Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือ 5ส ปี 2022 ฉบับไทย

คู่มือ 5ส ปี 2022 ฉบับไทย

Published by pqm.hrd, 2022-07-07 15:04:11

Description: คู่มือ 5ส ฉบับไทยปี 2022
คู่มือ 5ส จัดทำขึ้นเพื่อให้พนักงานทุกระดับได้ศึกษาข้อมูลและหลักการปฏิบัติ 5ส

Keywords: คู่มือ 5ส ฉบับไทยปี 2022

Search

Read the Text Version

1 คำนำ

2 ประวตั คิ วำมเป็ นมำของบริษทั บริษทั พี ควอลิต้ี แมชชีน พาร์ท จากดั ต้งั อยเู่ ลขที่ 188/8-9 หมู่ 1 ถ.เทพารักษต์ .บางเสาธง อ.บางเสาธง จ.สมุทรปราการ 10570โทร.02-7064514-17 เริ่มก่อต้งั เม่ือวนั ท่ี 4 กุมภาพนั ธ์ 2543 และไดย้ า้ ยมาจากถนนเทพารักษ์ กม.26 เมื่อ พ.ศ.2548 เราเป็ นบริษทั ฯช้นั นาในกลุ่มธุรกิจผลิตชิ้นส่วนรถจกั รยานยนต์ ชิ้นส่วนยาน ยนต์ ชิ้นส่วนเคร่ืองจกั รกลการเกษตร ชิ้นส่วนเครื่องใชไ้ ฟฟ้าและชิ้นส่วน คอมเพรสเซอร์ ชิ้นส่วนตาม DRAWING (งาน JIG FIXTURE)โดยมีตลาดท้งั ภายในประเทศและตา่ งประเทศ เช่น ญี่ป่ ุน เวยี ดนาม และฝรั่งเศส และบริษทั ฯ ไดร้ ับการรับรองมาตรฐานระบบคุณภาพ ISO9001:2015และISO/IATF16949 เป็น ที่เรียบร้อยแลว้

3 นโยบำย 5ส PQM (เดินตำมรอยพ่อ ๙ ข้อสู่ควำมสำเร็จ PQM) เรามุ่งมนั่ พฒั นาระบบ 5ส โดยการศึกษาขอ้ มูลให้เขา้ ใจ 5ส สูงสุดเพ่ือ กาหนดเป็ นข้ันตอนในการปฎิบตั ิของชาว PQM เพ่ือเพิ่มประสิทธิภาพในการ ทางานอย่างมีความสุขเน้นท่ีความปลอดภยั โดยให้ความสาคญั การพฒั นาและ ปรับปรุงเร่ิมจากสิ่งเล็กๆ สู่ความเปล่ียนแปลงที่ยงั่ ยืน ด้วยความร่วมมือจาก พนกั งานทุกระดบั ให้มีจิตสานึกร่วมกนั เพ่ือสร้างความพึงพอใจและความตอ้ งการ ของลูกคา้ อยา่ งต่อเน่ือง วตั ถุประสงค์ 1.เพื่อปลูกจิตสานึกใหพ้ นกั งานมีส่วนร่วมในการทาระบบ 5ส อยา่ งต่อเนื่อง สม่าเสมอ จริงจงั จนเป็นวฒั นธรรมองคก์ ร (ทุกคน ทุกที่ ทุกเวลา) 2.เพื่อสนบั สนุนและส่งเสริมใหบ้ ุคลากรทุกระดบั มีความเขา้ ใจในการพฒั นา และปรับปรุง โดยใหค้ วามสาคญั เร่ิมจากสิ่งเล็กๆ ก่อน 3.เพ่ือนาระบบ 5ส มาใช้เป็ นพ้ืนฐานในการดาเนินงานร่วมกันอย่างมี ความสุข และความปลอดภยั ในการทางาน 4.เพื่อนาระบบ 5ส มาใชเ้ ป็นพ้นื ฐานในการพฒั นาและปรับปรุงการทางาน สร้างความพงึ พอใจและความตอ้ งการของ ลูกคา้ อยา่ งต่อเนื่อง

4 นิยำม 5ส PQM 5ส เป็นระบบการจดั การพ้ืนฐาน PQMมุ่งเนน้ ใหพ้ นกั งานทุกระดบั มีส่วน ร่วมและปรับปรุงกระบวนการทางานใหเ้ กิดประสิทธิภาพอยา่ งตอ่ เนื่อง เพื่อลด ความสูญเปล่า สร้างความสุข ความปลอดภยั และความพงึ พอใจใหก้ บั ลูกคา้ อยา่ ง ยงั่ ยนื คำขวญั 5ส PQM 5ส คือพืน้ ฐำน สร้ำงมำตรฐำน สร้ำงวนิ ัย PQM รวมนำ้ ใจ ก้ำวไกลอย่ำงยงั่ ยืน

5 5ส สไตล์ PQM • สะสำง(Seiri) เซริ Organization • ขจดั ส่วนเกนิ เพมิ่ เตมิ ส่วนขำด จำเป็ นและพอดี • สะดวก (Seiton) เซตง Neatness • ชัดเจน รวดเร็ว มปี ระสิทธิภำพ • สะอำด (Seiso) เซโซ Cleaning • ตรวจสอบ ค้นหำ บำรุงรักษำ สร้ำงควำมปลอดภัย • สร้ำงมำตรฐำน (Seiketsu) เซเคทซึ Standardization • เป้ำหมำยชัดเจน ทำงำนแทนกนั ได้ • สร้ำงวนิ ัย (Shitsake) ชิทซึเคะ Discipline • เคำรพกติกำ ทำด้วยใจ ก้ำวไกลอย่ำงยง่ั ยืน

6 บริษทั พี ควอลติ ี้ แมชชีน พำร์ท จำกดั ได้นำพฤติกรรมของสัตว์แต่ละตัวมำใช้ในกำรสื่อควำมหมำยของ 5ส โดยมคี วำมหมำย ดงั นี้ • กระรอก = เป็ นสัตว์ทสี่ ำมำรถแยกส่ิงของ ชอบจัด ชอบคัดแยก • ใช้ส่ือควำมหมำยของ ส1 สะสำง • ลงิ = เป็ นสัตว์แสนซน คล่องแคล่ว ว่องไว รวดเร็ว • ใช้ส่ือควำมหมำยของ ส2 สะดวก • สุนัข = เป็ นสัตว์รักควำมสะอำดสำมำรถดมกลน่ิ หำส่ิงผิดปกติได้ • ใช้สื่อควำมหมำยของ ส3 สะอำด • มด = เป็ นสัตว์ทที่ ำงำนเป็ นทมี และทำงำนแทนกนั ได้ • ใช้ส่ือควำมหมำยของ ส4 สร้ำงมำตรฐำน • ไก่ = เป็ นสัตว์มีวนิ ัยสม่ำเสมอ ขันตอนเช้ำทกุ วนั • ใช้สื่อควำมหมำยของ ส5 สร้ำงวนิ ัย

7 “น้องกระดง่ิ ” เกิดจากการรวมตวั ของสัตว์ 5 ชนิด กระรอก ลิง สุนขั มด ไก่ รวมกนั เป็นนอ้ งกระดิ่ง ไดช้ ่ือวา่ นอ้ งกระดิ่งเพราะเปรียบเสมือน เป็นตวั แทนท่ีคอยประชาสมั พนั ธส์ ่งเสียงส่ือสาร ใหท้ ุกคนไดส้ ามคั คี พร้อมร่วมมือกนั ทา 5ส เตือนวา่ 5ส ประกอบไปดว้ ยอะไรบา้ ง ทาใหท้ ุก คนเม่ือไดเ้ ห็นนอ้ งกระด่ิงกจ็ ะนึกถึง 5ส ในเชิงเปรียบเทียบกบั สัตว์ 5ชนิด ที่ไดก้ ล่าวมา สวสั ดีครับ!! พน่ี ้อง ชำว PQM ทุกคน ผมช่ือ “น้องกระด่งิ ”

8 บริษทั พี ควอลิต้ี แมชชีน พาร์ท จากดั ไดน้ า “มด” มาใชเ้ ป็น สญั ลกั ษณ์ในการจดั ทามาตรฐานทุกพ้ืนท่ี เม่ือเห็น“มด” ตอ้ งนึกถึงความ เป็นมาตรฐานมีแนวทางการปฏิบตั ิไปในทิศทางเดียวกนั เม่ือเป้าหมายและ มาตรฐานชดั เจนกส็ ามารถทาแทนกนั ได้ “ทกุ คน ทกุ ที่ ทกุ เวลำ” “มด” เป็นสตั วท์ ่ีทางานเป็นทีม และทางานแทนกนั ได้ ใชส้ ่ือความหมายของ ส4 สร้ำงมำตรฐำน

9 บ้ำน 5ส (House of 5S) ผ้ผู ลติ และให้บริกำรช้ันนำ ส4 : สร้ำงมำตรฐำน ส1 สะสำง ส2 สะดวกส3 สะอำด ส2 สะดวก ส5 : สร้ำงวนิ ยั สร้ำงแรงจูงใจ เศรษฐกจิ พอเพยี ง กำรศึกษำ โครงสร้ำงและแผนงำน 5ส ระบบส่ือสำร บ้ำน 5ส ของคุณอนุวรรตน์ ศิลำเรืองอำไพ แนวคดิ บ้ำน 5ส นีค้ วรปลกู ฝังไปยงั พนักงำนทกุ คนเพ่ือรองรับกำรผลติ หรือกำร บริกำรในระดับสำกล (world class manufacturing)ซ่ึงแสดงไว้เป็ นส่วนของหลงั คำบ้ำน ส่วนทเ่ี ป็ นเสำและคำน หมำยถงึ ให้ทำ สะอำด สะสำง สะดวก และสร้ำงมำตรฐำน โดยใช้ ส3 เป็ นเสำหลกั เป็ นกำรทำควำมสะอำดควบคู่ไปกบั กำรตรวจสอบสิ่งผดิ ปกตวิ ่ำ สิ่งทท่ี ำน้ัน เป็ นควำมสูญเปล่ำหรือไม่ (ส1) หำกเกดิ ควำมสูญเปล่ำต้องปรับปรุงให้ดีขนึ้ เพ่ือเพมิ่ ประสิทธภิ ำพ (ส2) ถ้ำมกี ระบวนกำรทด่ี ีให้จดั ทำเป็ นมำตรฐำน (ส4) เพ่ือให้ผู้อ่ืนทรำบว่ำ วธิ กี ำรปฏบิ ตั ทิ ดี่ นี ้ันเป็ นอย่ำงไรเมื่อทุกคนทรำบมำตรฐำนแล้วจะกลบั ไปทำ ส5 สร้ำงวนิ ัย หมำยถงึ กำรปฏบิ ตั ติ ำมมำตรฐำนทก่ี ำหนดขนึ้ เกดิ เป็ นวงจร 5ส ดังจะได้กล่ำวต่อไป ทม่ี ำ:จำกหนังสือ 5ส:หลกั กำรและวิธีปฏิบัติ แต่งโดย ดร.อดิศักด์ิ ธีรำนุพฒั นำ

10 ตัวชี้วดั KPI ของ 5ส ส1 สะสำง การจดั ระบบ องคก์ รใหเ้ กิดความ สมดลุ วตั ถุประสงค์ เพือ่ ลด ควำมสูญเปล่ำ ตวั ชี้วดั มีส่ิงของท่ี จำเป็ น ในจานวนที่ พอดี ส2 สะดวก จดั เกบ็ ส่ิงของใหเ้ ป็นระเบียบเรียบร้อยคงไวซ้ ่ึง ควำมปลอดภยั คณุ ภำพและ ประสิทธิภำพ วตั ถุประสงค์ เพม่ิ ประสิทธิภำพในกำรทำงำนปรับปรุงการทางานใหด้ ีข้นึ ตวั ชี้วดั หาของไดภ้ ายใน30วนิ าที มี Productivityเพิม่ ข้นึ ส3 สะอำด ทาความสะอาดพ้นื ที่อปุ กรณ์ตรวจสอบหาสิ่งผิดปกติแกไ้ ขใหเ้ กดิ กำรพร้อม ใช้ควำมปลอดภัย วตั ถุประสงค์ ตรวจสอบดูแลแก้ไขเชิงป้องกนั (บำรุงรักษำ) ตวั ชีว้ ดั ดา้ นกายภาพ อปุ กรณ์ เครื่องจกั ร พร้อมใช้น่ำทำงำนและปลอดภยั ส4 สร้ำงมำตรฐำน แนวทำงกำรปฏิบตั ทิ ด่ี รี ่วมกนั วตั ถุประสงค์ รักษาพฒั นาและยกระดบั การทา3สแรกเพ่อื ลดควำมเส่ียง ในกำรปฏบิ ตั งิ ำน ตวั ชี้วดั ยอมรับ ทำแทนกนั ได้บรรลุเป้ำหมำยKPI ในหน่วยงาน ส5 สร้ำงวนิ ยั กำรสร้ำงแรงจูงใจสร้างความเขา้ ใจพฒั นาให้เป็ นนิสัยและวฒั นธรรม วตั ถุประสงค์ ควำมต่อเน่ืองควำมยงั่ ยืนของระบบ5ส ตวั ชี้วดั ทาได้ ทกุ คน ทุกท่ี ทกุ เวลำ

11 ข้นั ตอนและประโยชน์กำรทำ 5ส ส1 สะสำง (Seiri / Organization) ข้นั ตอนและวธิ ีกำรทำ ส1สะสำง กระบวนกำรจำเป็ น ส่ิงของจำเป็ น สำรวจ ข้นั ตอนกำรทำงำน สำรวจ พืน้ ท่ี คดั แยก จำเป็ นมีมูลค่ำ,ไม่จำเป็ นไม่มมี ูลค่ำ คัดแยก จำเป็ น,ไม่จำเป็ น ขจัด ข้นั ตอนทไี่ ม่จำเป็ น ขจัด ทงิ้ ,ขำย,บริจำค 5ส ทม่ี องไม่เห็น 5ส ทม่ี องเห็น มำตรฐำน จำนวนทพี่ อดี คู่แข่งธุรกจิ เดียวกนั ,ระดบั สำกล เพม่ิ เตมิ ส่วนขำด,ต้องไม่ขำดควำมสมดุล

12 ประโยชน์ของกำรทำ ส1สะสำง ได้พืน้ ทก่ี ลบั คืน ลดต้นทุนกำรส่ังซื้อ อปุ กรณ์ทไี่ ม่จำเป็ น ลดภำระในกำรทำ STOCK ไม่เครียดจำกกำรทำงำน ไม่ต้องทำงำนหลำยข้นั ตอน มคี วำมสุขจำกกำรทำงำน

13 ส2 สะดวก (Seiton / Neatness) ข้นั ตอนและวธิ ีกำรทำ ส2สะดวก การทาสะดวกเป็น การจดั วางของท่ีจาเป็ นใหง้ ่ายตอ่ การใช้ โดยจะตอ้ งคานึงถึง กฎพ้ืนฐานในการจดั เก็บส่ิงของ ความปลอดภยั คณุ ภาพ การจดั เกบ็ ท่ีไม่ทาใหเ้ กดิ การจดั เกบ็ ท่ีไม่ทาให้ อบุ ตั ิเหตหุ รอื อนั ตรายต่อ สงิ่ ของนนั้ ๆเส่ือมสภาพ หรอื ไดร้ บั ความเสียหาย ผปู้ ฏบิ ตั ิงาน ประสทิ ธิภาพ การจดั เกบ็ ที่สามารถหยบิ ใชไ้ ดท้ นั ทีอยา่ งรวดเรว็ ไม่ ตอ้ งเสยี เวลาคน้ หา

14 เทคนิคกำรทำ ส2 สะดวก ใชบ้ ่อยไวใ้ กลม้ ือ หนกั อยลู่ า่ ง เบาอยบู่ น เล็กสนั้ อยหู่ นา้ ใหญ่ยาวอยหู่ ลงั จดั หมวดหมู่ กาหนดที่วาง จดั ทา Visual จดั ทาแผนผงั และUpdate ทาการปรบั ปรงุ อยา่ งต่อเน่ืองดว้ ย Kaizen ประโยชน์ของกำรทำ ส2 สะดวก เพิ่มประสทิ ธิภาพการทางาน ลดเวลาในการคน้ หาอปุ กรณ์ ลดเวลาการทางาน(การเคล่อื นไหว) ลดการสญู หายของอปุ กรณห์ รอื เอกสาร ทางานไดเ้ สรจ็ ทนั ตามแผน

15 ส3 สะอำด (Seiso / Cleaning ) ข้นั ตอนและวธิ ีกำรทำ ส3 สะอำด 1.กาหนดผูร้ ับผดิ ชอบ 2.มีข้นั ตอนการทาความสะอาด 3.จดั ทาแผนงานตามความถี่ 4.ลงมือตรวจสอบหาสิ่งผดิ ปกติ 5.แกไ้ ขเพื่อกลบั คืนสู่สภาพปกติ แนวทางของการทาความสะอาด โดยรวมทงั้ หมด ละเอียดส่วนยอ่ ย ทาความสะอาดทกุ สง่ิ ทาความสะอาดเจาะจงเฉพาะ และจดั การกบั ทกุ ปัญหา เครอื่ งมือและช้ินสว่ นและแกไ้ ข ปัญหาที่ทาใหเ้ กิดความสกปรก แต่ละสว่ น ทาความสะอาดโดย ที่ไดร้ บั การช้ีชดั แลว้ เฉพาะเจาะจงพ้ืนที่และ เฉพาะเจาะจงช้ินสว่ นของ เครอ่ื งจกั ร

16 ตรวจสอบโดยใช้ประสำทสัมผสั ตา เพ่อื คน้ หา รอยรวั่ นอ็ ต หรือโบลตท์ หี่ ลวมหรอื คลาย ห ู เพ่ือคน้ หาเสยี งลมรวั่ เสียงสนั่ คลอนของ เคร่ืองจกั รอปุ กรณท์ อ่ ทางสายพาน จมกู เพ่ือคน้ หานา้ มนั ที่รวั่ แกส๊ ท่ีรวั่ สารเคมที ่ีหกกล่ินไหม้ มือ เพ่ือสมั ผสั คน้ หาการทางานท่ีผดิ ปกติ เชน่ อณุ หภมู ทิ ี่ สงู ขน้ึ กว่าปกตขิ องมอเตอร์ การสนั่ สะเทือนการโยกคลอน การหลวมคลายตวั ประโยชน์ของกำรทำ ส3สะอำด 1.พร้อมใชแ้ ละปลอดภยั 2.สถานที่น่าทางาน สดใส สบายตา สบายใจ 3.พบสิ่งผดิ ปกติไดง้ ่ายและรวดเร็ว 4.ช่วยยดื อายกุ ารใชง้ านของอุปกรณ์และเคร่ืองจกั ร

17 ส4 สร้ำงมำตรฐำน (Seiketsu / Standardization) ข้นั ตอนและวธิ ีกำรทำ ส4 สร้ำงมำตรฐำน มำตรฐำน คือ ความปกติ จะสร้างมาตรฐานตอ้ งทา 3ส ก่อน มาตรฐานท่ีดี+มีรูปภาพ+ขอ้ ความหา้ มเกิน7ประเด็น+สร้างความน่าสนใจ กาหนดเป็ น ฝึ กอบรม ลายลกั ษณ์ อกั ษร ติดตาม ประเมินผล การจงู ใจ ปรบั ปรงุ ใหด้ ีข้ึน Upstandar d

18 มำตรฐำน 5ส เป็นมาตรฐานที่มีไวใ้ หพ้ นกั งานทุกคนปฏิบตั ิไดเ้ หมือนกนั แบง่ เป็น 2ประเภท ดงั น้ี 1.มำตรฐำนกลำง หมายถึง กาหนดข้ึนมาปฏิบตั ิในแนวทางเดียวกนั เป็ นพ้นื ที่ ส่วนรวมเป็ นพ้ืนท่ีท่ีใชง้ านร่วมกนั ทุกหน่วยงาน มาตรฐานพ้นื ท่ีนาไปปฏิบตั ิได้ 2.มำตรฐำนพืน้ ท่ี หมายถึง กาหนดเพื่อใชใ้ นพ้นื ที่ แตล่ ะพ้ืนท่ีจดั ทาข้ึนเอง มาตรฐานพ้ืนท่ีหากกาหนดข้ึนมาหา้ มขดั แยง้ กบั มาตรฐานกลาง รูปแบบของมำตรฐำน มาตรฐาน 5ส มาตรฐาน มาตรฐาน กลาง พ้ืนท่ี รปู แบบของ มาตรฐานการจดั เก็บ มาตรฐานพ้ืนที่ มาตรฐานการใชง้ าน มาตรฐานการบารงุ รกั ษา

19 มาตรฐานการจดั เก็บ หลงั ปฏิบตั ิงาน มาตรฐานการใชง้ าน ขณะปฏบิ ตั ิงาน มาตรฐานการบารงุ รกั ษา ก่อนปฏิบตั ิงาน หลงั ปฏิบตั ิงาน คืนสสู่ ภาพปกต/ิ เดมิ (ส1 สะสาง) ขณะปฏบิ ตั ิงาน อธิบายการใชง้ านอปุ กรณ(์ ส2 สะดวก) ก่อนปฏบิ ตั ิงาน ตรวจสอบ – เชค็ Check (ส3 สะอาด) ข้นั ตอนกำรจัดทำมำตรฐำนกลำง 1.ศึกษาสารวจ 2.ยกร่าง 3.รับรู้พจิ ารณา 4.ประชุมสรุป 5.ประกาศใช้ 6.ส่งเสริมปฏิบตั ิ 7.ประเมินผลปรับปรุง

20 ข้นั ตอนกำรจัดทำมำตรฐำนพืน้ ท่ี 1.จดั ทา 3ส แรก 2.ประยกุ ตใ์ ชต้ ามแนวคิด VFP (Visual/Feedback/Photograph) 3.จดั ทามาตรฐานพ้ืนท่ี 4.ทีมมาตรฐานกลางพิจารณา YES/NO 5.ประกาศใชเ้ ป็นมาตรฐานพ้ืนท่ี 6.บรรจุหวั ขอ้ ในแบบฟอร์มการตรวจ 7.ทบทวนปรับปรุงยกระดบั รวมกบั ISO ควำมหมำยของสีเส้ น 1. - เส้นแบง่ ทางเดินบริเวณทางานพ้นื ที่ทว่ั ไปทางเขา้ -ออก ใช้สีเหลืองหนำ5- 10 ซ.ม. การแสดงทิศทางใช้ ลูกศรสีเหลือง - เส้นบริเวณวางงานระหวา่ งกระบวนการผลิต ใช้สีขำวหนำ 5 ซ.ม. 2. - เส้นบริเวณไวข้ องเสีย อุปกรณ์หยดุ เครื่องจกั รฉุกเฉิน ติดต้งั เคร่ือง ดบั เพลิง สารไวไฟ เคร่ืองกีดขวางการก่อสร้าง ใช้สีแดง หนำ 5 ซ.ม. 3. -เส้นสาหรับเตือนการเกิดอนั ตราย อุปกรณ์สาหรับขนถ่าย บริเวณที่อาจ เกิดการลื่นลม้ กระแทก ใช้สีเหลืองสลบั ดำ -บริเวณที่ปลอดภยั เคร่ืองมือปฐมพยาบาล ใช้สีเขียว

21 -เครื่องจกั รท่ีเป็นอนั ตราย ของมีคม ส่วนที่หมุนได้ เคล่ือนที่ได้ ใช้สีส้ม -การจราจร ขอบถนน ใช้สีดำสลบั ขำว -ภาชนะ อุปกรณ์เกี่ยวกบั สารกมั มนั ตภาพรังสี ใช้สีม่วง 10 ซม. ขนาดเสน้ ของขอบเขตทางเดิน 5 ซม. ขนาดเส้นของกรอบวางของบนพ้นื 1.0 ซม. ขนาดเสน้ ของกรอบวางของบนโต๊ะ 0.5 ซม. ขนาดเส้นของกรอบในตูห้ รือช้นั วางของ

22 กำรสร้ำงแรงจูงใจให้ทุกคนทำตำมมำตรฐำน 1.ใหค้ วามรู้ 2.ใหท้ ุกคนเขา้ มามีส่วนร่วมในการจดั ทา 3.สามารถเขา้ ใจไดไ้ มม่ ีความซบั ซอ้ น 4.เหมาะสมสอดคลอ้ งกบั การใชง้ านจริง 5.ง่ายตอ่ การนาไปใช้ 6.เปลี่ยนแปลงไดใ้ นกรณีท่ีมีการปรับปรุง ประโยชน์ของกำรทำ ส4 สร้ำงมำตรฐำน 1.ลดความเสี่ยงเพ่มิ ความถูกตอ้ ง 2.รักษาและปรับปรุง สภาพการทา 3ส ใหเ้ กิดความตอ่ เนื่อง 3.มีแนวทางการปฏิบตั ิไปในทิศทางเดียวกนั 4.สามารถปฏิบตั ิหนา้ ที่ทดแทนกนั ได้ 5.พฒั นาความสามารถของพนกั งานใหม้ ี Multi skill ข้ึน 6.การปฏิบตั ิงานมีประสิทธิผลและมีประสิทธิภาพ

23 ส5 สร้ำงวนิ ัย (Shitsuke / Discpline) ข้นั ตอนและวธิ ีกำรทำ ส5 สร้ำงวนิ ัย วนิ ยั คือ การเคารพตามกฎกติกาและนาไปปฏิบตั ิดว้ ยความสมคั รใจเตม็ ใจ การสร้างวนิ ยั เป็ นจุดเริ่มตน้ และจุดปิ ดทา้ ยในการทา 5ส เพอื่ ใหเ้ กิดความสาเร็จ และยงั่ ยนื สรา้ ง แรงจงู ใจ ใหค้ วามรู้ ผบู้ รหิ ารลงมือ ความเขา้ ใจ ทาเป็ น ที่ถกู ตอ้ ง แบบอยา่ ง สรา้ ง การติดตาม บรรยากาศ ประเมินผล และกลไกท่ีดี

24 ประโยชน์ของกำรทำ ส5 สร้ำงวนิ ัย 1.สร้างความต่อเนื่องและยง่ั ยนื ของระบบ 5ส 2.มีบรรยากาศการทางานที่ดีและมีความสุข 3.เกิดความรักและสามคั คีในองคก์ ร 4.มีวฒั นธรรมองคก์ รที่ดี การสรา้ งแรงจงู ใจ 1.ใหค้ วามรคู้ วามเขา้ ใจ 2.หวั หนา้ ทาเป็ นตวั อยา่ ง 3.สรา้ งบรรยากาศ 4.ใหร้ างวลั

25 สรุปประโยชน์ของ 5ส เสริมสร้ำงวนิ ัยในกำรทำงำน สภำพแวดล้อมในกำรทำงำนสะอำด เป็ นระเบียบ และปลอดภัย เป็ นพืน้ ฐำนในกำรปรับปรุงงำน (Kaizen) เตรียมควำมพร้อมทจ่ี ะก้ำวไปสู่ระบบมำตรฐำนสำกล สร้ำงทมี งำนและกำรทำงำนแบบมสี ่วนร่วม พฒั นำสู่กำรเป็ นผู้นำ สร้ำงควำมสุข ควำมสมดุลในชีวติ กำรทำงำนและชีวติ ประจำวนั เกร็ดควำมรู้ 5ส “5ส สร้ำงวนิ ัย เป็ นจุดเริ่มต้นและจุดปิ ดท้ำยในกำรทำ 5ส เพ่ือให้เกดิ ควำมสำเร็จและยงั่ ยืน” “MSP ตวั ชี้วดั ควำมสำเร็จของกำรทำ 5ส ในมุมมองของพนักงำน คือ ขวญั กำลงั ใจต้องดี (Morale) ควำมปลอดภัยต้องมี (Safety) ผลติ ภำพต้องเพมิ่ (Productivity)” “5ส ไม่ใช่เป้ำหมำย ไม่ใช่กฎระเบียบ ข้อบังคับ แต่คือแนวทำงกำรทำงำนร่วมกนั ” “กำรทำ 5ส ทำเป็ นระบบ เริ่มต้นเป็ นกล่มุ ครอบคลมุ ทกุ พืน้ ท่ี ลดกำรต่อต้ำน เสริมสร้ำงมำตรฐำน หำญกล้ำปรับปรุง พยุงควำมต่อเน่ือง ปรำดเปรื่องเรื่องควำมคดิ ” ทม่ี ำ:อำจำรย์ อภชิ ำติ ยมิ้ แสง จำกหนงั สือ 5ส หลกั กำรและวธิ ีปฏบิ ัติ ของผ้แู ต่ง ดร.อดศิ ักด์ิ ธีรำนุพฒั นำ

26 หลกั กำรทรงงำนของในหลวงรัชกำลที่9 คือหลกั กำร Kaizen หลกั การของไคเซ็น ซ่ึงเป็นสิ่งท่ีพนกั งานควรยดึ ถือเป็นแนวปฏิบตั ิในการ ทาไคเซ็น มีความคลา้ ยคลึงกบั หลกั การทรงงานในพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั รัชกาลท่ี 9 ในหลายประเดน็ ดงั น้ี 1. ความเช่ือวา่ สิ่งต่างๆ ยงั สามารถปรับปรุงใหด้ ีข้ึนได้ สอดคลอ้ งกบั หลกั การ พ่ึงตนเอง 2. ใชป้ ัญญาใหม้ าก ลงทุนใหน้ อ้ ย คลา้ ยกบั หลกั ประหยดั เรียบง่าย ไดป้ ระโยชน์ สูงสุด และปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 3. ไม่หมกหมุน่ กบั วธิ ีท่ีดีท่ีสุด ทาใหด้ ีข้ึนไดก้ ็ทาไปก่อน คลา้ ยกบั หลกั การ แกป้ ัญหาท่ีจุดเล็กและกา้ วแรกที่กลา้ กา้ ว

27 4. ไม่ส่งผลกระทบใหผ้ อู้ ื่นเดือดร้อน สอดคลอ้ งกบั หลกั การรับฟังความคิดของ ผอู้ ื่น การเคารพความคิดที่แตกต่าง และการยดึ ประโยชนส์ ่วนรวม 5. ทาต่อไปไม่หยดุ ย้งั ไคเซ็นแลว้ ไคเซ็นอีก เป็ นหลกั ของความเพียร ความอดทน- มุง่ มนั่ และความต้งั ใจจริง เม่ือผปู้ ฏิบตั ิยดึ หลกั การไคเซ็นเหล่าน้ี ยอ่ มถือไดว้ า่ เป็ นผูน้ อ้ มนาหลกั การทรงงาน ของพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั รัชกาลที่ 9 มาเป็นแนวทางในการปฏิบตั ิงาน หลกั การน้ีจะทาใหผ้ คู้ นในสถานที่ปฏิบตั ิงานอยรู่ ่วมกนั ไดด้ ว้ ยความสุข ไม่ เบียดเบียนตนเองและผอู้ ื่น ใชท้ รัพยากรในสถานท่ีปฏิบตั ิงานใหเ้ กิดประโยชน์ สูงสุด โดยเป็นการบริหารท่ียดึ หลกั การจดั ลาดบั ความสาคญั ของการพฒั นางาน กำรเปลยี่ นแปลงและกำรปรับปรุงด้วยKaizen การเปลี่ยนแปลง (Change) หมายถึง การกระทาท่ีแตกตา่ งไปจากเดิม การ ปรับปรุง (Improvement) หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่ก่อใหเ้ กิดคุณคา่ เพ่ิม การ ปรับปรุง หมายถึง การเปล่ียนแปลงเพอื่ บรรลุผลลพั ธ์ที่ดีกวา่ โดยอาจเป็นการ ปรับปรุงแบบคอ่ ยเป็ นค่อยไปหรืออาจเป็นการเปล่ียนแปลงอยา่ งกา้ วกระโดดกไ็ ด้ แต่เมื่อใดหรือที่ใดที่มีการปรับปรุงในทางธุรกิจแลว้ การปรับปรุงเหล่าน้นั มกั จะ นาไปสู่การปรับปรุงในดา้ นคุณภาพและผลิตภาพอยเู่ สมอ การปรับปรุงอยา่ ง ต่อเน่ือง (Continuous Improvement) หมายถึง การแสวงหาความสมบูรณ์แบบอยา่ ง ไมม่ ีที่สิ้นสุด โดยการมุง่ กาจดั รากเหงา้ ของปัญหา ไคเซ็น (Kaizen) เป็ น กระบวนการปรับปรุงอยา่ งต่อเนื่องโดยไมเ่ คยจบสิ้น เป็ นการปรับปรุงเปล่ียนแปลง

28 อยา่ งค่อยเป็นค่อยไป และเป็ นการปรับปรุงเป็ นประจาในช่วงเวลาที่ยาวนาน โดย ใชเ้ งินลงทุนนอ้ ยในการปรับปรุง และทุกคนในองคก์ รมีส่วนร่วมในการปรับปรุง ไคเซ็นเริ่มตน้ จากแนวคิดดว้ ยการยอมรับวา่ ทุกบริษทั ยอ่ มมีปัญหา และไค เซ็นคือกุญแจที่ใชแ้ กไ้ ขปัญหา ไคเซ็นเป็นแนวความคิดคลา้ ยกบั ร่มท่ีครอบคลุมการ ทางานในลกั ษณะเฉพาะของการจดั การแบบญ่ีป่ ุน โดยเฉพาะการดาเนินกลยทุ ธ์ใน การพฒั นาท่ีมุง่ กระบวนการ ซ่ึงก่อใหเ้ กิดการปรับปรุงงานในระดบั ตา่ งๆ ของ องคก์ รอยา่ งสม่าเสมอ เน้ือหาสาระสาคญั ของไคเซ็น คือ “จะไมป่ ล่อยใหเ้ วลาในวนั หน่ึงผา่ นไปโดยไมม่ ีการปรับปรุงในส่วนใดส่วนหน่ึงขององคก์ ร” 5ส แต่ละตวั ลว้ นมีความสัมพนั ธ์กบั ไคเซ็น กำรสะสำงทาใหเ้ ห็นวา่ ความ สูญเปล่าน้นั อยทู่ ่ีใดบา้ ง การบง่ ช้ีความสูญเปล่าตรงกบั “ลองมอง” ซ่ึงเป็ นจุดเริ่มตน้ ของกระบวนการไคเซ็น กำรทำสะดวกเป็นการใชเ้ ทคนิคของไคเซ็น เช่น การจดั วางผงั การมองเห็น และการศึกษาการเคล่ือนไหว เพือ่ ปรับปรุงประสิทธิภาพและ ความเร็วใหส้ ูงข้ึน ตรงกบั “ลองคิด” และ “ลองทา” กำรทำควำมสะอำดเป็น จุดเริ่มตน้ ของไคเซ็นเช่นกนั เพราะอาศยั การตรวจสอบส่ิงผดิ ปกติ จึงทาใหม้ องเห็น ปัญหาท่ีจะนาไปปรับปรุง มำตรฐำนสร้างข้ึนเพอื่ ลดความผนั แปรในการทางาน แต่ เม่ือใชไ้ ปสกั ระยะเวลาหน่ึง จาเป็นที่จะตอ้ งทาไคเซ็น เพื่อยกระดบั มาตรฐาน สร้ำง วนิ ัย คือ การสร้างความรู้ความเขา้ ใจใหพ้ นกั งานเห็นคุณค่าใน 5ส และปฏิบตั ิได้ อยา่ งถูกตอ้ ง เมื่อพนกั งานมีความรู้สูงข้ึนจากการฝึกอบรมและการตรวจประเมิน ยอ่ มสามารถยกระดบั การทา 5ส และไคเซ็นขององคก์ รได้

29 เหตุผลควำมจำเป็ นของกำรเรียนรู้และปรับปรุงสู่กำรเปลยี่ นแปลง KAIZEN ? 5ส เป็ นเคร่ืองมือพืน้ ฐำนของไคเซ็น 5ส เป็นเคร่ืองมือในการกาจดั ความสูญเปล่าและเป็นเครื่องมือพ้นื ฐานของ ไคเซ็น ท้งั 5ส และไคเซ็นควรทาใหเ้ ป็นปกติธรรมดา กล่าวคือ ตอ้ งมุง่ มน่ั ในการ ขบั เคล่ือนเร่ืองเหล่าน้ีใหเ้ กิดข้ึนในองคก์ รอยา่ งจริงจงั ตอ้ งใชค้ วามอดทน ทาอยา่ ง ต่อเน่ือง ท้งั น้ี องคก์ รควรจะจดั ทาระบบ 5ส ก่อนท่ีจะส่งเสริมไคเซ็น เพราะจะช่วย ใหก้ ารทาไคเซ็นเป็ นไปอยา่ งราบรื่น ต่อเน่ือง และมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล สูงข้ึน และยงั เป็นเคร่ืองมือที่ใชใ้ นการปรับเปล่ียนทศั นคติและพฤติกรรมของ พนกั งานใหม้ ีวนิ ยั มากข้ึน KAIZEN ไมใ่ ช่การเปลี่ยนใหม่ท้งั หมด แตเ่ ป็น การปรับปรุงบางจุด เทา่ น้นั เพื่อใหผ้ ปู้ ฏิบตั ิงานทางานง่ายข้ึน ผรู้ ับบริการสะดวกข้ึน สามารถนามาใชใ้ นการบริหารจดั การ อยา่ งมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล โดยมุ่งเนน้ ใหพ้ นกั งานทุกคน มีส่วนร่วมในการแสวงหาแนวทางใหมๆ่ เพื่อปรับปรุงวธิ ีการทดงาน หวั ใจสาคญั ของหลกั การKaizen คือ “กำรปรับปรุงอย่ำงต่อเน่ือง” โดยใช้ควำมรู้ควำมสำมำรถของพนักงำน มำคดิ ปรับปรุงงำนด้วยกำร ลงทุนเพยี งเลก็ น้อย

30 Change การเปล่ียนแปลง Good ความดี Continuous Improvement การปรบั ปรงุ เปลี่ยนแปลง พฒั นา อยา่ งต่อเน่ือง KAIZEN 7 E Economy Easy Every time ประหยดั คุ้มค่ำ ง่ำย สะดวกรวดเร็ว ทำได้ทกุ เวลำ Every Level Every Process ทำได้ทุกคน ทำได้ทุกข้นั ตอน ทุก ทุกระดับ กระบวนกำร Effectiveness Efficiency ได้ประสิทธิผล ไดป้ ระสิทธิภาพ

31

32

33 คาพดู ที่ฆา่ ไคเซ็น - หวั หนา้ คงไมม่ ีทางเห็นดว้ ย หรอก - มาทาอะไรกนั ป่ านน้ี - บริษทั เราไม่ยอมรับเรื่องทานอง - เรื่องเลก็ แบบน้ี ใครเขาทาไค น้ี เซ็นกนั - มนั ซบั ซอ้ นมากกวา่ ที่คิดนะ - มนั ดีอยแู่ ลว้ ไมต่ อ้ งเปล่ียน - ความคิดดี แต่ไม่มีตงั คท์ า หรอก - ถา้ ทาจะมีปัญหายงุ่ ยากตาม - ไมม่ ีเวลาหรอก มานะ - ใชค้ ่าใชจ้ า่ ยเยอะเกินไปแลว้ - มาปรึกษากบั ผม กค็ งช่วยอะไร - มนั นอกเหนือความรับผดิ ชอบ ไม่ไดห้ รอกนะ ของพวกเรา - น่ีเหรอขอ้ เสนอแนะ ใชห้ วั คิดอีก - ยงั ไมถ่ ึงเวลาทา หน่อยสิ

34 เรำจะเร่ิมต้นทำ KAIZEN ได้อย่ำงไง? ทาไคเซ็นเพื่อตวั เอง เร่ิมจากส่ิงใกลต้ วั โดยลองตอบคาถามเหล่าน้ีดูใน งานที่ทา (ทาใหเ้ บาแรง ง่าย เร็ว ตน้ ทุนต่า ถูกตอ้ งแม่นยา ปลอดภยั น่าพอใจ และยกเลิกได)้ ปัญหำ กำรรับมือ สำเหตุ มำตรกำรจัดกำร ไม่รู้ ทาใหร้ ู้ มองไม่เห็น ทาใหเ้ ห็นดว้ ยตา เข้ำใจยำก ทาใหเ้ ขา้ ใจง่าย ซบั ซอ้ นยงุ่ ยาก ทาใหง้ ่าย สับสน ทาใหส้ บั สน ไมช่ ดั เจน ทาใหช้ ดั เจน กระจัด ทาใหเ้ หมือนกนั ไมม่ ีมาตรฐาน กาหนดจานวนที่แน่นอน กระจำย ทาใหเ้ ป็น คนละทิศละทาง สร้างมาตรฐาน ไม่ มาตรฐาน สมำ่ เสมอ ทาใหท้ ุกคนรู้ ซบั ซอ้ น/ยง่ ยาก ทาใหง้ ่าย/ทาเป็นคูม่ ือ มีแต่คุณ และทาได้ สัญชาตญาณ/ ใชป้ ระโยชน์จากอุปกรณ์ เท่ำน้ันทีร่ ู้ คนเขา้ ใหม่ เทคนิคส่วนตวั และฟงกช์ นั่ การทางาน ทที่ ำได้ สามารถทาได้ สูตรสำเร็จของ Kaizen หลกั กำรนำไปสู่กำรปฏิบัตขิ องไคเซ็น - อะไรที่ไม่มีประโยชนก์ เ็ ลิก - เลิกไม่ไดก้ ล็ ด - ลดไมไ่ ดก้ เ็ ปลี่ยน

35

36 Kaizen พืน้ ท่ีต่ำงๆ

37 Kaizen พืน้ ท่ีต่ำงๆ

38 กำรปรับปรุงกำรทำงำนด้วย Visual Visual หมายถึง เกี่ยวกบั การมองเห็นรับรู้ไดโ้ ดยสายตา Visual Display หมายถึง การแสดงดว้ ยการมองเห็น เป็นการแสดงหรือแนะนา เพ่ือใหท้ ราบและเขา้ ใจไดด้ ว้ ยการมอง เช่น ลูกศรแสดงทิศทางการหมุนของ สายพาน,ป้ายแสดงสถานะการทางานของเคร่ืองจกั ร,ป้ายเตือน,ป้ายช้ีบ่งตา่ งๆฯลฯ Visual Control หมายถึง การควบคุมดว้ ยการมองเห็น เป็ นเทคนิคท่ีทาใหส้ ่ิงท่ี ตอ้ งการควบคุมดูแลเป็ นตวั ช้ีใหเ้ ห็นถึงความผดิ ปกติดว้ ยตวั เอง และความผดิ ปกติที่ แสดงออกมาน้นั จะแจง้ เตือนใหท้ ราบและใหค้ นรีบเขา้ ดาเนินการแกไ้ ขสิ่งผดิ ปกติ น้นั ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งเหมาะสม Visual Management หมายถึง การแสดงใหเ้ ห็นการจดั การวา่ ยงั เป็นปกติหรือมี ความผดิ ปกติเกิดข้ึน เป็ นการจดั การขอ้ มูลขา่ วสารท่ีจาเป็นเพอ่ื สร้างแรงจูงใจใน การทางาน

39 กำรตรวจประเมนิ 5ส เป้ำหมำยกำรตรวจประเมิน ตรวจเพอ่ื กระตุน้ การปรับปรุง ไม่ตรวจเพียงเพื่อวดั ผล โดยใชห้ ลกั 3จริง (Management by Fact) สถานท่ีจริง ของจริง สภาพแวดลอ้ มจริง คุณสมบตั ทิ ท่ี มี ตรวจประเมิน 5ส ต้องมี 1.ประสบการณ์ จินตนาการ ความกลา้ 2.ความรู้ระบบ 5ส 3.มีความรู้ความเขา้ ใจในพ้นื ท่ี 4.มีความเป็ นกลาง 5.มีคาปรึกษาใหค้ าแนะนาอยา่ งสร้างสรรค์ 6.ตอ้ งเป็ นทีมตรวจท่ีเป็นตวั อยา่ งที่ดี ข้นั ตอนกำรตรวจประเมิน 1.แผนการตรวจ 2.ผตู้ รวจ 3.เตรียมแบบฟอร์ม

40 วธิ ีกำรตรวจ 5ส 1.ตรวจตำมกำยภำพ ตรวจโตะ๊ เกา้ อ้ี ตรวจตามสภาพพ้ืนท่ี 2.ตรวจตำมโครงสร้ำงพืน้ ทง่ี ่ำยๆ 3.ตรวจตำมมำตรฐำน มาตรฐานกลาง และ มาตรฐานพ้นื ที่ 4.ตรวจตำมกำรทำในแต่ละส ดงั น้ี ส1 สะสำง (จำเป็ นและพอดี) 1.มีแต่ของทจี่ ำเป็ นเท่ำน้ัน 2.มีจำนวนทพ่ี อดใี นกำรทำงำน 3.มกี ำรจัดกำรสิ่งของทไี่ ม่จำเป็ น 4.ข้ันตอนกำรทำงำนเหมำะสม (ไม่ซับซ้อน,ไม่สูญเปล่ำ) ส2 สะดวก (หำง่ำยภำยใน30วนิ ำท,ี ที่อยู่ชัดเจน,เพมิ่ ประสิทธิภำพกำรทำงำน) 1.หำง่ำยภำยใน 30 วนิ ำที 2.จัดวำงสิ่งของตำมหลกั 5ส 3.ตรวจตำมกำรทำ Visual VD,VC,VM 4.ตรวจตำมกำรทำ Kaizen

41 ส3 สะอำด (สะอำด,พร้อมใช้,ปลอดภยั ,พบส่ิงผดิ ปกติ) 1.พืน้ ทงี่ ำนสะอำด 2.แผนงำนทำควำมสะอำด 3.มี Checklist 4.อุปกรณ์พร้อมใช้ปลอดภยั ส4 สร้ำงมำตรฐำน (มำตรฐำนกลำง,มำตรฐำนพื้นที่) 1.กำรปฏบิ ตั ิตำมมำตรฐำนกลำง 2.มีกำรจัดทำมำตรฐำนพืน้ ทค่ี รบหรือไม่ (กำรใช้งำน,กำรจัดเกบ็ ,บำรุงรักษำ) 3.คนในพืน้ ท่ปี ฏิบตั ิตำมมำตรฐำนหรือไม่ 4.พืน้ ทต่ี ้องแก้ไขปรับปรุงตำมคำแนะนำ ส5 สร้ำงวนิ ยั (เคำรพกตกิ ำ,หัวหน้ำและผู้บริหำรมสี ่วนร่วม,กำรสร้ำงแรงจูงใจ) 1.ปฏิบัตติ ำมกฎกตกิ ำพืน้ ฐำนของหน่วยงำน/บริษทั 2.หัวหน้ำ/ผ้บู ริหำร ทำ 5ส มกี ำรสร้ำงแรงจงู ใจ/ทีมงำน 3.กำรตรวจพื้นที่โดยหัวหน้ำพื้นทต่ี ำมแผนหรือไม่ ลกู ทมี ทรำบข้อมูล/คนในพืน้ ที่ ทรำบผล 4.ดูในเรื่องควำมร่วมมือในกำรตรวจ

42 3. ผู้ทที่ ำกำรตรวจประเมนิ 1.หวั หนา้ พ้นื ท่ี Self Audit สปั ดาห์ละ 1 คร้ัง 2.คณะกรรมการ 5ส เดือนละ 2 คร้ัง 3.ผบู้ ริหาร เดือนละ 1 คร้งั

43

44

45 โครงสร้ำงคณะกรรมกำร 5ส ประธาน 5 ส รอง คณุ สขุ ศรี ประธาน รอง ประธาน คณุ จารวุ รรณ คุณทวิ าพร เลขานุการ ประชาสมั พนั ธ์ วิชาการ คณุ ยทุ ธพล มาตรฐาน ตรวจประเมิน คณุ รจนา คณุ สมศกั ดิ์ คณุ วนดิ า คณุ มะลวิ ลั ย์ หวั หน้าทมี หวั หน้าทมี หวั หน้าทมี หวั หน้าทมี

46 โดยคณะทางานมีหนา้ ที่ และรับผดิ ชอบดงั ต่อไปน้ี ประธำนทปี่ รึกษำและกรรมกำรทป่ี รึกษำ 1.กาหนดนโยบาย 5ส พร้อมลงนามอนุมตั ิ 2.สนบั สนุนทรัพยากร และงบประมาณในการดาเนินงาน 5ส 3.ใหค้ าปรึกษา แนวทางในการดาเนินงาน 4.สร้างขวญั และกาลงั ใจเพอ่ื ใหก้ ารดาเนินงานบรรลุผลตามเป้าหมาย ประธำน 1.กาหนดวตั ถุประสงคแ์ ละเป้าหมายการดาเนินงาน 2.แต่งต้งั คณะทางาน 5ส เพ่ือใหก้ ารดาเนินงานบรรลุผลสาเร็จ 3.สนบั สนุนงานดา้ นต่าง ๆ เพือ่ ใหก้ ารดาเนินงานบรรลุเป้าหมาย 4.กากบั ดูแล การดาเนินงานของคณะทางานแตล่ ะฝ่ ายใหเ้ ป็นไปตามแผนงาน รองประธำนฝ่ ำยประชำสัมพนั ธ์และฝ่ ำยวชิ ำกำร 1.กากบั ดูแล การดาเนินงานของคณะทางานฝ่ ายประชาสัมพนั ธ์และฝ่ ายวชิ าการให้ เป็ นไปตามแผนงาน 2.สนบั สนุนงานดา้ นต่าง ๆ เพอ่ื ใหก้ ารดาเนินงานบรรลุเป้าหมาย ฝ่ ำยประชำสัมพนั ธ์ 1.ประชาสมั พนั ธ์ภายนอก/ภายใน 2.จดั กิจกรรมส่งเสริมความรู้ ความเขา้ ใจ ตามแผนการดาเนินงานที่กาหนดไวใ้ ห้ บรรลุตามเป้าหมาย 3.นาผบู้ ริหารและคณะกรรมการดูงาน 5ส นอกสถานท่ี 4.งานอื่น ๆท่ีไดร้ ับมอบหมาย

47 ฝ่ ำยวชิ ำกำร 1.กาหนดแผนฝึกอบรม 5ส ใหส้ อดคลอ้ งกบั บทบาท หนา้ ที่ 2.จดั ฝึกอบรมใหค้ วามรู้ ใหไ้ ดต้ ามแผนที่กาหนด 3.พฒั นาและปรับปรุงหลกั สูตรใหเ้ หมาะสม 4.งานอื่น ๆที่ไดร้ ับมอบหมาย รองประธำนฝ่ ำยมำตรฐำนและฝ่ ำยตรวจประเมนิ 1.กากบั ดูแล การดาเนินงานของคณะทางานฝ่ ายมาตรฐานและฝ่ ายตรวจประเมิน ใหเ้ ป็นไปตามแผนงาน 2.สนบั สนุนงานดา้ นต่าง ๆ เพอ่ื ใหก้ ารดาเนินงานบรรลุเป้าหมาย ฝ่ ำยมำตรฐำน 1.กาหนดมาตรฐาน 5ส ส่วนกลาง ใหค้ รอบคลุมท้งั องคก์ ร 2.พฒั นาและปรับปรุงมาตรฐานใหเ้ หมาะสมพ้นื ที่/ฝ่ าย/หน่วยงาน 3.งานอ่ืน ๆที่ไดร้ ับมอบหมาย ฝ่ ำยตรวจประเมนิ 1.จดั ทาแบบประเมิน (Checklist) 2.กาหนดแผนการตรวจประเมิน 3.สรุปผลประเมินและทบทวนปรับปรุงแบบประเมิน 4.ใหค้ าแนะนาในการปรับปรุงเพื่อใหเ้ หมาะสมและทนั กบั เหตุการณ์ 5.งานอ่ืน ๆท่ีไดร้ ับมอบหมาย

48 ประกำศแต่งต้งั คณะกรรมกำร 5ส

49 ทมี วชิ ำกำร คุณสมบตั ิ 1.ตอ้ งผา่ นการฝึกอบรมหลกั สูตร 5ส พ้นื ฐาน (แก่นแท้ 5ส) 2.มีความรู้ 5ส อยา่ งถูกตอ้ งไดค้ ะแนนการประเมินความรู้ 5ส ไม่ต่ากวา่ 80 % 3.มีตาแหน่งในระดบั หวั หนา้ งานหรืออยใู่ นหน่วยงานฝึกอบรมของบริษทั ฯ หน้าที่ 1.รวบรวมขอ้ มูลความรู้ระบบ 5ส 2.จดั ทาคูม่ ือความรู้ระบบ 5ส 3.จดั ทาแผนสร้างหลกั สูตรอบรม 4.ประเมินผลจากการฝึ กอบรม 5.สร้างศูนยส์ ่งเสริมการสร้างความรู้ระบบ 5ส วตั ถุประสงค์ 1.เพื่อรวบรวมขอ้ มูลความรู้ในระบบ 5ส ใหเ้ ป็นปัจจุบนั อยเู่ สมอ 2.จดั อบรมใหท้ ุกคนในองคก์ รไดร้ ับความรู้ในระบบ 5ส อยา่ งทว่ั ถึงและถูกตอ้ ง 3.เพื่อส่งเสริมให้เกิดประสิทธิภาพในระบบ 5ส อยา่ งยงั่ ยนื สโลแกน รวบรวมสาระ 5ส สานต่อความรู้ เพ่ือความเข้าใจ

50 ทมี ประชาสัมพนั ธ์ คุณสมบตั ิ 1.ตอ้ งผา่ นการฝึกอบรมหลกั สูตร 5ส พ้ืนฐาน (แก่นแท้ 5ส) 2.มีประสบการณ์ในการเป็นพิธีกรหรือเป็นผูน้ าในการจดั กิจกรรม 3.มีอายกุ ารทางานไม่ต่ากวา่ 3 ปี หน้าท่ี 1.จดั ทาแผนประชาสัมพนั ธ์ระบบ 5ส 2.จดั ทากิจกรรมส่งเสริมระบบ 5ส 3.สื่อสารขอ้ มูล สร้างแรงจูงใจเพ่อื ใหพ้ นกั งานเกิดความกระตือรือร้นสนใจใน ระบบ 5ส วตั ถุประสงค์ 1.เพ่ือใหพ้ นกั งานรับรู้ขา่ วสาร 5ส 2.เพอื่ กระตุน้ และสร้างบรรยากาศที่ดีใหก้ บั พนกั งานในการทา 5ส 3.เพื่อส่งเสริมใหพ้ นกั งานเขา้ ร่วมทากิจกรรมตา่ ง ๆอยา่ งสนุกสนาน สโลแกน ส่ือสารชัดเจน รวดเร็วฉับไว เข้าใจทุกคน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook