การจัดทาแผนการบรหิ ารจดั การปอ้ งกันการชะล้างพงั ทลายของดินและฟน้ื ฟูพ้ืนทเี่ กษตรกรรม ดว้ ย ระบบอนุรักษ์ดินและน้า มีความสอดคล้องและเชื่อมโยงของยุทธศาสตรช์ าติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580) : ยุทธศาสตร์ที่ 5 ด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตท่ีเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ความสอดคล้องของ แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ: แผนแม่บทการบริหารจัดการน้าท้ังระบบ และสอดคล้องของ ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการน้าของประเทศ (พ.ศ. 2558 - 2569): ยุทธศาสตร์ที่ 5 การอนุรักษ์ฟื้นฟู สภาพป่าต้นน้าที่เสื่อมโทรมและป้องกันการพังทลายของดิน กลยุทธ์: การอนุรักษ์ฟื้นฟูพ้ืนที่เกษตรกรรม ในพ้ืนที่ดินเส่ือมโทรมและชะล้างพังทลายของดิน โดยมีเป้าหมายสาคัญสูงสดุ คือ พ้ืนท่ีเกษตรกรรมได้รับ การอนุรักษ์และฟ้ืนฟูให้สามารถใช้ท่ีดินได้อย่างถูกต้องและเหมาะสมตามศักยภาพของพ้ืนที่ ไม่น้อยกว่า 20 ลา้ นไร่ ภายใน 20 ปี คณะทางานจัดทาแผนการบรหิ ารจัดการโครงการป้องกันการชะล้างพังทลายของดนิ และฟื้นฟูพื้นท่ี เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้า พ้ืนท่ีลุ่มน้าคลองแอ่ง อาเภอบ่อไร่ จังหวัดตราด ได้ดาเนินการ ศึกษา วิเคราะห์ และประเมินสถานภาพทรัพยากรดินเชิงระบบสาหรับแก้ปัญหาด้านการชะล้างพังทลาย ของดินและฟื้นฟูพื้นท่ีเกษตรกรรม ผ่านกระบวนการมีส่วนร่วมและความต้องการของชุมชน และการรับ ฟังขอ้ คดิ เหน็ ข้อเสนอแนะจากหน่วยงานภาคเี ครือข่ายทเี่ ก่ยี วข้องทงั้ ในส่วนกลางและสว่ นภมู ภิ าค ทาให้ได้ ต้นแบบแผนการบริหารจัดการโครงการที่กรมพัฒนาที่ดนิ สามารถนาไปใช้ในการขับเคลื่อนการดาเนินงาน ด้านการอนุรักษ์ดินและน้าให้บรรลุเป้าหมายตามยุทธศาสตร์ชาติ แผนปฏิรูปประเทศ และแผนบริหาร จัดการนา้ ของประเทศ การกาหนดกรอบแนวคิดจากหลักการ เขา้ ใจ เข้าถงึ และพัฒนา โดยการนาฐานข้อมลู ด้านทรัพยากรดิน ประกอบด้วย ดินปัญหาและการชะล้างพังทลายของดิน เป็นตัวกาหนดพ้ืนท่ีเป้าหมายจากสภาพปัญหา สาหรับนาไปใชใ้ นการบริหารจดั การ โดยยดึ ประชาชนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนาและเน้นกระบวนการมี ส่วนร่วมของชุมชน บูรณาการข้อมูลเชิงสหวิชาการเพื่อใช้ในการพัฒนาและวางแผนการใช้ท่ีดิน กาหนด มาตรการด้านการอนุรักษ์ดินและน้าให้สอดคล้องกับสภาพปัญหาของพ้ืนท่ีและความต้องการของชุมชน เพื่อให้ได้เขตอนุรักษ์ดินและน้าท่ีมีการบริหารจัดการเชิงระบบ เกษตรกรสามารถใช้ประโยช น์พื้นท่ี การเกษตรไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ และเหมาะสมตามศกั ยภาพของที่ดิน โดยสามารถสรุปผลการจัดทาแผน บริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพ้ืนท่ีเกษตรกรรม ด้วยระบบอนุรักษ์ดินและนา้ ดังน้ี
จากการศึกษาและสารวจข้อมูลดินในพ้ืนท่ีลุ่มน้าคลองแอ่ง อาเภอบ่อไร่ จังหวัดตราดเพ่ือจัดทา ฐานข้อมูลและประเมินสถานภาพทรัพยากรดิน โดยเน้นด้านการชะล้างพังทลายของดิน ทั้งนี้เพื่อนาไปสู่ การวิเคราะห์แนวทางการใช้ทีด่ ินด้านการเกษตร และกาหนดมาตรการเพ่ือป้องกันชะล้างพังทลายของดิน และอนุรักษ์ดินและน้าที่เหมาะสม ผลการจาแนกสภาพปัญหาของดินหรือข้อจากัดต่อการใช้ที่ดินด้าน การเกษตร แบ่งเป็น 3 ประเภทหลัก ได้แก่ (1) ดินต้ืน เป็นอุปสรรคต่อการเจริญเติบโตของพืชด้านการชอน ไชของรากพืช ครอบคลุมเนื้อที่รวม 22,011 ไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 25.92 (2) ดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่า ครอบคลุมเน้ือท่ีรวม 5,248 ไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 6.20 และ (3) ปัญหาพ้ืนท่ีมีความลาดชันสูง ส่วนใหญ่ มสี ภาพการใชท้ ีด่ นิ เปน็ ปา่ ไม้ มเี น้อื ที่ 34,809 ไร่ หรือคิดเปน็ ร้อยละ 41.00 ของเนอ้ื ท่ีทั้งหมด จากการศกึ ษาความสัมพนั ธข์ อง 3 ปจั จยั หลัก ได้แก่ การใชท้ ี่ดนิ ทรัพยากรดนิ และข้อมูลสภาพ ภูมิอากาศ พบว่า พ้ืนที่ลุ่มน้าคลองแอ่งมีพ้ืนท่ี 135.82 ตารางกิโลเมตร (84,890 ไร่ ) มีปริมาณน้าท่าคิด เป็น 251.40 ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี มีแนวโน้มว่าปริมาณน้าอาจไม่เพียงพอต่อความต้องการใช้น้าใน อนาคต การเปลี่ยนแปลงการใช้ท่ีดินในพ้ืนท่ีเกษตรกรรมในภาพรวมมีแนวโน้มเพิ่มข้ึนจากปี พ.ศ. 2556 เลก็ น้อย โดยมีเนอ้ื ท่ีเพ่ิมขึ้นประมาณ 121 ไร่ หรอื คดิ เป็นร้อยละ 0.15 ของเน้ือที่เกษตรกรรมเดิม เนื่องจาก การเพิ่มขึ้นของประชากรในพื้นที่ และการเพ่ิมข้ึนของภาคอุตสาหกรรมและการท่องเท่ียว ทาให้มีความ ตอ้ งการสนิ ค้าเกษตรกรรมเพมิ่ ขึ้น โดยเฉพาะการใช้ที่ดนิ สาหรบั ไมย้ นื ตน้ ซ่ึงมีพ้นื ทเ่ี พม่ิ ข้นึ ในปี พ.ศ. 2562 ร้อยละ 1.23 ของเน้ือท่ีปลูกไม้ยืนต้นเดิม (พ.ศ. 2556) ซ่ึงส่วนใหญ่เป็นไม้ยืนต้นที่มีมูลค่าทางเศรษฐกิจ เช่น ยางพารา ปาล์มน้ามัน กฤษณา นอกจากน้ีมีพื้นที่ปลูกข้าวและพืชไร่ลดลง เนื่องจากสภาพพื้นที่ท่ีไม่ ค่อยเหมาะสม และราคาของสินค้าเกษตรในตลาดมกี ารเปลี่ยนแปลง พ้ืนท่ีส่วนใหญ่มีความรุนแรงของการชะล้างพังทลายในระดับน้อย โดยมีปริมาณการสูญเสียดิน 0-2 ตันต่อไร่ต่อปี โดยครอบคลุมพ้ืนที่ร้อยละ 50.10 ของเนื้อที่ทั้งหมด นอกจากนี้ ในพื้นที่ที่มีสภาพภูมิ ประเทศแบบเนินเขา แบบสูงชัน และแบบสูงชันมากจะเกิดการชะล้างพังทลายของดินท่ีมีความรุนแรงมาก ท่ีสุด โดยกอ่ ให้เกดิ ปรมิ าณการสูญเสยี ดนิ มากกวา่ 20 ตันต่อไรต่ ่อปี (รอ้ ยละ 14.02 ของเนอื้ ท่ที ้งั หมด) เม่ือพิจารณาถึงการประเมินการชะล้างพังทลายของดินในแต่ละพื้นที่ และแต่ละระดับ แม้ใน พ้ืนท่ีที่มีการชะล้างพังทลายในระดับน้อย มีปริมาณการสูญเสียดิน 0-2 ตันต่อไร่ต่อปี ก็ไม่ควรเพิกเฉยต่อ
การใช้มาตรการอนุรักษ์ดินและน้า และหากมีการละเลยหรือมีการจัดการท่ีไม่เหมาะสม ไม่ถูกต้องตาม หลักวิชาการอาจส่งผลกระทบท่ีรุนแรงขึ้น ก่อให้เกิดปัญหาการสูญเสียดิน ปริมาณและคุณภาพผลผลิต และส่งผลกระทบต่อต้นทุนการผลิต การจัดการดิน น้า ปุ๋ย จนส่งผลให้เกษตรกรในพื้นที่มีค่าใช้จ่ายท่ีเพมิ่ สงู ขน้ึ ตามไปด้วย จากการศึกษาข้อมูลเศรษฐกิจและสังคมโดยเฉพาะในพ้ืนที่ได้รับผลกระทบจากการชะล้าง พังทลายของดิน พบว่า เกษตรกรมีความรู้ ความเข้าใจในวิธีการรักษาและป้องกันไมใ่ ห้เกิดการชะล้างพงั ทลาย ของดินในแต่ละวิธีการมากน้อยแตกต่างกัน เม่ือพิจารณาความต้องการ วิธีการรักษาและป้องกันการชะล้าง พังทลายของดิน จะเห็นว่า เกษตรกรมีความต้องการ การทาฝายน้าล้น หรือคันชะลอความเร็วของน้า การ ขุดลอกลาน้า การทาระบบส่งน้า การยกร่อง และการปลูกแฝกเพื่อลดการชะล้างพังทลายของดิน เมื่อ พิจารณาผลกระทบด้านต้นทุนการผลิต ผลผลิต และผลตอบแทนเหนือต้นทุนทั้งหมดของการปลูกพืชใน พ้ืนที่ท่ีมีระดับการชะล้างพังทลายของดินต่างกัน จะเห็นว่า ต้นทุนการผลิตของแต่ละพืช มีแนวโน้มสูงขึ้น ตามระดับความรุนแรงของการชะล้างพังทลายของดินที่เพิ่มข้ึน โดยเฉพาะในพ้ืนที่ปลูกไม้ผลผสม ซ่ึง ต้นทนุ เพิ่มขึ้นอาจเปน็ ผลจากการเปล่ยี นแปลงต้นทุนผนั แปรในการผลิต เชน่ ค่าจา้ งแรงงาน คา่ เมล็ดพันธ์ุ ค่าปุ๋ย นอกจากนี้ ยังพบว่า ผลผลิตของทุกพืชลดลงตามความรุนแรงของการชะล้างพังทลายของดิน โดยเฉพาะไมผ้ ล และยางพารา ในการคดั เลือกพ้นื ท่ีเพ่ือดาเนนิ การ โดยอาศัยปจั จัยหลักและเกณฑท์ ี่กาหนด สาหรบั พจิ ารณาจดั ลาดับ ความสาคญั มี 6 ดา้ น ประกอบดว้ ย (1) ระดับความรนุ แรงของการชะลา้ งพงั ทลายของดิน (2) เอกสารสทิ ธิ์ (3) การใชท้ ดี่ นิ (4) กจิ กรรมทด่ี าเนนิ งานในพื้นที่ (5) แผนปฏบิ ัตงิ านของพื้นท่ี (6) ความตอ้ งการของชมุ ชน พบว่า ในแต่ละสภาพพ้ืนที่ส่วนใหญ่มีลักษณะใกล้เคียงกัน อย่างไรก็ตาม เพื่อให้การดาเนินงานสอดคล้อง กับสภาพปัญหาของพ้ืนท่ีและความต้องการของชุมชน สามารถนามาจัดทาแผนการดาเนินงานแบ่ง ออกเป็น 4 ระยะ โดยมีเป้าหมายไม่น้อยกว่า 10,000 ไร่ต่อปี ได้แก่ ระยะท่ี 1 (ปี 2564) ดาเนินงานใน พ้นื ที่ หมู่ 2 บา้ นชา้ งทูน หมู่ 3 บ้านหนองแฟบ หมู่ 4 บา้ นหนองมาตร หมู่ 5 บา้ นหนองไมห้ อม ตาบลชา้ ง ทูน ระยะท่ี 2 (ปี 2565) ดาเนนิ งานในพื้นที่ หมู่ 1 บา้ นหนองบอน หมู่ 2 บ้านตรอกเกสร ตาบลหนองบอน ระยะท่ี 3 (ปี 2566) ดาเนินงานในพื้นที่ หมู่ 1 บ้านมะนาว ตาบลบ่อพลอย และ หมู่ 1 บ้านคลองขวาง ตาบลช้างทูน และระยะที่ 4 (ปี 2567) ดาเนินงานในพื้นท่ีหมู่ 3 บ้านเนินพัฒนา หมู่ 4 บ้านคอแล และ หมู่5 บ้านมะอึกแรด ตาบลหนองบอน โดยกาหนดแนวทางและมาตรการท่ีมีความสอดคล้องกับสภาพ ปญั หา แผนการใชท้ ี่ดนิ บนพน้ื ฐานการมีส่วนร่วม ดงั น้ี แบ่งตามระดับความรุนแรงของการชะล้างพังทลายของดิน ในพ้ืนที่ท่ีมีระดับรุนแรงมาก และระดับปาน
กลาง กาหนดมาตรการในการไถพรวนและปลูกพชื ตามแนวระดบั แนวหญา้ แฝก ทางลาเลียงในไร่นา ทาง ระบายน้า ฝายชะลอน้า และบ่อดักตะกอน ส่วนระดับรุนแรงน้อย มีมาตรการเพิ่มเติมตามลักษณะภูมิ ประเทศ คอื การไถพรวนดนิ การปรบั ระดบั และปรับรปู แปลงนา สว่ นใหญ่มปี ัญหา ดินตื้น และดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่า กาหนดมาตรการโดยเน้นการเพ่ิมอินทรียวัตถุด้วยการปลูกพืชคลุม ดิน ปลูกพชื ปยุ๋ สด การใชป้ ุ๋ยคอก ป๋ยุ หมกั และปุ๋ยชีวภาพ ในพ้นื ท่ีทางการเกษตรซึ่ง มีสภาพปัญหาการขาดแคลนน้า จึงกาหนดมาตรการตามสภาพปัญหาและสอดคล้องตามความต้องการ ของชมุ ชน คอื อ่างเกบ็ น้า สระเก็บน้า ฝายทดน้า การปรับปรงุ ลาน้า คลองส่งน้า ระบบส่งนา้ ด้วยท่อ และ ระบบใหน้ ้าแบบ micro irrigation ต้นแบบการบริหารจัดการทรพั ยากรดินและน้าเชงิ บูรณาการ เพื่อป้องกันการชะล้างพังทลายของดิน เป็นรปู แบบการบริหารจัดการลุม่ นา้ เชิงระบบ ครอบคลุมทุกมิตแิ บบองค์รวม ได้แก่ มิติทางกายภาพ สงั คม เศรษฐกิจ และสง่ิ แวดลอ้ ม โดยกาหนดทิศทางจากสภาพปัญหาเปน็ ตวั นา ความรทู้ างวิชาการท่หี ลากหลาย สาขาผา่ นกระบวนการคิด วิเคราะหจ์ ากงานวจิ ยั และเทคโนโลยีด้านการพัฒนาทด่ี ิน การอนุรกั ษด์ นิ และนา้ ผ่านกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชน ประกอบด้วย การวิเคราะห์สภาพปัญหาของพื้นที่ คัดเลือกวิธีการ ประเมินปัญหาการชะล้างพังทลายของดิน และตรวจสอบข้อมูลที่เป็นปัจจุบันครอบคลุมประเด็นปัญหา ของสภาพพ้ืนที่อย่างแทจ้ ริง ไดแ้ ก่ ขอ้ มลู การชะล้างพงั ทลายของดิน ขอ้ มลู ด้านทรพั ยากรดนิ ขอ้ มูลสภาพ การใช้ที่ดิน ระดับการเปลี่ยนแปลงของการใช้ท่ีดิน ข้อมูลด้านทรัพยากรน้า สภาพภูมิประเทศ และ สิ่งแวดล้อม ข้อมูลทางเศรษฐกิจและสังคม ซ่ึงมีความเชื่อมโยงกันในด้านกายภาพ เศรษฐกิจ และสังคม โดยนาข้อมูลมาประกอบการวิเคราะห์และจัดทาแผนปฏิบัติการเพ่ือป้องกันการชะล้างพังทลายของดิน และฟ้ืนฟูพ้ืนที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้า ทั้งนี้ เพื่อให้มีประสิทธิภาพ เกิดประสิทธิผล ถูกต้องตามสมรรถนะและศักยภาพของที่ดิน และให้ผู้ท่ีเก่ียวข้องได้เกิดความตระหนักและการเรียนรู้ นาไปสู่การจัดการท่ีถูกต้อง พร้อมท้ังการประเมินสถานการณ์การเปล่ียนแปลง โดยการติดตามและ ประเมินผลตามตัวชวี้ ัด เพือ่ ให้ทราบผลสาเรจ็ จากการดาเนินงานดา้ นการลดอัตราการชะล้างพงั ทลายของ ดิน และด้านเศรษฐกิจสังคมของชุมชนบริเวณบนพ้ืนที่ลุ่มนา้ สู่การพัฒนาระบบการบรหิ ารจัดการด้านการ อนรุ ักษ์ดนิ และนา้ ให้เกษตรกรและชมุ ชนสามารถใชท้ ่ีดนิ ไดอ้ ยา่ งยัง่ ยืน
การดาเนินงานตามแผนบริหารจัดการปอ้ งกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพ้ืนที่เกษตรกรรม ด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้า มีกลไกการขับเคล่ือนการดาเนินงานในรูปแบบคณะกรรมการและ คณะทางาน ในการจัดทาต้นแบบแผนการบริหารจัดการโครงการจัดการชะล้างพังทลายของดินและฟ้ืนฟู พ้นื ท่เี กษตรกรรม ด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้า สาหรับขับเคล่ือนการดาเนินงานด้านการอนุรักษด์ ินและน้าให้ บรรลุเป้าหมายตามยุทธศาสตร์ 20 ปี แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบบั ที่ 12 และแผนแม่บท การบริหารจัดการทรัพยากรน้า ดังนั้น เพ่ือให้แผนบริหารจัดการเกิดผลสัมฤทธิ์ในทางปฏิบัติ บรรลุ วัตถุประสงค์และเปา้ หมายท่ีกาหนดไว้ จงึ จาเปน็ ตอ้ งได้รบั การขับเคลื่อนและผลักดันจากทุกภาคสว่ น และให้ เกิดการบูรณาการทุกระดับผ่านกระบวนการมีส่วนร่วม เพ่ือให้การบริหารจัดการทรัพยากรดินและน้ามี เป้าหมายไปในทิศทางเดียวกัน ควรมแี นวทางการดาเนินงาน ดังนี้ เพ่ือป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟ้ืนฟูพ้ืนที่เกษตรกรรม ให้สามารถนาไปสู่ การวางแผน การกาหนดมาตรการและบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรรมที่มีความเสี่ยงต่อการชะล้าง พังทลายของดนิ และพ้ืนที่ดนิ เสือ่ มโทรม ระดับหน่วยงานที่ปฏิบัติงาน ส่วนกลางและส่วนภมู ภิ าค โดยนาแนวทางการปฏบิ ัติงานไปกาหนดเป็นแผนงานโครงการ และกาหนดเป็น ข้อตกลงการทางานระหว่างหน่วยงาน เน้นการทางานเชิงบูรณาการ เพื่อขับเคลื่อนองค์กรให้บรรลุ เปา้ หมายทก่ี าหนดไว้ โดยจดั ต้งั คณะทางาน ติดตามประเมินผลที่มีกลไกและเครือข่ายการดาเนินงานท้ังหน่วยงานท่ีปฏิบั ติงานในส่วนกลางและส่วน ภูมิภาคเช่ือมโยงการประเมินผล ทุกมิติ ประกอบด้วย มิติทางกายภาพหรือส่ิงแวดล้อม มิติสังคม และมิติ เศรษฐกิจ ทส่ี ามารถสะทอ้ นผลสัมฤทธ์ขิ องงานไดช้ ดั เจน จนนาไปส่กู ารปรบั ปรงุ พัฒนาแผนการดาเนินงาน โครงการให้เกิดประสิทธิผลและมปี ระสิทธภิ าพ
กรมพัฒนาท่ีดิน มีภารกิจสาคัญเก่ียวกับการแก้ไขปัญหาทรัพยากรท่ีดิน โดยการพัฒนาท่ีดินและ อนุรักษ์ดินและน้า ซึ่งมาตรการด้านการอนุรักษ์ดินและน้าจะช่วยปรับโครงสร้างพ้ืนฐานของที่ดิน ในพ้ืนที่ ให้เหมาะสมกับการปลูกพืช พร้อมกับช่วยรักษาระบบนิเวศทางดินให้เกิดการใช้ที่ดินได้อย่างย่ังยืน โดย ก่อนเร่ิมดาเนินงาน จาเป็นต้องมีการศึกษาและวิเคราะห์สภาพของท่ีดินในพ้ืนที่ในการกาหนดมาตรการ ด้านอนุรักษ์ดินและน้าด้วยวิธีกลและวิธีพืชเฉพาะพ้ืนที่ เพ่ือควบคุมหรือป้องกันความรุนแรงของสภาพดิน ปัญหาไม่ให้ส่งผลกระทบก่อปัญหาเพ่ิมข้ึนในพ้ืนท่ีอื่น ดังนั้น กรมพัฒนาท่ีดิน จึงเป็นหน่วยงานที่มีบทบาท สาคัญในการบรหิ ารจัดการทรัพยากรดินเชิงบรู ณาการระดับลุ่มน้า โดยนาหลกั วิชาการด้านการอนรุ ักษ์ดิน และน้า พิจารณาจากสภาพพื้นท่ีและความต้องการของชุมชนเป็นหลัก นอกจากนี้ ยังศึกษาแนวนโยบาย ด้านการเกษตรของรัฐบาล และท้องถ่ินในระดับต่างๆ เพื่อนามาวิเคราะห์กาหนดมาตรการในแผนการใช้ ท่ีดิน พร้อมข้อเสนอแนะด้านการจัดการพื้นที่ ให้เป็นแนวทางในการใชท้ ่ีดนิ อย่างมีประสิทธิภาพและใช้ได้ อยา่ งยง่ั ยนื คณะทางานจัดทาแผนการบริหารจัดการโครงการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและ ฟ้ืนฟูพื้นท่ี เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้า พ้ืนท่ีลุ่มน้าคลองแอ่ง อาเภอบ่อไร่ จังหวัดตราด ได้ดาเนินการ ศึกษา วิเคราะห์ เพื่อประเมินสถานภาพทรัพยากรดินเชิงระบบสาหรับแก้ปัญหาด้านการชะล้างพังทลาย ของดินและฟ้ืนฟูพ้ืนท่ีเกษตรกรรม ผ่านกระบวนการมีส่วนร่วมและความต้องการของชุมชน และการรับ ฟังขอ้ คิดเห็น ข้อเสนอแนะจากหนว่ ยงานภาคีเครอื ข่ายและหนว่ ยงานท่ีเกยี่ วข้อง ทป่ี ฏิบตั ิงานในส่วนกลาง และส่วนภมู ภิ าค ทาใหไ้ ด้ต้นแบบแผนการบรหิ ารจัดการโครงการท่ีกรมพฒั นาทดี่ ินสามารถนาไปใช้ในการ ขับเคล่ือนการดาเนินงานด้านการอนุรักษ์ดินและน้าให้บรรลุเป้าหมายตามยุทธศาสตร์ชาติ แผนปฏิรูป ประเทศ และแผนบรหิ ารจดั การน้าของประเทศ ในโอกาสน้ี ขอขอบคุณ คณะกรรมการขับเคล่ือนโครงการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพ้ืนที่ เกษตรกรรม ด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้า นักวิชาการที่ปฏิบัติงานส่วนกลางและส่วนภูมิภาค เจ้าหน้าที่ของ สานักงานพัฒนาทด่ี ินเขต 2 สถานีพฒั นาท่ีดนิ ตราด หนว่ ยงานภาคีเครือข่ายและหน่วยงานทีเ่ กี่ยวข้อง และเกษตรกร ในชุมชนพื้นท่ีลุ่มน้าคลองแอ่ง อาเภอบ่อไร่ จังหวัดตราด ที่มีส่วนร่วมในการดาเนินงานโครงการให้สาเร็จลุล่วงไปได้ ดว้ ยดีจนบรรลุวัตถปุ ระสงค์ของโครงการ เพ่อื นาข้อมูลแผนการบรหิ ารจัดการโครงการป้องกนั การชะล้างพังทลายของ ดินและฟื้นฟูพนื้ ทเ่ี กษตรกรรมด้วยระบบอนรุ ักษด์ ินและน้า ไปขยายผลในพนื้ ที่อื่นส่กู ารแกไ้ ขปัญหาให้กบั เกษตรกรท่ี อยู่ในพื้นท่ีเสี่ยงต่อการชะล้างพังทลายของดินและพ้ืนที่ดินปัญหา ทาให้สามารถใช้ท่ีดินได้อย่างเหมาะสมตรงตาม ศักยภาพของพ้ืนที่ และมคี ณุ ภาพชีวติ ท่ีดีขนึ้ คณะทางานฯ กันยายน 2563
1.1 หลักการและเหตุผล 2 1.2 วัตถปุ ระสงค์ 3 1.3 กรอบแนวคดิ การดาเนินงาน 3 1.4 เปา้ หมาย 4 1.5 ข้นั ตอนการดาเนินงาน 4 1.6 สถานทดี่ าเนินงาน 5 1.7 ระยะเวลาดาเนนิ การ 5 1.8 ผลผลิต 5 1.9 ผลลัพธ์ 6 1.10 ผลกระทบ 6 1.11 ตัวช้ีวดั ความสาเร็จ 6 1.12 ผลประโยชน์ท่ีคาดว่าจะได้รับ 7 1.13 ผ้รู ับผิดชอบ 7 1.14 ท่ปี รึกษาโครงการ 7 1.15 การสง่ มอบงาน 7 2.1 การรวบรวมขอ้ มลู 11 2.2 การสารวจศึกษาและวเิ คราะหข์ อ้ มลู พืน้ ฐาน 11 2.3 การประเมนิ พนื้ ท่กี ารชะลา้ งพงั ทลายของดนิ 16 2.4 การจัดทาแผนการใชท้ ี่ดินเพือ่ การอนุรักษด์ ินและน้า 18 2.5 การรับฟังความคิดเห็นจากผมู้ ีสว่ นไดส้ ว่ นเสยี 18 2.6 การวเิ คราะหล์ าดับความสาคญั 20 2.7 การจัดทาแผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพ้ืนที่ 21 เกษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรกั ษด์ นิ และน้า
3.1 ทต่ี ง้ั และอาณาเขต 24 3.2 สภาพภมู ิประเทศ 24 3.3 สภาพภูมอิ ากาศ 28 3.4 ทรัพยากรดิน 30 3.5 ทรัพยากรน้า 38 3.6 ทรัพยากรปา่ ไม้ 40 3.7 ขอบเขตทดี่ นิ ตามกฎหมายและนโยบาย 41 3.8 สภาพการใชท้ ี่ดิน 46 3.9 พื้นที่เสย่ี งตอ่ การชะลา้ งพังทลายของดิน 52 3.10 สภาวะเศรษฐกจิ และสงั คม 56 3.11 การวเิ คราะห์สภาพแวดล้อมและศักยภาพ (SWOT) 66 4.1 เขตพน้ื ทป่ี ่าตามกฎหมาย 72 4.2 เขตเกษตรกรรม 77 4.3 เขตพ้นื ท่ีชมุ ชนและส่งิ ปลกู สรา้ ง 79 4.4 เขตแหล่งนา้ 79 4.5 เขตพื้นที่คงสภาพปา่ ไมน้ อกเขตป่าตามกฎหมาย 79 4.6 เขตพื้นท่อี ื่น ๆ 79 5.1 แผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟ้ืนฟูพื้นท่ีเกษตรกรรม 86 ดว้ ยระบบอนุรักษด์ นิ และน้า 93 95 5.2 ต้นแบบ (Model) แผนบริหารจัดการทรัพยากรดินเพ่ือป้องกันการชะล้าง พังทลายของดินและฟนื้ ฟูพ้นื ท่เี กษตรกรรม 6.1 แนวทางการขบั เคลอื่ นแผนไปสกู่ ารปฏบิ ัติ 96 6.2 กลไกการขับเคล่ือนแผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและ 97 ฟื้นฟูพนื้ ที่เกษตรกรรม ดว้ ยระบบอนุรักษด์ นิ และนา้ ระยะ 20 ปี
6.3 บทบาทของหน่วยงานและภาคีเครือข่ายทุกระดับในการขับเคล่ือนแผนบริหาร 98 จัดการทรัพยากรดินและน้าเพื่อป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่ 101 เกษตรกรรม 6.4 แนวทางการตดิ ตามและประเมนิ ผลตามแผนบริหารทรพั ยากรดินเพ่ือปอ้ งกัน การชะล้างพงั ทลายของดินและฟื้นฟูพน้ื ท่ีเกษตรกรรม
2-1 ระดบั ความรุนแรงของการชะล้างพงั ทลายของดนิ 17 2-2 ชัน้ ของการกดั กรอ่ น (degree of erosion classes) 18 3-1 ความลาดชนั พื้นทีล่ มุ่ นา้ คลองแอง่ อาเภอบอ่ ไร่ จงั หวดั ตราด 25 3-2 สถิติภูมิอากาศโดยเฉลี่ยในคาบ 30 ปี (พ.ศ. 2533-2562) ณ สถานีตรวจวัด 29 อากาศ จงั หวดั ตราด 32 3-3 ทรัพยากรดนิ ในพ้ืนทลี่ ุ่มน้าคลองแอง่ อาเภอบอ่ ไร่ จงั หวัดตราด 36 3-4 สภาพปัญหาของดินในพน้ื ท่ลี มุ่ นา้ คลองแอง่ อาเภอบอ่ ไร่ จงั หวดั ตราด 40 3-5 สถานภาพทรพั ยากรปา่ ไม้ในพนื้ ท่ลี มุ่ นา้ คลองแอ่ง อาเภอบ่อไร่ จังหวัดตราด 41 3-6 ข้อมูลท่ีดินของรัฐท่ีใช้ร่วมในการวิเคราะห์ด้านทรัพยากรป่าไม้ อาเภอบ่อไร่ 42 จังหวัดตราด 3-7 พ้ืนท่ีเขตการใช้ประโยชน์ทรัพยากรและที่ดินป่าไม้พื้นที่ลุ่มน้าคลองแอ่ง อาเภอบ่อไร่ 43 46 จังหวัดตราด 53 3-8 พนื้ ทช่ี ั้นคุณภาพลุม่ น้าในพื้นทล่ี ุม่ น้าคลองแอง่ อาเภอบ่อไร่ จงั หวัดตราด 3-9 ประเภทการใชท้ ี่ดนิ ในพืน้ ทล่ี ่มุ น้าคลองแอง่ อาเภอบอ่ ไร่ จังหวดั ตราด 57 3-10 ระดบั ความรุนแรงของการชะล้างพังทลายของดินในพื้นทีล่ ุ่มน้าคลองแอง่ อาเภอบ่อไร่ 61 จังหวัดตราด 63 3-11 สภาวะเศรษฐกิจและสงั คมในพื้นทีล่ ุม่ น้าคลองแอง่ อาเภอบอ่ ไร่ จังหวดั ตราด 3-12 ต้นทุนการผลิต ผลผลิต และผลตอบแทนเหนือต้นทุนท้ังหมดของการปลูกพืชใน 64 พ้ืนทมี่ ีระดบั การชะลา้ งพังทลายของดนิ ต่างกนั 3-13 ความรู้ ความเข้าใจด้านการอนุรักษ์ดินและน้าในพ้ืนท่ีลุ่มนา้ คลองแอ่ง อาเภอบ่อไร่ จงั หวัดตราด ปกี ารผลติ 2563 3-14 ความรู้และความเข้าใจ และลาดับความต้องการของวิธีการรักษาและป้องกันการ ชะล้างพังทลายของหน้าดิน พ้ืนท่ีลุ่มน้าคลองแอ่ง อาเภอบ่อไร่ จังหวัดตราด ปกี ารผลิต 2563
3-15 ทัศนคติด้านการย้ายถิ่นฐาน ปัญหาด้านการเกษตรของเกษตรกร พ้ืนที่ลุ่มน้าคลอง 65 แอ่ง อาเภอบ่อไร่ จังหวดั ตราด ปกี ารผลิต 2563 4-1 แผนการใช้ท่ีดินเพ่ือการอนุรักษ์ดินและน้าในพ้ืนท่ีลุ่มน้าคลองแอ่ง อาเภอบ่อไร่ 80 จังหวัดตราด 4-2 สรุปแนวทางแผนการใช้ท่ีดินเพื่อการอนุรักษ์ดินและน้าในพ้ืนที่ลุ่มน้าคลองแอ่ง 82 อาเภอบอ่ ไร่ จงั หวัดตราด 5-1 แผนปฏิบัติการเพื่อป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟ้ืนฟูพื้นที่เกษตรกรรม 88 ลมุ่ น้าคลองแอง่ อาเภอบ่อไร่ จงั หวดั ตราด ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2563-2566) 6-1 บทบาทของหน่วยงานและภาคีเครือข่ายทุกระดับในการขับเคล่ือนแผนบริหาร 98 จัดการทรัพยากรดนิ และน้าเพ่ือป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟพู ืน้ ที่ เกษตรกรรม 6-2 กรอบตัวช้ีวดั ในการตดิ ตามและประเมินผล 101 6-3 การจัดทาฐานข้อมลู เพื่อประเมนิ การเปล่ียนแปลงตามตัวชีว้ ัดมติ ิกายภาพ เศรษฐกิจ 104 และสงั คม
1-1 กรอบแนวคิดการดาเนินงานโครงการ 4 2-1 กรอบวธิ กี ารดาเนินงาน 10 2-2 ประเดน็ การรบั ฟงั ความคิดเหน็ ของชุมชนแบบมีส่วนร่วม 19 2-3 หลักการสาคัญในการจัดทาแผนการบริหารจัดการที่ดินและทรัพยากรดิน 22 ของประเทศ 3-1 ท่ีต้ังและอาณาเขต และลักษณะภูมิประเทศ พื้นท่ีลุ่มน้าคลองแอ่ง อาเภอบ่อไร่ 26 จังหวัดตราด 3-2 ความลาดชันพ้ืนทลี่ มุ่ น้าคลองแอ่ง อาเภอบอ่ ไร่ จังหวัดตราด 27 3-3 สมดลุ ของน้าเพอ่ื การเกษตร (พ.ศ. 2531-2561) จงั หวัดตราด 29 3-4 ทรพั ยากรดนิ พื้นทล่ี ุ่มน้าคลองแอ่ง อาเภอบอ่ ไร่ จังหวดั ตราด 34 3-5 สภาพปัญหาทรัพยากรดินพน้ื ท่ีลุม่ น้าคลองแอง่ อาเภอบ่อไร่ จังหวัดตราด 37 3-6 เส้นทางน้าและเส้นทางคมนาคมในพ้ืนที่ลุ่มน้าคลองแอ่ง อาเภอบ่อไร่ 39 จังหวดั ตราด 3-7 สถานภาพป่าไม้ และแปลงที่ดินทากิน ในพ้ืนที่ลุ่มน้าคลองแอ่ง อาเภอบ่อไร่ 45 จังหวดั ตราด 3-8 สภาพการใช้ทีด่ ินพนื้ ที่ลมุ่ นา้ คลองแอง่ อาเภอบอ่ ไร่ จังหวดั ตราด 51 3-9 การสญู เสียดนิ ในพ้ืนทีล่ ุม่ น้าคลองแอง่ อาเภอบอ่ ไร่ จงั หวัดตราด 55 4-1 แผนการใช้ท่ีดินเพื่อการอนุรักษ์ดินและน้าในพื้นท่ีลุ่มน้าคลองแอ่ง อาเภอบ่อไร่ 81 จังหวดั ตราด 5-1 พื้นที่ลุ่มน้าเป้าหมายในแผนปฏิบัติการเพื่อป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและ 89 ฟ้ืนฟพู น้ื ท่ีเกษตรกรรม ลุ่มน้าคลองแอ่ง อาเภอบอ่ ไร่ จงั หวดั ตราด ระยะ 4 ปี 5-2 พื้นท่ลี มุ่ นา้ เป้าหมายในแผนปฏบิ ัติการเพื่อป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและ 93 ฟืน้ ฟพู ื้นท่ีเกษตรกรรม ลุม่ น้าคลองแอ่ง อาเภอบอ่ ไร่ จังหวดั ตราด ระยะ 1 ปี
1 1 บทนำ
2 1 ประเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรม มีพื้นท่ีเกษตรกรรม 174.31 ล้านไร่ คิดเป็นร้อยละ 54.36 ของพ้ืนที่ประเทศ โดยแบ่งเปน็ พ้ืนที่ปลูกพืชเศรษฐกิจที่สาคัญของประเทศ ได้แก่ ข้าว 77.11 ล้านไร่ อ้อย 14.46 ล้านไร่ มันสาปะหลัง 12.90 ล้านไร่ ข้าวโพด 8.64 ล้านไร่ ไม้ผล 11.23 ล้านไร่ และ ยางพารา 24.83 ล้านไร่ (กรมพัฒนาท่ีดิน, 2558) พื้นท่ีดังกล่าวบางพ้ืนท่ีมักประสบปัญหาขาดแคลนน้าในฤดูแล้ง ทาให้การใช้ประโยชน์ทรัพยากรดินได้ไม่เต็มศักยภาพ จาเป็นต้องได้รับการพัฒนาแหล่งน้าให้พอเพียงกับ ความต้องการของเกษตรกร ประกอบกับในพ้ืนท่ีดังกล่าวอยู่ในพ้ืนท่ีดินปัญหาทางการเกษตรกรรม โดย สามารถจาแนกตามสาเหตุของการเกิดได้ 2 ประเภท คือ 1) ดินปัญหาที่เกิดตามสภาพธรรมชาติ มีเนื้อที่รวม 60 ล้านไร่ ได้แก่ ดินอินทรีย์ 0.34 ล้านไร่ ดินเปร้ียวจัด 5.42 ล้านไร่ ดินทรายจัด 11.86 ล้านไร่ ดินตื้น 38.19 ลา้ นไร่ ดินเค็ม 4.20 ล้านไร่ (บางพน้ื ที่พบคราบเกลือและมผี ลกระทบจากคราบเกลอื มีเนอ้ื ที่ 11.50 ลา้ นไร่) และ 2) ดินปัญหาที่เกิดจากการใชป้ ระโยชน์ท่ดี ิน เช่น ดินดาน ดินปนเปอ้ื น ดนิ เหมอื งแร่รา้ ง เปน็ ตน้ นอกจากนี้ ยงั มดี ินท่มี ีปญั หาเล็กน้อยท่ีเป็นข้อจากดั ทางการเกษตร เชน่ ดินกรด ดนิ ท่มี คี วามอุดมสมบูรณ์ ตา่ เป็นต้น (กรมพฒั นาที่ดิน, 2561) ปญั หาทรัพยากรดินดังกลา่ วกระจายตวั อยูท่ ัว่ ประเทศและเปน็ ปัจจัย สาคัญท่ีทาให้พื้นที่เกษตรน้าฝนไม่สามารถก่อสร้างแหล่งน้าขนาดใหญ่ได้ เน่ืองจากต้องใช้งบประมาณ จานวนมากในการวางระบบเพ่ือป้องกันไม่ให้ปัญหาดินเกิดเพิ่มมากขึ้นจนก่อความเสียหายในวงกว้าง ไม่ คุม้ ค่ากับการลงทุน ปัญหาสาคัญอีกประการหนึ่งท่ีส่งผลกระทบต่อภาคเกษตรกรรมในปัจจุบันเกิดจากการใช้ที่ดินและ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ซ่ึงเป็นการเร่งให้เกิดกระบวนการชะล้างพังทลายของดินในพ้ืนท่ี เกษตรกรรมเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง ซึ่งการชะล้างพังทลายของดินเกิดจากกระบวนการท่ีสาคัญ คือ กระบวนการแตกกระจาย เมื่อเม็ดฝนตกลงมากระทบกับก้อนดิน ทาให้ก้อนดินแตกเป็นเม็ดดินเล็ก ๆ ภายหลังท่ีเม็ดฝนกระทบก้อนดินแล้วน้าบางส่วนก็จะไหลซึมลงไปในดิน เมื่อดินอ่ิมตัวจนน้าไม่สามารถจะ ไหลซึมไปได้อีกแล้ว ก็จะเกิดน้าไหลบ่าพัดพาเอาก้อนดินเล็ก ๆ ที่แตกกระจายอยู่บนผิวดินไปด้วยและพัด พาไป และการตกตะกอนทับถม เม็ดดินทถี่ ูกพัดพาไปกบั นา้ จะไหลลงสพู่ ้ืนท่ีต่า ทาใหเ้ กดิ การสะสมตะกอน ของดินในท่ีลุ่มต่า การชะล้างพังทลายของดิน เกิดจากสาเหตุใหญ่ 2 ประการ คือ 1) การชะล้างพังทลาย โดยธรรมชาตเิ ป็นการชะล้างพังทลายซ่ึงเกิดขึ้นตามธรรมชาติ โดยมีทัง้ นา้ และลมเป็นตวั การ เช่น การชะละลาย การพัดพาโดยลมตามชายฝั่งทะเลหรือในทะเลทราย การพัดพาดินแบบนี้เป็นแบบท่ีป้องกันไม่ได้ และถ้า เกดิ มกั ใช้เวลานาน เป็นการเกดิ แบบค่อยเป็นค่อยไปและช้ามาก และ 2) การชะลา้ งพงั ทลายโดยมีตวั เร่งท่ี
3 มีมนุษย์หรือสัตว์เล้ียงเข้ามาช่วยเร่งให้มีการกัดกร่อนเพิ่มขึ้นจากการชะล้างพังทลายโดยธรรมชาติ เช่น การหักล้างถางป่าทาการเพาะปลูกโดยขาดหลักวิชาการ ทาให้พ้ืนดินปราศจากสิ่งปกคลุม เกิดการกัด กร่อนโดยลมและฝนและพัดพาดินสูญเสยี ไปได้เพิ่มข้ึน การสูญเสียดินจะมากน้อยเพียงใดขึ้นอยู่กับวิธกี าร ท่ีใช้ทาการเกษตร (กรมพฒั นาที่ดนิ , 2558) กรมพัฒนาท่ีดิน มีภารกิจสาคัญเก่ียวกับการแก้ไขปัญหาทรัพยากรท่ีดิน โดยการพัฒนาท่ีดินและ อนุรักษ์ดินและน้า ซึ่งมาตรการด้านการอนุรักษ์ดินและน้าจะช่วยปรับโครงสร้างพ้ืนฐานของดินในพื้นทใ่ี ห้ เหมาะสมกับการปลูกพืช พร้อมกับช่วยรักษาระบบนิเวศทางดินให้เกิดการใช้ที่ดินได้อย่างย่ังยืน โดยก่อน เร่ิมดาเนินการต้องมีการการศึกษาและวเิ คราะห์สภาพของที่ดินในพ้ืนท่ีก่อนเสมอ หากพื้นที่ดาเนินการอยู่ ในพืน้ ทด่ี นิ ปญั หา เชน่ ดินเคม็ ดินตน้ื หรอื ดินทราย จาเปน็ จะต้องมีการออกแบบระบบอนุรักษด์ ินและน้า ดว้ ยวิธีกลและวิธีพชื เฉพาะพืน้ ท่ี เพ่อื ควบคุมหรือป้องกันไม่ให้ดินปัญหาเกิดการแพร่กระจายสง่ ผลกระทบ ก่อปัญหาเพม่ิ ขึ้นในพืน้ ท่ีอ่ืนตอ่ ไป ดงั น้นั กรมพัฒนาท่ีดนิ จึงเปน็ หนว่ ยงานท่มี บี ทบาทสาคัญในการบริหาร จัดการทรัพยากรดินเชิงบูรณาการระดับลุ่มน้า โดยนาหลักวิชาการและเทคนิคด้านการอนุรักษ์ดินและน้า มาใช้เป็นมาตรการเพ่ือป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟ้ืนฟูพ้ืนท่ีเกษตรกรรม ให้พ้ืนท่ีสามารถใช้ ประโยชน์ได้อย่างคุ้มค่า โดยพิจารณาจากสภาพปัญหาพื้นท่ีและความต้องการของชุมชนเป็นหลัก นอกจากนี้ ยังศึกษานโยบายด้านการเกษตรของรัฐบาล และท้องถิ่นในระดับต่าง ๆ เพ่ือนามาวิเคราะห์ กาหนดมาตรการในแผนการใช้ที่ดินพร้อมข้อเสนอแนะด้านการจัดการพ้ืนท่ีให้เกิดการใช้ที่ดินอย่างยั่งยืน สามารถใช้เป็นแนวทางในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติท่ีเหมาะสมและขยายผลสู่การปฏิบัติใน พ้ืนที่อน่ื ไดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพ 1) เพ่ือศึกษาและประเมินสถานภาพทรัพยากรดินเชิงระบบสาหรับการป้องกันการชะล้างพังทลาย ของดนิ และฟื้นฟพู น้ื ท่เี กษตรกรรม 2) เพื่อจัดทาแผนการบริหารจัดการทรัพยากรดินระดับลุ่มน้าที่มีการกาหนดมาตรการด้านการ ป้องกนั การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ และฟนื้ ฟูพน้ื ท่ีเกษตรกรรม ดว้ ยระบบอนุรักษ์ดินและน้า การจัดทาแผนการบรหิ ารจัดการป้องกันการชะลา้ งพังทลายของดินและฟนื้ ฟูพื้นท่ีเกษตรกรรมด้วย ระบบอนุรักษ์ดินและน้า มีความสอดคล้องและเชื่อมโยงยุทธศาสตร์ความสอดคล้องของ ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580): ยุทธศาสตร์ท่ี 5 ด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับ ส่ิงแวดล้อม ความสอดคล้องของ แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ: แผนแม่บทการบริหารจัดการน้าทั้ง ระบบ และความสอดคล้องของยุทธศาสตร์การบริหารจัดการน้าของประเทศ (พ.ศ. 2558 - 2569): ยุทธศาสตร์ที่ 5 การอนุรักษ์ฟื้นฟูสภาพป่าต้นน้าที่เสื่อมโทรมและป้องกันการพังทลายของดิน กลยุทธ์:
4 การอนุรกั ษ์ฟ้ืนฟูพน้ื ทเี่ กษตรกรรมในพน้ื ทีด่ ินเสื่อมโทรมและชะล้างพังทลายของดิน โดยมีเปา้ หมายสาคัญ สูงสุด คือ พ้ืนท่ีเกษตรกรรมได้รับการอนุรักษ์และฟื้นฟูให้สามารถใช้ท่ีดินได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม ตามศักยภาพของพนื้ ท่ี ไมน่ ้อยกว่า 20 ลา้ นไร่ ภายใน 20 ปี กาหนดกรอบแนวคิดจากหลักการเข้าใจ เข้าถึง และพัฒนา โดยการนาฐานข้อมูลด้านทรัพยากรดิน ประกอบด้วย ดินปัญหาและการชะล้างพังทลายของดิน เป็นตัวกาหนดพ้ืนที่เป้าหมายจากสภาพปัญหา สาหรับนาไปใช้ในการบริหารจัดการ ยึดประชาชนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนาและเน้นกระบวนการมสี ่วน ร่วมของชุมชน บูรณาการข้อมลู เชิงสหวิชาการ นาขอ้ มูลมาใช้ในการพัฒนาและวางแผนการใช้ทดี่ ิน กาหนด มาตรการด้านการอนุรักษ์ดินและน้าให้สอคล้องกับสภาพปัญหาของพื้นท่ีและความต้องการของชุมชน เพ่อื ให้ได้เขตอนุรักษ์ดินและน้าท่มี ีการบริหารจัดการเชงิ ระบบ พน้ื ที่การเกษตรสามารถใช้ประโยชน์ได้อย่าง มีประสิทธิภาพ และเกษตรกรสามารถใชท้ ด่ี นิ ได้อยา่ งถูกต้องเหมาะสมตามศักยภาพของดนิ (ภาพที่ 1-1) ภาพท่ี 1-1 กรอบแนวคดิ การดาเนนิ งานโครงการ จัดทาแผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟ้ืนฟูพื้นที่เกษตรกรรม ด้วยระบบ อนุรกั ษด์ นิ และนา้ พน้ื ทล่ี ่มุ นา้ คลองแอง่ อาเภอบ่อไร่ จังหวัดตราด ครอบคลุมพ้นื ที่ 84,890 ไร่ 1) การรวบรวมข้อมูล เป็นข้อมูลทุติยภูมิท่ีได้จากการรวบรวมเอกสารและงานวิชาการท่ีเก่ียวข้อง เพ่ือนาไปใช้ศึกษา วิเคราะห์ เช่ือมโยงสู่การจัดทาแผนบริหารจัดการเพื่อป้องกันการชะล้างพังทลาย
5 ของดินด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้า ได้แก่ ฐานข้อมูลด้านทรัพยากรดิน ทรัพยากรน้า สภาพภูมิประเทศ สภาพการใชท้ ด่ี ิน เศรษฐกิจและสังคม แผนการใช้ที่ดิน และข้อมูลการอนรุ กั ษด์ นิ และนา้ ที่เกย่ี วข้อง 2) การสารวจภาคสนาม ข้อมูลปฐมภมู ิ ได้แก่ สภาวะเศรษฐกจิ สังคม 3) การวเิ คราะหแ์ ละประเมินผลข้อมลู การชะล้างพังทลายของดิน ทรพั ยากรดนิ สภาพการใช้ที่ดิน การวิเคราะห์ข้อมูลด้านเศรษฐกิจและสังคม การเปลี่ยนแปลงของการใช้ที่ดิน ทรัพยากรน้า สภาพภูมิ ประเทศและสงิ่ แวดล้อม 4) การประเมินพนื้ ทีก่ ารชะลา้ งพงั ทลายของดนิ 5) การจัดทาแผนการใชท้ ี่ดนิ เพือ่ ป้องกนั การชะล้างพงั ทลายของดนิ 6) การรับฟงั ความคดิ เหน็ ของชุมชนผ่านกระบวนการมีสว่ นร่วม การประชาพจิ ารณ์เพื่อการรบั ฟงั ความคดิ เหน็ ของชุมชนต่อการดาเนนิ งานโครงการ 7) การวิเคราะห์ลาดับความสาคญั เพอ่ื กาหนดพน้ื ทเ่ี ป้าหมายในการดาเนินงาน 8) การจัดทาแผนบริหารจัดการเพ่ือป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นท่ีเกษตรกรรม ด้วยระบบอนรุ ักษ์ดนิ และน้า 9) การประชาพิจารณ์เพ่ือการรับฟังความคิดเห็นต่อ (ร่าง) แผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้าง พงั ทลายของดนิ และฟืน้ ฟพู นื้ ทีเ่ กษตรกรรม ดว้ ยระบบอนุรกั ษด์ นิ และนา้ 10) นาเสนอ (ร่าง) แผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นท่ี เกษตรกรรมด้วยระบบอนรุ ักษด์ ินและน้า ตอ่ คณะกรรมการขับเคลื่อนโครงการป้องกันการชะลา้ งพังทลาย ของดินและฟ้นื ฟพู ้ืนทเ่ี กษตรกรรม ดว้ ยระบบอนุรักษด์ นิ และน้า 11) ปรบั ปรุง (ร่าง) แผนบริหารจดั การฯ และนาข้อมลู ใช้เปน็ ตน้ แบบการบรหิ ารจดั การป้องกันการ ชะล้างพังทลายของดินและฟ้ืนฟูพื้นท่ีเกษตรกรรม ด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้า ขยายผลและขับเคล่ือน การดาเนินงานโครงการระยะตอ่ ไป พ้ืนทลี่ มุ่ น้าคลองแอง่ อาเภอบอ่ ไร่ จงั หวดั ตราด ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 1) ฐานข้อมูลด้านการชะล้างพังทลายของดินในพ้ืนที่เกษตรกรรม และสถานภาพด้าน ทรพั ยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และเศรษฐกิจและสังคม สาหรับเป็นข้อมูลพ้ืนฐานประกอบการพจิ ารณา กาหนดแผนการใชท้ ่ดี นิ
6 2)แผนบริหารจัดการทรัพยากรดินระดับลุ่มน้าท่ีมีการกาหนดมาตรการด้านการป้องกันและฟ้ืนฟู ทรพั ยากรดินตามสภาพปัญหาของพน้ื ทแี่ ละความต้องการของชมุ ชน 3)ต้นแบบการบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟ้ืนฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วย ระบบอนุรกั ษด์ ินและนา้ 1) กรมพัฒนาทีด่ นิ ( สานกั งานพฒั นาท่ีดินเขต 2) มีต้นแบบแผนการบริหารจัดการโครงการจัดการ ชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพ้ืนท่ีเกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้า ปี 2563 สาหรับนาไป ขยายผลในพนื้ ทอ่ี ื่น 2) มาตรการด้านการอนุรักษ์ดินและน้าท่ีกาหนดมีความสอดคล้องกับสภาพปัญหาของพื้นที่และ สามารถติดตามการเปลยี่ นแปลงสถานภาพทรัพยากรดนิ ได้ตามตวั ช้วี ดั ทก่ี าหนด 1) กรมพัฒนาท่ีดินสามารถขับเคลื่อนการดาเนินงานด้านการอนุรักษ์ดินและน้าให้บรรลุเป้าหมาย ตามยทุ ธศาสตร์ชาติ แผนปฏริ ปู ประเทศ และแผนบริหารจัดการน้าของประเทศ 2) พ้ืนที่เกษตรกรรมมีแผนการจัดการการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นท่ีเกษตรกรรมด้วย ระบบอนรุ ักษ์ดินและน้า ทาให้เกษตรกรสามารถใช้ทีด่ ินได้อย่างเหมาะสมตรงตามศักยภาพของพืน้ ที่ 1) เชงิ ปรมิ าณ - ร้อยละความสาเร็จในการจัดทาฐานข้อมูลด้านการชะล้างพังทลายของดินสาหรับเป็นข้อมูล พื้นฐานประกอบการจดั ทาแผนการบรหิ ารจดั การทรพั ยากรดินระดบั ลุ่มนา้ (ร้อยละ 100) - จานวนพื้นที่ที่มีการกาหนดแนวทางด้านการป้องกันและฟ้ืนฟูทรัพยากรดินตามสภาพปัญหา ของพน้ื ที่ ( 84,890 ไร)่ และจานวนพน้ื ที่เป้าหมายตามแผนปฏบิ ตั ิการ (ไม่น้อยกว่า 10,000 ไร/่ ป)ี 2) เชงิ คณุ ภาพ - ฐานข้อมูลด้านการชะล้างพังทลายของดินมีความถูกต้อง ครบถ้วน สอดคล้องกับสภาพปัญหา ของพนื้ ท่ี - มาตรการด้านการป้องกันและฟื้นฟูทรัพยากรดิน มีความเหมาะสม สอดคล้องกับสภาพพื้นท่ี และสามารถนาไปกาหนดแผนงานโครงการไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธิภาพ
7 1) กรมพฒั นาท่ีดินมตี ้นแบบแผนการบรหิ ารจัดการการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟ้ืนฟู พ้ืนที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้า สาหรับขับเคลื่อนการดาเนินงานด้านการอนุรักษ์ดินและน้า ให้บรรลุเปา้ หมายตามยทุ ธศาสตรช์ าติแผนปฏริ ปู ประเทศ และแผนบรหิ ารจัดการน้าของประเทศ 2) หน่วยงานท่ีดาเนินงานด้านการอนุรักษ์ดินและน้า มีค่าดัชนีชี้วัดท่ีสาหรับนาไปใช้ในการพัฒนา งานวิจยั ใหส้ อดคลอ้ งกบั สภาพปัญหาของพน้ื ทแ่ี ละสามารถตดิ ตามการเปลีย่ นแปลงสถานภาพทรัพยากรดิน 3) กรมพัฒนาท่ีดินมีแนวทางการดาเนินงานจัดทาแผนบริหารจัดการท่ีเป็นไปตามมาตรฐานหลัก วิชาการด้านอนุรักษ์ดนิ และน้า 4) เกษตรกรท่ีอยู่ในพื้นท่ีเส่ียงต่อการชะล้างพังทลายของดินและพื้นที่ดินปัญหา มีแผนบริหาร การจดั การปอ้ งกันการชะล้างพังทลายของดินและฟืน้ ฟูพ้นื ท่เี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนุรักษด์ นิ และน้า ทาให้ สามารถใชป้ ระโยชนท์ ีด่ ินได้อย่างเหมาะสมตรงตามศักยภาพของพนื้ ท่ี คณะทางานจัดทาแผนการบริหารจัดการโครงการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟู พื้นทเ่ี กษตรกรรมด้วยระบบอนรุ กั ษด์ ินและนา้ ระดบั พน้ื ท่ี สานกั งานพฒั นาทด่ี นิ เขต 2 คณะกรรมการขับเคลื่อนโครงการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟ้ืนฟูพื้นที่เกษตร กรรม ดว้ ยระบบอนรุ ักษด์ ินและน้า ปี 2563 1) ส่งรายงานเบ้ืองต้น (Preliminary Report) ประกอบการประชุมประชาพิจารณ์ครั้งที่ 1 (วนั ที่ 30 มิถนุ ายน 2563) 2) สง่ รายงานฉบับกลาง (Interiminary Report) แผนการใชท้ ่ีดินเพื่อป้องกันการชะล้างพังทลาย ของดินและฟื้นฟูพ้ืนท่ีเกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้า ประกอบการประชุมประชาพิจารณ์ครงั้ ที่ 2 (วันท่ี 15 สงิ หาคม 2563) 3) ส่งร่างรายงานฉบับสมบูรณ์ (Draft Final Report) แผนบริหารจัดการทรัพยากรดินเพ่ือ ป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟ้ืนฟูพื้นท่ีเกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้า เสนอคณะ กรรมการฯ 4) ส่งรายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) แผนบริหารจัดการทรัพยากรดินเพ่ือป้องกันการ ชะล้างพงั ทลายของดินและฟืน้ ฟพู ื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษด์ ินและนา้
8
9 2 วิธกี ำรดำเนนิ งำน
10 2 การจัดทาแผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพ้ืนที่เกษตรกรรมด้วย ระบบอนุรักษ์ดินและน้า พ้ืนที่ลุ่มน้าคลองแอ่ง อาเภอบ่อไร่ จังหวัดตราด เป็นการศึกษาและประเมิน สถานภาพทรัพยากรดินเชิงระบบสาหรับแก้ปัญหาด้านการชะล้างพังทลายของดินและฟ้ืนฟูดินในพ้ืนที่ เกษตรกรรม มีการกาหนดมาตรการด้านการป้องกันและฟื้นฟูทรัพยากรดินตามสภาพปัญหาของแต่ละ พ้ืนที่ ผ่านกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชน เพ่ือให้ได้ต้นแบบแผนการบริหารจัดการป้องกันการชะล้าง พังทลายของดินและฟ้ืนฟูพ้ืนท่ีเกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้า สาหรับนาไปขยายผลในพ้ืนที่อ่ืน ตามกรอบวธิ กี ารดาเนินงาน และขัน้ ตอนการดาเนินงาน (ภาพท่ี 2-1) ดงั น้ี ภาพท่ี 2-1 กรอบวิธกี ารดาเนนิ งาน
11 การรวบรวมข้อมูลเพ่ือนาไปใช้ในการศึกษาและวิเคราะห์เชื่อมโยงสู่การ จัดทาแผนบริหารจัดการเพื่อป้องกันการชะล้างพังทลายของดิน ด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้า ประกอบด้วย ข้อมูล แผนที่ เอกสารรายงาน และผลงานวิชาการหรือวิจัยท่ีเกี่ยวข้อง ได้แก่ ทรัพยากรดิน (มาตราส่วน 1 : 25,000) ปี พ.ศ. 2561 และข้อมูลลักษณะสมบัติดินบางประการ (กองสารวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน กรมพัฒนาทด่ี ิน) ทรัพยากรน้า สภาพภูมิประเทศ สภาพภูมิอากาศ ปี พ.ศ. 2532 – 2562 (กรมอุตุนิยมวิทยา) สภาพการใช้ท่ีดิน มาตราส่วน 1 : 25,000 ปี พ.ศ. 2561 ข้อมูลเศรษฐกิจและสังคม และแผนการใช้ท่ีดิน (กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน และกรมการพัฒนาชุมชน) ข้อมูลพื้นท่ีเขตป่าไม้ถาวร ปี พ.ศ. 2561 (สานกั เทคโนโลยกี ารสารวจและทาแผนที่ กรมพัฒนาทด่ี นิ ) และข้อมูลดา้ นการชะล้างพังทลาย ของดิน ระบบการอนุรักษ์ดินและน้า ตลอดจนรวบรวมข้อมูลอ่ืน ๆ ท้ังในรูปแบบดิจิตอลและสิ่งพิมพ์ จากหนว่ ยงานท่เี กี่ยวข้อง การสารวจศึกษาข้อมูลภาคสนามเพื่อให้ได้ข้อมูลที่เป็นปัจจุบัน ตลอดจนข้อมูลที่นอกเหนือจากที่มีอยู่ (ข้อ 2.1.1) และครอบคลุมประเด็นปัญหาของสภาพพื้นท่ีอย่าง แท้จริง ท้ังน้ีเพื่อวิเคราะห์ในการจัดทาแผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินด้วยระบบ อนุรักษ์ดินและน้า และวิเคราะห์การจัดลาดับความสาคัญของพื้นท่ีดาเนินการ ได้แก่ ทรัพยากรดิน ทรพั ยากรน้า สภาพการใช้ท่ดี นิ การชะล้างพงั ทลายของดนิ และข้อมูลเศรษฐกจิ และสังคม การศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลทุติยภูมิท่ีมีอยู่ จัดทาฐานข้อมูลทรัพยากรดินในพื้นที่ลุ่มน้า คลองแอ่ง เพื่อสนับสนุนการประเมินการชะล้างพังทลายของดิน จัดทาแผนการใช้ที่ดิน และการกาหนด มาตรการอนุรักษ์ดินและน้า และจัดทาแผนบริหารจัดการเพ่ือป้องกันการชะล้างพังทลายของดินในพ้ืนที่ ลุ่มน้าคลองแอ่ง มีข้ันตอนหลักในการศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลทุติยภูมิ สารวจศึกษาดินในภาคสนาม และ วิเคราะหส์ ภาพปญั หาดนิ ทางการเกษตร ดงั นี้ 1) ขอ้ มูลทรพั ยากรดิน การประเมินข้อมูลทรัพยากรดิน โดยการวิเคราะห์ข้อมูลจากแผนที่ดิน มาตราส่วน 1 : 25,000 ที่มีอยู่ เพ่ือเป็นกรอบการพิจารณาการสารวจศึกษาข้อมูล โดยใช้ข้อมูลประกอบได้แก่ แผนท่ี ภาพถ่ายออร์โธสเี ชิงเลข และแผนที่ภูมปิ ระเทศเปน็ แผนที่พ้นื ฐาน โดยมีขัน้ ตอนการดาเนนิ งาน ดงั น้ี - การแปลข้อมูลในแผนที่ภาพถ่ายออร์โธสีเชิงเลข เพื่อกาหนดขอบเขตพื้นท่ีโครงการ ถนน เส้นทางนา้ การใชท้ ่ดี นิ ลักษณะภูมิประเทศ ความลาดชัน และการชะลา้ งพังทลายของดิน
12 - การศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ข้อมูลดิน ข้อมูลทางธรณีวิทยา ข้อมูลสภาพภูมิ ประเทศ ร่วมกบั การแปลข้อมลู ในแผนที่ภาพถา่ ยออร์โธสีเชิงเลข เพอ่ื ใหท้ ราบถึงสภาพพ้นื ท่ีและวเิ คราะห์ พ้ืนที่ เพ่ืออนุมานลกั ษณะและสมบตั ิของดนิ เบ้ืองต้นในพน้ื ท่ีศกึ ษา - การศึกษาลักษณะสมบัติดินเพ่ือใช้ในการจาแนกดิน เช่น ความหนาของชั้นดิน เน้ือดิน สดี นิ โครงสรา้ งของดิน การจัดเรียงตวั ของชั้นดิน การยดึ ตัวของอนุภาคดนิ การเคลือ่ นย้ายของอนภุ าคดิน เหนยี ว ปริมาณการกระจายของรากพืช ค่าปฏิกิริยาดนิ ชนดิ ของช้นิ ส่วนหยาบในดนิ หรือวตั ถตุ า่ งๆ ทพี่ บ ในชั้นดิน เชน่ ก้อนกรวด ลูกรังและเศษหิน เปน็ ตน้ - การจาแนกดนิ ตามระบบอนุกรมวิธานดิน (Soil Survey Staff, 2014) ในระดบั ประเภท ของชุดดินและดินคล้าย (phases of soil series or soil variants) เขียนหน่วยแผนท่ีดินลงในภาพถ่าย ออร์โธสี พร้อมท้ังปรบั แก้ไขขอบเขตของดนิ ในภาพถา่ ยออรโ์ ธสเี ชงิ เลขใหส้ อดคล้องกับสภาพพ้ืนที่จรงิ - การจัดทาแผนที่ดิน และสรุปหน่วยแผนท่ีท้ังหมดในพื้นที่ลุ่มน้าคลองแอ่ง ในมาตรา ส่วน 1 : 25,000 2) ข้อมูลทรพั ยากรดนิ ปัญหา การจัดทาข้อมูลและแผนที่ดินปัญหาหรือสภาพปัญหาดินทางการเกษตร มาตราส่วน 1 : 25,000 ในพ้ืนท่ีลุ่มน้าคลองแอ่ง ตามข้ันตอน ดงั น้ี (1) การศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลดินเพ่ือการจาแนกตามลักษณะและสมบัติดินประจาชุด ดิน จาแนกประเภทและความรุนแรงของดินปัญหาต่อการผลิตพืช ตามปัญหาที่เกิดจากสภาพธรรมชาติ และจากการใชท้ ่ดี ิน รวมถึงดนิ ทม่ี ีปัญหาเลก็ น้อยทเ่ี ป็นขอ้ จากัดทางการเกษตร (2) การจัดทาแผนที่ดินปัญหาและประเมินความรุนแรงของดินปัญหาในพ้ืนท่ีดาเนินการ เพ่ือนาไปใช้ในแก้ไข ฟื้นฟู และป้องกันการชะล้างพังทลายของดิน รวมถึงกาหนดมาตรการด้านการ อนรุ กั ษด์ ินและนา้ เพื่อการใช้ที่ดินทางการเกษตรได้อยา่ งยง่ั ยนื การประเมินสถานภาพทรัพยากรน้า สาหรับนาไปใช้ในการประเมินการชะล้างพังทลายของ ดนิ จัดทาแผนการใชท้ ี่ดนิ กาหนดมาตรการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและอนุรักษ์ดินและน้า การ ประเมินปริมาณน้าผิวดินที่ไหลจากพื้นผิวดินสู่ร่องน้า ลาห้วย คลองและแม่น้า โดยอาศัยการคานวณจาก ปริมาณน้าฝนที่ตกลงมาบนพ้ืนท่ีหน่ึง ๆ แล้วถูกดูดซับลงไปเก็บกักไว้ในดิน และระเหยไปในอากาศ น้าที่ เหลือจากกระบวนการต่าง ๆ เหล่าน้ี จะไหลลงสู่ร่องน้า ลาห้วย คลองและแม่น้าต่อไป อัตราการไหลและ ปริมาณน้าขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายอย่าง เช่น ความรุนแรง ปริมาณน้า ทิศทางลม ลักษณะความลาดเทของ พื้นที่ ประสิทธิภาพการเก็บกักน้าบนผิวดิน การใช้ท่ีดิน สมบัติของดิน และขนาดของพ้ืนท่ีรับน้า ทั้งน้ี เพ่ือให้ไดฐ้ านข้อมูลที่สอดคลอ้ งกบั หลักการสาคญั ของการอนรุ ักษ์ดนิ และน้าท่เี ป็นการรกั ษาความชุ่มช้ืนใน ดิน การเก็บกักน้าไหลบ่าบนผิวดินไว้ใช้ในพื้นท่ีท่ีเพ่ือประโยชน์สูงสุดตามศักยภาพของพ้ืนที่บริเวณน้ัน ๆ
13 ในขณะเดียวกันจะต้องระบายน้าส่วนเกินท้ิงไปในพ้ืนท่ีที่ควบคุมได้ เพ่ือไม่ให้เกิดความเสียหายกับพ้ืนท่ี โดยเฉพาะการกัดเซาะพงั ทลายของดนิ จึงกาหนดการประเมนิ ศักยภาพภาพปรมิ าณน้าท่า ดงั น้ี 1) การคานวณปริมาณน้าท่า ด้วยวิธี Resional Runoff equation (Lanning-Rush, 2000) โดยอาศัยความสัมพันธ์แบบถดถอย (regression) ระหว่างปริมาณน้านองสูงสุดเฉล่ียและพ้ืนท่ีรับน้าฝนจาก ข้อมลู สถานวี ัดน้าในลมุ่ น้าต่างๆ ในล่มุ นา้ ขนาดใหญ่ เพอื่ หาปรมิ าณน้าท่าเฉลยี่ ทีจ่ ุดตา่ งๆ ในลุ่มน้า ดงั สมการ Qf = aAb เมือ่ Qf คือ ปริมาณน้านองสงู สดุ รายปเี ฉล่ีย (ลูกบาศกเ์ มตร/วนิ าท)ี A คือ พน้ื ทีร่ ับน้าฝน (ตารางกโิ ลเมตร) a,b คอื ค่าคงทคี่ านวณจากกราฟ 1) การรวบรวมและตรวจสอบเอกสาร ท้ังในรูปแบบของแผนที่ แผนที่เชิงเลข และรายงานที่ เกย่ี วข้องกับจงั หวดั ตราด เพือ่ ใช้ในการกาหนดแนวทางการดาเนนิ งาน 2) การเตรียมข้อมลู ดาวเทยี มและภาพถ่ายออร์โธสี (1) ข้อมูลจากดาวเทียม ที่ใช้ในการปฏิบัติงาน ประกอบด้วยข้อมูลเชิงเลข (digital data) และข้อมลู เชงิ ภาพ (analog data) การเตรียมข้อมลู ดาวเทียม มขี ั้นตอนการดาเนินงานดังนี้ - การแก้ไขความคลาดเคล่ือนทางเรขาคณิต (geometric correction) เนื่องจาก ข้อมูลดาวเทียมที่ได้รับมา ยังมีความคลาดเคล่ือนเชิงตาแหน่งทางภูมิศาสตร์ จาเป็นต้องดาเนินการแก้ไข ตาแหน่งให้ถูกต้อง เพื่อให้สามารถวิเคราะห์ซ้อนทับกับช้ันข้อมูลอ่ืน ๆ ได้ โดยใช้ภาพถ่ายออร์โธสีเชิงเลข ของกรมพฒั นาทด่ี ิน และแผนท่ีภมู ปิ ระเทศ มาตราสว่ น 1 : 50,000 จากกรมแผนทท่ี หารเป็นข้อมูลอ้างอิง - การผลิตภาพจากข้อมูลดาวเทียมไทยโชติ ภาพท่ีใช้เป็นภาพผสมสีเท็จ (false color) สามช่วงคลื่น เพื่อให้ภาพชัดเจนและง่ายต่อการวิเคราะห์มากข้ึน ทาการผสมสีดังน้ี ช่วงคล่ืน อินฟราเรดใกล้ (Near Infrared–NIR) ให้ผ่านตวั กรองแสงสแี ดง (red filter) เน่อื งจากช่วงคลื่นอนิ ฟราเรด ใกล้เป็นช่วงคลื่นท่ีพืชสีเขียวสะท้อนพลังงานมากท่ีสุด ดังนั้น บริเวณท่ีมีพืชใบเขียวอยู่ในภาพ จะมองเห็น เป็นสีแดงชัดเจน ส่วนช่วงคลื่นสีแดงให้ผ่านตัวกรองแสงสีเขียว (green filter) และช่วงคล่ืนสีน้าเงินให้ ผ่านตัวกรองแสงสีน้าเงิน (blue filter) หลังจากนั้น ทาการเน้นรายละเอียดของข้อมูลภาพด้วย ข้อมูลภาพช่วงคลื่นเดียวหรือภาพขาว-ดา ที่มีรายละเอียดจุดภาพ 2 เมตร ซึ่งเทคนิคนี้หรือที่ เรียกว่า Pansharpening method จะทาใหข้ ้อมลู ภาพสีมีรายละเอียดจุดภาพเพิม่ ข้ึนเท่ากบั 2 เมตร - การผลิตภาพข้อมูลดาวเทียม LANDSAT 8 OLI จะใช้เทคนิคผสมสีเท็จ (false color composite) โดยช่วงคลื่นอินฟราเรดใกล้ Near Infrared (NIR) (0.85 - 0.88 ไมครอน) ผ่าน ตัวกรองสีแดง ช่วงคล่ืนอินฟราเรดคลื่นส้ัน1 (Short Wave Infrared1: SWIR1) (1.57 - 1.65 ไมครอน)
14 ผา่ นตวั กรองสเี ขียว และช่วงคล่นื สแี ดง (0.64 - 0.67 ไมครอน) ผา่ นตวั กรองสีนา้ เงิน เพอื่ ใชใ้ นการจาแนก พืชพรรณ (2) การวิเคราะห์ข้อมูลสภาพการใช้ท่ีดินจากข้อมูลดาวเทียม และภาพถ่ายออร์โธสีเชิงเลข โดยพิจารณาจากองค์ประกอบของข้อมูล คือ ความเข้มของสีและสี (tone/color) ขนาด (size) รูปร่าง (shape) เนื้อภาพ (texture) รูปแบบ (pattern) ความสูงและเงา (height and shadow) ความ เก่ยี วพัน (association) และการเปลี่ยนแปลงตามฤดกู าล (temporal change) เพื่อวเิ คราะหข์ อ้ มลู สภาพ การใช้ท่ีดิน โดยใช้โปรแกรมวิเคราะห์ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์แล้วจึงนาช้ันข้อมูลที่ได้ทาการ วิเคราะห์ซอ้ นทบั กบั ภาพถ่ายออรโ์ ธสเี ชิงเลข และขอ้ มลู จากดาวเทียมไทยโชต เพื่อจดั พมิ พ์เป็นแผนที่ 3) การสารวจข้อมูลภาคสนาม ประกอบด้วยขอ้ มลู จากการทาประชาพจิ ารณ์ และขอ้ มูลด้าน เศรษฐกิจและสงั คม และข้อมลู อน่ื ๆ 4) การสร้างฐานข้อมูลสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS database) เป็นการจัดทาทั้งฐานข้อมูลเชิง พื้นท่ี (spatial data) และฐานข้อมูลเชิงคุณลักษณะ (attribute data) ของข้อมูลจากภาคสนามและข้อมูล แผนท่จี ากสว่ นท่เี กีย่ วข้อง โดยนาเขา้ และประมวลผลในระบบสารสนเทศภมู ิศาสตร์ ดงั นี้ (1) การสร้างฐานข้อมูลเชิงพน้ื ท่ี เปน็ การนาเข้าขอ้ มลู ในรูปแผนท่ีเชิงเลข เพอ่ื ใชว้ เิ คราะห์ และประมวลผลเชิงพน้ื ท่ี (2) การสร้างฐานข้อมูลเชิงคุณลักษณะ เป็นการนาเข้าข้อมูลด้านคุณลักษณะของแผน ที่และข้อมูลท่ีเกี่ยวข้องกับข้อมูลเชิงพื้นท่ี เพ่ือทาให้ทราบถึงความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลท้ัง 2 ประเภท สาหรับใช้ในการวเิ คราะห์และประมวลผลในระบบสารสนเทศภมู ิศาสตร์ 5) การจัดทาแผนท่ีและฐานข้อมูล สภาพการใช้ท่ีดินของพื้นที่ลุ่มน้าคลองแอ่ง อาเภอบ่อไร่ จังหวดั ตราด พ.ศ. 2561 การสารวจเก็บรวบรวบข้อมูลด้านเศรษฐกิจและสังคมเพ่ือประกอบการจัดทาแผนการใช้ ที่ดินและแผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและความเสื่อมโทรมของดิน ด้วยระบบ อนุรักษ์ดินและน้า โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นเกษตรกรที่ปลูกพืชเศรษฐกิจสาคัญของพ้ืนท่ี ได้แก่ ยางพารา ไมผ้ ลผสม มขี ั้นตอนการดาเนนิ งาน ดังนี้ 1) การเก็บรวบรวมขอ้ มลู รวบรวมข้อมูลจากแหล่งข้อมูลท่ีสาคัญ ได้แก่ เกษตรกรผู้ให้สัมภาษณ์ ข้อมูลสถิติจาก หนว่ ยงานตา่ ง ๆ โดยสามารถจัดข้อมูลได้ 2 ประเภท คอื (1) ข้อมูลปฐมภูมิ คือ ข้อมูลที่เก็บรวบรวมจากการสารวจในภาคสนามด้วยวิธี การ สัมภาษณ์เกษตรกรในพื้นท่ีเป้าหมาย โดยการกาหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างใช้ตารางสาเร็จรูปของ Taro Yamane ที่ระดับความเชื่อมั่น 90% ได้ขนาดจานวนตัวอย่างท้ังส้ิน 100 ตัวอย่าง แล้วทาการสุ่มตัวอย่าง
15 ในการเก็บข้อมูลโดยใช้วิธีแบบเจาะจง (purposive sampling) คือ เลือกเฉพาะเกษตรกรที่ปลูกพืชท่ีเป็น พืชเศรษฐกจิ หลักของพ้นื ที่เปา้ หมาย และใช้แบบสอบถามในการสัมภาษณ์เกษตรกร (2) ข้อมูลทุติยภูมิ คือ ข้อมูลต่าง ๆ ที่เก็บรวบรวมจากเอกสารวิชาการ ผลงานวิจัย รายงาน บทความ และระบบสืบค้นทางอินเตอร์เน็ต เช่น ข้อมูลเกี่ยวกับระบบการปลูก การดูแลรักษา และการเกบ็ เกี่ยว เป็นต้น เพือ่ เป็นขอ้ มลู สาหรับอ้างองิ และประกอบการศึกษาต่อไป 2) การวเิ คราะห์ขอ้ มลู การนาข้อมูลท่ีเก็บรวบรวมได้ แล้วทาการตรวจสอบความถูกต้องและความครบถ้วนของ ข้อมูล และประมวลผล จากนั้นวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้วิธีการวิเคราะห์เชิงพรรณนา (descriptive analysis) แสดงผลเป็นค่าร้อยละ และ/หรือค่าเฉลีย่ แบ่งการวเิ คราะห์ข้อมลู ดังน้ี (1) การวิเคราะห์ข้อมูลท่ัวไปของครัวเรือนเกษตร ความรู้ ความเข้าใจ ด้านการอนุรักษ์ ดินและน้า ผลกระทบของการชะล้างพังทลายของดิน ตลอดจนทัศนคติ ปัญหาและความต้องการความ ชว่ ยเหลือจากรฐั ของเกษตรกร (2) การวิเคราะห์ข้อมูลการใช้ปัจจัยการผลิต โดยใช้ปริมาณและมูลค่าปัจจัย การผลิตทีส่ าคัญ ไดแ้ ก่ การใชพ้ นั ธ์ุ การใช้ปุ๋ยชนดิ ตา่ ง ๆ (ป๋ยุ เคมี และป๋ยุ อนิ ทรีย)์ การใช้สารปอ้ งกันและ กาจดั วชั พืช/ศัตรพู ชื /โรคพชื การใช้แรงงานคน และแรงงานเครื่องจกั ร โดยวเิ คราะห์และสรปุ ขอ้ มูลมาเป็น คา่ เฉล่ยี ตอ่ พน้ื ที่ 1 ไร่ (3) การวเิ คราะห์ขอ้ มลู ต้นทนุ และผลตอบแทนในการผลติ ได้แก่ - การวิเคราะห์ต้นทุนการผลิต ประกอบด้วย ต้นทุนท้ังหมด ต้นทุนผันแปร และ ตน้ ทุนคงท่ี โดยมีวิธีการคานวณต้นทนุ ดงั น้ี ตน้ ทุนท้ังหมด = ตน้ ทุนผันแปร + ต้นทุนคงท่ี ต้นทนุ ผนั แปร เปน็ คา่ ใช้จ่ายที่เก่ียวข้องกับการผลิตทจ่ี ะเปล่ยี นแปลงไปตามปริมาณการ ผลิต ค่าใช้จ่ายประเภทน้ี เกษตรกรสามารถเพิ่มหรือลดได้ในช่วงระยะเวลาการผลิตพืช เช่น ค่าพันธุ์ ค่าปุ๋ย คา่ แรงงานคน ค่าแรงงานเคร่อื งจักร คา่ ซ่อมแซมอุปกรณ์การเกษตร และค่าขนสง่ ผลผลิต เป็นตน้ ต้นทุนคงท่ี เป็นค่าใช้จ่ายท่ีเกิดขึ้นแก่เกษตรกร ถึงแม้จะไม่ได้ทาการผลิตพืช เนอ่ื งจากคา่ ใชจ้ ่ายประเภทนจ้ี ะไมเ่ ปลยี่ นแปลงไปตามปริมาณการผลิตพชื เช่น คา่ เชา่ ทด่ี นิ ทีใ่ ช้ในการปลูก พืช ค่าภาษีทด่ี ินซึง่ ตอ้ งเสียทุกปี ไม่วา่ ท่ีดนิ ผืนนัน้ จะใช้ประโยชน์ในปนี น้ั ๆ หรอื ไม่ก็ตาม - การวิเคราะห์ผลตอบแทนการลงทุน มีวธิ ีการคานวณ ดังนี้ ผลตอบแทนเหนือตน้ ทนุ ทั้งหมด = มลู คา่ ผลผลิตทงั้ หมด - ต้นทนุ ทั้งหมด - อัตราส่วนผลตอบแทนต่อต้นทุนทั้งหมด (Benefit-cost Ratio: B/C Ratio) เป็นการ วิเคราะห์ผลตอบแทนทางการเงิน เพื่อใช้ในการตัดสินใจในการลงทุนว่าควรจะลงทุนในการผลิตหรือไม่ เป็นการวิเคราะห์อัตราส่วนเปรียบเทียบมูลค่าปัจจุบันเฉล่ียต่อไร่ของผลตอบแทนกับต้นทุนทั้งหมดตลอด
16 ช่วงปีที่ทาการผลิต โดยเกณฑ์ที่ใช้ในการตัดสินใจเลือกลงทุนในโครงการใด ๆ คือ B/C Ratio ที่มีค่า มากกว่าหรือเท่ากับ 1 ถ้า B/C Ratio มากกว่า 1 หมายความว่า ผลตอบแทนที่ได้รับจากการผลิตพืช มากกว่าค่าใช้จ่ายหรือต้นทุนที่เสียไป หรือถ้า B/C Ratio เท่ากับ 1 หมายความว่า ผลตอบแทนท่ีได้รับจาก การผลติ พืชเทา่ กบั ค่าใช้จ่ายหรือต้นทุนทเ่ี สยี ไปพอดี การประเมินการชะล้างพังทลายของดินในพ้ืนท่ีโครงการฯ โดยอาศัยสมการการสูญเสียดินสากล (Universal Soil Loss Equation, USLE) (Wischmeier and Smith, 1965) ซง่ึ สมการนี้ถูกพัฒนาขึ้นมา เพื่อใช้ประเมินการชะล้างพังทลายของดินในพ้ืนที่เกษตร และเป็นการชะล้างพังทลายของดินที่เกิดจาก การกระทาของน้า ไมร่ วมถึงการชะลา้ งพังทลายท่เี กดิ จากลม ดงั สมการ A = R K LS C P สมการดังกล่าวพิจารณาการชะล้างพังทลายของดินจากการตกกระทบของเม็ดฝน (raindrop erosion) และแบบแผ่น (sheet erosion) ไม่ครอบคลุมถึงการชะล้างพังทลายแบบริ้ว (rill erosion) และแบบร่อง (gully erosion) (Wischmeier and Smith, 1965) ซ่ึงปัจจัยท่ีนามาพิจารณาในสมการ ได้แก่ ปริมาณน้าฝน ความ แรงของน้าฝน ลักษณะของดิน ลักษณะของพืชคลุมดิน สภาพของพื้นท่ีและมาตรการระบบอนุรักษ์ดินและน้า รายละเอยี ดแต่ละปจั จัยทีเ่ กย่ี วข้อง ดังน้ี 1) ปจั จัยท่ีเกย่ี วข้องกบั ฝน (erosivity factor: R) เป็นค่าความสัมพันธ์ของพลงั งานจลน์ของเม็ดฝน ท่ีตกกระทบผิวหน้าดินกับปริมาณความหนาแน่นของฝนในช่วงระยะเวลาหนึ่ง ซึ่งความสัมพันธ์น้ีได้มีผู้ ศึกษาและนามาประยุกต์ใช้อย่างกว้างขวาง (มนู และคณะ, 2527 และ Kunta, 2009) ในการศึกษานี้ได้ นาคา่ สหสัมพันธร์ ะหว่างค่าปัจจัยการกัดกรอ่ นของฝนสอดคล้องตามวิธกี ารของ Wischmeier (กรมพฒั นา ที่ดิน, 2545; มนูญ และคณะ, 2527) มาวิเคราะห์ร่วมกับข้อมูลปริมาณน้าฝนเฉลี่ยรายปี (average annual rainfall) ในช่วงระยะเวลา 30 ปี (พ.ศ. 2531-2561) ได้ค่าปัจจัยท่ีเกี่ยวข้องกับฝนสาหรับพ้นื ที่ โครงการฯ 2) ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับลักษณะของดิน (erodibility factor: K) เป็นค่าความคงทนของดินภายใต้ สภาพแวดล้อมท่ีคล้ายคลึงกันดินแต่ละชนิดจะทนต่อการชะล้างพังทลายที่แตกต่างกัน สอดคล้องตาม หลักการของ Wischmeier นั้น สามารถวิเคราะห์ค่าปัจจัยท่ีเกี่ยวข้องกับลักษณะดินนี้จากภาพ Nomograph โดยประเมนิ ไดจ้ ากสมบัติของดนิ 5 ประการคอื (1) ผลรวมปรมิ าณร้อยละดินของทรายแป้ง และปริมาณร้อยละของทรายละเอียดมาก (2) ปริมาณร้อยละของทราย (3) ปริมาณร้อยละของ อินทรียวัตถุในดิน (4) โครงสร้างของดิน และ (5) การซาบซึมน้าของดิน (กรมพัฒนาท่ีดิน, 2545) ได้มี การศึกษาปัจจัยดังกล่าว และใหค้ ่าปจั จยั ที่เก่ียวขอ้ งกับลกั ษณะของดินสอดคลอ้ งตาม 3) ปัจจัยท่ีเกี่ยวข้องกับสภาพภูมิประเทศ (slope length and slope steepness factor: LS) เป็น ปัจจัยท่ีเกี่ยวข้องกับความลาดชัน และความยาวของความลาดชัน ตามปกติแล้วค่าการชะล้างพังทลาย
17 ของดินนั้นจะแปรผันตรงกับความลาดชันสูงและความยาวของความลาดชัน ในการศึกษาน้ีได้ใช้ข้อมูลความ สูงจากแบบจาลองระดับความสูงเชิงเลข (Digital Elevation Model, DEM) โดยคานวณท้ังสองปัจจัย สอดคล้องกบั การศึกษาของ (Wischmeier and Smith, 1978) 4) ปัจจัยท่ีเกี่ยวข้องกับการจัดการพืช (crop management factor: C) เป็นปัจจัยท่ีเก่ียวข้องกับ พืชคลุมดิน ซึ่งพืชแต่ละชนิดย่อมมีความต้านทานในการชะล้างพังทลายของดินท่ีแตกต่างกันขึ้นอยู่กับ ความสูงของต้น ลักษณะพุ่ม หรือการยึดอนุภาคดินของรากพืชนั้น ๆ เป็นต้น ในกรณีที่ไม่มีพืชปกคลุมดิน นั้น ค่าปัจจัยท่ีเก่ียวข้องกับการจัดการพืชนี้จะมีค่ามากท่ีสุด ในที่น้ี คือ 1.00 ส่วนกรณีที่พืชปกคลุมดิน สามารถต้านทางการชะล้างพังทลายของดินได้ดีจะให้ค่าปัจจัยนี้น้อย นอกจากนี้ ปัจจัยที่เก่ียวข้องกับการ จัดการพืชนี้ ยังมีความสัมพันธ์กับสภาพภูมิอากาศในพ้ืนท่ีน้ัน ๆ เน่ืองจากสภาพภูมิอากาศน้ันมีผลต่อการ เจริญเติบโตของพืช 5) ปัจจัยท่ีเกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์ดินและน้า (conservation factor: P) เป็นปัจจัยท่ีแสดงถึง มาตรการอนุรักษ์ดินและน้าในพื้นท่ีน้ัน ๆ เช่น การปลูกพืชตามแนวระดับ (contouring) การปลูกพืชสลับ ขวางความลาดเอียง (strip cropping) การปลูกพืชในพื้นที่ที่มีคันนา เป็นต้น ในที่นี้ใช้ค่าตามการศึกษา ของกรมพัฒนาที่ดิน (2545) จากค่าปัจจัยท้ัง 5 ปัจจัยน้ัน สามารถนามาคานวณการสูญเสียดินสอดคล้อง ตามสมการการสูญเสียดินสากลได้บนฐานข้อมูลแบบราสเตอร์ (raster) โดยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ จากผลการคานวณค่าการสูญเสียดินน้ัน สามารถนามาจัดชั้นความรุนแรงของการสูญเสียดิน ทาให้ทราบ ถงึ ขอบเขตของพ้ืนท่ีมปี ัญหา เนื่องจากการสูญเสยี ดนิ เพ่ือเป็นแนวทางในการวางแผนอนุรักษ์ดนิ และน้าใน พืน้ ท่ีตอ่ ไป ตารางท่ี 2-1 ระดบั ความรนุ แรงของการชะล้างพงั ทลายของดนิ ระดับความรุนแรงของการชะล้างพังทลาย ค่าการสญู เสยี ดนิ (ตนั /ไร/่ ป)ี นอ้ ย 0-2 ปานกลาง 2-5 รนุ แรง 5-15 รุนแรงมาก 15-20 รุนแรงมากท่ีสุด มากกว่า 20 ทม่ี า: กรมพฒั นาท่ดี นิ (2545)
18 ตารางที่ 2-2 ช้ันของการกดั กรอ่ น (degree of erosion classes) สญั ลักษณ์ ชือ่ เรยี ก การสญู เสียของชน้ั ดนิ (%) E0 ไม่มีการกร่อน (non eroded) 0 E1 กร่อนเล็กน้อย (slightly eroded) E2 กรอ่ นปานกลาง (medium eroded) 0 - <25 E3 กร่อนรุนแรง (severe erosion) 25 – 75 E4 กรอ่ นรนุ แรงมาก (very severe erosion) > 75 100 ท่ีมา: กรมพฒั นาท่ีดนิ (2551) การจัดทาแผนการใช้ท่ีดิน เป็นการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีการทางภูมิสารสนเทศ (Geographic Information System: GIS) เพ่ือจัดทาแผนการใช้ท่ีดินเพ่ือการอนุรักษ์ดินและน้า โดยการประมวลผลข้อมูล ทางกายภาพ ได้แก่ ประเภทการใช้ที่ดิน การประเมินคุณภาพดิน น้า สภาพภูมิอากาศ สภาพเศรษฐกิจและ สังคม ดังน้ี วิเคราะห์ประเภทการใช้ที่ดิน จากชนดิ ของพืช ลกั ษณะการดาเนินงาน และสภาพการผลิตใน การใช้ที่ดินท้ังทางด้านกายภาพและสภาพเศรษฐกิจสังคม ซ่ึงได้แก่ รูปแบบการผลิต การเขตกรรม การ จัดการ เงินทุน และขนาดของกิจการ เป็นต้น โดยใช้ข้อมูลเหล่าน้ีมาวิเคราะห์เพ่ือคัดเลือกประเภทการใช้ ท่ดี นิ ที่เหมาะสม (กรมพฒั นาที่ดนิ , 2561) กับความตอ้ งการการผลิตพชื ของเกษตรกรในท้องถ่ินนั้น การคัดเลือกประเภทการใชท้ ี่ดินมีวิธีการโดยวิเคราะห์ข้อมูลดินร่วมกับข้อมลู สภาพการใช้ที่ดิน มาจดั ทาหน่วยที่ดิน หลงั จากนน้ั ถงึ ดาเนินการเก็บข้อมลู ตามเนื้อท่สี ภาพการใช้ที่ดนิ ท่ีมีมากท่ีสดุ ในลุ่มน้า 1) กล่มุ เปา้ หมายและพ้นื ท่ีดาเนนิ การ การคัดเลือกกลุ่มเป้าหมายบริเวณลุ่มน้าคลองแอ่ง อาเภอบ่อไร่ จังหวัดตราด จานวน 3 ตาบล 12 หมู่บ้าน โดยเลือกจากตัวแทนชุมชนและหมอดินอาสาประจาหมู่บ้าน โดยมีตัวแทน หมู่บ้าน รวม กล่มุ เป้าหมายทจี่ ะเข้ารว่ มการประชุม จานวน 40 คน ในแต่ละครงั้ ซง่ึ เปน็ ตวั แทนของพืน้ ท่ีดาเนินการ ดงั นี้
19 (1) ตาบลบอ่ พลอย ประกอบด้วย 1 หมูบ่ ้าน คอื บ้านมะนาว (2) ตาบลช้างทูน ประกอบด้วย 6 หมู่บ้าน คือ บ้านคลองขวาง บ้านช้างทูน บ้านหนอง แฟบ บ้านหนองมาตร บา้ นหนองไม้หอม และบา้ นตระกลู พัฒนา (3) ตาบลบ่อพลอย ประกอบด้วย 5 หมู่บ้าน คือ บ้านหนองบอน บ้านตรอกเกสร บ้านเนิน พฒั นา บ้านคอแล และบา้ นมะอึกแรด 2) ประเด็นการรบั ฟังความคิดเห็น ตัวแทนกลุ่มที่เป็นผู้นาชุมชนและหมอดินอาสา โดยมีประเด็นการรับฟังความคิดเห็น คือ ความรู้ความเข้าใจของเกษตรกรต่อการชะล้างพังทลายของดิน สภาพปัญหาของพ้ืนที่ แนวทางการแก้ไข ปัญหา (ภมู ปิ ญั ญาและตามหลักวชิ าการ) และการกาหนดเปา้ หมายในการดาเนนิ งาน (ภาพท่ี 2-2) สภาพปญั หา ความรู้ ความเข้าใจ การจัดการ ของพืน้ ท่ี ต่อการชะลา้ ง ด้วยระบบอนรุ กั ษ์ พังทลายของดนิ ดนิ และนา้ ลมุ่ นา้ คลองแอง่ อ.บ่อไร่ จ.ตราด แนวทางแก้ไข/ พนื้ ทนี่ าร่อง ภมู ิปัญญา + วชิ าการ ภาพท่ี 2-2 ประเดน็ การรับฟงั ความคดิ เห็นของชุมชนแบบมสี ่วนรว่ ม 1) จดั ทา (รา่ ง) รายงานแผนบรหิ ารจัดการป้องกนั การชะล้างพังทลายของดนิ และฟื้นฟูพื้นที่ เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้า เพ่ือประกอบการประชุมรับฟังความคิดเห็นจากหน่วยงาน ภาครัฐ ประชุมรับฟังความคิดเห็นต่อการจัดทาแผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและ ฟื้นฟพู ืน้ ทเี่ กษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้า พ้ืนท่ลี มุ่ น้าคลองแอ่ง อาเภอบอ่ ไร่ จงั หวดั ตราด ครง้ั ท่ี 1 ในวนั องั คาร ที่ 30 มิถนุ ายน 2563 เวลา 9.00 น. – 13.00 น. ณ หอ้ งประชมุ องค์การบริหารส่วนตาบล บ่อพลอย และคร้ังท่ี 2 ในวนั พฤหัสบดี ท่ี 30 กรกฎาคม 2563 เวลา 9.00 น. – 13.00 น. ณ ห้องประชุม
20 องค์การบริหารส่วนตาบลชา้ งทูน โดยมผี เู้ ข้ารว่ มประชุมจากหน่วยงานภาครฐั ได้แก่ กระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ กระทรวงมหาดไทย และองค์การบริหารส่วนตาบล 2) ปรับปรุงแก้ไข (ร่าง) รายงานแผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและ ฟ้ืนฟูพ้ืนท่ีเกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้า ก่อนนาเสนอต่อคณะทางานจัดทาแผนการบริหาร จดั การโครงการป้องกนั การชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพน้ื ทเ่ี กษตรกรรมดว้ ยระบบอนรุ ักษ์ดินและน้า พ้ืนท่ีลุ่มน้าคลองแอ่ง อาเภอบ่อไร่ จังหวัดตราด และคณะกรรมการขับเคล่ือนโครงการป้องกันการชะลา้ ง พังทลายของดนิ และฟนื้ ฟูพ้ืนทีเ่ กษตรกรรม ดว้ ยระบบอนรุ กั ษ์ดนิ และน้า การกาหนดพนื้ ทีเ่ ป้าหมายเพื่อดาเนนิ กิจกรรม (implement) ประกอบการจัดทาแผนปฏิบตั ิการให้ สอดคล้องกับสภาพปัญหาพ้ืนที่และความต้องการของชุมชน ด้วยการวิเคราะห์ลาดับความสาคัญเป็นการ กาหนดพ้ืนท่ีนาร่องโครงการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟ้ืนฟูพ้ืนที่เกษตรกรรม ด้วยระบบ อนุรักษ์ดินและน้า พ้ืนที่ลุ่มน้าคลองแอ่ง อาเภอบ่อไร่ จังหวัดตราด จากขอบเขตพื้นที่ลุ่มน้าย่อย จานวน 84,890 ไร่ เม่ือผ่านกระบวนการวิเคราะห์จากข้อมูลทุติยภูมิเบื้องต้นทั้งรูปแบบรายงานและแผนที่ ประกอบด้วย ข้อมูลดินและสภาพดินปญั หา การชะล้างพังทลายของดิน การใช้ที่ดิน และแผนการใช้ทด่ี นิ จากขอ้ มลู หนว่ ยงานทเี่ กยี่ วข้อง และการสารวจขอ้ มลู จากสภาพพน้ื ทดี่ าเนนิ การจริงในปัจจบุ นั และการรบั ฟังความคิดเห็นต่อแนวทางการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟ้ืนฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบ อนุรักษ์ดินและน้า จะทาให้ได้เกณฑ์ (criteria) สาหรับนามาใช้ในการกาหนดพื้นที่เป้าหมายและกาหนด แผนงาน/โครงการสนับสนุนการดาเนินงานโครงการได้ เช่น ระดับความรุนแรงของพื้นท่ีชะล้างพังทลาย ของดิน (soil erosion) พื้นที่ถือครอง แหล่งน้า สถานการณ์ภัยแล้งและน้าท่วม ระบบอนุรักษ์ดินและน้า การใชท้ ดี่ ิน และการมีส่วนรว่ มหรอื การยอมรบั ของชมุ ชน ในการคัดเลือกพ้ืนที่ดาเนินการ ปัจจัยหลักที่นามาพิจารณา 6 ด้าน ประกอบด้วย 1) ระดับความ รุนแรงของการชะล้าง 2) เอกสารสิทธิ์ 3) การใช้ท่ีดิน 4) กิจกรรมท่ีดาเนินงานในพื้นท่ี 5) แผนปฏิบัติงาน ของพ้ืนที่ 6) ความตอ้ งการของชมุ ชน โดยมีเกณฑก์ ารให้คะแนน ดังน้ี 1) ระดับความรนุ แรงของการชะลา้ ง สงู = 3 คะแนน ปานกลาง = 2 คะแนน ตา่ = 1 คะแนน 2) การถือครองท่ีดิน มีเอกสารสทิ ธิ์ = 3 คะแนน ไม่มเี อกสารสิทธ์ิ = 0 คะแนน 3) การใชท้ ดี่ นิ พืชหลกั (พชื ไร)่ = 3 คะแนน
21 นาขา้ ว (พชื รอง) = 2 คะแนน ไม้ผล/ไม้ยนื ตน้ (พชื รอง) = 1 คะแนน 4) กจิ กรรมทีด่ าเนนิ งานในพนื้ ที่ ไม่เคยมี = 2 คะแนน เคยมี = 1 คะแนน 5) แผนการดาเนนิ งานในพื้นที่ ปี 2564 แหล่งนา้ ปรับปรุงดนิ ระบบอนุรักษ์ดินและน้า = 3 คะแนน = 2 คะแนน แหลง่ น้า และปรบั ปรงุ ดนิ = 1 คะแนน แหล่งน้า หรือปรบั ปรุงดิน = 3 คะแนน = 2 คะแนน 6) ความตอ้ งการของชุมชน = 1 คะแนน ตอ้ งการแหล่งน้า และระบบอนุรกั ษ์ดนิ และน้า ต้องการแหล่งน้า หรือระบบอนรุ ักษ์ดนิ และนา้ ตอ้ งการงานด้านอืน่ ๆ แผนปฏิบัติการเพ่ือป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพ้ืนท่ีเกษตรกรรม ลุ่มน้า คลองแอ่ง ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2564-2567) และระยะ 1 ปี เพื่อเป็นเคร่ืองมือในการขับเคล่ือนโครงการป้องกันการชะ ล้างพังทลายของดินและฟ้ืนฟูพื้นท่ีเกษตรกรรม ด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้า ให้สามารถนาไปสู่การ วางแผน การกาหนดมาตรการและบริหารจัดการพ้ืนท่ีเกษตรกรรรมท่ีมีความเสี่ยงต่อการชะล้างพังทลาย ของดินและพื้นท่ีดินเสื่อมโทรม นาไปสู่การใช้ประโยชน์อย่างสูงสุดสมดุล เป็นธรรม และย่ังยืน รวมท้ัง สามารถแปลงไปสู่การปฏิบัติได้อย่างเป็นรูปธรรม ตามระบบการบริหารเชิงยุทธศาสตร์ท่ีสอดคล้องกับ ประเด็นปัญหาและบูรณาการการดาเนินงานของหน่วยงาน โดยผ่านกระบวนการมีส่วนร่วมจากภาคีผู้มี สว่ นไดเ้ สียทเ่ี กี่ยวข้อง
22 ภาพที่ 2-3 หลักการสาคัญในการจัดทาแผนการบริหารจัดการที่ดนิ และทรัพยากรดินของประเทศ ทีม่ า: สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม (2561) การบรหิ ารจัดการทรพั ยากรดนิ ระดบั ลุ่มน้า ไดน้ าหลกั การด้านการอนุรักษ์ดินและน้า การบรหิ าร จัดการเชิงระบบนิเวศท่ีต้องดาเนินการเพ่ือให้เกิดความสมดุลของระบบ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง การบูรณาการให้การใช้ประโยชน์ที่ดินเป็นไปอย่างเหมาะสมตามศักยภาพของที่ดิน มีความ เชื่อมโยงกับการจัดการทรัพยากรน้า ป่าไม้ และชายฝ่ัง ให้เกิดประโยชน์สูงสุดท้ังในด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม และความม่ันคงของประเทศ โดยให้คานึงถึงสิทธิในทรัพย์สินของประชาชนหลัก ธรรมาภิบาล การรับรู้ข้อมูลข่าวสาร การกระจายอานาจ การมีส่วนร่วมของประชาชน ชุมชนและ ภูมิ สังคม ดังนั้น เพื่อให้แผนบริหารจัดการแปลงไปสู่การปฏิบัติ จึงได้จัดทาแผนปฏิบัติการ แบ่งออกเป็น 2 ระยะ คือ ระยะ 4 ปี และระยะ 1 ปี โดยนาเสนอต้นแบบการบริหารจัดการทรัพยากรดินระดับลุ่มน้าในพ้ืนท่ีอื่น ๆ ครอบคลุมการ แก้ไขและป้องกันการชะลา้ งพังทลายของดนิ และฟ้ืนฟูพนื้ เกษตรกรรมครอบคลุมท้ังประเทศ ครอบคลุมทุก มิติแบบองค์รวม (interdisciplinary) ประกอบด้วย มิติทางกายภาพ สังคม เศรษฐกิจ และส่ิงแวดล้อม โดยกาหนดทิศทางจากสภาพปัญหาเป็นตัวนา (problem orientation) ความรู้ทางวิชาการที่หลากหลาย สาขาผ่านกระบวนการคิด วิเคราะห์ จากงานวิจัย (research) และเทคโนโลยีด้านการพัฒนาท่ีดิน การอนรุ กั ษ์ดนิ และนา้ ผ่านกระบวนการมีส่วนรว่ มของชมุ ชน (participation approach)
23 3 สถำนภำพพ้ืนที่ ลมุ่ น้ำคลองแอง่
3 24 พ้ืนทีล่ ุม่ น้าคลองแอ่งมีพ้ืนที่รวมทั้งส้ิน 135.82 ตารางกิโลเมตร หรอื 84,890 ไร่ โดยตั้งอยู่ในโซน 48P ระหว่าง เส้นรุ้งท่ี 12° 34’ 21” ถึง 12° 44’ 33”เหนือ (พิกัดเหนือ 1391234 m ถึง พิกัดเหนือ 1409943 m)และระหว่าง เส้นแวงท่ี 102° 25’ 34” และ 102° 31’ 10” ตะวันออก (พิกัดตะวันออก 220330 m ถึง พิกัดตะวันออก 230649 m ) อยู่ในลุ่มน้าหลักชายฝ่ังทะเลตะวันออก (รหัส 18) และเป็นส่วนหนึ่งของลุ่มน้า สาขาแม่น้าเมืองตราด (รหัส 1802) โดยมีพื้นที่อยู่ในตาบลหนองบอน ตาบลช้างทูน ตาบลบ่อพลอย อาเภอบอ่ ไร่ จงั หวัดตราด ลกั ษณะลมุ่ น้าวางตวั ตามแนวทิศเหนือ - ใต้ มีอาณาเขตติดต่อ (ภาพท่ี 3-1) ดังน้ี ทิศเหนือ ตดิ ตอ่ ตาบลหนองบอน อาเภอบ่อไร่ จังหวัดตราด ทศิ ใต้ ตดิ ตอ่ ตาบลบอ่ พลอย และตาบลชา้ งทูน อาเภอบ่อไร่ จังหวดั ตราด ทิศตะวนั ออก ตดิ ตอ่ ตาบลบ่อพลอย อาเภอบอ่ ไร่ จงั หวดั ตราด และราชอาณาจกั รกมั พชู า ทิศตะวนั ตก ตดิ ตอ่ ตาบลหนองบอน และตาบลช้างทูน อาเภอบ่อไร่ จังหวดั ตราด สภาพภมู ิประเทศส่วนใหญ่เป็นพื้นทลี่ ูกคลื่นลอนลาด รองลงมาเป็นพ้ืนที่เนินเขา พ้นื ที่ลกู คล่ืนลอนชัน พน้ื ทล่ี ูกคลน่ื ลอนลาดเล็กนอ้ ย พืน้ ทส่ี ูงชนั พนื้ ท่รี าบเรยี บหรือคอ่ นข้างราบเรียบ พื้นทสี่ ูงชันมาก และพ้นื ที่ สงู ชนั มากที่สุดตามลาดบั มีความสงู จากระดับทะเลปานกลาง 16-910 เมตร โดยมีคลองแอง่ ไหลผ่านพ้ืนที่ จากทิศเหนือไหลลงไปทศิ ใต้ของพื้นที่โครงการ (ภาพที่ 3-1 และภาพท่ี 3-2)
25 ตารางท่ี 3-1 ความลาดชนั พ้ืนทล่ี ่มุ นา้ คลองแอ่ง อาเภอบ่อไร่ จงั หวัดตราด ความลาดชนั (เปอร์เซ็นต)์ สภาพพืน้ ท่ี เนอื้ ที่ 0-2 ราบเรยี บหรือคอ่ นขา้ งราบเรียบ ไร่ ร้อยละ 2-5 ลูกคลน่ื ลอนลาดเลก็ นอ้ ย 6,188 7.29 5-12 ลูกคล่ืนลอนลาด 10,914 12.86 12-20 ลกู คล่นื ลอนชนั 20,991 24.73 20-35 เนนิ เขา 13,720 16.16 35-50 สูงชนั 18,350 21.62 50-75 สูงชนั มาก 10,843 12.77 >75 สงู ชนั มากทสี่ ดุ 3,777 4.45 รวมเน้อื ท่ี 107 0.12 84,890 100.00
26 ภาพที่ 3-1 ท่ีต้ังและอาณาเขต และลกั ษณะภูมิประเทศ พื้นท่ลี ุ่มนา้ คลองแอ่ง อาเภอบอ่ ไร่ จงั หวัดตราด
27 ภาพที่ 3-2 ความลาดชนั พ้นื ท่ีลมุ่ นา้ คลองแอ่ง อาเภอบ่อไร่ จังหวดั ตราด
28 พ้ืนที่ลุ่มน้าคลองแอ่ง อาเภอบ่อไร่ จังหวัดตราด อยู่ในพ้ืนท่ีตอนบนจังหวัดตราด มีลักษณะแบบ ร้อนชื้นมีฝนตกชุกเกือบตลอดปี เน่ืองจากได้รับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ และลมมรสุม ตะวันออกเฉียงเหนือ มีแนวเทือกเขาบรรทัดเป็นแนวปะทะทาให้มีฝนตกชุก ทง้ั ยงั ต้านลมพายทุ ี่พัดมาจาก ด้านทิศตะวันออกของประเทศ ส่งผลให้เกิดฤดูกาลต่าง ๆ ได้แก่ ฤดูหนาวอยู่ในช่วงเดือนพฤศจิกายน - เดือนกุมภาพันธ์ ฤดูร้อนอยู่ระหว่างเดือนมีนาคม-เดือนเมษายน และฤดูฝนอยู่ในช่วงเดือนพฤษภาคม - เดอื นตุลาคม จากข้อมุลอุตุนิยมวิทยาของกรมอุตุนิยมวิทยา ท่ีสถานีตรวจอากาศ อาเภอเมือง จังหวัดตราด โดยแบ่ง รายละเอยี ดของลักษณะภมู ิอากาศของสถานีตรวจอากาศ ช่วง 30 ปี (พ.ศ.2533-2562) ได้ดงั นี้ (ตารางท่ี 3-2) 1) อณุ หภูมิ จังหวัดตราด มีอุณหภูมิเฉลี่ยตลอดปี 27.5 องศาเซลเซียส โดยมีอุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ยตลอดปี 31.9 องศาเซลเซียส โดยมีอุณหภูมิสูงสุดในเดือนเมษายน 33.3 องศาเซลเซียส และอุณหภูมิต่าสุดเฉลี่ย ตลอดปี 23.7 องศาเซลเซียส โดยมอี ุณหภูมิต่าสดุ ในเดือนมกราคม 22.2 องศาเซลเซยี ส 2) ปรมิ าณนา้ ฝน จังหวัดตราด มีปริมาณน้าฝนรวมตลอดปี 4,906.5 มิลลิเมตร โดยมีปริมาณน้าฝนสงู สุดในเดือน กรกฎาคม 1,033.5 มลิ ลิเมตร และปริมาณน้าฝนตา่ สุดในเดือนธันวาคม 27.7 มิลลเิ มตร 3) ปริมาณน้าฝนใช้การได้ (Effective Rainfall : ER) ปริมาณน้าฝนใช้การได้ คือ ปริมาณน้าฝนที่เหลืออยู่ในดิน ซ่ึงพืชสามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้ ภายหลงั จากมีการไหลซมึ ลงไปในดินจนดนิ อม่ิ ตวั ดว้ ยน้าแล้วไหลบ่าออกมากักเก็บในพ้ืนดิน จังหวัดตราด มีปริมาณน้าฝนใช้การได้รวมตลอดปี 1,633.9 มิลลิเมตร โดยในเดือนกรกฎาคมมี ปริมาณน้าฝนใช้การได้มากท่ีสุด 225.0 มิลลิเมตร และเดือนธันวาคมปริมาณน้าฝนใช้การได้น้อยท่ีสุด 26.5 มลิ ลิเมตร 4) ความช้นื สมั พัทธแ์ ละศักยภาพการคายระเหยน้า จังหวัดตราด พบว่า มีความช้ืนสัมพัทธ์เฉล่ียตลอดปี 80.8 เปอร์เซ็นต์ โดยมีความช้ืนสัมพัทธ์ สูงสุดในเดือนมิถุนายนถึงกันยายน 87.0 เปอร์เซ็นต์ และต่าสุดในเดือนธันวาคม 70.0 เปอร์เซ็นต์ ส่วนปริมาณการคายระเหยเฉลี่ยตลอดปี 736.8 มิลลิเมตร ปริมาณการคายระเหยสูงสุด 68.8 มิลลิเมตร ในเดือนพฤษภาคม และปริมาณการคายระเหยตา่ สดุ 53.2 ในเดือนกมุ ภาพันธ์ 5) การวิเคราะห์ชว่ งฤดกู าลทเี่ หมาะสมสาหรับปลูกพชื จากการวิเคราะห์สถานการณ์สมดลุ ของน้า เพ่ือการเกษตรด้วยข้อมูลเก่ียวกับปริมาณนา้ ฝนเฉล่ีย รายเดือน และค่าศักยภาพการคายระเหยน้าเฉลี่ยรายเดือน (Evapotranspiration : ETo) ซ่ึงคานวณโดยใช้ โปรแกรม Cropwat for Windows Version 8.0 โดยพิจารณาจากช่วงระยะที่น้าฝนอยู่ที่เหนือระดับเส้น 0.5 ของคา่ ศกั ยภาพการคายระเหยน้า (0.5 ETo) เป็นหลกั (ภาพท่ี 3.3) พบว่า จงั หวดั ตราดสามารถปลูก พชื ได้ตลอดท้ังปี
29 ตารางท่ี 3-2 สถิติภูมิอากาศโดยเฉล่ียคาบ 30 ปี (ปี พ.ศ.2533-2562) ณ สถานีตรวจวัดอากาศ จงั หวัดตราด เดอื น อณุ หภูมิ (°ซ) ความช้ืน ปริมาณ จานวนวนั ที่ ศกั ยภาพการ ปรมิ าณฝนใช้ สมั พทั ธ์ นา้ ฝน ฝนตก คายระเหยน้า การ ตา่ สุด สูงสุด เฉล่ีย (%) (มม.) (วนั ) (มม.) (มม.) ม.ค. 22.2 31.8 26.8 73.0 50.7 5.3 54.6 46.6 ก.พ. 23.0 32.0 27.3 77.0 79.2 7.4 53.2 69.2 ม.ี ค. 24.1 32.5 28.1 79.0 137.7 12.5 64.5 107.4 เม.ย. 24.7 33.3 28.6 80.0 189.1 14.8 66.0 131.9 พ.ค. 24.7 32.8 28.4 83.0 412.7 21.8 68.8 166.3 ม.ิ ย. 24.3 31.4 27.5 87.0 784.9 25.5 65.1 203.5 ก.ค. 24.0 30.6 27.1 87.0 1,033.5 26.5 66.3 225.0 ส.ค. 24.1 30.7 27.1 87.0 993.8 27.0 66.3 224.4 ก.ย. 23.8 30.9 27.0 87.0 785.4 24.1 62.7 203.5 ต.ค. 23.5 31.8 27.0 84.0 329.2 21.3 60.8 157.9 พ.ย. 23.4 32.6 27.6 75.0 82.6 9.0 54.6 71.7 ธ.ค. 22.6 32.2 27.1 70.0 27.7 3.6 53.9 26.5 เฉล่ีย 23.7 31.9 27.5 80.8 - - - - รวม - - - - 4,906.5 198.8 736.8 1,633.9 ท่ีมา : กรมอตุ นุ ยิ มวทิ ยา (2563) หมายเหตุ : *จากการคานวณโดยโปรแกรม Cropwat for Windows Version 8.0 มิลลเิ มตร ปริมาณนา้ ฝน 1200 การระเหยและคายนา้ 0.5 การระเหยและคายน้า 1000 800 600 400 200 0 เดือน ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ชว่ งนา้ มากพอ ช่วงเพาะปลูกพืช ภาพท่ี 3-3 สมดลุ ของน้าเพื่อการเกษตร (พ.ศ. 2533-2562) จังหวดั ตราด
30 จากการศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลทรัพยากรดินระดับชุดดิน มาตราส่วน 1:25,000 ในพ้ืนท่ีลุ่มน้า คลองแอ่ง ซง่ึ มเี นอ้ื ทค่ี รอบคลุม 84,890 ไร่ สามารถจาแนกเป็นหนว่ ยแผนทด่ี นิ ได้ 18 หน่วยแผนที่ (ตารางที่ 3-3 และภาพที่ 3-4) ประกอบด้วย ระดับหน่วยจาแนก มี 8 ชุดดิน ( 17 หน่วยแผนท่ี) ดินคล้าย 1 ดิน (1หน่วยแผน ท)่ี คดิ เปน็ รอ้ ยละ 58.4 ของเนื้อทที่ ้งั หมด (รายละเอียดชดุ ดินตามภาคผนวกท่ี1) พื้นท่ลี าดชันเชงิ ซอ้ น (SC) มี 1 หน่วยแผนท่ี ซ่ึงเป็นพ้ืนที่ที่อยู่ในบริเวณขอบเขตด้านทิศเหนือ ทิศตะวันออก และทิศตะวันตก ของพื้นที่ลุ่มน้า คดิ เป็นร้อยละ 41.17 ของเนอ้ื ทที่ ง้ั หมด และพน้ื ทนี่ า้ (W) 1 หนว่ ยแผนท่ี คิดเปน็ รอ้ ยละ 0.43 ของเน้ือทที่ ัง้ หมด โดยเมื่อพิจารณาตามการกระจายตัวของดิน ลักษณะดินและสภาพพื้นท่ีท่ีพบจะเห็นว่า ชุดดินท่ีมี การกระจายตัวมากที่สุด คือ ชุดดินคลองชาก (Kc) มีเนื้อท่ีร้อยละ 18.90 ของเนื้อท่ีท้ังหมด กระจาย ครอบคลุมในพ้ืนท่ีตาบลหนองบอน ตาบลช้างทูน และตาบลบ่อพลอย ลักษณะดินเป็นดินเหนียวต้ืนถึงช้ัน ลูกรังหนาแน่น มีเนื้อดินบนเป็นดินร่วนปนดนิ เหนียวหรือดินร่วนเหนียวปนกรวดลกู รัง ดินล่างเป็นดินร่วน เหนียวปนกรวดลูกรังหรือดินเหนียวปนกรวดลูกรัง พบในสภาพพื้นที่แบบค่อนข้างราบเรียบถึงลูกคล่ืนลอนชัน นอกจากนี้ ยังพบการกระจายตัวของชุดดินหนองบอน (Nb) ชุดดินห้วยยอด (Ho) และชุดดิน โป่งน้าร้อน (Pon) มีเน้ือท่ีร้อยละ 15.82 7.59 และ 0.90 ตามลาดับ ดินมีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิด การชะล้างพังทลาย โดยเฉพาะดินท่ีมีลักษณะเน้ือดินบนและดินล่างต่างกัน ดินต้ืน และมีความลาดชันสูง (สภาพพ้ืนท่ีลอนชันและพื้นที่เนินเขา ความลาดชัน 12-35 เปอร์เซ็นต์) ควรมีมาตรการอนุรักษ์ดินและน้า ท่ีเหมาะสม เช่น การทาคันดินกั้นน้า ทาข้ันบันได และปลูกพืชตามแนวระดับขวางความลาดชันของพ้ืนที่ เพ่ือชะลอความเรว็ ของนา้ ที่ไหลบา่ ผา่ นผิวดิน ชว่ ยลดการชะล้างของหนา้ ดิน และนา้ ซึมผา่ นลงไปในดินชั้น ล่างได้มากข้ึน ทาให้ความช้ืนในดินมากข้ึน นอกจากน้ี ควรปลูกพืชคลุมดินเพ่ือช่วยรักษาความชื้นของดิน ไวแ้ ละยังชว่ ยลดการชะล้างพังทลายของดินได้อกี ดว้ ย เมื่อพิจารณาถึงปัจจัยด้านลักษณะของดินที่มีผลตอ่ การชะล้างพังทลายของดิน ซ่ึงดินแต่ละชนิดจะ ทนต่อการชะล้างพังทลายที่แตกต่างกันในสภาพแวดล้อมที่คล้ายคลึงกัน โดยเฉพาะค่าปัจจัยความคงทน ของดิน (K-factor) ท่ีสามารถนาไปประเมินการสูญเสียดินในสมการการสูญเสียดินสากล (USLE) จะเห็น ว่าปัจจัยสมบัติดินที่มีผลต่อค่าปัจจัยความคงทนของดิน ได้แก่ (1) ผลรวมปริมาณร้อยละของทรายแป้ง และปริมาณร้อยละของทรายละเอียดมาก (% silt + % very fine sand) (2) ปริมาณร้อยละของทราย (%sand) (3) ปริมาณร้อยละของอินทรียวัตถุในดิน (% organic matter) (4) โครงสร้างของดิน (soil structure) และ (5) การซาบซึมน้าของดิน (permeability) (กรมพัฒนาทดี่ นิ , 2545) จากการศึกษา ค่าปัจจัยความคงทนของดินต่อการชะลา้ งพังทะลาย (K-factor) ตามชนิดวัตถุต้นกาเนิดดินในพ้ืนที่สงู ของ ลุ่มน้าตราดพบว่า ผลรวมปริมาณร้อยละของทรายแป้งและปริมาณร้อยละของทรายละเอียดมากมีค่าสูง ส่งผลให้ค่า K-factor สูง และปริมาณร้อยละของอินทรียวัตถุในดินสูงส่งผลให้ค่า K-factor ต่า และยัง พบว่าดินในกล่มุ วัตถุตน้ กาเนดิ ดนิ พวกหนิ ตะกอนเนื้อหยาบมีแนวโน้มให้คา่ K-factor มากท่สี ุด และดนิ ใน กลุ่มวัตถุต้นกาเนิดดินพวกหินอัคนีสีเข้มมีค่า K-factor น้อยท่ีสุด (กองสารวจและจาแนกดิน, 2543) จากลักษณะและสมบัติดินดังกล่าวชใ้ี ห้เห็นว่า ดนิ ทมี่ ีค่า K-factor สงู (ง่ายต่อการกร่อน) จะมีแนวโนม้ เกิด
31 การชะล้างพังทลายของดินได้สูง ส่วนดินท่ีมีค่า K-factor ต่า (ยากต่อการกร่อน) จะมีแนวโน้มเกิด การชะล้างพังทลายของดินไดต้ ่า ดนิ ท่ีพบเป็นสว่ นใหญข่ องพื้นที่ อย่ใู นกลุม่ ดนิ ที่มีวัตถตุ ้นกาเนิดดินพวกหินตะกอนเน้ือละเอยี ด ซึ่งมี เน้ือดินเป็นกลุ่มดินเหนียว ได้แก่ ชุดดินคลองชาก (Kc) ชุดดินหนองบอน (Nb) ชุดดินห้วยยอด (Ho) ชุดดินตราด (Td) และชุดดินโป่งน้าร้อน (Pon) คิดเป็นร้อยละ 43.3 ของเนื้อที่ท้ังหมด มีค่าปัจจัยความ คงทนของดนิ (K-factor) ตา่ กวา่ ดินในท่ลี ่มุ ท่มี วี ตั ถตุ ้นกาเนิดดนิ พวกตะกอนน้าพาและปริมาณอินทรียวัตถุ ต่า ได้แก่ชุดดินรือเสาะ (Ro) ดินคล้ายชุดดินรือเสาะที่เป็นดินร่วนละเอียด (Ro-fl) ชุดดินแกลง (Kl) และ ชดุ ดินพทั ลงุ (Ptl) คดิ ปน็ ร้อยละ 15.09 ของเน้อื ทีท่ ้ังหมด นอกจากปัจจัยด้านลักษณะสมบัติของดินแล้ว ปัจจัยด้านสภาพพื้นท่ีและการใช้ประโยชน์ที่ดินก็มี ผลต่อการชะล้างพังทลายของดิน โดยเฉพาะความลาดชันของพ้ืนท่ีจะมีผลโดยตรงต่อการชะลา้ งพังทลาย ของผิวหน้าดิน การไหลบ่าของน้าผ่านผวิ หน้าดิน ระดับน้าใต้ดิน ความช้ืนในดิน การระบายน้า ความยาก งา่ ยต่อการกกั เกบ็ น้าและการเขตกรรม ดังนัน้ สภาพพ้ืนท่จี ึงเป็นปจั จยั ทสี่ าคญั อย่างหน่ึงท่ีควบคุมลักษณะ ของการใช้ประโยชน์ที่ดินซ่ึงส่งผลต่อการชะล้างพังทลายของดินด้วย โดยเฉพาะการปลูกไม้ผลและไม้ยืน ต้นเชิงเด่ียว เช่น ยางพารา ปาล์มน้ามัน เงาะ ทุเรียน ซึ่งเป็นพืชเศรษฐกิจท่ีปลูกเป็นส่วนใหญ่และปลูกใน พ้ืนท่ีท่ีมีความลาดชันสูง ทาให้ดินมีอัตราการถูกชะล้างพังทลายของดินสูง เนื่องจากปลูกในพ้ืนท่ีท่ีมีความ ลาดชนั สงู และมสี ่ิงปกคลมุ ผิวหนา้ ดินน้อย สง่ ผลทาให้ความอุดมสมบรู ณ์ของดนิ ลดลง รวมท้ังในพื้นทีม่ กี าร ใช้เครื่องจักรกลในการไถพรวนดินบ่อยคร้ัง เป็นสาเหตุสาคัญท่ีทาให้สมบัติดินทางกายภาพลดลง และ สง่ เสริมใหเ้ กดิ การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ เพิม่ สูงขน้ึ พ้ืนท่ีลาดชันเชิงซ้อนหรือพื้นที่ลาดชันสูง (slope complex or steep slope) มีความลาดชัน มากกว่า 35 เปอร์เซ็นต์ เป็นพื้นที่ที่ยังไม่การจาแนกประเภทดิน ซึ่งกระจายตัวเป็นส่วนใหญ่ของพื้นท่ี คิด เป็นร้อยละ 41.17 ของเนื้อท่ีทั้งหมด ไม่เหมาะสมต่อการปลูกพืชทุกชนิด เนื่องจากมีอัตราการชะล้าง พังทลายสูงมาก การจัดการดูแลรักษาลาบาก ทาให้เกิดการชะล้างพังทลายรุนแรงมาก แต่ถ้ามีความ จาเป็นต้องนาพื้นท่ีน้ีมาใช้ประโยชน์ทางด้านการเกษตร มีความจาเป็นอย่างย่ิงที่จะต้องพิจารณาถึงชนิด พืชท่ีจะปลูกร่วมกับลักษณะของดินภายใต้การจัดการอนุรักษ์ดินและน้าเป็นพิเศษหรือทาในระบบวน เกษตรสภาพพืน้ ทลี่ าดชนั เชงิ ซอ้ นหรือพ้ืนท่ีลาดชนั สูง สามารถแบ่งย่อยออกเป็น 3 ระดับ ดังนี้ 1) พ้ืนที่สงู ชัน (steep slope) มีความลาดชนั 35-50 เปอร์เซ็นต์ 2) พน้ื ท่ีสงู ชันมาก (very steep slope) มีความลาดชัน 50-75 เปอร์เซน็ ต์ 3) พน้ื ทส่ี ูงชันมากที่สุด (extremely steep slope) มีความลาดชนั มากกว่า 75 เปอรเ์ ซน็ ต์
32 ตารางที่ 3-3 ทรัพยากรดนิ ในพืน้ ที่ลุ่มนา้ คลองแอง่ อาเภอบอ่ ไร่ จงั หวดั ตราด ลาดับ สญั ลกั ษณ์ คาอธิบาย เนื้อท่ี ไร่ ร้อยละ 1 Ho-gclD ชดุ ดินหว้ ยยอด มเี นอื้ ดนิ บนเปน็ ดนิ ร่วนเหนยี วปนกรวด 2,760 3.25 ความลาดชัน 12-20 เปอร์เซ็นต์ 2 Ho-gclE ชดุ ดนิ หว้ ยยอด มเี นอื้ ดินบนเป็นดนิ รว่ นเหนยี วปนกรวด 3,575 4.22 ความลาดชัน 20-35 เปอรเ์ ซ็นต์ 3 Kc-clA ชุดดินคลองชาก มีเนื้อดินบนเป็นดินร่วนเหนียว ความลาดชัน 0-2 833 0.98 เปอร์เซน็ ต์ 4 Kc-clB ชุดดินคลองชาก มเี นอื้ ดินบนเปน็ ดนิ ร่วนเหนยี ว ความลาดชนั 1,392 1.64 2-5 เปอรเ์ ซ็นต์ 5 Kc-gclB ชดุ ดินคลองชาก มเี นือ้ ดินบนเปน็ ดินรว่ นเหนียวปนกรวด 1,225 1.44 ความลาดชัน 2-5 เปอรเ์ ซ็นต์ 6 Kc-gclC ชดุ ดินคลองชาก มเี นือ้ ดินบนเปน็ ดินร่วนเหนียวปนกรวด 10,402 12.25 ความลาดชัน 5-12 เปอรเ์ ซน็ ต์ 7 Kc-gclD ชดุ ดินคลองชาก มีเนอ้ื ดินบนเปน็ ดนิ รว่ นเหนยี วปนกรวด 1,158 1.36 ความลาดชนั 12-20 เปอรเ์ ซน็ ต์ 8 Kl-clA ชุดดินแกลง มเี นื้อดินบนเปน็ ดนิ ร่วนเหนียว ความลาดชนั 0-2 เปอรเ์ ซ็นต์ 3,468 4.08 9 Nb-clB ชุดดินหนองบอน มีเน้ือดินบนเป็นดินร่วนเหนียว ความลาดชัน 2-5 3,012 3.55 เปอรเ์ ซ็นต์ 10 Nb-clC ชุดดินหนองบอน มีเน้ือดินบนเป็นดินร่วนเหนียว ความลาดชัน 5-12 1,102 1.30 เปอร์เซ็นต์ 11 Nb-clD ชุดดินหนองบอน มีเนื้อดินบนเป็นดินร่วนเหนียว ความลาดชัน 12-20 3,676 4.33 เปอรเ์ ซ็นต์ 12 Nb-clE ชุดดินหนองบอน มีเนื้อดินบนเป็นดินร่วนเหนียว ความลาดชัน 20-35 4,313 5.08 เปอรเ์ ซน็ ต์ 13 Pon-clC ชุดดินโป่งน้าร้อน มีเนื้อดินบนเป็นดินร่วนเหนียว ความลาดชัน 5-12 255 0.30 เปอรเ์ ซน็ ต์ 14 Pon-clD ชุดดินโป่งน้าร้อน มีเน้ือดินบนเป็นดินร่วนเหนียว ความลาดชัน 12-20 411 0.48 เปอรเ์ ซ็นต์ 15 Ptl-siclA ชุดดนิ พัทลงุ มเี นือ้ ดินบนเปน็ ดนิ รว่ นเหนียวปนทรายแป้ง 1,702 2.03 ความลาดชัน 0-2 เปอรเ์ ซ็นต์ 16 Ro-silB ชุดดินรือเสาะ มีเนื้อดินบนเป็นร่วนปนทรายแป้ง มีความลาดชัน 2-5 3,729 4.39 เปอรเ์ ซน็ ต์ 17 Ro-fl-silB ดินรือเสาะท่ีมีเนื้อดินเป็นดินร่วนละเอียด มีเนื้อดินบนเป็นร่วนปนทราย 2,253 2.65 แปง้ มีความลาดชัน 2-5 เปอร์เซ็นต์
33 ตารางที่ 3-3 ทรพั ยากรดนิ ในพ้นื ทีล่ มุ่ นา้ คลองแอง่ อาเภอบ่อไร่ จงั หวัดตราด (ตอ่ ) ลาดบั สญั ลักษณ์ คาอธบิ าย เนื้อที่ ไร่ ร้อยละ 18 Td-clB ชุดดินตราด มีเนื้อดินบนเป็นดินร่วนเหนียว ความลาดชัน 2-5 78 0.09 เปอรเ์ ซ็นต์ 19 SC พน้ื ที่ลาดชนั เชงิ ซอ้ น 34,809 41.00 20 U พ้ืนที่ชุมชนและสิ่งปลกู สร้าง 2,824 3.33 21 W พื้นทนี่ า้ 1,913 2.25 รวมเนือ้ ท่ี 84,890 100.00
34 ภาพที่ 3-4 ทรพั ยากรดนิ พืน้ ท่ีลมุ่ นา้ คลองแอ่ง อาเภอบ่อไร่ จังหวดั ตราด
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145