Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Asean_new

Asean_new

Published by Takkey Chaiyasing, 2020-10-26 06:44:49

Description: Asean_new

Search

Read the Text Version

านอาเซยี น ขอ้ เสนอแนะในเชิงนโยบายต่อการสรา้ ง ทรี่ องรับต่อผลกระทบ ภูมคิ ุ้มกนั ผลกระทบทางสังคม น คมของชมุ ชน มาตรการ กลไกเพ่อื การคุ้มกนั 93 านบวก และลบ) ผลกระทบทางสงั คม (Human Security) - มาตรการ แนวทางการแกไ้ ขและ ละมรี ายได้ ปอ้ งกันผลกระทบทางสังคม รสนบั สนุนทางสงั คม นธรรม ในชวี ิตและทรพั ย์สิน มเปน็ ธรรม รมีสว่ นรว่ มทางการเมือง ทรพั ยากร/ พลงั งาน

94 3.2 วิธีทใ่ี ช้ในการศึกษา วธิ กี ารทีใ่ ช้ในการศึกษา คณะผู้วิจัยได้เลือกใช้ระเบียบวิธีวิจัยแบบผสมผสาน (Mix Method) ซ่ึงมีกระบวนทัศน์ความเช่ือพ้ืนฐานที่ผสมรวมแนวคิดทางวิจัยกลุ่มแนวคิดปฏิฐานนิยม (Positivism) ของแนวคดิ การวิจัยเชิงปริมาณ กับแนวคิดปรากฏการณ์นิยาม (Phenomenology) ของการวิจัยเชิง คุณภาพเกิดเป็นกระบวนทัศน์การวิจัยแนวคิดพหุนิยม (Pluralism) ที่เน้นในการแสวงหาความรู้จาก หลากหลายวิธี (Johnson and Onwuegbuzie, 2004) และในการศึกษาคร้ังน้ี คณะผู้วิจัยได้เลือกใช้ รูปแบบการวิจยั แบบผสมผสานแบบรองรบั ภายใน (Embedded Design) (Creswell 2013: 69) 3.3 การเลือกพ้ืนที่เปา้ หมาย คณะผู้วิจัยได้ทาการคัดเลือกชุมชนจากจังหวัดท่ีมีชาวอาเซียนอาศัยอยู่มากที่สุด ในพ้ืนที่ รับผิดชอบของ สสว. 1-12 ตามข้อมูลสถิติจากสานักบริหารชาวอาเซียน กระทรวงแรงงาน หรือตาม ความเปน็ ไปไดข้ องพืน้ ท่ี 3.4 กลุม่ ผู้ให้ข้อมูลทีส่ าคญั และกลุ่มตัวอยา่ ง 3.4.1 กล่มุ ผู้ใหข้ ้อมูลทส่ี าคัญ แบง่ ออกเป็น 2 กล่มุ ดังน้ี กลมุ่ ท่ี 1 คนในชุมชน จานวน 6-10 คน โดยมีคณุ สมบัตดิ งั นี้ 1) ผ้นู าหรอื ผแู้ ทนชมุ ชนคนไทยท่ีมีสว่ นเก่ียวข้อง ได้แก่ กานัน ผู้ใหญ่บ้าน อาสาสมคั ร เปน็ ตน้ 2) ผ้นู าชมุ ชน/ ผู้ทอี่ าศยั อยใู่ นชุมชน (อาศยั อยูใ่ นชุมชนไม่ต่ากวา่ 5 ปี) 3) ตัวแทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ได้แก่ นายกเทศมนตรี ปลัด อปท. เจ้าหน้าที่ ทเี่ กีย่ วขอ้ ง 4) ตัวแทนภาครัฐท่ีดาเนินการเกี่ยวกับประชาคมอาเซียน ได้แก่ สานักงานพัฒนาสังคมและ ความมน่ั คงของมนษุ ย์จังหวดั (จานวน 1 คน) เปน็ ตน้ 5) NGO และองค์กรอสิ ระทีด่ าเนินงานเกี่ยวกบั ชาวอาเซียน กลุ่มที่ 2 ชาวอาเซยี น ประกอบไปด้วย จานวน 6-10 คน โดยมคี ณุ สมบัติ ดงั น้ี 1) ผนู้ าชมุ ชนชาวอาเซียนในพนื้ ท่ี 2) อาศยั อยูใ่ นชุมชนไทยอย่างน้อย 1 ปี

95 3.4.2 กลุ่มตวั อย่าง วธิ กี ารท่ใี ชใ้ นการกาหนดขนาดของกลุม่ ตัวอย่างในการศึกษาคร้ังน้ี คณะผู้วิจัยได้เลือกใช้สูตร การคานวณขนาดกลุม่ ตัวอย่างของ Yamane, Taro (1973) โดยมีการคานวณหาจานวนกลุ่มตัวอย่าง จากประชากรรวมของทั้ง 12 ชมุ ชน คอื 377,551 คน (ตารางที่ 3.1) ตารางท่ี 3.1 แสดงจานวนประชากรของแต่ละพนื้ ทจี่ าแนกตามเขตพ้นื ทีร่ ับผดิ ชอบของแต่ละ สสว. เขตพ้นื ที่ สสว.* ตาบล ชุมชนที่ทาการศึกษา จานวนประชากร (N) อาเภอ จงั หวดั 58,586 สสว.1 เทศบาลเมืองทา่ โขลง คลองหลวง ปทมุ ธานี ตาบลคลองหนึ่ง 14,725 สสว.2 ตาบลหนองก่ี กบินบรุ ี ปราจีนบุรี 128,664 สสว.3 เทศบาลนครเจ้าพระยา ศรรี าชา ชลบุรี 28,153 สรุ ศักดิ์ 12,577 9,885 สสว.4 ตาบลทา่ ทราย เมือง สมทุ รสาคร 5,574 กาบเชงิ สรุ นิ ทร์ 18,709 สสว.5 ตาบลด่าน เมอื ง ขอนแก่น 15,768 เมือง มกุ ดาหาร 10,594 สสว.6 ตาบลสาราญ เมือง 9,949 แม่สอด นครสวรรค์ 64,367 สสว.7 ตาบลมุกดาหาร เมอื ง ตาก 377,551 เมือง สสว.8 ตาบลวัดไทร หาดใหญ่ เชียงใหม่ ระนอง สสว.9 ตาบลแม่ปะ สงขลา สสว.10 ตาบลศรีภูมิ สสว.11 ตาบลปากน้า สสว.12 เทศบาลนครสงขลา รวม (N) หมายเหตุ: *สสว. ย่อมาจากสานกั งานส่งเสรมิ และสนบั สนนุ วิชาการ

96 เมื่อทราบจานวนประชากรรวมของท้ัง 12 ชุมชน (ตารางท่ี 3.1) คณะผู้วิจัยได้ทาการ กาหนดค่าความคลาดเคล่ือนของมาตรฐานสัดส่วนกลุ่มตัวอย่างที่ยอมรับได้อยู่ท่ี ร้อยละ 2.5 หรือ ทร่ี ะดับนัยสาคัญทางสถติ ิ 0.025 ซง่ึ มสี ูตรในการคานวณขนาดกลมุ่ ตวั อย่าง ดงั นี้ n= N 1 + Ne2 โดย n = จานวนตัวอยา่ งทต่ี ้องการ N = จานวนประชากร e = ความคลาดเคลื่อนของการประมาณคา่ จากสูตรดงั กลา่ ว สามารถแทนค่าได้ n= 377,551 n= 1 + 377,551 (0.25)2 1,593 คน เม่ือได้จานวนกลุ่มตัวอย่างแล้ว (n) คณะผู้วิจัยได้ทาการกระจายจานวนกลุ่มตัวอย่างในการ เก็บแบบสอบถามของท้ัง 12 ชุมชน ในจานวนที่เท่าๆ กัน ซึ่งจะได้จานวนกลุ่มตัวอย่างของแต่ละ ชุมชนทจี่ านวน 133 คน 3.5 วิธเี กบ็ รวบรวมข้อมลู 3.5.1 การศกึ ษาค้นคว้าข้อมูล และทบทวนวรรณกรรมจากเอกสาร (Document Study and Literature Review) ได้แก่ หนังสือ รายงานการวิจัย วิทยานิพนธ์ ภาคนิพนธ์ บทความ ฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ และรายงานทางวิชาการที่เก่ียวข้อง เพื่อศึกษาแนวคิดทฤษฎีท่ีเกี่ยวข้องกับ เรื่องท่ีศึกษา โดยเฉพาะเรื่องชุมชนอาเซียนในประเทศไทย : มาตรการ กลไก เพื่อการคุ้มกัน ผลกระทบทางสงั คม 3.5.2 การสมั ภาษณ์ (Interview) ใช้ 3 วิธี ดังน้ี 1) การสัมภาษณ์แบบไม่เป็นทางการ ได้แก่ การสัมภาษณ์ข้อมูลพ้ืนฐาน บริบทและสภาพ ทวั่ ไปของชุมชน 2) การจดั เวทีการสนทนากลุ่ม (Focus Group) จากคนในชุมชน (1 คร้งั จานวน 6-10 คน) 3) การสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (In-depth Interview) จากชาวอาเซียนท่ีเป็นผู้รู้หรือผู้ให้ ข้อมูลท่ีสาคัญ (Key-informant) เพ่ือช่วยให้ได้ข้อมูลเชิงลึกในมุมมองของชาวอาเซียนที่อาศัยอยู่ใน ชมุ ชนไทย (จานวน 6-10 คน) โดยใช้ประเด็นการสมั ภาษณ์แบบเจาะลกึ เป็นเครอ่ื งมอื หลัก

97 3.5.3 การเก็บแบบสอบถาม (Questionnaires) เพื่อสารวจความคิดเห็นของคนในชุมชน ต่อการเตรยี มความพร้อม และสถานการณ์การเปลย่ี นแปลง รวมไปถึงความคดิ เหน็ ต่อมาตรการ กลไก เพอื่ การคมุ้ กันผลกระทบทางสังคม ในมุมมองของคนไทยท่ีอาศัยอยู่ในชุมชนอาเซียน เพ่ือเป็นการนา ข้อมูลมาใช้ในการสนับสนุนข้อมูลที่ได้จากการเก็บรวบรวมด้วยวิธีการวิจัยในเชิงคุณภาพ (การสนทนา กลุม่ และการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก) 3.6 เครอ่ื งมือทใ่ี ชใ้ นการเก็บรวบรวมขอ้ มลู 3.6.1 เชงิ คณุ ภาพ เครอ่ื งมอื ท่ใี ชใ้ นการเก็บรวบรวมข้อมูลในเชิงคุณภาพ คือ ประเด็นการสัมภาษณ์เจาะลึกที่ได้ พัฒนาขึน้ มาจากการทบทวนแนวคิดทฤษฎที ่ีเก่ียวข้อง (บทท่ี 2) และเน่ืองจากกลุ่มเป้าหมายที่ทาการ เก็บรวบรวมข้อมูลในคร้ังนี้มีด้วยกัน 2 กลุ่มหลัก คณะผู้วิจัยได้ทาการพัฒนาประเด็นการสัมภาษณ์ ข้ึนมา 2 ชดุ ดงั นี้ 3.6.1.1 ประเด็นสัมภาษณ์ชุดท่ี 1 สาหรับคนในชุมชนที่เป็นคนไทย ประกอบด้วย ประเด็นการสมั ภาษณ์ ดงั น้ี สว่ นท่ี 1 ขอ้ มูลพืน้ ฐานของผู้ใหข้ ้อมูลทส่ี าคัญ ประกอบไปด้วย - เพศ - อายุ - ศาสนา - สถานภาพการสมรส - จานวนสมาชกิ ในครอบครัว หนา้ ทีห่ ลกั ของทา่ นทมี่ ตี ่อครอบครวั - ระดับการศกึ ษา - อาชพี - รายไดต้ อ่ เดือน - ระยะเวลาทท่ี ่านอาศยั อยใู่ นชุมชน - บทบาทและหนา้ ทต่ี ่อชุมชน สว่ นท่ี 2 สถานการณก์ ารเปลยี่ นแปลง 1) สถานการณพ์ ื้นฐาน - ท่านคิดว่าตั้งแต่หลัง 31 ธ.ค. 58 ประชากรชาวอาเซียนท่ีเข้ามาทางาน หรือพักอาศยั ในพื้นท่ชี มุ ชนของท่านมีจานวนเปลี่ยนแปลงหรือไม่ อย่างไร และกลุ่มชาวอาเซียนที่เข้า มาทางานในพื้นท่ขี องทา่ นเป็นคนชาติใดบา้ ง

98 - กลุ่มชาวอาเซียนที่เข้ามาทางานหรือพักอาศัยในในชุมชนของท่านส่วน ใหญ่เขา้ มาทางานประเภทไหน และเป็นแรงงานกล่มุ ใด (เยาวชน สตรี ชาย ฯลฯ) - ระยะเวลาท่ีชาวอาเซียนเข้ามาทางานหรือพักอาศัยในชุมชนของท่านใน แตล่ ะครั้ง จะอยู่นานเทา่ ไร - หลังจาก 31 ธ.ค. 58 ระยะเวลาที่กลุ่มชาวอาเซียนเข้ามาทางานหรือพัก อาศัยยาวนานขน้ึ กวา่ เดมิ หรือไม่ อย่างไร และทาไมถงึ เป็นเช่นนั้น - หลังจาก 31 ธ.ค. 58 การใช้ชีวิตในชุมชนของท่านมีการเปลี่ยนแปลง หรอื ไม่ อยา่ งไร การเปลย่ี นแปลงดังกล่าวมีความเก่ียวข้องกับกลุ่มชาวอาเซียนท่ีเข้ามาทางานหรือพัก อาศยั อยใู่ นชุมชนของทา่ นหรือไม่ และอย่างไร - หลังจาก 31 ธ.ค. 58 ปัญหาอาชญากรรมในชุมชนของท่านมีจานวนเพิ่ม มากขึ้น เท่าเดิมหรือลดลงหรือไม่ ส่วนใหญ่ปัญหาอาชญากรรมในชุมชนของท่านเก่ียวกับเรื่องอะไร มาจากสาเหตุใด - ท่านคิดว่าปัญหาอาชญากรรมต่างๆ ท่ีเกิดในชุมชนของท่านมีความเกี่ยว พันธ์กบั กลุ่มชาวอาเซยี นหรือไม่ อย่างไร ทาไมถึงคิดเช่นนั้น 2) ความครอบคลมุ ทางสงั คม (Social Inclusion) - เมื่อประเทศไทยเข้าสู่การเป็นประชาคมอาเซียน (31 ธ.ค. 58) ชุมชนของ ท่านมีความหลากหลายทาง เชือ้ ชาติ ภาษา และวัฒนธรรม เพิม่ มากข้ึนหรือไม่ - ท่านคิดว่ากลุ่มชาวอาเซียนในชุมชนของท่าน มีความแตกต่างจากพวก ท่านหรือไม่ อย่างไร ทาไม่ถึงคิดเช่นนั้น (ถ้าหากแตกต่าง อะไรคือส่ิงท่ีแตกต่าง ทาไม่ท่านถึงคิด เช่นนัน้ ) - ท่านคิดว่ากลุ่มชาวอาเซียนในชุมชนของท่านสามารถเข้าถึงสวัสดิการข้ัน พื้นฐาน เช่น การศึกษา การรักษาพยาบาล รายได้ และกระบวนการยุติธรรม ฯลฯ แตกต่างไปจาก ทา่ นหรอื ไม่ อยา่ งไร ทาไมถ่ งึ เปน็ เช่นนัน้ - ท่านให้การยอมรับกลุ่มชาวอาเซียนที่ทางานหรือพักอาศัยในชุมชนของ ทา่ น วา่ เปน็ สมาชิกของชมุ ชนของท่านหรือไม่ เพราะเหตุใด - ท่านคิดว่ากลุ่มชาวอาเซียนเหล่าน้ันเป็นภาระของชุมชนท่านหรือไม่ เพราะเหตุใด - ทา่ นสามารถไหว้วานชาวอาเซียนท่ีทางานหรืออาศัยอยู่ในชุมชนของท่าน ไปทาธุระส่วนตัวแทนท่านได้หรือไม่ (เช่น ไปซื้อของ ไปเบิกเงินธนาคาร ไปรับลูก ดูแลคนใน ครอบครัว) เพราะเหตุใด - เม่ือเกิดเหตุฉุกเฉิน จาเป็นต้องขอความช่วยเหลือจากคนอื่น (เช่น คนใน บ้านล้มป่วยกระทันหัน ไฟไหม้ รถชน ฯลฯ) ท่านกล้าท่ีจะขอความช่วยเหลือจากชาวอาเซียนหรือไม่ เพราะเหตใุ ด

99 ส่วนที่ 3 ผลกระทบทางสังคมเม่อื เขา้ สอู่ าเซยี น เมื่อกลุ่มชาวอาเซียนเข้ามาทางาน หรือพักอาศัยในพื้นท่ีของท่าน ส่งผลกระทบ ทางบวกหรอื ทางลบต่อชมุ ชนของท่านหรือไม่ ทาไมถงึ เป็นเช่นน้ัน (หากเป็นผลกระทบทางลบท่านคิด วา่ ควรจะแกไ้ ขปญั หานัน้ อย่างไร โดยเน้นผลกระทบในประเดน็ ความมัน่ คงของมนษุ ย์ 12 มิติ) 1) มติ ิทอี่ ยู่อาศัย - ความเพียงพอของสาธารณปู โภค (ไฟฟ้า ประปา) - ความเพียงพอของทอ่ี ยอู่ าศัย - พนื้ ท่สี าธารณะในชุมชน 2) มิตสิ ุขภาพ - ปัญหาโรคติดตอ่ - การเข้ารบั การรักษาพยาบาล 3) มติ อิ าหาร - ความหลากหลายในการบริโภค - ความเพยี งของอาหารที่ใชบ้ รโิ ภคในชุมชน 4) มติ กิ ารศึกษา - การเรียนรภู้ าษาทหี่ ลากหลาย - การเขา้ มาศกึ ษาในโรงเรียนไทยของลกู หลานชาวอาเซยี น - สถานศึกษาเฉพาะกับลกู หลานชาวอาเซยี น 5) มติ ิการมงี านทาและมรี ายได้ - การมงี านทาของคนในชุมชน - สภาพทางเศรษฐกจิ ของคนในชมุ ชน 6) มิตคิ รอบครัว - ความสัมพนั ธ์ในครอบครวั 7) มิติชมุ ชน และการสนับสนุนทางสังคม - การช่วยเหลือเกื้อกูลซ่งึ กันและกันของสมาชกิ ในชุมชน - การมสี ว่ นร่วมในกิจกรรมทางสงั คมของสมาชกิ ในชมุ ชน 8) มิติศาสนาและวัฒนธรรม - การซมึ ซบั ทางวฒั นธรรมทห่ี ลากหลายของสมาชิกในชุมชน - ภาษาและการส่อื สารในชมุ ชน - ความหลากหลายทางศาสนา 9) มติ คิ วามปลอดภัยในชีวิตและทรพั ยส์ นิ 10) มิตสิ ทิ ธิและความเป็นธรรม - ความเสมอภาคทางสังคมในชุมชน - สทิ ธิและหนา้ ที่ (รวมถึงเรื่องจิตสาธารณะและจติ อาสา) 11) มิติการเมือง

100 - การมีส่วนรว่ มทางการเมือง - ธรรมาภบิ าลในการบรหิ าร 12) มติ สิ ง่ิ แวดล้อม ทรพั ยากร/ พลงั งาน - การใช้ทรัพยากรทีค่ มุ้ คา่ - การประหยัดพลังงาน - การจัดการภัยพิบัติ - สุขลกั ษณะ ส่วนท่ี 4 มาตรการ กลไกเพ่อื การคมุ้ กันผลกระทบทางสังคม ท่านมีข้อเสนอแนะต่อแนวทางการแก้ไข และป้องกันผลกระทบ (ส่วนที่ 3) อย่างไร และท่านคิดว่าจะทาให้อย่างไรให้แนวทางการแก้ไขและป้องกันผลกระทบดังกล่าวสามารถปฏิบัติได้ จริงในชมุ ชนของทา่ น 3.6.1.2 ประเด็นสัมภาษณ์ ชุดที่ 2 สาหรับชาวอาเซียน ประกอบด้วยประเด็นการ สมั ภาษณ์ ดังน้ี สว่ นท่ี 1 ขอ้ มูลพ้นื ฐานของผู้ใหข้ อ้ มลู ท่ีสาคัญ ประกอบไปดว้ ย - เพศ - อายุ - ศาสนา - เช้ือชาติ - สถานภาพการสมรส (ถ้าสมรสแล้ว คู่สมรสของท่านอยู่ด้วยกันท่ีชุมชน หรือไม่ อย่างไร ทาไม) คสู่ มรสของทา่ นเป็นคนเชือ้ ชาติไหน - จานวนสมาชิกในครอบครัว (ครอบครัวอยู่ในชุมชนกับท่านหรือไม่ อยู่ที่ ไหน ทาไม) - หน้าที่หลกั ของท่านท่ีมตี อ่ ครอบครัว - ระดบั การศกึ ษา - อาชีพ - รายไดต้ ่อเดอื น - ท่านเข้ามาทางานในประเทศต้ังแต่เมื่อไร และทางานหรือพักอาศัยใน ชุมชน (ปจั จุบัน) กีป่ ี ใครเปน็ คนชกั จูงใหเ้ ขา้ มาทางาน - กิจกรรมที่ท่านเข้าไปมีส่วนร่วมกับชุมชนท่ีท่านทางานและอาศัยอยู่ (มี / ไม่มี ถา้ มี คอื กจิ กรรมอะไร)

101 สว่ นท่ี 2 สถานการณก์ ารเปลีย่ นแปลง 1) สถานการณพ์ ้ืนฐาน - ปัจจุบันการดาเนินชีวิตของท่านในชุมชนเป็นอย่างไร และมีความแตกต่างกับก่อน การเปิดเปน็ ประชาคมอาเซียนในวนั ที่ 31 ธ.ค. 58 หรือไมแ่ ละอย่างไร - ท่านคิดว่าหลังจากที่ประเทศไทยได้เปิดให้ชาวอาเซียนขึ้นทะเบียนเข้าทางาน ถูกต้องตามกฎหมาย มีผลต่อการตัดสินใจให้ประชากรชาวอาเซียนที่เข้ามาทางานและพักอาศัยใน ชุมชน (ชมุ ชนเดียวกันท่าน) เพม่ิ มากข้ึนหรอื ไม่ อย่างไร ทาไมถึงเปน็ เชน่ นนั้ - การเปิดเป็นประชาคมอาเซียนต้ังแต่ 31 ธ.ค. 58 เป็นต้นมา มีผลต่อการตัดสินใจ ของทา่ นในการเข้ามาทางานหรอื พักอาศัยอยู่ในชุมชนนี้ หรือไม่ เพราะเหตุใด - งานทพี่ วกท่านสว่ นใหญ่นยิ มเข้ามาทางานในชุมชนคืองานอะไร และทาไมถึงเลือก ทางานนั้น และส่วนใหญ่เป็นแรงงานกลุ่มใด (เยาวชน สตรี ชาย ฯลฯ) มีการเปลี่ยนแปลงงานบ่อย หรอื ไม่ อยา่ งไร - การเข้ามาทางานหรือพักอาศัยในชุมชนในแต่ละครั้ง ท่านจะอยู่นานเท่าไร (กี่เดือน) เพราะอะไร - เมื่อประเทศไทยเปิดให้ชาวอาเซียนขึ้นทะเบียนเข้าทางานถูกกต้องตามกฎหมาย ทา่ นเข้ามาทางานและพักอาศัยในชมุ ชนไดน้ านกว่าเดิมหรอื ไม่ และทาไมถึงเปน็ เช่นนัน้ - ท่านคิดว่าปัญหาอาชญากรรมต่าง ๆ ที่เกิดในชุมชนของท่านมีความเก่ียวพันธ์กับ กลมุ่ ชาวอาเซยี นหรือไม่ อยา่ งไร ทาไมถงึ คดิ เชน่ นน้ั - ทา่ นมคี วามรสู้ ึกอยา่ งไรกับการเขา้ มาทางาน หรอื พกั อาศยั ในชุมชน 2) ความครอบคลุมทางสังคม (Social Inclusion) - ทา่ นสามารถเขา้ ถึงสวัสดกิ ารขัน้ พ้นื ฐาน เชน่ การศกึ ษา การรักษาพยาบาล รายได้ และกระบวนการยุติธรรม ฯลฯ ในชมุ ชน (เมอื งไทย) แตกต่างจากคนไทยหรือไม่ อย่างไร ทาไม่ถึงเป็น เช่นน้นั - ท่านรู้สึกว่าท่านเป็นส่วนหนึ่งของชุมชนที่ท่านที่ทางานหรือพักอาศัยอยู่หรือไม่ อย่างไร ทาไมถึงคิดเช่นนน้ั - ท่านสามารถไหว้วานคนไทยไปทาธุระส่วนตัวแทนท่านได้หรือไม่ (เช่น ไปซื้อของ ไปเบิกเงินธนาคาร ไปรับลูก ดแู ลคนในครอบครัว) - เม่ือเกิดเหตุฉุกเฉิน จาเป็นต้องขอความช่วยเหลือจากคนอ่ืน (เช่น คนในบ้านล้ม ปว่ ยกะทนั หนั ไฟไหม้ รถชน ฯลฯ) ท่านกล้าที่จะขอความชว่ ยเหลือจากคนไทยหรือไม่ อย่างไร เพราะ เหตใุ ด - ทา่ นร้สู ึกอย่างไรเมอ่ื พบเจา้ หนา้ ท่ตี ารวจ ทหาร หรอื เจา้ หน้าทจี่ ากภาครัฐ

102 ส่วนท่ี 3 ผลกระทบทางสังคมเมอื่ เขา้ สู่อาเซียน ตั้งแต่ท่านเข้ามาทางานและพักอาศัยในชุมชน (ไทย) ท่านคิดว่าท่านได้รับ หลักประกันด้านสิทธิ ความปลอดภัย การสนองตอบความจาเป็นข้ันพ้ืนฐาน สามารถดารงชีวิตอยู่ได้ อยา่ งมีศักดศิ์ รี ตลอดจนได้รับโอกาสอยา่ งเทา่ เทียมกนั คนไทยหรือไม่ 1) มติ ทิ ่อี ยู่อาศยั - ความเพียงพอของสาธารณูปโภค (ไฟฟ้า ประปา) - ความเพียงพอของทีอ่ ยู่อาศยั - พนื้ ท่สี าธารณะในชุมชน 2) มติ ิสขุ ภาพ - ปญั หาโรคติดต่อ - การเขา้ รับการรักษาพยาบาล 3) มิตอิ าหาร - ความหลากหลายในการบรโิ ภค - ความเพียงของอาหารทใ่ี ช้บริโภค 4) มิติการศกึ ษา - การเรยี นรู้ภาษาที่หลากหลาย - การเข้ามาศกึ ษาในโรงเรียนไทย - สถานศึกษาเฉพาะกบั ลกู หลานชาวอาเซียน 5) มิติการมงี านทาและมีรายได้ - การมงี านทา - สภาพทางรายได้ 6) มติ คิ รอบครัว - ความสมั พันธใ์ นครอบครวั 7) มติ ิชุมชน และการสนับสนุนทางสังคม - การช่วยเหลอื เกือ้ กูลซ่ึงกนั และกันของสมาชิกในชุมชน - การมสี ว่ นรว่ มในกิจกรรมทางสังคมของสมาชกิ ในชมุ ชน 8) มติ ิศาสนาและวฒั นธรรม - การซมึ ซบั ในวัฒนธรรมไทย - ภาษาและการสือ่ สาร - ความหลากหลายทางศาสนา 9) มติ ิความปลอดภัยในชวี ติ และทรัพยส์ นิ 10) มิตสิ ทิ ธิและความเป็นธรรม - ความเสมอภาคทางสงั คมในชุมชน - สทิ ธแิ ละหน้าท่ี (รวมถึงเร่ืองจติ สาธารณะและจติ อาสา)

103 11) มิตกิ ารเมอื ง - การมีสว่ นรว่ มแสดงความคดิ เหน็ ต่อชมุ ชน - ธรรมาภิบาลในการบรหิ าร 12) มติ ิสิ่งแวดลอ้ ม ทรัพยากร/พลงั งาน - การใชท้ รพั ยากรท่คี ุ้มค่า - การประหยัดพลังงาน - การจัดการภยั พบิ ตั ิ สว่ นท่ี 4 มาตรการ กลไกเพอื่ การคุ้มกนั ผลกระทบทางสงั คม ท่านคิดว่าประเทศไทยควรมีนโยบาย กลไก มาตรการหรือแนวทางอะไรท่ีจะทาให้ ทา่ นสามารถอยูร่ ว่ มกับชมุ ชนไดอ้ ย่างมคี วามสุข 3.6.2 เชิงปรมิ าณ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลในเชิงปริมาณ คือ แบบสอบถามเพื่อใช้ในการสารวจ ข้อมูลด้านการเตรียมความพร้อม สถานการณ์การเปล่ียนแปลง และระดับผลกระทบทางสังคมเมื่อ เข้าสปู่ ระชาคมอาเซียนของคนไทยที่อาศัยอยู่ในพ้ืนที่ที่ชาวอาเซียนเข้ามาทางานหรือพักอาศัยร่วมอยู่ ดว้ ย โดยคณะผ้วู ิจยั ไดแ้ บ่งขอ้ คาถามออกเปน็ 6 สว่ น ดังนี้ ส่วนที่ 1 ข้อมูลพ้ืนฐาน คือ คาถามเก่ียวกับข้อมูลท่ัวไปที่เป็นปัจจัยส่วนบุคคลของ กลุ่มตัวอย่าง ซึ่งประกอบด้วย เพศ อายุ ศาสนา สถานภาพการสมรส จานวนสมาชิกในครอบครัว หนา้ ที่หลกั ของทา่ นทม่ี ตี อ่ ครอบครัว ระดบั การศึกษาอาชีพ รายได้ต่อเดือน ระยะเวลาท่ีท่านอาศัยอยู่ ในชุมชน และตาแหน่งต่างๆ ในชมุ ชน ส่วนที่ 2 การเตรียมความพร้อม และสถานการณ์การเปล่ียนแปลง ประกอบด้วย 2 ขอ้ คาถามหลัก คือ 1) การเตรียมพรอ้ มเพอ่ื รองรบั ผลกระทบจากประชาคมอาเซียนของชมุ ชน 2) การเป็นประชาคมอาเซียนท่ีมีผลต้ังแต่ วันท่ี 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 มีผลต่อ การเปลย่ี นแปลงการดาเนินชีวิตของคนในชุมชนหรือไม่ ส่วนที่ 3 ผลกระทบทางสังคมเม่ือเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ซ่ึงเป็นข้อคาถามในการ สารวจระดับของผลกระทบต่อมิติความมั่นคงของมนุษย์ (Human Security) ใน 12 ประเด็นหลัก ดงั น้ี 1) ด้านที่อย่อู าศัย - ความเพยี งพอของสาธารณปู โภค ทอี่ ยอู่ าศัย - การใชพ้ นื้ ทส่ี าธารณะในชุมชน

104 2) ดา้ นสขุ ภาพอนามยั - ปญั หาโรคติดต่อ - การเขา้ รบั การรกั ษาพยาบาล 3) ดา้ นอาหาร - การมคี วามหลากหลายในการบริโภค - ปญั หาความเพยี งพอของอาหารท่ีใชบ้ รโิ ภคในชมุ ชน 4) ด้านการศึกษา - การเรยี นรภู้ าษาท่หี ลากหลาย - การเขา้ มาศกึ ษาในโรงเรียนไทยของลูกหลานชาวอาเซียน - สถานศกึ ษาเฉพาะกับลูกหลานชาวอาเซยี น 5) ด้านมงี านทาและรายได้ - การมงี านทาของคนในชมุ ชน - สภาพทางเศรษฐกจิ ของคนในชมุ ชน 6) ด้านครอบครวั - ความสมั พนั ธ์ในครอบครัว 7) ดา้ นชุมชนและการสนบั สนุนทางสังคม - การชว่ ยเหลือเกื้อกลู ซ่งึ กนั และกนั ของสมาชิกในชมุ ชน - การมีสว่ นร่วมในกจิ กรรมทางสังคมของสมาชกิ ในชุมชน 8) ด้านศาสนาและวัฒนธรรม - การซึมซับทางวฒั นธรรมทหี่ ลากหลายของสมาชกิ ในชมุ ชน - ภาษาและการส่อื สารในชมุ ชน - ความหลากหลายทางศาสนา 9) ด้านความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยส์ ิน 10) ด้านสิทธิและความเป็นธรรม - ความเสมอภาคทางสงั คมในชุมชน - สทิ ธิและหนา้ ที่ (รวมถงึ เรื่องจิตสาธารณะและจติ อาสา) 11) ด้านการเมอื ง - การมีส่วนรว่ มทางการเมอื ง - ธรรมาภิบาลในการบริหาร 12) ดา้ นส่ิงแวดลอ้ มทรัพยากร/ พลงั งาน - การใชท้ รัพยากรที่คุ้มค่า - การประหยัดพลังงาน - การจัดการภัยพบิ ัติ

105 ส่วนที่ 4 ความครอบคลุมทางสังคม ประกอบด้วยข้อคาถามเกี่ยวกับการยอมรับว่า ชาวอาเซียนที่ทางานหรอื พกั อาศัยอยู่ในชมุ ชนของท่าน เป็นสมาชิกคนหนง่ึ ของคนชุมชน สว่ นที่ 5 มาตรการ เพ่ือการควบคุมผลกระทบทางสังคม ประกอบด้วย 2 ข้อคาถาม หลกั คือ 1) ความคิดเห็นต่อมาตรการการคุ้มกันผลกระทบทางสังคมจากการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ในรายดา้ น ทมี่ ีความจาเป็นต่อชุมชนมากท่สี ุด และ 2) ความคดิ เหน็ ตอ่ มาตรการกลไกที่มีความจาเป็น ตอ่ การคมุ้ กนั ผลกระทบทางสังคมในชุมชน ส่วนที่ 6 ความเห็นเพ่มิ เตมิ อน่ื ๆ 3.7 การวเิ คราะหข์ อ้ มลู คณะผ้วู ิจยั แบง่ ขั้นตอนการวิเคราะหข์ ้อมูลออกเปน็ 3 สว่ น ที่สาคัญ ดังน้ี 3.7.1 วิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ คณะผู้วิจัยได้เลือกใช้ตามแนวทางของ Diekelmann and Allen เป็นการวิเคราะห์ข้อมูลท่ีสาคัญ คือ การค้นหาประเด็นท่ีสาคัญ โดยการแยกข้อความ ท่ีเหมือนกันและแตกต่างกัน ตรวจสอบความเช่ือมโยงกันเป็นประเด็นหลัก หลังจากนั้นจาแนก ประเด็นหลัก กาหนดรูปแบบความสัมพันธ์ของประเด็นหลัก เพื่อเสนอผลการวิเคราะห์ (อัญญา ปลดเปลอื้ ง, 2554: 7) ดงั นี้ 1) อา่ นขอ้ ความทไ่ี ด้จากการถอดเทปหรือเน้ือหาเพ่ือใหเ้ กิดความเขา้ ใจ 2) เขยี นสรุปขอ้ ความทแ่ี ปลความได้จากการสมั ภาษณ์ 3) ผู้วิจยั วเิ คราะห์ข้อความตามทไ่ี ดจ้ ากการสมั ภาษณ์หรือจากเน้ือหา 4) เม่ือตีความข้อมูลแล้ว พบว่า ไม่สอดคล้องให้ศึกษาเพิ่มเติมจากตารา หรือ เอกสารที่เก่ยี วข้อง 5) เปรยี บเทียบความเหมือนความตา่ งของเนอื้ หา 6) ค้นหาความสมั พันธ์ของประเด็นสาคญั เกดิ ขึ้น 7) นาเสนอเคา้ โครงของประเด็นสาคญั กบั ทีม เพ่อื รวมกนั เปน็ เค้าโครงสุดทา้ ย 3.7.2 การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ คณะผู้วิจัยได้วิเคราะห์ข้อมูล โดยสถิติท่ีใช้ในการ วิเคราะห์ คือ สถิติพรรณนา (Descriptive Statistics) ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ มาช่วยในการ บรรยายขอ้ มูล เพ่ือทาให้เห็นทิศทางและแนวโน้มต่อประเด็นข้อคาถามในรายข้อท่ีมีความชัดเจนมาก ยงิ่ ขึ้น 3.7.3 การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อจัดทาข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย เพื่อรองรับผลกระทบ ทางสังคม คณะผู้วิจัยได้นาผลการวิเคราะห์ข้อมูลในเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ มาทาการวิเคราะห์ ผลการศึกษาในภาพรวม และทาการลงข้อสรุปผลการศึกษา พร้อมทั้งจัดทาข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย ทม่ี คี วามสอดคลอ้ งตอ่ ความต้องการ และสถานการณ์ปญั หาในเชงิ พื้นทที่ ค่ี ้นพบ

บทท่ี 4 ผลการศกึ ษา โครงการศึกษาชุมชนอาเซียนในประเทศไทย: มาตรการ กลไก เพื่อการค๎ุมกัน ผลกระทบทาง สงั คม คณะผู๎วจิ ยั เลอื กใชว๎ ธิ ีวทิ ยาการวิจยั แบบผสานวิธี (Mixed Methodology) โดยทําการเก็บรวบรวม ขอ๎ มลู ทง้ั เชิงปรมิ าณและเชงิ คุณภาพ กับกลุํมเปูาหมายท่ีเป็นคนไทย และชาติอาเซียน ที่ทํางานหรืออาศัย อยํูในพื้นที่ชุมชนไทยเป็นสําคัญ รํวมกับการศึกษาทบทวนวรรณกรรมจากเอกสาร และใช๎เทคนิค วิธีการ สนทนากลุํม และการสัมภาษณ๑เชิงลึก โดยใช๎ระเบียบวิธีวิจัยปฏิบัติการแบบมีสํวนรํวม เพ่ือให๎สอดคล๎อง ตามวัตถุประสงค๑และผลลัพธ๑ท่ีต๎องการ รวมถึงวิธีการเก็บรวบรวมข๎อมูล และวิเคราะห๑ข๎อมูลในพื้นท่ี ทําการศึกษาวิจัยของสํานักงานสํงเสริมและสนับสนุนวิชาการ 1-12 (สสว.1-12) โดยสามารถสรุปผล การศกึ ษาท่ีนําสนใจของแตํละ สสว.ได๎ ดังนี้ 1) ผลการสาํ รวจขอ๎ มลู เชงิ ปรมิ าณ พ้ืนที่ สสว.1- 12 2) บริบทของพืน้ ทศ่ี กึ ษาของ สสว.1-12 3) ผลการศกึ ษาเชิงคุณภาพ สสว.1-12 จากกลุํมคนไทยและกลุํมชาตอิ าเซียน ประกอบด๎วย 3.1) ข๎อมูลพ้นื ฐาน 3.2) สถานการณพ๑ น้ื ฐาน 3.3) ความครอบคลุมทางสงั คม 3.4) ผลกระทบทางสังคมเมื่อเขา๎ สูปํ ระชาคมอาเซียน 3.5) มาตรการ กลไก เพ่ือคุ๎มกนั ผลกระทบทางสังคม 4) อภิปรายผล

107 4.1 ผลการสารวจเชิงปริมาณ จานวน รอ้ ยละ ส่วนท่ี 1 ข้อมูลท่ัวไป 741 46.31 859 53.69 ตารางท่ี 1 จํานวนและร๎อยละ ขอ๎ มูลท่วั ไปของผ๎ตู อบแบบสอบถาม 1600 100.00 ขอ้ มูลท่ัวไปของผ้ตู อบแบบสอบถาม 65 4.06 เพศ 269 16.81 351 21.94 ชาย 393 24.56 หญงิ 306 19.13 215 13.44 รวมทั้งส้นิ 0.06 อายุ 1 100.00 1600 น๎อยกวํา 20 ปี 96.75 อายุ 21 - 30 ปี 1548 2.00 อายุ 31 - 40 ปี 32 0.44 อายุ 41 - 50 ปี 7 0.81 อายุ 51 - 60 ปี 13 100.00 มากกวํา 60 ปขี ึ้นไป ไมํระบุ 1600 28.38 59.31 รวมทั้งสิน้ 454 7.19 ศาสนา 949 4.50 115 0.63 พุทธ 72 อิสลาม 10 คริสต๑ ไมรํ ะบุ รวมท้ังสน้ิ สถานภาพ โสด สมรส หมา๎ ย หยําร๎าง ไมํระบุ

108 จานวน รอ้ ยละ 1600 100.00 ขอ้ มูลท่ัวไปของผตู้ อบแบบสอบถาม รวมทั้งสิ้น 558 34.88 885 55.31 จานวนสมาชกิ 45 2.81 นอ๎ ยกวาํ 3 คน 0.50 จาํ นวน 4 - 7 คน 8 6.50 จํานวน 8 - 11 คน 104 100.00 จํานวนมากกวาํ 12 คน 1600 ไมรํ ะบุ 40.88 รวมท้ังสน้ิ 654 52.38 838 6.75 หน้าทีห่ ลกั 108 100.00 หัวหน๎าครอบครวั 1600 สมาชกิ ครอบครัว 29.00 ไมรํ ะบุ 464 38.38 รวมท้ังสน้ิ 614 8.31 133 21.00 ระดบั การศกึ ษา 336 2.06 ประถมศกึ ษา/ตํา่ กวาํ 33 1.25 มัธยมศกึ ษา/เทียบเทาํ 20 100.00 อนุปริญญา/เทยี บเทาํ 1600 ปริญญาตรี/เทยี บเทํา 12.50 สูงกวําปริญญาตรี/เทยี บเทํา 200 7.19 ไมรํ ะบุ 115 9.31 รวมท้ังสิ้น 149 23.81 381 29.94 อาชีพ 479 6.50 ข๎าราชการ/ลกู จา๎ งของรัฐ/พนักงานรฐั วิสาหกิจ 104 3.81 พนกั งานบริษทั เอกชน 61 6.94 เกษตรกรรม 111 ธุรกจิ สวํ นตวั /อาชีพอิสระ ผ๎ใู ชแ๎ รงงาน/รับจา๎ งทว่ั ไป พอํ บ๎าน-แมบํ ๎าน/เกษยี ณอายุ/วํางงาน นกั เรียน/นักศึกษา ไมํระบุ

109 จานวน ร้อยละ 1600 100.00 ข้อมูลท่ัวไปของผตู้ อบแบบสอบถาม รวมทั้งสิ้น 38 2.38 227 14.19 รายไดต้ ่อเดือน 583 36.44 ไมํมีรายได๎ 312 19.50 นอ๎ ยกวาํ 5,000 บาท 138 8.63 5,001 - 10,000 บาท 39 2.44 10,001 - 15,000 บาท 109 6.81 15,001 - 20,000 บาท 154 9.63 20,001 - 25,000 บาท 1600 100.00 มากกวํา 25,000 บาทข้ึนไป ไมรํ ะบุ 125 7.81 รวมทั้งส้ิน 331 20.69 327 20.44 ระยะเวลาท่อี าศยั ในชุมชน 258 16.13 นอ๎ ยกวาํ 5 ปี 477 29.81 6 - 15 ปี 82 5.13 16 - 25 ปี 1600 100.00 26 - 35 ปี 36 - 45 ปี 1280 80.00 ไมํระบุ 320 20.00 รวมท้ังสนิ้ 111 34.69 42 13.13 ตาแหน่งในชมุ ชน 33 10.31 ไมมํ ี 21 6.56 มี 19 5.94 อสม. 16 5.00 คณะกรรมการหมํูบา๎ น 11 3.44 คณะกรรมการชุมชน 2.81 ประธานกรรมการชุมชน 9 สมาชิกอบต./เทศบาล ผ๎ชู ํวยผูใ๎ หญํบ๎าน ชรบ. ทป่ี รึกษาชุมชน

110 จานวน รอ้ ยละ 9 2.81 ขอ้ มูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม 8 2.50 ประธานกลมํุ สตรี 7 2.19 ผูใ๎ หญํบา๎ น 5 1.56 ตาํ รวจอาสา 4 1.25 อพม. 3 0.94 รองประธานชมุ ชน 3 0.94 กรรมการกองทนุ ชุมชน 2 0.63 ผูน๎ ําชมุ ชน 1 0.31 ประธานประชาคม 1 0.31 กรรมการกลมํุ ออมทรัพย๑ 1 0.31 กรรมการผู๎พกิ าร 1 0.31 กรรมการฝาุ ยปูองกนั 1 0.31 กรรมการไฟฟูา 1 0.31 กูภ๎ ยั 1 0.31 คณะกรรมการโรงเรยี น 1 0.31 เจ๎าหน๎าท่อี นามัย 1 0.31 ประธานกรรมการโรงเรยี น 1 0.31 ประธาน อสม.ประจําตําบล 1 0.31 รองประธาน อสม. 1 0.31 เลขานกุ ารชุมชน 1 0.31 เลขาประธานชุมชน 1 0.31 ศูนยพ๑ ัฒนาครอบครัว 1 0.31 สมาชิกกลํมุ เล้ยี งไหม 1 0.31 สมาชกิ ในการทอผา๎ 1 0.31 สารวตั รกํานนั หนํวยปูองกัน 1600 100.00 รวมท้ังสน้ิ

111 จากผลการสาํ รวจ สํวนที่ 1 ขอ๎ มูลทว่ั ไป ในตารางท่ี 1 จาํ นวนและร๎อยละ ข๎อมลู ท่วั ไปของผ๎ตู อบ แบบสอบถาม พบวํา มีผู๎ตอบแบบสอบถามรวมทั้งสนิ้ จํานวน 1,600 คน แยกเป็นเพศชาย 741 คน คดิ เปน็ รอ๎ ยละ 46.31 เพศหญงิ 859 คน คดิ เปน็ ร๎อยละ 53.69 โดยมีชํวงอายุ 41 - 50 ปี มากท่ีสุด จํานวน 393 คน คิดเป็นร๎อยละ 24.56 รองลงมาคือมีชํวง อายุ 31 - 40 ปี จํานวน 351 คน คดิ เป็นร๎อยละ 21.94 และชํวงอายุ 51 - 60 ปี จํานวน 306 คน คิดเป็น รอ๎ ยละ 19.13 ตามลําดับ นบั ถอื ศาสนาพุทธมากท่ีสุด จํานวน 1,548 คน คิดเป็นร๎อยละ 96.75 รองลงมาคือนับถือศาสนา อิสลาม จํานวน 32 คน คิดเป็นร๎อยละ 2.00 และไมํระบุศาสนา จํานวน 13 คน คิดเป็นร๎อยละ 0.81 ตามลาํ ดบั สถานภาพสมรสมากท่ีสุด จํานวน 949 คน คิดเป็นร๎อยละ 59.31 รองลงมาคือโสด จํานวน 454 คน คิดเป็นรอ๎ ยละ 28.38 และเป็นหม๎าย จาํ นวน 115 คน คิดเป็นร๎อยละ 7.19 ตามลําดับ จํานวนสมาชิกในครัวเรือน พบวํา จํานวนสมาชิก 4 - 7 คน มากท่ีสุด จํานวน 885 คน คิดเป็น ร๎อยละ 55.31 รองลงมาคือมีจํานวนสมาชิก น๎อยกวํา 3 คน จํานวน 558 คน คิดเป็นร๎อยละ 34.88 และ ไมรํ ะบุจาํ นวนสมาชกิ จํานวน 104 คน คิดเป็นรอ๎ ยละ 6.50 ตามลาํ ดบั หน๎าท่ีหลักคือเป็นสมาชิกครอบครัวมากที่สุด จํานวน 838 คน คิดเป็นร๎อยละ 52.38 รองลงมา คอื เปน็ หัวหน๎าครอบครวั จํานวน 654 คน คิดเป็นร๎อยละ 40.88 และไมํระบุหน๎าท่ีหลัก จํานวน 108 คน คดิ เปน็ รอ๎ ยละ 6.75 ตามลาํ ดบั ระดบั การศึกษา พบวํา อยูํในระดับช้ันมัธยมศึกษา/เทียบเทํา มากที่สุด จํานวน 614 คน คิดเป็น ร๎อยละ 38.38 รองลงมาคือประถมศึกษา/ตํา่ กวํา จํานวน 464 คน คดิ เปน็ รอ๎ ยละ 29.00 และปริญญาตรี/ เทียบเทาํ จาํ นวน 336 คน คิดเปน็ ร๎อยละ 21.00 ตามลําดบั อาชีพ พบวํา ผู๎ใช๎แรงงาน/รับจ๎างทั่วไปมากที่สุด จํานวน 479 คน คิดเป็นร๎อยละ 29.94 รองลงมาคือธรุ กิจสํวนตวั /อาชีพอิสระ จาํ นวน 381 คน คดิ เป็นร๎อยละ 23.81 และข๎าราชการ/ลูกจ๎างของ รัฐ/พนกั งานรฐั วสิ าหกจิ จาํ นวน 200 คน คดิ เป็นรอ๎ ยละ 12.50 ตามลําดบั รายได๎ตํอเดือน พบวํา 5,001 - 10,000 บาทตํอเดือน มากท่ีสุด จํานวน 583 คน คิดเป็นร๎อยละ 36.44 รองลงมาคือ 10,001 - 15,000 บาทตํอเดือน จํานวน 312 คน คิดเป็นร๎อยละ 19.50 และน๎อย กวาํ 5,000 บาทตํอเดอื น จํานวน 227 คน คดิ เปน็ รอ๎ ยละ 14.19 ตามลาํ ดับ ระยะเวลาท่ีอาศัยในชุมชน พบวํา 36 - 45 ปี มากท่ีสุด จํานวน 477 คน คิดเป็นร๎อยละ 29.81 รองลงมาคือ 6 - 15 ปี จํานวน 331 คน คิดเป็นร๎อยละ 20.69 และ16 - 25 ปี จํานวน 327 คน คิดเป็น ร๎อยละ 20.44 ตามลาํ ดับ

112 ตําแหนํงในชุมชน พบวํา ไมํมีตําแหนํงในชุมชน มากท่ีสุด จํานวน 1,280 คน คิดเป็นร๎อยละ 80.00 รองลงมาตอบวํามีตําแหนํงในชุมชน จํานวน 320 คน คิดเป็นร๎อยละ 20.00 โดยพบวํา ผ๎ูตอบ แบบสอบถามเป็นอาสาสมัครหมํูบ๎าน (อสม.) จํานวน 111 คน คิดเป็นร๎อยละ 34.69 รองลงมาคือ คณะกรรมการหมูํบ๎าน จํานวน 42 คน คิดเป็นร๎อยละ 13.13 และคณะกรรมการชุมชน จํานวน 33 คน คิดเปน็ รอ๎ ยละ 10.31 ส่วนท่ี 2 การเตรียมความพรอ้ ม และสถานการณก์ ารเปลย่ี นแปลง ตารางที่ 2 การเตรียมพรอ๎ มเพ่อื รองรับผลกระทบจากประชาคมอาเซยี นในชุมชน การเตรยี มพร้อม จานวน ร้อยละ มกี ารเตรียมพร้อม 1089 68.06 662 61.13 ดา๎ นข๎อมลู ประชากร 668 61.68 ดา๎ นภาษา 750 69.25 ดา๎ นสาธารณสุข 329 30.38 ดา๎ นเทคโนโลยี 18 1.66 อืน่ ๆ 5 27.76 ดา๎ นสังคม เชนํ การอยรูํ วํ มกัน, การเฝูาระวังเหตรุ า๎ ยและยาเสพตดิ 3 16.67 ดา๎ นวฒั นธรรม เชํน มีการสอนเดก็ ใหเ๎ รียนรวู๎ ัฒนธรรม 2 11.11 ดา๎ นการทํองเที่ยว 2 11.11 ดา๎ นการศึกษา 2 11.11 ด๎านแรงงาน 1 5.56 ด๎านการอปุ โภคบรโิ ภค 1 5.56 ด๎านความพร๎อมและสามัคคีปรองดอง 1 5.56 ดา๎ นภาษา มี พตส. และ อสต. ตํางด๎าวในพ้นื ทีเ่ ปน็ ลําม 1 5.56 ด๎านเศรษฐกจิ 181 11.31 ไม่มีการเตรยี มพร้อม 134 74.44 คนในชมุ ชนไมํให๎ความสนใจ 70 38.89 ผูน๎ าํ ชุมชนไมํให๎ความสนใจ 64 35.56 หนํวยงานทอ๎ งถ่ินไมํให๎ความสนใจ 4 2.22 อน่ื ๆ 1 0.25 ตํางคนตาํ งอยูํ

113 การเตรียมพรอ้ ม จานวน ร้อยละ ปกติ 1 0.25 เป็นเรือ่ งไกลตวั ของคนในชมุ ชน 1 0.25 ไมํเห็นวาํ มีกิจกรรมใดเกี่ยวกับเรือ่ งน้ี 1 0.25 ไมท่ ราบ 330 20.63 รวมทั้งส้ิน 1600 100.00 จากผลการสํารวจ สวํ นท่ี 2 การเตรยี มความพรอ๎ ม และสถานการณ๑การเปลี่ยนแปลง ในตารางท่ี 2 การเตรียมพร๎อมเพ่ือรองรับผลกระทบจากประชาคมอาเซียนในชุมชน พบวํา มีการเตรียมพร๎อม จํานวน 1,089 คน คดิ เป็นร๎อยละ 68.06 คือ การเตรียมพร๎อมด๎านสาธารณสุขมากที่สุด จํานวน 750 คน คิดเป็น ร๎อยละ 69.25 รองลงมาคือด๎านภาษา จํานวน 668 คน คิดเป็นร๎อยละ 61.68 และด๎านข๎อมูลประชากร จํานวน 662 คน คดิ เป็นรอ๎ ยละ 61.13 ตามลาํ ดบั สํวนไมํมีการเตรียมพร๎อม จํานวน 181 คน คิดเป็นร๎อยละ 11.31 คือ คนในชุมชนไมํให๎ความ สนใจ มากที่สุด จํานวน 134 คน คิดเป็นร๎อยละ 74.44 รองลงมาคือผู๎นําชุมชนไมํให๎ความสนใจ จํานวน 70 คน คิดเป็นร๎อยละ 38.89 และหนํวยงานท๎องถ่ินไมํให๎ความสนใจ จํานวน 64 คน คิดเป็นร๎อยละ 35.56 ตามลําดบั ท้ังน้ียังพบวํา มีผ๎ูตอบวําไมํทราบ จํานวน 330 คน คิดเปน็ รอ๎ ยละ 20.63 ตารางท่ี 3 การเปลี่ยนแปลงการดําเนินชีวิตในชุมชนจากการเป็นประชาคมอาเซียนที่มีผล ตั้งแตํวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 การเปลี่ยนแปลง จานวน ร้อยละ 1208 75.50 มกี ารเปลยี่ นแปลง 850 70.66 ด๎านเศรษฐกจิ 643 53.45 ดา๎ นสงั คม 492 40.90 ด๎านสาธารณสุข 482 40.07 ด๎านการศึกษา 446 37.07 ดา๎ นการเมือง การปกครอง เชํน การปรบั กฎระเบยี บ หรอื กตกิ าในการอยํู รํวมกันของคนในชมุ ชน 351 29.18 ด๎านวฒั นธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณีตําง ๆ ในชมุ ชน

114 การเปลย่ี นแปลง จานวน ร้อยละ อน่ื ๆ 9 0.75 22.23 ชมุ ชนเรมิ่ แออัด, มีชาวตํางชาติเขา๎ มาอยใูํ นชมุ ชนมาก 2 22.22 ดา๎ นความปลอดภัย 2 22.22 ปกติ 2 11.11 ดา๎ นการส่ือสาร 1 11.11 ดา๎ นแรงงาน 1 11.11 ดมี าก 1 9.25 ไม่มกี ารเปลย่ี นแปลง 148 35.81 ไมไํ ดร๎ ับผลกระทบ คนในชุมชนยงั ใช๎ชวี ติ ปกติ เพราะขอ๎ จํากดั ของการเขา๎ 53 มาของแรงงาน, ชมุ ชนเป็นบ๎านจัดสรร ไมไํ ดต๎ ิดตํอสื่อสารกัน และไมไํ ด๎ให๎ความสนใจ 9 6.08 ไมมํ ีการประชาสัมพันธข๑ ๎อมลู ไมมํ ีการเตรยี มพร๎อม 9 6.08 คนตํางชาติอาศยั ในชุมชนไมํมาก 4 2.70 มชี าวตํางชาตอิ ยใูํ นชุมชนอยูํแล๎ว 4 2.70 ยังไมํเข๎ามาอยํูในชมุ ชน 3 2.03 แคํเขา๎ มาทํางานแลว๎ กลับบ๎าน 2 1.35 ไมมํ ีผู๎นําในการเปลี่ยนแปลง 2 1.35 เข๎ามาอยูํแบบเพอ่ื นบ๎าน ชํวยเหลอื กันในบางครง้ั 1 0.68 ไมํระบุ 61 41.22 ไมท่ ราบ 14.00 ไมร่ ะบุ 224 1.25 20 100.00 รวมท้ังส้นิ 1600 จากตารางท่ี 3 การเปล่ียนแปลงการดําเนินชีวิตในชุมชนจากการเป็นประชาคมอาเซียนท่ีมีผล ตั้งแตํวันท่ี 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 พบวํา มีการเปลี่ยนแปลง จํานวน 1,208 คน คิดเป็นร๎อยละ 75.50 คือ ด๎านเศรษฐกิจ มากท่ีสุด จํานวน 850 คน คิดเป็นร๎อยละ 70.66 รองลงมาคือด๎านสังคม จํานวน 643 คน คิดเป็นร๎อยละ 53.45 และดา๎ นสาธารณสขุ จาํ นวน 492 คน คิดเป็นร๎อยละ 40.07 ตามลําดบั สํวนไมํมีการเปล่ียนแปลง จํานวน 148 คน คิดเป็นร๎อยละ 9.25 คือ ไมํระบุการเปลี่ยนแปลง มากที่สุด จํานวน 61 คน คิดเป็นร๎อยละ 41.22 รองลงมาคือไมํได๎รับผลกระทบ คนในชุมชนยังใช๎ชีวิต

115 ปกติ เพราะข๎อจํากัดของการเข๎ามาของแรงงาน, ชุมชนเป็นบ๎านจัดสรร จํานวน 53 คน คิดเป็นร๎อยละ 35.81 และไมํได๎ติดตํอสื่อสารกัน และไมํได๎ให๎ความสนใจ และไมํมีการประชาสัมพันธ๑ข๎อมูล ไมํมีการ เตรียมพรอ๎ ม เทาํ กัน จาํ นวน 9 คน คิดเปน็ รอ๎ ยละ 6.08 ตามลาํ ดบั ท้ังน้ียังพบวํา มีผู๎ตอบวําไมํทราบ จํานวน 224 คน คิดเป็นร๎อยละ 14.00 และไมํระบุการ เปล่ยี นแปลง การดาํ เนนิ ชีวิตในชมุ ชนจากการเปน็ ประชาคมอาเซียน จํานวน 20 คน คิดเป็นร๎อยละ 1.25

11 สว่ นที่ 3 ผลกระทบทางสงั คมเมื่อเขา้ สู่ประชาคมอาเซียน ตารางท่ี 4 จํานวนและคาํ รอ๎ ยละของผลกระทบทางสังคมเมอ่ื เข๎าสํปู ระชาคมอา ประเดน็ มผี ล ดา้ นทอี่ ยอู่ าศัย ทา ความเพยี งพอของสาธารณูปโภค ไฟฟูา ประปา โทรศัพท๑ (1 ความเพยี งพอของที่อยอํู าศัยในชุมชน (1 (1 ความเพยี งพอของการใช๎พืน้ ที่สาธารณะในชมุ ชน (1 ด้านสขุ ภาพอนามยั (1 ปัญหาโรคตดิ ตํอ (1 การเขา๎ การรักษาพยาบาล (2 การรักษาความสะอาดของชุมชน ดา้ นอาหาร การมีความหลากหลายในการบรโิ ภค

16 าเซยี น ไม่มีผล ไม่ระบุ กระทบใดๆ ลกระทบ มผี ลกระทบ มีผลกระทบท้ังดา้ น างบวก ทางลบ บวกและลบเท่าๆ กัน 279 296 418 602 5 17.44) (18.50) (26.13) (37.63) (0.31) 245 325 411 598 21 15.31) (20.31) (25.69) (37.38) (1.31) 242 317 445 581 15 15.13) (19.81) (27.81) (36.31) (0.94) 180 540 446 426 8 11.25) (33.75) (27.88) (26.63) (0.50) 196 467 450 475 12 12.25) (29.19) (28.13) (29.69) (0.75) 178 557 439 423 11.13) (34.81) (27.44) (26.44) 3 (0.19) 440 174 489 489 8 27.50) (10.88) (30.56) (30.56) (0.50)

ประเดน็ 11 ความเพียงพอของอาหารที่ใช๎บริโภคในชมุ ชน มีผล ความสะอาดของอาหารท่ีบรโิ ภค ทา (2 ดา้ นการศึกษา (1 มีการเรียนรภู๎ าษาท่หี ลากหลาย (3 การเขา๎ มาศึกษาในโรงเรียนไทยของลกู หลานชาตอิ าเซยี น (2 (1 ความเพยี งพอของสถานศึกษาสําหรบั เดก็ ไทย (1 (1 ความเพยี งพอของสถานศึกษาสําหรับเด็กตํางชาติ (1 สถานศกึ ษาเฉพาะกบั ลูกหลานชาตอิ าเซยี น (1 ด้านการมงี านทาและรายได้ การมีงานทําของคนในชุมชน ฐานะทางเศรษฐกิจของคนในชมุ ชน

17 ลกระทบ มีผลกระทบ มีผลกระทบท้ังด้าน ไม่มผี ล ไมร่ ะบุ กระทบใดๆ างบวก ทางลบ บวกและลบเทา่ ๆ กัน 9 524 (0.56) 360 234 473 (32.75) 26 (1.63) 22.50) (14.63) (29.56) 440 (27.50) 290 322 522 18.13) (20.13) (32.63) 547 140 481 404 28 34.19) (8.75) (30.06) (25.25) (1.75) 367 212 555 462 22.94) (13.25) (34.69) (28.88) 4 319 221 506 548 (0.25) 19.94) (13.81) (31.63) (34.25) 285 231 539 538 6 17.81) (14.44) (33.69) (33.63) (0.38) 273 257 526 530 17.06) (16.06) (32.88) (33.13) 7 (0.44) 14 (0.88) 220 431 524 418 7 13.75) (26.94) (32.75) (26.13) (0.44) 308 346 553 382 11 19.25) (21.63) (34.56) (23.88) (0.69)

ประเด็น 11 การเปน็ เจา๎ ของกิจการของชาตอิ าเซียนในชมุ ชน ความอบอุนํ ในครอบครวั มีผล ทา การแตงํ งานของคนไทยกับแรงงานชาติอาเซียน (1 (1 ด้านชุมชนและการสนบั สนนุ ทางสังคม (1 การให๎ความชวํ ยเหลอื ผด๎ู ๎อยโอกาสในชุมชน (1 การชวํ ยเหลือเก้ือกลู ซงึ่ กนั และกนั ของสมาชกิ ในชมุ ชน (1 (1 การมสี ํวนรวํ มในกิจกรรมของสมาชิกในชมุ ชน (2 ด้านศาสนาและวัฒนธรรม (2 การซมึ ซบั วัฒนธรรมอาเซยี นของคนไทยในชุมชน (2 การซมึ ซับวฒั นธรรมไทยของแรงงานชาติอาเซียน การใชภ๎ าษาและการสื่อสารในชมุ ชน

18 ลกระทบ มีผลกระทบ มผี ลกระทบทั้งดา้ น ไม่มีผล ไม่ระบุ กระทบใดๆ างบวก ทางลบ บวกและลบเทา่ ๆ กัน 16 453 (1.00) 223 380 528 (28.31) 7 13.94) (23.75) (33.00) 721 (0.44) 12 218 149 505 (45.06) (0.75) 13.63) (9.31) (31.56) 643 193 194 558 (40.19) 12.06) (12.13) (34.88) 257 201 516 620 6 16.06) (12.56) (32.25) (38.75) (0.38) 270 155 558 615 16.88) (9.69) (34.88) (38.44) 2 279 125 556 638 (0.13) 17.44) (7.81) (34.75) (39.88) 2 (0.13) 430 160 459 551 0 26.88) (10.00) (28.69) (34.44) (0.00) 403 167 520 507 25.19) (10.44) (32.50) (31.69) 3 380 210 513 481 (0.19) 23.75) (13.13) (32.06) (30.06) 16 (1.00)

11 ประเด็น มผี ล การเรยี นร๎ูและการยอมรบั ความแตกตํางระหวาํ งศาสนาในชุมชน ทา การทาํ ภารกจิ ทางศาสนาของคนในพ้ืนท่ี (2 (1 ด้านความปลอดภยั ในชีวิตและทรพั ยส์ นิ ( จํานวนคดอี าชญากรรมทีเ่ กดิ ขน้ึ ในพ้นื ที่ ( ความไว๎ใจกนั ระหวํางคนไทยกบั แรงงานชาติอาเซยี น (1 (1 ดา้ นสทิ ธแิ ละความเป็นธรรม การปฏิบัติของเจา๎ หนา๎ ท่ตี ํอคนไทยและแรงงานชาติอาเซียนอยาํ งเทาํ (1 เทียมกนั การบงั คับใช๎กฎหมายของเจ๎าหน๎าที่เก่ียวกับคนชาติอาเซียน (แรงงาน ชาติอาเซยี น) ดา้ นการเมือง การมสี ํวนรํวมทางการเมืองของคนในชมุ ชน

19 ลกระทบ มีผลกระทบ มีผลกระทบท้ังดา้ น ไม่มีผล ไม่ระบุ กระทบใดๆ างบวก ทางลบ บวกและลบเท่าๆ กนั 5 556 (0.31) 369 156 514 31 (34.75) (1.94) 23.06) (9.75) (32.13) 628 316 168 457 (39.25) 19.75) (10.50) (28.56) 129 561 517 385 8 (8.06) (35.06) (32.31) (24.06) (0.50) 145 482 604 363 (9.06) (30.13) (37.75) (22.69) 6 (0.38) 224 225 624 14.00) (14.06) (39.00) 525 2 222 234 626 (32.81) (0.13) 13.88) (14.63) (39.13) 513 (32.06) 5 247 164 564 (0.31) 15.44) (10.25) (35.25) 620 5 (38.75) (0.31)

12 ประเด็น มผี ล ธรรมาภบิ าลในการบริหารงานของภาครฐั ทา (1 ด้านสง่ิ แวดล้อมทรัพยากร/พลงั งาน การใช๎ทรัพยากรอยาํ งรค๎ู ุณคาํ (1 (1 การประหยดั พลังงาน (1 (1 การจดั การภยั พบิ ัติ (1 การรกั ษาส่งิ แวดลอ๎ มในชมุ ชน โดยภาพรวมของการอยู่ร่วมในชุมชนเดยี วกบั ชาติอาเซยี นสง่ ผลกระทบต่อการดาเนนิ ชีวิต

20 ลกระทบ มีผลกระทบ มีผลกระทบท้ังด้าน ไมม่ ผี ล ไม่ระบุ กระทบใดๆ างบวก ทางลบ บวกและลบเท่าๆ กนั 15 615 (0.94) 215 181 574 (38.44) 13.44) (11.31) (35.88) 204 295 543 552 6 12.75) (18.44) (33.94) (34.50) (0.38) 199 296 557 546 12.44) (18.50) (34.81) (34.13) 2 175 278 559 580 (0.13) 10.94) (17.38) (34.94) (36.25) 178 353 543 519 8 11.13) (22.06) (33.94) (32.44) (0.50) 188 241 652 510 7 11.75) (15.06) (40.75) (31.88) (0.44) 9 (0.56)

121 จากผลการสํารวจ สํวนที่ 3 ผลกระทบทางสังคมเม่ือเข๎าสูํประชาคมอาเซียน ในตารางท่ี 4 จํานวนและคําร๎อยละของผลกระทบทางสังคมเม่ือเข๎าสูํประชาคมอาเซียน ประกอบด๎วย ด๎านที่อยูํอาศัย ได๎แกํ ความเพียงพอของสาธารณูปโภค ไฟฟูา ประปา โทรศัพท๑ พบวํา ไมํมีผลกระทบใดๆ มากที่สุด จํานวน 602 คน คิดเป็นร๎อยละ 37.63 รองลงมาคือ มีผลกระทบทั้งด๎านบวกและลบเทําๆ กัน จํานวน 418 คน คิดเป็นร๎อยละ 26.13 มีผลกระทบทางลบ จํานวน 296 คน คิดเป็นร๎อยละ 18.50 มีผลกระทบ ทางบวก จํานวน 279 คน คิดเป็นร๎อยละ 17.44 และไมํระบุ จํานวน 5 คน คิดเป็นร๎อยละ 0.31 ตามลาํ ดบั ความเพียงพอของท่ีอยูํอาศัยในชุมชน พบวํา ไมํมีผลกระทบใดๆ มากที่สุด จํานวน 598 คน คิด เป็นรอ๎ ยละ 37.38 รองลงมาคอื มีผลกระทบท้ังด๎านบวกและลบเทําๆ กัน จํานวน 411 คน คิดเป็นร๎อยละ 25.69 มผี ลกระทบทางลบ จาํ นวน 325 คน คิดเป็นร๎อยละ 20.31 มีผลกระทบทางบวก จํานวน 245 คน คิดเป็นร๎อยละ 15.31 และไมรํ ะบุ จํานวน 21 คน คดิ เป็นรอ๎ ยละ 1.31 ตามลําดบั ความเพียงพอของการใช๎พื้นท่ีสาธารณะในชุมชน พบวํา ไมํมีผลกระทบใดๆ มากท่ีสุด จํานวน 581 คน คิดเป็นร๎อยละ 36.31 รองลงมาคือมีผลกระทบทั้งด๎านบวกและลบเทําๆ กัน จํานวน 445 คน คิดเป็นร๎อยละ 27.81 13 มีผลกระทบทางลบ จํานวน 317 คน คิดเป็นร๎อยละ 19.81 มีผลกระทบ ทางบวก จํานวน 242 คน คิดเป็นร๎อยละ 15.13 และไมํระบุ จํานวน 15 คน คิดเป็นร๎อยละ 0.94 ตามลาํ ดบั ด๎านสขุ ภาพอนามัย ได๎แกํ ปัญหาโรคติดตํอ พบวํา มีผลกระทบทางลบ มากท่ีสุด จํานวน 540 คน คิดเป็นร๎อยละ 33.75 รองลงมาคือมีผลกระทบท้ังด๎านบวกและลบเทําๆ กัน จํานวน 446 คน คิดเป็นร๎อยละ 27.88 ไมํมีผลกระทบใดๆ จํานวน 426 คน คิดเป็นร๎อยละ 26.63 มีผลกระทบทางบวก จํานวน 180 คน คิดเปน็ รอ๎ ยละ 11.25 และไมรํ ะบุ จาํ นวน 8 คน คดิ เปน็ ร๎อยละ 0.50 ตามลําดับ การเข๎าการรักษาพยาบาล พบวํา ไมํมีผลกระทบใดๆ มากท่ีสุด จํานวน 475 คน คิดเป็นร๎อยละ 29.69 รองลงมาคือมีผลกระทบทางลบ จํานวน 467 คน คิดเป็นร๎อยละ 29.19 มีผลกระทบท้ังด๎านบวก และลบเทําๆ กัน จํานวน 450 คน คิดเป็นร๎อยละ 28.13 มีผลกระทบทางบวก จํานวน 196 คน คิดเป็น รอ๎ ยละ 12.25 และไมรํ ะบุ จํานวน 12 คน คดิ เปน็ รอ๎ ยละ 0.75 ตามลาํ ดับ การรักษาความสะอาดของชุมชน พบวํา มีผลกระทบทางลบ มากท่ีสุด จํานวน 557 คน คิดเป็น ร๎อยละ 34.81 รองลงมาคือมีผลกระทบทั้งด๎านบวกและลบเทําๆ กัน จํานวน 439 คน คิดเป็นร๎อยละ 27.44 ไมํมีผลกระทบใดๆ จํานวน 423 คน คิดเป็นร๎อยละ 26.44 มีผลกระทบทางบวก จํานวน 178 คน คดิ เป็นรอ๎ ยละ 11.13 และไมรํ ะบุ จาํ นวน 3 คน คดิ เป็นรอ๎ ยละ 0.19 ตามลาํ ดับ ด๎านอาหาร ได๎แกํ การมีความหลากหลายในการบริโภค พบวํา มีมากที่สุด 2 ด๎าน คือ มีผลกระทบท้ังด๎านบวกและลบเทําๆ กัน จํานวน 489 คน คิดเป็นร๎อยละ 30.56 และไมํมีผลกระทบใดๆ จํานวน 489 คน คดิ เปน็ รอ๎ ยละ 30.56 รองลงมาคือมผี ลกระทบทางบวก จํานวน 440 คน คิดเป็นร๎อยละ

122 27.50 มีผลกระทบทางลบ จํานวน 174 คน คิดเป็นร๎อยละ 10.88 และไมํระบุ จํานวน 8 คน คิดเป็นร๎อยละ 0.50 ตามลําดบั ความเพียงพอของอาหารที่ใช๎บริโภคในชุมชน พบวํา ไมํมีผลกระทบใดๆ มากที่สุด จํานวน 524 คน คิดเป็นร๎อยละ 32.75 รองลงมาคือมีผลกระทบท้ังด๎านบวกและลบเทําๆ กัน จํานวน 473 คน คิดเป็นร๎อยละ 29.56 มีผลกระทบทางบวก จาํ นวน 360 คน คิดเป็นร๎อยละ 22.50 มีผลกระทบทางลบ จํานวน 234 คน คิดเป็นรอ๎ ยละ 14.63 และไมรํ ะบุ จํานวน 9 คน คิดเป็นรอ๎ ยละ 0.56 ตามลําดบั ความสะอาดของอาหารท่ีบริโภค พบวํา มีผลกระทบท้ังด๎านบวกและลบเทําๆ กัน มากท่ีสุด จํานวน 522 คน คิดเป็นร๎อยละ 32.63 รองลงมาคือไมํมีผลกระทบใดๆ จํานวน 440 คน คิดเป็นร๎อยละ 27.50 มผี ลกระทบทางลบ จาํ นวน 322 คน คิดเป็นร๎อยละ 20.13 มีผลกระทบทางบวก จํานวน 290 คน คิดเปน็ ร๎อยละ 18.13 และไมรํ ะบุ จํานวน 26 คน คิดเปน็ ร๎อยละ 1.63 ตามลําดับ ด๎านการศึกษา ได๎แกํ มีการเรียนรู๎ภาษาที่หลากหลาย พบวํา มีผลกระทบทางบวก มากที่สุด จํานวน 547 คน คิดเป็นร๎อยละ 34.19 รองลงมาคือ มีผลกระทบท้ังด๎านบวกและลบเทําๆ กัน จํานวน 481 คน คิดเป็นร๎อยละ 30.06 ไมํมีผลกระทบใดๆ จํานวน 404 คน คิดเป็นร๎อยละ 25.25 มีผลกระทบ ทางลบ จาํ นวน 140 คน คดิ เป็นร๎อยละ 8.75 และไมํระบุ จํานวน 28 คน คดิ เปน็ รอ๎ ยละ 1.75 ตามลําดับ การเขา๎ มาศกึ ษาในโรงเรยี นไทยของลูกหลานชาติอาเซียน พบวํา มีผลกระทบท้ังด๎านบวกและลบ เทําๆ กัน มากท่ีสุด จํานวน 555 คน คิดเป็นร๎อยละ 34.69 รองลงมาคือไมํมีผลกระทบใดๆ จํานวน 462 คน คิดเป็นร๎อยละ 28.88 มีผลกระทบทางบวก จํานวน 367 คน คิดเป็นร๎อยละ 22.94 มีผลกระทบทางลบ จาํ นวน 212 คน คิดเป็นรอ๎ ยละ 13.25 และไมรํ ะบุ จํานวน 4 คน คิดเปน็ ร๎อยละ 0.25 ตามลําดบั ความเพียงพอของสถานศึกษาสําหรับเด็กไทย พบวํา ไมํมีผลกระทบใดๆ มากท่ีสุด จํานวน 548 คน คิดเป็นร๎อยละ 34.25 รองลงมาคือมีผลกระทบท้ังด๎านบวกและลบเทําๆ กัน จํานวน 506 คน คิดเป็นร๎อยละ 31.63 มีผลกระทบทางบวก จาํ นวน 319 คน คิดเป็นร๎อยละ 19.94 มีผลกระทบทางลบ จํานวน 221 คน คดิ เป็นร๎อยละ 13.81 และไมรํ ะบุ จํานวน 6 คน คิดเปน็ ร๎อยละ 0.38 ตามลําดบั ความเพียงพอของสถานศกึ ษาสาํ หรับเดก็ ตาํ งชาติ พบวํา มีผลกระทบท้ังด๎านบวกและลบเทําๆ กัน มากที่สุด จํานวน 539 คน คิดเป็นร๎อยละ 33.69 รองลงมาคือไมํมีผลกระทบใดๆ จํานวน 538 คน คิดเป็นร๎อยละ 33.63 มีผลกระทบทางบวก จํานวน 285 คน คิดเป็นร๎อยละ 17.81 มีผลกระทบทางลบ จํานวน 231 คน คิดเปน็ รอ๎ ยละ 14.44 และไมรํ ะบุ จํานวน 7 คน คิดเปน็ ร๎อยละ 0.44 ตามลําดับ สถานศึกษาเฉพาะกบั ลูกหลานชาตอิ าเซียน พบวํา ไมมํ ผี ลกระทบใดๆ มากที่สุด จํานวน 530 คน คิดเป็นร๎อยละ 33.13 รองลงมาคือมีผลกระทบทั้งด๎านบวกและลบเทําๆ กัน จํานวน 526 คน คิดเป็นร๎อยละ 32.88 มีผลกระทบทางบวก จํานวน 273 คน คิดเป็นร๎อยละ 17.06 มีผลกระทบทางลบ จํานวน 257 คน คดิ เปน็ ร๎อยละ 16.06 และไมรํ ะบุ จํานวน 14 คน คดิ เป็นรอ๎ ยละ 0.88 ตามลําดับ

123 ด๎านการมีงานทําและรายได๎ ได๎แกํ การมีงานทําของคนในชุมชน พบวํา มีผลกระทบทั้งด๎านบวก และลบเทําๆ กัน มากที่สุด จํานวน 524 คน คิดเป็นร๎อยละ 32.75 รองลงมาคือมีผลกระทบทางลบ จํานวน 431 คน คิดเป็นร๎อยละ 26.94 ไมํมีผลกระทบใดๆ จํานวน 418 คน คิดเป็นร๎อยละ 26.13 มีผลกระทบทางบวก จํานวน 220 คน คิดเป็นร๎อยละ 13.75 และไมํระบุ จํานวน 7 คน คิดเป็นร๎อยละ 0.44 ตามลําดับ ฐานะทางเศรษฐกิจของคนในชุมชน พบวํา มีผลกระทบท้ังด๎านบวกและลบเทําๆ กัน มากท่ีสุด จํานวน 553 คน คิดเป็นร๎อยละ 34.56 รองลงมาคือไมํมีผลกระทบใดๆ จํานวน 382 คน คิดเป็นร๎อยละ 23.88 มีผลกระทบทางลบ จํานวน 346 คน คิดเป็นร๎อยละ 21.63 มีผลกระทบทางบวก จํานวน 308 คน คิดเป็นร๎อยละ 19.25 และไมํระบุ จํานวน 11 คน คิดเปน็ รอ๎ ยละ 0.69 ตามลาํ ดับ การเป็นเจ๎าของกิจการของแรงงานชาติอาเซียนในชุมชน พบวํา มีผลกระทบทั้งด๎านบวกและลบ เทําๆ กัน มากที่สุด จํานวน 528 คน คิดเป็นร๎อยละ 33.00 รองลงมาคือไมํมีผลกระทบใดๆ จํานวน 453 คน คิดเป็นร๎อยละ 28.31 มีผลกระทบทางลบ จํานวน 380 คน คิดเป็นร๎อยละ 23.75 มีผลกระทบทางบวก จาํ นวน 223 คน คิดเปน็ รอ๎ ยละ 13.94 และไมรํ ะบุ จํานวน 16 คน คดิ เปน็ รอ๎ ยละ 1.00 ตามลําดบั ด๎านครอบครัว ได๎แกํ ความอบอํุนในครอบครัว พบวํา ไมํมีผลกระทบใดๆ มากที่สุด จํานวน 721 คน คิดเป็นร๎อยละ 45.06 รองลงมาคือมีผลกระทบทั้งด๎านบวกและลบเทําๆ กัน จํานวน 505 คน คิดเป็นร๎อยละ 31.56 มีผลกระทบทางบวก จํานวน 218 คน คิดเป็นร๎อยละ 13.63 มีผลกระทบทางลบ จํานวน 149 คน คดิ เปน็ ร๎อยละ 9.31 และไมรํ ะบุ จํานวน 7 คน คดิ เปน็ รอ๎ ยละ 0.44 ตามลาํ ดบั การแตํงงานของคนไทยกับชาติอาเซียน พบวํา ไมํมีผลกระทบใดๆ มากท่ีสุด จํานวน 643 คน คดิ เป็นร๎อยละ 40.19 รองลงมาคือมีผลกระทบทั้งด๎านบวกและลบเทําๆ กัน จํานวน 558 คน คิดเป็นร๎อยละ 34.88 มผี ลกระทบทางลบ จํานวน 194 คน คิดเป็นร๎อยละ 12.13 มีผลกระทบทางบวก จํานวน 193 คน คิดเปน็ รอ๎ ยละ 12.06 และไมํระบุ จํานวน 12 คน คดิ เปน็ รอ๎ ยละ 0.75 ตามลาํ ดบั ดา๎ นชุมชนและการสนับสนนุ ทางสงั คม ไดแ๎ กํ การให๎ความชํวยเหลือผู๎ด๎อยโอกาสในชุมชน พบวํา ไมมํ ผี ลกระทบใดๆ มากท่สี ดุ จาํ นวน 620 คน คดิ เป็นร๎อยละ 38.75 รองลงมาคือมีผลกระทบท้ังด๎านบวก และลบเทําๆ กัน จํานวน 516 คน คิดเป็นร๎อยละ 32.25 มีผลกระทบทางบวก จํานวน 257 คน คิดเป็น ร๎อยละ 16.06 มีผลกระทบทางลบ จํานวน 201 คน คิดเป็นร๎อยละ 12.56 และไมํระบุ จํานวน 6 คน คดิ เป็นร๎อยละ 0.38 ตามลําดับ การชํวยเหลือเก้ือกูลซ่ึงกันและกันของสมาชิกในชุมชน พบวํา ไมํมีผลกระทบใดๆ มากท่ีสุด จํานวน 615 คน คิดเป็นร๎อยละ 38.44 รองลงมาคือมีผลกระทบทั้งด๎านบวกและลบเทําๆ กัน จํานวน 558 คน คิดเป็นร๎อยละ 34.88 มีผลกระทบทางบวก จํานวน 270 คน คิดเป็นร๎อยละ 16.88 มีผลกระทบทางลบ จํานวน 155 คน คดิ เป็นรอ๎ ยละ 9.69 และไมํระบุ จาํ นวน 2 คน คดิ เป็นรอ๎ ยละ 0.13 ตามลําดับ

124 การมีสํวนรวํ มในกิจกรรมของสมาชิกในชุมชน พบวํา ไมํมีผลกระทบใดๆ มากท่ีสุด จํานวน 638 คน คดิ เป็นร๎อยละ 39.88 รองลงมาคือมีผลกระทบทั้งด๎านบวกและลบเทําๆ กัน จํานวน 556 คน คิดเป็นร๎อยละ 34.75 มผี ลกระทบทางบวก จาํ นวน 279 คน คิดเป็นร๎อยละ 17.44 มีผลกระทบทางลบ จํานวน 125 คน คดิ เปน็ ร๎อยละ 7.81 และไมรํ ะบุ จาํ นวน 2 คน คดิ เป็นร๎อยละ 0.13 ตามลําดบั ด๎านศาสนาและวัฒนธรรม ได๎แกํ การซึมซับวัฒนธรรมอาเซียนของคนไทยในชุมชน พบวํา ไมํมี ผลกระทบใดๆ มากท่สี ดุ จํานวน 551 คน คิดเปน็ รอ๎ ยละ 34.44 รองลงมาคือมีผลกระทบทั้งด๎านบวกและ ลบเทําๆ กัน จํานวน 459 คน คิดเป็นร๎อยละ 28.69 มีผลกระทบทางบวก จํานวน 430 คน คิดเป็นร๎อย ละ 26.88 มผี ลกระทบทางลบ จํานวน 160 คน คิดเปน็ รอ๎ ยละ 10.00 ตามลําดบั การซึมซับวัฒนธรรมไทยของคนชาติอาเซียน พบวํา มีผลกระทบทั้งด๎านบวกและลบเทําๆ กัน มากที่สุด จํานวน 520 คน คิดเป็นร๎อยละ 32.50 รองลงมาคือไมํมีผลกระทบใดๆ จํานวน 507 คน คิด เป็นร๎อยละ 31.69 มีผลกระทบทางบวก จํานวน 403 คน คิดเป็นร๎อยละ 25.19 มีผลกระทบทางลบ จํานวน 167 คน คดิ เป็นร๎อยละ 10.44 และไมรํ ะบุ จาํ นวน 3 คน คิดเป็นรอ๎ ยละ 0.19 ตามลาํ ดับ การใช๎ภาษาและการส่ือสารในชุมชน พบวํา มีผลกระทบท้ังด๎านบวกและลบเทําๆ กัน มากท่ีสุด จํานวน 513 คน คิดเป็นร๎อยละ 32.06 รองลงมาคือไมํมีผลกระทบใดๆ จํานวน 481 คน คิดเป็นร๎อยละ 30.06 มีผลกระทบทางบวก จํานวน 380 คน คิดเป็นร๎อยละ 23.75 มีผลกระทบทางลบ จํานวน 210 คน คิดเป็นรอ๎ ยละ 13.00 และไมรํ ะบุ จํานวน 16 คน คดิ เป็นร๎อยละ 1.00 ตามลาํ ดบั การเรียนร๎แู ละการยอมรบั ความแตกตํางระหวํางศาสนาในชุมชน พบวํา ไมํมีผลกระทบใดๆ มาก ที่สุด จํานวน 556 คน คิดเป็นร๎อยละ 34.75 รองลงมาคือมีผลกระทบท้ังด๎านบวกและลบเทําๆ กัน จํานวน 514 คน คิดเป็นร๎อยละ 32.13 มีผลกระทบทางบวก จํานวน 369 คน คิดเป็นร๎อยละ 23.06 มผี ลกระทบทางลบ จํานวน 156 คน คดิ เปน็ ร๎อยละ 9.75 และไมํระบุ จํานวน 5 คน คิดเป็นร๎อยละ 0.31 ตามลาํ ดบั การทําภารกิจทางศาสนาของคนในพ้ืนที่ พบวํา ไมํมีผลกระทบใดๆ มากท่ีสุด จํานวน 628 คน คดิ เป็นร๎อยละ 39.25 รองลงมาคือมีผลกระทบท้ังด๎านบวกและลบเทําๆ กัน จํานวน 457 คน คิดเป็นร๎อยละ 28.56 มีผลกระทบทางบวก จํานวน 316 คน คิดเป็นร๎อยละ 19.75 มีผลกระทบทางลบ จํานวน 168 คน คดิ เป็นร๎อยละ 10.50 และไมรํ ะบุ จํานวน 31 คน คดิ เปน็ รอ๎ ยละ 1.94 ตามลําดบั ด๎านความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย๑สิน ได๎แกํ จํานวนคดีอาชญากรรมท่ีเกิดข้ึนในพื้นที่ พบวํา มีผลกระทบทางลบ มากท่ีสุด จํานวน 561 คน คิดเป็นร๎อยละ 35.06 รองลงมาคือมีผลกระทบท้ังด๎าน บวกและลบเทําๆ กัน จํานวน 517 คน คิดเป็นร๎อยละ 32.31 ไมํมีผลกระทบใดๆ จํานวน 385 คน คิดเป็น ร๎อยละ 24.06 มีผลกระทบทางบวก จํานวน 129 คน คิดเป็นร๎อยละ 8.06 และไมํระบุ จํานวน 8 คน คิด เป็นร๎อยละ 0.50 ตามลําดับ

125 ความไว๎ใจกันระหวํางคนไทยกับคนชาติอาเซียน พบวํา มีผลกระทบท้ังด๎านบวกและลบเทําๆ กัน มากที่สุด จํานวน 604 คน คิดเป็นร๎อยละ 37.75 รองลงมาคือมีผลกระทบทางลบ จํานวน 482 คน คิดเป็นร๎อยละ 30.13 ไมํมีผลกระทบใดๆ จํานวน 363 คน คิดเป็นร๎อยละ 22.69 มีผลกระทบทางบวก จํานวน 145 คน คดิ เปน็ ร๎อยละ 9.06 และไมํระบุ จํานวน 6 คน คดิ เป็นร๎อยละ 0.38 ตามลาํ ดับ ดา๎ นสิทธแิ ละความเป็นธรรม ไดแ๎ กํ การปฏิบตั ขิ องเจ๎าหน๎าที่ตํอคนไทยและชาติอาเซียนอยํางเทํา เทียมกัน พบวํา มีผลกระทบท้ังด๎านบวกและลบเทําๆ กัน มากท่ีสุด จํานวน 624 คน คิดเป็นร๎อยละ 39.00 รองลงมาคือไมํมีผลกระทบใดๆ จํานวน 525 คน คิดเป็นร๎อยละ 32.81 มีผลกระทบทางลบ จาํ นวน 225 คน คิดเป็นร๎อยละ 14.06 มีผลกระทบทางบวก จํานวน 224 คน คิดเป็นร๎อยละ 14.00 และ ไมรํ ะบุ จํานวน 2 คน คดิ เปน็ รอ๎ ยละ 0.13 ตามลาํ ดบั การบังคับใช๎กฎหมายของเจ๎าหน๎าที่เก่ียวกับคนชาติอาเซียน (คนตํางชาติ) พบวํา มีผลกระทบทั้ง ด๎านบวกและลบเทําๆ กัน มากที่สุด จํานวน 626 คน คิดเป็นร๎อยละ 39.13 รองลงมาคือไมํมีผลกระทบ ใดๆ จํานวน 513 คน คิดเป็นร๎อยละ 32.06 มีผลกระทบทางลบ จํานวน 234 คน คิดเป็นร๎อยละ 14.63 มีผลกระทบทางบวก จํานวน 222 คน คิดเป็นร๎อยละ 13.88 และไมํระบุ จํานวน 5 คน คิดเป็นร๎อยละ 0.31 ตามลําดบั ด๎านการเมือง ได๎แกํ การมีสํวนรํวมทางการเมืองของคนในชุมชน พบวํา ไมํมีผลกระทบใดๆ มาก ที่สุด จํานวน 620 คน คิดเป็นร๎อยละ 38.75 รองลงมาคือมีผลกระทบท้ังด๎านบวกและลบเทําๆ กัน จํานวน 564 คน คิดเป็นร๎อยละ 35.25 มีผลกระทบทางบวก จํานวน 247 คน คิดเป็นร๎อยละ 15.44 มี ผลกระทบทางลบ จํานวน 164 คน คิดเป็นร๎อยละ 10.25 และไมํระบุ จํานวน 5 คน คิดเป็นร๎อยละ 0.31 ตามลาํ ดบั ธรรมาภิบาลในการบริหารงานของภาครัฐ พบวํา ไมํมีผลกระทบใดๆ มากท่ีสุด จํานวน 615 คน คิดเป็นรอ๎ ยละ 38.44 รองลงมาคือมีผลกระทบท้งั ด๎านบวกและลบเทําๆ กัน จํานวน 574 คน คิดเป็นร๎อย ละ 35.88 มีผลกระทบทางบวก จํานวน 215 คน คิดเป็นร๎อยละ 13.44 มีผลกระทบทางลบ จํานวน 181 คน คดิ เปน็ ร๎อยละ 11.31 และไมรํ ะบุ จํานวน 15 คน คิดเปน็ รอ๎ ยละ 0.94 ตามลําดบั ด๎านส่ิงแวดล๎อมทรัพยากร/พลังงาน ได๎แกํ การใช๎ทรัพยากรอยํางร๎ูคุณคํา พบวํา ไมํมีผลกระทบ ใดๆ มากท่ีสุด จํานวน 552 คน คิดเป็นร๎อยละ 34.50 รองลงมาคือมีผลกระทบทั้งด๎านบวกและลบเทําๆ กนั จาํ นวน 543 คน คิดเป็นรอ๎ ยละ 33.94 มีผลกระทบทางลบ จํานวน 295 คน คิดเป็นร๎อยละ 18.44 มี ผลกระทบทางบวก จํานวน 204 คน คิดเป็นร๎อยละ 12.75 และไมํระบุ จํานวน 6 คน คิดเป็นร๎อยละ 0.38 ตามลําดบั การประหยัดพลังงาน พบวาํ มผี ลกระทบท้งั ดา๎ นบวกและลบเทําๆ กนั มากทส่ี ดุ จํานวน 557 คน คิดเป็นร๎อยละ 34.81 รองลงมาคือไมํมีผลกระทบใดๆ จํานวน 546 คน คิดเป็นร๎อยละ 34.13 มี

126 ผลกระทบทางลบ จํานวน 296 คน คิดเป็นร๎อยละ 18.50 มีผลกระทบทางบวก จํานวน 199 คน คิดเป็น ร๎อยละ 12.44 และไมํระบุ จาํ นวน 2 คน คดิ เป็นร๎อยละ 0.13 ตามลําดับ การจัดการภัยพิบัติ พบวํา ไมํมีผลกระทบใดๆ มากที่สุด จํานวน 580 คน คิดเป็นร๎อยละ 36.25 รองลงมาคือมีผลกระทบทง้ั ดา๎ นบวกและลบเทําๆ กนั จาํ นวน 559 คน คิดเปน็ รอ๎ ยละ 34.94 มีผลกระทบ ทางลบ จํานวน 278 คน คิดเป็นร๎อยละ 17.38 มีผลกระทบทางบวก จํานวน 175 คน คิดเป็นร๎อยละ 10.94 และไมํระบุ จาํ นวน 8 คน คิดเปน็ รอ๎ ยละ 0.50 ตามลาํ ดบั การรักษาสง่ิ แวดล๎อมในชุมชน พบวํา มีผลกระทบทง้ั ด๎านบวกและลบเทําๆ กัน มากที่สุด จํานวน 543 คน คิดเป็นร๎อยละ 33.94 รองลงมาคือไมํมีผลกระทบใดๆ จํานวน 519 คน คิดเป็นร๎อยละ 32.44 มีผลกระทบทางลบ จํานวน 353 คน คดิ เป็นร๎อยละ 22.06 มผี ลกระทบทางบวก จาํ นวน 178 คน คิดเป็น รอ๎ ยละ 11.13 และไมํระบุ จาํ นวน 7 คน คดิ เปน็ รอ๎ ยละ 0.44 ตามลาํ ดับ โดยภาพรวมของการอยํูรํวมในชุมชนเดียวกับชาติอาเซียน สํงผลกระทบตํอการดําเนินชีวิต พบวํา มีผลกระทบทั้งด๎านบวกและลบเทําๆ กัน มากที่สุด จํานวน 652 คน คิดเป็นร๎อยละ 40.75 รองลงมาคือไมํมีผลกระทบใดๆ จํานวน 510 คน คิดเป็นร๎อยละ 31.88 มีผลกระทบทางลบ จํานวน 241 คน คิดเป็นร๎อยละ 15.06 มีผลกระทบทางบวก จํานวน 188 คน คิดเป็นร๎อยละ 11.75 และไมํระบุ จาํ นวน 9 คน คิดเป็นร๎อยละ 0.56 ตามลําดบั

127 ส่วนที่ 4 ความครอบคลมุ ทางสังคม ตารางที่ 5 การยอมรบั ชาติอาเซยี นทท่ี ํางานหรอื พักอาศัยในชุมชนในการเป็นสมาชกิ ของชมุ ชน การยอมรับชาตอิ าเซียน จานวน รอ้ ยละ ยอมรับวา่ เปน็ สมาชิกคนหนึ่งของชุมชน 625 39.06 เขา๎ กนั ได๎ดีในชมุ ชน และไมสํ ร๎างปญั หาให๎ชมุ ชน 72 11.52 เปน็ คนเหมอื นกัน มสี ิทธิและความเสมอภาคกัน 50 8.00 อยํูกันมานานเหมือนสมาชกิ ครอบครวั 32 5.12 เป็นแรงงานถูกกฎหมาย ชํวยขับเคลอื่ นเศรษฐกจิ ให๎ดีขึ้น 31 4.96 ชวํ ยเหลือชุมชนและคนในชุมชน 24 3.84 มีสวํ นรวํ มในกจิ กรรมของชมุ ชน เชนํ กิจกรรมทางศาสนา 24 3.84 มีทกั ษะการทาํ งาน ขยนั คาํ แรงตํ่า 20 3.20 เขา๎ มาเพื่อทํางานเล้ียงครอบครวั ชวํ ยเหลืองานดี 19 3.04 ต๎องการใช๎แรงงานชาติอาเซียน 18 2.88 ตาํ งคนตํางทํางาน 17 2.72 คนที่อาศัยในชุมชนทุกคนคือสมาชิก 15 2.40 ต๎องอยูรํ ํวมกนั พ่งึ พากัน และอยูใํ นกฎระเบยี บของชมุ ชน 15 2.40 ทําให๎ชุมชนมีรายได๎ ขายของได๎เยอะ 12 1.92 สามารถพดู คุยแลกเปล่ยี นวิถีชวี ิตกนั ได๎ 9 1.44 มเี พ่ือนเป็นชาวตาํ งชาติ 8 1.28 แรงงานชาติอาเซยี นเข๎ามาอาศยั อยํนู านแล๎ว 6 0.96 ทํางานด๎วยกัน 4 0.64 ยังไมํได๎รับผลกระทบ 3 0.48 ยอมรบั วฒั นธรรม ประเพณีไทย 2 0.32 เปิดโอกาสให๎คนตํางชาติ 2 0.32 มลี กู ค๎าชาติอาเซยี นเข๎ามาใช๎บริการ 1 0.16 ไมรํ ะบุ 241 38.56 ไมย่ อมรับวา่ เปน็ สมาชกิ คนหน่งึ ของชมุ ชน 321 20.06 เกิดความวํุนวายในชมุ ชน, ไมํยอมรบั , ปกครองยาก 51 15.89 กลัวความปลอดภัย เชํน การกํออาชญากรรม, การขโมย 30 9.35 ไมํใชคํ นไทย, เข๎ากันยาก, ขนบธรรมเนียมตํางกนั 24 7.48

128 การยอมรับชาติอาเซียน จานวน ร้อยละ มาแยงํ อาชพี แยํงทรพั ยากร แยํงทอี่ ยํูอาศัยคนในชมุ ชน 16 4.98 กลัวโรคตดิ ตอํ , สกปรก 15 4.67 เขา๎ มาอยํชู ว่ั คราว 15 4.67 ไมํชํวยเหลือชมุ ชน 12 3.74 ไมไํ ว๎ใจ 11 3.43 ชาวตํางชาตมิ สี ิทธมิ์ ากเกินไป ไมรํ ักชุมชน รวมตวั อยเํู ฉพาะกลุํม 7 2.18 ชาวตํางชาติเอง บางคนมาแบบผิดกฎหมาย 2 0.62 ทาํ งานขาดคุณภาพและประสิทธิภาพ 1 0.31 ไมรํ ะบุ 137 42.68 เฉย ๆ 627 39.19 ตํางคนตาํ งอยูํ 76 12.12 ไมทํ ราบขอ๎ มลู 34 5.42 ไมํมผี ลกระทบ 31 4.94 ไมเํ กีย่ วขอ๎ งกัน 29 4.63 แคํเขา๎ มาทาํ งาน 14 2.23 เขา๎ มาอยชูํ ว่ั คราว 12 1.91 ไมํไดพ๎ ดู คยุ กนั 12 1.91 อยูํรํวมกนั ได๎ 11 1.75 ไมํได๎สรา๎ งความเดอื ดรอ๎ น 9 1.44 ชาติอาเซยี นมาอยนํู านแลว๎ 5 0.80 ไมมํ ีแรงงาน 4 0.64 จาํ นวนยงั ไมํมาก 3 0.48 ถือวาํ เป็นเพอื่ นรํวมชาติ 2 0.32 บางคนนิสยั ดี บางคนนิสยั ไมดํ ี 2 0.32 เปน็ ผลตาํ งตอบแทน 1 0.16 มสี ิทธเิ ทําเทยี มกัน 1 0.16 สามารถจัดการแรงงานได๎ 1 0.16 ไมํระบุ 372 59.33 ไม่ระบุ 27 1.69 รวมทั้งส้นิ 1600 100.00

129 จากผลการสํารวจ สํวนท่ี 4 ความครอบคลุมทางสังคม ในตารางท่ี 5 การยอมรับแรงงานชาติ อาเซียนที่ทํางานหรือพักอาศัยในชุมชนในการเป็นสมาชิกของชุมชน พบวํา มีความร๎ูสึกเฉยๆ มากท่ีสุด จาํ นวน 627 คน คิดเป็นร๎อยละ 39.19 รองลงมาคอื ยอมรบั วาํ เป็นสมาชกิ คนหน่งึ ของชุมชน จํานวน 625 คน คิดเป็นร๎อยละ 39.06 และไมํยอมรับวาํ เปน็ สมาชกิ คนหน่ึงของชุมชน จํานวน 321 คน คิดเป็นร๎อยละ 20.06 ในกลํุมประชาชนมีความรู๎สึกเฉยๆ สํวนใหญํไมํระบุเหตุผล จํานวน 372 คน คิดเป็นร๎อยละ 59.33 ตํางคนตํางอยูํ จํานวน 76 คน คิดเป็นร๎อยละ 12.12 และไมํทราบข๎อมูล จํานวน 34 คน คิดเป็น ร๎อยละ 5.42 ในสํวนของผ๎ูท่ียอมรับวําเป็นสมาชิกคนหนึ่งของชุมชน ให๎เหตุผลวํา เข๎ากันได๎ดีในชุมชน และไมํสร๎างปัญหาให๎ชุมชน จํานวน 72 คน คิดเป็นร๎อยละ 11.52 เป็นคนเหมือนกัน มีสิทธิและความ เสมอภาคกัน จาํ นวน 50 คน คิดเป็นรอ๎ ยละ 8.00 และอยูํกันมานานเหมือนสมาชิกครอบครัว จํานวน 32 คน คิดเป็นร๎อยละ 5.12 สํวนในกลํุมที่ไมํยอมรับวําเป็นสมาชิกคนหนึ่งของชุมชนให๎เหตุผลโดยระบุวํา เกิดความวํุนวายในชุมชน, ไมํยอมรับ, ปกครองยาก จํานวน 51 คน คิดเป็นร๎อยละ 15.89 กลัวความ ปลอดภัย เชํน การกํออาชญากรรม, การขโมย จํานวน 30 คน คิดเป็นร๎อยละ 9.35 และไมํใชํคนไทย, เขา๎ กนั ยาก, ขนบธรรมเนียมตาํ งกนั จํานวน 24 คน คิดเปน็ ร๎อยละ 7.48 ตามลําดับ ส่วนที่ 5 มาตรการกลไกเพอ่ื การคมุ้ กนั ผลกระทบทางสังคม ตารางที่ 6 ลาํ ดบั ความสําคัญของมาตรการคมุ๎ กนั ผลกระทบทางสังคมจากการเขา๎ สูํประชาคมอาเซยี น อนั ดับ มาตรการคุ้มกนั ผลกระทบทางสังคม รอ้ ยละ 1 มาตรการดา๎ นความปลอดภยั ในชวี ติ และทรัพย๑สนิ 18.13 2 มาตรการดา๎ นทอ่ี ยูํอาศัย 16.51 3 มาตรการดา๎ นการมีงานทําและรายได๎ 13.93 4 มาตรการด๎านสุขภาพอนามัย 13.39 5 มาตรการดา๎ นการศึกษา 7.36 6 มาตรการด๎านสิง่ แวดลอ๎ ม 7.28 7 มาตรการด๎านอาหาร 6.41 8 มาตรการด๎านสิทธแิ ละความเป็นธรรม 4.12 9 มาตรการดา๎ นการสนบั สนุนทางสังคม 3.93 10 มาตรการด๎านศาสนาและวฒั นธรรม 3.66 11 มาตรการด๎านครอบครัว 2.91 12 มาตรการด๎านการเมือง 2.35 รวมทงั้ สนิ้ 100.00

130 จากผลการสํารวจ สํวนที่ 5 มาตรการกลไกเพ่ือการค๎ุมกันผลกระทบทางสังคม ในตารางที่ 6 ลําดับความสําคัญของมาตรการค๎ุมกันผลกระทบทางสังคมจากการเข๎าสูํประชาคมอาเซียน ซ่ึงการ จัดลําดับความสําคัญ 3 อันดับ พบวํา อันดับที่ 1 คือ มาตรการด๎านความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย๑สิน คิดเป็นร๎อยละ 18.13 อันดับที่ 2 คือ มาตรการด๎านท่ีอยูํอาศัย คิดเป็นร๎อยละ 16.51 และอันดับท่ี 3 คือ มาตรการดา๎ นการมงี านทําและรายได๎ คดิ เปน็ รอ๎ ยละ 13.93 ตารางท่ี 7 มาตรการกลไกท่ีมีความจําเป็นตํอการค๎ุมกัน ผลกระทบทางสังคมจากการเข๎าสูํประชาคม อาเซยี น มาตรการกลไก ทาโดยดว่ น ทาภายหลัง ไม่ควรทา ไมร่ ะบุ 1) จดั ทําฐานข๎อมลู ประชากรไทยและแรงงาน 1,350 212 29 9 ชาติอาเซียนในตําบล (84.38) (13.25) (1.81) (0.56) 2) จดั ระเบียบทีอ่ ยํูอาศัยของแรงงานชาติอาเซยี น 1,386 184 25 5 ให๎ถูกสขุ ลักษณะ (86.63) (11.50) (1.56) 1,323 238 33 (0.31) 3) จดั ทาํ ฐานข๎อมลู ด๎านสวัสดิการสงั คมของ (82.69) (14.88) (2.06) 6 ประชากรไทยและชาติอาเซียนในตาํ บล 1,352 216 22 (84.50) (13.50) (1.38) (0.38) 4) จัดทําระบบข๎อมูลการใชบ๎ รกิ ารด๎านสขุ ภาพ 1,234 320 38 10 ของประชากรไทยและอาเซยี นในตาํ บล (77.13) (20.00) (2.38) (0.63) 1,431 144 22 8 5) ฝึกอบรมภาษาและวฒั นธรรมอาเซียนใหแ๎ กํ (89.44) (9.00) (1.38) (0.50) คนในชุมชน 1,337 228 27 3 (83.56) (14.25) (1.69) (0.19) 6) เฝาู ระวงั เด็กและสตรี ผดู๎ ๎อยโอกาส เพ่ือ 1,231 323 32 8 ปอู งกนั การตกเป็นเหยื่อการค๎ามนษุ ย๑ (76.94) (20.19) (2.00) (0.50) 1,277 284 33 14 7) พัฒนาศักยภาพเด็กและเยาวชนอยํางตอํ เน่ือง (79.81) (17.75) (2.06) (0.88) เพ่ือพร๎อมแขํงขนั กับชาติอาเซียน 1,199 332 59 6 (74.94) (20.75) (3.69) (0.38) 8) สงํ เสรมิ ความเข๎มแขง็ ให๎กับวฒั นธรรมของ 10 ทอ๎ งถิ่น (0.63) 9) สรา๎ งเครอื ขาํ ยชาติอาเซียนรํวมกับคนไทยเพ่ือ เฝาู ระวังและแกไ๎ ขปัญหาท่ีเกิดขึ้นในชมุ ชน 10) สนับสนนุ ใหเ๎ อกชนมีสํวนรํวมในการจดั สวัสดิการสังคมอาเซยี น

131 มาตรการกลไก ทาโดยดว่ น ทาภายหลงั ไม่ควรทา ไมร่ ะบุ 11) การจดั ตง้ั กองทนุ สวัสดิการสงั คมอาเซยี น 1,040 454 99 7 (65.00) (28.38) (6.19) (0.44) 12) จัดตั้งศูนย๑ให๎ความชํวยเหลือฉุกเฉินแกํ ประชาชนอาเซยี น 1,140 378 75 7 13) จัดเก็บภาษชี าตอิ าเซียนเพื่อการพัฒนาด๎าน (71.25) (23.63) (4.69) (0.44) สวัสดกิ ารสังคม 1,192 329 75 4 (74.50) (20.56) (4.69) (0.25) จากผลการสํารวจ สํวนท่ี 5 มาตรการกลไกเพื่อการค๎ุมกันผลกระทบทางสังคม ในตารางท่ี 7 มาตรการกลไกที่มีความจําเป็นตํอการค๎ุมกัน ผลกระทบทางสังคมจากการเข๎าสํูประชาคมอาเซียน พบวํา มาตรการกลไกท่ีควรทําโดยดํวน ได๎แกํ เฝูาระวังเด็กและสตรี ผ๎ูด๎อยโอกาส เพ่ือปูองกันการตกเป็นเหย่ือ การค๎ามนุษย๑ จํานวน 1,431 คน คิดเป็นร๎อยละ 89.44 รองลงมาคือจัดระเบียบท่ีอยูํอาศัยของชาติ อาเซียนให๎ถูกสุขลักษณะ จํานวน 1,386 คน คิดเป็นร๎อยละ 86.63 และจัดทําระบบข๎อมูลการใช๎บริการ ด๎านสขุ ภาพของประชากรไทยและอาเซยี นในตําบล จาํ นวน 1,352 คน คิดเป็นรอ๎ ยละ 84.50 มาตรการกลไกที่ควรทําภายหลัง ได๎แกํ การจัดต้ังกองทุนสวัสดิการสังคมอาเซียน จํานวน 454 คน คิดเป็นร๎อยละ 28.38 รองลงมาคือจัดตั้งศูนย๑ให๎ความชํวยเหลือฉุกเฉินแกํประชาชนอาเซียน จํานวน 378 คน คิดเป็นรอ๎ ยละ 23.63 และสนับสนนุ ใหเ๎ อกชนมีสวํ นรํวมในการจดั สวัสดกิ ารสงั คมอาเซียนจํานวน 332 คน คิดเปน็ รอ๎ ยละ 20.75 มาตรการกลไกท่ีไมํควรทํา ได๎แกํ การจัดตั้งกองทุนสวัสดิการสังคมอาเซียน จํานวน 99 คน คิด เป็นร๎อยละ 6.19 รองลงมาคือ จัดตั้งศูนย๑ให๎ความชํวยเหลือฉุกเฉินแกํประชาชนอาเซียน จํานวน 75 คน คิดเป็นร๎อยละ 4.69 และจัดเก็บภาษีชาติอาเซียนเพ่ือการพัฒนาด๎านสวัสดิการสังคม จํานวน 75 คน คิด เปน็ ร๎อยละ 4.69

132 ตารางท่ี 8 มาตรการกลไกอ่ืน ๆ ที่มีความจําเป็นตํอการค๎ุมกัน ผลกระทบทางสังคมจากการเข๎าสํู ประชาคมอาเซยี น มาตรการกลไกอน่ื ๆ จานวน รอ้ ยละ 58 3.63 ระบุ 12 20.69 6 10.34 ด๎านความปลอดภยั ในชีวิตและทรพั ย๑สิน ของคนในชมุ ชน 5 8.62 ดา๎ นข๎อมลู สารสนเทศ ควรมฐี านขอ๎ มูล จํานวนชาติอาเซียน อาชพี ที่อยํู 4 6.90 ทท่ี ันสมัย เป็นปจั จบุ ัน 4 6.90 มาตรการด๎านท่ีอยํูอาศัย 4 6.90 3 5.17 ทางรฐั ต๎องคอยเขา๎ มาเช็ครายช่ือและสาํ รวจทีอ่ ยํูอาศยั แล๎วเกบ็ ข๎อมลู ไวใ๎ น 3 5.17 ระบบ และควรอัพเดตข๎อมูลตลอดเวลา 3 5.17 ดา๎ นการอยํูรวํ มกันในสังคม 2 3.45 จัดกจิ กรรมใหเ๎ กิดความร๎ูจกั สามคั คี ผกู ผนั กับคนในชมุ ชน 2 3.45 2 3.45 พัฒนาการศกึ ษา ของประชากรไทย 2 3.45 จัดการฝึกอบรมใหค๎ นในประชาคมอาเซยี น เข๎าใจ วัฒนธรรม ประเพณี ระเบยี บ และกฎหมาย 1 1.72 มีมาตรการค๎มุ ครองชาติอาเซียน เกีย่ วกับปญั หาการค๎าชาติอาเซยี นที่ผดิ 1 1.72 กฎหมาย 1 1.72 ด๎านกฏหมายและความยุติธรรม ในการจัดการคนจากประเทศอาเซยี น 1 1.72 1 1.72 มาตรการดา๎ นอาชพี การมีงานทาํ และรายได๎ ดา๎ นการเมือง การปกครอง เชนํ การปรับกฎระเบยี บ หรอื กตกิ าในการอยํู รวมกนั ของคนในชมุ ชน ควรออกกฎระเบียบหมบํู า๎ น และชวํ ยกนั สอดสอํ งดแู ลคนแปลกหน๎าที่เข๎ามาใน หมํูบา๎ น ควรปรับปรงุ และเรงํ รดั มาตรการด๎านสทิ ธิแรงงาน ในการเข๎าถงึ สวัสดกิ าร ภาครัฐควรมรี ูปแบบท่ชี ดั เจน ควรเน๎นด๎านสขุ ภาพ เพ่ือให๎คนไทยและชาติอาเซยี น มสี ขุ ภาพแข็งแรงและ พร๎อมกบั การเปลีย่ นแปลงของ สภาพแวดลอ๎ มในชมุ ชน มาตรการด๎านการให๎ความรู๎ ด๎านสทิ ธแิ ละเสรีภาพ มาตรการด๎านสิง่ แวดล๎อม และการรักษาความสะอาด ภาครฐั ควรมีการประชาสัมพันธ๑ แจง๎ ข๎อมลู ขําวสาร และแนะนาํ ข๎อมลู ขาํ วสาร อยํางถูกต๎องทั่วถงึ ทุกครัวเรือน

133 มาตรการกลไกอน่ื ๆ จานวน ร้อยละ มาตรการด๎านเศรษฐกิจ การค๎าขาย 1 1.72 ไม่ระบุ 96.37 รวมท้ังสิน้ 1,542 100.00 1,600 จากผลการสํารวจ ตารางที่ 8 มาตรการกลไกอ่ืน ๆ ท่ีมีความจําเป็นตํอการค๎ุมกัน ผลกระทบ ทางสงั คม จากการเข๎าสปํู ระชาคมอาเซียน พบวํา ผู๎ตอบแบบสอบถามไมํระบุมาตรการกลไกอื่นๆ จํานวน 1,542 คน คิดเป็นร๎อยละ 96.37 และระบุมาตรการกลไกอ่ืน ๆ จํานวน 58 คน คิดเป็นร๎อยละ 3.63 ได๎แกํ ด๎านความปลอดภยั ในชวี ิตและทรัพยส๑ ิน ของคนในชุมชน มากท่ีสุด จํานวน 12 คน คิดเป็นร๎อยละ 20.69 รองลงมาคือ ด๎านข๎อมูลสารสนเทศ ควรมีฐานข๎อมูล จํานวนชาติอาเซียน อาชีพ ท่ีอยูํ ท่ีทันสมัย เป็นปจั จบุ ัน จํานวน 6 คน คิดเป็นร๎อยละ 10.34 และมาตรการด๎านที่อยูํอาศัย จํานวน 5 คน คิดเป็นร๎อยละ 8.62 ตามลาํ ดับ ตารางที่ 9 ข๎อเสนอแนะ จานวน รอ้ ยละ 71 4.44 ข้อเสนอแนะ 10 12.99 ระบุข้อเสนอแนะ 5 6.49 อยากให๎รฐั บาล จดั กจิ กรรมรํวมกนั เพื่อสรา๎ งความเขา๎ ใจ และการใช๎ชีวติ 4 5.19 ในชมุ ชน การชวํ ยเหลือเกือกูลกนั 4 5.19 ความแตกตํางของภาษาและวัฒธรรมทําใหเ๎ กิดการแบํงแยกกลํุม ควรมกี าร 4 5.19 สํงเสริม ภาษา ประเพณี วัฒธรรม รํวมกัน ลดการแบํงแยก ใหเ๎ กียรติกัน และ อยรูํ วํ มกันอยํางสงบสุข 4 5.19 คนไทยสวํ นใหญํ ยังไมํได๎เตรียมความพร๎อมในการเขา๎ สปํู ระชาคมอาเซยี น 3 3.90 ภาครฐั ควรเรงํ ประชาสัมพนั ธ๑ รวมถงึ บอกข๎อดี และขอ๎ เสียใหป๎ ระชาชนทราบ คนจากประชาคมอาเซยี น เข๎ามาแยงํ งานคนไทย ควรมกี ารลงพื้นที่ ตรวจสอบคนในชมุ ชนทเ่ี ป็นคนตํางด๎าว ทเ่ี ขา๎ มาอยํางผิด กฎหมาย และควรมีกฎหมายท่ีชดั เจนในการจดั การผกู๎ ระทําผิด ควรเน๎นด๎านความปลอดภัยในชวี ิตและทรพั ย๑สนิ ของประชาชนคนไทยเป็นอยาํ ง แรก ควรมีมาตรการ จดั โซนที่พักอาศยั ให๎กับคนตํางดา๎ วท่ีเขา๎ มาทาํ งาน ในประเทศ ไทย เมื่อคนตํางด๎าวได๎มาอยํูกันเปน็ กลมุํ ก็จะสามารถ นาํ มาตรการอน่ื ๆ เขา๎ มา ควบคุมได๎

134 ข้อเสนอแนะ จานวน ร้อยละ 3 3.90 เราต๎องร๎วู าํ ประชากรอาเซียนท่เี ขา๎ มาในประเทศไทย เขา๎ มาทํางานเทําไร ทาํ อะไร ตอนนย้ี า๎ ยไปไหน ควรมีขอ๎ มูลท่ีชัดเจน และจํากดั จํานวนท่ีจะเขา๎ มาอยูํใน 3 3.90 ชุมชน เพอ่ื ท่ีจะได๎ไมํมผี ลกระทบ ตอํ การดํารงชีวติ ของคนไทย 3 3.90 3 3.90 ถา๎ คนตํางชาติมีรายได๎ ควรเสยี ภาษเี หมือนคนไทย เพื่อนาํ มาบํารุงชาติ 2 2.60 อยากให๎ภาครัฐเข๎ามาดแู ลเรือ่ งสิ่งแวดลอ๎ ม ในชุมชนโดยดํวน เชํน ขยะสํงกล่นิ 2 2.60 เหมน็ และสกปรกมาก 2 2.60 ใหร๎ ัฐบาลแกไ๎ ขปญั หาความเป็นอยูแํ ละจัดระเบยี บแรงงานตํางดา๎ ว โดยเรงํ ดวํ น 1 1.30 1 1.30 การอยูํรํวมกันในชุมชนเดียวกันกบั ชาตอิ าเซียนยอํ มสงํ ผลกระทบตํอการดําเนนิ 1 1.30 ชวี ิต อยากให๎ภาครฐั เข๎ามาจดั การดา๎ นภาษา ด๎านสาธารณะสุข และดา๎ นการ 1 1.30 รกั ษาส่ิงแวดลอ๎ ม 1 1.30 ควรมีการควบคุมจํานวนประชากร ชาตอิ าเซยี น ให๎พอเหมาะ พอควร ไมํใหม๎ า 1 1.30 อาศัยอยูใํ นชมุ ชนมากเกนิ ไป จนคนไทยเป็นชนกลุํมน๎อย และควรมีผ๎ูนาํ ชมุ ชนไว๎ 1 1.30 ประสานงานกับภาครัฐ และกํากับดูแลคนในชุมชนของตนให๎ปฏิบตั ติ าม กฎหมายโดยเครงํ ครัด ควรเร่มิ ทาํ มาตรการในการรับมือกับประชาคมอาเซียน อยาํ งจรงิ จงั และ เรงํ ดวํ น สร๎างองค๑ความร๎เู พ่ือรองรับประชาคมอาเซยี น ใหเ๎ ทาํ กันทุกดา๎ น พร๎อมๆ กัน ไมใํ ชํทาํ ด๎านใดด๎านหนึง่ ควรมกี ารปรับปรงุ ระบบการศึกษา และสาธารณปู โภค เพ่ือรองรบั การขยายตวั ของจาํ นวนประชากร ควรมีการจดั ระเบยี บคนตาํ งด๎าวให๎ชดั เจน และใช๎กฏหมายเดยี วกบั คนไทย จะ ไดไ๎ มํสรา๎ งความเดือดร๎อนให๎แกํเจา๎ ของประเทศ ควรมศี ูนยท๑ ีค่ นในประชาคมอาเซียนเขา๎ ถึงได๎ด๎วยตนเอง สะดวก และเป็นศูนย๑ รวมการจดั เกบ็ ข๎อมลู ท้ังด๎านทีอ่ ยูํอาศยั การทาํ งาน และสามารถให๎ความ ชวํ ยเหลือคนในประชาคมอาเซียนเวลามเี รอ่ื งเดือดร๎อน หากในชุมชน มชี าตอิ าเซียนเขา๎ มาอยอูํ าศัย ควรที่จะใหห๎ นํวยงานของรฐั เขา๎ มา ใหค๎ วามร๎ู ในด๎านอาชีพ สุขภาพ เพื่อท่จี ะให๎คุณภาพชีวติ ของคนในชมุ ชนดีข้ึน ควรจะศกึ ษาผลกระทบระยะยาว ท่จี ะเกิดขึ้นในอนาคต จากการอยูรํ ํวมกนั ของ ประชาคมอาเซยี น การแบงํ ปนั สวสั ดิการตํางๆ แกชํ าวตาํ งชาติ อาจสํงผลตอํ งบประมาณ ทําใหค๎ น ไทยได๎รบั ประโยชนจ๑ ากสวัสดกิ ารน๎อยลง สงํ ผลตํอคณุ ภาพของคนในชาตริ ะยะ

135 ข้อเสนอแนะ จานวน รอ้ ยละ 1 1.30 ยาว 1 1.30 อยากให๎จัดอบรมชาติอาเซียน ที่เขา๎ มาประกอบอาชีพในไทย ให๎มคี วามรู๎ 1 1.30 เกยี่ วกับกฎหมาย ขอบเขต และสทิ ธิ ของคนตํางชาติ โดยให๎ฝุายปกครองและ 1 1.30 ตํารวจจดั รํวมกัน 1 1.30 ชวํ ยกันสอดสํองดูแลคนในชมุ ชน เมอ่ื มคี นแปลกหนา๎ หรอื ชาวตํางชาติ เข๎ามา 1 1.30 ชุมชน ควรแจ๎งผ๎ใู หญบํ ๎าน กาํ นนั ให๎รับทราบ 1 1.30 1 1.30 อยากให๎มีโครงการสํารวจ เพ่ือปรบั ปรุงที่อยํอู าศัยของคนในชมุ ชน 1 1.30 1 1.30 ภาครฐั ควรใหก๎ ารสนับสนุน เพม่ิ หลกั สตู ร ภาษาในกลุํมอาเซียน เขา๎ ไปใน 1 1.30 หลกั สูตรการศกึ ษาของเด็กไทย และควรเปดิ หลกั ภาษาในกลุํมอาเซยี น สําหรับ 1 1.30 บคุ คลทั่วไปทีส่ นใจและควรเปิดการสอนฟรี 1529 95.56 ควรมีข๎อมูลของชาวตํางชาติ ทชี่ ดั เจนถกู ต๎อง และสมบรู ณ๑ ทง้ั ทางด๎านตวั ตน ที่ 1600 100.00 อยอูํ าศัย เวลามีปัญหาอะไรเกิดข้ึน เพื่อให๎สะดวกตอํ การตดิ ตาม ควรจะเข๎มงวด เร่อื งดาํ นตรวจคนเข๎าเมือง และกลมํุ คนกลักลอบเข๎าเมืองอยําง ผิดกฎหมาย อยากใหภ๎ าครัฐตรวจเขม๎ เกี่ยวกับการขโมยตดั ไมป๎ ระดูํ ไม๎พยุง ของประเทศ เพ่อื นบา๎ น (กมั พูชา) เน่ืองจากมกี ารขโมยตดั ไมท๎ ุกวนั ควรเปดิ จุดลงทะเบียนชาติอาเซียนใหค๎ รอบคลมุ ทุกพ้ืนท่ี เพือ่ ทจี่ ะได๎มแี รงงานท่ี ถกู ต๎องตามกฎหมาย และมีข๎อมลู ท่ชี ัดเจน คนตาํ งชาติที่เข๎ามาอยใูํ นชมุ ชน ไมํคํอยเชอ่ื ฟงั ผใ๎ู หญบํ ๎าน ไมคํ ํอยเช่ือฟังผน๎ู าํ คน ไทย และไมปํ ฏิบตั ติ ามกฎระเบียบของชุมชน อยากให๎ทางภาครัฐ สํารวจจํานวนประชากร ของคนตํางชาติ วํามีตัวตนจริง ไมํ แอบอา๎ ง ไมเํ ข๎าเมืองมาอยํางผิดกฎหมาย และควรเป็นขอ๎ มูลทีท่ ันสมัยเป็นปัจจบุ ัน ควรใหป๎ ระชากรจากอาเซียน ไดร๎ ับสิทธิเทําเทียมกับคนไทยในทุกดา๎ น โดยเฉพาะด๎านสาธารณะสุข อยากใหเ๎ น๎นเรอ่ื งการศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรมใหม๎ าก ถ๎าคนในชุมชนรแู๎ ละ เข๎าใจ จะสามารถพงึ่ พาตนเองให๎ปลอดภัยได๎ เนน๎ การศึกษาตงั้ แตํวยั เดก็ ปลูกฝังให๎รกั ชาติ อาจชํวยชาตพิ ัฒนาไปตํอได๎ ไมร่ ะบขุ ้อเสนอแนะ รวมทั้งส้ิน

136 จากผลการสํารวจ ในตารางที่ 9 ข๎อเสนอแนะ พบวํา ผ๎ูตอบแบบสอบถามไมํระบุข๎อเสนอแนะ จํานวน 1,529 คน คิดเป็นร๎อยละ 95.56 และระบุข๎อเสนอแนะ จํานวน 71 คน คิดเป็นร๎อยละ 4.44 ได๎แกํ อยากให๎รัฐบาล จัดกิจกรรมรํวมกัน เพื่อสร๎างความเข๎าใจ และการใช๎ชีวิตในชุมชน การชํวยเหลือเกือกูลกัน มากที่สุด จํานวน 10 คน คิดเป็นร๎อยละ 12.99 รองลงมาคือ ความแตกตํางของ ภาษาและวัฒธรรมทําให๎เกิดการแบํงแยกกลํุม ควรมีการสํงเสริม ภาษา ประเพณี วัฒธรรม รํวมกัน ลด การแบํงแยก ให๎เกียรติกัน และอยูํรํวมกันอยํางสงบสุข จํานวน 5 คน คิดเป็นร๎อยละ 6.49 และมี ข๎อเสนอแนะท่ีมีจํานวนเทํากัน 4 คน คิดเป็นร๎อยละ 5.19 ได๎แกํ คนไทยสํวนใหญํ ยังไมํได๎เตรียมความ พร๎อมในการเข๎าสูํประชาคมอาเซียน ภาครัฐควรเรํงประชาสัมพันธ๑ รวมถึงบอกข๎อดี และข๎อเสี ยให๎ ประชาชนทราบ, คนจากประชาคมอาเซียน เข๎ามาแยํงงานคนไทย, ควรมีการลงพื้นที่ ตรวจสอบคนใน ชมุ ชนที่เป็นคนตํางด๎าว ที่เข๎ามาอยํางผิดกฎหมาย และควรมีกฎหมายท่ีชัดเจนในการจัดการผู๎กระทําผิด, ควรเน๎นดา๎ นความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยส๑ ินของประชาชนคนไทยเปน็ อยํางแรก ตามลําดับ 4.2 ผลการศึกษาของ สสว.1 4.2.1 บรบิ ทของพ้ืนท่ศี กึ ษา สสว.1 สํานักงานสํงเสริมและสนับสนุนวิชาการ 1 มีเขตพื้นที่รับผิดชอบ 4 จังหวัด ได๎แกํ ปทุมธานี นนทบุรี พระนครศรีอยุธยา และสระบุรี ได๎คัดเลือกตําบลทําโขลง อําเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี เป็นพื้นที่ในการศึกษาวิจัย เนื่องจากเป็นพ้ืนท่ีมีแรงงานตํางด๎าว สัญชาติ เมียนมา ลาว กัมพูชา จํานวน มากได๎เข๎ามาอาศัยในชุมชน จากข๎อมูลสถิติจํานวนคนตํางด๎าวท่ีได๎รับอนุญาตทํางาน ณ เดือนธันวาคม 2559 ของสํานักงานจัดหางานจังหวัดปทุมธานี ณ มกราคม 2560 มีจํานวนท้ังสิ้น 242,701 คน โดยจําแนกได๎ ดังน้ี 1) แยกตามการจดทะเบยี น 118,873 คน - พสิ ูจน๑สญั ชาติ 44,788 คน - นําเขา๎ MOU 68,246 คน - ศนู ย๑บริการแบบเบด็ เสรจ็ (มติ ครม. 3 สัญชาต)ิ 10,794 คน - สัญชาติ อน่ื ๆ 32,096 คน 2) แยกตามประเภทการทาํ งาน 6,751 คน - ทาํ งานในสถานประกอบการ 129,810 คน - งานภาคเกษตร 50,412 คน - งานบรกิ าร 12,838 คน - งานกอํ สร๎าง - กจิ การคา๎ สงํ คา๎ ปลีก แผงลอย

137 ตําบลทําโขลง อําเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี จัดตั้งข้ึนเม่ือวันท่ี 21 กรกฎาคม 2539 โดยครอบคลุมพ้ืนท่ี 63 ตารางกิโลเมตร ประกอบด๎วย 31 ชุมชน สภาพพ้ืนท่ีโดยท่ัวไปเป็นที่ราบลุํม เดิมน้ันมีอาชีพของประชากรสํวนใหญํ ประกอบอาชีพ เกษตรกรรม แตํในปัจจุบันพื้นที่เดิมที่เคยเป็น เกษตรกรรมคํอยๆเปลี่ยนแปลงเป็นพื้นที่อาศัยของประชาชน และโรงงานอุตสาหกรรม สภาพสํวนใหญํ เป็นชุมชนท่ีมีประชากรอาศัยอยูํคํอนข๎างหนาแนํน มีการขยายตัวอยํางรวดเร็วทั้งทางด๎านสังคมและ เศรษฐกิจ โดยชุมชนอยํูใกล๎กับ “ตลาดไท” ซึ่งเป็นตลาดกลางค๎าสํงสินค๎าเกษตรครบวงจรท่ีใหญํที่สุดใน ภาคตะวันออกเฉียงใต๎ เป็นศูนย๑กลางการค๎าขายสินค๎าเกษตรครบวงจร เพ่ืออํานวยความสะดวกทั้งผ๎ูซ้ือ ผู๎ขาย และเกษตรกรท่ีตอ๎ งการซื้อ-ขายสินค๎าเกษตรทั้งในและตํางประเทศ ผู๎ประกอบการกวํา 3,500 ราย โดยมีสินค๎าหลักท่ีสําคัญ อาทิ ผัก ผลไม๎ เนื้อสัตว๑ เนื้อปลา อาหารทะเล ข๎าวสาร ธัญพืช ดอกไม๎ อาหาร แปรรูป สินค๎าอุปโภคบริโภค อุปกรณ๑สัตว๑เล้ียง และพันธ๑ุไม๎ตํางๆ และผ๎ูให๎บริการช้ันนําของประชาคม เศรษฐกิจอาเซยี น (AEC) แหลํงน้ําสําคัญภายในเขตเทศบาล ได๎แกํ คลองสํงนํ้าของชลประทาน คือ คลองรพีพัฒน๑ คลอง ระบายน้ําท่ี 1 คลองระบายนํ้าท่ี 2 ประชาชนในเขตเทศบาลใช๎สําหรับอุปโภคบริโภค และทําการเกษตร ลักษณะของดนิ สํวนใหญํเป็นดินเหนียวสีดําอ๎ุมนํ้าได๎ดี เหมาะแกํการเพราะปลูกพืชผล สภาวะแวดล๎อมใน พ้นื ทอี่ ยใํู นสภาพเสื่อมโทรม เนื่องจากมีการขยายตัวของชมุ ชน และโรงงานอุตสาหกรรม 4.2.2 ผลการศึกษาเชงิ คณุ ภาพ พ้นื ท่ี สสว.1 4.2.2.1 กลุ่มคนไทย กลํุมตัวอยํางคนไทยที่รํวมเวทีสนทนากลํุม (Focus Group) มีจํานวนทั้งสิ้น 30 คน เป็นเพศหญิงจํานวน 17 เพศชาย 13 คน สํวนใหญํมีอายุระหวําง 41-50 ปี รองลงมาอายุ 31- 40 ปี กลํุมตัวอยํางทุกคนนับถือศาสนาพุทธ ด๎านสถานภาพการสมรส สํวนใหญํโสด รองลงมาสมรส มีสมาชิก ในครอบครัว จํานวน 4-7 คนมากที่สุด กลุํมตัวอยํางสํวนใหญํทําหน๎าท่ีเป็นสมาชิกของครอบครัว มี การศึกษาระดับปริญญาตรีหรือเทียบเทํามากท่ีสุด สํวนใหญํประกอบอาชีพทําธุรกิจสํวนตัวหรืออาชีพ อสิ ระ มรี ายได๎ประมาณเดอื นละ 5,000-10,000 บาท นอกจากนีส้ วํ นใหญํมีระยะเวลาอาศัยในชุมชน เป็น เวลา 16-25 ปี รองลงมาคือ 6-15 ปี 1) สถานการณพ๑ ื้นฐาน ตง้ั แตํหลัง 31 ธ.ค. 58 ประชากรชาติอาเซียนทเ่ี ขา๎ มาทํางานหรือพักอาศัยในพ้ืนที่ชุมชน ไมํมีการเปลี่ยนแปลง “คนตํางด๎าวได๎เข๎ามากํอนที่จะมีการประกาศเข๎าสูํประชาคมอาเซียน” โดยกลุํม แรงงานตาํ งด๎าวทีเ่ ขา๎ มาทาํ งานหรอื พกั อาศัยในพ้นื ท่เี ปน็ ชาวพมาํ ลาว กัมพูชา และชาวไทยใหญํ โดยกลํุม แรงงานตํางด๎าวที่เข๎ามาจะเป็นวัยแรงงานสํวนใหญํมีอายุ 20 ปีขึ้นไป มีทั้งชายและหญิง เข๎ามาทํางาน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook