Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สรุปหลักสูตรบริหารโครงการ63

สรุปหลักสูตรบริหารโครงการ63

Published by ศูนย์ อุบล, 2020-10-06 03:12:18

Description: สรุปหลักสูตรบริหารโครงการ63

Search

Read the Text Version

ชื่อเอกสาร เอกสารสรุปผลการดาํ เนินงานโครงการฝก อบรมหลกั สตู รการบรหิ ารโครงการ อยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ ประเภทเอกสาร เอกสารทางวชิ าการ ลกั ษณะเอกสาร เอกสารอัดสาํ เนาเยบ็ เลม ขนาดเอกสาร เอ 4 หนา100หนา ทีป่ รึกษา นายวิลาศ บุญโต ผอู ํานวยการศนู ยศึกษาและพฒั นาชมุ ชนอุบลราชธานี คณะผจู ัดทํา นางสาวทับทมิ แทงคาํ นักทรัพยากรบุคคลชํานาญการ นางเพญ็ ศรี วรบุตร นกั ทรัพยากรบุคคลชาํ นาญการ นางสาวกลั ยา โพธวิ ฒั น นกั ทรัพยากรบคุ คล นางสาวชานทพิ ย สยนานนท นกั ทรพั ยากรบุคคล ผวู เิ คราะหขอ มลู /ผูพมิ พ/รวบรวม/เรียบเรยี ง นักทรพั ยากรบคุ คลชํานาญการ นางสาวทับทิม แทง คาํ นกั ทรพั ยากรบุคคล นางสาวกัลยา โพธิวัฒน ออกแบบปก/รปู เลม นางนฤมล ศิรวิ ัฒนสิทธิ์ เจา พนกั งานการเงินและบัญชชี ํานาญงาน นางสาวกัลยา โพธิวัฒน นักทรัพยากรบุคคล ปท่ีพมิ พ 2563 แหลงเผยแพร กรมการพฒั นาชมุ ชน จงั หวดั อุบลราชธานี นครพนม มกุ ดาหาร ยโสธร รอยเอด็ ศรีสะเกษ อํานาจเจรญิ

(ก) คาํ นํา กรมการพัฒนาชุมชน มอบหมายใหศูนยศึกษาและพัฒนาชุมชนอุบลราชธานี เปนหนวย ดําเนินการโครงการฝกอบรมหลักสูตรการบริหารโครงการอยางมีประสิทธิภาพ ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2563โดยมีวัตถุประสงคเพื่อเสริมสรางองคความรู และเพิ่มพูนทักษะสําหรับพัฒนาการอําเภอ พัฒนากร ให สามารถดําเนินการบริหารจัดการโครงการ ท้ังในดานการเบิกจายงบประมาณ การบริหารความเสี่ยง การ บริหารพัสดุโครงการ ไดอยางมีประสิทธิภาพ กลุมเปาหมาย จํานวนท้ังส้ิน 204 คน ประกอบดวย พัฒนาการอําเภอจํานวน 102คน และพัฒนากรอําเภอละ 1 คน จํานวน 102 คน จาก 7 จังหวัดในพื้นที่ ใหบ ริการของศูนยศ กึ ษาและพฒั นาชมุ ชนอุบลราชธานี โดยแยกเปน3 รุน รนุ ที่ 1 ดําเนินการระหวางวันท่ี 21– 24 กันยายน 2563 ณ หองประชุม 2 รุนที่ 2 ดําเนินการระหวางวันท่ี 21–24 กันยายน 2563 ณ หอประชมุ ค้ํา คณู และรนุ ที่ 3 ดําเนนิ การระหวางวันท่ี 25 – 28 กันยายน 2563 ณ หอประชุมคา้ํ คูณ ศูนยศึกษาและ พัฒนาชุมชนอุบลราชธานี ศูนยศึกษาและพัฒนาชุมชนอุบลราชธานี ไดสรุปผลการดําเนินงานโครงการฝกอบรม หลักสูตรการบริหารโครงการอยางมีประสิทธิภาพรวมท้ังประเมินผลโครงการ เพื่อทราบผลสัมฤทธ์ิ ขอเสนอแนะตา งๆ เพอื่ เปน แนวทางในการนําไปปรับใชในการดาํ เนนิ งานคร้ังตอไป ศนู ยศกึ ษาและพัฒนาชมุ ชนอบุ ลราชธานี กนั ยายน 2563

สารบญั (ข) คํานํา หนา สารบัญ (ก) สารบัญตาราง (ข) บทสรปุ สําหรับผบู ริหาร (ค) สวนที่ 1 บทนาํ (ง) ความสาํ คญั 1 วัตถุประสงค 1 กลุมเปา หมาย 1 ข้ันตอนและวิธีดําเนินงาน 2 งบประมาณดําเนนิ การ 2 ระยะเวลาดาํ เนนิ การ 2 ขอบเขตเนือ้ หาหลักสตู ร 2 ผลท่คี าดวา จะไดร บั 3 ตัวชวี้ ดั ความสาํ เรจ็ 3 สว นที่ 2 สรปุ เนอ้ื หาวชิ าการ เน้ือหาวิชา 4 วิชาความคาดหวัง / ความทา ทาย และสถานการณก ารจดั ซ้ือจดั จา งในพื้นท่ี 5 วชิ าวิธกี าร/กระบวนการจดั ซอื้ จดั จา งตามระเบยี บพัสดุ 6 วิชาการจดั ซอื้ จัดจางแบบวิธีเฉพาะเจาะจง 11 วชิ าการจัดทํารา งขอบเขตงาน (TOR : Terms of Reference) 12 วิชาการจัดซ้อื จดั จา งแบบวิธี e-bidding 34 สว นที่ 3การประเมินผลโครงการ วธิ ีการประเมนิ 45 การวเิ คราะหขอ มลู 47 เกณฑการประเมิน 47 ผลการประเมิน 48 ภาคผนวก ภาพกจิ กรรมการฝก อบรม 70 รายช่อื กลมุ เปาหมาย 88

ตารางการฝก อบรม (ข) แบบประเมนิ รายวชิ า แบบประเมนิ โครงการ 96 97 99

(ค) สารบัญตาราง ตารางท่ี หนา 1 แสดงระดับความคดิ เห็นเกย่ี วกับเน้อื หาวิชาความคาดหวงั /ความทา ทาย และสถานการณ 48 การจดั ซอ้ื จดั จา งในพื้นที่ 50 2 แสดงระดับความคดิ เห็นเกีย่ วกับเนอ้ื หาวิชาการจัดซ้ือจัดจา งตามระเบียบพสั ดุ 51 3 แสดงระดบั ความพึงพอใจตอวทิ ยากรวิชาการจดั ซอื้ จัดจางตามระเบยี บพสั ดุ 52 53 4 แสดงระดบั ความคดิ เห็นเก่ียวกบั เน้อื หาวชิ าการจัดซื้อจัดจางแบบวิธีเฉพาะเจาะจง 54 5 แสดงระดับความพงึ พอใจตอวิทยากรวิชาการจดั ซอื้ จัดจางแบบวิธีเฉพาะเจาะจง 55 6 แสดงระดับความคดิ เห็นเกย่ี วกับเนือ้ หาวิชาการจดั ทาํ รา งขอบเขตงาน (TOR) 56 7 แสดงระดบั ความพึงพอใจตอ วทิ ยากรวชิ าการจัดทํารา งขอบเขตงาน (TOR) 57 8 แสดงระดับความคิดเหน็ เกยี่ วกับเนื้อหาวิชาการจัดซื้อจดั จาง วธิ ี e-bidding 59 9 แสดงระดบั ความพงึ พอใจตอ วิทยากรวชิ าการจดั ซือ้ จดั จา ง วธิ ี e-bidding 60 10 แสดงขอ มูลทว่ั ไป 61 11 แสดงระดับการบรรลุวตั ถปุ ระสงค 63 12 แสดงระดบั ความรแู ละความเขาใจดา นวชิ าการ (กอ นและหลังเขา รว มกจิ กรรม) 64 64 13 แสดงระดบั ความมนั่ ใจในการนําความรทู ี่ไดร ับไปปรับใชใ นการปฏบิ ตั ิงาน 65 14 แสดงระดบั ความพึงพอใจตอการดําเนนิ การของวิทยากร 66 15 แสดงระดับความพึงพอใจตอ การใหบริการ 16 แสดงระดบั ความพงึ พอใจเก่ียวกบั การใหบริการดา นอาคารและสถานท่ี 17 แสดงระดับความพึงพอใจเก่ียวกบั การใหบ ริการดานคณุ ภาพ

(ง) บทสรปุ สาํ หรับผบู ริหาร รายงานผลการดําเนินงานโครงการฝกอบรมหลักสูตรการบริหารโครงการอยางมี ประสิทธิภาพกรมการพัฒนาชุมชน ไดมอบหมายใหศูนยศึกษาและพัฒนาชุมชนอุบลราชธานีเปนหนวย ดําเนินการฝกอบรมโครงการดังกลาวประจําปงบประมาณ 2563กลุมเปาหมาย ประกอบดวยพัฒนาการอําเภอ จํานวน 102 คน และพัฒนากรอําเภอละ 1 คน จํานวน 102 คน จาก 7 จังหวัดในพ้นื ที่ใหบริการของศูนย ศึกษาและพัฒนาชุมชนอุบลราชธานี รวมท้ังส้ิน204 คน แยกดําเนินการ3 รุนรุนท่ี 1, 2 ดําเนินการระหวาง วันที่ 21–24กันยายน 2563และรุนท่ี 3 ดําเนินการระหวางวันที่ 25–29 กนั ยายน 2563 โดยมีวัตถุประสงค เพือ่ เสรมิ สรา งองคความรู และเพิ่มพูนทกั ษะสาํ หรับพัฒนาการอําเภอ พัฒนากร ใหสามารถดําเนินการบริหาร จดั การโครงการ ท้ังในดานการเบิกจายงบประมาณ การบริหารความเส่ียง การบริหารพัสดุโครงการไดอยางมี ประสิทธิภาพรูปแบบการฝกอบรมใชกระบวนการแบบมีสวนรวม ยึดผูเรียนเปนศูนยกลาง การบรรยาย ประกอบสื่อการแลกเปล่ียนเรียนรู และการฝกปฏิบัติกลุมเปาหมายสําหรับการประเมินผล คือผูเขารับการ ฝกอบรม จํานวน 204 คนเคร่ืองมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูล ใชแบบสอบถามประเมินผลรายวิชา และ ประเมนิ ผลภาพรวมในระบบออนไลน แลวนาํ ผลท่ีไดมาวเิ คราะหข อมลู เรียบเรียงแบบรอยแกวเชิงพรรณนา ใช คาสถิตริ อยละ คาเฉลย่ี สรปุ ผลการฝกอบรมได ดังน้ี ผลการฝก อบรม 1. ขอมลู ท่ัวไปของกลุม เปา หมาย พบวา ผูเขารับการฝกอบรมสวนใหญเปนเพศหญิง จํานวน 117 คน คิดเปนรอยละ 68.02 และเพศชายจํานวน 55 คน คิดเปนรอยละ 31.98 สวนใหญมีอายุระหวาง 51-60 ป จํานวน 80 คน คิดเปน รอยละ 46.51รองลงมาตามลําดับคืออายุระหวาง 41–50 ป จํานวน 47 คน คิดเปนรอยละ 27.33 อายุระหวาง 31 - 40 ป จํานวน 44 คน คิดเปนรอยละ 25.58 และอายุตํ่ากวา 30 ป จํานวน 1 คน คิดเปนรอยละ 0.58 สวนใหญ ดํารงพัฒนากร จํานวน 95 คน คิดเปนรอยละ 55.23 รองลงมาคือตําแหนงพัฒนาการอําเภอ จํานวน 677 คน คิดเปนรอยละ 44.47 ผูเขาอบรมสวนใหญจบการศึกษาระดับปริญญาตรีจํานวน 97 คน คดิ เปนรอยละ 56.40 รองลงมาตามลําดบั คือจบการศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาโท จํานวน 72 คน คิดเปนรอยละ 41.86 และจบการศึกษา ระดบั ปรญิ ญาเอก จํานวน 3 คน คดิ เปน รอยละ 1.74 2.การบรรลุวัตถปุ ระสงคข องโครงการ พบวา ผูเ ขารบั การฝก อบรมสว นใหญม รี ะดับความคดิ เหน็ เก่ียวกับการบรรลุวัตถุประสงคของ โครงการ โดยภาพรวม อยูในระดับมากท่สี ดุ คา เฉลี่ย 4.53 3. ความคิดเหน็ ตอความรู ความเขาใจดานวชิ า ทง้ั กอ นและหลงั เขา รว มกิจกรรม จาํ นวน 5วิชา สรปุ ได ดังนี้

(จ) พบวา ผเู ขา รบั การฝก อบรมสวนใหญมรี ะดบั ความรู ความเขา ใจตอเนือ้ หาวชิ ากอ นเขารบั การ ฝก อบรม โดยภาพรวมอยใู นระดบั มาก คา เฉล่ีย 3.68 และหลังการฝก อบรมมีระดับความรูความเขาใจตอ เนื้อหาวิชา โดยภาพรวมอยใู นระดบั มาก คาเฉลี่ย 4.43 และเมื่อพจิ ารณาเรียงลําดับคา เฉลี่ยเปน รายวิชาไดดงั นี้ 1. ความคาดหวังและความทาทาย สถานการณการจัดซ้ือจัดจาง ผูเขารับการฝกอบรมสวน ใหญมีระดับความรูความเขาใจตอประเด็นเน้ือหาวิชากอนเขารับการฝกอบรมอยูในระดับมาก คาเฉลย่ี 3.74 และหลังการฝกอบรมมรี ะดับความรู ความเขาใจตอประเดน็ เนอื้ วิชา อยูในระดบั มาก คา เฉลี่ย 4.43 2. วิชาวิธีการจัดซื้อจัดจางตามระเบียบพัสดุ ผูเขารับการฝกอบรมสวนใหญมีระดับความรู ความเขาใจตอประเด็นเน้ือหาวิชากอนเขารับการฝกอบรม อยูในระดับมาก คาเฉล่ีย 3.76 และหลังการ ฝกอบรมมรี ะดับความรู ความเขาใจตอประเดน็ เนอื้ วิชา อยใู นระดบั มาก คา เฉล่ีย 4.45 3. วชิ าการจดั ซ้ือจดั จา ง วิธีเฉพาะเจาะจง ผเู ขารับการฝก อบรมสว นใหญมีระดับความรูความ เขาใจตอประเด็นเน้ือหาวิชากอนเขารับการฝกอบรมอยูในระดับมาก คาเฉล่ีย 3.83 และหลังการฝกอบรมมี ระดับความรู ความเขาใจตอ ประเดน็ เนอื้ วชิ า อยใู นระดบั มากที่สุด คา เฉล่ีย 4.54 4. วิชาการจัดทํารางขอบเขตงาน (TOR) ผูเขารับการฝกอบรมสวนใหญมีระดับความรูความ เขาใจตอประเด็นเน้ือหาวิชากอนเขารับการฝกอบรมอยูในระดับมาก คาเฉล่ีย 3.61 และหลังการฝกอบรมมี ระดบั ความรู ความเขา ใจตอประเดน็ เนือ้ วชิ า อยูในระดบั มาก คา เฉล่ีย 4.43 5. วิชาการจัดซื้อจัดจา ง วิธี e-bidding ผูเขารับการฝกอบรมสวนใหญมีระดับความรูความ เขาใจตอประเด็นเนื้อหาวิชากอนเขารับการฝกอบรมอยูในระดับปานกลาง คาเฉลี่ย 3.47 และหลังการ ฝกอบรมมีระดับความรู ความเขาใจตอ ประเด็นเนอ้ื วชิ า อยูในระดับมาก คา เฉลยี่ 4.33 4. ความคิดเหน็ ตอการนาํ ความรูไปใชป ระโยชน จาํ นวน 5 ประเดน็ สรปุ ไดด ังนี้ พบวา ผเู ขา รับการฝกอบรมสวนใหญมีความมั่นใจตอการนําความรูท่ีไดรบั ไปใชประโยชนใน การปฏิบตั ิงาน โดยภาพรวมอยูในระดบั มาก คา เฉลย่ี 4.48 และเมือ่ พจิ ารณาเรียงลาํ ดบั เปนรายประเด็นจาก มากไปหานอย พบวา ผูเขารับการฝกอบรมมีความมั่นใจในการนําความรูวิชาการจัดซ้ือจัดจาง วิธี เฉพาะเจาะจง อยูในระดับมากที่สุด คาเฉลี่ย 4.53 รองลงมาตามลําดับคือ มน่ั ใจในการนําความรูวิชาวิธีการ จัดซ้ือจัดจางตามระเบียบ อยูในระดับมากท่ีสุด มีคาเฉลี่ย 4.50 วิชาการจัดทํารางขอบเขตงาน (TOR) อยูใน ระดับมาก คาเฉลี่ย 4.49 วิชาความคาดหวังและความทาทาย สถานการณการจัดซื้อจัดจาง อยูในระดับมาก มคี าเฉลีย่ 4.44 และวชิ า การจัดซ้ือจดั จา ง วธิ ี e-bidding อยใู นระดบั มาก คาเฉล่ยี 4.43 5. ความพงึ พอใจตอ การใหบ รกิ ารดานวิทยากร พบวา ผเู ขารับการฝก อบรมสว นใหญมีระดับความพงึ พอใจตอ การใหบริการดา นวิทยากร โดย ภาพรวมอยูในระดับมากท่ีสุด คาเฉล่ีย 4.61 และเมื่อพิจารณาเปนรายประเด็นพบวา ผูเขารับการฝกอบรม สวนใหญมีความพึงพอใจตอการเปดโอกาสใหซักถามแสดงความคิดเห็น อยูในระดับมากที่สุด คาเฉลี่ย 4.65 รองลงมาตามลําดับ คือ พึงพอใจตอความรู ความสามารถในการถายทอด/บรรยาย อยูในระดับมากที่สุด คา เฉล่ีย 4.64และความพึงพอใจตอเทคนิคและวิธีการท่ีใชในการถายทอดความรูมีคาเทากับความพึงพอใจตอ การสรา งบรรยากาศการเรียนรู อยใู นระดับมากทส่ี ดุ คาเฉลีย่ 4.59

(ฉ) 6. ความพงึ พอใจตอการใหบรกิ าร พบวาผูเขารับการฝกอบรมสวนใหญมีระดับความพึงพอใจตอการใหบริการดา นเจาหนาที่ที่ ใหบริการ โดยภาพรวมอยูในระดับมากท่ีสุด คาเฉลี่ย 4.66 และเม่ือพิจารณาเปนรายประเด็นพบวา ผูเขารับ การฝกอบรมสวนใหญมีความพึงพอใจตอเจาหนา ท่ีมีกิริยา มารยาทและการแตงกายเหมาะสมและมีความพึง พอใจตอเจา หนาท่ีกระตือรอื รนในการใหบ รกิ ารมคี า เทากัน อยูในระดบั มากท่ีสดุ คา เฉล่ีย 4.66 7. ความพงึ พอใจตอ การใหบรกิ ารดานอาคารสถานท่ี พบวา ผูเ ขารบั การฝก อบรมสวนใหญมีระดับความพึงพอใจตอการใหบริการดานสถานท่ีและ สิ่งอํานวยความสะดวก โดยภาพรวมอยูในระดับมากที่สดุ คาเฉลี่ย 4.51 และเมื่อพิจารณาเปนรายประเด็น พบวา ผูเขารับการฝกอบรมสวนใหญมีความพึงพอใจตอประเด็นโสตทัศนูปกรณทันสมัย/เหมาะสม อยูใน ระดับมากท่ีสุด คาเฉลี่ย 4.64 รองลงมาตามลําดับคือพึงพอใจตอขนาดหองฝกอบรม มีความเหมาะสมกับ จํานวนผูเขาอบรม อยูในระดับมากที่สุด คาเฉล่ีย 4.59 ความพึงพอใจตอการใหบริการสัญญาณ wifi หอง อบรม อยูในระดับมากที่สุด คาเฉลี่ย 4.53 ความพึงพอใจตอหองพกั เหมาะสม อยูในระดับมากที่สุด คาเฉล่ีย 4.51 ความพึงพอใจตอเอกสารประกอบการฝกอบรมท่ีทางโครงการจัดให อยูในระดับมาก คาเฉลี่ย 4.46 ความพึงพอใจตอ อาหารและอาหารวาง/เคร่ืองด่ืมเหมาะสม ท้ังปริมาณและคุณภาพ อยูในระดับมาก คาเฉล่ีย 4.42 และความพงึ พอใจตอ การใหบ ริการสญั ญาณ wifi หอ งพัก อยใู นระดับมาก คา เฉลีย่ 4.41 8. ความพึงพอใจตอดา นคณุ ภาพ พบวาผูเขารับการฝกอบรมสวนใหญมีระดับความพึงพอใจดานคุณภาพ โดยภาพรวมอยูใน ระดับมากทส่ี ุด คา เฉล่ยี 4.58 และเมือ่ พิจารณาเปนรายประเดน็ พบวา ผูเขารับการฝกอบรมสวนใหญมีความ พึงพอใจตอความคุมคาของการฝกอบรม อยูในระดับมากท่ีสุด คาเฉล่ีย 4.60 รองลงมาตามลําดับคือพึง พอใจตอเน้ือหาหลักสูตรเปนปจจุบันทันตอการเปล่ียนแปลง อยูในระดับมากท่ีสุด คาเฉล่ีย 4.59 ความพึง พอใจตอความสอดคลองของเน้ือหาหลักสูตรกบั ความตองการ อยูในระดับมากท่ีสุด คาเฉลี่ย 4.56 และความ พงึ พอใจตอความรทู ี่ไดร บั สามารถนาํ ไปปรับใชในการปฏิบตั ิงานได อยูในระดบั มากทส่ี ุด คา เฉลยี่ 4.55 9. กรมการพฒั นาชุมชนควรเพมิ่ เตมิ ความรเู ร่อื งใด หรอื ฝก ทักษะดา นใดใหแ กทาน เพือ่ ประโยชนใ นการ ปฏบิ ัติงาน นอกเหนือจากท่ีทานไดรับจากการฝก อบรมหลกั สูตรน้ี 9.1จดั ทาํ ขัน้ ตอนการดาํ เนนิ งานแบบละเอียด 9.2การทําเวบ็ ไซต 9.3 การเปน วิทยากรกระบวนการ การลงพ้นื ทช่ี ุมชน 9.4 ฝกปฏิบัติใหกบั ผูรบั ผิดชอบดานการเงินอําเภอใหละเอียดกวา น้ี 9.5 การบริหารความเสย่ี ง 9.6 การฝก ปฏิบตั ิบันทึกขอมูลในระบบ EGP 9.7 งานชางที่เกีย่ วขอ งกบั งานที่ทํา 9.8 อบรมเพิม่ เติม หรือคูมือระหวา งดาํ เนินการ

(ช) 9.9 เทคนิคการเขียน TOR , การบริหารเงินงบประมาณ 9.10 ฝก ปฏิบตั ิ การทาํ e-bidding 9.11 ทาํ cookbook เอกสารการจัดซอ้ื จา งสง ใหใ นระดับพื้นที่ 9.12 ความรใู นการคาํ นวณปรมิ าณงานขุดโคก หนอง นา 9.13 กรมฯ ควรสนบั สนนุ เอกสารเพอื่ เปน คมู ือ มอบใหเ จา หนาทีพ่ ัฒนาชมุ ชนทกุ คน 9.14 แนวทางขัยเคลอื่ นงานกรมฯ ป 64 9.15 การฝกปฏิบตั ิรายตัว 9.16 ไปศกึ ษาดูงาน โคก หนอง นา สถานทจี่ รงิ 9.17 กลมุ เปาหมายควรให จนท.พช.ทุกคนไดมาอมรม 9.18 การออกแบบและคิดปริมาตรดิน 9.19 เอกสารประกอบการฝก อบรม นา จะเปน เอกสารที่สามารถนาํ ไปปฏิบัติไดเ ลย เชน TOR ควรเปน TOR โคกหนองนา โดยตรง 9.20 เทคนคิ การเขยี นโครงการท่มี ีประสิทธิภาพ 10. ผลการประเมินรายวชิ า จํานวน 5 วิชา สรปุ ผลการประเมนิ ไดด ังนี้ 10.1วิชาความคาดหวังและความทาทาย สถานการณการจัดซ้ือจัดจาง(ผูตอบแบบสอบถาม 179 คนคิดเปนรอยละ 88 ของกลุมเปาหมาย)เกี่ยวกับประเด็นเนื้อหาวิชา พบวาผูเขารับการฝกอบรมสวน ใหญมีความพึงพอใจในภาพรวมตอประเด็นของเนื้อหาวิชาการ อยูในระดับมาก คาเฉล่ีย 4.25 และเม่ือ พจิ ารณาเรยี งลําดบั คา เฉลีย่ ทีผ่ เู ขารบั การฝกอบรมมีระดบั ความพึงพอใจตอประเด็นตาง ๆ ระดับมากท่ีสุด คือ มีความพึงพอใจตอความสามารถนําไปประยุกตใช คาเฉลี่ย 4.27 รองลงมาตามลําดับ คือพึงพอใจตอความรู ทกั ษะ ท่ไี ดร บั เพิม่ เตมิ จากวชิ านี้ คา เฉล่ยี 4.26 พงึ พอใจตอ ความชดั เจนของเนื้อหาวิชา มีคาเฉล่ีย 4.23 และมี ความพงึ พอใจตอ การบรรลวุ ตั ถุประสงคของวิชา มีคา เฉลีย่ 4.22 10.2 วิชาวธิ กี ารจัดซื้อจัดจา งตามระเบยี บพัสดุ(ผตู อบแบบสอบถาม 174 คนคิดเปนรอยละ 85 ของกลุมเปาหมาย)เกี่ยวกับประเด็นเน้ือหาวิชา พบวาผูเขารับการฝกอบรมสวนใหญมีความพึงพอใจใน ภาพรวมตอประเดน็ ของเนอ้ื หาวชิ าการ อยใู นระดับมาก คาเฉล่ยี 4.35 และเมื่อพจิ ารณาเรียงลาํ ดบั คา เฉล่ยี ท่ผี ู เขารับการฝกอบรมมีระดับความพึงพอใจตอประเด็นตาง ๆ ระดับมากท่ีสุด คือ มีความพึงพอใจตอความรู ทักษะ ท่ีไดรับเพิ่มเติมจากวิชานี้คาเฉลี่ย 4.37 รองลงมาตามลําดับ คือพึงพอใจตอความสามารถนําไป ประยุกตใชมีคาเฉลีย่ 4.36 พึงพอใจตอความชัดเจนของเน้ือหาวิชา คาเฉลี่ย 4.35 และพึงพอใจตอการบรรลุ วตั ถุประสงคของวชิ า คา เฉลย่ี 4.31และประเดน็ เก่ียวกับวทิ ยากร พบวา ผูเ ขา รบั การฝกอบรมสวนใหญมีความ พึงพอใจตอ การดําเนนิ งานของวทิ ยากรในภาพรวมอยูใ นระดับมาก คา เฉลยี่ 4.44 และเมือ่ พจิ ารณาเรียงลาํ ดบั คา เฉล่ยี ทผี่ เู ขา รบั การฝก อบรมมีระดับความพงึ พอใจตอประเด็นตางๆ ระดับมากที่สุด คือ พึงพอใจตอการเปด โอกาสใหซักถาม แสดงความคิดเห็น มีคาเทากับความพึงพอใจตอบุคลิกภาพ (การแตงกาย ทาทาง นํ้าเสียง ฯลฯ)คาเฉล่ีย 4.49 รองลงมาตามลําดับ คือ พึงพอใจตอความรู ความสามารถในการถายทอด/บรรยาย มี

(ซ) คาเฉลี่ย 4.48 พึงพอใจตอเทคนิคและวิธีการที่ใชในการถายทอดความรู คาเฉลี่ย 4.40 และพึงพอใจตอการ สรา งบรรยากาศในการเรยี นรูคา เฉลีย่ 4.34 10.3 วชิ าการจัดซ้ือจัดจา งแบบวิธีเฉพาะเจาะจง(ผูตอบแบบสอบถาม 191 คนคิดเปนรอย ละ 94 ของกลุมเปาหมาย)เกีย่ วกับประเด็นเนอ้ื หาวชิ า พบวาผูเขารับการฝกอบรมสวนใหญมีความพึงพอใจใน ภาพรวมตอประเด็นของเน้ือหาวิชาการ อยูในระดับมากท่ีสุด คาเฉลี่ย 4.52 และเม่ือพิจารณาเรียงลําดับ คาเฉล่ียท่ผี เู ขา รบั การฝก อบรมมีระดับความพึงพอใจตอประเด็นตาง ๆ ระดับมากท่ีสุด คือ มีความพึงพอใจตอ ความชัดเจนของเน้อื หาวชิ ามีคา เฉล่ีย 4.54 รองลงมาตามลาํ ดับ คือพึงพอใจตอความสามารถนําไปประยุกตใ ช คาเฉลี่ย 4.52 ความพึงพอใจตอ ความรู ทักษะ ท่ีไดรับเพิ่มเติมจากวิชานี้คาเฉลี่ย 4.51 และพึงพอใจตอการ บรรลุวตั ถปุ ระสงคของวิชามคี า เฉลี่ย 4.49และประเดน็ เก่ียวกับวิทยากร พบวา ผูเขารับการฝกอบรมสวนใหญ มีความพึงพอใจตอการดําเนินงานของวิทยากรในภาพรวมอยูในระดับมากท่ีสุด คาเฉล่ีย 4.55 และเม่ือ พิจารณาเรียงลําดับคาเฉลี่ยท่ีผูเขารับการฝกอบรมมีระดับความพึงพอใจตอประเด็นตางๆ ระดับมากท่ีสุด คือ พงึ พอใจตอ การเปด โอกาสใหซ กั ถาม แสดงความคิดเห็นมีคาเทากับความพึงพอใจตอบุคลิกภาพ (การแตงกาย ทาทาง นํ้าเสียง ฯลฯ)คาเฉล่ีย 4.59 รองลงมาตามลําดับ คือ พึงพอใจตอความรู ความสามารถในการ ถา ยทอด/บรรยายมคี า เฉลี่ย 4.54 ความพงึ พอใจตอการสรา งบรรยากาศในการเรยี นรูมีคาเฉลี่ย 4.51 และพึง พอใจตอเทคนคิ และวธิ ีการทีใ่ ชใ นการถา ยทอดความรูมคี า เฉล่ยี 4.50 10.4 วิชาการจัดทํารางขอบเขตงาน (TOR)(ผูตอบแบบสอบถาม 183 คนคิดเปนรอยละ 90 ของกลุมเปา หมาย)เก่ยี วกับประเด็นเน้อื หาวิช พบวา ผเู ขารับการฝก อบรมสว นใหญม ีความพึงพอใจในภาพรวม ตอประเดน็ ของเนอ้ื หาวิชาการ อยูใ นระดับมากทสี่ ุด คาเฉล่ีย 4.51 และเมอ่ื พิจารณาเรียงลําดับคาเฉล่ียที่ผูเขา รับการฝกอบรมมีระดับความพึงพอใจตอประเด็นตาง ๆ ระดับมากที่สุด คือ มีความพึงพอใจตอความชัดเจน ของเนื้อหาวิชา มีคาเฉล่ีย 4.54รองลงมาตามลําดับ คือพึงพอใจตอความรู ทักษะท่ีไดรับเพ่ิมเติมจากวิชานี้ มี คาเฉลี่ย 4.51 ความพึงพอใจตอความสามารถนําไปประยุกตใช มีคาเฉลี่ย 4.50 และพึงพอใจตอการบรรลุ วัตถุประสงคของวิชาและประเด็นเก่ียวกับวิทยากร พบวา ผูเขารับการฝกอบรมสวนใหญมีความพึงพอใจตอ การดําเนินงานของวิทยากรในภาพรวมอยูในระดับมากที่สุด คาเฉลี่ย 4.60 และเม่ือพิจารณาเรียงลําดับ คา เฉลย่ี ที่ผูเขารับการฝกอบรมมรี ะดับความพึงพอใจตอประเด็นตางๆ ระดับมากท่ีสุด คือ พึงพอใจตอการเปด โอกาสใหซักถาม แสดงความคิดเห็น มีคาเฉลี่ย 4.64 รองลงมาตามลําดับ คือ พึงพอใจตอความรู ความสามารถในการถา ยทอด/บรรยาย มคี าเฉลี่ย 4.63 พึงพอใจตอบุคลิกภาพ (การแตงกาย ทาทาง นํ้าเสียง ฯลฯ) มคี าเฉลี่ย 4.60 พึงพอใจตอเทคนคิ และวิธีการท่ีใชในการถายทอดความรู มีคาเฉลี่ย 4.56 และพึงพอใจ ตอการสรา งบรรยากาศในการเรียนรูคาเฉล่ีย 4.55 10.5 วิชาการจัดซื้อจัดจาง วิธี e-bidding(ผูตอบแบบสอบถาม 172 คนคิดเปนรอยละ 84 ของกลุมเปาหมาย)เก่ียวกับประเด็นเน้ือหาวิชา พบวา ผูเขารับการฝกอบรมสวนใหญมีความพึงพอใจใน ภาพรวมตอ ประเดน็ ของเนอ้ื หาวชิ าการ อยใู นระดบั มาก คา เฉลี่ย 4.45 และเมือ่ พิจารณาเรียงลาํ ดับคาเฉลย่ี ทีผ่ ู เขารับการฝกอบรมมีระดับความพึงพอใจตอประเด็นตาง ๆ ระดับมากที่สุด คือ มีความพึงพอใจตอความ ชัดเจนของเนื้อหาวิชามีคาเทากับความพึงพอใจตอความรู ทักษะท่ีไดรับเพ่ิมเติมจากวิชานี้มีคาเฉลี่ย 4.47

(ฌ) รองลงมาตามลาํ ดับ คือพึงพอใจตอความสามารถนําไปประยุกตใช มีคาเฉล่ีย 4.45 และพึงพอใจตอการบรรลุ วัตถุประสงคของวิชา มีคาเฉลี่ย 4.41และประเด็นเกี่ยวกับวิทยากร พบวา ผูเขารับการฝกอบรมสวนใหญมี ความพึงพอใจตอการดําเนินงานของวิทยากรในภาพรวมอยูในระดับมากท่สี ุด คา เฉลีย่ 4.59 และเมื่อพิจารณา เรยี งลาํ ดับคาเฉลี่ยท่ีผูเขา รับการฝกอบรมมีระดับความพึงพอใจตอประเด็นตางๆ ระดับมากท่ีสุด คือ พึงพอใจ ตอ การเปดโอกาสใหซักถาม แสดงความคิดเห็นคาเฉลี่ย 4.63 รองลงมาตามลําดับ คือ พึงพอใจตอบคุ ลิกภาพ (การแตงกาย ทาทาง น้าํ เสยี ง ฯลฯ)คาเฉล่ีย 4.61 พึงพอใจตอความรู ความสามารถในการถายทอด/บรรยาย คาเฉลี่ย 4.60 และมีความพึงพอใจตอเทคนิคและวิธีการท่ีใชในการถายทอดความรูมีคาเทากับความพึงพอใจ ตอ การสรา งบรรยากาศในการเรียนรู มคี าเฉลยี่ 4.56 11. ขอเสนแนะเชงิ นโยบาย 11.1 การพัฒนาหลักสูตร ควรจดั ทําหลักสูตรใหตรงกบั ความตองการของกลุมเปา หมายโดย ใชขอ มูลจากการสํารวจความตองการ 11.2 ควรนาํ ขอ มลู ทไี่ ดจากการติดตามประเมนิ ผลกลุม เปา หมายในพืน้ ทีไ่ ปพฒั นาหลกั สตู รให ตรงกบั ความตอ งการของกลมุ เปาหมาย 11.3 ควรมีการพฒั นาศักยภาพพฒั นาการอาํ เภอ และพฒั นากรดา นการเงนิ การคลังอยา ง ตอ เนอ่ื งทุกป

1 สวนที่ 1 บทนาํ ความสาํ คญั กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย เปนกลไกหลักของรัฐบาล และกระทรวงมหาดไทย ในการบําบัดทุกข บํารุงสุข มีหนาท่ีรับผิดชอบดานการพัฒนาชนบท เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน ใหดีข้ึน โดยไดรับความไววางใจจากรัฐบาล และกระทรวงมหาดไทย ใหมีบทบาทสําคัญในการขับเคล่ือน นโยบาย โครงการ/กิจกรรมสําคัญ เพื่อขจัดความยากจน ลดความเหลื่อมลํ้าในสังคม/ชุมชน ตลอดรวมถึง การสง เสริมเศรษฐกจิ ฐานรากใหมีความมั่นคง ชมุ ชนพ่ึงตนเองไดอยางยง่ั ยืน สํานักงานพัฒนาชุมชนอําเภอ เปนหนวยปฏิบัติงานในสวนภูมิภาค ซึ่งถือเปน “ทัพหนา” ของกรมการพัฒนาชุมชน ในฐานะสวนราชการระดับอําเภอ มีบทบาทสําคัญในการขับเคลื่อนกิจกรรม/ โครงการในระดับพื้นท่ี จึงมีความจําเปนอยางยิ่งที่พัฒนาการอําเภอ และพัฒนากร จําเปนตองเตรียม ความพรอมใหสามารถขับเคลื่อนกิจกรรม/โครงการ เปนผูบริหารจัดการโครงการ (Project Manager) ที่มี ความรูความเชี่ยวชาญในการบริหารงบประมาณ บริหารบุคลากร สามารถเบิกจายงบประมาณไดทันตาม หวงเวลา และควบคุมความเส่ียงที่อาจจะเกิดขึ้นจากการดําเนินโครงการไดอยางมีประสิทธิภาพ จึงตองมี ความรู และทักษะในการบริหารจัดการความเส่ียง ท้ังทางกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ ใหเกิดความชัดเจน ถูกตอง เปน ปจ จบุ นั เพอื่ ปองกนั ขอผิดพลาดจากการปฏิบัติงาน สามารถกํากับควบคุมติดตาม และสนับสนุน การดําเนินงานตามกระบวนการจัดซ้ือ จัดจาง เพ่ือใหการขับเคลื่อนงานตามภารกิจและยุทธศาสตร กรมการพฒั นาชมุ ชน ไปสผู ลสัมฤทธิ์ไดอ ยางมีประสิทธิภาพ สถาบันการพัฒนาชุมชน ในฐานะหนวยงานที่รับผิดชอบในการพัฒนา เพิ่มทักษะ และ สมรรถนะขาราชการของกรมการพัฒนาชุมชน จึงไดกําหนดโครงการฝกอบรมหลักสูตรการบริหารโครงการ อยางมีประสิทธิภาพ เพ่ือเพ่ิมขีดสมรรถนะ ทักษะการบริหารจัดการโครงการ ท้ังในดานการเบิกจาย งบประมาณ การบริหารความเสี่ยง การบริหารพัสดุโครงการ และเรื่องอ่ืน ๆ ที่เกี่ยวของ เพ่ือใหเกิดความ ม่ันใจในการดําเนินงานกิจกรรม/โครงการ ไดอยางมีประสิทธิภาพ ลดความเสี่ยงและขอผิดพลาดที่อาจจะ เกิดขึ้นจากการปฏิบัติงาน สามารถนําความรู ที่ไดรับจากการฝกอบรมมาปรับใชในการดําเนินงาน ใหเกิดประสิทธิภาพ เปนไปตามระเบียบแบบแผนของทางราชการ และสรา งเครือขายในการทํางานรวมกัน ดังน้ันจึงไดมอบหมายใหศูนยศึกษาและพัฒนาชุมชนอุบลราชธานี เปนหนวยดําเนินการโครงการฝกอบรม หลักสตู รการบรหิ ารโครงการอยา งมีประสิทธิภาพ วัตถปุ ระสงค เพ่ือเสริมสรางองคความรู และเพิ่มพูนทักษพัฒนาการอําเภอ พัฒนากร ใหสามารถ ดําเนินการบริหารจดั การโครงการ ท้ังในดานการเบิกจายงบประมาณ การบริหารความเส่ียง การบริหารพัสดุ โครงการ ไดอยา งมีประสิทธิภาพ

2 กลุมเปาหมาย จาํ นวนทงั้ สิน้ 204 คน ประกอบดวย 1. พัฒนาการอําเภอทุกอําเภอ จาก 7 จังหวัดในพ้ืนท่ีใหบริการของศูนยศึกษาและ พัฒนาชุมชนอบุ ลราชธานี จํานวน 102 คน 2. พัฒนากร อําเภอละ 1 คน จาก 7 จังหวัดในพ้ืนท่ีใหบริการของศูนยศึกษาและพัฒนา ชุมชนอุบลราชธานี จาํ นวน 102 คน ขน้ั ตอนและวิธดี ําเนินงาน 1. ศกึ ษาแนวทางการดาํ เนินงานตามโครงการจากสว นกลาง 2. ประชมุ ทีมเจาหนา ทศ่ี นู ยศึกษาและพฒั นาชมุ ชนอบุ ลราชธานเี พอื่ เตรียมความพรอม 3. ประสานวทิ ยากร 4. เสนอโครงการขออนุมัติดําเนินงานตามโครงการ 5. จดั ทําคาํ สง่ั แตงต้งั คณะทํางาน 6. จัดเตรียมสถานท/่ี หอ งฝก อบรม/หอพัก/วสั ดอุ ุปกรณ/ โสตทศั นูปกรณ/ เครอ่ื งเสยี ง 7. ดําเนนิ งานตามโครงการ 8. ประเมนิ ผล/สรุปผลการดาํ เนินงาน/รายงานผลตอผบู รหิ ารกรมการพัฒนาชุมชน งบประมาณดําเนนิ การ งบประมาณดําเนินการทง้ั 3รนุ รวมทง้ั สิ้น จํานวน 678,100บาท (หกแสนเจ็ดหมน่ื แปด พันหนึง่ รอ ยบาทถวน) ระยะเวลาดําเนนิ การ แยกดาํ เนนิ การฝก อบรม 3 รนุ ๆ ละ 4 วนั รนุ ท่ี 1 ดาํ เนนิ การระหวา งวันท่ี 21– 24กันยายน 2563 ณ หองประชุม 2 ศูนยศึกษาและ พฒั นาชมุ ชนอบุ ลราชธานี รุนท่ี 2 ดําเนินการระหวางวันท่ี 21 – 24 กันยายน 2563 ณ หอประชุมคํ้าคูณ ศูนยศึกษา และพัฒนาชมุ ชนอบุ ลราชธานี รุนที่ 3 ดําเนินการระหวางวันท่ี 25 – 28 กันยายน 2563 ณ หอประชุมคํ้าคูณ ศูนยศึกษา และพฒั นาชมุ ชนอุบลราชธานี ขอบเขตเนอ้ื หาหลกั สตู ร วิชาหลกั

3 1. ความคาดหวังและความทาทาย และสถานการณก ารจัดซอ้ื จดั จา งในพนื้ ท่ี 2. วธิ ีการ/กระบวนการจดั ซอื้ จัดจางตามระเบียบพสั ดุ 3. การจัดทาํ รางขอบเขตงาน (TOR) และการฝก ปฏบิ ตั ิ 4. การจัดซ้อื จดั จา งแบบวธิ เี ฉพาะเจาะจง และการฝก ปฏิบตั ิ 5. การจัดซอื้ จดั จา งแบบวิธีe-Bidingและการฝกปฏิบตั ิ กิจกรรมเสริม - กจิ กรรมแลกเปลี่ยนเรยี นรู ผลท่ีคาดวาจะไดรับ 1. ผูผานการฝกอบรมมีความรู ความเขาใจเก่ียวกับการบริหารโครงการ/กิจกรรมตาง ๆ เขาใจกระบวนการบริหารโครงการ และสามารถบริหารจัดการพัสดุ งบประมาณ และทรัพยากรอ่ืน ๆ ท่ี เก่ียวของ สามารถนําความรูท่ีไดรับไปปรับใชในการปฏิบัติงานสนับสนุนการขับเคลื่อนยุทธศาสตรกรมการ พฒั นาชุมชน ไดอยา งมปี ระสิทธิภาพ 2. ผูเขารับการฝกอบรมไดแลกเปล่ียนเรียนรู/แลกเปลี่ยนประสบการณ สามารถที่จะนําไป ประยุกตใ ชในการปฏิบัตงิ านไดตอ ไป ตวั ชีว้ ัดผลสําเร็จของโครงการ ตวั ชว้ี ัดเชงิ ปรมิ าณ รอ ยละ 85 ผเู ขา รับการฝก อบรมมีความพึงพอใจตอ หลกั สตู ร โดยมคี าเฉลย่ี ระดับมากข้ึนไป ตัวชว้ี ดั เชิงคณุ ภาพ รอยละ 80 ผานการประเมนิ ผลเพ่ือวดั ความรู ความเขา ใจในการบริหารโครงการ

4 สว นท่ี 2 สรุปเนอื้ หาวชิ าการ กรมการพัฒนาชุมชน มอบหมายใหศูนยศึกษาและพัฒนาชุมชนอุบลราชธานี เปนหนวย ดําเนินงานโครงการฝกอบรมหลักสูตรการบริหารโครงการอยางมีประสิทธิภาพประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2563โดยมีวัตถุประสงคเพื่อเสรมิ สรางองคค วามรู และเพ่ิมพนู ทกั ษะสําหรับพัฒนาการอําเภอ พฒั นากร ให สามารถดําเนินการบริหารจัดการโครงการ ทั้งในดานการเบิกจายงบประมาณ การบริหารความเสี่ยง การ บริหารพัสดุโครงการไดอยางมีประสิทธิภาพกลุมเปาหมาย จํานวนท้ังสิ้น 204 คน ประกอบดวยพัฒนาการ อําเภอ จาํ นวน 102 คน พัฒนากรอําเภอละ 1 คน จํานวน 102 คน จาก 7 จังหวัดในพ้ืนที่ใหบริการของศูนย ศึกษาและพัฒนาชุมชนอุบลราชธานี โดยแยกดําเนินการ 3 รุน รุนที่ 1 ดําเนินการระหวางวันท่ี 21 – 24 กันยายน 2563 ณ หอ งประชมุ 2 ศูนยศกึ ษาและพัฒนาชุมชนอุบลราชธานี รุนที่ 2 ดําเนินการระหวางวันท่ี 21 – 24 กันยายน 2563 ณ หอประชุมคํ้าคูณ ศูนยศึกษาและพัฒนาชุมชนอุบลราชธานี และรุนที่ 3 ดําเนินการ ระหวางวันที่ 25 – 28 กันยายน 2563 ณ หอประชุมค้ําคูณ ศูนยศึกษาและพัฒนาชุมชนอุบลราชธานี การ ดําเนินงานตามโครงการดังกลาว ไดกําหนดประเด็นเน้ือหาวิชาหลักตามหลักสูตร จํานวน 5 หวั ขอวิชาหลัก และ 1 กจิ กรรมเสรมิ หลักสตู ร ดังนี้ เน้ือหาวิชาหลกั จาํ นวน5 วชิ า ดงั น้ี 1. ความคาดหวังและความทา ทาย และสถานการณการจดั ซ้อื จดั จา งในพนื้ ท่ี 2. วิธกี าร/กระบวนการจดั ซอื้ จัดจางตามระเบียบพสั ดุ 3. การจดั ทาํ รางขอบเขตงาน (TOR) และการฝก ปฏบิ ัติ 4. การจดั ซ้อื จดั จางแบบวธิ เี ฉพาะเจาะจง และการฝกปฏิบตั ิ 5. การจัดซ้ือจดั จา งแบบวธิ ี e-Bidingและการฝกปฏบิ ตั ิ กิจกรรมเสริม - กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรยี นรู การเรียนรูใ นแตละวิชายึดผเู รยี นเปน ศูนยกลางการเรียนรู ดวยรปู แบบ วิธกี าร เทคนคิ ที่ หลากหลายมุงเนนใหผ ูเ รยี นมีความรู ความเขา ใจจากประสบการณตรง และการฝกปฏบิ ตั ิจริงโดยใช กระบวนการแบบมสี ว นรว มทส่ี ามารถนําไปปรบั ใชในการปฏิบัตงิ านไดจรงิ ดังนี้ 1. การบรรยายประกอบสอ่ื Power Point 2. เวทีแลกเปลย่ี นเรยี นรู 3. การฝกปฏบิ ตั ิ

5 สรปุ สาระสําคญั ของเน้ือหาวิชาได ดังนี้ วชิ า ความคาดหวงั และความทาทาย และสถานการณการจดั ซื้อจดั จา งในพนื้ ที่ วตั ถุประสงค เพอื่ ใหผ ูเขารบั ฝก อบรมทบทวนสถานการณท่ีผานมา และความคาดหวงั ระยะเวลา 1.30 ช่ัวโมง ขอบเขตเนือ้ หาวชิ า 1. ความคาดหวงั และความทา ทายเกีย่ วกับการจดั ซอื้ จัดจาง 2. สถานการณก ารจัดซอื้ จัดจางในพืน้ ท่ี เทคนคิ /วธิ กี าร วิทยากรแนะนําตวั กลาวทกั ทายผูเขารับการฝกอบรม เกริ่นนําถึงวัตถุประสงคของวิชา แลว เช่ือมโยงจากการดูคลิปวิดีทัศนจากผูบริหารกรมการพัฒนาชุมชน ในประเด็นท่ีเกี่ยวกับที่มา /หลักการ/แนว ทางการดําเนินงานโครงการพัฒนาพื้นที่ตนแบบการพฒั นาคุณภาพชีวิตตามหลักทฤษฎใี หม ประยุกตสู “โคก หนอง นา โมเดล” สูการบรรยายประกอบส่ือ Power Point ในประเด็นความคาดหวัง / ความทาทาย เกี่ยวกับการจัดซ้ือจัดจางและสถานการณการจัดซ้ือจัดจางในพื้นที่โดยวิทยากรใหผูเขารับการฝกอบรมเขียน ประเด็นความคาดหวัง/ความทาทายเกี่ยวกับการดําเนินงานโครงการ “โคก หนอง นา โมเดล” ลงในกระดาษ Post itคนละ 1 ความคาดหวัง หรือ 1 ความทาทาย ตามดวยประเด็นสถานการณการจัดซื้อจัดจางในพ้ืนที่ก็ เชนเดยี วกนั เสร็จแลวทมี วทิ ยากรนาํ คาํ ตอบทไ่ี ดไปสรปุ ภาพรวมตามทีป่ รากฏ ดังนี้

6 ผลจากการเรยี นรู พบวา ผเู ขา รับการฝกอบรมมีความกระตือรืนรนพรอมท่ีจะเรียนรู สังเกตจากการมีสวนรวม ในการแสดงความคาดหวัง ความคดิ เหน็ และการแลกเปลี่ยนเรยี นรกู บั วทิ ยากร วิชา วธิ ีการ/กระบวนการจดั ซื้อจดั จางตามระเบยี บพสั ดุ วตั ถุประสงค เพอื่ ใหผเู ขารบั การฝกอบรมเขา ใจในระเบียบการจัดซือ้ จดั จางตามระเบียบพัสดุ ระยะเวลา 3 ช่วั โมง ขอบเขตเนอื้ หาวชิ า 1. รูปแบบการจดั ซือ้ จัดจาง (เนน วธิ ีเฉพาะเจาะจง และวธิ ี e-bidding) 2. ขอพึงระวงั จากกรณที ่ีเกดิ ขน้ึ ในพื้นท่ี เทคนิค/วิธีการ

7 วทิ ยากรแนะนําตัวเองและเกริ่นนําถงึ การดําเนินงานโครงการพัฒนาพื้นทีต่ นแบบการพัฒนา คณุ ภาพชวี ิตตามหลักทฤษฎีใหม ประยุกตสู “โคก หนอง นา โมเดล” แลวเช่ือมโยงสูการบรรยายประกอบสอ่ื Power Point ในหัวขอวิชาวิธีการ/กระบวนการจดั ซ้อื จัดจา งตามระเบียบพสั ดุโดยแยกเปน ประเดน็ ทสี่ รปุ ได ดงั นี้ จัดซือ้ จดั จา งอยางไรไมทุจริต 1. ตอ งรู กฎหมาย หลัก รอง ระเบียบ รวมถึงแนวทางปฏบิ ตั ิทถ่ี กู ตอง 2. ตอ งรกู ฎหมายอืน่ ๆ ในสว นทีเ่ กี่ยวขอ ง 3. ตองละเอียดรอบครอบ 4. ตองมคี วามซอ่ื สัตยสจุ รติ การปฏิบัตงิ านดานการพสั ดุสาํ หรบั หนวยงานของรัฐภายใต พ.ร.บ.จัดซอ้ื จดั จาง พ.ศ. 2560 หัวหนาหนวยงานของรฐั หมายความถึง ผูด าํ รงตาํ แหนง ในหนวยงานของรัฐดังน้ี 1. ราชการสว นกลาง 2. ราชการสว นภูมภิ าค 3. ราชการสวนทอ งถิ่น 4. รฐั วิสาหกิจ อํานาจของหวั หนา หนวยงานรัฐ 1. อํานาจในการจัดหา 2. อํานาจในการอนุมตั ิส่ังซอ้ื สั่งจาง 3. อํานาจในการลงนามในสัญญาและบรหิ ารสญั ญา ผูปฏิบัติงาน แยกเปน เจา หนาท่ี หวั หนาเจาหนา ท่ี ผูม หี นาที่เก่ียวกับการจดั ซื้อจัดจางหรือการบริหาร ผูดาํ รงตําแหนงหัวหนา สายงานซึง่ ปฏบิ ัตงิ านเก่ียวกับการ พัสดุหรือผูที่ไดรับมอบหมายจากผูมีอํานาจให จัดซอ้ื จัดจางหรอื การบริหารพัสดุหรือผูท ไี่ ดรับมอบหมาย ปฏิบัติหนาที่เกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจางหรือการ จากหวั หนาหนวยงานรัฐใหเ ปน หัวหนาเจาหนาท่ี บริหารพสั ดุของหนวยงานรัฐ ผมู หี นา ทด่ี าํ เนินการ 1. เจาหนา ท่ี 2. หัวหนา เจาหนา ท่ี 3. ผูม อี ํานาจอนุมัติสง่ั ซ้ือสั่งจา ง/ผูมอี ํานาจลงนามในสญั ญา 4. กรรมการ

8 วิธีการซอ้ื หรอื จาง 1. วธิ ปี ระกาศเชญิ ชวนทั่วไป - วธิ สี อบราคา - วิธปี ระกวดราคาอเิ ลก็ ทรอนกิ ส - วิธีตลาดอิเลก็ ทรอนกิ ส 2. วิธคี ดั เลือก 3. วิธเี ฉพาะเจาะจง กระบวนการซ้ือหรือจาง ขั้นตอนการซือ้ หรือจาง - แผนการจดั ซ้อื จัดจา ง - กาํ หนดราคากลาง - ทํารายงานขอซื้อ/จา ง - ดําเนนิ การจัดหา - ขออนมุ ตั ิส่งั ซ้อื /จา ง - ประกาศผูช นะการเสนอราคา - การทาํ สัญญา - บริหารสญั ญา - การตรวจรบั พสั ดุ ขอ ปฏิบตั ทิ ค่ี วรรูเ ก่ียวกบั การกาํ หนดคุณลักษณะเฉพาะของส่ิงทจ่ี ะซื้อ/งานทีจ่ ะจา ง มาตรา 9 การกําหนดคณุ ลักษณะเฉพาะ การกาํ หนดขอบเขตของสงิ่ ของทซี่ อ้ื /จา ง (Spee) ก า ร กํ า ห น ด คุ ณ ส ม บั ติ ข อ ง ผู เ ส น อ ร า ค า ห รื อ ผู เ ส น อ ง า น แ ล ะ ร า ย ล ะ เ อี ย ด ห รื อ คุ ณ ลักษณะเฉพาะของพัสดุท่ีซ้ือหรืองานจางตลอดจนการวินิจฉัยตีความคุณสมบัติของผูเสนอราคา หรือผูเสนอ งาน แตละรายวาเปนไปตามเง่ือนไขที่กําหนดไวหรือไม “เปนอํานาจของหนวยงานท่ีจัดหาพัสดุสามารถใช ดุลยพินิจกําหนดไดตามความตองการของหนวยงาน” แตตองอยูภายใตหลักเกณฑตามที่กฎหมาย ระเบียบ ขอ บงั คบั คาํ ส่งั หรือมติคณะรัฐมนตรที ่เี ก่ยี วขอ งกําหนดไว ขอหามกาํ หนดคณุ สมบัติผเู สนอราคาในลกั ษณะตางๆ เชน (หนังสือสํานักนายกรฐั มนตรี ที่นร (กวพ)1305/ ว7914 ลว.22 กนั ยายน 2543) 1. จะตอ งเปนนิติบุคคลที่มที นุ จดทะเบยี นจาํ นวนหนึ่ง 2. จะตอ งมผี ลประกอบการเปนกาํ ไร 3. จะตองมีบุคลากรหรือเครือ่ งมอื เครื่องจกั รอยกู อน หรอื ขณะเขาเสนอราคา 4. จะตองมหี นังสอื รับรองทางการเงนิ จากสถาบนั การเงนิ มาแสดงตั้งแตขณะเสนอราคา

9 เปนตน เนือ่ งจากเปน การกําหนดเงอ่ื นไขท่ไี มเ ปนธรรม กีดกนั หรอื ชวยเหลอื ผเู ขา เสนอราคาบางราย คณะกรรมการซื้อหรือจาง (ขอ 25-27) - คณะกรรมการพจิ ารณาผลการประกวดราคาอิเลก็ ทรอนิกส - คณะกรรมการพิจารณาผลการสอบราคม - คณะกรรมการซอ้ื หรือจางโดยวิธคี ดั เลอื ก - คณะกรรมการซอื้ หรอื จา งโดยวธิ เี ฉพาะเจาะจง - คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ องคป ระกอบของคณะกรรมการ - ประธาน 1 คน - กรรมการอ่ืนอยางนอย 2 คน ยกเวน งานจา งทป่ี รกึ ษา กรรมการ อยางนอ ย 4 คน - แตง ตง้ั จากขา ราชการ ลกู จา งประจํา พนกั งานราชการ พนกั งานมหาวทิ ยาลยั พนกั งานของ รัฐ พนักงานหนวยงานของรัฐหรือท่ีเรียกชื่ออยางอื่น โดยคํานึงถึงลักษณะหนาที่และความรับผิดชอบของผูที่ ไดร ับแตง ตัง้ เปนสาํ คัญ ในกรณีจําเปนหรือเพื่อประโยชนของหนวยงานของรัฐจะแตงตั้งบุคคลอื่นรวมเปนกรรมการ ดว ยก็ได แตจ ํานวนกรรมการท่ีเปนบคุ คลอื่นจะตอ งไมมากกวา จาํ นวนกรรมการตามวรรคหนึ่ง ขอ หา ม ในการซื้อหรือจางครั้งเดียวกัน หามแตงต้ังผูที่เปนกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคา อิเล็กทรอนิกส กรรมการพิจารณาผลการสอบราคา หรือกรรมการซ้ือหรือจางโดยวิธีคัดเลือกเปนกรรมการ ตรวจรับพัสดุ คณะกรรมการซอื้ หรอื จางทุกคณะ ควรแตงตั้งผูชํานาญการหรือผูท รงคุณวุฒิเก่ียวกับงานซอ้ื หรอื จา งน้ันๆ เขารวมเปน กรรมการดว ย การประชมุ ของคณะกรรมการ - ประธาน +กรรมการไมน อยกวาก่งึ หนง่ึ และประธานจะตอ งอยูด วยทุกคร้ัง องคประชมุ - ถือเสียงขางมาก มติกรรมการ - ถาเสยี งเทา กันใหป ระธานออกเสยี งเพมิ่ อีก 1 เสียง - คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ ยกเวน - ตองใชม ติเอกฉนั ท - กรรมการของคณะใดไมเ ห็นดว ยกับมตขิ องคณะกรรมการใหท าํ บนั ทึก ความเห็นแยง ไวด ว ย หมวด 10

10 การบรหิ ารสัญญาและการตรวจรับพสั ดุ มาตรา 100 : การตรวจรับพสั ดใุ หเ ปน ไปตามสญั ญา มาตรา 102 : การงดหรือลดคาปรับหรือการขยายระยะเวลาทาํ การตามสัญญาใหอ ยูในดุลพินจิ ตามกรณีท่ี กาํ หนด มาตรา 103 : การบอกเลิกสัญญาใหอ ยดู ลุ พินิจของผูมีอํานาจตามกรณีทก่ี าํ หนด คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ งานซื้อหรืองานจา ง ระเบยี บฯ ขอ 175 งานจา งกอ สรา ง ระเบียบฯ ขอ 176 งานจา งทปี่ รึกษา ระเบียบฯ ขอ 179 งานจา งออกแบบควบคุมงานกอสราง ระเบียบฯ ขอ 180 หลกั เกณฑก ารตรวจรบั พัสดุ หลกั เกณฑ มาตรา 100 + ระเบียบฯ คณะกรรมการตรวจรบั พัสดุ การซ้อื หรือการจา งไมเ กิน 100,000 บาท (กฎกระทรวง) แตง ตงั้ บุคคลหนง่ึ บุคคลใดเปน “ผูต รวจรบั ” ยกเวน “การซอ้ื หรือจางไมเกิน 500,000 บาท (มาตรา 56 (2) (ข)” กรณีจาํ เปนเรงดว นทีเ่ กิดข้ึนโดยไม คาดหมายไวกอ นใช “รายงานขอความเห็นชอบ” เปน “หลักฐานการตรวจรบั ” โดยอนุโลม หนา ที่ของคณะกรรมการตรวจรับพสั ดุ - ตรวจรบั พัสดุ ณ ที่ทําการของผใู ชพ ัสดุ/สถานท่ีซ่ึงกาํ หนดไวในสญั ญา - การตรวจรบั พัสดุ ณ สถานทอ่ี น่ื ในกรณที ี่มไี มสัญญาจะตองไดร ับอนุมตั ิจากหัวหนา หนวยงานของ รฐั กอ น - ตรวจรับพสั ดุใหถ ูกตองครบถว นตามหลักฐาน กรณที มี่ ีการทดลองหรือตรวจสอบในทางเทคนคิ จะ เชญิ ผชู ํานาญการหรือผูทรงคุณวฒุ เิ ก่ียวกับพัสดนุ นั้ มาใหคําปรึกษา/สง พสั ดนุ น้ั ไปทดลอง/ตรวจสอบ ณ สถานที่ของผชู ํานาญการหรือผูท รงคณุ วฒุ ินนั้ ๆ กไ็ ด - ในกรณจี าํ เปน ทไี่ มสามารถตรวจนบั เปน จํานวนหนว ยทั้งหมดไดใ หต รวจรับตามหลักวชิ าการสถติ ิ - ใหต รวจรับพสั ดใุ นวนั ท่ผี ูขายหรอื ผูร บั จางนําพสั ดมุ าสง และใหด าํ เนนิ การใหเสรจ็ ส้นิ โดยเร็วทีส่ ดุ - เมื่อตรวจถูกตองครบถว นแลว ใหร บั พสั ดุไวแ ละถอื วา ผูข ายหรอื ผูรับจางไดสง มอบพสั ดถุ ูกตอง ครบถวนตัง้ แตว ันทีผ่ ูขายหรือผรู ับจา งนาํ พัสดนุ ้นั มาสง แลวมอบแกเ จา หนา ทีพ่ รอมกบั ทาํ ใบตรวจรบั โดยลงชอ่ื ไวเปน หลกั ฐานอยางนอย 2 ฉบับ มอบแกผขู ายหรือผรู บั จา ง 1 ฉบับ และเจา หนา ที่ 1 ฉบับ - รายงานใหห วั หนาหนว ยงานของรฐั ทราบ การงด ลดคาปรบั หรอื การขยายเวลาการทําสญั ญา

11 ตามมาตรา 102 ใหอยูในดุลยพนิ ิจของผมู อี าํ นาจท่จี ะพจิ ารณาไดต ามจาํ นวนวนั ที่มีเหตุเกิดขนึ้ จริง เฉพาะในกรณีดงั ตอ ไปนี้ - เหตุเกดิ จากความผดิ เกดิ จากความบกพรอ งของหนว ยงานของรัฐ - เหตุสุดวิสยั - เหตุเกดิ จากพฤติการณอ ันหนง่ึ อันใด ทค่ี ูสญั ญาไมตองรับผิดชอบตามกฎหมาย - เหตอุ ืน่ ตามที่กําหนดในกฎกระทรวง ใหหนว ยงานของรฐั กําหนดใหคูส ญั ญาตองแจงเหตดุ ังกลาวภายใน 15 วนั นบั ถัดจากวนั ที่เหตนุ ัน้ ส้ินสดุ ลงหรือตามที่กําหนดในกฎกระทรวง หากไมแจง ภายในเวลาที่กาํ หนดคสู ญั ญาจะยกขน้ึ มากลา วอา งใน ภายหลังไมได เวน แตก รณเี กดิ จากความผดิ เกิดจากความบกพรองของหนว ยงานของรัฐ ซ่ึงมีหลักฐานชัดแจง หรือหนว ยงานของรัฐทราบดีอยูแลว ตงั้ แตต น การบรหิ ารพสั ดุ การยมื : การยืมหรือนาํ พัสดไุ ปใชใ นกจิ การ ซึง่ มใิ ชเพอ่ื ประโยชนข องทางราชการจะกระทํามิได พสั ดุประเภทใชค งรปู - การยืมระหวางหนวยงานของรัฐจะตองไดร บั อนุมตั จิ ากหัวหนา หนว ยงานของรัฐผใู หยืม - การใชบุคคลยมื ใชภ ายในสถานที่ของหนว ยงานของรัฐเดยี วกัน จะตอ งไดรบั อนุมตั ิจาก หวั หนา หนวยงานซ่ึงรับผิดชอบพสั ดนุ ัน้ แตถา ยืมไปใชนอกสถานท่ขี องหนว ยงานของรัฐ จะตองไดร ับอนุมัติ จากหัวหนา หนว ยงานของรฐั - ผยู มื สงคนื พสั ดุน้นั ในสภาพทใี่ ชก ารไดเ รยี บรอย หากเกิดชาํ รุดเสยี หายหรอื ใชก ารไมได หรือสญู หายไป ผยู ืมตอ งจัดการแกไ ขซอ มแซมใหคงสภาพเดิมโดยเสียคาใชจ า ยของตนเอง หรือชดใชเปน พัสดุ ประเภท ชนดิ ขนาด ลักษณะและคณุ ภาพอยา งเดยี วกัน หรือชดใชเปนเงินตามราคมที่เปนอยใู นขณะยืม โดยมี หลกั เกณฑ ดงั น้ี - ราชการสว นกลาง และราชการสวนภมู ิภาคใหเปนไปตามหลักเกณฑท ่ี กระทรวงการคลงั กําหนด - ราชการสว นทองถ่ิน ใหเ ปนไปตามหลกั เกณฑที่กระทรวงมหาดไทยกาํ หนด - หนว ยงานของรฐั อืน่ ใหเ ปน ไปตามหลกั เกณฑที่หนว ยงานของรฐั น้นั กาํ หนด พัสดปุ ระเภทสิน้ เปลือง - ใหกระทําไดเฉพาะหนวยงานของรฐั ผยู มื มีความจําเปน รบี ดวน จะดาํ เนนิ การ จดั หาไดไ มท ันการ และหนวยงานของรฐั ผใู หย ืมมพี สั ดนุ ัน้ ๆ พอทจ่ี ะใหยืมได และใหม ีหลักฐานการยืมเปนลาย ลกั ษณอ กั ษร ท้ังนี้ โดยปกติหนวยงานของรัฐผูยืมจะตองจดั หาพสั ดเุ ปน ประเภท ชนดิ และปรมิ าณเชน เดียวกนั สงคืนใหหนวยงานของรัฐผใู หยืม

12 - เมื่อครบกาํ หนดยมื ใหผูยืมหรอื ผรู บั หนา ทีแ่ ทนมีหนา ทีต่ ิดตามทวงพัสดทุ ่ีใหยมื ไป คืนภายใน 7 วนั นับแตว ันครบกาํ หนด ผลจากการเรยี นรู พบวา ผเู ขารบั การฝก อบรมมคี วามรู ความเขา ใจ เกีย่ วกบั วธิ ีการ/กระบวนการจดั ซ้ือจัดจาง ตามระเบียบพัสดุ สังเกตจากการมีสวนรวมในการเรียนรู พูดคุยตอบขอซัก-ถาม การแสดงความคิดเห็น การ แลกเปลยี่ นเรียนรูก บั วทิ ยากร วิชา การจดั ซอื้ จัดจางแบบวธิ เี ฉพาะเจาะจง วตั ถปุ ระสงค 1. เพื่อใหผเู ขา รับการฝกอบรมไดเรยี นรูดวยการฝกปฏิบัติจริงในรูปแบบการจัดซื้อจัดจางวิธี เฉพาะเจาะจง 2. ทบทวนสถานการณโครงการท่ีผานมา เพ่ือใหเกิดการปรับปรุงแกไขรวมกันใหเกิด ประสทิ ธิภาพ ระยะเวลา 6 ชว่ั โมง ขอบเขตเนื้อหาวชิ า 1. การจดั ซอ้ื จัดจางวิธเี ฉพาะเจาะจง 2. การฝก ปฏบิ ัติ เทคนคิ /วิธีการ ทีมวิทยากรแนะนําตัว และเกร่ินนําถึงวัตถุประสงคของหัวขอวิชา แลวเช่ือมโยงจากการ เรียนรูวิธีการ/กระบวนการจัดซ้ือจัดจางตามระเบียบพัสดุสูการเรียนรูเร่ืองการจัดซ้ือจัดจางแบบวิธี เฉพาะเจาะจง ซ่ึงสรุปได ดงั นี้ ขน้ั ตอนการจัดซื้อจัดจางโดยวิธเี ฉพาะเจาะจง 1. เจาหนาท่ีพัสดุหรือผูท่ีไดรับมอบหมายของหนวยงานภาครัฐ จัดทําแผนจัดซื้อจัดจาง ประจําป และประกาศเผยแพร ยกเวนกรณีซื้อ/จาง ท่ีมีวงเงินไมเกินตามที่กําหนดในกระทรวง หรือมีความ

13 จําเปน ตองใชพสั ดโุ ดยฉกุ เฉิน หรือมคี วามจาํ เปนตองใชพัสดุโดยฉุกเฉิน หรือเปนพัสดุที่จะขายทอดตลาด ตาม มาตรา 56 (2) (ข) (ง) (ฉ) แลวแตกรณี 2. คณะกรรมการ/เจาหนาพสั ด/ุ ผทู ี่ไดร บั มอบหมายจากหนวยงานรัฐ จดั ทาํ รา งขอบเขตของ งาน รวมท้ังกาํ หนดหลกั เกณฑการพจิ ารณาคัดเลือกขอเสนอดว ย 3. เจา หนาท่พี สั ดจุ ดั ทํารายงานขอซื้อหรอื จา งโดยวิธีเฉพาะเจาะจง 4. การเชิญชวนเจรจาตอรอง แบงเปน 2 กรณี ดงั น้ี 4.1 กรณี ใชว ธิ ีประกาศเชญิ ชวนทั่วไป และวิธีคัดเลือก หรือวิธีคัดเลือกแลว แตไมมี ผยู ่ืนขอ เสนอหรือขอเสนอไมไดม ีการคิดราคา หรือมีผูประกอบการเพียงรายเดียว ไมมีพัสดุอ่ืน ท่ีจะใชทดแทน ได หรอื มีความจาํ เปนโดยฉุกเฉิน เนื่องมาจากเกิดอุบัติภัย/ภัยธรรมชาติ/เกิดโรคติดตออัตราย หรือเปนพัสดุท่ี ไดทําการจัดซ้ือจัดจางไวกอนแลว หรือเปนพัสดุที่ขายทอดตลาด โดยหนวยงานของรัฐ หรือหนวยงานของ ตางประเทศ หรอื เปน พัสดทุ เ่ี ปน ที่ดินหรือส่ิงปลูกสราง ซึ่งจําเปนตองซื้อเฉพาะแหง หรอื กรณีอ่ืนตามที่กําหนด ในกฎกระทรวง จัดทาํ หนังสือเชิญชวนสง ไปยงั ผปู ระกอบการท่มี คี ณุ สมบตั ติ รงตามท่ีกําหนดตามมาตรา 56 (2) (ก) (ค) (ง) (จ) (ฉ) (ช) (ซ) แลวแตก รณี (1) คณะกรรมการฯ จัดทํารายงานผลการพิจารณาขอเสนอ/ตอรองราคา ตามความเหมาะสมแลว แตกรณี (2) คณะกรรมการฯ รายงานผลการพิจารณาและเสนอความเหน็ ตอ หวั หนา หนวยของรฐั (3) หัวหนาหนวยงานของรัฐและผูมีอํานาจอนุมัติซื้อ หรือจางเห็นชอบผล การคดั เลอื ก 4.2 กรณีท่ีจัดซ้ือจัดจางที่มีวงเงินไมเกินตามที่กําหนดในกฎกระทรวง (ไมเกิน 500,000 บาท มาตรา 56 (2) (ข) เจาหนาท่ีเจรจาตกลงราคากับผูประกอบการ ท่ีมีอาชีพหรือรับจางน้ัน โดยตรง (ใหเจาหนา ทีพ่ สั ดุดาํ เนินการเหมือนวธิ ตี กลงราคาตามเดมิ ) - หัวหนาเจาหนาท่ีซื้อหรือจางภายในวงเงินที่ไดรับความเห็นชอบจาก หัวหนาหนวยงานของรัฐ 5. ประกาศผูท่ีไดรบั การคดั เลือกการจดั ซ้อื จดั จางโดยวธิ เี ฉพาะเจาะจง 6. ลงนามในสัญญาลงนามตามแบบที่คณะกรรมการนโยบายกําหนดหรือขอตกลง โดยวิธี เฉพาะเจาะจง ไมจาํ เปนตอ งรอใหพน ระยะเวลาอุทธรณ ผลจากการเรียนรู พบวา ผูเขารับการฝกอบรมใหความสนใจเปนอยางดีในการเรียนรู การระดมความคิดเห็น เกีย่ วกบั การจัดซือ้ จดั จา ง วิธีเฉพาะเจาะจง โดยนาํ ขอ มลู ทป่ี ฏิบตั จิ รงิ มาแลกเปลี่ยนเรียนรูรวมกัน สังเกตจาก การมีสวนรว มในกิจกรรมกลมุ การพดู คุยตอบขอซกั -ถาม การแสดงความคิดเห็น การแลกเปล่ียนเรียนรู และ ช้นิ งานท่ไี ดจ ากการฝกปฏิบัติ

14 วิชา การจัดทาํ รางขอบเขตงานTOR (Terms of Reference) วตั ถปุ ระสงค เพ่อื ใหผูเ ขา รบั การฝก อบรมสามารถจดั ทาํ รางขอบเขตงาน(TOR)กจิ กรรมการจัดทําพื้นท่ี (ขุด ดิน) และการจดั ซือ้ จดั จา งพัสดดุ ว ยวิธีเฉพาะเจาะจง และวธิ ี E- bidding ในรปู แบบ “ครพู าทาํ ” ระยะเวลา 6 ชว่ั โมง ขอบเขตเนือ้ หาวชิ า 1. กระบวนการ การรางขอบเขตของงาน TOR (Terms of Reference) 2. ฝก ปฏบิ ัตกิ ารจัดทํารางขอบเขตงาน (TOR) 3. การนําเสนอรางขอบเขตงาน (TOR) 4. การแลกเปล่ียนเรยี นรู 5. ขอพึงระวังจากกรณีที่เกดิ ขน้ึ จรงิ ในพ้นื ที่ ทดลองปฏบิ ัติ เทคนคิ /วธิ กี าร วิทยากรแนะนําทีมวิทยากร และเกร่ินนําถึงวัตถุประสงคของวิชา แลวเช่ือมโยงสูการ บรรยายประกอบสื่อ Power Point ในหัวขอวิชาการจัดทํารางขอบเขตงาน(TOR :Terms of Reference) ตามขนั้ ตอนและกระบวนการจดั ทาํ รา งขอบเขตงาน สรุปได ดงั น้ี ประเด็นการเรยี นรู 1. จดั ทาํ เม่อื ใด 2. ใครมีหนาทจ่ี ัดทาํ 3. จัดทาํ อยางไร 4. ผลของการจัดทาํ TOR หลักการกาํ หนด TOR ทด่ี ี 1. TOR ท่ดี จี ะทําใหไดพสั ดุ ครภุ ณั ฑตรงตามวัตถุประสงคการใชงาน ประหยัด คุณภาพดี และเกิด ประโยชนส งู สดุ

15 2. TOR ท่ีดรี ะบุความจําเปนและคุณลกั ษณะทตี่ อ งการนาํ ไปใชประโยชนช ดั เจน 3. TOR ทีด่ รี ะบขุ อ ความทไ่ี มกาํ กวมตรวจสอบวดั ได 4. TOR ท่ดี ไี มร ะบรุ ายการที่เกนิ ความจาํ เปน องคประกอบของขอบเขตของงาน (Terms Of Reference : TOR) 1. ความเปนมา 2. วัตถปุ ระสงค 3. คุณสมบัตผิ เู สนอราคา 4. แบบรปู รายการ หรอื คุณลักษณะเฉพาะ 5. ระยะเวลา 6. ระยะเวลาดาํ เนนิ การ 7. วงเงินในการจดั หา วิทยากรใหผ ูเ ขา รบั การฝกอบรมฝก เขยี นแนวทางการจัดทําขอบเขตของงาน(TOR : Terms Of Reference)ตามใบงานกรณีศกึ ษาที่กาํ หนดให โดยแบงผูเขารบั การฝก อบรมออกเปน 5 กลมุ เสร็จแลว สง ผแู ทนนาํ เสนอดังตัวอยางทปี่ รากฏผล ดงั น้ี กรณศี กึ ษา โจทย กรมการพัฒนาชุมชน สนบั สนนุ งบประมาณใหอาํ เภอศรีวไิ ล ดําเนนิ งานตามโครงการพัฒนาพน้ื ท่ี ตน แบบการพฒั นาคุณภาพชวี ติ ตามหลักทฤษฎใี หมป ระยุกตสู “โคก หนอง นา โมเดล” โดยมรี ายละเอียด ดังนี้ ที่ รายละเอียด จํานวน หนว ย x ราคา จํานวนเงนิ 1 กิจกรรมท่ี 2 สรางพ้ืนที่เรียนรูช ุมชนตนแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิต (Community Lab Model forquality of Lift : CLM) ระดบั ตําบล และพฒั นาพ้ืนทคี่ รัวเรอื นตนแบบการพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ

16 (Household Lab Model quality of life: HLM) 1.1 งบลงทนุ (คาทดี่ นิ และส่ิงปลูกสรา ง) - คา ท่ีดนิ และสิ่งกอสราง พ้นื ท่ี 1 ไร 10 แปลง x 45,200 452,000 (ปริมาตรดินขุด 1,500 ลกู บาศกเ มตร 1.2 งบลงทุน (คา ท่ีดนิ และส่งิ ปลูกสรา ง) 10 แปลง x 693,000 6,930,000 - คาท่ดี ินและสิ่งกอ สรา ง พื้นที่ 10 ไร (ปริมาตรดนิ ขดุ 19,200 ลูกบาศกเมตร 2 กจิ กรรมท่ี 4 กระตุนการบรโิ ภคภาครัฐและเอกชน ผา นกิจกรรมการพัฒนาและสนบั สนุนพน้ื ท่ี ครวั เรอื นตนแบบการพฒั นาคณุ ภาพชีวติ (Household Lab Model quality of life: HLM) ระดบั ครัวเรอื น 2.1 งบดาํ เนินงาน (คาวสั ดุ) - คา วัสดอุ ุปกรณต าง ๆ (ที่ไมใชค รุภัณฑ) 10 แปลง x 20,000 200,000 สําหรบั ฝก ปฏิบัตริ วมกนั ในแปลงของ ครัวเรือน เพอื่ การเรยี นรู 2.2 งบดําเนินงาน (คา วัสดุ) - คา วัสดุอุปกรณต าง ๆ (ท่ีไมใชครุภณั ฑ) 30 แปลง x 20,000 600,000 สาํ หรับฝก ปฏบิ ตั ิรว มกนั ในแปลงของ ครวั เรือน เพอื่ การเรียนรู ใหจัดทาํ 1. จดั ทํารางขอบเขตของงาน (Terms of Reference : TOR) ตามโจทย ทัง้ 2 กจิ กรรม 2. ดาํ เนินการจดั ซ้ือจัดจา งตามขั้นตอนและระเบียบกระทรวงการคลงั วา ดว ยการจดั ซอื้ จดั จา งและ การบริหารพสั ดภุ าครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐ (โดยวิธเี ฉพาะเจาะจง และวธิ ี e-bidding) ************* การจดั ทํารางขอบเขตงาน (Terms of Reference : TOR) รนุ ที่ 1 กลุมที่ 1(1 ไร)

17 ชื่อโครงการ สรางพืน้ ทีเ่ รยี นรชู ุมชนตนแบบการพัฒนาคณุ ภาพชวี ิต (Community Lab Model for quality of life : CLM) ระดบั ตาํ บล และพัฒนาพ้ืนท่ีครัวเรอื นตนแบบการพัฒนาคุณภาพชวี ิต (Household Lab Model for quality of life : HLM) 1. หลกั การและเหตุผล กรมการพัฒนาชุมชนดําเนินโครงการการพัฒนาพื้นที่ตนแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักทฤษฎี ใหมประยุกตสู “โคก หนอง นา โมเดล” ภายใตแผนงานฟนฟูเศรษฐกิจและสังคมของประเทศท่ีไดรับ ผลกระทบจากการระบาดของโรคโควิค-19 เพ่ือสรางงานสรางรายไดใหกับพี่นองประชาชนดวยหลักเกษตร ทฤษฎีใหม สราง ความมั่งคงทางอาชีพและรายไดอยางยั่งยืน ครบคลุม 2,246 ตําบล 24,842 ครัวเรือนท่ัวประเทศ ซ่ึงมีการ กําหนดกิจกรรมการสรางพื้นที่เรียนรูชุมชนตนแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับครัวเรือนอําเภอศรีวิไล จํานวน 10 แปลง ๆ ละ 1 ไร งบประมาณ 45,200 บาท/ไร เปนเงินทั้งส้ิน 452,000 บาท (สี่แสนหาหมื่นสอง พนั บาทถว น) 2. วตั ถุประสงค 2.1 เพ่ือสงเสรมิ อาชพี และสรา งงานสรางรายได 2.2 เพ่ือสงเสรมิ ใหเปน พนื้ ที่เรียนรูต น แบบการพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ ตามหลกั ทฤษฎีใหมประยกุ ตสู “โคก หนอง นา โมเดล” 3. ประโยชนท่ีคาดวาจะไดร บั 3.1 มแี หลงเรียนรูต ามหลักทฤษฎีใหม “โคก หนอง นา โมเดล” กระจายอยทู กุ พื้นที่ สามารถเปน ตนแบบในการบริหารจดั การพืน้ ที่อยา งมปี ระสทิ ธิภาพ 3.2 กลุมเปาหมายทีเ่ ขา รว มโครงการมรี ายไดเ พ่ิมขน้ึ 4. ขอบเขตงาน จา งเหมาขดุ ดนิ และปรับสภาพพืน้ ท่ี มีขนาดกวาง ยาว ลึก ตามแบบในภาคผนวก โดยมีปริมาตรดนิ ขดุ รวมไมน อ ยกวา 1,500 ลูกบาศกเมตร 5. ระยะเวลาดําเนนิ การ 15 วัน 6. พ้นื ท่ดี ําเนินการ บานเลขท่ี 26 หมู 16 ตําบลนาสวย อําเภอศรีวิไล จังหวัดศรวี ไิ ล 7. งบประมาณ (งบก)ู 2564 : 45,200 บาท 8. การสง มอบงาน 15 วนั นับถดั จากลงนามในสัญญา 9. คา จา งและการจา ยเงนิ 1 งวดงาน/1 งวดเงิน เบกิ จา ย 100 % ตองมีการสง มอบงานถูกตองและครบถว น 10. ขอ สงวนสิทธิ์ของผวู าจา ง ยกเลิกสัญญาจา ง กรณีผรู ับจา งไมป ฏบิ ตั ิตามสญั ญาจา ง 11. คณุ สมบตั ขิ องผูรบั จาง 11.1 เปน นติ ิบุคคลหรือบคุ คลธรรมดา เปน ผมู ีอาชพี รับจา ง

18 11.2 ไมเ ปนบุคคลลม ละลาย 11.3 ไมเ ปนผทู ้ิงงาน 11.4 นําเสนอรูปแบบงานที่วาจา ง เปน ลายลักษณอกั ษร 12. ความรับผดิ ชอบของผรู ับจาง - ดําเนนิ การใหแ ลว เสรจ็ ตามระยะเวลาทกี่ ําหนดในสญั ญา - กรณเี กดิ ความเสยี หายใหผ รู ับจา งดําเนนิ การแกไ ขภายใน 7 วนั หลงั จากไดร ับแจง 13. การบริการหลังการสง มอบ - 14. การับประกันและการบํารุงรกั ษา - 15. หนา ทข่ี องผูว าจา ง 15.1 การบรกิ ารรปู แบบแปลน โคก หนอง นา โมเดล ใหก ับผูร ับจา ง 15.2 ลงพ้ืนที่ชี้จุดดําเนินการใหแ กผรู ับจา ง กลมุ ที่ 2 (3 ไร) ชอ่ื โครงการ พฒั นาพื้นทต่ี นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลกั ทฤษฎีใหมป ระยกุ ตสู “โคก หนอง นา โมเดล” 1. หลักการและเหตุผล จากสถานการณปจจุบันประเทศไทยตองเผชิญกับผลกระทบจากวิกฤตการแพรระบาดโรคโควิค -19 ทางออกของประเทศไทยในการรอดพน วกิ ฤตและเกิดการพฒั นาท่ียั่งยืนไดถ ูกกําหนดไวในยุทธศาสตรชาติและ นโยบายรัฐบาล กระทรวงมหาดไทย มอบหมายใหก รมการพัฒนาชุมชนนอมนําหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มาเปนหลกั ในการสงเสริมกระบวนการเรยี นรแู ละการมสี วนรวมของประชาชน กรมการพัฒนาชุมชน รวมกับมูลนิธิกสิกรรมชาติฯ นอมนําปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงลงสูการ ปฏบิ ตั ิอยางเปนขนั้ ตอน ในรูปแบบ “โคก หนอง นา โมเดล” 2. วัตถุประสงค 1. สง เสรมิ การเรียนรูการนอมนําหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งประยกุ ตส กู ารปฏบิ ัติ โคก หนอง นา โมเดล 2. เพ่อื พฒั นาพนื้ ทีเ่ รียนรูชมุ ชนตน แบบ โคก หนอง นา โมเดล 3. เพื่อฟน ฟเู ศรษฐกจิ ทอ งถ่นิ และชมุ ชนทีไ่ ดรบั ผลกระทบจากโรคโควิค-19 3. ผลทีค่ าดวาจะไดรบั 1. มีพน้ื ทเ่ี รียนรูตนแบบ 2. มคี รวั เรือนตน แบบการพฒั นาคุณภาพชวี ิต 3. เกดิ การสรา งงานสรา งรายได

19 4. ขอบเขตการจา งพ้ืนที่ 3 ไร ขดุ บอ จํานวน 3 บอ ใหมีปริมาตรดนิ ไมน อยกวา 4,500 ลูกบาศกเ มตร (ตามรปู แบบผงั และ รายละเอียดแนบทา ย) 5. ระยะเวลาดําเนนิ การ ภายใน 30 วัน นับถดั จากวันทาํ สัญญา 6. งบประมาณ จาํ นวน 135,600 บาท 7. การสง มอบงาน จาํ นวน 1 งวดงาน พรอ มเกล่ียตกแตงคันดนิ ใหเหมาะสมตามสภาพพน้ื ท่ี 8. คาจา งและการจายเงิน จาํ นวน 1 งวด ๆ สดุ ทายรอ ยละ 100 ของคาจา งตามสญั ญาจางงาน 9. การขยายสัญญาจาง กรณีเกดิ จากภัยธรรมชาติ ไดแ ก นํา้ ทว มพนื้ ท่ดี าํ เนินการ/ฝนตกหนกั 10. ขอ สงวนสิทธิ์ผูวา จา ง - 11. คณุ สมบตั ผิ ูร ับจาง 1. เปนนิติบคุ คลหรือบุคคลธรรมดา 2. ไมท้งิ งาน 3. ไมเปน บุคคลลมละลาย 4. ไมเปน ผูมีผลประโยชนรว มกนั กับผูป ระสงคจ ะเสนอราคารายอืน่ ฯลฯ 12. ความรบั ผิดชอบผรู ับจาง/การบริการหลังการสง มอบ/การรับประกนั 1. หากเนอ้ื งานเกดิ ความเสยี หาย ใหผรู ับจา งดําเนนิ การแกไ ขใหอยูในสภาพเดมิ ภายในระยะเวลา 30 วนั นบั แตว ันตรวจรบั งาน 2. ผรู ับจางตอ งเขา มาดาํ เนินการแกไ ขภายใน 7 วัน นบั ตง้ั แตว นั ทีไ่ ดรับหนังสือแจงจากผวู าจา ง 13. หนาท่ผี วู าจาง ตดิ ตามสนบั สนุน ใหขอมูลในการดําเนินงานตามโครงการแกผูรบั จา ง กลมุ ท่ี 3(1 ไร) ชือ่ โครงการ พัฒนาพืน้ ท่ีตน แบบการพัฒนาคณุ ภาพชีวติ ฯ กจิ กรรมที่ 2 1. หลกั การและเหตุผล/ความเปน มา: ตามที่กรมฯ กาํ หนด 2. วตั ถปุ ระสงค 1. เพ่ือพฒั นาพนื้ ทใ่ี หเปนแหลงบริหารจัดการนาํ้ ทีย่ งั่ ยนื ตามภูมิสังคม 2. เพื่อพฒั นาคุณภาพชีวิตครวั เรอื นตน แบบ 3. เพอื่ พัฒนาเปนแหลงเรยี นรูการบรหิ ารจดั การนา้ํ ตามแนวทาง โคก หนอง นา โมเดล 3. ประโยชนท ี่คาดวา จะไดร บั

20 1. มพี นื้ ท่ีทเี่ ปน แหลงบริหารจดั การน้าํ ทย่ี ง่ั ยนื 2. ครวั เรือนตน แบบมีคณุ ภาพชวี ติ ทด่ี ีข้นึ 3. มีศูนยเ รยี นรูครวั เรอื นตนแบบตามแนวทาง โคก หนอง นา โมเดล 4. ขอบเขตการจาง 1. ขุดดนิ ตามแบบแปลนปรมิ าตรดนิ 1,500 ลูกบาศกเ มตร (พนื้ ที่ 1 ไร) รายละเอยี ดแนบทาย 2. ปรบั พน้ื ท่ี เกลยี่ นตกแตงตามแบบแปลน โดยนําดินทีข่ ดุ มาเปนดินสําหรบั ปรบั พื้นท่ี 5. ระยะเวลาดาํ เนินการ ภายใน 7 วนั นบั ถดั จากวนั ลงนามในสัญญาจา ง 6. งบประมาณ วงเงนิ 45,200 บาท 7. การสงมอบงาน: ภายในวนั ที่............เดอื น.....................พ.ศ. ....... (นบั จากวนั ทที่ าํ สญั ญา) 8. คาจา งและการจา ยเงนิ : 1 งวดงาน หลังจากงานแลวเสร็จและตรวจรบั 9. การขยายสัญญาจา ง: การขยายระยะเวลากรณเี กดิ เหตุสุดวสิ ัย ทีไ่ มสามารถดาํ เนินงานใหแ ลวเสร็จตาม สญั ญา (อุทกภัย, ภยั พบิ ัติ) ตอ งแจง เหตุภายใน 5 วัน 11. คณุ สมบัติผูรับจา ง 1. บคุ คลธรรมดา 2. นิตบิ ุคคล 3. ไมเปนผทู ง้ิ งานตามประกาศ 12. ความรบั ผิดชอบผรู บั จา ง ความเสยี หายท่เี กดขึน้ นอกเหนอื จากท่ีกําหนดไวใ นการจาง ผรู บั จางตอ งชดใชคาเสยี หายทเี่ กดิ ข้นึ 13. หนา ทีข่ องผูรับจา ง แตงตั้งผูค วบคุมงาน เพ่ือรายงานความกา วหนา การดาํ เนนิ งานใหผ วู า จา งทราบ กลมุ 4 (3 ไร) ช่ือโครงการ พัฒนาพ้ืนท่ีตนแบบการพฒั นาคณุ ภาพชีวิตตามหลกั ทฤษฎใี หป ระยุกตสู โคก หนอง นา โมเดล พ้ืนที่ นายสมโคก โมเดล หมทู ี่ 1 ตาํ บลหนองนา อาํ เภอศรีวไิ ล จงั หวดั ศรสี ะเกษ 1. ความเปน มา กรมการพฒั นาชมุ ชนไดม ีนโยบายขบั เคลื่อนโครงการพัฒนาพ้นื ท่ีตนแบบการพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ตาม หลักทฤษฎใี หมประยุกตส ู โคก หนอง นา โมเดล เพอื่ เปน แนวทางแกไ ขใหรอดพนและสามารถดาํ รงอยไู ดอยาง ม่นั คงและย่งั ยนื ภายใตกระแสโลกาภิวัฒนและความเปลีย่ นแปลงตา ง ๆ ของโลกอยตู ลอดเวลา 2. วตั ถปุ ระสงค 1. เพื่อสง เสรอมการเรยี นรูการนอมนาํ หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงประยุกตสกู ารปฏบิ ัติใน รปู แบบโคก หนอง นา โมเดล 2. เพอ่ื พัฒนาพน้ื ท่ีเรียนรชู มุ ชนตน แบบโคก หนอง นา โมเดล 3. เพอ่ื ฟนฟเู ศรษฐกจิ ทอ งถ่นิ และชุมชนผา นการสรา งงานสรางรายได

21 3. ประโยชนท ีค่ าดวาจะไดรบั 1. ชมุ ชนมีศนู ยเ รยี นรตู นแบบดวยหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง จาํ นวน 1 แปลง 2. สรา งความมน่ั คงทางดานอาหารใหกับชุมชน 3. เพ่อื เพมิ่ พน้ื ทปี่ ลกู ปาตามแนวพระราชดาํ ริ ปา 3 อยา ง ประโยชน 4 อยาง 4. ขอบเขตการจา ง 1. ขุดตามแปลนตามแบบท่ีแนบ (ปรมิ าตรดินขดุ 4,500 ลูกบาศกเมตร) 2. ปรบั พื้นท่บี ริเวณโดยรอบตามแบบท่แี นบ 5. ระยะเวลาดาํ เนินการ วนั ท่ี 1 – 30 ตลุ าคม 2563 6. งบประมาณ 135,600 บาท 7. การสงมอบงาน ภายใน 30 วนั 8. คาจา งและการจา ยเงนิ จา ยเงนิ 1 งวด จากงบเงนิ กูฯ ป 2564 เมื่อไดร ับงบประมาณ - เมือ่ ผรู ับจา งไดส งมอบงานและคณะกรรมการไดตรวจรับงานเรียบรอ ยแลว 9. การขยายเวลาสัญญาจาง ผรู บั จางตองแจง เปนหนงั สือตอ คณะกรรมการในกรณเี หตุฉุกเฉินไมส ามารถสง มอบงานตามระยะเวลา ทก่ี ําหนดได ท้ังนี้การขยายระยะเวลาขนึ้ อยกู ับดุลพนิ ิจของคณะกรรมการตรวจรับ 10. ขอ สงวนสิทธ์ขิ องผูวา จา ง - 11. คณุ สมบตั ิผูรบั จา 1. ตามระเบียบมาตรา 64 2. บคุ คลธรรมดาหรือนิติบุคคล 3. เปนผมู ีอาชีพตรงตามกจิ กรรมโครงการและตามระเบียบ มาตรา 64 12. ความรับผดิ ชอบของผูรับจาง ภายใน 15 วัน หลังตรวจรบั คณะกรรมการตรวจรับงานจา งแลว มปี ญ หาในภายหลังผูรบั จา งตอ ง ดําเนนิ การแกไข ภายใน 7 วนั ใหกลับคืนในสภาพเดิม 13. การบรกิ ารหลังการสง มอบ - 14. การรบั ประกนั และการบํารุงรกั ษา ภายใน 15 วนั และแกไ ขภายใน 7 วัน 15. หนา ทีข่ องผวู า จาง - ดําเนินการวา จา งตามขอบเขตงาน/กาํ กับตามระยะเวลาที่กาํ หนด - ดาํ เนนิ การเบิก-จาย ตามงบประมาณ กลมุ ท่ี 5 (10 ไร)

22 ชอื่ โครงการ พฒั นาพ้ืนทต่ี น แบบการพฒั นาคุณภาพชีวติ ตามหลักทฤษฎีใหมป ระยุกต “โคก หนอง นา โมเดล” 1. หลกั การและเหตผุ ล กรมการพัฒนาชุมชน ไดร ับการจัดสรรงบประมาณ (เงินกู) เพ่ือพัฒนาพื้นที่ตนแบบทฤษฎีใหมของใน หลวงรัชกาลที่ 9 ประยุกตสู “โคก หนอง นา โมเดล” ใหประชาชนทุกหมูบาน ๆ ละ 1 ครัวเรือน ดําเนินการ เปนแบบอยางในการบรหิ ารจัดการพ้ืนที่ใหเหมาะสมกับสภาพภูมิสังคมของแตละบุคคล โดยเฉพาะอยางย่ิง ในชว งสถานการณโ ควิค 19 2. วัตถปุ ระสงค 1. เพ่อื สงเสรมิ การเรยี นรูการนอ มนาํ หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งประยกุ ตสกู ารปฏิบตั ิ รูปแบบ โคก หนอง นา โมเดล ดว ยการพัฒนาพ้นื ท่เี รยี นรคู รัวเรือนตน แบบระดบั ครวั เรอื น 2. เพือ่ จัดการพน้ื ทก่ี ารทําเกษตรในรปู แบบใหม โดยมีเปา หมายการพงึ่ ตนเอง 3. เพ่อื เปนแนวทางในการจัดการบรหิ ารทรัพยากรใหไดอยางมปี ระสทิ ธภิ าพ 3. ขอบเขตงาน 1. ขุดลอกดนิ ตามแบบแปลน (เอกสารแนบ 1) ใหไดปริมาตรดินขุดไมนอ ยกวา 19,200 ลูกบาศกเ มตร 2. ปรับพื้นทด่ี นิ สาํ หรบั การดําเนนิ การตามโครงการ 4. ระยะเวลาดาํ เนินการ ไมเ กนิ 90 วัน นับแตลงนามในสัญญา 5. งบประมาณ งบเงนิ กู วงเงนิ 693,000 บาท 6. การสง มอบงาน 1 งวดงาน 7. คาจา งและการจา ยเงิน งานจา งเสรจ็ สิน้ และมคี วามถูกตอ ง ครบถว นในอตั รารอยละ 100 8. ขอ สงวนสิทธิข์ องผูวาจา ง ผรู ับจา งไมสามารถนําแบบแปลนไปดาํ เนนิ การในพ้ืนท่ีอ่ืน นอกเหนือพ้ืนท่ีดําเนินการของผวู าจา ง 9. คณุ สมบตั ิผูวา จาง 1. มีความสามารถตามกฎหมาย 2. ไมเปนบุคคลลม ละลาย 3. ไมอยรู ะหวางเลกิ กจิ การ 4. เปน ผูมีอาชพี รับจา ง งานทีป่ ระกวดราคาดว ยวธิ ีการทางอิเล็กทรอนิกส 5. ผูเ สนอราคาจะไมต อ งเปนผูที่ถูกระบุชือ่ ไวใ นบญั ชีรายชอื่ ผทู งิ้ งานทางราชการ 6. ผเู สนอราคาจะไมเปน ผทู ่ีมผี ลประโยชนร วมกนั กับผปู ระสงคเ สนอราคารายอ่นื 10. ความรับผิดชอบของผรู ับจา ง

23 ผูรบั จา งจะตอ งปฏิบตั ิหนา ท่ขี องตนใหเ ปนตามขอกาํ หนด ขอบเขตของงานและพนั ธสัญญาใหบ รรลุ วตั ถุประสงคของโครงการ 11. การรบั ประกนั และการบํารุงรักษา 30 วัน นบั จากวันสงมอบงาน หากเกิดการชํารดุ บกพรอง ผูรบั จางตองดําเนนิ การแกไข ภายใน 15 วัน นับจากวนั ทไ่ี ดรับแจงเปน หนงั สือจากผูรบั จาง รนุ ที่ 2 กลมุ ท่ี 1 (3 ไร) 1. หลกั การและเหตผุ ล ตามท่ีกรมการพัฒนาชุมชนจดั สรรงบประมาณโครงการพฒั นาพืน้ ทีต่ น แบบการพฒั นาคณุ ภาพชีวติ ตามหลักทฤษฎใี หมประยุกตสูโ คก หนอง นา โมเดล กิจกรรมท่ี 2 (ขุด) 2. วัตถุประสงค เพ่ือปรบั สภาพพน้ื ท่ใี หม คี วามเหมาะสมตามภูมสิ งั คมในการใชป ระโยชนส งู สุดสาํ หรับครวั เรอื น 3. ประโยชนท่คี าดวาจะไดร บั 1. ครวั เรือนมีพืน้ ที่สําหรับกกั เกบ็ นาํ้ ไวใ ชห นา แลง หรอื จาํ เปนและฤดนู ้าํ หลาก (หลุมขนมครก) และ คลองใสไ ก หรอื คลองระบายน้ําเพ่อื เพ่มิ ความชมุ ชืน้ ลดพลงั งานในการรดนา้ํ ตน ไม 2. ครวั เรือนมพี ้นื ที่ (โคก) ไวป ลูกพชื 3 อยาง ประโยชน 4 อยา ง (ไม 5 ระดับ) 4. ขอบเขตการจา ง - พนื้ ทค่ี รัวเรือนเปาหมาย นางสาวชรญั ดา คาํ นนั ดา 415 หมู 2 ตําบลนาคาํ อําเภอศรีเมอื งใหม จงั หวัดอุบลราชธานี พนื้ ทจี่ ํานวน 3 ไร - ปริมาตรดินขุด ไมน อยกวา 4,500 ลกู บาศกเมตร 5. ระยะเวลา ระยะเวลา 30 วนั ระหวางวันท่ี 1 มกราคม 2564 ถึงวันที่ 30 มกราคม 2564 6. งบประมาณ จํานวน 135,600 บาท (หนึ่งแสนสามหมน่ื หาพนั หกรอยบาทถวน) 7. การสง มอบงาน สง งาน 1 งวด เมือ่ งานแลวเสรจ็ สมบรู ณ 8. คา จางและการจา ยเงิน จายเมื่อคณะกรรมการตรวจรบั เรยี บรอยแลว (100 %) 9. การขยายเวลาสัญญาจาง

24 ในกรณที ่เี กิดเหตสุ ดุ วิสยั ทไี่ มไดเ กดิ จากขอ บกพรองของผรู ับจา ง โดยใหอ ยูในดลุ ยพนิ จิ ของ คณะกรรมการตรวจรบั งานจา ง 10. ขอ สงวนสทิ ธข์ิ องผูวา จาง ผจู างขอยกเลกิ สัญญาได ในกรณที ี่ผรู บั จางไมทําตามขอตกลงในสญั ญา 11. คุณสมบตั ผิ รู ับจา ง 1. บคุ คลทัว่ ไปหรือนิติบุคคล ท่มี ีอาชพี รบั จา งขดุ ดนิ 2. ไมเ ปนบคุ คลผูทิ้งงานตามประกาศของทางราชการ 12. ความรับผิดชอบของผรู ับจา ง 1. ตอ งปฏบิ ัติตามสญั ญาจา ง โดยตองใชค วามรู ความเชย่ี วชาญทางเทคนิคอยา งดีทีส่ ุด 2. หลังจากสน้ิ สุดสญั ญาแลว ผรู บั จางพรอมทจี่ ะใหความชวยเหลอื แกผูวา จา ง ใหเหมาะสมกับความ ตอ งการ 3. เม่ือเกดิ ความเสียหายภายหลงั 13. การบรกิ ารหลังการสง มอบ ผรู ับจางตอ งรบั ผิดชอบกรณีท่ีเกดิ ความเสียหายในระยะเวลา 1 ป 14. การรบั ประกันและบาํ รุงรักษา ผรู บั จา งตอ งรบั ประกันและสนับสนนุ และบํารงุ รกั ษา ตลอดโครงการระยะเวลา 1 ป นับจากวนั สง มอบงานเรยี บรอยแลว 15. หนา ท่ขี องผวู าจา ง 1. ใหค วามรว มมอื และใหความชว ยเหลือตามสมควร 2. ใหขอมลู เอกสารตา ง ๆ เทาท่ีมีอยูในครอบครองของผูวาจา ง กลมุ ที่ 2 (3 ไร) 1. หลกั การและเหตุผล “โคก หนอง นา โมเดล” เปนโมเดลตนแบบท่ใี ชในการจัดการพนื้ ท่ที ี่เหมาะสมกับารเกษตรใหเ กดิ ประโยชนส งู สดุ เปนการผสมผสานหลักทฤษฎีใหมเขากับภูมปิ ญ ญาพ้นื บานทอ่ี ยอู ยางสอดคลองกบั ธรรมชาติ และภมู ิสังคมของพืน้ ทนี่ ้นั ๆ เปน การใหธ รรมชาตจิ ัดการตัวเอง โดยมมี นุษยเปนผสู งเสรมิ ใหส าํ เรจ็ กรมการพฒั นาชมุ ชน ไดร ับการจดั สรรงบเงนิ กู เพือ่ ดาํ เนนิ การตามโครงการพฒั นาพน้ื ทต่ี น แบบการ พฒั นาคุณภาพชวี ิตตามหลกั ทฤษฎใี หม ประยุกตสูโคก หนอง นา โมเดล เพื่อใหประชาชน พออยู พอกนิ พอใช พอรมเย็น โดยดําเนินการในระดบั ครวั เรือน พ้นื ที่ 3 ไร 2. วัตถุประสงค 1. เพือ่ พัฒนาพ้ืนท่ตี นแบบและครวั เรือนตน แบบพฒั นาคุณภาพชีวติ ตามหลกั ทฤษฎใี หมร ูปแบบ ประยุกต “โคก หนอง นา โมเดล” 2. เพื่อสรา งงานสรา งรายไดในชวงวกิ ฤตการแพรร ะบาดของไวรสั โคโรนา

25 3. ประโยชนท ค่ี าดวา จะไดร บั 1. มีศนู ยเ รยี นรูตามหลกั ทฤษฎีใหม โคก หนอง นา โมเดล กระจายอยทู ุกพื้นที่ สามารถเปน ตนแบบ ในการบริหารจัดการพ้ืนที่อยางมีประสิทธภิ าพ 2. กลุมเปา หมายทเ่ี ขา รวมโครงการมรี ายไดเ พม่ิ ขึ้น 4. ขอบเขตการจาง 1. ดําเนนิ การในพนื้ ทบ่ี านหนองสะโน หมทู ่ี 4 ตําบลโคกชาํ แระ อาํ เภอทงุ ศรอี ุดม จงั หวดั อบุ ลราชธานี พืน้ ท่ีแปลง 3 ไร ของนายอุทยั โคจร 2. ปรับพนื้ ทีจ่ ํานวน 3 ไร ปรมิ าตรดนิ ขุด ไมนอ ยกวา 4,000 ลูกบาศกเ มตร ตามแบบแปลนแนบทาย TOR 2.1 โคก – คูคันนา – พ้นื ทป่ี ลูกตนไม 2.2 หนอง – ขดุ สระ, ครองใสไก, หลมุ ขนมครก 2.3 นา – ปรับท่ีนา 5. ระยะเวลาดําเนนิ การ ระหวา งวนั ที่ 1 ตลุ าคม 2563 ถงึ 30 พฤศจกิ ายน 2563 (60 วัน) 6. งบประมาณ จากกรมการพฒั นาชุมชน (งบเงินก)ู จาํ นวน 135,000 บาท 7. การสงมอบงาน สงมอบงานภายในระยะเวลาทก่ี ําหนดหรอื กอนสิ้นสดุ สัญญา (60 วนั ) 8. คา จางและการจายเงิน จาย 1 งวด เมอื่ มกี ารสงมอบและตรวจรับงานเสรจ็ เรยี บรอย 9. การขยายเวลาสญั ญาจาง ผวู า จา งจะขยายเวลาสัญญาจา งใหในกรณเี กิดเหตสุ ุดวิสยั /เหตเุ กดิ จากความผดิ หรือความบกพรอ ง ของสวนราชการ 10. ขอ สงวนสิทธข์ิ องผวู าจา ง แบบแปลน แผนผงั ผรู บั จา งไมสามารถนาํ ไปดาํ เนนิ การหรือขยายผลได 11. คุณสมบตั ขิ องผรู ับจาง 1. เปน บุคคลธรรดาหรือนิติบคุ คล ทีเ่ ก่ยี วของกบั การดาํ เนินงานตามโครงการฯ 2. มีหวั หนา ในการบริหารจดั การโครงการ 1 คน เปนผมู ปี ระสบการณต ามโครงการ 12. ความรับผดิ ชอบของผูร ับจาง 1. ผูรับจา งจะตอ งปฏิบัติหนาทใ่ี หเ ปน ไปตามขอกําหนดขอบเขตงานและพันธะตามสัญญา 2. ผรู บั จา งตองวิเคราะหและนําเสนอรายละเอียดในแตล ะข้ันตอนของการทํางาน

26 3. หลงั จากสิ้นสดุ อายุสญั ญาจา งแลว ผรู ับจา งพรอมทจ่ี ะชวยใหคาํ ปรึกษาแกผูวา จา ง 13. การบรกิ ารหลงั การสง มอบงาน ผรู ับจา งตอ งใหการบกิ ารหลงั การสงมอบระบบทั้งหมดตลอดอายุการรับประกัน 14. การรบั ประกันและบาํ รุงรกั ษา ผรู ับจา งจะตอ งรบั ประกัน บํารงุ รักษาโครงการเปน ระยะเวลา 180 วัน นับจากวนั ทผี่ ูวา จา งไดตรวจ รับการสง มอบงาน 15. หนา ที่ของผูรับจาง 1. ใหความรว มมือและใหความชวยเหลือ เพ่ือใหการปฏิบัติงานสะดวก รวดเรว็ 2. ใหข อมูลเอกสารตา ง ๆ เทา ทม่ี ีอยู ครอบครองของผูร ับจาง 3. ประสานกับหนว ยงานท่ีเกี่ยวขอ ง กลมุ ท่ี 3 (TOR : โคก หนอง นา โมเดล 1 ไร) 1. ความเปนมา เน่ืองจากสถานการณว ิกฤต COVID-19 สงผลกระทบตอเศรษฐกิจของประเทศในภาพรวมและความ เปน อยูของประชาชนในชนบท โดยนอมนําศาสตรพ ระราชาของในหลวงรัชกาลท่ี 9 ใหแนวทางแกปญหาไววา เศรษฐกิจพอเพียงและทฤษฎีใหม ซึ่งทั้งสองอยางนี้ จะทําความเจริญใหประเทศรอดพนจากวิกฤตและไปสู ยุทธศาสตรชาติ 20 ป โดยเรียนรูจากตัวอยางท่ีสอดคลองกับภูมิสังคม ดวยการลงมือปฏิบัติดวยตนเอง เกิด ทักษะและปรับเปล่ียนพฤติกรรมผานโครงการพัฒนาพ้ืนท่ีตนแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามทฤษฎีใหม ประยุกตส ูโ คก หนอง นา โมเดล 2. วัตถปุ ระสงค 1. เพือ่ สง เสรมิ การเรียนรู การนอมนําหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ประยกุ ตสกู ารปฏบิ ตั ใิ น รูปแบบ “โคก หนอง นา โมเดล” 2. เพ่ือพฒั นาพืน้ ทเ่ี รยี นรูชมุ ชนตนแบบ “โคก หนอง นา โมเดล” ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจ พอเพียงระดบั ครวั เรอื นและฟน ฟเู ศรษฐกิจทอ งถนิ่ สรางงาน สรางรายได 3. ประโยชนท ่คี าดวา จะไดรบั 1. เกิดพ้นื ที่เรียนรูช มุ ชนตนแบบการพฒั นาคณุ ภาพชีวติ และเกดิ ครัวเรอื นตน แบบการพฒั นาคณุ ภาพ ชีวิต 2. เกดิ การสรางงาน สรา งรายไดแ กเ กษตรกร บณั ฑติ กลมุ แรงงานอพยพกลบั ทอ งถิน่ ท่ไี ดร ับ ผลกระทบ COVID 2019 3. กลมุ เปา หมายสามารถเปน แกนนําขับเคลอ่ื นการนอมนาํ หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งและ ทฤษฎใี หมประยกุ ตส โู คก หนอง นา โมเดล ในพ้ืนทไ่ี ด 4. ขอบเขตการจาง

27 1. ดําเนนิ การในพนื้ ท่บี าน นาย ก เลขท่ี 48 หมูท่ี 1 บา นเกษม ตาํ บลเกษม อาํ เภอตระการพชื ผล จังหวัดอบุ ลราชธานี จาํ นวนพน้ื ท่ี 1 ไร 2. จดั จา งสรางพนื้ ที่ครัวเรอื นตนแบบการพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ ขนาดพืน้ ท่ี 1 ไร ปรมิ าตรดนิ ขุดท้ังหมด 1,500 ลูกบาศกเ มตร 3. ดําเนินการปรับปรงุ พฒั นาสภาพแวดลอ มตามแบบมาตรฐาน โคก หนอง นา โมเดล (ตามแบบ แปลนที่กําหนด) :รายละเอียดแนบทา ย 5. ระยะเวลาดาํ เนินการ ดาํ เนินการไมเ กิน 15 วัน นบั ถัดจากวนั ลงนามในสญั ญาจา ง 6. งบประมาณ ในการขดุ หนอง และ/หรือคลองใสไก งบประมาณ 45,000 บาท จาํ นวน 1,500 ลกู บาศกเ มตร ๆ ละ 30 บาท เปน เงิน 45,000 บาท 7. การสง มอบงาน จํานวนงวดในการสงมอบงาน สงมอบงวดที่ 1 (งวดเดียว) งวดสุดทาย เปนเงินรอย 100 % ของ คา จา งตามสัญญาจา ง ไดดาํ เนินการขดุ ลอกตะกอนดนิ ไดป รมิ าณไมนอ ยกวา 1,500 ลกู บาศกเมตร พรอมเกล่ีย ตกแตง คนั ดีใหเ หมาะสม ตามสภาพพนื้ ที่ รวมระยะเวลาดําเนนิ การไมเกนิ 15 วัน นบั ถดั จากวันทท่ี ําสญั ญาจา ง 8. คาจางและการจายเงนิ จาํ นวน 1 งวดงาน 9. การขยายเวลาสญั ญาจา ง กรณเี กดิ ภัยพบิ ตั ิ ฯลฯ 10. ขอสงวนสิทธ์ขิ องผวู า จา ยกเลิกสัญญาจาง ในกรณที ่ีผรู บั จา งไมปฏิบัตติ ามสญั ญาจา ง 11. คณุ สมบัติผูรับจาง 1. เปนบุคคลธรรมดา และมีอาชพี รบั จา งประเภทขุดดนิ มีหรือสามารถจดั หาเครื่องจักรกลสําหรบั ขุดดิน 2. มคี ุณสมบตั ติ าม มาตรา 64 (ไมเ ปนบคุ คลลม ละลาย) 3. ไมเปนผูท้งิ งาน 4. นําเสนอรปู แบบงานเปน ลายลกั ษณอกั ษร (ตามรูปแบบท่ีผวู า จา งกาํ หนด) 12. ความรับผดิ ชอบผรู ับจาง ดําเนินการตามขอบเขตงานในสัญญาจา ง ใหแ ลวเสร็จภายในระยะเวลาที่กาํ หนด 13. การบรกิ ารหลังการสง มอบ หากพ้ืนท่มี คี วามเสียหาย ผรู บั จางจะตอ งดําเนินการแกไ ขใหท ันที เมอ่ื ไดรับแจงจากผวู าจางและแลว เสรจ็ ตามระยะเวลาทีก่ าํ หนด 14. การบั ประกนั และการบํารงุ รักษา

28 ผรู ับจา งจะตองรบั ประกนั งานทด่ี ําเนินการเปน เวลา 1 ป 15. หนา ทีข่ องผวู าจา ง อํานวยความสะดวกในการปฏิบตั ิงาน กลมุ ท่ี 4 (พ้ืนท่ี 1 ไร) 1. หลักการและเหตผุ ล ตามทกี่ รมการพฒั นาชมุ ชน ไดจดั สรรงบประมาณโครงการพัฒนาพืน้ ท่ีตนแบบการพฒั นาคณุ ภาพ ชีวติ ตามหลักทฤษฎีใหม ประยกุ ตส ูโ คก หนอง นา โมเดล น้นั ฯลฯ 2. วตั ถุประสงค 1. สง เสริมการเรยี นรูการนอ มนาํ หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ประยุกตสกู ารปฏบิ ัติในรปู แบบ โคก หนอง นา โมเดล 2. พัฒนาพืน้ ทเ่ี รยี นรคู รวั เรอื นตน แบบ ในรปู แบบโคก หนอง นา โมเดล 3. ประโยชนท่คี าดวาจะไดรบั 1. ประชาชนมีการเรยี นรกู ารนอ มนําหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งในรปู แบบ โคก หนอง นา โมเดล 2. มีแหลงเรียนรู การพัฒนาพนื้ ทตี่ ามรปู แบบ โคก หนอง นา โมเดล 4. ขอบเขตการจาง 1. ขดุ ดนิ ในพน้ื ทตี่ นแบบแปลง นายวริ ิยะ ทองคาํ บานเลขท่ี 55 หมทู ่ี 5 ตาํ บลเสาทอง อาํ เภอเมือง จงั หวัดอบุ ลราชธานี เลขท่โี ฉนด.............. จํานวน 1 ไร 2. ดาํ เนนิ การขดุ ดนิ ตามแบบที่กําหนด (เอกสารแนบ) ตามการคาํ นวณ ไมนอ ยกวา 1,500 ลกู บาศก เมตร 3. ปรับพื้นท่ีเปนพืน้ ท่ี โคก หนอง นา (ตามแบบท่กี ําหนด) (เอกสารแนบ) 5. ระยะเวลาดาํ เนนิ การ จาํ นวน 90 วัน (นบั แตว ันทําสญั ญา) ถัดจากวันทําสญั ญา 6. งบประมาณ จาํ นวน 45,200 บาท 7. การสง มอบงาน สงมอบงาน 1 งวด เมื่องานเสร็จสมบรู ณ พรอมภาพถาย 8. คาจา งและการจายเงนิ จา ยเม่ืองานสิน้ สุด จาํ นวน 1 งวด เปน เงนิ 45,200 บาท 9. การขยายเวลาสัญญาจาง เกดิ เหตสุ ดุ วิสัย 10. ขอสงวนสิทธข์ิ องผูวา จา ง

29 กรมการพฒั นาชมุ ชน 11. คุณสมบตั ิของผรู ับจาง (ตามระเบียบ มาตรา 64) 1. นติ ิบคุ คลหรือบคุ คลธรรมดา ผมู อี าชีพรบั จา งงาน หรือมีประสบการณในงานจา งดังกลาว 2. ไมเ ปนผูถกู ระบชุ ่อื ในบัญชรี ายชื่อผูทง้ิ งานของทางราชการและไดแจงเวียนชอ่ื แลว 3. ไมเปน ผูม ีผลประโยชนร ว มกันกบั ผูเสนอราคารายอน่ื 12. ความรับผิดชอบของผรู ับจาง 1. ขดุ ดนิ ไมนอยกวา 1,500 ลกู บาศกเ มตร 2. ปรับพื้นทเี่ ปนโคก หนอง นา (ตามแบบทแ่ี นบในสัญญา) 13. การบริการหลังการสง มอบ ผรู บั จา งตอ งใหการบริการหลงั การสงมอบทั้งหมดตลอดอายุ 5 ป 14. การรับประกนั และการบํารงุ รักษา ผูร ับจางตองรบั ประกนั และสนับสนุนการซอมแซมในพื้นทโ่ี คก หนอง นา เปนระยะเวลา 1 ป นบั จาก วันท่ีผูวา จา งตรวจรบั การสง มอบงานงวดสดุ ทา ยเรยี บรอยแลว 15. หนาทขี่ องผูวาจาง 1. ใหค วามรวมมอื และใหความชวยเหลือตามสมควร เพ่อื ใหก ารปฏบิ ตั ิงานดาํ เนินไปดว ยความสะดวก รวดเร็ว 2. ใหข อมลู ตาง ๆ เทาท่มี อี ยใู นความครอบครองของผูวาจา งและประสานงานระดับหนวยงานที่ เกี่ยวของ เพือ่ ใหไดมาซึ่งขอมูลท่เี กย่ี วของท่จี าํ เปน สําหรบั โครงการน้ี กลมุ ที่ 5 (10 ไร) ชื่อโครงการ พัฒนาพ้ืนท่ตี นแบบระดบั ตําบล (CLM) 1. หลกั การและเหตุผลใชก อ ปวางของกรมฯ 2. วตั ถปุ ระสงค 3. ประโยชนท ค่ี าดวา จะไดร บั 1. พัฒนาพนื้ ท่ี ยกระดับการพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ของครวั เรือน 2. ยกระดบั รายได/ สรางความมนั่ คงดา นอาชีพ 3. นอ มนําหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งมาปฏบิ ตั ิจนเปนวิถีชีวิต 4. ขอบเขตงานจาง 1. ขดุ หนองนาํ้ พ้ืนท่ี ไมนอ ยกวา 3 ไร ปรมิ าตรดินขุดขึน้ มา ไมน อ ยกวา 4,500 ลกู บาศกเ มตร (รายละเอียดตามเอกสารแนบ)

30 2. ปรับพ้ืนท่ี ทาํ เปน ดิน/โคก (รายละเอียดตามเอกสารแนบ) พ้นื ทรี่ วมไมน อยกวา 3 ไร 3. ขุดคลองใสไ ก ขนาดระยะทางยาวไมนอ ยกวา 1,000 เมตร (รายละเอยี ดตามเอกสารแนบ) 4. ปรับพนื้ ท่ี สาํ หรับทาํ นา ไมนอ ยกวา 3 ไร (รายละเอียดตามเอกสารแนบ) 5. ปรบั พ้นื ที่ คันนาทองคาํ ขนาดกวางไมนอยกวา 2 เมตร สงู ไมน อยกวา 1 เมตร (ตามเอกสารแนบ) 6. ปรับพ้นื ท่ี เปนลานดนิ สาํ หรับสรางโรงเรือนและอาคารและฐานเรยี นรู พ้นื ทไี่ มน อยกวา 1 ไร (ตาม เอกสารแนบ) 5. ระยะเวลาดําเนนิ การ ไมเ กิน 30 วนั (นบั ถัดจากวนั ลงนามในสญั ญา) 6. งบประมาณ : 693,000 บาท 7. การสง มอบงาน: 1 งวดงาน 8. คาจางและการจายเงิน: 100 % ของคา จาง ที่ผรู ับจา งดําเนนิ การตามสญั ญาจา ง 9. การขยายเวลาสญั ญาจาง: กรณเี กดิ เหตสุ ุดวสิ ยั ท่ผี ูรับจางไมสามารถดาํ เนนิ การใหแลว เสรจ็ ตามสัญญา ผรู ับจา งตองแจง จะขยายเวลาสัญญาจา งตอ ผูวา จา ง ภายใน 15 วัน นบั จากวนั เกดิ เหตแุ ละตอ งอยูระหวา ง สญั ญา 10. ขอ สงวนสทิ ธ์ิของผวู า จา ง: ยกเลกิ สญั ญาจา ง กรณีผูรบั จางไมป ฏิบตั ิตามสญั ญาจา ง 11. คณุ สมบัตขิ องผรู บั จา ง 1. เปนนิติบคุ คล/บุคคลธรรมดา ทม่ี ผี ลงานตามงานจาง ไมนอ ยกวา 300,000 บาท และมีใบรับรอง ผลงาน 2. ไมเ ปน บคุ คลลมละลาย ตามมาตรา 64 3. ไมเ ปนผลู ะทงิ้ งาน 4. นาํ เสนอ รูปแบบงานตามทว่ี าจา งเปนลายลักษณอ ักษร 5. กรณี เปน นิตบิ ุคคลตองนําเสนอรปู แบบงานดว ยตนเอง หรอื มอบฉนั ทะใหผูแ ทนเปนลายลักษณ อกั ษร 12. ความรับผิดชอบของผรู ับจา ง 1. ดําเนนิ การตามขอบเขตงานในสัญญา ใหแ ลวเสร็จตามระยะเวลาท่ีกําหนด 2. ถาดาํ เนนิ การแลว เสรจ็ ลาชา /เกินระยะเวลาทกี่ ําหนด ผรู บั จา งตองรับผิดขอบตอคาปรับ 13. การบริการหลงั สง มอบ: กรณีผรู ับจาง ตอ งใหบรกิ ารหลังสง มอบ ดงั น้ี 1. หากพน้ื ท่มี คี วามเสยี หาย ผรู ับจา งตองดําเนินการแกไ ขทนั ทที ่ีไดร บั แจงตามผวู าจา งกาํ หนด 2. ดูแลพ้ืนที่ดาํ เนนิ การ เปนระยะเวลา 1 ป หลงั การสง มอบ 14. การรบั ประกนั ผรู ับจา งตอ งรบั ประกันงานทีด่ ําเนนิ การตามโครงการเปน ระยะเวลา 1 ป นับจากการสง มอบงานเรยี น รอยแลว

31 15. หนาทขี่ องผูว าจา ง 1. ใหค วามรวมมือ ชวยเหลือใหก ารปฏบิ ัติงานเปนไปดว ยความเรยี บรอย 2. ใหขอมูลขาวสารและประสานหนว ยงานที่เกี่ยวขอ ง เพ่ือประโยชนในการปฏบิ ตั งิ านของผรู ับจางใน กรณีจาํ เปน รุนท่ี 3 กลมุ ท่ี 1 /พ้ืนท่ี 1 ไร ชือ่ โครงการ : พัฒนาพื้นที่ตน แบบการพัฒนาคณุ ภาพชีวติ ตามหลกั ทฤษฎใี หมป ระยุกตสู “โคก หนอง นา โมเดล” 4. ขอบเขตงานจา ง 4.1 จางเหมาปรับปรงุ พนื้ ทีต่ ามแบบโคก หนอง นา โมเดล ขนาด 1 ไร ของนาย ก โฉนด/เอกสารสทิ ธ์ิ เลขท่ี 1 ตาํ บลเสนางคนคิ ม อาํ เภอเสนางคนิคม จังหวดั อํานาจเจริญ 4.2 ปริมาตรดนิ ขุด จํานวน 1,500 ลูกบาศกเมตร ใหน าํ ดนิ ทีข่ ุดไปทาํ โคกและคนั นา - ปริมาตรดนิ ขุดสระ จาํ นวน 1,000 ลูกบาศกเมตร/ไปทาํ โคก เอกหนาดินไวข างบนเพื่อปลกู ตนไม - ปรมิ าตรดินขุดคลองใสไก จํานวน 500 ลูกบาศกเ มตร/ไปทาํ คันนา กวา งไมนอ ยกวา 2 เมตร โดยขดุ ใหคดเขี้ยวไปตามพื้นท่ีและตามแบบ/ปรบั เกล่ยี ตกแตง ใหเ รยี บรอย สม่ําเสมอ สวยงาน 4.3 เม่ือผูรบั จา งเร่มิ ดําเนนิ การใหแ จงผวู า จา งกอ นเริม่ ดาํ เนินการอยา งนอย 3 วนั 5. ระยะเวลาดําเนนิ การ: ดําเนินการแลวเสร็จภายใน 20 วนั นับถดั จากวันลงนามในสัญญา 6. งบประมาณดําเนินการ 45,200 บาท 7. การสงมอบงาน จาํ นวน 1 งวด ภายใน 20 วนั นบั ถัดจากวนั ลงนามในสญั ญาจา ง 8. การรับประกันความชาํ รดุ บกพรอ ง ผรู ับจา งตอ งรบั ประกันความชาํ รดุ บกพรอ งทเ่ี กิดข้ึนภายในระยะเวลา 1 ป นบั ถดั จากวนั ท่ตี รวจรับงานจา ง หากพบขอบกพรอ ง/ชํารดุ ตองเขา ไปดําเนินการปรบั ปรุงแกไข ภายใน 10 วัน นบั จากวันที่ไดรบั แจงจากผูวา จา ง 9. คา ปรบั กรณผี ูรบั จางสงมอบงานลา ชา กวา กาํ หนด ผรู ับจา งยินยอมใหผูว าจางปรับในอัตรารอยละ 0.10 ของราคาที่ส่ังจาง กลุมท่ี 2(3 ไร)

32 ชอื่ โครงการ พฒั นาพื้นทต่ี น แบบการพฒั นาคุณภาพชีวิตตามหลักทฤษฎีใหมป ระยุกตสู “โคก หนอง นา โมเดล” กจิ กรรมท่ี 2 สรา งพื้นที่เรียนรูชุมชนตนแบบการพัฒนาคุณภาพชวี ิต CLM ระดับตําบล และ พฒั นาพนื้ ที่ครัวเรือนตนแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิต 1. หลักการและเหตผุ ล กรมการพฒั นาชมุ ชน สนับสนนุ งบประมาณใหอาํ เภอศรวี ิไล ดําเนินงานตามโครงการพฒั นาพืน้ ท่ี ตน แบบการพัฒนาคุณภาพชวี ติ ตามหลกั ทฤษฎใี หมประยุกตส ู “โคก หนอง นา โมเดล” กิจกรรมที่ 2 สรา ง พนื้ ทเ่ี รยี นรชู มุ ชนตน แบบการพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ CLM และการพฒั นาพ้นื ท่ีครัวเรือนตนแบบการพฒั นา คณุ ภาพชวี ิต HLM หมวดงบลงุทน (คาทดี่ ินและสง่ิ ปลูกสรางพื้นท่ี 3 ไร) ปรมิ าตรดินขดุ 4,000 ลูกบาศกเมตร งบประมาณ 104,000 บาท 2. วัตถุประสงค 2.1 เพ่ือสงเสริมการเรียนรกู ารนอ มนําหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งประยกุ ตส ูก ารปฏบิ ตั ใิ น รปู แบบ “โคก หนอง นา โมเดล” 2.2 เพือ่ พัฒนาพ้ืนทีต่ นแบบ “โคก หนอง นา โมเดล” ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งระดับครัวเรือน 3. ประโยชนท คี่ าดวา จะไดรบั 3.1 ครวั เรือนเปาหมายมีรายไดเพิม่ ขนึ้ 3.2 เปน ศนู ยเรยี นรูตน แบบ 3.3 เพมิ่ พ้นื ทดี่ ักเก็บนํ้าฝน 3.4 ฟนฟูทรพั ยากรดิน ลดการชะลา งหนา ดินทก่ี อใหเกดิ ตะกอนดี 4. ขอบเขตการจาง งานจา งขุดดนิ ในพ้ืนที่ 3 ไร ปรมิ าตรดินขดุ ไมนอ ยกวา 4,000 ลกู บาศกเ มตร โฉนดเลขท่ี ก-2590 ของนายเสง่ยี ม แนน อดุ ร ตามแบบแปลนที่แนบ 5. ระยะเวลาดาํ เนินการ ดาํ เนนิ การภายใน 15 วัน นับถดั จากวันลงนามในสญั ญา 6. งบประมาณ งบเงินกู จํานวน 104,000 บาท 7. การสง มอบงาน สงมอบงานภายใน 15 วัน 8. คา จางและการจายเงิน จาํ นวน 1 งวด 9. การขยายเวลาสัญญาจา ง กรณีเกดิ อทุ กภยั /ภัยพบิ ัติ 10. ขอ สงวนสิทธิข์ องผูวาจาง -

33 11. เกณฑก ารพิจารณาผล เกณฑราคา 12. คุณสมบตั ิผูรับจาง บคุ คลหรือนิตบิ ุคคล ที่มีอาชพี รับจาง 13. ความรบั ผิดชอบผรู ับจา ง กรณีเกดิ ความเสยี หายจากการดาํ เนนิ งาน ผูร ับจา งตองรับผิดชอบ 14. การบรกิ ารหลงั การสง มอบ - 15. การรบั ประกนั และการบํารุงรกั ษา หากเกดิ ความเสยี หาย ชาํ รดุ บกพรอ งของงานจางภายในระยะเวลา 6 เดอื น นบั แตส ง มอบงานจา งให เปน หนาที่ของผูรบั จางในการปรบั ปรงุ แกไ ขขอชาํ รดุ บกพรอ งใหก ลบั มสี ภาพสมบูรณเหมือนในขณะสง มอบงาน จา ง โดยผูร ับจา งเปน ผรู ับผิดชอบคาใชจายทงั้ หมด 16. หนาทข่ี องผูว าจาง ผูว าจา งตองสนับสนุนขอ มูลเกี่ยวกบั การดาํ เนนิ โครงการ กลุมที่ 3(3 ไร) ช่อื โครงการ โครงการพฒั นาพนื้ ที่ตนแบบการพัฒนาคณุ ภาพชีวิต ตามหลักทฤษฎใี หมป ระยกุ ตสู “โคก หนอง นา โมเดล” บานนาทม หมูท ี่ 1 ตาํ บลนาทม อําเภอนาทม จงั หวดั นครพนม 1. หลักการและเหตผุ ล กรมการพัฒนาชุมชน รวมกับมูลนิธิกสิกรรมธรรมชาติ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหาร ลาดกระบังและภาคีเครอื ขาย ภาคสว นตาง ๆ ทงั้ 7 ภาคี ไดน อมนาํ หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งลงสูการ ปฏบิ ตั อิ ยา งเปนขน้ั ตอน ดวยการจดั ทาํ โครงการทป่ี ระยุกตการใชศาสตรพระราชาและนอมนําเอาแนวคิดและ ทฤษฎีการพัฒนาอันเน่ืองมาจากพระราชดําริ กวา 40 ทฤษฎี มาประยุกตใชในรูปแบบ “โคก หนอง นา โมเดล” 2. วตั ถปุ ระสงค 1. เพือ่ สง เสริมการเรยี นรู การนอ มนาํ หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงประยุกตสูการปฏิบตั ใิ น รปู แบบ “โคก หนอง นา โมเดล” 2. เพ่ือพฒั นาพนื้ ท่ีเรียนรชู มุ ชนตน แบบ “โคก หนอง นา โมเดล” ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งระดับตําบลและระดบั ครวั เรือน 3. ประโยชนทคี่ าดวา จะไดรบั 1. กลุม เปา หมายสามารถเปนแกนนาํ ขบั เคลอ่ื นหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงและทฤษฎีใหม ประยกุ ตส กู ารปฏิบัตใิ นรปู แบบ “โคก หนอง นา โมเดล” 2. เกิดพนื้ ทเ่ี รียนรชู มุ ชนตน แบบการพัฒนาคุณภาพชวี ิต

34 3. เกดิ พืน้ ที่ครวั เรือนตนแบบการพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ 4. ขอบเขตการจาง จา งขุดดนิ พรอ มปรบั เกลย่ี พื้นที่และคลองใสไก ปรมิ าตรดนิ ขดุ 4,000 ลูกบาศกเ มตร (ตามแบบ ปร 4, ปร 5) ณ พื้นทน่ี ายดวิ ณ เรณูนคร บานเลขที่ 10 หมทู ่ี 1 บานนาทม ตําบลนาทม อาํ เภอนาทม จังหวดั นครพนม โฉนดเลขที่ 10/2563 5. ระยะเวลาดําเนินการ ภายใน 15 วนั 6. งบประมาณ จากงบเงินกรู ะยะท่ี 1 จาํ นวน 104,000 บาท (หน่ึงแสนส่ีพนั บาทถว น) 7. การสงมอบงาน 1 งวด ภายใน 15 วัน นับถัดจากวนั ทล่ี งนามในสัญญา 8. คาจา งและการจายเงิน 1 งวด เปน เงิน 104,000 บาท (หนง่ึ แสนสพี่ นั บาทถวน) 9. การขยายเวลาสัญญาจาง - 10. ขอสงวนสทิ ธิข์ องผวู าจา ง ขอสงวนสิทธร์ิ ูปแบบรายากร (ปร 4, ปร 5) ใหเ ปนของผูวา จาง 11. เกณฑการพจิ ารณาผล ใชเกณฑราคา 12. คุณสมบัตขิ องผรู บั จา ง 1. เปน บคุ คลธรรมดาหรือนิติบคุ คล ผมู อี าชพี รับจา งงานตามประกาศของทางราชการ 2. มคี วามสามารถตามกฎหมาย 3. ไมเปน บุคคลลมละลาย 4. ไมอ ยรู ะหวางเลิกกิจการ 5. ไมเ ปนบคุ คลท่ีอยูร ะหวา งถูกระงบั การย่นื ขอเสนอหรือทําสญั ญากับทางราชการ 6. ไมเปน บคุ คลซ่งึ ถูกแจง เวียนชอื่ ใหเปน ผูทิ้งงาน 7. ไมเ ปน ผมู ผี ลประโยชนก บั ผูยน่ื ขอ เสนอรายอน่ื ณ วันประกาศยน่ื ขอเสนอ 13. ความรบั ผิดชอบของผรู ับจาง ความเสียหายใด ๆ ท่ีเกดิ จากการปฏบิ ตั งิ านของผูร บั จางใหผูรบั จา งเปนผรู ับผิดชอบทั้งหมด 14. การบรกิ ารหลงั การสง มอบ - 15. การรบั ประกันและการบํารงุ รกั ษา หลกั ทรัพยร อยละ 5 ของวงเงินงบประมาณตามสญั ญา 16. หนา ท่ขี องผวู าจา ง สนับสนุนขอ มูลและอํานวยความสะดวก กลมุ ที่ 4 (1 ไร) ขอบเขตของงาน (Terms of Reference: TOR) โครงการพัฒนาพ้ืนที่ตน แบบการพัฒนาคุณภาพชวี ติ ตามหลักทฤษฎีใหม ประยุกตสู โคก หนอง นา โมเดล อําเภอศรีวไิ ล

35 ——————————————————————————————————————— 1. ความเปน มา สถานการณของประเทศในปจจุบันตองเผชิญกับผลกระทบจากวิกฤติการแพรระบาดของโรคติดเชื้อ ไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) สงผลใหเ กิดวิกฤตทิ างดา นเศรษฐกิจ ดานสาธารณสุข ดานสังคม และดานอ่ืน ๆ ไปท่ัวโลก ทางออกของประเทศในการรอดพนวิกฤติ และเกิดการพัฒนาอยางย่ังยืน ไดถูกกําหนดไวใน ยุทธศาสตรชาติ พ.ศ. 2561-2580 และนโยบายรฐั บาลทจ่ี ะสืบสาน รกั ษา ตอยอด และพัฒนาประเทศ กระทรวงมหาดไทย โดยกรมการพัฒนาชุมชน ไดนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและหลัก ทฤษฎใี หมม าเปน หลักในการสงเสริมกระบวนการเรียนรู และการมีสวนรวมของประชาชน เนนประชาชนเปน ศูนยกลาง โดยการพัฒนาใหพึ่งตนเอง มีความเปนเจาของและบริหารจัดการโดยชุมชน เรียนรูจากตัวอยางที่ สอดคลองกับภูมิสังคมดวยการลงมือปฏิบัติดวยตนเองจนเกิดทักษะ และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโดยผาน โครงการพัฒนาพ้ืนท่ีตนแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักทฤษฎีใหม ประยุกตสู โคก หนอง นา โมเดล กอ ใหเกิดคณุ ภาพชวี ิตทด่ี ี และสังคมอยเู ยน็ เปน สขุ 2. วตั ถุประสงค 1. เพื่อสงเสริมการเรียนรู การนอมนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ประยุกตสูการปฏิบัติใน รูปแบบโคก หนองนา โมเดล 2.เพื่อพัฒนาพื้นท่ีเรียนรูชุมชนตนแบบ “โคก หนอง นาโมเดล” ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง ระดบั ครัวเรอื น 3. เพื่อพ้ืนฟูเศรษฐกิจทองถิ่นและชุมชนผานการสรางงาน สรางรายได ใหแกเกษตรกรท่ีไดรับ ผลกระทบจากสถานการณก ารแพรร ะบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (Covid-19) 3. ประโยชนท คี่ าดวาจะไดร บั 3.1 กลุมเปาหมายเปนแกนนําในการขับเคลื่อนการนอมนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ประยุกตสูก ารปฏิบัตใิ นรูปแบบโคก หนองนา โมเดล 3.2 เกิดพ้ืนทเ่ี รียนรูชมุ ชนตนแบบการพัฒนาคุณภาพชีวติ 3.3 เกิดการสรา งงาน สรางรายไดใหแ กเ กษตรกร 4. ขอบเขตงานจา ง โครงการพัฒนาพ้ืนที่ตนแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักทฤษฎีใหม ประยุกตสู โคก หนอง นา โมเดล คา ท่ีดนิ และสิ่งปลูกสราง - คา ทีด่ ินและสิ่งกอ สรา ง พ้นื ท่ี 1 ไร (ปรมิ าตรดนิ ขดุ ไมนอ ยกวา 1,500 ลูกบาศกเมตร) - จาํ นวน 1 แปลง (รายละเอียดตามผังแนบทา ย) 5. ระยะเวลาดําเนนิ การ เดอื น ธันวาคม 2563

36 6. งบประมาณ งบประมาณเงนิ กู จํานวน 45,200 บาท (ส่หี มนื่ หาพนั สองรอ ยบาทถวน) 7. การสง มอบงาน สงมอบงานภายใน 20 วนั นับถัดจากวันที่ลงนามในสัญญา โดยสงมอบและเบกิ จา ยเปน จํานวน 1งวด 8. คาจางและการจายเงนิ งบประมาณเงินกู จํานวนเงิน 45,200 บาท (สี่หมื่นหาพันสองรอยบาทถวน) จายเมื่อสงมอบ และ ตรวจรบั ครบถวน ถกู ตอ ง ตามสัญญา 9. การขยายเวลาสญั ญาจาง - 10. ขอสงวนสทิ ธิข์ องผวู า จาง - 11. เกณฑการพิจารณาผล - เกณฑร าคา โดยพิจารณาจากราคาต่าํ สดุ 12. คุณสมบัติผูรบั จา ง 1. ผูเสนอราคาตองเปนบุคคลธรรมดาหรือนติ ิบคุ ลทม่ี ีอาชพี รบั จา ง 2. ผเู สนอราคาตองไมเ ปน ผูท่ถี ูกระบุชื่อในบญั ชีรายชอื่ ผทู ิ้งงานของทางราชการและไดแ จงเวียนชอ่ื แลว 3. ไมเปนบุคคลซึง่ อยูระหวางถูกระงับการย่ืนขอเสนอหรือทําสัญญากับหนวยงานของรัฐไวช่ัวคราว เนื่องจากเปนผูท่ีไมผานเกณฑการประเมินผลการปฏิบัติงานของผูประกอบการตามระเบียบท่ีรัฐมนตรีวาการ กระทรวงการคลังกําหนดตามทป่ี ระกาศเผยแพรใ นระบบเครอื ขา ยสารสนเทศของกรมบญั ชีกลาง 4. ไมเปนบุคคลซึ่งถูกระบุช่ือไวในบัญชีรายชื่อผูท้ิงงานและไดแจงเวียนชื่อใหเปนผูท้ิงงานของ หนวยงานของรัฐในระบบเครือขายสารสนเทศของกรมบัญชีกลาง ซ่ึงรวมถึงนิติบุคคลท่ีผูท้งิ งานเปนหุนสวน ผจู ดั การ กรรมการผจู ดั การ ผูบรหิ าร ผูมอี าํ นาจในการดําเนินงานในกจิ การของนติ บิ คุ คลนัน้ ดว ย 5. มีคุณสมบัติและไมมีลักษณะตองหามตามท่ีคณะกรรมการนโยบายการจัดซื้อจัดจางและการ บริหารพสั ดุภาครัฐกาํ หนดในราชกจิ จานุเบกษา 6. ผูเสนอราคาตอ งเปนบุคคลธรรมดาหรือนิตบิ คุ คลผูมีอาชีพรบั จา งงานท่ปี ระกวดราคาอเิ ลก็ ทรอนกิ ส ดังกลาว 7. ไมเ ปนผมู ผี ลประโยชนรว มกันกบั ผยู ่นื ขอ เสนอรายอื่นท่ีเขาย่ืนขอเสนอใหแกกรมการพฒั นา ชุมชน ณ วนั ประกาศประกวดราคาอิเลก็ ทรอนิกส หรอื ไมเ ปน ผูก ระทําการอันเปนการขัดขวาง การแขงขัน อยางเปน ธรรมในการประกวดราคาอเิ ล็กทรอนกิ สครั้งนี้ 8. ไมเปนผูไดรับเอกสิทธ์ิหรือความคุมกัน ซ่ึงอาจปฏิเสธไมยอมข้ึนศาลไทยเวนแตรัฐบาลของผูย่ืน ขอ เสนอไดม ีคําสง่ั ใหส ละสิทธแิ์ ละความคมุ กนั เชน วาน้นั

37 9. ผูย่ืนขอ เสนอตองไมอยใู นฐานะเปน ผูไมแ สดงบญั ชีรายรับรายจา ยหรอื แสดงบัญชีรายรบั รายจา ย ไม ถูกตอ งครบถวนในสาระสาํ คญั ตามท่คี ณะกรรมการ ป.ป.ช. กาํ หนด 10. ผูย่ืนขอเสนอซึ่งไดรับคัดเลือกเปนคูสัญญาตองรับและจายเงินผานบัญชีธนาคาร เวนแตการ จา ยเงนิ แตล ะครง้ั ซึ่งมีมลู คา ไมเกินสามหม่ืนบาทคูสัญญาอาจจายเปนเงินสดก็ได ตามที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. กําหนด (ยงั ไมต องเขยี นรอดกู ารเบกิ จายเงนิ จากกรมกอ น) 13. ความรับผดิ ชอบของผูร บั จา ง - กรณีในขณะปฏิบัติงานหากเกิดความเสียหายของทรัพยสินหรืออื่น ๆ ที่เกิดขึ้นในพ้ืนขณะการของ ผรู ับจาง ใหอยูในความรบั ผดิ ชอบของผูร ับจา งท้ังหมด 14. การบริการหลังการสง มอบ - หากมีการชาํ รดุ เสียหาย ผรู ับจา งตอ งเขามาปรับปรุงซอมแซมภายใน 10 วัน นบั จากวนั ท่ไี ดรบั แจง 15. การรับประกันและการบาํ รุงรักษา - รบั ประกันความชํารดุ บกพรอ งและการบาํ รงุ รกั ษา ภายใน 1 ป นับจากวันสง มอบงาน 16. หนาที่ของผูวาจาง แจง คณะกรรมการตรวจรบั พสั ดุ และเบกิ จา ยเงนิ ใหกับผรู บั จาง ตอไป (ลงชือ่ ).........................................ประธานกรรมการ (.......................................) (ลงชอ่ื ).............................................กรรมการ (........................................) (ลงชอ่ื )..............................................กรรมการ (.......................................) กลุม ที่ 5 (10ไร) ชอ่ื โครงการ พฒั นาพ้ืนทต่ี น แบบการพฒั นาคุณภาพชีวติ ตามหลกั ทฤษฎีใหมป ระยกุ ตสู “โคก หนอง นา โมเดล” 1. หลักการและเหตุผล ทีผ่ านมาประเทศไทยรบั มือกับปญหาภยั แลงในหลากหลายรูปแบบ เชน การสรา งอา งเก็บนา้ํ การ สรา งเขอ่ื น หรอื การจัดทาํ ระบบชลประทาน ซึ่งรูปแบบเหลา นสี้ ามารถใชแ กไ ขปญหาไดบ างพน้ื ท่ีของประเทศ

38 ไทยเทาน้นั เพ่อื เปนการแกไขปญหาครอบคลุมทกุ พน้ื ที่ จึงจัดทําโครงการพัฒนาพ้ืนท่ีตน แบบการพัฒนา คณุ ภาพชีวติ ตามทฤษฎีใหมประยุกตสู โคก หนอง นา โมเดล เพ่ือเก็บน้าํ ไวในหนองบนโคกและนา 2. วตั ถปุ ระสงค 1. เพ่อื สรางงาน สรา งรายได ใหกับพี่นอ งประชาชนดวยหลกั ทฤษฎีใหม สรางความมนั่ คงทางอาชพี และรายไดอยา งยัง่ ยนื 2. พฒั นาคุณภาพชีวติ ตามหลักทฤษฎีใหมประยุกตส ู โคก หนอง นา โมเดล 3. เกดิ ศนู ยเรยี นรตู น แบบท่สี ามารถเปนแหลงปฏบิ ัติเปนรูปธรรม 3. ประโยชนทคี่ าดวาจะไดรบั 1. ศูนยฯ/ครวั เรือนเปา หมายมกี ารผลิต ทพี่ ึง่ ตนเองไดอ ยา งยง่ั ยืน 2. มพี ืน้ ทีเ่ ก็บนํ้าเพม่ิ ข้ึน 3. มีพน้ื ท่ีปา ไมเ พิ่มข้ึน 4. ขอบเขตของการจา ง 1. ปรบั พ้ืนที่ 10 ไร ปรมิ าตรดนิ 19,200 ลูกบาศกเ มตร 2. ขดุ หลุมขนมครก จํานวน 5 หลุม 3. ขดุ คลองใสไ ก เช่อื มหลมุ ขนมครก ยาว 100 เมตร 4. ขุดบอ รวมจํานวน 1 บอ ขนาดกวาง 20 * 40 เมตร 5. ระยะเวลาดาํ เนนิ การ เดอื นพฤศจิกายน – ธนั วาคม 2563 6. งบประมาณ จาํ นวน 1,293,000 บาท 7. การสง มอบงาน เมือ่ งานแลวเสร็จภายใน 60 วนั 8. คา จา งและการจา ยเงนิ จาํ นวน 2 งวด เมื่องานแลว เสร็จ 8.1 งวดที่ 1 เมื่อปรับพน้ื ท่ีและทําหลุมขนมครกเสรจ็ 8.2 งวดที่ 2 เมื่อขดุ คลองใสไกแ ละขดุ บอรวมแลว เสรจ็ 9. การขยายเวลาสัญญาจาง เมือ่ เกิดเหตสุ ุดวสิ ัย จากภัยธรรมชาติ โรคระบาด 10. การสงวนสิทธข์ิ องผูวาจาง 10.1 หามผูรับจางนาํ รปู แบบ แบบแปลนไปเผยแพรเ พื่อประโยชนของตนเอง 10.2 หามแกไขดัดแปลง ทาํ ซ้ํา หรือนําไปพัฒนาใด ๆ ทัง้ สน้ิ 11. เกณฑพิจารณาผล เกณฑราคา 12. คณุ สมบตั ผิ ูรับจาง 1. เปนนิตบิ คุ คล 2. ไมเปนผูท้งิ งาน 3. มีประสบการณทํางานดา นงานขุดมาแลวไมนอ ยกวา 2 ป (ยอนหลัง 2 ป) และมีหนงั สอื รับรอง ผลงานไมนอ ยกวา 500,000 บาท


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook