้ำแหง อำเภอนานอ้ ย จังหวดั น่าน 60 4-1 แผนการใชท้ ีด่ นิ เพ่อื การอนรุ ักษด์ นิ และน้ำในพืน้ ท่ีลุม่ นำ้ หว้ ยนำ้ แหง อำเภอนานอ้ ย จังหวดั น่าน 101 5-1 กรอบวิธีการดำเนินงานกระบวนการมีสว่ นร่วม 108 แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟพู น้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษด์ นิ และน้า ลุ่มน้าหว้ ยน้าแหง

1 1 แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟพู น้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษ์ดนิ และน้า ล่มุ น้าหว้ ยน้าแหง

12 ประเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรม เกษตรกรทำการเกษตรอาศัยน้ำฝน คิดเป็นร้อยละ 37 ของ พื้นที่ประเทศ โดยมีพื้นที่เกษตรน้ำฝน 119 ล้านไร่ ซึ่งเป็นแหล่งที่ปลูกพืชเศรษฐกิจที่สำคัญของประเทศ ได้แก่ ข้าว 49.24 ล้านไร่ อ้อย 11.47 ล้านไร่ มันสำปะหลัง 10.84 ล้านไร่ ข้าวโพด 6.40 ล้านไร่ ไม้ผล 11.10 ล้านไร่ สวนผัก 4.19 ล้านไร่ และ ยางพารา 25.78 ล้านไร่ (กรมพัฒนาที่ดิน, 2558) พื้นที่ดังกล่าว มักประสบปัญหาขาดแคลนน้ำในฤดูแล้ง ทำให้การใช้ประโยชนท์ รัพยากรดนิ ไดไ้ ม่เต็มศักยภาพ จำเป็นตอ้ ง ได้รับการพัฒนาแหล่งนำ้ ให้พอเพียงกับความต้องการของเกษตรกร ประกอบกับในพื้นที่ดังกล่าวอยู่ในพื้น ที่ดินปัญหาทางการเกษตรกรรม โดยสามารถจำแนกตามสาเหตุของการเกิดได้ 2 ประเภท คือ 1) ดิน ปัญหาท่เี กดิ ตามสภาพธรรมชาติ มเี น้อื ทรี่ วม 60 ล้านไร่ ได้แก่ ดินอนิ ทรยี ์ 0.34 ลา้ นไร่ ดนิ เปรี้ยวจดั 5.42 ล้านไร่ ดินทรายจัด 11.86 ล้านไร่ ดินตื้น 38.19 ล้านไร่ ดินเค็ม 4.20 ล้านไร่ (บางพื้นที่พบคราบเกลือ และมีผลกระทบจากคราบเกลือมีเนื้อที่ 11.50 ล้านไร่) และ 2) ดินปัญหาที่เกิดจากการใช้ประโยชน์ที่ดิน เช่น ดินดาน ดินปนเปื้อน ดินเหมืองแร่ร้าง เป็นต้น นอกจากนี้ ยังมีดินที่มีปัญหาเล็กน้อยที่เป็นข้อจำกัด ทางการเกษตร เช่น ดินกรด ดินที่มีความอุดมสมบูรณ์ต่ำ เป็นต้น (กรมพัฒนาที่ดิน, 2561) ปัญหา ทรัพยากรดินดังกล่าวกระจายตัวอยู่ทั่วประเทศและเป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้พื้นที่เกษตรน้ำฝนไม่สามารถ ก่อสร้างแหล่งน้ำขนาดใหญ่ได้ เนื่องจากต้องใช้งบประมาณจำนวนมากในการวางระบบเพื่อป้องกันไม่ให้ ปญั หาดินเกดิ เพมิ่ มากขึน้ จนก่อความเสียหายในวงกว้าง ไมค่ ุ้มค่ากับการลงทุน ปัญหาสำคัญอีกประการหนึง่ ทีส่ ่งผลกระทบต่อภาคเกษตรกรรมในปัจจุบันเกิดจากการใชท้ ี่ดินและ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ซึ่งเป็นการเร่งให้เกิดกระบวนการชะล้างพังทลายของดินในพื้นที่ เกษตรกรรมเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง ซึ่งการชะล้างพังทลายของดินเกิดจากกระบวนการที่สำคัญ คือ กระบวนการแตกกระจาย เมื่อเม็ดฝนตกลงมากระทบกับก้อนดิน ทำให้ก้อนดินแตกเป็นเม็ดดินเล็ก ๆ ภายหลังที่เม็ดฝนกระทบก้อนดินแล้วน้ำบางส่วนก็จะไหลซึมลงไปในดิน เมื่อดินอิ่มตัวจนน้ำไม่สามารถจะ ไหลซึมไปได้อีกแลว้ ก็จะเกิดน้ำไหลบ่าพัดพาเอาก้อนดินเล็ก ๆ ที่แตกกระจายอยู่บนผิวดินไปด้วยและพดั พาไป และการตกตะกอนทบั ถม เมด็ ดนิ ทีถ่ ูกพัดพาไปกบั นำ้ จะไหลลงสู่พืน้ ทต่ี ่ำ ทำให้เกิดการสะสมตะกอน ของดินในที่ลุ่มต่ำ การชะล้างพังทลายของดิน เกิดจากสาเหตุใหญ่ 2 ประการ คือ 1) การชะล้างพังทลาย โดยธรรมชาติ เป็นการชะลา้ งพังทลายซ่ึงเกิดขึ้นตามธรรมชาติ โดยมที ้ังนำ้ และลมเป็นตวั การ เช่น การชะ ละลาย การพัดพาโดยลมตามชายฝั่งทะเลหรือในทะเลทราย การพัดพาดินแบบนี้เป็นแบบที่ป้องกันไม่ได้ แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟพู น้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษด์ นิ และน้า ลมุ่ น้าหว้ ยน้าแหง

3 และถ้าเกิดมักใช้เวลานาน เป็นการเกิดแบบค่อยเป็นค่อยไปและช้ามาก และ 2) การชะล้างพังทลายโดยมี ตัวเร่งทีม่ มี นุษยห์ รือสตั ว์เลี้ยงเข้ามาชว่ ยเร่งให้มีการกัดกร่อนเพิ่มขึ้นจากการชะล้างพังทลายโดยธรรมชาติ เช่น การหักล้างถางป่าทำการเพาะปลูกอย่างขาดหลักวิชาการ ทำให้พื้นดินปราศจากสิ่งปกคลุม เกิดการ กัดกร่อนโดยลมและฝนและพัดพาดินสูญเสียไปได้เพิ่มขึ้น การสูญเสียดินจะมากน้อยเพียงใดขึ้นอยู่กับ วิธกี ารที่ใช้ทำการเกษตร (กรมพฒั นาทด่ี นิ , 2558) กรมพัฒนาที่ดิน มีภารกิจสำคัญเกี่ยวกับการแก้ไขปัญหาทรัพยากรที่ดิน โดยการพัฒนาที่ดินและ อนุรักษ์ดินและน้ำ ซึ่งมาตรการดา้ นการอนุรักษ์ดินและน้ำจะช่วยปรบั โครงสรา้ งพื้นฐานของดินในพื้นท่ใี ห้ เหมาะสมกับการปลกู พืช พร้อมกับช่วยรกั ษาระบบนิเวศทางดินให้เกิดการใช้ที่ดินได้อย่างยัง่ ยืน โดยก่อน เริ่มดำเนินการต้องมีการการศึกษาและวิเคราะหส์ ภาพของที่ดนิ ในพื้นที่ก่อนเสมอ หากพื้นท่ีดำเนินการอยู่ ในพนื้ ทด่ี ินปญั หา เช่น ดนิ เค็ม ดินตน้ื หรือดินทราย จำเปน็ จะตอ้ งมีการออกแบบระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ด้วยวธิ กี ลและวธิ พี ืชเฉพาะพ้นื ที่ เพือ่ ควบคุมหรือป้องกันไม่ให้ดินปัญหาเกดิ การแพรก่ ระจายส่งผลกระทบ ก่อปญั หาเพิม่ ข้นึ ในพน้ื ท่ีอื่นต่อไป ดงั นั้น กรมพฒั นาท่ดี ิน จงึ เปน็ หน่วยงานทม่ี ีบทบาทสำคญั ในการบริหาร จัดการทรัพยากรดินเชงิ บูรณาการระดับลุ่มน้ำ โดยนำหลักวิชาการและเทคนิคด้านการอนรุ ักษด์ ินและน้ำ มาใช้เป็นมาตรการเพื่อป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรม ให้พื้นที่สามารถใช้ ประโยชน์ได้อย่างคุ้มค่า โดยพิจารณาจากสภาพปัญหาพื้นที่และความต้องการของชุมชนเป็นหลัก นอกจากนี้ ยังศึกษานโยบายด้านการเกษตรของรัฐบาล และท้องถิ่นในระดับต่าง ๆ เพื่อนำมาวิเคราะห์ กำหนดมาตรการในแผนการใช้ที่ดินพร้อมข้อเสนอแนะด้านการจัดการพื้นที่ให้เกิดการใช้ทีด่ ินอย่างยั่งยนื สามารถใช้เป็นแนวทางในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติที่เหมาะสมและขยายผลสู่การปฏิบัติใน พ้นื ทอ่ี นื่ ไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ 1) เพื่อศึกษาและประเมินสถานภาพทรัพยากรดินเชิงระบบสำหรบั การปอ้ งกันการชะล้างพังทลาย ของดินและฟื้นฟพู ้นื ที่เกษตรกรรม 2) เพื่อจัดทำแผนการบริหารจัดการทรัพยากรดินระดับลุ่มน้ำที่มีการกำหนดมาตรการด้านการ ปอ้ งกันการชะลา้ งพงั ทลายของดินและฟน้ื ฟูพืน้ ท่ีเกษตรกรรม ดว้ ยระบบอนรุ ักษด์ ินและนำ้ การจัดทำแผนการบรหิ ารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วย ระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ มีความสอดคล้องและเชื่อมโยงยุทธศาสตร์ความสอดคล้องของ ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580): ยุทธศาสตร์ที่ 5 ด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อม ความสอดคล้องของ แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ: แผนแม่บทการบริหารจัดการน้ำท้ัง ระบบ และความสอดคล้องของยุทธศาสตร์การบริหารจัดการน้ำของประเทศ (พ.ศ. 2558 - 2569): แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟพู น้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษ์ดนิ และน้า ลุ่มน้าหว้ ยน้าแหง

4 ยุทธศาสตร์ที่ 5 การอนุรักษ์ฟื้นฟูสภาพป่าต้นน้ำที่เสื่อมโทรมและป้องกันการพังทลายของดิน กลยุทธ์: การอนรุ ักษฟ์ ้นื ฟูพ้ืนทเี่ กษตรกรรมในพน้ื ทดี่ ินเสื่อมโทรมและชะล้างพงั ทลายของดิน โดยมีเป้าหมายสำคัญ สูงสุด คือ พื้นที่เกษตรกรรมได้รับการอนุรกั ษ์และฟื้นฟูให้สามารถใช้ที่ดินได้อย่างถูกต้องและเหมาะสมตาม ศักยภาพของพื้นที่ ไมน่ อ้ ยกว่า 20 ล้านไร่ ภายใน 20 ปี กำหนดกรอบแนวคิดจากหลักการเข้าใจ เข้าถงึ และพัฒนา โดยการนำฐานขอ้ มูลด้านทรัพยากรดิน ประกอบด้วย ดินปัญหาและการชะล้างพังทลายของดิน เป็นตัวกำหนดพื้นที่เป้าหมายจากสภาพปัญหา สำหรับนำไปใช้ในการบริหารจัดการ ยึดประชาชนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนาและเน้นกระบวนการมี ส่วนร่วมของชุมชน บูรณาการข้อมูลเชิงสหวิชาการ นำข้อมูลมาใช้ในการพัฒนาและวางแผนการใช้ที่ดิน กำหนดมาตรการด้านการอนุรักษ์ดินและน้ำให้สอคล้องกับสภาพปัญหาของพื้นที่และความต้องการของ ชมุ ชน เพื่อให้ได้เขตอนรุ กั ษด์ นิ และนำ้ ท่ีมีการบริหารจัดการเชงิ ระบบ พื้นท่กี ารเกษตรสามารถใช้ประโยชน์ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเกษตรกรสามารถใช้ที่ดินได้อยา่ งถกู ต้องเหมาะสมตามศักยภาพของดิน (ภาพ ที่ 1-1) ภาพท่ี 1-1 กรอบแนวคิดการดำเนินงาน จัดทำแผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรม ด้วยระบบ อนรุ กั ษ์ดนิ และน้ำ พน้ื ท่ีลมุ่ นำ้ ห้วยนำ้ แหง อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน ครอบคลุมพ้ืนที่ 91,696 ไร่ 1) การรวบรวมข้อมูล เป็นข้อมูลทุติยภูมิที่ได้จากการรวบรวมเอกสารและงานวิชาการที่เกี่ยวข้อง เพื่อนำไปใช้ศึกษา วิเคราะห์ เชื่อมโยงสู่การจัดทำแผนบริหารจัดการเพื่อป้องกันการชะล้างพังทลายของ แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟพู น้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษด์ นิ และน้า ลุ่มน้าหว้ ยน้าแหง

5 ดนิ ดว้ ยระบบอนรุ กั ษ์ดนิ และนำ้ ได้แก่ ฐานข้อมูลดา้ นทรัพยากรดิน ทรัพยากรนำ้ สภาพภมู ปิ ระเทศ สภาพ การใช้ท่ดี นิ เศรษฐกจิ และสงั คม แผนการใชท้ ่ดี ิน และขอ้ มลู การอนุรกั ษ์ดนิ และนำ้ ท่เี กี่ยวข้อง 2) การสำรวจภาคสนาม ข้อมูลปฐมภูมิ ไดแ้ ก่ การชะล้างพังทลายของดิน ทรัพยากรดนิ สภาพการ ใช้ที่ดิน การเปลี่ยนแปลงของการใช้ที่ดิน ทรัพยากรน้ำ สภาพภูมิประเทศและสิ่งแวดล้อม และสภาวะ เศรษฐกิจสงั คม 3) การวิเคราะห์และประเมินผลข้อมูล การประเมินสถานภาพทรัพยากรดิน ทรัพยากรน้ำ การ ประเมนิ การเปลี่ยนแปลงการใชท้ ดี่ ิน และการสำรวจขอ้ มลู ด้านเศรษฐกจิ และสงั คม 4) การประเมนิ พื้นทกี่ ารชะลา้ งพงั ทลายของดิน 5) การจดั ทำแผนการใชท้ ีด่ นิ เพ่อื ปอ้ งกนั การชะล้างพงั ทลายของดนิ 6) การรบั ฟงั ความคิดเหน็ ของชมุ ชนผ่านกระบวนการมีส่วนรว่ ม การประชาพจิ ารณ์เพ่ือการรบั ฟัง ความคดิ เหน็ ของชุมชนต่อการดำเนนิ งานโครงการ 7) การวิเคราะหล์ ำดับความสำคัญเพ่ือกำหนดพ้ืนทีเ่ ปา้ หมายในการดำเนนิ งาน 8) การจัดทำแผนบริหารจัดการเพื่อป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรม ด้วยระบบอนุรักษ์ดนิ และน้ำ 9) การประชาพิจารณ์เพื่อการรับฟังความคิดเห็นต่อ (ร่าง) แผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้าง พงั ทลายของดนิ และฟื้นฟพู ืน้ ที่เกษตรกรรม ดว้ ยระบบอนุรกั ษ์ดินและน้ำ 10) นำเสนอ (ร่าง) แผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่ เกษตรกรรม ด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ต่อคณะกรรมการขับเคลื่อนโครงการป้องกันการชะล้าง พังทลายของดินและฟืน้ ฟพู นื้ ท่ีเกษตรกรรม ด้วยระบบอนุรกั ษ์ดินและน้ำ 11) ปรบั ปรุง (รา่ ง) แผนบรหิ ารจัดการฯ และนำขอ้ มูลใช้เปน็ ต้นแบบการบรหิ ารจดั การป้องกันการ ชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรม ด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ขยายผลและขับเคลื่อน การดำเนนิ งานโครงการระยะตอ่ ไป พนื้ ท่ลี มุ่ น้ำห้วยน้ำแหง อำเภอนานอ้ ย จงั หวัดน่าน ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟพู น้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษด์ นิ และน้า ล่มุ น้าหว้ ยน้าแหง

6 1) ฐานข้อมูลด้านการชะล้างพังทลายของดินในพื้นที่เกษตรกรรม และสถานภาพด้าน ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดลอ้ ม และเศรษฐกิจและสังคม สำหรับเป็นข้อมูลพืน้ ฐานประกอบการพิจารณา กำหนดแผนการใช้ที่ดิน 2) แผนบริหารจัดการทรัพยากรดินระดับลุ่มน้ำที่มีการกำหนดมาตรการด้านการป้องกันและฟื้นฟู ทรพั ยากรดนิ ตามสภาพปัญหาของพ้นื ท่ีและความต้องการของชมุ ชน 1) กรมพัฒนาที่ดินมีต้นแบบแผนการบริหารจัดการโครงการจดั การชะล้างพังทลายของดินและพนื้ ฟูพืน้ ทเี่ กษตรกรรมดว้ ยระบบอนรุ กั ษด์ นิ และน้ำ ปี 2563 สำหรับนำไปขยายผลในพน้ื ท่อี ืน่ 2) มาตรการด้านการอนุรักษ์ดินและน้ำที่กำหนดมีความสอดคล้องกับสภาพปัญหาของพื้นที่และ สามารถตดิ ตามการเปล่ียนแปลงสถานภาพทรัพยากรดนิ ไดต้ ามตวั ชี้วดั ท่ีกำหนด 1) กรมพัฒนาที่ดินสามารถขับเคลื่อนการดำเนินงานด้านการอนุรักษ์ดินและน้ำให้บรรลุเป้าหมาย ตามยุทธศาสตรช์ าติ แผนปฏริ ูปประเทศ และแผนบริหารจัดการนำ้ ของประเทศ 2) พื้นที่เกษตรกรรมมีแผนการจัดการการชะล้างพังทลายของดินและฟ้ืนฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วย ระบบอนรุ กั ษด์ นิ และนำ้ ทำให้เกษตรกรสามารถใชท้ ่ดี ินได้อย่างเหมาะสมตรงตามศกั ยภาพของพน้ื ที่ 1) เชงิ ปรมิ าณ - ร้อยละความสำเร็จในการจัดทำฐานข้อมูลด้านการชะล้างพังทลายของดินสำหรับเป็นข้อมูล พ้นื ฐานประกอบการจัดทำแผนการบรหิ ารจัดการทรัพยากรดนิ ระดับลุ่มน้ำ (รอ้ ยละ 100) - จำนวนพื้นที่ที่มีการกำหนดแนวทางด้านการป้องกันและฟื้นฟูทรัพยากรดินตามสภาพปัญหา ของพื้นที่ (ไม่น้อยกว่า 100,000 ไร่/ลุ่มน้ำ) และจำนวนพื้นที่เป้าหมายตามแผนปฏิบัติการ (ไม่น้อยกว่า 10,000 ไร่/ป)ี 2) เชงิ คุณภาพ - ฐานข้อมูลด้านการชะลา้ งพังทลายของดนิ มีความถูกต้อง ครบถ้วน สอดคล้องกับสภาพปัญหา ของพน้ื ท่ี แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟพู น้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษ์ดนิ และน้า ลมุ่ น้าหว้ ยน้าแหง

7 - มาตรการด้านการป้องกันและฟื้นฟูทรัพยากรดิน มีความเหมาะสม สอดคล้องกับสภาพพื้นที่ และสามารถนำไปกำหนดแผนงานโครงการได้อย่างมีประสิทธภิ าพ 1) กรมพัฒนาที่ดินมีต้นแบบแผนการบริหารจัดการการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและ พื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ สำหรับขับเคลื่อนการดำเนินงานด้านการอนุรักษ์ดิน และน้ำให้บรรลุเปา้ หมายตามยทุ ธศาสตรช์ าติ แผนปฏริ ปู ประเทศ และแผนบรหิ ารจัดการน้ำของประเทศ 2) หน่วยงานที่ดำเนินงานด้านการอนุรักษ์ดินและน้ำ มีค่าดัชนีชี้วัดที่สำหรับนำไปใช้ในการ พัฒนางานวิจัยให้สอดคล้องกับสภาพปัญหาของพื้นที่และสามารถติดตามการเปลี่ยนแปลงสถานภาพ ทรัพยากรดิน 3) กรมพัฒนาที่ดินมีแนวทางการดำเนินงานจัดทำแผนบริหารจัดการที่เป็นไปตามมาตรฐาน หลักวิชาการดา้ นอนุรักษด์ นิ และน้ำ 4) เกษตรกรที่อยู่ในพื้นท่ีเสี่ยงต่อการชะล้างพังทลายของดินและพื้นที่ดินปัญหา มีแผนบริหาร การจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟ้ืนฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนรุ ักษ์ดินและน้ำ ทำ ให้สามารถใช้ประโยชนท์ ด่ี นิ ไดอ้ ย่างเหมาะสมตรงตามศักยภาพของพ้นื ที่ คณะทำงานจัดทำแผนการบริหารจัดการโครงการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟู พื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนรุ กั ษด์ ินและน้ำ พนื้ ท่ลี ุ่มน้ำห้วยนำ้ แหง อำเภอนานอ้ ย จังหวดั น่าน คณะกรรมการขับเคลื่อนโครงการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟ้ืนฟูพื้นทเ่ี กษตรกรรม ดว้ ยระบบอนุรกั ษด์ นิ และน้ำ 1) ส่งรายงานเบื้องต้น (Preliminary Report) ประกอบการประชุมประชาพิจารณ์ครั้งที่ 1 (วันท่ี30 มถิ ุนายน 2563) 2) ส่งรายงานฉบับกลาง (Interiminary Report) แผนการใช้ที่ดินเพื่อป้องกันการชะล้าง พังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นท่ีเกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ประกอบการประชุมประชา พิจารณ์ครง้ั ท่ี 2 (วันที่ 3 สิงหาคม 2563) แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟูพน้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษด์ นิ และน้า ลุ่มน้าหว้ ยน้าแหง

8 3) ส่งร่างรายงานฉบับสมบูรณ์ (Draft Final Report) แผนบริหารจัดการทรัพยากรดินเพื่อ ป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ เสนอคณะ กรรมการฯ 4) ส่งรายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) แผนบริหารจัดการทรัพยากรดินเพื่อป้องกันการ ชะลา้ งพังทลายของดินและฟ้นื ฟูพนื้ ทีเ่ กษตรกรรมดว้ ยระบบอนรุ ักษ์ดินและน้ำ (วันที่ 25 กนั ยายน 2563) แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟูพน้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษ์ดนิ และน้า ลุ่มน้าหว้ ยน้าแหง

9 2 แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟพู น้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษ์ดนิ และน้า ล่มุ น้าหว้ ยน้าแหง

2 10 การจัดทำแผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วย ระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ พื้นที่ลุ่มน้ำห้วยน้ำแหง อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน เป็นการศึกษาและประเมิน สถานภาพทรัพยากรดินเชิงระบบสำหรับแก้ปัญหาด้านการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูดินใ นพื้นท่ี เกษตรกรรมมีการกำหนดมาตรการด้านการป้องกันและฟื้นฟูทรัพยากรดินตามสภาพปัญหาของแต่ละ พื้นที่ ผ่านกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชน เพื่อให้ได้ต้นแบบแผนการบริหารจัดการป้องกันการชะล้าง พงั ทลายของดนิ และพ้ืนฟูพ้ืนที่เกษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษด์ ินและน้ำ ปี 2563 สำหรับนำไปขยายผลใน พ้ืนทอ่ี น่ื ตามกรอบวธิ ีการดำเนนิ งาน และขั้นตอนการดำเนนิ งาน (ภาพท่ี 2-1) ดังน้ี ภาพท่ี 2-1 กรอบวธิ กี ารดำเนินงาน แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟพู น้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษด์ นิ และน้า ลุ่มน้าหว้ ยน้าแหง

11 การรวบรวมข้อมูลเพื่อนำไปใช้ในการศึกษาและวิเคราะห์เชื่อมโยงสู่การจัดทำ แผนบริหาร จัดการเพื่อป้องกันการชะล้างพังทลายของดิน ด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ประกอบด้วยข้อมูล แผนท่ี เอกสารรายงาน และผลงานวิชาการหรอื วิจยั ท่เี กยี่ วขอ้ ง ได้แก่ ทรัพยากรดนิ (มาตราส่วน 1 : 25,000) ปี พ.ศ. 2561 และข้อมูลลักษณะสมบัติดินบางประการ (กองสำรวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน กรมพัฒนาที่ดิน) ทรพั ยากรน้ำ สภาพภูมปิ ระเทศ สภาพภมู ิอากาศ ปี พ.ศ. 2531 – 2561 (กรมอุตนุ ยิ มวิทยา) สภาพการ ใช้ที่ดิน มาตราส่วน 1 : 25,000 ปี พ.ศ. 2563 ข้อมูลเศรษฐกิจและสังคม และแผนการใช้ที่ดิน (กอง นโยบายและแผนการใช้ที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน และกรมการพัฒนาชุมชน) ข้อมูลพื้นที่เขตป่าไม้ถาวร ปี พ.ศ. 2561 (สำนักเทคโนโลยีการสำรวจและทำแผนที่ กรมพฒั นาทด่ี ิน) และขอ้ มลู ด้านการชะลา้ งพงั ทลาย ของดนิ ระบบการอนรุ ักษด์ ินและน้ำ ตลอดจนรวบรวมข้อมูลอืน่ ๆ ทัง้ ในรูปแบบดิจติ อลและสิ่งพิมพ์ จาก หนว่ ยงานท่ีเกยี่ วข้อง การสำรวจศึกษาข้อมูลภาคสนามเพื่อให้ได้ข้อมูลที่เป็นปัจจุบัน ตลอดจนข้อมูลท่ี นอกเหนือจากที่มีอยู่ (ข้อ 2.1.1) และครอบคลุมประเด็นปัญหาของสภาพพื้นที่อย่างแท้จริง ทั้งนี้เพื่อ วิเคราะห์ในการจัดทำแผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดิน ด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ และวิเคราะห์การจัดลำดับความสำคัญของพื้นที่ดำเนินการ ได้แก่ ทรัพยากรดิน ทรัพยากรน้ำ สภาพการ ใชท้ ่ีดนิ การชะลา้ งพังทลายของดิน และขอ้ มลู เศรษฐกิจและสังคม การศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลทุติยภูมิที่มีอยู่ และดำเนินการสำรวจศึกษา และตรวจสอบ ดินในภาคสนามเพิ่มเติมในการจัดทำฐานข้อมูลทรัพยากรดินในพื้นที่ลุ่มน้ำห้วยน้ำแหง เพื่อสนับสนุนการ ประเมินการชะล้างพังทลายของดิน จัดทำแผนการใช้ที่ดิน และการกำหนดมาตรการอนุรักษ์ดินและน้ำ และจัดทำแผนบริหารจัดการเพื่อป้องกันการชะล้างพังทลายของดินในพื้นที่ลุ่มน้ำห้วยน้ำแหงมีขั้นตอน หลักในการศึกษาวเิ คราะห์ข้อมูลทุติยภมู ิ สำรวจศึกษาดินในภาคสนาม และวิเคราะห์สภาพปญั หาดินทาง การเกษตร ดังนี้ 1) ข้อมูลทรัพยากรดิน การประเมินข้อมูลทรัพยากรดิน โดยการวิเคราะห์ข้อมูลจากแผน ที่ดิน มาตราส่วน 1 : 25,000 ที่มีอยู่ เพื่อเป็นกรอบการพิจารณาการสำรวจศึกษา เก็บข้อมูล และ ตรวจสอบดนิ ในภาคสนามเพิ่มเติม โดยใชข้ อ้ มลู ประกอบได้แก่ แผนท่ีภาพถา่ ยออร์โธสเี ชิงเลข และแผนท่ี ภูมิประเทศเปน็ แผนท่ีพน้ื ฐานในการสำรวจ โดยมีขนั้ ตอนการดำเนนิ งาน ดังน้ี แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟพู น้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษ์ดนิ และน้า ลุม่ น้าหว้ ยน้าแหง

12 (1) การปฏิบตั งิ านกอ่ นออกสนาม - การแปลข้อมูลในแผนที่ภาพถ่ายออร์โธสีเชิงเลข เพื่อกำหนดขอบเขตพื้นที่โครงการ ถนน เส้นทางนำ้ การใช้ทด่ี นิ ลักษณะภูมิประเทศ ความลาดชนั และการชะล้างพังทลายของดิน - การศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ข้อมูลดิน ข้อมูลทางธรณีวิทยา ข้อมูลสภาพภูมิ ประเทศ รว่ มกบั การแปลข้อมูลในแผนที่ภาพถ่ายออรโ์ ธสเี ชิงเลข เพอ่ื ใหท้ ราบถงึ สภาพพ้ืนที่และวิเคราะห์ พน้ื ท่ี เพอ่ื อนุมานลักษณะและสมบัตขิ องดนิ เบื้องต้นในพืน้ ที่ศกึ ษา - การเขียนขอบเขตดินเบื้องต้น โดยพิจารณาข้อมูลพื้นที่ที่มีความเสี่ยงต่อการชะล้าง พังทลายของดินและข้อมูลอื่น ๆ ทเี่ กีย่ วข้องประกอบการกำหนดจุดเจาะสำรวจดินบนแผนท่ีภาพถ่ายออร์ โธสเี ชิงเลข (2) การปฏบิ ตั งิ านในภาคสนาม - การเจาะสำรวจดินตามจุดที่กำหนดไว้ในแผนที่ภาพถ่ายออร์โธสีเชิงเลข หรือใน บริเวณพื้นที่ที่มีความแตกต่างกันอย่างเห็นได้ชัดเจน โดยใช้สว่านเจาะดินลึก 200 เซนติเมตร หรือถึงชั้น เชื่อมแข็งหรือแนวสัมผัสชั้นหินพื้น วางเรียงกันตามความลึก เพื่อตรวจศึกษาสมบัติทางเคมีและทาง กายภาพของดินทุกจุดด้วยเครื่องมือตรวจวัดภาคสนาม - การบันทึกสภาพแวดล้อมบริเวณพื้นที่ศึกษา ได้แก่ วัตถุต้นกำเนิดดิน ภูมิสัณฐาน ความลาดชัน การชะล้างพังทลายของดิน การระบายน้ำของดิน ความสามารถให้น้ำซึมผ่านของดิน ระดับน้ำใต้ ดนิ สภาพนำ้ ทว่ มขัง พชื พรรณและการใชท้ ดี่ ิน - การศึกษาลักษณะสมบัติดินเพื่อใช้ในการจำแนกดิน เช่น ความหนาของชั้นดิน เน้ือ ดิน สดี นิ โครงสรา้ งของดนิ การจัดเรยี งตัวของชัน้ ดนิ การยึดตวั ของอนภุ าคดิน การเคลอ่ื นยา้ ยของอนุภาค ดินเหนยี ว ปริมาณการกระจายของรากพชื ค่าปฏิกิริยาดนิ ชนดิ ของชิ้นส่วนหยาบในดิน หรือวัตถุต่างๆ ท่ี พบในชั้นดิน เชน่ ก้อนกรวด ลูกรังและเศษหิน เปน็ ต้น - การจำแนกดินตามระบบอนุกรมวิธานดิน (Soil Survey Staff, 2014) ในระดับ ประเภทของชุดดินและดินคล้าย (phases of soil series or soil variants) เขียนหน่วยแผนที่ดินลงใน ภาพถ่ายออร์โธสี พร้อมทั้งปรับแก้ไขขอบเขตของดินในภาพถ่ายออร์โธสีเชิงเลขให้สอดคล้องกับสภาพ พื้นทีจ่ ริงในสนาม - การบันทึกลักษณะดิน สภาพพื้นที่ และเก็บตัวอย่างดินบริเวณที่เป็นตัวแทนของ หนว่ ยแผนทดี่ นิ สำหรบั นำไปวเิ คราะห์หาสมบัติกายภาพและทางเคมี เพือ่ ประเมนิ ความอดุ มสมบรู ณ์ของดิน (3) การจดั ทำแผนทดี่ นิ การจัดทำแผนที่ดิน และสรุปหน่วยแผนที่ทั้งหมดในพื้นที่ลุ่มน้ำห้วยน้ำแหง ในมาตราส่วน 1 : 25,000 2) ข้อมูลทรัพยากรดินปัญหา การจัดทำข้อมูลและแผนที่ดินปัญหาหรือสภาพปัญหาดิน ทางการเกษตร มาตราสว่ น 1 : 25,000 ในพ้ืนทีล่ มุ่ น้ำหว้ ยนำ้ แหงตามขนั้ ตอน ดงั น้ี แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟพู น้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษด์ นิ และน้า ล่มุ น้าหว้ ยน้าแหง

13 (1) การศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลดินเพื่อการจำแนกตามลักษณะและสมบัติดินประจำ ชุดดนิ จำแนกประเภทและความรนุ แรงของดินปญั หาตอ่ การผลิตพชื ตามปัญหาท่ีเกิดจากสภาพธรรมชาติ และจากการใชท้ ดี่ นิ รวมถึงดนิ ทม่ี ปี ัญหาเล็กนอ้ ยทเ่ี ปน็ ขอ้ จำกดั ทางการเกษตร (2) การจัดทำแผนที่ดินปัญหาและประเมินความรุนแรงของดินปัญหาในพื้นที่ ดำเนนิ การเพ่ือนำไปใช้ในแก้ไข ฟ้นื ฟู และปอ้ งกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดิน รวมถึงกำหนดมาตรการด้าน การอนรุ กั ษ์ดนิ และน้ำเพือ่ การใช้ทด่ี นิ ทางการเกษตรไดอ้ ย่างยง่ั ยนื การประเมินสถานภาพทรัพยากรน้ำ สำหรับนำไปใช้ในการประเมินการชะล้างพังทลาย ของดนิ จดั ทำแผนการใช้ท่ดี ิน กำหนดมาตรการป้องกันการชะล้างพังทลายของดนิ และอนุรักษ์ดินและน้ำ การประเมินปริมาณน้ำผิวดินที่ไหลจากพื้นผิวดินสู่ร่องน้ำ ลำห้วย คลองและแม่น้ำ โดยอาศัยการคำนวณ จากปรมิ าณนำ้ ฝนทตี่ กลงมาบนพ้นื ทห่ี นง่ึ ๆ แล้วถกู ดดู ซบั ลงไปเก็บกกั ไว้ในดิน และระเหยไปในอากาศ น้ำ ที่เหลือจากกระบวนการต่าง ๆ เหล่านี้ จะไหลลงสู่ร่องน้ำ ลำห้วย คลองและแม่น้ำต่อไป อัตราการไหล และปริมาณน้ำขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายอย่าง เช่น ความรุนแรง ปริมาณน้ำ ทิศทางลม ลักษณะความลาดเท ของพืน้ ท่ี ประสิทธภิ าพการเก็บกักน้ำบนผิวดิน การใชท้ ่ดี ิน สมบัติของดิน และขนาดของพื้นที่รับน้ำ ทั้งน้ี เพือ่ ให้ไดฐ้ านขอ้ มลู ทส่ี อดคลอ้ งกับหลักการสำคัญของการอนุรักษ์ดนิ และนำ้ ทเ่ี ป็นการรักษาความชุ่มชื้นใน ดิน การเก็บกักน้ำไหลบ่าบนผิวดินไว้ใช้ในพื้นที่ที่เพื่อประโยชน์สูงสุดตามศักยภาพของพื้นที่บริเวณนั้น ๆ ในขณะเดียวกันจะต้องระบายน้ำส่วนเกินทิ้งไปในพื้นที่ที่ควบคุมได้ เพื่อไม่ให้เกิดความเสียหายกับพื้นที่ โดยเฉพาะการกัดเซาะพงั ทลายของดนิ จงึ กำหนดการประเมนิ ศักยภาพภาพปริมาณนำ้ ท่า ดังน้ี 1) การคำนวณปริมาณน้ำท่า คำนวณด้วยวิธี Reginal Runoff equation (Lanning-Rush, 2000) โดยอาศัยความสัมพนั ธแ์ บบรเี กรซช่ัน (regression) ระหวา่ งปริมาณน้ำนองสูงสดุ เฉลีย่ และพื้นที่รับ น้ำฝนจากข้อมูลสถานีวัดน้ำในลุ่มน้ำต่าง ๆ ในลุ่มน้ำขนาดใหญ่ เพื่อหาปริมาณน้ำท่าเฉลี่ยที่จุดต่าง ๆ ใน ลุ่มน้ำ ดังสมการ ������������ = ������������������ (1) เม่ือ ������������ คือ ปริมาณน้ำนองสงู สุดรายปเี ฉลย่ี (ลูกบาศก์เมตร/วนิ าที) ������ คือ พน้ื ที่รบั นำ้ ฝน (ตารางกิโลเมตร) ������, ������ คอื ค่าคงท่ีคำนวณจากกราฟ 2) การคำนวณปริมาณน้ำท่าโมเดล ในพื้นที่ที่มีจำนวนและความซับซ้อนของข้อมูลมาก สามารถใช้ซอฟแวร์แบบจำลอง SWAT (SWAT model software) ในการจำลองสถานการณ์ได้ SWAT model เป็นการจำลองกระบวนการทางอทุ กวิทยา โดยใช้สมการสมดุลน้ำ ดงั สมการ SWt = SW +∑������������=1(������������ − ������������ − ������������������ − ������������ − ������������������) (2) แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟพู น้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษด์ นิ และน้า ลุ่มน้าหว้ ยน้าแหง

14 เม่อื SWt คือ ปริมาณนำ้ ในดนิ ท่ีเปน็ ประโยชน์ (Available water capacity , มิลลิเมตร) t คือ ชว่ งระยะเวลา i คอื เวลา (วัน) R คอื ปรมิ าณนำ้ ฝน (มลิ ลเิ มตร) Q คอื ปริมาณนำ้ ไหลบ่า (มลิ ลิเมตร) ET คือ ปรมิ าณการคายระเหย (มิลลเิ มตร) P คอื ปริมาณนำ้ ท่ซี ึมลงไปในดิน (มลิ ลเิ มตร) QR คอื ปรมิ าณนำ้ ที่ไหลลงแม่นำ้ (มิลลิเมตร) SWAT model ใชส้ ำหรบั การประเมินปริมาณน้ำท่า ปริมาณน้ำใตด้ นิ ปรมิ าณตะกอนและ ปริมาณสารเคมีที่ใช้ในการเกษตรภายในพืน้ ทีล่ ุ่มน้ำขนาดเล็ก ขนาดใหญ่และซับซ้อน แบบจำลอง SWAT (Soil and Water Assessment Tool) พัฒนาโดย Arnold et al. (1998) โดยอาศัยข้อมูลเชิงกายภาพ ได้แก่ ความสูงต่ำ ของพื้นที่ (DEM) การใช้ประโยชน์ที่ดิน สมบัติของดิน และภูมิอากาศ เพื่อการประเมินค่าดัชนี ที่บ่งชี้ความสมบูรณ์ของลุ่มน้ำ โดยแบ่งพื้นที่ลุ่มน้ำเป็นพื้นที่ลุ่มน้ำย่อยและภายในพื้นที่ลุ่มน้ำย่อยถูก แบง่ เป็นหนว่ ยจดั การอทุ กวทิ ยา (Hydrologic Response Units, HRUs) ซ่ึงเปน็ การซอ้ นทับของชั้นข้อมูล เชิงกายภาพ ความสูงต่ำของพื้นที่ การใชท้ ดี่ นิ ดนิ สภาพภูมิอากาศ และฝน 1) การรวบรวมและตรวจสอบเอกสาร ทั้งในรูปแบบของแผนที่ แผนที่เชิงเลข และรายงานที่ เกย่ี วขอ้ งกบั จังหวัดนา่ น เพ่อื ใชใ้ นการกำหนดแนวทางการดำเนนิ งาน 2) การเตรยี มขอ้ มูลดาวเทียมและภาพถา่ ยออร์โธสี (1) ข้อมูลจากดาวเทียมไทยโชตที่ใช้ในการปฏิบัติงาน ประกอบด้วยข้อมูลเชิงเลข (digital data) และข้อมูลเชงิ ภาพ (analog data) การเตรียมขอ้ มูลดาวเทียม มขี ้นั ตอนการดำเนินงานดังนี้ - การแก้ไขความคลาดเคลื่อนทางเรขาคณิต (geometric correction) เนื่องจาก ข้อมูลดาวเทียมที่ได้รับมา ยังมีความคลาดเคลื่อนเชิงตำแหน่งทางภูมิศาสตร์ จำเป็นต้องดำเนินการแก้ไข ตำแหน่งให้ถูกต้อง เพื่อให้สามารถวเิ คราะห์ซ้อนทับกับชั้นข้อมูลอื่น ๆ ได้ โดยใช้ภาพถ่ายออร์โธสีเชิงเลข ของกรมพัฒนาที่ดนิ และแผนที่ภมู ิประเทศ มาตราส่วน 1 : 50,000 จากกรมแผนท่ที หารเป็นข้อมูลอา้ งองิ - การผลติ ภาพจากข้อมลู ดาวเทยี มไทยโชต ภาพท่ีใชเ้ ป็นภาพผสมสีเท็จ (false color) สามช่วงคลื่น เพื่อให้ภาพชัดเจนและง่ายต่อการวิเคราะห์มากขึ้น ทำการผสมสีดังนี้ ช่วงคลื่นอินฟราเรด ใกล้ (Near Infrared–NIR) ให้ผ่านตัวกรองแสงสีแดง (red filter) เนื่องจากช่วงคลื่นอินฟราเรดใกล้เป็น ช่วงคลื่นที่พืชสีเขียวสะท้อนพลังงานมากที่สุด ดังนั้น บริเวณที่มีพืชใบเขียวอยู่ในภาพ จะมองเห็นเป็นสี แดงชัดเจน ส่วนช่วงคลื่นสีแดงให้ผ่านตัวกรองแสงสีเขียว (green filter) และช่วงคลื่นสีน้ำเงินให้ผ่านตัว กรองแสงสีน้ำเงิน (blue filter) หลังจากนั้น ทำการเน้นรายละเอียดของข้อมูลภาพด้วยข้อมูลภาพ ช่วงคลื่นเดียวหรือภาพขาว-ดำ ที่มีรายละเอียดจุดภาพ 2 เมตร ซึ่งเทคนิคนี้หรือที่เรียกว่า Pansharpening method จะทำใหข้ ้อมูลภาพสมี รี ายละเอียดจดุ ภาพเพม่ิ ขนึ้ เท่ากบั 2 เมตร แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟูพน้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษด์ นิ และน้า ลุ่มน้าหว้ ยน้าแหง

15 - การผลติ ภาพข้อมลู ดาวเทียม LANDSAT 8 OLI จะใชเ้ ทคนิคผสมสีเทจ็ (false color composite) โดยช่วงคล่ืนอินฟราเรดใกล้ Near Infrared (NIR) (0.85 - 0.88 ไมครอน) ผ่านตัวกรองสีแดง ช่วงคลื่นอินฟราเรดคลื่นสั้น1 (Short Wave Infrared1: SWIR1) (1.57 - 1.65 ไมครอน) ผ่านตัวกรองสี เขยี ว และชว่ งคล่นื สแี ดง (0.64 - 0.67 ไมครอน) ผา่ นตัวกรองสีนา้ํ เงิน เพ่ือใช้ในการจำแนกพชื พรรณ (2) การวิเคราะห์ข้อมูลสภาพการใช้ที่ดินจากข้อมูลดาวเทียม และภาพถ่ายออร์โธสีเชิงเลข โดยพิจารณาจากองค์ประกอบของข้อมูล คือ ความเข้มของสีและสี (tone/color) ขนาด (size) รูปร่าง (shape) เนื้อภาพ (texture) รูปแบบ (pattern) ความสูงและเงา (height and shadow) ความ เกย่ี วพัน (association) และการเปลยี่ นแปลงตามฤดกู าล (temporal change) เพอ่ื วิเคราะห์ขอ้ มูลสภาพ การใช้ที่ดิน โดยใช้โปรแกรมวิเคราะห์ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์แล้วจึงนำชั้นข้อมูลที่ได้ทำการ วิเคราะห์ซ้อนทับกับภาพถ่ายออร์โธสีเชิงเลข และข้อมูลจากดาวเทียมไทยโชต เพื่อจัดพิมพ์เป็นแผนท่ี สำหรับการสำรวจและตรวจสอบข้อมลู ในภาคสนาม 3) การสำรวจข้อมลู ในภาคสนาม โดยสำรวจและตรวจสอบรายละเอียดสภาพการใชท้ ี่ดินใน พ้นื ทจ่ี ริง พรอ้ มท้งั แก้ไขรายละเอยี ดใหม้ ีความถูกตอ้ งตรงกับสภาพปัจจุบัน 4) การสร้างฐานข้อมูลสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS database) เป็นการจัดทำทั้งฐานข้อมูล เชิงพื้นที่ (spatial data) และฐานข้อมูลเชิงคุณลักษณะ (attribute data) ของข้อมูลจากภาคสนาม และข้อมูลแผนที่จากสว่ นทีเ่ กี่ยวข้อง โดยนำเข้าและประมวลผลในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ดังน้ี (1) การสร้างฐานข้อมูลเชิงพื้นที่ เป็นการนำเข้าข้อมูลในรูปแผนที่เชิงเลข เพื่อใช้วิเคราะห์ และประมวลผลเชิงพ้นื ที่ (2) การสร้างฐานข้อมูลเชิงคุณลักษณะ เป็นการนำเข้าข้อมูลด้านคุณลักษณะของแผนท่ี และ ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลเชิงพื้นที่ เพื่อทำให้ทราบถึงความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลทั้ง 2 ประเภท สำหรับ ใชใ้ นการวเิ คราะหแ์ ละประมวลผลในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ 5) การจัดทำแผนที่และฐานข้อมูล สภาพการใช้ที่ดินของพื้นที่ลุ่มน้ำห้วยน้ำแหง อำเภอนา น้อย จงั หวัดน่าน พ.ศ. 2563 การสำรวจเก็บรวบรวบข้อมูลด้านเศรษฐกิจและสังคมเพื่อประกอบการจัดทำแผนกา รใช้ ที่ดินและแผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและความเสื่อมโทรมของดิน ด้วยระบบ อนุรักษ์ดินและน้ำ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นเกษตรกรที่ปลูกพืชเศรษฐกิจสำคัญของพื้นที่ ได้แก่ ข้าว ข้าวโพดเล้ยี งสตั ว์ ยางพารา และไม้สกั มขี นั้ ตอนการดำเนินงาน ดังน้ี 1) การเก็บรวบรวมข้อมูล รวบรวมข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่สำคัญ ได้แก่ เกษตรกรผู้ให้สัมภาษณ์ ข้อมูลสถิติจาก หนว่ ยงานต่าง ๆ โดยสามารถจัดขอ้ มลู ได้ 2 ประเภท คอื แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟพู น้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษด์ นิ และน้า ลุ่มน้าหว้ ยน้าแหง

16 (1) ข้อมูลปฐมภูมิ คือ ข้อมูลที่เก็บรวบรวมจากการสำรวจในภาคสนามด้วยวิธี การ สัมภาษณ์เกษตรกรในพื้นที่เป้าหมาย โดยการกำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างใช้ตารางสาํ เร็จรูปของ Taro Yamane ที่ระดับความเชื่อมั่น 90% ได้ขนาดจำนวนตัวอย่างทัง้ สิ้น 100 ตัวอย่าง แล้วทำการสุ่มตัวอยา่ ง ในการเก็บข้อมูลโดยใช้วิธีแบบเจาะจง (purposive sampling) คือ เลือกเฉพาะเกษตรกรที่ปลูกพืช (ข้าว ขา้ วโพดเล้ยี งสัตว์ ยางพารา และไม้สัก) ในพื้นท่ีเป้าหมาย และใชแ้ บบสอบถามในการสัมภาษณเ์ กษตรกร (2) ข้อมูลทุติยภูมิ คือ ข้อมูลต่างๆ ท่ีเก็บรวบรวมจากเอกสารวิชาการ ผลงานวิจัย รายงาน บทความ และระบบสืบค้นทางอินเตอร์เน็ต เช่น ข้อมูลเกี่ยวกับระบบการปลูก การดูแลรักษา และการเกบ็ เกยี่ ว เปน็ ตน้ เพ่ือเปน็ ข้อมูลสำหรบั อา้ งองิ และประกอบการศึกษาต่อไป 2) การวิเคราะห์ขอ้ มูล การนำข้อมูลที่เก็บรวบรวมได้ แล้วทำการตรวจสอบความถูกต้องและความครบถ้วนของ ข้อมูล และประมวลผล จากนั้นวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้วิธีการวิเคราะห์เชิงพรรณนา (descriptive analysis) แสดงผลเป็นค่ารอ้ ยละ และ/หรอื ค่าเฉลี่ย แบ่งการวเิ คราะหข์ อ้ มูล ดังน้ี (1) การวเิ คราะห์ข้อมลู ทั่วไปของครวั เรือนเกษตร ความรู้ ความเข้าใจ ด้านการอนุรักษ์ ดินและน้ำ ผลกระทบของการชะล้างพังทลายของดิน ตลอดจนทัศนคติ ปัญหาและความต้องการความ ชว่ ยเหลอื จากรฐั ของเกษตรกร (2) การวิเคราะห์ข้อมูลการใช้ปัจจัยการผลิต โดยใช้ปริมาณและมูลค่าปัจจัยการ ผลิตที่สำคัญ ได้แก่ การใช้พันธุ์ การใช้ปุ๋ยชนิดต่าง ๆ (ปุ๋ยเคมี และปุ๋ยอินทรีย์) การใช้สารป้องกันและ กำจัดวัชพืช/ศัตรูพืช/โรคพืช การใช้แรงงานคน และแรงงานเครื่องจักร โดยวิเคราะห์และสรุปข้อมูลมาเป็น ค่าเฉลยี่ ต่อพื้นท่ี 1 ไร่ (3) การวเิ คราะหข์ อ้ มลู ตน้ ทุนและผลตอบแทนในการผลติ ไดแ้ ก่ การวิเคราะห์ต้นทุนการผลิต ประกอบด้วย ต้นทุนทั้งหมด ต้นทุนผันแปร และต้นทุน คงที่ โดยมวี ธิ ีการคำนวณต้นทนุ ดังน้ี ตน้ ทนุ ทั้งหมด = ต้นทุนผนั แปร + ตน้ ทุนคงท่ี ต้นทนุ ผนั แปร เปน็ ค่าใช้จ่ายทเี่ กยี่ วขอ้ งกับการผลิตทจ่ี ะเปล่ยี นแปลงไปตามปรมิ าณการ ผลติ ค่าใช้จ่ายประเภทนี้ เกษตรกรสามารถเพมิ่ หรือลดได้ในชว่ งระยะเวลาการผลิตพืช เช่น ค่าพันธ์ุ คา่ ปุ๋ย ค่าแรงงานคน ค่าแรงงานเครื่องจักร คา่ ซ่อมแซมอุปกรณ์การเกษตร และคา่ ขนสง่ ผลผลติ เป็นตน้ ต้นทุนคงที่ เป็นค่าใช้จ่ายที่เกดิ ขึ้นแก่เกษตรกร ถึงแม้จะไม่ได้ทำการผลิตพืช เนื่องจาก ค่าใช้จ่ายประเภทนี้จะไม่เปลี่ยนแปลงไปตามปริมาณการผลิตพืช เช่น ค่าเช่าที่ดินที่ใช้ในการปลูกพืช ค่า ภาษีท่ีดินซึง่ ตอ้ งเสยี ทกุ ปี ไมว่ ่าท่ีดินผนื นนั้ จะใชป้ ระโยชนใ์ นปนี ้ัน ๆ หรอื ไมก่ ต็ าม - การวิเคราะหผ์ ลตอบแทนการลงทนุ มีวิธีการคำนวณ ดงั นี้ ผลตอบแทนเหนือต้นทุนทั้งหมด = ผลตา่ งระหว่างมลู ค่าผลผลติ ทง้ั หมดกับตน้ ทุนท้งั หมด แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟพู น้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษด์ นิ และน้า ลมุ่ น้าหว้ ยน้าแหง

17 - อัตราส่วนผลตอบแทนต่อต้นทุนทั้งหมด (Benefit-cost Ratio: B/C Ratio) เป็นการ วิเคราะห์ผลตอบแทนทางการเงิน เพื่อใช้ในการตัดสินใจในการลงทุนว่าควรจะลงทุนในการผลิตหรือไม่ เป็นการวิเคราะห์อัตราสว่ นเปรียบเทียบมูลค่าปัจจุบันเฉลีย่ ต่อไร่ของผลตอบแทนกับต้นทุนทั้งหมดตลอด ช่วงปีที่ทำการผลิต โดยเกณฑ์ที่ใช้ในการตัดสินใจเลือกลงทุนในโครงการใด ๆ คือ B/C Ratio ที่มีค่า มากกว่าหรือเท่ากับ 1 ถ้า B/C Ratio มากกว่า 1 หมายความว่า ผลตอบแทนที่ได้รับจากการผลิตพืช มากกว่าค่าใช้จ่ายหรือต้นทุนที่เสียไป หรือถ้า B/C Ratio เท่ากับ 1 หมายความว่า ผลตอบแทนที่ได้รับจาก การผลิตพชื เทา่ กับค่าใช้จา่ ยหรอื ต้นทนุ ท่เี สยี ไปพอดี การประเมินการชะล้างพังทลายของดินในพื้นที่โครงการฯ โดยอาศัยสมการการสูญเสียดินสากล (Universal Soil Loss Equation, USLE) (Wischmeier and Smith, 1965) ซ่ึงสมการนี้ถูกพัฒนาขึ้นมา เพื่อใช้ประเมินการชะล้างพังทลายของดินในพื้นที่เกษตร และเป็นการชะล้างพังทลายของดินที่เกิดจาก การกระทำของนำ้ ไม่รวมถงึ การชะลา้ งพงั ทลายทีเ่ กิดจากลม ดังสมการ A = R K LS C P (3) สมการดังกล่าวพิจารณาการชะล้างพังทลายของดินจากการตกกระทบของเม็ดฝน (raindrop erosion) และแบบแผน่ (sheet erosion) ไม่ครอบคลุมถงึ การชะล้างพงั ทลายแบบรว้ิ (rill erosion) และ แบบร่อง (gully erosion) (Wischmeier and Smith, 1965) ซึ่งปัจจัยที่นำมาพิจารณาในสมการ ได้แก่ ปรมิ าณนำ้ ฝน ความแรงของน้ำฝน ลักษณะของดิน ลักษณะของพืชคลุมดิน สภาพของพนื้ ท่ีและมาตรการ ระบบอนรุ กั ษด์ ินและน้ำ รายละเอียดแตล่ ะปจั จัยที่เก่ยี วข้อง ดังน้ี 1) ปจั จัยทีเ่ ก่ยี วขอ้ งกับฝน (erosivity factor: R) เปน็ คา่ ความสัมพันธ์ของพลังงานจลน์ของเม็ดฝน ที่ตกกระทบผิวหน้าดินกับปริมาณความหนาแน่นของฝนในช่วงระยะเวลาหนึ่ง ซึ่งความสัมพันธ์นี้ได้มีผู้ ศึกษาและนำมาประยกุ ตใ์ ช้อยา่ งกว้างขวาง (มนญู และคณะ, 2527 และ Kunta, 2009) ในการศกึ ษาน้ีได้ นำค่าสหสัมพันธ์ระหว่างคา่ ปจั จยั การกัดกร่อนของฝนสอดคล้องตามวธิ กี ารของ Wischmeier (กรมพัฒนา ที่ดิน, 2545; มนูญ และคณะ, 2527) มาวิเคราะห์ร่วมกับข้อมูลปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยรายปี (average annual rainfall) ในช่วงระยะเวลา 30 ปี (พ.ศ. 2531-2561) ได้ค่าปัจจัยทีเ่ กี่ยวข้องกบั ฝนสำหรับพื้นท่ี โครงการฯ 2) ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับลกั ษณะของดิน (erodibility factor: K) เป็นค่าความคงทนของดิน ภายใต้ สภาพแวดล้อมที่คล้ายคลึงกันดินแต่ละชนิดจะทนต่อการชะล้างพังทลายที่แตกต่างกัน สอดคล้องตาม หลักการของ Wischmeier นั้น สามารถวิเคราะห์ค่าปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับลักษณะดินน้ีจากภาพ Nomograph โดยประเมินได้จากสมบัติของดนิ 5 ประการคอื (1) ผลรวมปรมิ าณร้อยละดินของทรายแป้ง และปริมาณร้อยละของทรายละเอียดมาก (2) ปริมาณร้อยละของทราย (3) ปริมาณร้อยละของ แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟูพน้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษ์ดนิ และน้า ลมุ่ น้าหว้ ยน้าแหง

18 อินทรียวัตถุในดิน (4) โครงสร้างของดิน และ (5) การซาบซึมน้ำของดิน (กรมพัฒนาที่ดิน, 2545) ได้มี การศึกษาปจั จัยดงั กลา่ ว และใหค้ า่ ปัจจัยทเ่ี กยี่ วข้องกับลักษณะของดินสอดคลอ้ งตาม 3) ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับสภาพภูมิประเทศ (slope length and slope steepness factor: LS) เป็นปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับความลาดชัน และความยาวของความลาดชัน ตามปกติแล้วค่าการชะล้าง พังทลายของดินนั้นจะแปรผันตรงกับความลาดชันสูงและความยาวของความลาดชัน ในการศึกษานี้ได้ใช้ ข้อมูลความสูงจากแบบจำลองระดับความสูงเชิงเลข (Digital Elevation Model, DEM) โดยคำนวณท้ัง สองปัจจยั สอดคล้องกบั การศึกษาของ (Hickey et al., 1994) 4) ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการจัดการพืช (crop management factor: C) เป็นปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับ พืชคลุมดิน ซึ่งพืชแต่ละชนิดย่อมมีความต้านทานในการชะล้างพังทลายของดินที่แตกต่างกันขึ้นอยู่กับ ความสูงของต้น ลักษณะพุ่ม หรือการยึดอนุภาคดินของรากพืชนั้น ๆ เป็นต้น ในกรณีที่ไม่มีพืชปกคลุมดนิ นั้น ค่าปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการจัดการพืชนี้จะมีค่ามากที่สุด ในที่นี้ คือ 1.00 ส่วนกรณีที่พืชปกคลุมดิน สามารถต้านทางการชะล้างพังทลายของดินไดด้ ีจะให้ค่าปัจจัยนี้นอ้ ย นอกจากน้ี ปัจจัยที่เก่ียวขอ้ งกับการ จัดการพืชนี้ ยังมีความสัมพันธ์กับสภาพภูมิอากาศในพื้นที่นั้น ๆ เนื่องจากสภาพภูมิอากาศนัน้ มีผลต่อการ เจรญิ เติบโตของพชื 5) ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์ดินและน้ำ (conservation factor: P) เป็นปัจจัยที่แสดงถึง มาตรการอนุรักษ์ดินและน้ำในพื้นที่นั้น ๆ เช่น การปลูกพืชตามแนวระดับ (contouring) การปลูกพืชสลับ ขวางความลาดเอียง (strip cropping) การปลูกพืชในพื้นที่ท่ีมีคันนา เป็นต้น ในที่นี้ใช้ค่าตามการศึกษา ของกรมพัฒนาที่ดิน (2545) จากค่าปัจจัยทั้ง 5 ปัจจัยนั้น สามารถนำมาคำนวณการสูญเสียดินสอดคล้อง ตามสมการการสูญเสียดินสากลได้บนฐานข้อมูลแบบราสเตอร์ (raster) โดยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ จากผลการคำนวณค่าการสูญเสียดินนั้น สามารถนำมาจัดชั้นความรุนแรงของการสูญเสียดิน ทำให้ทราบ ถึงขอบเขตของพน้ื ท่ีมปี ญั หา เนอื่ งจากการสูญเสียดินเพ่ือเปน็ แนวทางในการวางแผนอนรุ ักษ์ดินและน้ำใน พื้นที่ตอ่ ไป ตารางที่ 2-1 ระดับความรุนแรงของการชะล้างพังทลายของดนิ ระดับความรุนแรงของการชะล้างพงั ทลาย คา่ การสูญเสียดิน (ตัน/ไร่/ป)ี นอ้ ย 0-2 ปานกลาง 2-5 รุนแรง 5-15 รุนแรงมาก 15-20 รนุ แรงมากท่สี ุด มากกวา่ 20 ทีม่ า: กรมพฒั นาที่ดนิ (2545) แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟูพน้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษ์ดนิ และน้า ลุ่มน้าหว้ ยน้าแหง

19 ตารางที่ 2-2 ชน้ั ของการกดั กร่อน (degree of erosion classes) สัญลักษณ์ ช่ือเรยี ก การสูญเสยี ของชนั้ ดิน (%) E0 ไม่มีการกรอ่ น (non eroded) 0 E1 กร่อนเล็กนอ้ ย (slightly eroded) E2 กรอ่ นปานกลาง (medium eroded) 0 - <25 E3 กรอ่ นรนุ แรง (severe erosion) 25 – 75 E4 กร่อนรนุ แรงมาก (very severe erosion) > 75 ท่มี า: กรมพฒั นาที่ดิน (2551) 100 การจัดทำแผนการใช้ที่ดิน เป็นการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีการทางภูมิสารสนเทศ (Geographic Information System: GIS) เพื่อจัดทำแผนการใช้ที่ดินเพื่อการอนุรักษ์ดินและน้ำ โดยการประมวลผล ข้อมูลทางกายภาพ ได้แก่ ประเภทการใช้ที่ดิน การประเมินคุณภาพดิน น้ำ สภาพภูมิอากาศ สภาพ เศรษฐกจิ และสงั คม ดังน้ี วิเคราะห์ประเภทการใช้ที่ดิน จากชนิดของพืช ลักษณะการดำเนินงาน และสภาพการผลิต ในการใช้ทด่ี ินท้ังทางด้านกายภาพและสภาพเศรษฐกิจสังคม ซ่ึงได้แก่ รูปแบบการผลิต การเขตกรรม การ จัดการ เงินทุน และขนาดของกิจการ เป็นต้น โดยใช้ข้อมูลเหล่านีม้ าวเิ คราะห์เพือ่ คัดเลือกประเภทการใช้ ทด่ี ินที่เหมาะสม (กรมพฒั นาท่ดี นิ , 2561) กบั ความตอ้ งการการผลิตพชื ของเกษตรกรในทอ้ งถน่ิ นนั้ การคัดเลือกประเภทการใช้ที่ดินมีวิธีการโดยวิเคราะห์ข้อมูลดินร่วมกับข้อมูลสภาพการใช้ ท่ีดินมาจดั ทำหน่วยที่ดิน หลงั จากน้ันถึงดำเนินการเก็บข้อมลู ตามเน้ือท่ีสภาพการใชท้ ี่ดนิ ท่ีมีมากท่สี ุดในลุ่มน้ำ การประเมินคุณภาพที่ดินด้านกายภาพเป็นการวิเคราะห์ศักยภาพของหน่วยที่ดินต่อการใช้ ประโยชน์ที่ดินประเภทต่าง ๆ ในระดับการจัดการที่แตกต่างกัน วิธีการประเมินคุณภาพที่ดินมีหลายวิธี กลุ่มวางแผนทรัพยากรน้ำเพื่อการพัฒนาที่ดินได้เลือกใช้วิธีการประเมินคุณภาพที่ดินตามหลั กการของ FAO Framework ซึง่ มีจำนวน 2 รูปแบบ แตใ่ นการประเมินคุณภาพทีด่ ินเบ้ืองต้นจะทำการประเมินเพียง ด้านเดียว คือ การประเมินทางด้านคุณภาพ เป็นการประเมินเชิงกายภาพว่าที่ดินนั้น ๆ มีความเหมาะสม มากหรือน้อยเพียงใดต่อการใช้ท่ีดินประเภทต่าง ๆ โดยศึกษาการประเมินคณุ ภาพดนิ ร่วมกับประเภทการ ใชท้ ่ีดินทีไ่ ด้กำหนดเป็นตวั แทนการเกษตรกรรมหลักในล่มุ นำ้ สาขา การวเิ คราะห์ได้คำนงึ ถงึ ปจั จัยที่มีผลต่อ แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟูพน้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษด์ นิ และน้า ล่มุ น้าหว้ ยน้าแหง

20 การเจริญเติบโตของพชื ในแต่ละด้านของดินทแี่ ตกตา่ งกนั โดยอาศยั คุณลักษณะดินแตกต่างกนั ไปตามวัตถุ ตน้ กำเนิดของดิน ซึ่งคณุ ลกั ษณะท่ดี ินท่ีใชใ้ นการแสดงค่าเพ่ือวดั ระดบั การเจริญเติบโตแตกตา่ งกนั คุณภาพที่ดินที่นำมาประเมินสำหรับการปลูกพืช ในระบบ FAO Framework ได้กำหนดไว้ ทั้งหมด 25 ชนิด แต่ที่นำมาพิจารณาเพื่อประเมินความเหมาะสมของที่ดินในแต่ละประเภทการใช้ที่ดินมี จำนวน 8 คุณภาพทด่ี ิน ประกอบดว้ ย 2.1) ระบอบอุณหภมู ิ (Temperature regime: T) คุณลักษณะที่ดินท่ีเป็นตัวแทน ได้แก่ ค่าเฉลี่ยอุณหภูมิในฤดเู พาะปลูก เพราะอุณหภูมิมี อิทธิพลต่อการงอกของเมล็ด การออกดอกของพืชบางชนิด และมีส่วนสัมพันธ์กับกระบวนการสงั เคราะห์ แสง ซ่งึ ส่งผลกระทบต่อการเจริญเตบิ โตของพืช 2.2) ความชุม่ ชืน้ ท่ีเปน็ ประโยชน์ต่อพชื (Moisture availability: M) คุณลักษณะที่ดินที่เป็นตัวแทน ได้แก่ ระยะเวลาการท่วมขังของน้ำในฤดูฝน ปริมาณ นำ้ ฝนเฉลี่ยในรอบปีหรือความต้องการน้ำในช่วงการเจรญิ เติบโตของพชื นอกจากนี้ได้พิจารณาถึงลักษณะ ของเนอ้ื ดนิ ซง่ึ มีผลตอ่ ความสามารถในการอุ้มนำ้ ท่เี ปน็ ประโยชนต์ ่อพืช 2.3) ความเป็นประโยชนข์ องออกซเิ จนตอ่ รากพชื (Oxygen availability: O) คุณลักษณะที่ดินที่เป็นตัวแทน ได้แก่ สภาพการระบายน้ำของดิน ทั้งนี้เพราะพืช โดยทั่วไปรากพืชตอ้ งการออกซิเจนในกระบวนการหายใจ 2.4) ความเป็นประโยชนข์ องธาตอุ าหาร (Nutrient availability: S) คณุ ลกั ษณะท่เี ป็นตัวแทน ไดแ้ ก่ ปริมาณธาตอุ าหารพืชในดิน 2.5) ความเสียหายจากน้ำทว่ ม (Flood hazard: F) คุณลักษณะที่ดินที่เป็นตัวแทน ได้แก่ จำนวนครั้งที่น้ำท่วมในช่วงรอบปีที่กำหนดไว้ หมายถึง พืชได้รับความเสียหายจากการที่น้ำท่วมบนผิวดินชั่วระยะเวลาหนึ่งหรือเป็นน้ำที่มีการไหลบ่า การทนี่ ้ำท่วมขังจะทำให้ดินขาดออกซิเจน สว่ นน้ำไหลบา่ จะทำให้รากพืชได้รับความกระทบกระเทือนหรือ รากอาจหลุดพน้ ผวิ ดินข้ึนมาได้ ความเสียหายจากน้ำท่วมไม่ใช่จะเกิดกับพืชเทา่ นั้น แต่ยังทำความเสียหาย ให้กับดนิ และโครงสรา้ งพ้นื ฐานตา่ ง ๆ ท่เี ก่ียวขอ้ งกับการใชท้ ี่ดิน 2.6) สภาวะการหยัง่ ลึกของราก (Rooting conditions: R) คุณลักษณะที่ดินที่เป็นตัวแทน ได้แก่ ความลึกของดิน ความลึกของระดับน้ำใต้ดิน และชั้น การหย่งั ลึกของราก โดยความยากง่ายของการหยั่งลึกของรากในดินมปี ัจจัยทเ่ี ก่ียวข้อง ได้แก่ ลกั ษณะเน้ือดิน โครงสรา้ งของดนิ การเกาะตัวของเม็ดดิน และปรมิ าณกรวดหรือเศษหนิ ทพี่ บบนหน้าตดั ดิน 2.7) ศักยภาพในการใชเ้ ครอ่ื งจกั ร (Potential for mechanization: W) คุณลักษณะที่ดินที่เป็นตัวแทน ได้แก่ ความลาดชันของพื้นที่ ปริมาณหินโผล่ ปริมาณก้อน หนิ และการมเี น้อื ดินเหนยี วจดั ซ่ึงปจั จยั ท้งั 4 นอ้ี าจเป็นอปุ สรรคตอ่ การไถพรวนโดยเคร่อื งจักร 2.8) ความเสยี หายจากการกดั กรอ่ น (Erosion hazard: E) คุณลกั ษณะท่ีดินที่เปน็ ตัวแทน ได้แก่ ความลาดชนั ของพ้นื ที่ แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟพู น้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษด์ นิ และน้า ลุ่มน้าหว้ ยน้าแหง

21 การจำแนกความเหมาะสมของที่ดินตามหลักเกณฑ์ของ FAO Framework เป็นการ ประเมินศักยภาพของที่ดินสำหรับการปลูกพืชหรือประเภทการใช้ที่ดิน โดยการพิจารณาเปรียบเทียบ ความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพที่ดินกับความต้องการปัจจัยต่าง ๆ ที่มีผลต่อการเจริญ เติบโตของพืชหรือ ประเภทการใช้ท่ีดินว่ามคี วามเหมาะสมอยู่ในระดบั ใด และมขี อ้ จำกัดใดบ้าง โดยได้จำแนกความเหมาะสม ออกเป็น 4 ช้ัน คอื S1 : ช้ันท่ีมคี วามเหมาะสมสูง S2 : ชนั้ ที่มีความเหมาะสมปานกลาง S3 : ชัน้ ทม่ี ีความเหมาะสมเล็กน้อย N : ชั้นท่ีไมม่ ีความเหมาะสม จากการประเมินคุณภาพที่ดินสามารถสรุปพื้นที่ที่มีศักยภาพในการปลูกพืชแต่ละชนิดโดย พจิ ารณาจากเน้ือท่ีประเภทการใช้ท่ีดินท่ีดำเนนิ การปลูกจริงและมเี น้ือท่ีการปลูกพชื มากทีส่ ุดในลมุ่ น้ำห้วยน้ำ แหง จำนวน 6 ประเภทการใช้ที่ดิน เป็นพืชตัวอย่างที่นำมาพิจารณาชั้นความเหมาะสมตามศักยภาพ ของเน้ือ ท่ีลมุ่ นำ้ ทั้งนี้ การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อจัดทำแผนการใช้ที่ดิน จะต้องวิเคราะห์ข้อมูลสถานภาพของ ทรัพยากรธรรมชาติและสภาพการใช้ที่ดินร่วมกับข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้องภายในพื้นที่โครงการฯ โดยการ วิเคราะห์อยู่ภายใต้เงื่อนไขที่ต้องรักษาสภาพป่าไม้และระบบนิเวศของพื้นที่ไว้ ร่วมกับการใช้พื้นที่ให้ เหมาะสมกับศักยภาพของที่ดินตามประเภทการใช้ประโยชน์ที่ดิน ภายใต้ข้อจำกัดการใช้ที่ดินของภาครฐั และต้องสอดคล้องกับภาวะเศรษฐกิจสังคมของชุมชนในพื้นทีต่ ามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง โดยเน้นการ มสี ว่ นรว่ มของชุมชนและภาครัฐในการพิจารณาจัดทำแผนการใช้ท่ีดินในพืน้ ที่โครงการฯ เพ่ือให้เกิดการใช้ พื้นที่อย่างยั่งยืน และคงไว้ซึ่งสมดุลของระบบนิเวศรวมทั้งก่อให้เกิดประโยชน์ ในแง่ของการฟื้นฟูและ อนรุ กั ษท์ รพั ยากรธรรมชาติ 1) กลุ่มเป้าหมายและพื้นทีด่ ำเนนิ การ การคัดเลอื กกลุม่ เปา้ หมายบรเิ วณล่มุ น้ำห้วยน้ำแหง อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน จำนวน 6 ตำบล 49 หมู่บ้าน โดยเลือกตัวแทนชุมชนจากผู้นำชุมชน หมอดินอาสาประจำตำบล และเกษตรกรผู้มี ส่วนได้ส่วนเสียในพื้นที่ลุ่มน้ำห้วยน้ำแหง รวมกลุ่มเป้าหมายที่จะเข้าร่วมการประชุม จำนวน 60 คน ซ่ึง เปน็ ตวั แทนของพื้นทีด่ ำเนนิ การ ดงั นี้ แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟูพน้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษด์ นิ และน้า ลุ่มน้าหว้ ยน้าแหง

22 (1) ตำบลน้ำตก จำนวน 40 ราย ประกอบด้วย ผู้แทนจากองค์การบริหารส่วนตำบล นำ้ ตก กำนนั ผูใ้ หญ่บา้ น หมอดินอาสา เกษตรกรผูม้ สี ่วนไดส้ ่วนเสีย ท้งั 7 หมู่บ้าน คือ บา้ นพชื เจริญ บ้าน นำ้ พุ บ้านนำ้ สระ บา้ นวงั กอก บ้านเปา บ้านไทยงาม บา้ นพชื มงคล (2) ตำบลนานอ้ ย จำนวน 8 ราย ประกอบด้วย ผู้แทนจากองค์การบรหิ ารสว่ นตำบลนา นอ้ ย กำนัน หมอดนิ อาสาประจำตำบล และเกษตรกรผ้มู ีส่วนได้ส่วนเสียในพน้ื ทลี่ ่มุ น้ำหว้ ยนำ้ แหง (3) ตำบลบัวใหญ่ จำนวน 3 ราย ประกอบด้วย ผู้แทนจากองค์การบริหารส่วนตำบลบัว ใหญ่ กำนนั หมอดินอาสาประจำตำบล (4) ตำบลศรีษะเกษ จำนวน 3 ราย ประกอบด้วย ผู้แทนจากองค์การบริหารส่วนตำบล ศรษี ะเกษ กำนนั หมอดินอาสาประจำตำบล (5) ตำบลเชียงของ จำนวน 3 ราย ประกอบด้วย ผู้แทนจากองค์การบริหารส่วนตำบล เชยี งของ กำนนั หมอดนิ อาสาประจำตำบล (6) ตำบลสันทะ จำนวน 3 ราย ประกอบด้วย ผู้แทนจากองคก์ ารบริหารส่วนตำบลสันทะ กำนันหมอดนิ อาสาประจำตำบล 2) ประเด็นการรับฟงั ความคิดเหน็ กำหนดการแบ่งกลุ่ม (Focus group) ออกเป็น 3 กลมุ่ ได้แก่ กลมุ่ พ้นื ทต่ี ้นน้ำ ทม่ี ีความ เสี่ยงต่อการชะล้างพังทลายสูง กลุ่มพื้นที่กลางน้ำ ที่มีความเสี่ยงต่อการชะล้างพังทลายปานกลาง กลุ่ม พื้นที่ปลายน้ำ ที่มีความเสี่ยงต่อการชะล้างพังทลายเล็กน้อย เป็นตัวแทนกลุ่มที่เป็นผู้นำชุมชน หมอดิน อาสา และเกษตรกรผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย โดยมีประเด็นการรับฟังความคิดเห็น คือ ความรู้ความเข้าใจของ เกษตรกรต่อการชะล้างพังทลายของดิน สภาพปัญหาของพื้นที่ แนวทางการแก้ไขปัญหา (ภูมิปัญญาและ ตามหลักวิชาการ) วิเคราะห์สภาพแวดล้อมของพื้นที่ร่วมกับชุมชน และการกำหนดเป้าหมายในการ ดำเนนิ งาน (ภาพท่ี 2-2) ภาพท่ี 2-2 ประเด็นการรบั ฟังความคดิ เห็นของชุมชนแบบมีสว่ นร่วม แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟพู น้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษ์ดนิ และน้า ล่มุ น้าหว้ ยน้าแหง

23 1) จัดทำ (ร่าง) รายงานแผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นท่ี เกษตรกรรมด้วยระบบอนรุ ักษ์ดินและนำ้ เพอ่ื ประกอบการประชมุ รบั ฟังความคิดเหน็ จากเกษตรกรผู้มีส่วน ไดส้ ่วนเสยี ในพ้ืนทลี่ มุ่ น้ำหว้ ยน้ำแหง หนว่ ยงานภาครัฐ ประชุมรับฟงั ความคิดเหน็ ต่อการจดั ทำแผนบริหาร จดั การป้องกันการชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟนื้ ฟูพน้ื ทีเ่ กษตรกรรมด้วยระบบอนรุ ักษ์ดนิ และน้ำ พนื้ ท่ีลุ่ม นำ้ ห้วยน้ำแหง อำเภอนาน้อย จังหวดั นา่ น ในวนั พุธท่ี 15 กรกฎาคม 2563 เวลา 08.30 น. – 16.30 น. ณ ห้อง ประชมุ สถานีพฒั นาทด่ี ินนา่ น โดยมีผู้เข้ารว่ มประชุมจากเกษตรกรผู้มีสว่ นได้สว่ นเสียในพ้ืนท่ีลุ่มน้ำห้วยน้ำ แหงและหนว่ ยงานภาครฐั ระดับจังหวัด ไดแ้ ก่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิง่ แวดล้อม กระทรวงมหาดไทย และองคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำบล 2) ปรับปรุงแก้ไข (ร่าง) รายงานแผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและ ฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ก่อนนำเสนอต่อคณะทำงานจัดทำแผนการบริหาร จดั การโครงการปอ้ งกันการชะล้างพังทลายของดินและฟน้ื ฟพู ้ืนทีเ่ กษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ พื้นที่ลุ่มน้ำห้วยน้ำแหง อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน และคณะกรรมการขับเคลื่อนโครงการป้องกันการชะ ล้างพงั ทลายของดนิ และฟืน้ ฟูพ้นื ท่เี กษตรกรรม ดว้ ยระบบอนรุ กั ษ์ดนิ และน้ำ การกำหนดพื้นทเ่ี ปา้ หมายเพื่อดำเนินกิจกรรม (implement) ประกอบการจัดทำแผนปฏิบัติการให้ สอดคล้องกับสภาพปัญหาพื้นที่และความต้องการของชุมชน ด้วยการวิเคราะห์ลำดบั ความสำคัญเปน็ การ กำหนดพื้นที่นำร่องโครงการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบ อนุรักษ์ดินและน้ำ พื้นที่ลุ่มน้ำห้วยน้ำแหง อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน จากขอบเขตพื้นที่ลุ่มน้ำย่อย จำนวน 91,696 ไร่เมื่อผ่านกระบวนการวิเคราะห์จากข้อมูลทุติยภูมิเบื้องต้นทั้งรูปแบบรายงานและแผนท่ี ประกอบด้วย ข้อมูลดินและสภาพดินปญั หา การชะล้างพังทลายของดิน การใช้ที่ดนิ และแผนการใช้ทีด่ นิ จากขอ้ มูลหนว่ ยงานทเ่ี กยี่ วขอ้ ง และการสำรวจขอ้ มลู จากสภาพพน้ื ท่ดี ำเนินการจริงในปัจจบุ ัน และการรับ ฟังความคิดเห็นต่อแนวทางการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบ อนุรักษ์ดินและน้ำ จะทำให้ได้เกณฑ์ (criteria) สำหรับนำมาใช้ในการกำหนดพื้นที่เป้าหมายและกำหนด แผนงาน/โครงการสนับสนุนการดำเนินงานโครงการได้ เช่น ระดับความรุนแรงของพื้นที่ชะล้างพังทลาย ของดิน (soil erosion) พื้นที่ถือครอง แหล่งน้ำ สถานการณ์ภัยแล้งและน้ำท่วม ระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ การใชท้ ด่ี ิน และการมสี ว่ นรว่ มหรอื การยอมรับของชมุ ชน ในการคัดเลือกพื้นที่ดำเนินการ ปัจจัยหลักที่นำมาพิจารณา 5 ด้าน ประกอบด้วย 1) ระดับความ รุนแรงของการชะล้าง 2) เอกสารสิทธิ์ 3) การใช้ทดี่ นิ 4) กิจกรรมท่ีดำเนินงานในพื้นท่ี 5) แผนปฏิบัติงาน ของพนื้ ท่ี 6) ความต้องการของชุมชน โดยมีเกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ดังน้ี แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟูพน้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษ์ดนิ และน้า ลมุ่ น้าหว้ ยน้าแหง

24 = 3 คะแนน = 2 คะแนน 1) ระดบั ความรุนแรงของการชะล้าง = 1 คะแนน สูง ปานกลาง = 2 คะแนน ตำ่ = 1 คะแนน 2) การถอื ครองท่ดี ิน = 3 คะแนน มีเอกสารสทิ ธ์ิ = 2 คะแนน ไมม่ เี อกสารสทิ ธ์ิ = 1 คะแนน 3) การใช้ท่ดี นิ = 2 คะแนน พชื หลกั (พืชไร่) = 1 คะแนน นาข้าว (พืชรอง) ไม้ผล/ไม้ยนื ต้น (พชื รอง) = 3 คะแนน = 2 คะแนน 4) กจิ กรรมท่ีดำเนินงานในพ้นื ที่ = 1 คะแนน ไม่เคยมี เคยมี = 3 คะแนน = 2 คะแนน 5) แผนการดำเนนิ งานในพนื้ ท่ี ปี 2563 = 1 คะแนน แหล่งน้ำ ปรับปรงุ ดนิ ระบบอนรุ ักษด์ ินและนำ้ แหลง่ น้ำและปรับปรุงดิน แหล่งน้ำหรือปรบั ปรงุ ดิน 6) ความต้องการของชมุ ชน ตอ้ งการแหลง่ นำ้ และระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ตอ้ งการแหล่งนำ้ หรอื ระบบอนรุ ักษด์ นิ และนำ้ ต้องการงานด้านอ่นื ๆ แผนปฏิบตั ิการเพอื่ ป้องกันการชะลา้ งพงั ทลายของดินและฟน้ื ฟูพืน้ ทเี่ กษตรกรรม ลมุ่ นำ้ หว้ ยน้ำแหง ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2563-2566) และระยะ 1 ปี เพื่อเป็นเครื่องมือในการขับเคลื่อนโครงการป้องกันการชะ ล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรม ด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ให้สามารถนำไปสู่การ วางแผน การกำหนดมาตรการและบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรรมที่มีความเสี่ยงตอ่ การชะล้างพังทลาย ของดินและพื้นที่ดินเสื่อมโทรม นำไปสู่การใช้ประโยชน์อย่างสูงสุดสมดุล เป็นธรรม และยั่งยืน รวมทั้ง สามารถแปลงไปสู่การปฏิบัติได้อย่างเป็นรูปธรรม ตามระบบการบริหารเชิงยุทธศาสตร์ที่สอดคล้องกับ ประเด็นปัญหาและบูรณาการการดำเนินงานของหน่วยงาน โดยผ่านกระบวนการมีส่วนร่วมจากภาคีผู้มี สว่ นไดเ้ สียทเ่ี กยี่ วข้อง แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟพู น้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษ์ดนิ และน้า ลุ่มน้าหว้ ยน้าแหง

25 ภาพที่ 2-3 หลักการสำคญั ในการจดั ทำแผนการบริหารจัดการท่ดี ินและทรัพยากรดินของประเทศ ท่ีมา: สำนักงานนโยบายและแผนทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม (2561) การบริหารจัดการทรัพยากรดินระดับลุ่มน้ำ ได้นำหลักการด้านการอนุรักษ์ดินและน้ำ การบริหาร จัดการเชิงระบบนิเวศที่ต้องดำเนินการเพื่อให้เกิดความสมดุลของระบบ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง การบูรณาการให้การใช้ประโยชน์ที่ดินเป็นไปอย่างเหมาะสมตามศักยภาพของที่ดิน มีความ เชื่อมโยงกับการจัดการทรัพยากรน้ำ ป่าไม้ และชายฝั่ง ให้เกิดประโยชน์สูงสุดทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม และความมั่นคงของประเทศ โดยให้คำนึงถึงสิทธิในทรัพย์สินของประชาชนหลัก ธรรมาภิบาล การรับรู้ข้อมูลข่าวสาร การกระจายอำนาจ การมีส่วนร่วมของประชาชน ชุมชนและ ภูมิ สังคม ดังนั้น เพื่อให้แผนบริหารจัดการแปลงไปสู่การปฏิบัติ จึงได้จัดทำแผนปฏิบัติการ แบ่งออกเป็น 2 ระยะ คือ ระยะ 4 ปี และระยะ 1 ปี โดยนำเสนอต้นแบบการบริหารจัดการทรัพยากรดินระดับลุ่มน้ำใน พืน้ ท่อี นื่ ๆ ครอบคลมุ การแกไ้ ขและป้องกันการชะลา้ งพงั ทลายของดินและฟ้นื ฟูพื้นเกษตรกรรมครอบคลุม ทั้งประเทศ ครอบคลุมทุกมิติแบบองค์รวม (interdisciplinary) ประกอบด้วย มิติทางกายภาพ สังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อม โดยกำหนดทิศทางจากสภาพปัญหาเป็นตัวนำ (problem orientation) ความรู้ทางวิชาการที่หลากหลายสาขาผ่านกระบวนการคิด วิเคราะห์ จากงานวิจัย (research) และ เทคโนโลยีด้านการพัฒนาที่ดิน การอนุรักษ์ดินและน้ำ ผ่านกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชน (participation approach) แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟูพน้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษด์ นิ และน้า ล่มุ น้าหว้ ยน้าแหง

26 . แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟูพน้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษด์ นิ และน้า ลมุ่ น้าหว้ ยน้าแหง

27 3 แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟูพน้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษด์ นิ และน้า ลมุ่ น้าหว้ ยน้าแหง

3 28 พื้นที่ลุ่มน้ำห้วยน้ำแหง มีพื้นที่รวมทั้งสิ้น 146.71 ตารางกิโลเมตร หรือ 91,696 ไร่ โดยตั้งอยู่ ระหว่างเส้นรุ้งที่ 18 28' ถึง 18 44' องศาเหนือ และเส้นแวงที่ 100 54' ถึง 100 71' องศาตะวันออก อยู่ ในลุ่มนำ้ น่าน และเป็นสว่ นหนง่ึ ของลุ่มนำ้ สาขานำ้ แหง โดยพืน้ ทส่ี ่วนใหญ่อยู่ใน ตำบลน้ำตก ตำบลบัวใหญ่ ตำบลสันทะ ตำบลเชยี งของ ตำบลศรษี ะเกษ และตำบลนาน้อย อำเภอนาน้อย จังหวัดนา่ น ลักษณะลุม่ น้ำ วางตวั ตามแนวทิศตะวันตก - ตะวันออก มีอาณาเขตติดตอ่ (ภาพที่ 3-1) ดงั น้ี ทศิ เหนอื ตดิ ตอ่ ลมุ่ นำ้ สาขานำ้ แหง (0910) ลมุ่ นำ้ นา่ น (09) ทศิ ใต้ ตดิ ตอ่ ลุ่มนำ้ สาขานำ้ แหง (0910) ลุ่มนำ้ น่าน (09) ทศิ ตะวันออก ติดตอ่ ลมุ่ นำ้ สาขาแม่น้ำน่านสว่ นที่ 3 (0907) ลมุ่ น้ำน่าน (09) ทิศตะวนั ตก ตดิ ตอ่ ลมุ่ น้ำสาขาน้ำแม่คำมี (0807) ลมุ่ นำ้ แม่คำปองเขตที่ 1 (08) สภาพภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นพ้ืนทีเ่ นินเขาถึงพื้นที่สูงชนั รองลงมา เป็นพื้นท่ีลูกคลื่นลอนลาดชันพืน้ ท่ี ลูกคลื่นลอนลาด พื้นที่สูงชันมาก ลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย พื้นที่ราบเรียบหรือค่อนข้างราบเรียบ และ พื้นที่สูงชั้นมากที่สุดตามลำดับ มีความสูงจากระดับทะเลปานกลาง 254-1,294 เมตร โดยมีห้วยน้ำสระ และหว้ ยนำ้ แหง ไหลผ่านพื้นทจ่ี ากทิศตะวันตกลงไปแม่น้ำน่านทางทศิ ตะวันออกของพน้ื ท่ีโครงการ (ภาพที่ 3-1 และภาพท่ี 3-2) ตารางที่ 3-1 ความลาดชันพ้นื ท่ลี ่มุ น้ำห้วยนำ้ แหง อำเภอนาน้อย จังหวดั นา่ น ความลาดชนั (เปอรเ์ ซน็ ต์) สภาพพื้นที่ เนื้อท่ี 0-2 ราบเรยี บหรือคอ่ นขา้ งราบเรียบ ไร่ ร้อยละ 2-5 ลกู คลน่ื ลอนลาดเล็กนอ้ ย 2,459 2.68 5-12 ลูกคลนื่ ลอนลาด 3,575 3.90 12-20 ลกู คล่ืนลอนชนั 9,563 10.43 20-35 เนินเขา 13,984 15.25 35-50 สูงชนั 34,339 37.45 50-75 สงู ชนั มาก 20,885 22.77 >75 สงู ชนั มากท่ีสดุ 6,417 7.00 474 0.52 รวมเนื้อที่ 91,696 100.00 แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟูพน้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษด์ นิ และน้า ลุ่มน้าหว้ ยน้าแหง

29 ภาพที่ 3-1 ที่ตงั้ และอาณาเขต และลกั ษณะภมู ปิ ระเทศ พนื้ ท่ีล่มุ น้ำห้วยนำ้ แหง อำเภอนานอ้ ย จังหวดั นา่ น แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟูพน้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษ์ดนิ และน้า ลมุ่ น้าหว้ ยน้าแหง

30 ภาพที่ 3-2 ความลาดชนั พืน้ ทล่ี มุ่ นำ้ หว้ ยนำ้ แหง อำเภอนานอ้ ย จงั หวดั น่าน แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟูพน้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษ์ดนิ และน้า ลุ่มน้าหว้ ยน้าแหง

31 พน้ื ที่โครงการอย่ใู นพนื้ ท่ีตอนลา่ งของจงั หวดั น่าน ไดร้ บั อิทธิพลของลมมรสุมตะวนั ตกเฉียงใต้ และ ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ นอกจากนี้ยังมีพายุดีเปรสชั่นและพายุใต้ฝุ่นพัดผ่านมาจากทะเลจีนใต้เข้า มาเป็นครั้งคราว ส่งผลทำใหเ้ กิดฤดูกาลตา่ ง ๆ ได้แก่ ฤดูฝนจะเกิดในช่วงเดือนพฤษภาคมถึงเดือนตุลาคม ฤดูหนาวจะเกิดในช่วงปลายเดือนตุลาคมถึงเดือนกุมภาพันธ์และฤดูร้อนจะเกิดในช่วงเดือนมีนาคมถึง เดือนเมษายน นอกจากนี้ จังหวัดน่านยังมีสภาพภูมิประเทศโดยรอบเป็นหุบเขาและภูเขาสูงชันมาก ทิว เขาวางตัวในแนวเหนือใต้ ทำให้บริเวณยอดเขา รับความกดอากาศสูงที่แผ่มาจากประเทศจีนในฤดูหนาว ได้ทั่วถึงและเต็มที่ ขณะเดียวกันที่ทิวเขาวางตัวเหนือใต้ทำให้เสมือนกำแพงปิดกั้นลมมรสุมทางทิศ ตะวันออก รวมทั้งยังมีระดับความสูงเฉลี่ยบนยอดเขากับความสูงเฉลี่ยในพื้นที่ลุ่มแตกต่างกันมาก จาก ปัจจัยทั้งหลายเหล่านี้ ในตอนกลางวันถูกอิทธิพลของแสงแดดเผา ทำให้อุณหภูมิร้อนมาก และในตอน กลางคนื จะไดร้ บั อทิ ธิพลของลมภูเขา พัดลงสู่หบุ เขา ทำใหอ้ ากาศเยน็ ในตอนกลางคนื จากข้อมูลอุตุนิยมวิทยาของกรมอุตุนิยมวิทยา มีสถานีตรวจอากาศในพื้นที่ ได้แก่ สถานีตรวจวัด อากาศของกรมอุตุนิยมวิทยา อำเภอเมืองน่าน จังหวัดน่าน โดยแบ่งรายละเอียดของลักษณะภูมิอากาศ ของสถานีตรวจอากาศ ชว่ ง 30 ปี คือ (ปี พ.ศ. 2531-2561) รายละเอยี ด ดังนี้ จังหวัดน่าน มีอุณหภูมิเฉลี่ยตลอดปี 26.2 องศาเซลเซียส มีอุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ยตลอดปี 33.2 องศาเซลเซียส โดยพบอุณหภูมิสูงสุดในเดือนเมษายน คือ 37.1 องศาเซลเซียส และมีอุณหภูมิต่ำสุด เฉลีย่ ตลอดปี 20.7 องศาเซลเซียส โดยพบอุณหภูมติ ำ่ สุดในเดือนมกราคม คอื 14.7 องศาเซลเซียส จังหวดั นา่ น มปี ริมาณน้ำฝนรวม 1,262.0 มิลลเิ มตร โดยในเดอื นสิงหาคม มปี ริมาณน้ำฝน เฉลยี่ มากท่ีสุด 271.4 มิลลิเมตร และเดือนกุมภาพันธ์มีปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยน้อยที่สุด คือ 9.5 มิลลิเมตร ปรมิ าณนำ้ ฝนใชก้ ารได้ คอื ปริมาณนำ้ ฝนทเี่ หลืออยู่ในดนิ ซ่ึงพืชสามารถนำไปใช้ประโยชน์ ได้ภายหลังจากมีการไหลซึมลงไปในดินจนดนิ อิ่มตวั ดว้ ยน้ำแล้วไหลบ่าออกมากักเก็บในพื้นดินจังหวัดน่าน มีปริมาณน้ำฝนใช้การได้ 893.5 มิลลิเมตร ในเดือนสิงหาคม มีปริมาณน้ำฝนใช้การได้มากที่สุด 152.1 มลิ ลิเมตร และเดอื นกุมภาพันธ์มปี รมิ าณน้ำฝนใช้การได้น้อยท่สี ดุ คอื 9.4 มิลลเิ มตร จังหวัดน่าน พบว่า มีความชื้นสัมพัทธ์เฉลี่ยตลอดปี 77.0 เปอร์เซ็นต์ ปริมาณการคาย ระเหยเฉลี่ยตลอดปี 59.0 มิลลิเมตร ปริมาณการคายระเหยสูงสุด 71.9 มิลลิเมตร ในเดือนพฤษภาคม ปริมาณการคายระเหยต่ำสุด 43.1 มลิ ลเิ มตร ในเดือนมกราคม แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟพู น้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษ์ดนิ และน้า ล่มุ น้าหว้ ยน้าแหง

32 การวิเคราะห์ช่วงฤดูเพาะปลูกพืชเพื่อหาช่วงเวลาที่เหมาะสมในการปลูกพืชโดยใช้ข้อมูล ปริมาณน้ำฝนเฉลี่ย และค่าศักยภาพการคายระเหยน้ำของพืชรายเดือนเฉลี่ย (Evapotranspiration : ETo) ซึ่งคำนวณและพิจารณาจากระยะเวลาช่วงที่เส้นน้ำฝนอยู่เหนือเส้น 0.5 ETo ถือเป็นช่วงระยะเวลาท่ี เหมาะสมในการปลูกพืช จากการวิเคราะห์ช่วงฤดูกาลที่เหมาะสมจากการปลูกพืชเศรษฐกิจจังหวัดน่าน สามารถสรปุ ไดด้ ังนี้ 1) ช่วงระยะเวลาท่ีเหมาะสมต่อการปลูกพืช เป็นช่วงที่ดินมคี วามชื้นพอเหมาะตอ่ การปลูกพืช ซึ่งเป็นช่วงฤดูฝนปกติอยู่ในช่วงระหว่างต้นเดือนมีนาคมถึงกลางเดือนพฤศจิกายน ซึ่งในช่วงกลางเดือน พฤศจิกายนน้ัน เป็นช่วงที่มีปริมาณน้ำฝนเพียงเล็กน้อยแต่เนื่องจากมีปริมาณน้ำที่สะสมไว้ในดิน จึงมี ความชื้นในดินเพียงพอสำหรับปลูกพืชอายุสั้นได้ แต่ควรมีการวางแผนจัดการระบบการเพาะปลูกให้ เหมาะสมสำหรับพื้นที่เพาะปลูกแต่ละแห่ง เนื่องจากอาจต้องอาศัยน้ำจากแหล่งน้ำในไร่นาหรือน้ำ ชลประทานชว่ ยในการเพาะปลกู บา้ ง 2) ช่วงระยะเวลาที่มีน้ำมากเกินพอ เป็นช่วงที่ดินมีความชื้นสูงและมีฝนตกชุก อยู่ใน ช่วง ระหว่างปลายเดือนมีนาคมถงึ ปลายเดอื นตุลาคม 3) ช่วงระยะเวลาที่ไม่เหมาะสมต่อการปลูกพืชโดยอาศัยน้ำฝน เนื่องจากมีปริมาณฝน และการ กระจายของฝนนอ้ ย ทำใหด้ นิ มีความชื้นไมเ่ พียงพอต่อการเจริญเติบโตของพืชอยู่ในชว่ งระหวา่ งกลางเดือน พฤศจิกายนถึงต้นเดือนมีนาคม ซึ่งในช่วงเวลาดังกล่าวถ้าพื้นที่เพาะปลูกแห่งใดมีการจัดการระบบ ชลประทานทด่ี กี ส็ ามารถปลูกพชื ฤดแู ล้งได้ ตารางที่ 3-2 สถิตภิ ูมิอากาศ โดยเฉล่ียในคาบ 30 ปี (พ.ศ. 2531-2561) ณ สถานตี รวจวัดอากาศ จังหวดั นา่ น เดือน ปริมาณ นำ้ ฝนทใี่ ช้ จำนวนวนั อุณหภูมิ (๐ซ) ความชื้น ศกั ยภาพการคาย น้ำฝนเฉลย่ี (มม.) ประโยชน์ (มม.)* ท่ฝี นตก สงู สดุ ตำ่ สดุ เฉลยี่ สมั พัทธ์ (%) ระเหยนำ้ (มม.)* ม.ค. 11.6 11.4 2 30.8 14.7 21.7 76.0 43.1 ก.พ. 9.5 9.4 2 33.6 16.0 23.8 69.0 44.2 ม.ี ค. 39.5 37.0 4 36.2 19.4 27.0 65.0 58.3 เม.ย. 99.8 83.9 9 37.1 22.6 29.1 68.0 65.7 พ.ค. 181.6 128.8 16 35.2 23.9 28.8 76.0 71.9 มิ.ย. 131.2 103.7 16 33.8 24.3 28.5 79.0 69.9 ก.ค. 211.4 139.9 20 32.6 24.1 27.8 82.0 71.0 ส.ค. 271.4 152.1 22 32.2 23.8 27.4 84.0 68.5 ก.ย. 211.1 139.8 17 32.8 23.6 27.3 84.0 62.4 ต.ค. 64.8 58.1 10 32.7 22.2 26.6 82.0 58.3 พ.ย. 17.8 17.3 3 31.6 18.9 24.3 79.0 49.2 ธ.ค. 12.3 12.1 1 30 15.3 21.5 78.0 44.0 รวม 1,262.0 893.5 - - -- - 706.5 เฉล่ยี - - 10 33.2 20.7 26.2 77.0 59.0 แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟพู น้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษด์ นิ และน้า ลมุ่ น้าหว้ ยน้าแหง

33 ภาพที่ 3-3 สมดลุ ของน้ำเพื่อการเกษตร (พ.ศ. 2531-2561) จงั หวดั นา่ น หมายเหตุ : *ได้จากการคำนวณ จากการศกึ ษาและวเิ คราะหข์ ้อมลู ทรัพยากรดนิ ในระดับชดุ ดิน มาตราส่วน 1:25,000 ในพนื้ ทล่ี ่มุ น้ำ ห้วยน้ำแหง ซึ่งมีเนื้อท่ีครอบคลุม 91,696 ไร่ สามารถจำแนกเป็นหน่วยแผนที่ดินได้ 20 หน่วยแผนท่ี (ตารางที่ 3-3 และภาพที่ 3-4) ประกอบด้วย ระดับหน่วยจำแนก มี 6 ชุดดิน (11 หน่วยแผนที่) ดินคล้าย 6 ดิน (6 หน่วยแผนที่) มีเนื้อที่ 20,787 ไร่หรือร้อยละ 12.66 ของเนื้อที่ทั้งหมด (รายละเอียดชุดดินตาม ภาคผนวกท่ี 1) พน้ื ที่ลาดชันเชงิ ซ้อน (SC) มี 1 หนว่ ยแผนท่ี ซงึ่ มีการกระจายตัวเปน็ ส่วนใหญ่ของพื้นที่ มี เนื้อท่ี 68,030 ไร่ หรือรอ้ ยละ 74.20 ของเน้อื ทีท่ ้ังหมด และพืน้ ทเี่ บ็ดเตลด็ ประกอบด้วย พ้ืนท่ีชุมชนและ สิ่งปลูกสร้าง (U) 1 หน่วยแผนที่ และพื้นที่น้ำ (W) 1 หน่วยแผนที่ มีเนื้อที่ 2,879 ไร่ หรือร้อยละ 3.14 ของเน้อื ท่ีทงั้ หมด (ตารางที่ 3-3, ภาพที่ 3-4) เมื่อพิจารณาการกระจายตัวของดิน จะเห็นว่า ชุดดินที่มีการกระจายตัวมากที่สุด คือ ชุดดินวังสะ พุง (Ws) และดินคล้ายชุดดินวังสะพุง (Ws varients) มีเนื้อที่ 7,036 ไร่ ร้อยละ 7.66 ของเนื้อที่ทั้งหมด กระจายครอบคลุมในพื้นที่ตำบลน้ำตก ตำบลนาน้อย ตำบลบัวใหญ่ และตำบลศรีษะเกษ ลักษณะดินเป็นดิน เหนียว ลกึ ปานกลางถึงลกึ มาก มีเนือ้ ดินบนเป็นดนิ ร่วนถึงดนิ ร่วนปนดนิ เหนยี ว ดินลา่ งเป็นดินเหนยี ว พบใน สภาพพื้นที่แบบลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อยถึงลูกคลื่นลอนลาด นอกจากนี้ ยังพบการกระจายตัวของกลุ่ม ดินตน้ื ประกอบด้วยชดุ ดนิ แม่ริม (Mr) มีเนื้อที่ 6,253 ไร่ หรอื ร้อยละ 6.82 ของเนือ้ ท่ที งั้ หมด และชุดดินลี้ (Li) มีเนื้อที่ 5,157 ไร่ หรือร้อยละ 5.62 ของเนื้อที่ทั้งหมด ตามลำดับ ส่วนใหญ่พบกระจายตัวในพื้นท่ี แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟพู น้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษด์ นิ และน้า ล่มุ น้าหว้ ยน้าแหง

34 ทางตอนล่างของตำบลบัวใหญ่ ตอนกลางของตำบลน้ำตก และตอนบนของตำบลนาน้อย ดินมีลักษณะเป็นดนิ ตื้นถึงชั้นก้อนกรวดมน และชั้นหินพื้น เป็นดินร่วนถึงดินเหนียวปนกรวด หรือเศษหิน สภาพพื้นที่แบบลูก คลื่นลอนลาดเล็กน้อยถึงลูกคลื่นลอนชัน ดินบนมีเนื้อดินเป็นดินร่วนปนทรายถึงดินร่วนปนดินเหนียวปน กรวด หรือเศษหิน ดินล่างมีเนื้อดินเป็นดินร่วนปนทรายถึงดินเหนียวปนกรวด หรือเศษหินมาก สำหรับ กลุ่มดินร่วนหยาบ ประกอบด้วย ชุดดินสันป่าตอง (Sp) มีเนื้อที่ 636 ไร่ หรือร้อยละ 0.69 ของเนื้อที่ทัง้ หมด สว่ นใหญพ่ บกระจายตวั ในพ้ืนที่ตำบลนานอ้ ย และตำบลบวั ใหญ่ดนิ ร่วนหยาบ (ดินคอ่ นข้างเป็นทราย) ลีกมาก สภาพพน้ื ที่แบบลูกคล่นื ลอนลาดเลก็ น้อย ดนิ บนมเี น้ือดินเป็นดินร่วนปนทราย ดนิ ล่างมีเนอื้ ดนิ เป็นดินร่วน ปนทรายถึงดินร่วนเหนียวปนทราย ซึ่งกลุ่มดินเหล่านี้มีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดการชะล้างพังทลาย โดยเฉพาะดินที่มีลักษณะเน้ือดินบนและดินลา่ งต่างกัน และมีความลาดชันสูง (สภาพพื้นที่ลูกคลื่นลอนชัน ความลาดชัน 12-20 เปอร์เซ็นต์) ควรมีมาตรการอนุรักษ์ดินและน้ำที่เหมาะสม เช่น การทำคันดินกั้นน้ำ ทำขั้นบันได และปลูกพืชตามแนวระดับขวางความลาดชันของพื้นที่ เพื่อชะลอความเร็วของน้ำที่ไหลบ่า ผา่ นผิวดิน ช่วยลดการชะลา้ งของหนา้ ดิน และน้ำซึมผ่านลงไปในดนิ ชัน้ ล่างไดม้ ากขน้ึ ทำให้ความชื้นในดิน มากขน้ึ นอกจากนี้ ควรปลกู พชื คลมุ ดนิ เพอื่ ช่วยรักษาความชน้ื ของดินไว้และยังช่วยลดการชะล้างพังทลาย ของดินได้อกี ด้วย เมื่อพิจารณาถึงปัจจยั ดา้ นลกั ษณะของดินที่มีผลต่อการชะลา้ งพงั ทลายของดนิ ซึ่งดินแต่ละชนิดจะ ทนต่อการชะล้างพังทลายทีแ่ ตกตา่ งกันในสภาพแวดล้อมท่ีคล้ายคลึง โดยเฉพาะค่าปัจจัยความคงทนของ ดิน (K-factor) ที่สามารถนำไปประเมินการสูญเสียดินในสมการการสูญเสียดินสากล (USLE) จะเห็นว่า ปัจจัยสมบัติดินที่มีผลต่อค่าปจั จัยความคงทนของดิน ได้แก่ (1) ผลรวมปริมาณร้อยละของทรายแป้งและ ปริมาณร้อยละของทรายละเอียดมาก (% silt + % very fine sand) (2) ปริมาณร้อยละของทราย (%sand) (3) ปริมาณร้อยละของอินทรียวัตถุในดิน (% organic matter) (4) โครงสร้างของดิน (soil structure) และ (5) การซาบซึมน้ำของดิน (permeability) (กรมพัฒนาที่ดิน, 2545) จากการศึกษาค่า ปจั จยั ความคงทนของดินต่อการชะล้างพังทะลาย (K-factor) ตามชนดิ วัตถตุ ้นกำเนิดดนิ ในพ้ืนที่สูงของลุ่ม นำ้ น่านพบวา่ ผลรวมปริมาณรอ้ ยละของทรายแป้งและปริมาณร้อยละของทรายละเอียดมากมีค่าสูง สง่ ผล ให้ค่า K-factor สงู และปรมิ าณร้อยละของอนิ ทรียวัตถุในดนิ สงู ส่งผลให้ค่า K-factor ต่ำ และยังพบว่าดิน ในกลมุ่ วัตถตุ ้นกำเนิดดินพวกหินตะกอนเน้ือหยาบมแี นวโนม้ ให้ค่า K-factor มากท่ีสุด และดินในกลุ่มวัตถุ ต้นกำเนิดดินพวกหินอัคนีสีเข้มมีค่า K-factor น้อยที่สุด (กองสำรวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน, 2562) จากลักษณะและสมบตั ิดินดงั กลา่ วช้ีให้เหน็ ว่า ดินทม่ี คี ่า K-factor สูง (งา่ ยต่อการกร่อน) จะมีแนวโน้มเกิด การชะล้างพังทลายของดินได้สูง ส่วนดินที่มีค่า K-factor ต่ำ (ยากต่อการกร่อน) จะมีแนวโน้มเกิดการ ชะลา้ งพงั ทลายของดินได้ตำ่ นอกจากปัจจัยด้านลักษณะสมบัติของดินแล้ว ปัจจัยด้านสภาพพื้นที่และการใช้ประโยชน์ท่ีดินก็มี ผลต่อการชะล้างพังทลายของดนิ โดยเฉพาะความลาดชันของพื้นท่ีจะมีผลโดยตรงต่อการชะล้างพังทลาย ของผิวหน้าดนิ การไหลบ่าของน้ำผา่ นผวิ หนา้ ดิน ระดับน้ำใต้ดิน ความชื้นในดิน การระบายน้ำ ความยาก งา่ ยตอ่ การกักเก็บนำ้ และการเขตกรรม ดังน้นั สภาพพืน้ ท่ีจงึ เป็นปจั จัยท่สี ำคัญอย่างหน่ึงท่ีควบคุมลักษณะ แผนบรหิ ารจดั การป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟ้ืนฟพู น้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษ์ดนิ และน้า ลุม่ น้าหว้ ยน้าแหง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook