Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 1214004TM-คู่มือครูสุขศึกษาฯ-ป2[211111]

1214004TM-คู่มือครูสุขศึกษาฯ-ป2[211111]

Published by marongmeud21, 2022-05-19 06:27:19

Description: 1214004TM-คู่มือครูสุขศึกษาฯ-ป2[211111]

Search

Read the Text Version

เอกสารประกอบคูมือครู กลมุ สาระการเรยี นรู สขุ ศึกษาและพลศึกษา สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา สาํ หรบั ครู 2ช้ันประถมศึกษาปท ่ี ลักษณะเดน คูมือครู Version ใหม ขยายพื้นทรี่ ูปเลม ใหญข้นึ กวา เดมิ จัดแบง พนื้ ทอ่ี อกเปนโซน เพ่ือคนหาขอมูลไดง า ย สะดวก รวดเรว็ และดเู ปน ระเบยี บ กระตนุ Enคgวagาeมสนใจ สาํ รวจคน หา อธบิ ายความรู ขยายความเขา ใจ ตรวจสอบผล กระตนุ ความสนใจ สาํ รวจคน หา อธบิ ายความรู ขยายความเขา ใจ ตรวจสอบผล Explain Expand Evaluate Engage Explore Explain Expand Evaluate Explore เปา หมายการเรยี นรู สมรรถนะของผเู รียน คุณลกั ษณะอันพึงประสงค โซน 1 หนา หนา โซน 1 หนังสือเรียน หนังสือเรียน กระตนุ ความสนใจ Engage สาํ รวจคน หา Explore อธบิ ายความรู Explain ขยายความเขา ใจ Expand ตรวจสอบผล Evaluate ขอ สแอนบวเนน Oก-าNรคEิดT ขอสอบเนน กาNรTคดิ เกร็ดแนะครู แนว นักเรียนควรรู ขอสอบ O-NET บูรณาการเชอ่ื มสาระ โซน 2 โซน 2 โซน 3 โซน 3 บเศูรณราษกาฐรกจิ พอเพียง กจิ กรรมสรา งเสรมิ กิจกรรมทาทาย บูรณาการอาเซียน No. คมู อื ครู มุม IT คมู อื ครู No. โซน 1 ขัน้ ตอนการสอนแบบ 5Es โซน 2 ชวยครเู ตรียมสอน โซน 3 ชวยครูเตรยี มนกั เรยี น เพอื่ ใหค รูเตรียมจดั กิจกรรมการเรยี น เพื่อชวยลดภาระครผู สู อน โดยแนะนาํ เพอ่ื ใหค รสู ะดวกตอ การจดั กจิ กรรม โดยแนะนาํ การสอน โดยแนะนําขน้ั ตอนการสอนและ เกร็ดความรสู าํ หรบั ครู ความรเู สริมสาํ หรับ กิจกรรมบูรณาการเชื่อมระหวางกลุมสาระ วิชา การจัดกิจกรรมแบบ 5Es อยางละเอียด นกั เรยี น รวมทั้งบรู ณาการความรสู อู าเซียน กจิ กรรมสรา งเสรมิ กจิ กรรมทา ทาย รวมถงึ เนอ้ื หา เพือ่ ใหนักเรียนบรรลตุ ามตวั ชี้วัด และมุม IT ทีเ่ คยออกขอสอบ O-NET เก็งขอสอบ O-NET และแนวขอ สอบเนน การคดิ พรอ มคาํ อธิบาย และเฉลยอยางละเอียด

แถบสีและสัญลักษณ ที่ใชใ นคูม ือครู 1. แถบสี 5Es แถบสแี สดงข้ันตอนการสอนและการจัดกิจกรรม แบบ 5Es เพอ่ื ใหค รูทราบวาเปนขั้นการสอนขัน้ ใด สแี ดง สีเขียว สสี ม สฟี า สีมว ง กระตนุ ความสนใจ สาํ รวจคน หา อธบิ ายความรู ขยายความเขา ใจ ตรวจสอบผล 2เสร�ม Engage Explore Explain Expand Evaluate • เปนขั้นทผ่ี ูสอนเลือกใช • เปนข้นั ท่ีผูสอน • เปนขนั้ ท่ผี ูสอน • เปนขั้นทผี่ สู อน เทคนคิ กระตุน ใหผเู รียนสาํ รวจ • เปน ขน้ั ที่ผสู อน ความสนใจ เพ่อื โยง ปญหา และศึกษา ใหผ ูเ รยี นคน หา ใหผ ูเรียนนาํ ความรู เขา สูบทเรยี น ขอมูล คาํ ตอบ จนเกดิ ความรู ไปคดิ คน ตอๆ ไป ประเมินมโนทัศน เชิงประจักษ ของผเู รียน 2. สัญลกั ษณ สญั ลกั ษณ วตั ถปุ ระสงค สญั ลกั ษณ วตั ถปุ ระสงค • แสดงเปา หมายการเรียนรูท นี่ ักเรียน ขอ สอบ O-NET • ชแี้ นะเนอื้ หาทเี่ คยออกขอ สอบ ตองบรรลุตามตวั ช้ีวดั ตลอดจนสมรรถนะ (เฉพาะวชิ า ชน้ั ทสี่ อบ O-NET) O-NET โดยยกตวั อยา งขอ สอบ ทีจ่ ะตอ งมี และคุณลักษณะที่พงึ เกดิ ขึน้ พรอ มวเิ คราะหค าํ ตอบ ขอสแอนบวเนน Oก-าNรคEิดT อยา งละเอยี ด เปาหมายการเรียนรู กบั นกั เรยี น • เปน ตวั อยา งขอ สอบทม่ี งุ เนน หลักฐานแสดง • แสดงรองรอยหลกั ฐานตามภาระงาน ผลการเรยี นรู การคดิ ใหค รนู าํ ไปใชไ ดจ รงิ เกร็ดแนะครู ทค่ี รมู อบหมาย เพ่ือแสดงผลการเรียนรู รวมถงึ เปน การเกง็ ขอ สอบ O-NET ตามตัวช้ีวัด ทจ่ี ะออก มที ง้ั ปรนยั - อตั นยั พรอ มเฉลยอยา งละเอยี ด • แทรกความรูเสรมิ สําหรบั ครู ขอเสนอแนะ ขอ สอบเนน กาNรTคดิ • แนวขอ สอบ NT ในระดบั ขอควรระวงั ขอ สงั เกต แนวทางการจัด แนว กจิ กรรมและอน่ื ๆ เพือ่ ประโยชนใ นการ ประถมศกึ ษา มที ง้ั ปรนยั - อตั นยั จดั การเรยี นการสอน พรอ มเฉลยอยา งละเอยี ด • ขยายความรูเ พิม่ เตมิ จากเนอื้ หา เพ่อื ให (เฉพาะวชิ า ชน้ั ทสี่ อบ NT) นกั เรยี นควรรู ครนู าํ ไปใชอธิบายเพ่มิ เติมใหน กั เรยี น • แนะนาํ แนวทางการจดั กจิ กรรม ไดมคี วามรมู ากขนึ้ บูรณาการเช่ือมสาระ เชอ่ื มกบั กลมุ สาระ ชน้ั หรอื วชิ าอน่ื ทเี่ กย่ี วขอ ง • กจิ กรรมเสรมิ สรางพฤติกรรมและปลกู ฝง คานยิ มตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง บรู ณาการ เศรษฐกจิ พอเพยี ง • แนะนาํ แนวทางการจดั กจิ กรรม • ความรหู รอื กจิ กรรมเสรมิ ใหค รนู าํ ไปใช กจิ กรรมสรา งเสรมิ ซอ มเสรมิ สาํ หรบั นกั เรยี น เตรยี มความพรอ มใหก บั นกั เรยี นกอ นเขา สู ทย่ี งั ไมเ ขา ใจเนอื้ หา ประชาคมอาเซยี น 2558 โดยบูรณาการ • แนะนาํ แนวทางการจดั กจิ กรรม บูรณาการอาเซียน กับวิชาทีก่ าํ ลังเรียน ตอ ยอดสาํ หรบั นกั เรยี นทเ่ี รยี นรู • แนะนําแหลง คน ควา จากเวบ็ ไซต เพอื่ ให กจิ กรรมทาทาย เนอ้ื หาไดอ ยา งรวดเรว็ และ ตอ งการทา ทายความสามารถ ครแู ละนกั เรียนไดเ ขา ถึงขอมูลความรู ในระดบั ทสี่ งู ขนึ้ มุม IT ทหี่ ลากหลาย ทง้ั ไทยและตา งประเทศ คมู อื ครู

5Es การจัดกจิ กรรมตามข้ันตอนวัฏจกั รการเรียนรู 5Es ข้ันตอนการสอนที่สัมพันธกับขั้นตอนการคิดและการทํางานทางสมองของผูเรียนท่ีนิยมใชอยางแพรหลาย คือ วัฏจักรการเรียนรู 5Es ซ่ึงผูจัดทําคูมือครูไดนํามาใชเปนแนวทางออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนในแตละหนวย ตามลําดับขน้ั ตอนการเรียนรู ดงั นี้ ขั้นที่ 1 กระตนุ ความสนใจ (Engage) เส3ร�ม เปน ขนั้ ทผี่ สู อนนาํ เขา สบู ทเรยี น เพอ่ื กระตนุ ความสนใจของผเู รยี นดว ยเรอื่ งราวหรอื เหตกุ ารณท นี่ า สนใจโดยใชเ ทคนคิ วธิ กี ารสอน และคําถามทบทวนความรูหรือประสบการณเ ดิมของผูเ รยี น เพอ่ื เช่ือมโยงผเู รยี นเขา สูค วามรขู องบทเรียนใหม ชวยใหผเู รยี นสามารถ สรุปประเดน็ สําคญั ทเ่ี ปนหวั ขอ และสาระการเรียนรขู องบทเรยี นได จึงเปน ข้ันตอนการสอนทส่ี ําคญั เพราะเปนการเตรยี มความพรอม และสรางแรงจงู ใจใฝเ รยี นรูแกผูเรยี น ข้นั ที่ 2 สาํ รวจคน หา (Explore) เปน ขนั้ ทผี่ สู อนเปด โอกาสใหผ เู รยี นลงมอื ศกึ ษา สงั เกต หรอื รว มมอื กนั สาํ รวจ เพอ่ื ใหเ หน็ ขอบขา ยของปญ หา รวมถงึ วธิ กี ารศกึ ษา คนควา การรวบรวมขอ มูลความรูทีจ่ ะนําไปสูก ารสรา งความเขาใจประเดน็ ปญ หานัน้ ๆ เม่ือผเู รยี นทําความเขาใจในประเดน็ หัวขอทจ่ี ะ ศึกษาคนควาอยา งถองแทแลว กล็ งมอื ปฏบิ ตั ิเพ่ือเก็บรวบรวมขอมูลความรู สํารวจตรวจสอบ โดยวธิ กี ารตางๆ เชน สัมภาษณ ทดลอง อานคน ควา ขอมลู จากเอกสาร แหลง ขอ มลู ตา งๆ จนไดขอ มลู ความรตู ามทต่ี ้ังประเด็นศกึ ษาไว ขนั้ ท่ี 3 อธบิ ายความรู (Explain) เปน ข้นั ทีผ่ ูสอนมปี ฏสิ ัมพนั ธกับผเู รยี น เชน ใหการแนะนาํ ตง้ั คาํ ถามกระตุนใหคิด เพ่ือใหผ ูเรยี นคนหาคาํ ตอบ และนําขอ มูล ความรูจากการศึกษาคนควาในข้ันที่ 2 มาวิเคราะห สรุปผล และนําเสนอผลท่ีไดศึกษาคนความาในรูปแบบสารสนเทศตางๆ เชน เขียนแผนภูมิ แผนผังแสดงมโนทัศน เขียนความเรียง เขียนรายงาน เปนตน ในขั้นตอนน้ีฝกใหผูเรียนใชสมองคิดวิเคราะหและ สงั เคราะหอยางเปน ระบบ ขนั้ ท่ี 4 ขยายความเขาใจ (Expand) เปนข้นั ทผ่ี ูสอนเลอื กใชเทคนิควธิ กี ารสอนตา งๆ ที่สง เสริมใหผูเ รียนนาํ ความรทู ี่เกดิ ขนึ้ ไปคิดคน สบื คนตอๆ ไป เพื่อพัฒนาทักษะ การเรียนรูและการทํางานรวมกันเปนกลุม ระดมสมองเพ่ือคิดสรางสรรครวมกัน ผูเรียนสามารถนําความรูท่ีสรางข้ึนใหมไปเช่ือมโยง กบั ประสบการณเ ดมิ โดยนาํ ขอ สรปุ ทไ่ี ดไ ปใชอ ธบิ ายเหตกุ ารณต า งๆ หรอื นาํ ไปปฏบิ ตั ใิ นสถานการณใ หมๆ ทเี่ กยี่ วขอ งกบั ชวี ติ ประจาํ วนั ของตนเอง เพื่อขยายความรูความเขาใจใหกวางขวางย่ิงข้ึน ในข้ันตอนนี้ฝกสมองของผูเรียนใหสามารถคิดริเร่ิมสรางสรรคอยางมี คุณภาพ เสริมสรา งวสิ ยั ทัศนใหก วางไกลออกไป ขน้ั ท่ี 5 ตรวจสอบผล (Evaluate) เปน ขน้ั ทผี่ สู อนประเมนิ มโนทศั นข องผเู รยี น โดยตรวจสอบจากความคดิ ทเี่ ปลย่ี นไปและความคดิ รวบยอดทเี่ กดิ ขน้ึ ใหม ตรวจสอบ ทักษะ กระบวนการปฏิบัติ การแกปญหา การตอบคําถามรวบยอด และการเคารพความคิดหรือยอมรับเหตุผลของคนอื่น เพ่ือการ สรา งสรรคค วามรรู ว มกนั ผเู รยี นสามารถประเมนิ ผลการเรยี นรขู องตนเอง เพอ่ื สรปุ ผลวา มคี วามรอู ะไรเพม่ิ ขน้ึ มาบา ง เกดิ ความเขา ใจ มากนอยเพียงใด และจะนําความรูเหลาน้ันไปประยุกตใชในการเรียนรูเร่ืองอ่ืนๆ ไดอยางไร ผูเรียนจะเกิดเจตคติและเห็นคุณคาของ ตนเองจากผลการเรียนรทู เี่ กดิ ขน้ึ ซ่งึ เปน การเรยี นรทู ม่ี คี วามสขุ อยางแทจ รงิ การจดั กจิ กรรมการเรยี นรูต ามข้นั ตอนวัฏจักรการสรางความรแู บบ 5Es จงึ เปน รูปแบบการเรียนการสอนท่เี นน ผเู รยี นเปน สาํ คญั อยา งแทจ รงิ เพราะสง เสรมิ ใหผ เู รยี นไดล งมอื ปฏบิ ตั ติ ามขนั้ ตอนของกระบวนการสรา งความรดู ว ยตนเอง และฝกฝนใหใชกระบวนการคิดและกระบวนการกลุม อยางชาํ นาญ กอใหเ กิดทักษะชีวติ ทกั ษะการทํางานและทักษะการ เรยี นรทู ม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพ สง ผลตอ การยกระดบั ผลสมั ฤทธข์ิ องผเู รยี น ตามเปา หมายของการปฏริ ปู การศกึ ษาทศวรรษท่ี 2 (พ.ศ. 2552-2561) ทกุ ประการ คมู อื ครู

คําอธิบายรายวิชา กลมุ สาระการเรยี นรู สขุ ศึกษาและพลศึกษา ภาคเรียนท่ี 1-2 รายวิชา สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ชัน้ ประถมศกึ ษาปท ่ี 2 เวลา 80 ชัว่ โมง/ป รหสั วชิ า พ………………………………… เส4ร�ม ศึกษา วิเคราะห ลักษณะ หนาที่ และวิธีการดูแลรักษาของอวัยวะภายในท่ีมีการเจริญเติบโตและ พัฒนาการไปตามวัย รูจัก เขาใจ และดูแลตนเองและสมาชิกในครอบครัว รูและปฏิบัติตามบทบาทหนาที่ ของสมาชกิ ในครอบครวั บทบาทของเพอื่ น และความภาคภมู ใิ จในตนเอง พรอ มปฏบิ ตั พิ ฤตกิ รรมทเี่ หมาะสม ปฏบิ ตั ติ นใหเ ปน ผมู สี ขุ ภาพทด่ี ี เลอื กกนิ อาหารทมี่ ปี ระโยชน รจู กั การเลอื กของใชแ ละของเลน ทเ่ี หมาะสม และไมเ กดิ อนั ตราย เมอ่ื มอี าการเจบ็ ปว ยสามารถบอกลกั ษณะอาการ สาเหตุ และการรกั ษาเบอื้ งตน ทเี่ หมาะสม ปฏบิ ัตติ นในการปอ งกันอบุ ตั ิเหตุทีเ่ กดิ ขนึ้ ทางนํ้า ทางบก และอคั คภี ัย การปฏบิ ตั ติ ามคาํ แนะนําในการใชยา อยางเหมาะสม และระบุโทษของสารเสพติด สารอนั ตรายใกลตวั และวธิ ีการปอ งกันทเ่ี หมาะสม มที กั ษะในการปฏบิ ตั กิ จิ กรรมการเคลอื่ นไหวรา งกายแบบอยกู บั ที่ แบบเคลอื่ นท่ี แบบใชอ ปุ กรณป ระกอบ การเลน เกมเบ็ดเตล็ด ตามกฎ กติกา ขอ ตกลงในการเลนเกมตามคาํ แนะนํา เพอื่ ใหเกดิ ความสนุกสนานและ ปลอดภัย โดยใชท กั ษะกระบวนการคดิ วเิ คราะห กระบวนการปฏบิ ตั ิ ทกั ษะการเคลอื่ นไหวรา งกาย การสบื คน ขอ มลู การแกปญ หา การระดมสมอง และการอภิปราย เพ่ือใหเกิดความรู ความคิด ความเขา ใจ มที ักษะสื่อสารสิง่ ท่ีเรยี นรู สามารถตัดสินใจ และนาํ ความรู ไปประยกุ ตใ ชในชีวิตประจําวัน มีการพฒั นาทางดานรา งกาย จิตใจ อารมณ สังคม และมีจริยธรรม คุณธรรม และคา นยิ มทเี่ หมาะสม ตัวชี้วดั พ 1.1 ป.2/1 ป.2/2 ป.2/3 พ 2.1 ป.2/1 ป.2/2 ป.2/3 ป.2/4 พ 3.1 ป.2/1 ป.2/2 พ 3.2 ป.2/1 ป.2/2 พ 4.1 ป.2/1 ป.2/2 ป.2/3 ป.2/4 ป.2/5 พ 5.1 ป.2/1 ป.2/2 ป.2/3 ป.2/4 ป.2/5 รวม 21 ตัวช้วี ัด คมู อื ครู

กระตนุ ความสนใจ สาํ รวจคน หา อธบิ ายความรู ขยายความเขา ใจ ตรวจสอบผล Engage Explore Explain Expand Evaluate ˹§Ñ Ê×ÍàÃÂÕ ¹ ÃÒÂÇªÔ Ò¾¹×é °Ò¹ 梯 ÈÖ¡ÉÒáÅоÅÈÖ¡ÉÒ ».ò ª¹éÑ »ÃжÁÈÖ¡ÉÒ»·‚ èÕ ò ¡Å‹ÁØ ÊÒÃСÒÃàÃÕÂ¹ÃŒÙ Ê¢Ø ÈÖ¡ÉÒáÅоÅÈÖ¡ÉÒ µÒÁËÅѡʵ٠Ã᡹¡ÅÒ§¡ÒÃÈ¡Ö ÉÒ¢¹éÑ ¾¹×é °Ò¹ ¾Ø·¸È¡Ñ ÃÒª òõõñ ¼ŒÙàÃÂÕ ºàÃÕ§ ¹ÒªªÙ ÒµÔ ÃÍ´¶ÒÇà ¹ÒÂÀÒʡà ºØÞ¹ÂÔ Á ¼ÙµŒ ÃǨ ¹Ò§ÊØÁÒÅÕ ¢ÍÁã¨à¾çªÃ ¹Ò§ªÞÒ´Ò Ê¢Ø àÊÃÔÁ ¹Ò¾Թ¨Ô ˧ɏÀÙ‹ ºÃóҸԡÒà ¹ÒºÑÞªÒ ªÒŒ §¾§É ʧǹÅÔ¢Ê·Ô ¸µÔì ÒÁ¾ÃÐÃÒªºÑÞÞÑµÔ ปท ีพ่ มิ พ ๒๕๖๒ พมิ พครง้ั ที่ ๑๐ จํานวนพิมพ ๓๐,๐๐๐ เลม ISBN : 978-616-203-846-4 ÃËÑÊÊÔ¹¤ŒÒ ñòñôððô ¾ÔÁ¾¤ÃÑ§é ·Õè ññ ÃËÑÊÊ¹Ô ¤ÒŒ 1244011

กระตนุ ความสนใจ สาํ รวจคน หา อธบิ ายความรู ขยายความเขา ใจ ตรวจสอบผล Engage Explore Explain Expand Evaluate คําชี้แจงในการใชส่อื ÊÒÃСÒÃàÃÂÕ ¹Ãʌ٠¢Ø È¡Ö ÉÒáÅоÅÈ¡Ö ÉÒ µÒÁËÅ¡Ñ ÊµÙ Ã᡹¡ÅÒ§¡ÒÃÈ¡Ö ÉÒ¢¹Ñé ¾¹×é °Ò¹ ¾·Ø ¸È¡Ñ ÃÒª òõõñ È¡Ö ÉÒà¡ÂÕè Ç¡ºÑ àÃÍ×è §¡ÒÃà¨ÃÞÔ àµºÔ âµ áÅо²Ñ ¹Ò¡ÒâͧÁ¹ÉØ Â ªÇÕ µÔ áÅФÃͺ¤ÃÇÑ ¡ÒÃà¤ÅÍè× ¹äËÇ ¡ÒÃÍÍ¡¡Òí Å§Ñ ¡Ò ¡ÒÃàŹ‹ à¡Á ¡ÌÕ Òä·Â ¡ÌÕ ÒÊÒ¡Å ¡Òà ÊÃÒŒ §àÊÃÁÔ Ê¢Ø ÀÒ¾ ÊÁÃöÀÒ¾ ¡Òû͇ §¡¹Ñ âä áÅФÇÒÁ»ÅÍ´ÀÂÑ ã¹ªÇÕ µÔ ÁàÕ »Ò‡ ËÁÒ à¾Í×è ¡ÒôÒí ̤梯 ÀÒ¾ ¡ÒÃÊÃÒŒ §àÊÃÁÔ Ê¢Ø ÀÒ¾ ¡Òþ²Ñ ¹Ò¤³Ø ÀÒ¾ªÇÕ µÔ ¢Í§º¤Ø ¤Å ¤Ãͺ¤ÃÇÑ áÅЪÁØ ª¹ãËÂŒ §èÑ Â¹× Ë¹§Ñ ÊÍ× àÃÂÕ ¹ Ê¢Ø È¡Ö ÉÒáÅоÅÈ¡Ö ÉÒ ».ò ©ººÑ ¹éÕ ÀÒÂã¹àÅÁ‹ ¹Òí àʹ͡Òè´Ñ ¡ÒÃàÃÂÕ ¹ ¡ÒÃÊ͹໹š ˹Nj ¡ÒÃàÃÂÕ ¹Ã¤ŒÙ ú¶ÇŒ ¹µÒÁÁҵðҹµÇÑ ªÇéÕ ´Ñ ª¹éÑ »‚ áÅÐÊÒÃСÒÃàÃÂÕ ¹ÃŒÙ ᡹¡ÅÒ§ â´Â๹Œ ¡ÒÃÍ͡Ẻ¡¨Ô ¡ÃÃÁãËÊŒ ÁÑ ¾¹Ñ ¸¡ ºÑ ¸ÃÃÁªÒµ¡Ô ÒÃàÃÂÕ ¹Ã¢ŒÙ ͧáµÅ‹ СÅÁ‹Ø ÊÒÃÐ áÅФÇÒÁʹ㨢ͧ¼àŒÙ ÃÂÕ ¹áµÅ‹ Ф¹ â´Âä´»Œ ÃºÑ á¡äŒ ¢à¹Íé× ËÒã˶Œ ¡Ù µÍŒ §áÅÐÊÍ´¤ÅÍŒ § µÒÁ¾ÃÐÃÒªºÞÑ ÞµÑ ¤Ô ÇÒÁà·Ò‹ à·ÂÕ ÁÃÐËÇÒ‹ §à¾È ¾.È. òõõø ¾ÃÐÃÒªºÞÑ ÞµÑ ¡Ô Òû͇ §¡¹Ñ áÅÐá¡äŒ ¢»Þ˜ ËÒ¡Òõ§Ñé ¤ÃÃÀ㏠¹ÇÂÑ Ã¹‹Ø ¾.È. òõõù áÅС®ËÁÒÂ͹è× ·àèÕ ¡ÂèÕ Ç¢ÍŒ § «§èÖ á¡äŒ ¢ »ÃºÑ »Ã§Ø à¹Íé× ËÒÀÒÂãµËŒ Å¡Ñ ÊµÙ Ã᡹¡ÅÒ§¡ÒÃÈ¡Ö ÉÒ¢¹Ñé ¾¹×é °Ò¹¾·Ø ¸È¡Ñ ÃÒª òõõñ â´Â »ÃºÑ á¡äŒ ¢à¹Í×é ËÒã¹ÊÒÃзèÕ ñ ¡ÒÃà¨ÃÞÔ àµºÔ âµáÅо²Ñ ¹Ò¡ÒâͧÁ¹ÉØ Â ÊÒÃзèÕ ò ªÇÕ µÔ áÅФÃͺ¤ÃÇÑ ÊÒÃзèÕ ó ¡ÒÃà¤ÅÍ×è ¹äËÇ ¡ÒÃÍÍ¡¡Òí Å§Ñ ¡Ò ¡ÒÃàŹ‹ à¡Á ¡ÌÕ Òä·Â áÅÐ ¡ÌÕ ÒÊÒ¡Å ÊÒÃзèÕ ô ¡ÒÃÊÃÒŒ §àÊÃÁÔ Ê¢Ø ÀÒ¾ ÊÁÃöÀÒ¾ áÅСÒû͇ §¡¹Ñ âä áÅÐÊÒÃÐ ·Õè õ ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÂÑ ã¹ªÇÕ µÔ ੾ÒÐàÃÍè× §·àèÕ ¡ÂÕè Ǣ͌ §¡ºÑ à¾ÈÇ¶Ô Õ ¤ÇÒÁà·Ò‹ à·ÂÕ ÁÃÐËÇÒ‹ §à¾È ¡Òû͇ §¡¹Ñ áÅÐá¡äŒ ¢»Þ˜ ËÒ¡Òõ§éÑ ¤ÃÃÀ㏠¹ÇÂÑ Ã¹‹Ø «§èÖ ä´¡Œ Òí ˹´¤Òí ÊÒí ¤ÞÑ ¤ÇÒÁËÁÒ à¹Íé× ËÒ áÅеÇÑ ÍÂÒ‹ § «§èÖ ÊÒí ¹¡Ñ ÇªÔ Ò¡ÒÃáÅÐÁҵðҹ¡ÒÃÈ¡Ö ÉÒ ÊÒí ¹¡Ñ §Ò¹¤³Ð¡ÃÃÁ¡Òà ¡ÒÃÈ¡Ö ÉÒ¢¹Ñé ¾¹é× °Ò¹ ÃÇ‹ Á¡ºÑ ¼·ŒÙ ç¤³Ø Ç²Ø ¨Ô ҡ˹Nj §ҹ·àÕè ¡ÂèÕ Ç¢ÍŒ § áÅÐÀÒ¤»ÃЪÒ椄 ¤Á ä´Œ¨Ñ´·íÒ¢Öé¹ à¾è×Í໚¹¡ÃͺáÅÐá¹Ç·Ò§ãËŒÊíҹѡ¾ÔÁ¾ãªŒã¹¡ÒûÃѺᡌ˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ã˶Œ ¡Ù µÍŒ §à»¹š ·àÕè ¢ÒŒ 㨵ç¡¹Ñ ·¡Ø ÃдºÑ ª¹éÑ ·§éÑ ¹Õé ¡ÒÃ»ÃºÑ »Ã§Ø ˹§Ñ ÊÍ× àÃÂÕ ¹´§Ñ ¡ÅÒ‹ Ç Â§Ñ ¤§Â´Ö ¶Í× ÃÒ¡°Ò¹à´ÁÔ ¢Í§Ê§Ñ ¤Áä·Â 仾ÃÍŒ Á¡ºÑ ¡ÒÃà»ÅÂèÕ ¹á»Å§¢Í§Ê§Ñ ¤ÁâÅ¡ «§Öè ¨Ð໹š »ÃÐ⪹µ Í‹ ¹¡Ñ àÃÂÕ ¹ ¼»ŒÙ ¡¤Ãͧ ¤ÃÙ áÅз¡Ø ¤¹ã¹Ê§Ñ ¤Á 㹡ÒÃÃÇ‹ ÁÊÃÒŒ §¤ÇÒÁà¢ÒŒ ã¨áÅÐÂÍÁÃºÑ ¡ÒÃà»ÅÂÕè ¹á»Å§·àÕè ¡´Ô ¢¹Öé ã¹ÈµÇÃÃÉ·èÕ òñ ÍÂÒ‹ §à·Ò‹ à·ÂÕ Á仾ÃÍŒ Á¡¹Ñ 

กระตนุ ความสนใจ สาํ รวจคน หา อธบิ ายความรู ขยายความเขา ใจ ตรวจสอบผล Engage Explore Explain Expand Evaluate เปาหมายการเรยี นรู กําหนดระดบั ความรู ความสามารถของผเู รยี นเมือ่ เรยี นจบหนว ย หนว่ ยการเรียนรู้ที่ ñ ñบทที่ สาระสําคญั ตวั เรา อวยั วะภายใน สาระสา� คัญ แกน ความรทู ีเ่ ปน เปา้ หมายการเรยี นร้ปู ระจ�าหนว่ ยที่ ๑ อวัยวะภายในมีความส�าคัญต่อระบบการ ความเขา ใจคงทน ¡¨Ô ¡ÃÃÁ¹ÒÊÙ‹¡ÒÃàÃÕ¹ ทา� งานของรา่ งกาย ดงั นนั้ เราจงึ ควรดแู ลรกั ษา ตดิ ตวั ผเู รยี น เมื่อเรียนจบหน่วยน� ้ ผู้เรียนจะมีความรู้ อวัยวะภายในอย่างถูกวิธี เพ่ือให้ท�างานได้ ความสามารถต่อไปน�้ อย่างเปน็ ปกติ ๑. อธิบายลกั ษณะและหนา้ ทข่ี องอวยั วะภายใน (มฐ. พ ๑.๑ ป.๒/๑) ๒. อธบิ ายวธิ ดี ูแลรกั ษาอวยั วะภายใน (มฐ. พ ๑.๑ ป.๒/๒) ๓. อธิบายธรรมชาตขิ องชีวติ มนษุ ย ์ (มฐ. พ ๑.๑ ป.๒/๓) ? ñ. ÍÇÂÑ Çе‹Ò§æ ·èÕàËç¹ã¹ÀÒ¾ ÁªÕ ×Íè àÃÕÂ¡Ç‹Ò ÍÐäúҌ § ò. อÇÂั ÇÐเËÅÒ่ นéมÕ คÕ ÇÒมÊíÒคÞั อÂ่Ò§ไรบŒÒ§ 2 ¡Ô¨¡ÃÃÁ¹ÓÊ¡‹Ù ÒÃàÃÂÕ ¹ เนอื้ หา นาํ เขาสบู ทเรียนใชก ระตุนความสนใจ และวัดประเมนิ ผลกอนเรยี น ครบตามหลักสูตรแกนกลางฯ พ.ศ. ๒๕๕๑ นําเสนอเหมาะสมกบั การเรยี น ¡¨Ô ¡ÃÃÁ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ การสอนในแตล ะระดบั ๒ช. หนั้ ัวใจ ตอนท ่ี ๑ ค�าถามชวนคดิ หวั ใจ เป็นอวยั วะที่สา� คญั ท่สี ดุ ในระบบไหลเวยี นโลหติ เขยี นตอบคา� ถามตอ่ ไปน้ีลงในสมดุ ๑) ถ้านักเรียนปวดทอ้ ง นกั เรียนจะรู้สกึ อย่างไร 梯 ÀÒ¾¹Ò‹ Ì٠ต�าแหน่ง ตง้ั อยู่ในทรวงอก วิธดี แู ลรกั ษาหัวใจ ๒) นักเรียนรู้หรอื ไมว่ ่าอาการปวดเกดิ ข้ึนกบั อวัยวะใดไดบ้ า้ ง ระหว่างปอดทง้ั ๒ ขา้ ง ๑ พกั ผ่อนให้เพยี งพอ ๓) อ าการปวดท้องส่งผลกระทบต่อการด�าเนินชีวิตประจ�าวันของนักเรียน เปน เกร็ดความรู มขี นาดประมาณเทา่ กบั เพมิ่ เตมิ ท่เี ปน ก�าปน้ั ของเจา้ ของ อยา่ งไร ประโยชนต อ ๔) ถา้ นักเรียนไมอ่ ยากปวดทอ้ งอีก นักเรยี นควรทา� อย่างไร ผเู รียน ลักษณะ คล้ายดอกบวั ตมู แบง่ ๒ กนิ อาหารทีม่ ีประโยชน์ และหลีกเล่ียง ออกเป็น ๔ หอ้ ง คอื ตอนท ี่ ๒ ชวนคิด ชวนท�า - หัวใจหอ้ งบนซา้ ย อาหารทีม่ ไี ขมนั สูง - หัวใจห้องล่างซา้ ย ๑. ดูภาพ แลว้ บอกช่อื อวัยวะ และเขยี นอธบิ ายหน้าทข่ี องอวัยวะต่างๆ เหล่าน้ี - หัวใจห้องบนขวา ๓ ออกกา� ลังกายอยา่ งสมา�่ เสมอ ๑ ) ลงในสมดุ ๒) ๓) ๔) - หวั ใจหอ้ งลา่ งขวา ๕) ๖) และเหมาะสมกบั วยั หน้าท่ี สบู ฉีดโลหติ ไปเลยี้ ง ๔ ทา� จติ ใจให้ร่าเรงิ แจม่ ใสอยู่เสมอ สว่ นตา่ งๆ ของรา่ งกาย ไมเ่ ครยี ด เลือดแดง ปอด ๒. อา่ นขอ้ ความ และบอกวา่ มีผลต่ออวยั วะใด ๑) ว่ิงเล่นแลว้ ศรี ษะกระแทกกบั เพ่อื น จาเกลรอื า่ ดงดกาํ าย หวั ใจซกี ซา้ ย รับเลอื ดจากปอดเพื่อสง่ ไปยงั ๒) รับประทานอาหารรสจดั เชน่ หวานจัด เค็มจัด เผด็ จัด หวั ใจซีกขวา ส่วนต่างๆ ของร่างกาย ๓) อยู่ในทีท่ มี่ ีฝนุ่ ละอองและมลพษิ มาก รับเลือดจากส่วนต่างๆ ของ รา่ งกาย เพ่ือส่งไปฟอกท่ปี อด การท�างานประสานกนั ของหัวใจท้ัง ๔ ห้อง ¡Ô¨¡ÃÃÁ¡ÒÃàÃÂÕ ¹ÃŒÙ ๔) ด่ืมสุราเปน็ ประจา� ทกุ วนั ทา� ให้หัวใจสูบฉีดเลือดไปเล้ียงร่างกายไดเ้ ป็นปกติ 梯 ÀÒ¾¹‹ÒÃÙŒ ๕) ชอบรบั ประทานอาหารท่ีมไี ขมนั มากๆ ๓. เขียนวิธีการดูแลอวัยวะภายในลงในสมุดมา ๕ ข้อ พร้อมทั้งบอกว่า เป็นวิธีการดแู ลอวยั วะใด ตอนที่ ๓ ผลงานสรา้ งสรรค์ แบ่งกลุ่ม แต่ละกลุ่มร่วมกันจัดท�าแผ่นภาพอวัยวะภายใน โดยให้ด้านหน้าของ หวั ใจห้องบนขวาจะรบั เลือดท่มี แี ก๊สออกซเิ จนนอ้ ยจากทกุ สว่ นของรา่ งกาย เพ่ือสง่ ต่อไป ปฏบิ ตั ิ เพมอ่ื อพบฒั หนมาคาวยามผรูเู รคียวานมฝคกดิ(ชอื่ ตาํ แหน่ง ลกั ษณะ หนา้ ที่ การดูแลรักษา) ใหห้ วั ใจหอ้ งลา่ งขวาสง่ เลอื ดไปฟอกทปี่ อด หวั ใจหอ้ งบนซา้ ยรบั เลอื ดทมี่ แี กส๊ ออกซเิ จนมากจาก แผ่นภาพเป็นภาพอวัยวะภายใน และให้ด้านหลังของแผ่นภาพเป็นรายละเอียด ปอดส่งตอ่ ให้หวั ใจห้องลา่ งซ้าย เพ่ือสง่ ไปเล้ยี งส่วนตา่ งๆ ของร่างกาย 11 5 และทกั ษะประจาํ หนว ย

กระตนุ ความสนใจ สาํ รวจคน หา อธบิ ายความรู ขยายความเขา ใจ ตรวจสอบผล Engage Explore Explain Expand Evaluate ส า ร บั ญ ๑ห น ว ย ๑ การเรยี นรูที่ ตัวเรา ๒ ๑๒ บทท่ี ๑ อวยั วะภายใน บทที่ ๒ ธรรมชาตขิ องมนุษย ๑๖ ๒ห น ว ย ๑๗ ๒๒ การเรยี นรทู ี่ ครอบครัว ตวั ฉนั และคนรอบขาง ๒๖ บทที่ ๑ ครอบครวั เปนสุข ๓๐ บทท่ี ๒ หนงึ� มิตรชดิ ใกล บทท่ี ๓ เขาใจตนเอง ๓๑ ๓๕ ๓ห น ว ย ๔๐ ๔๖ การเรยี นรูท่ี รกั สขุ ภาพ ๕๓ บทที่ ๑ สขุ ภาพของเรา บทที่ ๒ อาหารดมี ปี ระโยชน ๕๔ บทที่ ๓ ของใชแ ละของเลน ๖๑ บทท่ี ๔ การบาดเจบ็ และเจ็บปว ย ๖๕ ๔ห น ว ย ๗๐ การเรียนรูที่ ชวี ิตปลอดภยั ๗๑ ๗๖ บทที่ ๑ อบุ ัติเหตุและการปอ งกนั บทที่ ๒ สญั ลกั ษณและปา ยเตือน ๘๒ บทท่ี ๓ อคั คีภยั ๘๓ ๕ห น ว ย ๘๘ ๙๓ การเรียนรูท่ี ยาและสารเสพติด ๙๘ ๑๐๓ บทท่ี ๑ ยานารู บทที่ ๒ ภยั รา ยทําลายชวี ติ ๑๐๘ ๖ห น ว ย การเรียนรูท ี่ กจิ กรรมหรรษา บทท่ี ๑ เตรยี มความพรอ ม บทท่ี ๒ ขยับรางกาย บทที่ ๓ เคลือ่ นที่รา งกาย บทที่ ๔ สนุกกับอุปกรณ บทท่ี ๕ เกมแสนสนกุ บรรณานุกรม

กกรระตะตนุ Eุนnคคgววaาgามeมสสนนใจใจ สํารวจคน หา อธบิ ายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล Evaluate ñEngage Explore Explain Expand Engage กระตนุ ความสนใจ หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 1. ครสู อนนักเรยี นรองเพลง “นีค่ ืออะไร” ตวั เรา 1 - 2 ครงั้ จากนนั้ ใหน ักเรียนรวมกันรองเพลง พรอ มกบั แสดงทาทางประกอบเพลง เป้าหมายการเรยี นรู้ประจ�าหนว่ ยท่ี ๑ 2. ใหนกั เรยี นชวยกันบอกวา เนอื้ เพลง เมอ่ื เรียนจบหน่วยน�้ ผเู้ รียนจะมีความรู้ กลาวถงึ อวัยวะใดบาง ความสามารถต่อไปน� ้ ๑. อธิบายลกั ษณะและหน้าท่ขี องอวัยวะภายใน 3. ครสู นทนากบั นกั เรยี นวาอวยั วะท่ีกลา วถงึ (มฐ. พ ๑.๑ ป.๒/๑) ในเน้อื เพลงน้ี เรียกวา อวัยวะภายนอกแลว ๒. อธบิ ายวิธดี แู ลรักษาอวัยวะภายใน ภายในรางกายของคนเราก็มีอวยั วะ (มฐ. พ ๑.๑ ป.๒/๒) ซงึ่ นักเรยี นจะไดเรยี นตอไปในหนว ยน้ี ๓. อธบิ ายธรรมชาติของชวี ติ มนษุ ย์ (มฐ. พ ๑.๑ ป.๒/๓) เกร็ดแนะครู ครรู อ งเพลง “น่ีคอื อะไร” โดยใชทาํ นองงายๆ ใหน กั เรียนฟง กอน 1 รอบ แลว ใหนักเรียนฝกรองตาม พรอ มกบั ทําทา ประกอบ เพลง นคี่ ืออะไร นค่ี อื ผม นค่ี อื หนา ผาก นีค่ ือปาก นคี่ อื ลูกตา น่คี อื ขา นีค่ ือหัวไหล ยดื ออกไปเขาเรยี กวาแขน อนั แบนๆ เขาเรียกสะโพก เอาไวโยก แซมบา แซมบา มมุ IT ครูดูแนวทางการจดั กิจกรรมเรือ่ ง อวัยวะภายใน ไดจาก www.thaiteachers. tv/vdo2.php?id=692 แลวเลอื ก “สขุ ศกึ ษา ขาแดนซ” คูมือครู 1

กกรระตะตนุ Eนุ nคคgววaาgามeมสสนนใจใจ สาํ รวจคนหา อธิบายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล Explore Explain Expand Evaluate Engage เปาหมายการเรียนรู ñบทที่ 1. อธบิ ายลกั ษณะและหนา ทข่ี องอวยั วะภายใน อวัยวะภายใน สาระสา� คญั (พ 1.1 ป.2/1) อวัยวะภายในมีความส�าคัญต่อระบบการ ¡¨Ô ¡ÃÃÁ¹ÒÊÙ‹¡ÒÃàÃÕ¹ ทา� งานของรา่ งกาย ดงั นน้ั เราจงึ ควรดแู ลรกั ษา 2. อธิบายวิธีดแู ลรักษาอวัยวะภายใน อวัยวะภายในอย่างถูกวิธี เพื่อให้ท�างานได้ (พ 1.1 ป.2/2) อย่างเปน็ ปกติ สมรรถนะของผูเรยี น • ความสามารถในการสื่อสาร คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค 1. ใฝเรียนรู 2. มงุ ม่ันในการทาํ งาน กระตนุ ความสนใจ Engage 1. ครูทบทวนเรอ่ื งอวัยวะภายนอก โดยใหน กั เรยี น ? รวมกนั บอกชอ่ื อวัยวะภายนอก แลว ครเู ขยี นลง บนกระดาน ñ. ÍÇÑÂÇеҋ §æ ·èÕà˹ç ã¹ÀÒ¾ ÁªÕ Íè× àÃÂÕ ¡ÇÒ‹ ÍÐäúҌ § 2. ใหนักเรยี นผลดั กนั อธบิ ายลักษณะ หนาที่ และ วธิ ดี ูแลรักษาอวัยวะภายนอกทลี ะอวยั วะ ò. อÇัÂÇÐเËÅÒ่ นéÕมคÕ ÇÒมÊÒí คัÞอÂÒ่ §ไรบŒÒ§ 3. ใหนักเรยี นดูภาพในหนังสอื เรียน หนา 2 แลว ชว ยกนั บอกชื่ออวัยวะในภาพ จากนั้นครูถามวา อวยั วะเหลา น้นั อยตู รงสวนใดของรางกาย ใหนกั เรยี นช้ีตาํ แหนง อวยั วะนน้ั ๆ 2 เกร็ดแนะครู ครจู ดั กระบวนการเรยี นรูโดยการใหน กั เรยี นปฏบิ ัติ ดงั นี้ • ศกึ ษาขอมลู อวัยวะภายในและการดูแลรักษา • อธบิ ายขอ มลู อวัยวะภายในและการดูแลรักษา จนเกดิ เปนความรูค วามเขาใจวา อวัยวะภายในเปน อวยั วะทอ่ี ยูใ นรางกาย และมีความสาํ คัญตอ การดํารงชวี ิต การดูแลอวยั วะภายในอยางถกู ตอ ง จะทําให อวัยวะของรางกายทํางานตามปกติ เฉลย กจิ กรรมนาํ สกู ารเรียน 1. ปอด มีหนา ทีส่ าํ คัญ คือ แลกเปลีย่ นแกส ออกซเิ จนกับแกส คารบอนไดออกไซด 2. หัวใจ มีหนาที่สําคัญ คือ สูบฉีดเลอื ดไปเล้ียงสวนตางๆ ของรา งกาย 3 กระเพาะอาหาร มหี นา ทสี่ าํ คญั คอื ยอ ยอาหาร 4. ลาํ ไสเลก็ มหี นา ที่สาํ คญั คอื ยอยอาหารและดูดซึมสารอาหารเขาสูร า งกาย 2 คูม ือครู

กระตนุ ความสนใจ สสาํ าํ รรEวxวpจจloคคrนeน หหาา อธิบายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล Engage Explain Expand Evaluate Explore Explore สาํ รวจคน หา อวัยวะ1ภายใน อวยั วะภายนอกมองเห็นดว้ ยตาเปล่าได้ 1. ครตู ิดบัตรคาํ อวยั วะภายใน ไดแ ก สมอง ร่างกายของเราประกอบ หวั ใจ ตบั ไต ปอด กระเพาะอาหาร และลาํ ไส ไปด้วยอวัยวะชนดิ ตา่ งๆ ซ่งึ รวม บนกระดาน แลว ใหนกั เรียนสงั เกตเพือ่ นๆ วา เรยี กวา่ อวยั วะภายในและอวยั วะ นกั เรียนมองเหน็ อวยั วะเหลา นี้ของเพ่อื นๆ ภายนอก หรือไม อวัยวะภายนอก เป็น 2. นักเรยี นและครรู วมกนั บอกวา อวยั วะเหลาน้ี อวัยวะท่ีเราสามารถมองเห็นได้ เราไมสามารถมองเห็นได เพราะเปนอวยั วะที่ เพราะอยู่ภายนอกร่างกาย เช่น อยูภายในรางกายเรียกวา อวัยวะภายใน ตา หู จมูก ปาก เป็นตน้ 3. ใหน ักเรยี นแบง กลุมออกเปน 7 กลมุ แลว ให แตล ะกลมุ จบั ฉลากชื่ออวัยวะภายในตาม อวยั วะภายใน เป็นอวัยวะ บตั รคาํ บนกระดาน กลุมละ 1 ช่อื จากน้นั ที่อยู่ภายในร่างกายของเรา ซึ่ง ใหแตล ะกลุม ศึกษาขอมูลเกย่ี วกับอวัยวะท่ี เราไม่สามารถมองเห็นได้ เช่น จับฉลากไดตามหัวขอ ดงั นี้ สมอง หวั ใจ ตบั ไต ปอด เปน็ ตน้ • ลกั ษณะ • หนาท่ี • การดูแลรกั ษา โดยการศึกษาจากหนังสอื เรยี น หนา 4 - 10 㹪¹éÑ àÃÂÕ ¹¹éÕ ¹Ñ¡àÃÕ¹¨Ðä´Œ เรÕÂนรÙŒเ¡èÂÕ Ç¡บั อÇÂั ÇÐÀÒÂãนทÕèÊÒí คÞั µÍ‹ 仹éÕ อวัยวะภายในทา� งานกนั อย่างเป็นระบบ 3 ขอ ใดตางจากพวก ขอ สอบเนน การคิด นกั เรยี นควรรู ก. ตา คอ ข. หู จมกู 1 อวัยวะ คือ กลุมของเน้อื เยอื่ ทอ่ี ยรู วมกัน ซ่งึ แตล ะอวัยวะมคี วามสาํ คัญ ค. มือ เทา แตกตางกันไปตามหนา ท่ขี องแตละอวัยวะ ง. ปาก ลาํ ไส วิเคราะหคําตอบ ตา คอ หู จมกู มือ เทา และปาก เปน อวัยวะท่เี รา มองเห็นไดดว ยตา แตลาํ ไสเ ปน อวัยวะท่ีอยูภายในรา งกาย เราไมสามารถ มองเหน็ ได ดังนน้ั ขอ ง. เปน คําตอบท่ถี กู คมู ือครู 3

กระตนุ ความสนใจ สาํ รวจคนหา ออธธบิ ิบEาาxยยplคคaวiวnาามมรรู ู ขยายความเขา ใจ ตรวจสอบผล Explore Expand Evaluate Engage Explain Explain อธบิ ายความรู 1. ใหแ ตละกลมุ ผลัดกันออกมานําเสนอผลการ ๑ . สมอง ศึกษาตามทไ่ี ดรับมอบหมาย โดยนาํ เสนอใน สมอง เปน็ อวยั วะส�าคัญในระบบประสาท รปู แบบที่กลมุ ของตนเองคดิ ขน้ึ เชน รายงาน แสดงบทบาทสมมตุ ิ รองเพลง เปนตน ต�าแหน่ง อยภู่ ายในกะโหลก วิธดี แู ลรกั ษาสมอง ศรี ษะ 2. เม่อื แตล ะกลุม รายงานจบแลว ใหเ พ่ือน ๑ พักผ่อนให้เพยี งพอ ตางกลมุ และครรู วมกันซกั ถามขอ สงสัย ลักษณะ เป็นก้อนเนือ้ นมุ่ ๆ หยนุ่ ๆ เปน็ ลอนคลนื่ ๒ กินอาหารที่มปี ระโยชน์ 3. ครตู งั้ คาํ ถามเกีย่ วกบั ลักษณะและหนาที่ของ สมองแบง่ ออกเปน็ ๓ ไม่ดื่มสุรา ไม่เสพสารเสพตดิ อวัยวะภายใน แลวใหนักเรียนผลดั กนั ตอบ เชน ๓ ส่วน คอื • อวัยวะใดมรี ูปรางคลา ยดอกบัวตูม - สมองสว่ นหนา้ ไม่สบู บุหรี่ (ตอบ หัวใจ) - สมองสว่ นกลาง • ปอดมีรปู รา งลักษณะอยา งไร - สมองส่วนหลงั ๔ ระมัดระวังไม่ให้ของแข็งมากระแทก (ตอบ ปอดมีรูปรา งคลา ยกรวยคว่าํ มลี ักษณะคลา ยฟองน้าํ ยดื หยนุ ได) หน้าท่ี ควบคุมการท�างาน ศีรษะ • อวยั วะใดมีรูปรางคลายตวั เจ (J) และ ของร่างกาย มหี นา ท่อี ะไร ๕ ออกก�าลงั กายอยา่ งสม่�าเสมอและ (ตอบ กระเพาะอาหาร มหี นา ทยี่ อ ยอาหาร) • ตับมีรปู รา งอยางไร และมีหนาทอ่ี ะไร เหมาะสมกบั วยั (ตอบ ตับมีรูปรางคลา ยลม่ิ มี 2 กลบี คือ กลีบซา ยและขวา โดยกลีบซา ยจะมขี นาด สมองส่วนหน้า สมองสว่ นกลาง เล็กกวา กลีบขวา ตบั มหี นาท่ขี บั สารพิษออกจากรางกาย ท�าหนา้ ท่ี ควบคุมการเคล่อื นไหว ความคดิ ความจ�า ท�าหนา้ ท่ี เป็นสถาน�รับ-สง่ ประสาทระหวา่ ง และผลิตน้าํ ดซี ง่ึ มคี วามสําคญั ในการยอ ย สตปิ ัญญา ความรู้สึก การได้ยนิ การมองเห็น สมองสว่ นหน้ากับสว่ นทา้ ยเกยี่ วกบั การ อาหาร) การดมกล�ิน การสมั ผัส การพดู และการรับรส มองเหน็ และการได้ยนิ สมองส่วนหลัง ก้านสมอง ทา� หน้าท่ี ควบคมุ กลา้ มเน้�อ บรเิ วณใบหน้า การท�างานเหน�อ อ�านาจจิตใจ การทา� งานของ ระบบกล้ามเน้�อและการทรงตัว สมองแต่ละสว่ นจะท�าหนา้ ทีแ่ ตกตา่ งกนั 4 เกรด็ แนะครู ครอู ธิบายใหน ักเรียนฟง เพมิ่ เติมวา การกระทําบางอยา งถากระทาํ ติดตอกันเปน ประจําจะสงผลเสยี ตอ สมอง เชน การกระทาํ ท่ีสง ผลเสยี ตอ สมอง ผลเสยี / เหตผุ ล 1. การไมก นิ อาหารเชา ทาํ ใหร า งกายออ นเพลยี สมาธสิ นั้ เพราะรา งกายตอ งนาํ สารอาหารทเี่ กบ็ สะสมไวม าใชเ ปน พลงั งานในการทาํ กจิ กรรมตา งๆ ทําใหส มองไดร ับสารอาหารไมเพียงพอ จึงสง ผลใหส มองทาํ งานไดไ มด เี ทา ท่คี วร 2. การไมคอยพูดและไมใ ชค วามคดิ ทําใหสมองฝอ เพราะการพดู และการคดิ เปน วิธที ดี่ ีทส่ี ุดในการฝกสมอง 3. การสูดดมอากาศทีเ่ ปนพิษ ทาํ ใหป ระสทิ ธภิ าพการทาํ งานของสมองลดลง เพราะอากาศทเี่ ปน พษิ ทาํ ใหแ กส ออกซเิ จนในสมองลดลง สมองจงึ ทาํ งานได ไมเต็มที่ เชน คดิ อะไรชา ลง เปน ตน 4. การอดนอนเปน เวลานาน ทาํ ใหเซลลสมองตาย เพราะสมองไมไดพกั ผอนอยา งเตม็ ท่ี 5. การนอนคลมุ โปง ทําใหผูนอนหลับตองหายใจเอาแกสคารบอนไดออกไซดเขาไปอีก เพราะการนอนคลุมโปงเปนการกักเก็บอากาศท่ีอยู บรเิ วณนนั้ ไว แลว เมอ่ื เราหายใจเอาแกส คารบ อนไดออกไซดอ อกมา ทาํ ใหบ รเิ วณทคี่ ลมุ โปงมแี กส คารบ อนไดออกไซดเ พมิ่ ขนึ้ 4 คูมือครู

กระตุนความสนใจ สาํ รวจคน หา ออธธบิ ิบEาาxยยplคคaวiวnาามมรรู ู ขยายความเขา ใจ ตรวจสอบผล Engage Explore Evaluate Explain Expand Explain อธบิ ายความรู ๒. หวั ใจ 1. ใหนักเรียนทํากิจกรรม ชวนคิด ชวนทํา ขอ 1 หวั ใจ เปน็ อวัยวะท่ีสา� คญั ท่สี ดุ ในระบบไหลเวยี นโลหิต หนา 11 โดยเขยี นอธบิ ายลกั ษณะและหนาที่ ของอวัยวะในภาพ ตง้ั อยู่ในทรวงอก วิธีดูแลรักษาหวั ใจ ระหวา่ งปอดทั้ง ๒ ข้าง 2. ใหนกั เรียนทาํ แบบฝก กิจกรรมท่ี 1 มขี นาดประมาณเทา่ กบั ๑ พักผอ่ นให้เพยี งพอ เร่อื ง อวัยวะภายใน ขอ 1 จากแบบวัดฯ ก�าปั้นของเจา้ ของ สุขศึกษาฯ ป.2 ตา� แหน่ง ใบงาน ✓แบบวดั ฯ แบบฝกฯ สขุ ศกึ ษาฯ ป.2 แบบฝก กิจกรรมท่ี 1 เร่อ� ง อวัยวะภายใน คล้ายดอกบวั ตมู แบ่ง ลักษณะ ออกเปน็ ๔ หอ้ ง คอื ๒ กนิ อาหารท่ีมปี ระโยชน์ และหลกี เล่ยี ง ๑บทท่ี อวัยวะภายใน ñ˹‹Ç¡ÒÃàÃÂÕ ¹ÃÙ·Œ èÕ หนา้ ที่ - หัวใจห้องบนซ้าย µÇÑ àÃÒ - หวั ใจห้องลา่ งซา้ ย อาหารทีม่ ไี ขมันสงู - หัวใจห้องบนขวา แบบฝกกิจกรรมท่ี ๑ อวัยวะภายใน - หวั ใจหอ้ งลา่ งขวา ๓ ออกก�าลงั กายอยา่ งสม�่าเสมอ2 คาํ ชแ้ี จง : การเรยี นรชู อื่ ลักษณะ หนา ท่ขี องอวัยวะภายใน ทําใหเขาใจ สบู ฉีดโลหติ 1ไปเลยี้ ง สว่ นตา่ งๆ ของรา่ งกาย และเหมาะสมกับวัย การทํางานของรา งกาย ๔ ทา� จติ ใจใหร้ า่ เริงแจม่ ใสอยู่เสมอ ๑ โยงเสนจบั คูภาพกบั ขอ ความทีส่ มั พันธกัน ไต ตงั้ อยดู า นลา งของชอ งทางดา น ๑) ซายและดานขวา ใกลกับกระดูก ไม่เครียด สันหลัง ยดึ ติดอยูกบั กะบังลม เฉฉบลับย ๒) เลอื ดแดง ปอด ลาํ ไส เปน ทอกลวงยาว ขดไปมา อยูในชองทอ งตอนบน หัวใจซีกซา้ ย จาเกลรือา่ ดงดกาําย ๓) หัวใจ ตั้งอยูในทรวงอกระหวาง รับเลือดจากปอดเพอ่ื ส่งไปยงั ปอดท้งั ๒ ขา ง มขี นาดเทา กําปน หัวใจซกี ขวา ส่วนตา่ งๆ ของร่างกาย ของเจาของ รับเลอื ดจากส่วนตา่ งๆ ของ การท�างานประสานกันของหัวใจทง้ั ๔ ห้อง ๔) ตบั ตงั้ อยดู า นขวาบนของชอ งทอ ง รา่ งกาย เพอ่ื สง่ ไปฟอกท่ปี อด ทา� ให้หวั ใจสูบฉีดเลอื ดไปเลีย้ งรา่ งกายได้เปน็ ปกติ อยูใกลกะบังลม และมีบางสวน วางอยบู นกระเพาะอาหาร 梯 ÀÒ¾¹Ò‹ ÃÙŒ ๑ หวั ใจหอ้ งบนขวาจะรับเลือดทีม่ แี ก๊สออกซเิ จนน้อยจากทุกส่วนของร่างกาย เพ่ือส่งต่อไป ใหห้ วั ใจหอ้ งลา่ งขวาสง่ เลอื ดไปฟอกทปี่ อด หวั ใจหอ้ งบนซา้ ยรบั เลอื ดทม่ี แี กส๊ ออกซเิ จนมากจาก ปอดส่งตอ่ ให้หวั ใจหอ้ งล่างซ้าย เพือ่ ส่งไปเล้ยี งส่วนตา่ งๆ ของร่างกาย 5 ขอสอบเนนการคิด นักเรยี นควรรู ใครดแู ลรักษาหวั ใจไดถ กู ตอ ง 1 สบู ฉีดโลหติ หัวใจจะสบู ฉดี โลหิตหรือเลือดไปเลี้ยงสว นตางๆ ของรา งกาย ก. จว๋ิ กนิ แตอ าหารทเ่ี ปนผกั และผลไมเทา นน้ั เมอ่ื หัวใจบีบตวั จะดนั เลือดออกไป และรับเลือดเขา สหู วั ใจดว ยการคลายตัว ข. พลอยไปพบแพทยเพื่อตรวจเชก็ หวั ใจทกุ สัปดาห การบีบและคลายตัวของหัวใจ เรยี กวา การเตนของหวั ใจ ซึ่งอตั ราการเตน ของ ค. แกว ไมย อมออกกาํ ลังกายเพราะกลัวหวั ใจทาํ งานหนกั หัวใจในคนวยั หนุม สาวปกตจิ ะมอี ตั ราการเตนของหัวใจ ประมาณ 70 - 80 ครั้ง ง. อารมฝก ตนเองใหเ ขานอนและตืน่ นอนเปนเวลาทุกวนั ตอนาที และจะเพ่ิมขึ้นหรือลดลงขน้ึ อยูกบั กจิ กรรมทที่ าํ เพศ และวัย วิเคราะหคาํ ตอบ การดแู ลรักษาหัวใจใหแ ขง็ แรง ทาํ ไดโดยการกินอาหาร 2 ออกกาํ ลังกายอยา งสมํา่ เสมอ จะมีผลดีตอหวั ใจ คอื ทําใหก ลามเน้อื หัวใจ ใหห ลากหลายและครบถว น เขานอนใหเ ปนเวลาเพอ่ื ใหร างกายไดพักผอ น แขง็ แรงข้นึ ทาํ ใหแ รงบบี ตวั ของหวั ใจดขี ึ้น สามารถสูบฉีดเลอื ดออกจากหวั ใจ อยางเพียงพอ ทาํ จติ ใจใหแ จม ใส และออกกาํ ลงั กายอยา งสมาํ่ เสมอ ไดครง้ั ละมากข้นึ มีการกระจายของหลอดเลอื ดฝอยมากขึ้นในกลา มเน้ือหัวใจ สวนการพบแพทยเพ่ือตรวจเช็กหวั ใจทกุ สปั ดาหเ ปน การปฏบิ ัติท่ีมากเกนิ ไป ทําใหก ลา มเนอ้ื หวั ใจไดรบั เลอื ดหลอ เลย้ี งเพยี งพอ ไมเ กิดการขาดเลอื ดไดง าย เพราะนอกจากทาํ ใหเ สยี เวลาแลว ยงั ทาํ ใหเ กดิ การกงั วล จนทาํ ใหเ ครยี ดได ดังนัน้ ขอ ง. เปนคําตอบทถ่ี ูก คมู อื ครู 5

กระตุนความสนใจ สาํ รวจคน หา ออธธบิ บิ Eาาxยยplคคaวiวnาามมรรู ู ขยายความเขา ใจ ตรวจสอบผล Explore Expand Evaluate Engage Explain Explain อธบิ ายความรู ครตู ้งั คําถามเกยี่ วกบั การดูแลรักษาอวัยวะ ๓. ตบั ภายใน แลวใหนกั เรยี นชวยกนั ตอบ เชน ตับ เปน็ อวยั วะส�าคัญอวยั วะหนึ่งในระบบยอ่ ยอาหาร • การนอนหลับใหเ พียงพอ จะชว ยใหหัวใจ ตา� แหนง่ ต้ังอยู่ด้านขวาบนของ วิธดี แู ลรักษาตบั มสี ุขภาพดไี ดอยางไร ลักษณะ ช่องท้อง และอยู่ใกล้ (แนวตอบ หัวใจเปน อวยั วะที่ทํางานอยตู ลอด หน้าท่ี กะบงั ลม และมี ๑ พกั ผอ่ นให้เพียงพอ เวลา แมใ นชวงทเี่ รานอนหลบั หัวใจกย็ ัง บางส่วนของตบั วาง ๒ ไม่กินอาหารดิบหรือสกุ ๆ ดบิ ๆ2 ทํางานอยเู ปนปกติ แตจ ะทาํ งานนอ ยลง อยบู่ นกระเพาะอาหาร ๓ ไมก่ ินยาเกินความจ�าเป็น เพราะ ดงั นน้ั การพกั ผอนใหเ พียงพอ จะชวยทําให รูปรา่ งคลา้ ยลิ่ม หัวใจไมต อ งทาํ งานหนักเกินไป) มสี ีน้า� ตาลแดง สารเคมีในยาอาจมฤี ทธทิ์ �าลายตบั มีลกั ษณะเป็น ๒ กลบี • ถา นกั เรียนปวดปส สาวะขณะเรยี น ควรทาํ ขนาดไมเ่ ทา่ กนั ๔ ไมด่ ืม่ สรุ าและเคร่ืองดมื่ ทม่ี ี อยางไร ขร่าับงสกาารยพ แิษลอะอผกลจิตานก�้าด ี1 (แนวตอบ ขออนุญาตครไู ปหอ งนํ้าทันที) ซงึ่ มคี วามสา� คญั สา� หรบั แอลกอฮอล์ ใช้ในกระบวนการย่อย • การกนิ อาหารไมต รงเวลาจะเกิดผลเสียตอ อาหาร ๕ ออกก�าลังกายอยา่ งสม่�าเสมอ กระเพาะอาหารอยางไร ๖ กนิ อาหารทส่ี ะอาดและดืม่ น้า� ต้มสุก (แนวตอบ เม่ือถงึ เวลากินอาหาร กระเพาะ อาหารจะผลติ น้ํายอ ย ซึ่งมีฤทธ์เิ ปนกรด เสมอ ออกมาเพ่อื ชวยยอยอาหาร ซงึ่ ถา ไมม อี าหาร เขาสูกระเพาะอาหาร นํ้ายอยกจ็ ะกัด ผนงั กระเพาะอาหารใหเ ปน แผล) ตบั กลบี ขวา มขี นาดใหญ่เป็น ๖ เท่า ของกลบี ดา้ นซา้ ย ตับกลบี ซ้าย มีขนาดเลก็ และแบนกวา่ ดา้ นขวา นอกจากขับสารพษิ ออกจากร่างกายแลว้ ตบั ยังเปน็ แหลง่ สะสมของวติ ามนิ ตา่ งๆ เช่น วิตามินเอ วิตามนิ ดี วติ ามนิ บี ๑๒ เป็นตน้ 6 นักเรยี นควรรู ขอสอบเนนการคดิ พฤตกิ รรมใดตอ ไปนี้ทส่ี ง ผลเสียตอตบั 1 นาํ้ ดี เปน สารสาํ คญั ทส่ี รางมาจากตบั มลี กั ษณะเปนของเหลวสีเหลอื งหรอื ก. ดม่ื สรุ าเปน ประจาํ สเี ขยี ว ถกู เก็บไวทถ่ี ุงน้ําดี โดยนา้ํ ดมี หี นาทย่ี อยอาหารประเภทไขมนั ข. กินลาบหมูทที่ ําสุกแลว 2 อาหารดิบหรือสกุ ๆ ดิบๆ ประเภทนํ้าจืด เชน ปลานํ้าจดื หอยนาํ้ จืด เปน ตน ค. ออกกาํ ลงั กายเปนประจําทุกสปั ดาห อาจมตี วั ออนของพยาธใิ บไมตับปนเปอ นอยู ซงึ่ ถา คนกนิ อาหารที่ปรงุ ไมสุกและ ง. ดื่มนา้ํ สะอาดท่บี รรจใุ นภาชนะทม่ี ดิ ชดิ มพี ยาธิปนอยูเขาไป จะทาํ ใหต ัวออนของพยาธเิ ขา ไปฝงอยูในรางกาย แลวทาํ ให วิเคราะหค าํ ตอบ การด่ืมสรุ าและเครื่องดืม่ ทม่ี ีแอลกอฮอล จะทาํ ใหต บั เกิดโรคพยาธใิ บไมตับ ทํางานหนกั มากขึ้น หากตบั ทาํ งานหนกั มากกอ็ าจจะเสื่อมสภาพลง และ เปนสาเหตใุ หเ กิดโรคตา งๆ เชน ตบั แข็ง หรอื ไวรสั ตบั อกั เสบ เปน ตน ดงั นน้ั ขอ ก. เปนคําตอบท่ถี กู 6 คมู อื ครู

กระตนุ ความสนใจ สาํ รวจคน หา ออธธบิ ิบEาาxยยplคคaวiวnาามมรรู ู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล Engage Explore Evaluate Explain Expand Explain อธบิ ายความรู ๔. ไต 1. ใหน ักเรียนทาํ กจิ กรรม ชวนคิด ชวนทาํ ขอ 2 ไต เปน็ อวัยวะท่ีสา� คัญทส่ี ุดในระบบขับถ่ายปสั สาวะ หนา 11 โดยอานขอความท่กี ําหนดให แลว บอกวา มผี ลตออวัยวะใด ตา� แหน่ง ตัง้ อยทู่ างดา้ นล่างของ วธิ ดี ูแลรกั ษาไต ลกั ษณะ ชอ่ งทอ้ งทางด้านซ้าย 2. ใหนักเรยี นทํากิจกรรม ชวนคิด ชวนทํา ขอ 3 หนา้ ท่ี และดา้ นขวาใกล้กระดกู ๑ ไม่ดมื่ สุรา ชา กาแฟ หนา 11 โดยเขียนวิธดี แู ลรักษาอวัยวะภายใน สนั หลงั ยดึ ตดิ อยกู่ ับ 1 ลงในสมุด จากน้ันใหนกั เรยี นแลกกนั ตรวจ กะบงั ลม ๒ ไมก่ นิ อาหารทม่ี ีรสจดั เกนิ ไป คําตอบกับเพ่ือน คล้ายเมลด็ ถว่ั แดง มขี นาดเท่ากา� มือ ๓ กนิ ผักและผลไมเ้ ปน็ ประจ�า 3. ครเู ขียนตาราง 4 ชอ ง บนกระดานโดยให มสี ีนา้� ตาลแกมแดง แตละชองเปนชือ่ อวัยวะภายใน ลกั ษณะ กรองของเสียออกจาก หนาท่ี และวธิ ีดแู ลรักษา จากนนั้ สุม เรยี ก เลือด และขับออกมา นักเรียนออกมาเติมขอ มลู ในแตล ะชองให พร้อมกับนา�้ ในรปู ของ ถกู ตอ ง “ปสั สาวะ” และช่วย รกั ษาสมดุลของนา�้ และ ๔ ดืม่ น�า้ สะอาดมากๆ ชื่อ ลกั ษณะ หนา ท่ี วธิ ดี แู ลรกั ษา เกลอื แร่ในรา่ งกาย ๕ ไม่ควรกลัน้ ปัสสาวะนานๆ2 ............................... ตวั อยา งตาราง............................... ............................... ............................... ๖ หลกี เลย่ี งการกนิ ยาท่เี ป็นพิษต่อไต ............................... ............................... ............................... ............................... ............................... ............................... เช่น ยาซลั ฟา เปน็ ต้น ............................... ............................... ............................... ............................... ............................... ............................... ............................... ............................... ............................... ............................... ไตข้างขวา ไตขา้ งซ้าย ไต หลอดไต ไตมี ๒ ขา้ ง คอื ไตขา้ งขวาและ ท�าหน้าทลี่ า� เลียงนา้� ปัสสาวะ ไตขา้ งซา้ ย ไตขา้ งขวาจะอยู่ ไปสกู่ ระเพาะปัสสาวะ ต�่ากว่าข้างซ้าย เพราะมีตับ ทบั ซอ้ นอยู่ กระเพาะปส สาวะ ไตเป็นอวยั วะท่ีสา� คัญ เพราะไมม่ ไี ตจะทา� ใหไ้ มส่ ามารถกา� จัดของเสียจากเลอื ดได้ 7 ขอ ใดตอไปน้ีกลาวถึงอวยั วะภายใน ขอ สอบเนนการคดิ นกั เรียนควรรู ก. มหี นาที่มองดสู ่ิงตางๆ ข. มรี ูปรางคลายเมล็ดถั่วแดง 1 ไมก ินอาหารทีม่ รี สจดั เกนิ ไป โดยเฉพาะรสเค็มจดั เพราะจะทาํ ใหไตทํางาน ค. มี 2 ขาง ใชหยบิ จับสง่ิ ของ หนกั มากกวา ปกติ ซ่ึงไตตองรบี ขับโซเดยี มออกทางปสสาวะเพ่อื ควบคมุ ปรมิ าณ ง. มีหนาท่บี ดเคีย้ วอาหารใหละเอียด โซเดยี มในรา งกายใหเกดิ ความสมดลุ 2 ไมควรกล้ันปส สาวะนานๆ การปส สาวะอยางสม่ําเสมอทุกคร้งั จะเปนการ วเิ คราะหค ําตอบ ข. เพราะอวยั วะท่ีมรี ูปรางคลายเมลด็ ถวั่ แดง คือ ไต ลางเอาเช้อื โรคที่พลัดหลงเขา สูก ระเพาะปสสาวะท้งิ สูภายนอก แตถา กลน้ั ปส สาวะ ซง่ึ เปนอวัยวะภายใน นานๆ อาจจะทําใหมีการตดิ เชื้อทท่ี อปส สาวะได ซง่ึ มผี ลทําใหกระเพาะปส สาวะ สวน ก. อวยั วะท่มี ีหนา ทดี่ ูสิง่ ตา งๆ คือ ดวงตา และไตอกั เสบ ค. อวัยวะที่มี 2 ขา ง ใชหยบิ จับสิ่งของ คอื มอื ง. อวยั วะที่มีหนาทีบ่ ดเคี้ยวอาหารใหละเอียด คอื ฟน ดงั นัน้ ขอ ข. เปน คาํ ตอบทถี่ กู คมู อื ครู 7

กระตนุ ความสนใจ สาํ รวจคนหา อธิบายความรู ขขยยาายยEคคxpววaาาnมมdเเขขา าใจใจ ตรวจสอบผล Explore Explain Evaluate Engage Expand Expand ขยายความเขา ใจ 1. ครูนาํ ภาพโครงสรางรา งกายมาติดบนกระดาน ๕. ปอด จากนน้ั ใหน กั เรยี นออกมาวาดภาพอวยั วะภายใน ปอด เป็นอวยั วะทส่ี �าคญั ทีส่ ุดในระบบหายใจ ใหถ กู ตําแหนงตามทเ่ี รียนมา บรรจุอยภู่ ายในโพรง วธิ ดี แู ลรกั ษาปอด 2. ใหนักเรียนทํากิจกรรมรวบยอดที่ 1.1 จาก ของทรวงอก โดยแยก แบบวดั ฯ สุขศึกษาฯ ป.2 โดยเขยี นชื่อ ตาํ แหนง เปน็ ปอดขา้ งซ้ายและ ๑ 1 ลักษณะ และหนา ท่ีของอวัยวะในภาพใหถ ูกตอ ง ปอดขา้ งขวา ไม่สบู บหุ ร่ีหรอื สูดควันบุหรี่ คลา้ ยฟองน�า้ ขนาดใหญ่ ใบงาน ✓แบบวัดฯ แบบฝก ฯ ต�าแหน่ง ยืดหยุน่ ได้ ๒ ออกก�าลังกายอยา่ งสม่�าเสมอ สขุ ศึกษาฯ ป.2 กจิ กรรมรวบยอดที่ 1.1 ลกั ษณะ ๓ ไมค่ ลกุ คลกี บั ผทู้ ปี่ ว่ ยเปน็ โรคเกยี่ วกบั แบบประเมินตัวชว�้ ดั พ 1.1 ป.2/1 ฟอกเลือดโดยรบั เลือด หน้าที่ ท่มี ีออกซิเจนนอ้ ยจาก ระบบหายใจ แบบประเมินผลการเรยี นรตู ามตัวชีว้ ัด ประจาํ หนว ยที่ ๑ บทที่ ๑ หัวใจหอ้ งล่างขวา เพ่ือ ปอด เปลยี่ นให้เป็นเลอื ดทีม่ ี ๔ หลีกเล่ยี งการกระทบกระแทกท่ี กิจกรรมรวบยอดท่ี ๑.๑ ออกซิเจนมาก ภายใน ปอดข้างขวามี ปอดจะมถี ุงลมเลก็ ๆ บรเิ วณทรวงอก แบบประเมนิ ตวั ชว้ี ดั พ ๑.๑ ป.๒/๑ ขนาดใหญก่ ว่า เปน็ จ�านวนมาก เรียกว่า • อธบิ ายลกั ษณะและหนาทีข่ องอวยั วะภายใน ปอดขา้ งซา้ ย ถงุ ลมปอด จะมหี นา้ ท่ี ๕ ใช้ผา้ ปิดปากปิดจมกู เม่ืออยู่ในบรเิ วณ แลกเปล่ียนแก๊สออกซิเจน ชดุ ที่ ๑ ๒๕ คะแนน กบั แกส๊ คารบ์ อนไดออกไซด์ ท่ีมีฝุ่นควนั มาก ดูภาพ แลวเขยี นชอื่ ตําแหนง ลกั ษณะ และหนาท่ีของอวยั วะในภาพใหถูกตอ ง ๖ อยู่ในบริเวณท่ีทีม่ อี ากาศบริสุทธิ์ ๑) ชือ่ อวัยวะ......ป...อ....ด................................................................................................ เพราะมปี รมิ าณแก๊สออกซิเจนมาก ตาํ แหนง ..อ...ย...ูใ...น....ท....ร...ว...ง...อ...ก......แ...ย....ก...เ..ป....น ....ป...อ....ด...ข...า...ง...ซ...า...ย...แ...ล...ะ...ข...า..ง...ข...ว...า.... เฉฉบลับย ลักษณะ....ค....ล...า...ย...ฟ....อ...ง...น.....้ํา..ข...น....า...ด...ใ...ห...ญ........ย...ืด....ห...ย...นุ.....ไ..ด.... ............................. .......................................................................................................................................... หนา ที่...ฟ....อ...ก....เ.ล....อื...ด.......โ..ด....ย...แ...ล...ก....เ..ป...ล....ี่ย...น.....แ..ก....ส....อ...อ....ก...ซ....เิ .จ....น....ก....ับ................. .แ...ก...ส....ค....า...ร...บ ....อ...น....ไ...ด...อ....อ...ก....ไ..ซ...ด.... ................................................................................ .......................................................................................................................................... ปอดข้างขวา หลอดลม ๒) ชอื่ อวยั วะ.....ก....ร...ะ...เ.พ....า...ะ..อ...า...ห....า..ร........................................................................ ปอดขา้ งซา้ ย ตําแหนง ..ต....ัง้ ...อ...ย...ูบ....ร...เิ..ว...ณ.....ช...อ...ง...ท....อ...ง......ม...ีส....ว...น....ป...ล....า...ย...ง...อ...ล....ง...ไ..ป....ท....า..ง...ข...วา ลักษณะ....เ..ป...น....ถ....งุ...ก....ล...า...ม...เ..น....้อื...ใ...ห...ญ........ม...ีค....ว..า...ม...เ..ห....น....ยี ...ว...แ...ล...ะ...ส....า..ม...า...ร...ถ... .ย...ืด....ต...วั...อ...อ....ก...ไ...ด............................................................................................................... หนาที่ ...(..๑...).....เ..ป...น....ท....เ่ี..ก....็บ....อ...า..ห....า...ร....................................................................... .(..๒....).....ย...อ ...ย...อ....า..ห....า..ร....แ..ล....ะ...ค...ล....ุก....เ.ค....ล....า..อ....า..ห....า...ร...ก...บั....น.....ํ้า..ย...อ....ย...ก....อ ...น....ท....อ่ี...า...ห...า...ร... ............จ...ะ..เ..ค....ล...อ่ื....น....ท....ไ่ี ..ป....ส....ว ..น....อ....นื่ ....ๆ............................................................................ ๔ หลอดลม ทา� หน้าที่เปน็ ทางผ่านของ หัวใจ อากาศลงส่ปู อด 8 อากาศจะไหลผ่านเข้าสปู่ อดโดยผา่ นทางหลอดลม นกั เรยี นควรรู ขอสอบเนนการคดิ ขอ ใดเปน วธิ ดี แู ลอวยั วะในระบบหายใจ 1 ควนั บุหร่ี ในควนั บุหร่มี สี ารชนิดหนง่ึ ทเี่ รียกวา ทาร ซงึ่ เมอื่ ควันบุหรีเ่ ขา สู ก. กินผกั และผลไมใ หมาก รางกาย ทารจะเขาไปจับอยทู ป่ี อด และรวมตัวกับฝุน ละอองท่ีหายใจเขาไป ข. ออกกาํ ลงั กายอยา งสมา่ํ เสมอ แลว จับตวั สะสมอยูในถุงลมปอด ทําใหเ กิดการระคายเคือง เปนสาเหตุของ ค. ไมกินอาหารทม่ี ีไขมนั มาก การไอเรื้อรัง กอ ใหเกดิ โรคมะเรง็ ปอด และถงุ ลมโปง พอง ง. ทําจิตใจใหร า เริงแจมใสอยูเ สมอ วิเคราะหค าํ ตอบ ข. ออกกําลังกายอยางสมา่ํ เสมอ เพราะจะชวย มมุ IT เสริมสรา งปอดซ่งึ เปน อวัยวะสําคัญในระบบหายใจใหแข็งแรง สว น ก. กนิ ผักและผลไมใหมาก จะทําใหลาํ ไสใ หญข ับถา ยอุจจาระไดงา ย ครูศึกษาขอมูลการฝก หายใจเพ่ือสขุ อนามยั ทดี่ ขี องปอดไดจ าก ค. ไมก นิ อาหารทีม่ ไี ขมนั มาก ทาํ ใหไมมีไขมนั สวนเกินไปอุดตนั การไหล www.thaipedlung.org/topic/full/quice_look_3_140954.pdf ของเลือด ง. ทําจิตใจใหร าเริงแจม ใส ทาํ ใหส มอง หวั ใจ กระเพาะอาหาร ทํางาน เปน ปกติ ดังน้นั ขอ ข. เปนคาํ ตอบทถ่ี กู 8 คูมือครู

กระตนุ ความสนใจ สาํ รวจคนหา อธบิ ายความรู ขขยยาายยEคคxวpวaาาnมมdเขเขา ใา จใจ ตรวจสอบผล Engage Explore Explain Evaluate Expand Expand ขยายความเขา ใจ ๖. กระเพาะอาหาร 1. ใหนกั เรยี นยกตัวอยางพฤตกิ รรมทเี่ คยปฏิบตั ิ กระเพาะอาหาร เป็นอวยั วะสา� คัญในระบบยอ่ ยอาหาร ในชวี ิตประจําวนั จากน้ันบอกวา พฤติกรรมน้ัน มผี ลดหี รอื ผลเสียตออวัยวะภายในชนิดใดบา ง ต�าแหนง่ ตั้งอยู่บริเวณช่องท้อง วธิ ดี ูแลรกั ษากระเพาะอาหาร และอยางไร เชน ลกั ษณะ และมีส่วนปลายงอลง • เคี้ยวอาหารใหละเอียดกอ นกลืน หน้าท่ี ไปทางขวา ๑ เคย้ี วอาหารใหล้ ะเอยี ดกอ่ นกลนื 1 เปนพฤติกรรมที่มผี ลดตี อ กระเพาะอาหาร เพราะกระเพาะอาหารไมต องทํางานหนกั เป็นถุงกล้ามเนื้อใหญ่ ๒ กนิ อาหารในแตล่ ะม้ือใหต้ รงตามเวลา ในการยอ ยอาหาร มคี วามเหนียวและ ๓ ไมก่ ินอาหารในปรมิ าณที่มากหรือ • ไมสวมหมวกนริ ภัยขณะโดยสาร สามารถยดื ตัวออก รถจกั รยานยนต เปน พฤติกรรมทม่ี ีผลเสีย เพ่อื รับอาหารจ�านวน น้อยเกินไป ตอ สมอง เพราะถา เกิดอบุ ตั เิ หตุ อาจทําให มากได้ สมองถูกกระทบกระแทกไดงาย เปน็ ทเ่ี ก็บอาหาร และ ๔ ไม่กนิ อาหารทม่ี รี สจดั หรอื ของ ผลิตนา�้ ยอ่ ยออกมา 2. ใหนักเรยี นทํากิจกรรมรวบยอดที่ 1.2 จาก ย่อยอาหาร กอ่ นท่ี หมักดอง แบบวดั ฯ สุขศกึ ษาฯ ป.2 โดยอา นขอความ อาหารจะเคล่ือนที่ และตอบคาํ ถาม ไปยังลา� ไสเ้ ลก็ ๕ ไมส่ ูบบหุ รี่ และไมด่ ม่ื สรุ า ๖ ท�าใจให้สบาย ไม่เครียด2 เพราะ ใบงาน ✓แบบวัดฯ แบบฝก ฯ สุขศึกษาฯ ป.2 กิจกรรมรวบยอดที่ 1.2 ความเครยี ดอาจเป็นสาเหตทุ �าให้เกดิ แบบประเมนิ ตัวช�้วัด พ 1.1 ป.2/2 โรคกระเพาะอาหารอักเสบ หลอดอาหาร กิจกรรมรวบยอดที่ ๑.๒ แบบประเมินตัวชวี้ ัด พ ๑.๑ ป.๒/๒ • อธบิ ายวธิ ีดแู ลรักษาอวยั วะภายใน กระเพาะอาหาร ชดุ ที่ ๑ ๑๕ คะแนน เป็นอวัยวะท่ีเชอ่ื มตอ่ อา นสถานการณท ่ีกําหนดให แลว ตอบคาํ ถาม จากหลอดอาหาร ๑) นมุ ชอบกนิ อาหารที่มนั โดยเฉพาะขาวขาหมู เธอจะตอ งกนิ ทุกวนั ลําไส้ตอนตน้ พฤตกิ รรมของนนุ เปนผลเสยี ตออวยั วะ หวั ใจ....................................................................................... นุนควรปรับเปลีย่ นพฤตกิ รรม ดงั นี้ นนุ ไมควรกนิ อาหารทม่ี ไี ขมนั สงู................................................................................................... ควรกนิ อาหารทมี่ ีประโยชนใ นปริมาณท่เี หมาะสมกบั วยั........................................................................................................................................................................................................ ๒) ปานปวดปสสาวะขณะเรียน แตเธอก็ไมกลาขออนุญาตครูไปหองนํ้า เฉฉบลับย เพราะกลวั ถูกครูดุ เธอจึงมกั กลัน้ ปส สาวะเปนประจํา พฤติกรรมของปา นเปนผลเสียตออวัยวะ ไต.................................................................................... ปานควรปรบั เปลีย่ นพฤติกรรม ดังนี้ ปานควรขออนญุ าตครไู ปเขา............................................................................................... หอ งนา้ํ ทุกคร้ังเม่ือรสู กึ ปวดปส สาวะ........................................................................................................................................................................................................ กระเพาะอาหารมรี ูปรา่ งคลา้ ยตัว (J) ท�าหนา้ ที่ผลิตนา�้ ย่อยและท�าหน้าท่ยี ่อยอาหารให้เล็กลงดว้ ย ๓) อ๋ันชอบกินอาหารรสเผ็ดจดั เขาตอ งใหแ มคาใสพ รกิ มากๆ เสมอ พฤตกิ รรมของอัน๋ เปนผลเสยี ตอ อวัยวะ กระเพาะอาหาร........................................................................................ อนั๋ ควรปรับเปลยี่ นพฤติกรรม ดังน้ี อ๋ันไมควรกนิ อาหารทม่ี ีรสเผ็ดจัด................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................ 9 ๔) โหนง มกั จะเขา ไปอยูใกลๆ พอเสมอขณะทพี่ อสบู บหุ ร่ี พฤติกรรมของโหนง เปน ผลเสยี ตอ อวยั วะ ปอด................................................................................. โหนงควรปรบั เปลย่ี นพฤตกิ รรม ดังนี้ โหนงไมค วรเขาใกลพ อ ขณะท่ี............................................................................................ พอ สบู บุหร่ี และอาจขอรองใหพอ เลกิ สบู บุหรี่........................................................................................................................................................................................................ ขอสอบเนนการคิด ๗ ความเครียดมผี ลตอการทํางานของกระเพาะอาหารอยา งไร นักเรยี นควรรู ก. ทาํ ใหก ระเพาะอาหารยอยอาหารไดชา ลง ข. กระเพาะอาหารยอ ยอาหารไดม ากขึ้น 1 เคย้ี วอาหารใหละเอียดกอ นกลนื นอกจากจะชว ยทาํ ใหกลนื อาหารไดสะดวก ค. กระเพาะอาหารดดู ซมึ อาหารไดด ีขน้ึ ยังชวยทาํ ใหกระเพาะอาหารไมต อ งทํางานหนักในการยอ ยอาหารใหละเอยี ดกอ น ง. กระเพาะอาหารหลงั่ กรดในการยอ ยอาหารมากข้ึน สงอาหารไปยอยตอ ท่ลี ําไสเ ลก็ วเิ คราะหคาํ ตอบ ในขณะทเี่ ราเครยี ดระบบประสาทจะสงั่ การใหม ฮี อรโ มน 2 ไมเ ครียด ผทู ไ่ี มเ ครยี ดจะทําใหม ีอารมณแจม ใส หนาตาเบกิ บาน ซ่ึงจะ หลั่งออกมามากกวา ปกติ ทําใหร า งกายต่นื ตวั ตลอดเวลา และกระตนุ ให สงผลใหม สี ุขภาพกายและสขุ ภาพจติ ดี สว นผทู ี่มีความเครยี ด จะสงผลตอ รา งกาย กระเพาะอาหารหล่งั นํ้ายอ ยออกมามากกวาปกติ จนเกดิ การระคายเคือง เพราะเมื่อมีอาการเครียดหรือวิตกกังวลจะทําใหม ีกรดหลง่ั ออกมาในกระเพาะ- ทก่ี ระเพาะอาหาร และทาํ ใหลาํ ไสม ีการหดตวั ซ่ึงทําใหเ กิดความเจ็บปวด อาหารมากผิดปกติ ซง่ึ กรดเหลานี้จะไปกดั เยื่อบขุ องกระเพาะอาหารจนอกั เสบ เปนแผลได และทรมานแกผูท่เี ปน อยางมาก ดงั น้ัน ขอ ง. เปนคาํ ตอบท่ีถูก คมู ือครู 9

กระตนุ ความสนใจ สาํ รวจคน หา อธบิ ายความรู ขขยยาายยEคคxpววaาาnมมdเเขขาาใจใจ ตรวจสอบผล Explore Explain Evaluate Engage Expand Expand ขยายความเขา ใจ ใหน ักเรยี นจัดทาํ บัตรภาพอวัยวะภายในคนละ ๗. ลา� ไส้ 1 ใบ โดยใหด านหนาของบัตรภาพ เปน ภาพอวัยวะ ลา� ไส ้ เปน็ อวยั วะสา� คญั ในระบบย่อยอาหาร ภายใน แลวดา นหลังของบัตรภาพเขียนชื่อ ลกั ษณะ หนาท่ี และการดแู ลรักษาอวยั วะภายในชนิดน้ัน จากนน้ั นาํ ผลงานออกมาแสดงท่หี นาชนั้ ตวั อยางบัตรภาพ ตา� แหน่ง อยู่ในชอ่ งทอ้ งตอนบน วิธีดูแลรักษาลา� ไส้ (ดา นหนา ) ๑ ไม่กนิ อาหารที่มีรสจัด ๒ กินอาหารให้ถูกสขุ ลกั ษณะ ลกั ษณะ เป็นท่อกลวงยาว ๓ กินผักและผลไมเ้ ปน็ ประจา� 1 ขดไปขดมา ๔ ขับถา่ ยใหเ้ ปน็ เวลา แบง่ เปน็ ล�าไสเ้ ล็ก ๕ ไม่กนิ อาหารท่ีแขง็ และเหนยี ว และลา� ไสใ้ หญ่ มากเกนิ ไป หน้าที่ ลา� ไส้แต่ละสว่ น ทา� หน้าทแ่ี ตกตา่ งกัน ๖ ระมดั ระวังไม่ให้ช่องท้องได้รับการ ดังภาพดา้ นลา่ ง กระทบกระเทือนอย่างรุนแรง (ดา นหลัง) ล�าไสใ้ หญ่ กระเพาะอาหาร ช่อื : หัวใจ ลักษณะ : รูปรา งคลา ยดอกบัวตูม ท�าหนา้ ที่ ดูดน�้าและเกลอื แรจ่ าก ลา� ไสเ้ ลก็ กากอาหาร และขับอุจจาระให้ ขนาดเทากําปน เคลอ่ื นไปยงั ทวารหนกั ทา� หน้าที่ ย่อยอาหารในขน้ั ตอน หนา ท่ี : สูบฉดี โลหติ ไปเลยี้ งสวนตา งๆ สุดท้าย และดูดซมึ สารอาหาร ไสต้ ิง� เขา้ สูก่ ระแสเลือด ทวั่ รา งกาย วธิ ีดูแลรกั ษา : 1. กินอาหารทีม่ ีประโยชน ลา� ไสเ้ ปน็ ทางเดนิ อาหารทอ่ี ย่รู ะหวา่ งกระเพาะอาหารและทวารหนกั และไมก ินอาหารทีม่ ี 10 ไขมนั สูง 2. พกั ผอ นใหเพยี งพอ 3. ออกกําลังกายอยา ง สมํ่าเสมอ เกร็ดแนะครู กิจกรรมทาทาย ครคู วรแนะนาํ นักเรียนใหเ ลอื กรับประทานอาหารที่เปน ผลดีตอ ลําไส เชน ใหนักเรียนจัดทําโปสเตอรรา งกายมนุษยแสดงอวัยวะภายในและอวยั วะ รับประทานผัก ผลไม อาหารท่ีมีเสน ใย (ไฟเบอร) อาหารท่ยี อยงาย อาหารที่ไมม ี ภายนอกท่สี ําคญั แลว อธบิ ายรายละเอียดของอวัยวะแตละสวน ดงั น้ี รสจัด นา้ํ สะอาดในปริมาณทเ่ี พยี งพอ เพื่อใหก ารขับถายเปนไปโดยสะดวก • ลักษณะ นักเรียนควรรู • หนาท่ี • วธิ ดี ูแล 1 กนิ ผกั และผลไมเปนประจํา ผักและผลไมประกอบไปดว ยสารที่เปน กากใย จากนน้ั ใหน กั เรียนนําผลงานออกมานําเสนอท่ีหนาชัน้ แลวนาํ ผลงานไป อยมู าก ซึ่งกากใยเปนเสนใยละเอียดเลก็ ๆ เม่ือกินเขา ไป กระเพาะอาหารและ จัดปายนิเทศ ลําไสจ ะไมด ดู ซึมสารเหลาน้ี แลว จะถกู ขับออกมากบั อุจจาระ ซ่งึ เสนใยเหลา น้ี จะชว ยทําใหอุจจาระไมแ ขง็ มาก ทําใหขบั ถายไดงา ยและไมเ กิดอาการทอ งผูก 10 คูม อื ครู

กระตนุ ความสนใจ สํารวจคน หา อธบิ ายความรู ขยายความเขา ใจ ตตรรวEวvจจaสสluออaบtบeผผลล Engage Explore Explain Expand Evaluate ตรวจสอบผล Evaluate ¡¨Ô ¡ÃÃÁ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ 1. ครูตรวจผลงานการเขียนช่อื ตําแหนง ลกั ษณะ และหนาที่ของอวยั วะภายใน ตอนท่ ี ๑ ค�าถามชวนคดิ เขียนตอบคา� ถามต่อไปนล้ี งในสมดุ 2. ครูตรวจความถกู ตองของบัตรภาพอวัยวะ ๑) ถา้ นกั เรยี นปวดท้อง นกั เรยี นจะรู้สึกอยา่ งไร ภายในวา ติดภาพหรือวาดภาพ พรอมกบั ๒) นกั เรยี นร้หู รือไม่ว่าอาการปวดเกิดข้ึนกบั อวยั วะใดได้บ้าง เขียนขอ มลู ไดถกู ตองหรอื ไม ๓) อ าการปวดท้องส่งผลกระทบต่อการด�าเนินชีวิตประจ�าวันของนักเรียน หลกั ฐานแสดงผลการเรยี นรู อยา่ งไร ๔) ถ้านักเรยี นไม่อยากปวดทอ้ งอีก นกั เรียนควรทา� อยา่ งไร 1. กิจกรรมรวบยอดที่ 1.1 จากแบบวัดฯ สุขศกึ ษาฯ ป.2 2. บัตรภาพอวยั วะภายใน ตอนที ่ ๒ ชวนคิด ชวนท�า ๑. ดูภาพ แลว้ บอกช่ืออวยั วะ และเขียนอธบิ ายหนา้ ทขี่ องอวัยวะตา่ งๆ เหลา่ น้ี ๑ ) ลงในสมดุ ๒) ๓) ๔) ๕) ๖) ๒. อ่านข้อความ และบอกว่ามผี ลตอ่ อวยั วะใด ๑) วิ่งเลน่ แลว้ ศีรษะกระแทกกบั เพ่อื น ๒) รับประทานอาหารรสจดั เชน่ หวานจดั เค็มจัด เผด็ จดั ๓) อยู่ในท่ีที่มีฝุ่นละอองและมลพษิ มาก ๔) ดื่มสุราเป็นประจา� ทุกวัน ๕) ชอบรับประทานอาหารท่มี ไี ขมันมากๆ ๓. เขียนวิธีการดูแลอวัยวะภายในลงในสมุดมา ๕ ข้อ พร้อมท้ังบอกว่า เปน็ วธิ กี ารดูแลอวยั วะใด ตอนท ี่ ๓ ผลงานสร้างสรรค์ แบ่งกลุ่ม แต่ละกลุ่มร่วมกันจัดท�าแผ่นภาพอวัยวะภายใน โดยให้ด้านหน้าของ แผ่นภาพเป็นภาพอวัยวะภายใน และให้ด้านหลังของแผ่นภาพเป็นรายละเอียด (ชื่อ ตําแหน่ง ลกั ษณะ หน้าที่ การดแู ลรกั ษา) 11 เฉลย กิจกรรมการเรยี นรู 2) ศรี ษะ - ปวดศีรษะ, หลงั - ปวดหลัง ตอนที่ 1 คาํ ถามชวนคิด 4) กินอาหารใหตรงเวลา เค้ยี วอาหารใหละเอยี ด 1. แนวตอบ 2) ไต - กรองของเสยี ออกจากเลอื ด และขบั ออกมากับนา้ํ ปสสาวะ 1) รสู กึ ไมส บายตวั อดึ อดั ในทอ ง หงุดหงดิ และรูสกึ เครียด 4) สมอง - ควบคมุ การทาํ งานของรา งกาย 3) หากปวดมากอาจตองหยดุ เรยี น ทาํ ใหเ รยี นไมท นั เพื่อน 6) กระเพาะอาหาร - ยอ ยอาหาร ตอนท่ี 2 ชวนคิด ชวนทํา 1. แนวตอบ 2) กระเพาะอาหาร ลําไส ไต 3) ปอด 1) หัวใจ - สบู ฉดี โลหติ ไปเลย้ี งสว นตางๆ ของรางกาย 5) หวั ใจ 3) ปอด - แลกเปล่ียนแกส 5) ตบั - ขับสารพษิ ออกจากรางกาย 2) พกั ผอนใหเ พียงพอ - สมอง หัวใจ 2. แนวตอบ 4) ดมื่ นา้ํ สะอาดมากๆ - ไต 5) ออกกาํ ลังกายสม่าํ เสมอ - หัวใจ ปอด 1) สมอง 11 4) สมอง ตบั กระเพาะอาหาร 3. แนวตอบ 1) กนิ อาหารทีม่ ปี ระโยชน - ดูแลอวยั วะทุกสวนของรา งกาย 3) ไมด่มื สุราและเครอื่ งดื่มทม่ี แี อลกอฮอล - หัวใจ ตับ คมู ือครู

กกรระตะตนุ Eุนnคคgววaาgามeมสสนนใจใจ สํารวจคนหา อธิบายความรู ขยายความเขา ใจ ตรวจสอบผล Explain Expand Evaluate Engage Explore เปาหมายการเรียนรู òบทที่ • อธบิ ายธรรมชาติของชีวติ มนษุ ยต้งั แตเกิด จนตาย (พ 1.1 ป.2/3) สาระส�าคัญ การเปลี่ยนแปลงตามวัยเป็นธรรมชาติของ สมรรถนะของผูเรียน ธรรมชาติ ชีวิตมนุษย์ ขณะท่ีมีชีวิตอยู่ทุกวัยต้องดูแล ของมนษุ ย ร่างกายให้แข็งแรง และรู้จักการด�าเนินชีวิต • ความสามารถในการสื่อสาร ให้มคี วามสขุ ¡¨Ô ¡ÃÃÁ¹ÒÊÙ‹¡ÒÃàÃÕ¹ คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค ๒ • ใฝเ รียนรู กระตนุ ความสนใจ Engage ๑ 1. ครูสนทนาซกั ถามนักเรยี นเกี่ยวกบั ชวี ติ ของ ๔ นักเรียนโดยใหนกั เรยี นตอบอยางอสิ ระ เชน ๓ • ตอนเด็กๆ นักเรยี นมรี ูปรา งลกั ษณะอยา งไร • นักเรยี นเคยเห็นเด็กแรกเกิดหรอื ไม • ในบานของนกั เรียนมคี นแกหรอื ไม • นกั เรยี นเคยไปงานศพหรือไม 2. ครซู ักถามความรูส กึ ของนกั เรียนวา ถาสมาชกิ ในบา นเจ็บปวยหรอื เสยี ชีวิต นกั เรียนจะรูสึก อยางไร ? ¨Ò¡ÀÒ¾ Åอ§เรÂÕ §ÅÒí ´ับ คนทÕèมอÕ ÒÂØนŒอÂทÊèÕ ´Ø ไปËÒอÒÂมØ Ò¡ทèÊÕ Ø´ 12 เกร็ดแนะครู ครูจดั กระบวนการเรียนรโู ดยใหนกั เรยี นปฏิบตั ิ ดังนี้ • สงั เกตธรรมชาตขิ องชวี ติ จากบุคคลตา งๆ รอบๆ ตัว • สบื คน ขอ มูลเกี่ยวกบั ธรรมชาตขิ องชวี ิตจากบุคคลตา งๆ รอบๆ ตวั • อธิบายธรรมชาติของชวี ติ มนุษย จนเกิดเปน ความรคู วามเขา ใจวา การเกิด แก เจ็บ ตาย เปนธรรมชาตขิ องชีวิต ท่มี นษุ ยทกุ คนควรยอมรับ และรจู ักดแู ลสขุ ภาพรางกายเพอ่ื ใหด ําเนนิ ชีวติ อยางมี ความสขุ เฉลย กิจกรรมนาํ สกู ารเรยี น จากภาพ ภาพท่ี 1 มอี ายุนอยท่สี ดุ เพราะเปน ภาพของวยั ทารก ลําดบั ตอมา คอื ภาพที่ 3 เพราะเปนภาพของวัยรุน ตอมาคือ ภาพท่ี 4 เพราะเปน ภาพของวยั ผใู หญ และลาํ ดับสดุ ทา ย คือ ภาพที่ 2 เพราะเปน ภาพของวัยสงู อายุ ซง่ึ มีอายมุ ากทส่ี ดุ 12 คมู ือครู

กระตนุ ความสนใจ สสาํ าํ รรEวxวpจจloคคrนeน หหาา ออธธบิ บิ Eาาxยยplคคaวiวnาามมรรู ู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล Engage Evaluate Explore Explain Expand Explore สาํ รวจคน หา ธรรมชาติของชวี ิตมนุษย 1. ครนู ําภาพคนในชว งวัยตา งๆ มาใหนกั เรียนดู ในครอบครัวหน่ึง อาจประกอบด้วยสมาชิกหลายวัย ได้แก่ แลว ใหนกั เรยี นรว มกันเรยี งลําดับชว งวัยตา งๆ ใหถกู ตอ ง วยั ทารก วยั เดก็ วยั รนุ่ วยั ผใู้ หญ ่ และวยั สงู อาย ุ ซงึ่ ถา้ เราสงั เกตจะพบ ว่าสมาชิกในครอบครัวมีการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ เช่น น้องท่ีเคย 2. ครซู กั ถามนักเรยี นวา สมาชกิ ในบานของ เป็นทารก แต่ในปัจจุบันเป็นนกั เรียนชน้ั อนุบาล หรือคณุ ป ู่ คุณยา่ นักเรยี นมใี ครบา ง และอยูใ นชวงวัยใด ทเี่ คยแขง็ แรง แต่ปจั จุบันได้แกช่ ราลงไป เปน็ ต้น ส่งิ ท่ีเกดิ ข้นึ น้ีลว้ น โดยอาจเปรยี บเทยี บกบั ภาพทีค่ รนู ํามาแสดง ต้องเกดิ ขึ้นกับทกุ คน ซ่งึ เราเรียกว่า ธรรมชาตขิ องชีวิตมนุษย์ เจรญิ เตธิบรรโตม1เชปา็นตเดิข็กอ งวชัยีวริตุ่นม นวัยุษผย้ใู ์ หเญริ่ม่ วตัยั้งสแูงตอ่เารยา ุเตกาิดมมลา�าลดืมับต าแดลูโะลในก 3. ใหน กั เรยี นไปพูดคุยกับสมาชิกในบานที่เปน แต่ละช่วงวัยย่อมทจ่ี ะมโี อกาส แก ่ เจบ็ และถงึ วาระสดุ ทา้ ยของชวี ติ ผใู หญหรอื คนแกว า ชวี ิตในชวงวยั ทผี่ านมา คอื ความตาย ซงึ่ ไมว่ า่ ใครก็ไมส่ ามารถหลกี เล่ยี งกฎของธรรมชาติ เปน อยา งไร จากนนั้ ใหออกมาเลา ทีห่ นาชนั้ น้ีได้ พรอ มแสดงภาพประกอบ แผนภาพแสดงธรรมชาตขิ องชวี ติ มนษุ ย์ อธบิ ายความรู Explain วัยร่นุ วัยผ้ใู หญ่ วยั สงู อายุ 1. ครูต้ังคาํ ถามวา • ผูท ่ีอยใู นวยั ชราตองผานชว งวัยใดมาบา ง เป็นวยั ที่เรมิ� เป็นวัยทีร่ า่ งกาย (ตอบ วัยเดก็ วัยรุน วยั ผูใ หญ) วัยเดก็ มกี ารเปล่ียนแปลง เป็นวัยท่ีมกี ารเจริญ เรมิ� เสอ่ื ม • ทุกคนท่ีเกดิ มาจะหลีกเลี่ยงความตายได วัยทารก ด้านร่างกาย แสดง เติบโตเตม็ ท ่ี และ สมรรถภาพ หรือไม เพราะเหตุใด เป็นวัยที่มีการ ลักษณะเพศชาย พร้อมตอ่ การมี ประสทิ ธิภาพ (ตอบ หลกี เล่ียงไมได เพราะความตายเปน เปน็ วัยที่ยงั เจริญเติบโตอยา่ ง และเพศหญงิ ครอบครวั การท�างานของ ธรรมชาติของคนเรา รวมท้งั ส่งิ มีชีวิต ช่วยเหลือตนเอง รวดเรว็ ชว่ ยเหลอื ชดั เจนขึ้น อวยั วะตา่ งๆ ชนิดอ่นื ๆ ดวย) ไมไ่ ด้ ตนเองไดด้ กี ว่า ลดลง วัยทารก 2. ใหนกั เรียนรว มกนั อภิปรายวา การเจ็บปว ย และการตาย จะเกดิ ขน้ึ ไดใ นชวงวัยใดของ 13 คนเรา (แนวตอบ เกดิ ขนึ้ ไดในทกุ ชว งวยั ของชวี ติ เชน วยั ทารกก็เจ็บปว ยไดแ ละอาจตายไดเชน เดยี ว กบั วัยอน่ื ๆ) 3. ใหน กั เรียนรวมกนั สรุปวา การเจริญเตบิ โต ตงั้ แตเ ด็กจนเขาสูวยั ชรา ซ่งึ เม่ือเขาสูวัยชรา สภาพรา งกายจะคอยๆ เส่ือมโทรมลง ทาํ ให เกดิ การเจ็บปวย และเสียชวี ิตในท่ีสดุ ซึ่งส่ิงเหลานเี้ กดิ ข้ึนกับทุกคน จนเรียกวา เปน ธรรมชาติของชีวิตมนุษย ขอสอบเนน การคดิ นกั เรยี นควรรู “หญิงชราคนหนึง่ ช่อื ดวงพร เธออายุ 80 ป เม่อื ตอนเปน เด็ก แมบอกวา 1 เจริญเตบิ โต การเจรญิ เติบโตทางรางกายของคนเราสงั เกตไดจาก เธอเลี้ยงงาย โตมากเ็ ปนเด็กเรยี บรอย เชือ่ ฟงผูใหญ เมื่อเธอทาํ งานก็ต้งั ใจ • นาํ้ หนกั ทาํ งาน ดวงพรแตง งานและมลี กู 3 คน” • สวนสูง จากขอ ความ ขอ ใดเปนธรรมชาติของชวี ติ มนษุ ย • ความยาวของลาํ ตวั • ความยาวของชวงแขนเมอ่ื กางเต็มท่ี ก. ดวงพรเปน คนแก • ความยาวของเสนรอบวงศรี ษะ ข. ดวงพรแตงงานแลว • ความยาวของเสนรอบอก ค. ดวงพรตัง้ ใจทํางาน • การงอกข้นึ ของฟน แท ง. ดวงพรเปน เด็กเลีย้ งงา ย วเิ คราะหคาํ ตอบ ก. เพราะธรรมชาตขิ องชวี ิตมนษุ ย คอื เกิด แก เจ็บ ตาย ซง่ึ เกิดกบั ทุกคน ดงั นน้ั การท่ีดวงพรเปนคนแก จงึ เปน ธรรมชาติ ของชีวิต ดังนน้ั ขอ ก. เปนคาํ ตอบท่ถี ูก คูม อื ครู 13

กระตุน ความสนใจ สํารวจคน หา อธิบายความรู ขขยยาายยEคคxpววaาาnมมdเเขขาาใจใจ ตรวจสอบผล Explore Explain Evaluate Engage Expand Expand ขยายความเขา ใจ 1. ใหนกั เรียนตอบคําถามชวนคดิ จากหนงั สือ หนา หลกั การดูแลสขุ ภาพร่างกาย 15 แลวใหแลกเปลยี่ นกันตรวจคําตอบกับเพือ่ น คนทุกช่วงวัยย่อมต้องการมีการเจริญเติบโตที่ดีและสมวัย มีสุขภาพร่างกายท่ีสมบูรณ์แข็งแรง ซ่ึงทุกคนสามารถดูแลรักษา 2. ใหนักเรียนสรุปธรรมชาตขิ องชีวิต จากนนั้ ให สุขภาพรา่ งกายให้สมบรู ณ์แข็งแรง โดยปฏิบัติได้ ดังนี้ นักเรียนทํากิจกรรมรวบยอดที่ 1.3 จาก แบบวดั ฯ สขุ ศึกษาฯ ป.2 ใบงาน ✓แบบวดั ฯ แบบฝกฯ สุขศึกษา ป.2 กจิ กรรมรวบยอดท่ี 1.3 แบบประเมนิ ตวั ช้�วดั พ 1.1 ป.2/3 แบบประเมินผลการเรยี นรตู ามตวั ช้วี ัด ประจําหนว ยท่ี ๑ บทท่ี ๒ ๑ ดแู ลรักษารา่ งกายใหส้ ะอาดอยเู่ สมอ ๒ แปรงฟันอย่างน้อยวนั ละ ๒ คร้ัง กจิ กรรมรวบยอดที่ ๑.๓ หลงั ต่ืนนอนและกอ่ นเข้านอน แบบประเมินตวั ชี้วดั พ ๑.๑ ป.๒/๓ • อธิบายธรรมชาตขิ องชีวิตมนุษย ชดุ ท่ี ๑ ๑๐ คะแนน เขียนแผนผงั ความคดิ แสดงธรรมชาตขิ องชีวิตมนุษย พรอมท้ังอธบิ ายส้ันๆ (ตวั อยาง) ธรรมชาตขิ องชวี ิตมนุษย เฉฉบลบั ย เกดิ แก ตาย เจบ็ ๓ ลา้ งมอื ใหส้ ะอาดกอ่ นกินอาหารหรอื ๔ กินอาหารทีม่ ปี ระโยชนต์ ่อร่างกาย ....................ค....น.....เ..ร....า...ท....กุ....ค.....น.....ท....่ีเ..ก....ิด....ม....า......ย....อ....ม....ม....ีก....า...ร....เ..จ...ร....ญิ......เ.ต.....ิบ....โ...ต....จ....า...ก.....ว...ยั ...ท.....า...ร....ก.......ส.....วู ...ยั ...เ..ด.....็ก......... หลังขับถ่าย .ว...ยั....ร....นุ ........ว...ยั....ผ...ูใ...ห....ญ...... ...แ...ล.....ะ..ว....ัย...ช....ร...า.......(..แ....ก....)......ซ...่งึ....ใ...น.....แ...ต....ล.....ะ...ช...ว...ง....ว...ัย...อ....า...จ....ม....ีก....า...ร....เ..จ....็บ....ป.....ว...ย.......แ...ล....ะ...... .เ..ส.....ยี ...ช....ีว...ิต....ไ...ด.......แ....ต....ถ....า...ด....แู....ล....ส.....ขุ ...ภ....า...พ....ด.....ีเ..ม....่ือ...ถ....งึ....ว...ยั....ช...ร....า......ส.....ภ....า...พ....ร....า...ง....ก....า...ย....จ....ะ..ท.....ร....ุด....โ...ท....ร....ม....ล....ง....... ๕ ออกก�าลังกายสมา่� เสมออยา่ งนอ้ ย ๖ ทา� จติ ใจให้รา่ เรงิ แจ่มใส1 และทา ยท่สี ดุ กจ็ ะตาย........................................................................................................................................................................................................... 14 สัปดาหล์ ะ ๓ ครัง้ ตวั ชี้วัด พ ๑.๑ ขอ ๓ ñðไดค ะแนน คะแนนเตม็ ๑๐ 3. ครสู นทนากับนกั เรยี นวา ธรรมชาติของชวี ิต มนษุ ยเ ปนสิง่ ทหี่ ลีกเลีย่ งไมได ดงั นน้ั เราจึง ควรยอมรับและดูแลตนเองใหม ีสุขภาพดี เพ่อื ใหใ ชชวี ติ อยางมคี วามสขุ จากนน้ั ใหนกั เรยี น รว มกนั ยกตวั อยางการดูแลตนเองใหมีสุขภาพดี เชน กนิ อาหารที่มปี ระโยชน ทาํ จติ ใจใหรา เริง แจม ใส พกั ผอนใหเพียงพอ เปนตน นกั เรียนควรรู กจิ กรรมทาทาย 1 ทาํ จิตใจใหรา เรงิ แจม ใส เปน การผอ นคลายความเครยี ดใหก บั รา งกาย ใหนกั เรยี นเลือก การเกดิ การแก การเจ็บ การตาย มา 1 หัวขอ และจติ ใจ การทําจติ ใจใหรา เริงแจม ใสสามารถทําไดหลายวธิ ีตามความชอบ แลว วิเคราะหว า เพราะอะไรส่ิงเหลานีจ้ งึ เปน ธรรมชาตขิ องมนษุ ย ของแตละคน เชน การฟง เพลง การเลนดนตรี การอา นหนังสอื ทสี่ นใจ ที่ทกุ คนหลีกหนีไมพ น จากนนั้ ออกมารายงานหนา ชั้น การปลูกตนไม หรือการทาํ งานประดษิ ฐตา งๆ เปนตน 14 คูมือครู

กระตนุ ความสนใจ สาํ รวจคนหา อธิบายความรู ขยายความเขา ใจ ตตรรวEวvจจaสสluออaบtบeผผลล Engage Explore Explain Expand Evaluate ตรวจสอบผล Evaluate ¡¨Ô ¡ÃÃÁ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ ครูตรวจสอบผลการเขียนแผนผังความคิดและ เขียนอธบิ ายธรรมชาติของชีวิตมนษุ ยจ ากกจิ กรรม รวบยอดท่ี 1.3 จากแบบวดั ฯ สุขศกึ ษาฯ ป.2 ตอนท่ี ๑ คา� ถามชวนคดิ หลกั ฐานแสดงผลการเรยี นรู เขียนตอบค�าถามตอ่ ไปนีล้ งในสมดุ ๑) นักเรียนตอนอาย ุ ๘ ป ตา่ งจากอาย ุ ๒ ป อยา่ งไร • แผนผงั ความคดิ แสดงธรรมชาตขิ องชวี ติ มนษุ ย ๒) นกั เรียนรู้สึกอยา่ งไรทีจ่ ะเจรญิ เตบิ โตสชู่ ว่ งวยั ตา่ งๆ จากกจิ กรรมรวบยอดที่ 1.3 จากแบบวัดฯ ๓) นกั เรียนเคยถกู หา้ มไม่ให้ทา� อะไร แลว้ ได้ยนิ ค�าวา่ “ไมเ่ หมาะกับเดก็ ” สขุ ศึกษา ป.2 แล้วนกั เรียนรสู้ ึกอยา่ งไร ๔) ถ้าในครอบครัวมผี สู้ ูงอายุ นกั เรยี นควรปฏบิ ัติตนในการดแู ลทา่ นอย่างไร ตอนที่ ๒ ชวนคดิ ชวนทา� ๑. ตดิ ภาพเดก็ และผสู้ ูงอายลุ งในสมดุ แล้วอธบิ ายลกั ษณะทีแ่ ตกตา่ งกัน ๒. อา่ นหัวขอ้ ท่กี า� หนดให้ แลว้ บันทึกข้อมลู ลงในสมุด ๑) นักเรยี น เคยเหน็ ไมเ่ คยเห็น ทารกเกดิ ใหม่ เดก็ ทารกทีเ่ หน็ มลี กั ษณะอย่างไร ๒) ในครอบครัวของนักเรียน มี ไม่มี ผูส้ ูงอายุ ถ้ามีช่ืออะไร อายุกปี่  ๓) สมาชกิ ในครอบครวั ของนกั เรียน เคย ไมเ่ คย เจ็บป่วย ถา้ เคย ป่วยเปน็ โรคอะไร ๔) นกั เรยี น เคยไป ไม่เคยไป งานศพ ๕) ถ้านักเรยี นตอ้ งการมีชวี ติ ทยี่ นื ยาว นกั เรียนควรปฏิบตั ิตนอย่างไร ตอนท่ ี ๓ ผลงานสรา้ งสรรค์ เ ขียนแผนภาพแสดงธรรมชาตขิ องชีวติ มนุษย์ลงในกระดาษวาดเขียน พร้อมกบั อธิบายสน้ั ๆ 15 ขอสอบเนนการคดิ เฉลย กจิ กรรมการเรยี นรู ตอนที่ 1 คําถามชวนคดิ ถามีคนชักชวนใหซ ้อื ยาทีท่ าํ ใหไมแก นักเรียนควรซือ้ หรือไม เพราะเหตใุ ด แนวตอบ ไมซ อ้ื เพราะความแกเ ปน สิ่งท่ีตอ งเกดิ ข้นึ กับทกุ คนเมอ่ื เขาสู แนวตอบ ชว งวัย ดังนั้นจงึ ไมม ยี าทจี่ ะชว ยทาํ ใหไ มแกไ ด ซึง่ อาจสนั นิษฐานไดว า 1) รา งกายมีการเจริญเตบิ โตตา งกัน เชน น้ําหนกั สว นสงู ตา งกนั ยาชนดิ นเี้ ปนยาทโ่ี ฆษณาเกินจรงิ และอาจเปนอนั ตรายตอ รางกายได 2) - 3) คาํ ตอบขึน้ อยูก บั นักเรยี นแตล ะคน 4) ใหความเคารพนับถอื และเช่ือฟง คําสง่ั สอนของทา น พูดคุยกับทา นบอยๆ เพื่อไมใหทา นรูส กึ เหงา และคอยชวยเหลอื ทานเลก็ ๆ นอยๆ เชน ชว ยเดนิ ไป หยบิ ของใหท า น หรืออา นหนงั สอื ใหทานฟง เปน ตน คูมือครู 15

กกรระตะตนุ Eุน nคคgววaาgามeมสสนนใจใจ สํารวจคน หา อธบิ ายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล Explore Explain Engage Engage Evaluate òExpand กระตนุ ความสนใจ 1. ครเู ปดเพลง “ใครหนอ” ใหน กั เรียนฟงแลว หนวยการเรียนรูที่ สนทนากนั เกย่ี วกบั เพลงวา มีเนอื้ หาเกี่ยวขอ ง ครอบครัว กบั เรื่องใด ตวั ฉนั และคนรอบขา ง เปา หมายการเรยี นรูประจําหนว ยที่ ๒ 2. ครูใหนักเรยี นรองเพลง “ใครหนอ” โดยเปลีย่ น คาํ สรอ ยในวงเลบ็ (คุณพอ คุณแม) เปน บุคคล ในครอบครวั ของตนเอง ครูสุมนกั เรยี นรอ งทอ น สรอ ยน้ี เมอื่ เรยี นจบหนว่ ยน ้� ผู้เรียนจะมีความรู้ ความสามารถต่อไปน�้ ๑. ระบบุ ทบาทหน้าที่ของตนเองและสมาชิก ในครอบครวั (มฐ. พ ๒.๑ ป.๒/๑) ๒. บอกความสา� คัญของเพ่ือน (มฐ. พ ๒.๑ ป.๒/๒) ๓. ระบพุ ฤติกรรมที่เหมาะสมกับเพศ (มฐ. พ ๒.๑ ป.๒/๓) ๔. อธบิ ายความภูมใิ จในความเป็นเพศหญิงหรอื เพศชาย (มฐ. พ ๒.๑ ป.๒/๔) เกรด็ แนะครู ครูอาจนําเนื้อเพลง “ใครหนอ” มาติดบนกระดาน แลวใหนกั เรียนฝก รอ งตาม จากนน้ั ครอู ธิบายความหมายของคาํ ศพั ทบ างคาํ ในเน้ือเพลงทน่ี ักเรยี นยังไมร ู เชน พสุธา หมายถึง ผืนดิน นภากาศ หมายถึง ทอ งฟา เปนตน เพลง ใครหนอ ใครหนอ รกั เราเทา ชีวี ใครหนอ ปรานไี มม ีเส่ือมคลาย ใครหนอ รักเราใช เพียงรูปกาย รักเขาไมหนาย มคิ ดิ ทาํ ลาย ใครหนอ ใครหนอ เห็นเราเศราทรวงใน ใครหนอ เอาใจปลอบเราเรอ่ื ยมา ใครหนอ รักเราดงั ดวงแกว ตา รกั เขากวางกวา พ้นื พสธุ า นภากาศ จะเอาโลกมาทําปากกา แลว เอานภามาแทนกระดาษ เอานา้ํ หมดมหาสมทุ ร แทนหมกึ วาด ประกาศพระคุณไมพอ ใครหนอรักเราเทาชวี ัน (เทา ชีวัน) ใครหนอใครกนั ใหเราขค่ี อ (คุณพอ คณุ แม) ใครหนอชักชวนดหู นงั สจ่ี อ รูแลวละ ก็อยา มวั ร้ังรอทดแทนบุญคุณ 16 คูมอื ครู

กกรระตะตนุ Eุนnคคgววaาgามeมสสนนใจใจ สํารวจคน หา อธิบายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล Explore Explain Engage Expand Evaluate ñบทที่ เปา หมายการเรียนรู สาระสาํ คญั • บอกบทบาทหนา ที่ของตนเองและสมาชิก การปฏิบัติตามบทบาทและหน้าท่ีของสมาชิก ในครอบครวั (พ 2.1 ป.2/1) ในครอบครวั จะทา� ให้ครอบครวั มีความสขุ ครอบครัวเปน สุข สมรรถนะของผูเรียน ¡¨Ô ¡ÃÃÁ¹ÒÊÙ¡‹ ÒÃàÃÕ¹ 1. ความสามารถในการส่ือสาร 2. ความสามารถในการคดิ คณุ ลักษณะอันพึงประสงค 1. มวี ินยั รับผิดชอบ 2. มจี ติ สาธารณะ กระตนุ ความสนใจ Engage 1. ใหนักเรยี นออกมาเลา เกย่ี วกบั ครอบครวั ของ ตนเองทหี่ นา ช้ัน เชน สมาชิกในครอบครวั มใี ครบา ง ชื่ออะไร อายเุ ทา ไร เปน ตน ถา มีภาพประกอบก็แสดงใหเพือ่ นดูดว ย 2. ใหน กั เรียนเลา วา เม่ืออยทู บ่ี านนกั เรียนทํา อะไรบา ง เชน กวาดบา น ลางจาน เปนตน แลวใหเพอ่ื นๆ บอกวา เคยทําเหมือนกนั หรอื ไม อยางไร ? ¨Ò¡ÀÒ¾ นั¡เรÂÕ นเคÂทÒí §ÒนเËÅÒ่ นéÕ เมè×ออÂÙ่ทบÕè ÒŒ นบÒŒ §Ëร×อไม่ ๑๗ เกร็ดแนะครู ครูจัดกระบวนการเรียนรโู ดยการใหน กั เรียนปฏบิ ัติ ดังนี้ • สํารวจบทบาท หนา ทขี่ องสมาชกิ ในครอบครวั • อธิบายบทบาท หนา ท่ี และการปฏบิ ตั ิตนทีเ่ หมาะสมตอสมาชกิ ในครอบครัว • แสดงบทบาทสมมุติเกีย่ วกบั การปฏบิ ัติตนท่เี หมาะสมตอสมาชิกในครอบครวั จนเกดิ ความรคู วามเขาใจวา เมอ่ื อยรู วมกันเปนครอบครวั สมาชกิ ในครอบครัว ตา งกม็ ีบทบาทและหนา ทใ่ี นครอบครวั ทต่ี องปฏบิ ตั ิตาม ถาทุกคนปฏบิ ัติตาม บทบาทและหนาท่ีของสมาชกิ ในครอบครัว และปฏบิ ัติตอกนั อยา งเหมาะสมก็จะ ทําใหค รอบครัวมีความสขุ คูมือครู 17

กระตุน ความสนใจ สสาํ ํารรEวxวpจจloคคrนeน หหาา อธิบายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล Explain Expand Evaluate Engage Explore สาํ รวจคน หา Explore 1. ใหน ักเรยี นสํารวจตนเองวา มีบทบาทในบา น ๑ บทบาทหนาท่ีของสมาชิกในครอบครัว อยา งไร โดยครูอาจยกตัวอยา งบทบาทของครู เพื่อใหน กั เรียนเขา ใจคําวา บทบาทกอน เชน การอยู่ร่วมกันในครอบครัว สมาชิกแต่ละคนต้องมีบทบาท เปนลกู เปนพ่ี เปน นอ ง เปนหลาน เปนตน และหนา้ ท ่ี เชน่ จากนั้นใหนักเรยี นบอกบทบาทของสมาชกิ คนอื่นในบาน 2. ใหน กั เรยี นสอบถามพอ แม หรอื ผปู กครอง เกยี่ วกบั หนาทขี่ องสมาชิกในบา น 3. ครเู ขยี นตาราง 5 ชอ ง บนกระดาน แลวเขยี น หวั ขอตาราง ไดแ ก พอ แม ลูก พ่ี นอง และ ญาติ จากน้นั ใหนักเรยี นชวยกันบอกหนา ท่ีของ สมาชิกในบา นที่ไปสอบถามมา แลวครบู นั ทึก ลงในตารางแตละชอง บทบาทหนาท่ีของ พอ แม ผปู กครอง พี่ นอ ง ญาติ ร่วมกันพในอ แกลาะรแดมูแหลรแอื ลผะปูอกบครรมอสงั่ง เสปอน็ นผลนู้ ูกา� 1 แเลพะผื่อด้ใู หแู ้เลปค็นรคอนบคดรี วั เ ขม้าหี ใจนลา้ ทูก ่ี และปฏบิ ัติตนเปน็ ตวั อยา่ งที่ดีใหก้ ับลูกดว้ ย ผูปกครอง หมายถึง ผู้ให้การอุปการะเลี้ยงดู อบรมสั่งสอน และพัฒนาเด็กท่ีอยู่ในความปกครองดูแลของตนตามสมควรแก่ ขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมแห่งท้องถ่ิน และต้อง คมุ้ ครองสวสั ดภิ าพเดก็ ทอ่ี ยู่ในความปกครองดแู ลของตน มิใหต้ กอยู่ ในภาวะอนั นา่ จะเกดิ อนั ตรายแกร่ า่ งกายหรอื จติ ใจ เชน่ พอ่ แม ่ ป ู ยา่ ๑๘ตา ยาย หรอื ญาตผิ ้ใู หญ่ พ่อแมบ่ ญุ ธรรม หรอื ครู่ กั ของพ่อหรือแม่ นกั เรียนควรรู บูรณาการเช่อื มสาระ ครบู รู ณาการความรูในสาระสขุ ศกึ ษาฯ กับสาระสังคมฯ วิชาสงั คม 1 อบรมสั่งสอนลกู การอบรมสั่งสอนลกู หลานควรปฏิบัตโิ ดยมขี อพงึ ระมดั ระวงั ศึกษาฯ เรอื่ งรายรบั - รายจาย โดยใหน ักเรยี นสบื คน วา รายรบั และรายจา ย ดังนี้ ของครอบครวั ของตนมีอะไรบาง และนักเรยี นในฐานะทีเ่ ปนสมาชิกคนหน่ึง ของครอบครวั จะชว ยลดรายจา ยของครอบครัวไดอ ยา งไรบาง จากนนั้ ออกมา 1. อยาตามใจลกู มากเกินไป รายงานหนา ชั้น เพ่อื ใหเ ขาใจรายรับ - รายจายของครอบครวั 2. อยา ลงโทษลกู รุนแรงเกนิ ความผดิ 3. อยา ใหสิ่งของหรอื เงินทดแทนความรกั 4. อยา เปรยี บเทียบลกู หลานหรอื ลําเอยี งเขา ขางฝา ยใดฝายหน่ึง 18 คูมือครู

กระตนุ ความสนใจ สํารวจคนหา ออธธบิ บิ Eาาxยยplคคaวiวnาามมรรู ู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล Engage Explore Evaluate Explain Expand Explain อธบิ ายความรู เด็กๆ เป็นหนงึ่ ในสมาชิก 1. ครยู กตัวอยางหนาทีท่ ี่ตองทํารวมกัน เชน ของครอบครวั ตอ้ งเคารพ และ ทาํ งานบาน แลวถามนกั เรียนวา หนา ท่ีน้ีเปน เชื่อฟังค�าสั่งสอนของพ่อแม่หรือ หนา ทีข่ องใคร จากนน้ั รวมกนั สรุปวา หนาท่ี ผู้ปกครอง ช่วยเหลืองานบ้าน บางอยา งก็เปนหนา ทขี่ องสมาชิกทกุ คน ที่ทา� ได ้ เชน่ กวาดบา้ น ล้างจาน ในบาน กตอ้จิ วงรัตจู้ รกัปดรแูะลจตา� วนนัเอ1 งแในละเรมอื่ คี งวกาามรทรักา� ให้กัน ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน 2. ใหนักเรียนรวมกันสรปุ หนา ที่ของสมาชกิ ไม่ควรทะเลาะกัน คอยตักเตือน เด็กๆ มหี น้าทีช่ ว่ ยพอ่ แม ่ ผูป้ กครอง ทา� งานบ้าน ในบา น กั น เ ม่ื อ ท� า ส่ิ ง ที่ ไ ม ่ ดี แ ล ะ เ ป ็ น เลก็ ๆ นอ้ ยๆ 3. ใหนักเรียนแบงกลุม แลวใหแ ตละกลมุ เปน อนั ตราย ญาติผูใหญหรือผูใหญใน ตวั แทนของสมาชิกในบา นตามตารางบน กระดาน จากน้นั ใหแตละกลุม รวมกันคดิ วธิ ี บาน เป็นคนที่มีความสัมพันธ ปฏบิ ัติตนตอ สมาชิกคนอื่นในบา น แลวออกมา เกยี่ วขอ้ งกบั ตวั เราทง้ั ทางสายเลอื ด นาํ เสนอทห่ี นา ช้นั และไม่ใช่ทางสายเลือด จะดูแล ชว่ ยเหลอื และอบรมสง่ั สอนใหเ้ รา 4. ใหนักเรียนรว มกนั สรปุ วิธปี ฏิบัตติ นตอสมาชกิ ในครอบครวั 5. ครตู ง้ั คาํ ถามวา • การปฏิบตั ติ ามบทบาทและหนา ทข่ี องตนจะ ทาํ ใหเ กิดผลดอี ยางไร (แนวตอบ สมาชิกทกุ คนในบานอยูร ว มกนั อยา งสงบสุข เพราะทุกคนตางทาํ ตามหนาท่ี ของตนทาํ ใหไมเ กดิ การขัดแยง กัน สงผลให ครอบครวั มคี วามสุข) เด็กๆ ตอ้ งชว่ ยเหลืองานบา้ นเทา่ ท่ีจะท�าได้ เป็นคนดี เมื่อสมาชิกในครอบครัว ตา่ งรบู้ ทบาทหนา้ ทแี่ ละทา� หนา้ ที่ ของตนเองให้ดีที่สุด จะท�าให้ ทุกคนในครอบครัวเกิดความรัก และความผูกพันกัน อยู่ร่วมกัน อย่างมคี วามสุข ญาติผ้ใู หญเ่ ราต้องเคารพนับถือ ๑๙ ขอสอบเนน การคิด นักเรียนควรรู ถา นักเรียนเปน พ่ี และตองการใหน อ งรักและเช่อื ฟง นักเรยี นควรทําตาม 1 กจิ วัตรประจาํ วัน หมายถึง ส่ิงท่ีนักเรยี นทาํ เปน ปกตใิ นชวี ติ ประจําวัน เชน ขอใดจึงจะเหมาะสม (ตอบไดมากกวา 1 ขอ) การแปรงฟน อาบนํ้า แตง ตวั เกบ็ ทีน่ อน รับประทานอาหาร เปนตน ซ่ึงการท่ี นกั เรียนสามารถทํากิจวัตรประจาํ วนั ดว ยตนเองได จะทาํ ใหเ กดิ ความภาคภูมิใจ ก. ชวยนองทํางานบา น ในตนเอง และชว ยแบงเบาภาระของพอ แม หรือผูปกครองดว ย ข. ตกั เตือนเม่ือนองทําผดิ ค. พดู กับนอ งอยางสุภาพไพเราะ ง. ยอมรบั ผิดแทนนองเมือ่ นอ งทําผดิ วเิ คราะหค ําตอบ ถาเราเปนพเี่ ราควรดแู ลเอาใจใสนอ ง ชว ยเหลอื กัน และพูดจาสุภาพตอ กนั เพื่อไมใ หท ะเลาะกนั แตก ารรบั ผิดแทนนองเปน วธิ กี ารปฏิบัติตนที่ไมเ หมาะสม เพราะจะทําใหนอ งไมร ูต วั วา ทาํ ผิด ดงั นั้น ขอ ก. ข. และ ค. เปน คาํ ตอบทีถ่ กู คูมอื ครู 19

กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา อธิบายความรู ขขยยาายยEคคxpววaาาnมมdเเขขาาใจใจ ตรวจสอบผล Explore Explain Evaluate Engage Expand Expand ขยายความเขา ใจ 1. ใหแตล ะกลุม รวมกันแสดงบทบาทสมมตุ ิ ๒ การปฏิบตั ติ นตอสมาชกิ ในครอบครวั การปฏบิ ัตติ นเมื่ออยูที่บาน แลวออกมาแสดง ทห่ี นาชั้น จากน้นั ใหเพื่อนๆ ชว ยตรวจสอบวา เมอ่ื เราอยรู่ ว่ มกนั เปน็ ครอบครวั สมาชกิ ทกุ คนตอ้ งปฏบิ ตั ติ าม ถกู ตองเหมาะสมหรอื ไม หนา้ ทขี่ องตนเองและปฏบิ ตั ติ นตอ่ สมาชกิ ในครอบครวั อยา่ งเหมาะสม 2. ใหน กั เรยี นอา นเหตุการณจากกิจกรรม พ่อแม่หรือผู้ปกครองเป็นแบบอย่างท่ีดีแก่ลูก การเรยี นรู ชวนคดิ ชวนทาํ ขอ 2 หนา 21 ดูแลอบรมส่ังสอน ปกปองสมาชิกในบ้าน ช่วย แลวเขียนวธิ ีปฏบิ ัตติ นทีเ่ หมาะสมลงในสมุด ท�างานบา้ น 3. ใหนักเรยี นนําภาพครอบครวั มาติดลงใน เด็กๆ ต้องเคารพเชื่อฟังพ่อแม่หรือผู้ปกครอง กระดาษ และเขียนชอื่ ความสมั พันธ เแอลื้อะเสฟมื้อาเชผิก่ือใแนผค่ตร่ออทบุกคครวันท ่ีมพีอูดาจยาุมสาุภกากพว1กา่ ับ มทีนุกา�้คในจ และหนา ที่ของสมาชิกลงในกระดาษ และเป็นตัวอย่างท่ีดีต่อสมาชิกในครอบครัวท่ีมี แลว ออกมาแสดงที่หนาช้นั อายนุ ้อยกวา่ ญาติผู้ใหญ่หรือผู้ใหญ่ในบ้านต้องเป็นแบบอย่าง 4. ใหน กั เรียนเขยี นแผนผังความคดิ แสดงบทบาท ที่ดตี อ่ สมาชกิ ในครอบครัวที่มีอายนุ อ้ ยกว่า คอย หนา ที่ของสมาชิกครอบครัวแลว บนั ทึกผลลงใน ดูแลเอาใจใสท่ ุกคนมคี วามเออ้ื เฟอื้ เผ่อื แผ่ และมี กจิ กรรมรวบยอดท่ี 2.1 ขอ 1 จากแบบวัดฯ ความเมตตาตอ่ สมาชิกในครอบครวั สุขศึกษาฯ ป.2 ใบงาน ✓แบบวดั ฯ แบบฝกฯ สขุ ศึกษา ป.2 กิจกรรมรวบยอดที่ 2.1 แบบประเมนิ ตวั ชว้� ดั พ 2.1 ป.2/1 แบบประเมินผลการเรียนรูตามตัวช้วี ัด ประจําหนว ยที่ ๒ บทที่ ๑ กิจกรรมรวบยอดที่ ๒.๑ แบบประเมนิ ตัวช้ีวดั พ ๒.๑ ป.๒/๑ • ระบบุ ทบาทหนาท่ขี องตนเองและสมาชกิ ในครอบครวั ชดุ ที่ ๑ ๑๕ คะแนน ๑ เขียนแผนผงั ความคดิ แสดงบทบาทหนาที่ของตนเองและสมาชกิ ในครอบครวั (ตัวอยาง) ทํางานหาเงนิ ทํางานหาเงิน พอ ทาํ งานบาน แม ทาํ งานบาน สามี เลย้ี งดูลูก ภรรยา เลย้ี งดูลูก เฉฉบลบั ย บทบาท หนา ท่ี บทบาท หนา ท่ี พอ แม บทบาทหนาท่ีของฉันและ เม่ือสมาชิกทุกคนในครอบครัวต่างปฏิบัติต่อกันด้วยดีแล้ว สมาชกิ ในครอบครัว กจ็ ะทา� ให้ครอบครวั มีความสุข ตัวฉนั หนา ที่ นอ ง หนาท่ี 2๐ เรยี นหนงั สือ เรยี นหนงั สอื บทบาท ทาํ งานบา น บทบาท ทาํ งานบา น ลูก ดูแลนอ ง ลกู ชว ยเหลือพ่ี พ่ี นอ ง ตัวชว้ี ดั พ ๒.๑ ขอ ๑ ñðไดค ะแนน คะแนนเตม็ ๑๔ เกร็ดแนะครู ขอสอบเนนการคิด การปฏิบัติตนในขอ ใดที่ทําใหสมาชิกในครอบครวั มคี วามสุขมากท่ีสุด ครูอธบิ ายใหน ักเรยี นเขาใจวา ญาติผูใหญท่ีมอี ายุมากมักชอบซักถาม ก. พอแมล กู รว มกนั ทํางานบาน ย้าํ เตือนเรือ่ งตางๆ จนบางครง้ั เราอาจคดิ วา ทานมีนิสยั ขี้บน แตท ี่จริงแลว ข. พอ แมไ มย ุงเรอ่ื งสวนตัวของลูก สงิ่ ท่ที านแสดงออกเปน การแสดงความรกั ความหว งใยทท่ี า นมีตอลูกหลาน ค. พอ แมไ มต กั เตอื นเมอ่ื เหน็ ลกู ทําความผิด ดังนั้น ลูกหลานจงึ ควรเขาใจทา น และไมควรแสดงออกวารําคาญทาน ง. พอ แมทาํ งานลวงเวลาเพื่อหาเงินมาใหล กู วเิ คราะหค ําตอบ พอ แมมหี นา ท่เี ลย้ี งดแู ละอบรมส่งั สอนลกู ถา พอ แม นกั เรยี นควรรู ไมย งุ เกย่ี วกบั ลกู หรอื ทาํ แตงานจนไมมีเวลาใหล ูก ลกู ก็จะรสู ึกวาเหว แลว เมื่อลกู ทําผดิ และพอ แมไมต กั เตือน ก็จะทําใหลูกไมรจู ักผดิ ถกู 1 พดู จาสภุ าพ ถา พูดกบั ผูใ หญ ควรมคี ําลงทา ยประโยค เชน คะ คะ ครบั และอาจทาํ ผดิ อกี ซึง่ เปนการบม เพาะนิสยั ท่ีไมด ีใหกบั ลูก สวนการทํา แตถาพดู กบั ผูทมี่ ีอายุนอยกวา ควรใชค าํ ลงทายประโยควา จะ จะ งานบานรว มกับลกู เปน การทํากิจกรรมรว มกับลกู และทําใหบานสะอาด ผอู ยอู าศยั มสี ุขภาพดี ดังนั้น ขอ ก. เปนคําตอบทถ่ี ูก 20 คมู ือครู

กระตุนความสนใจ สํารวจคนหา อธิบายความรู ขยายความเขา ใจ ตตรรวEวvจจaสสluออaบtบeผผลล Engage Explore Explain Expand Evaluate ตรวจสอบผล Evaluate ¡¨Ô ¡ÃÃÁ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ 1. ครตู รวจความถูกตองของการบอกหนา ท่ีของ สมาชกิ ในครอบครัว ตอนท่ี ๑ คําถามชวนคิด 2. ครตู รวจความถกู ตองของแผนผังความคิด แสดงบทบาทและหนาทข่ี องสมาชิกใน ครอบครัว เขียนตอบคาํ ถามตอไปนีล้ งในสมดุ หลกั ฐานแสดงผลการเรยี นรู ๑) ถ ้าพ่อและแมห่ รือผ้ปู กครองท�างานเพื่อหาเงินมาให้นักเรยี นใช ้ นกั เรยี น จะชว่ ยทา่ นในเร่อื งใดบา้ ง 1. ภาพครอบครัว แสดงสมาชิกในครอบครัว ๒) ถ้านักเรียนทะเลาะกับพี่หรือน้อง นักเรียนคิดว่าพ่อแม่หรือผู้ปกครอง และหนา ท่ีของสมาชกิ ในครอบครวั จะรสู้ กึ อยา่ งไร ๓) ถา้ นกั เรยี นไมต่ งั้ ใจเรยี นหนงั สอื นกั เรยี นคดิ วา่ พอ่ แมห่ รอื ผปู้ กครองจะรสู้ กึ 2. แผนผังความคิดแสดงบทบาทและหนาท่ีของ สมาชกิ ในครอบครัว อย่างไร ๔) นักเรียนคิดว่า ตนเองปฏิบัติตัวไม่ดีต่อครอบครัวในเร่ืองใดบ้าง และ นกั เรยี นจะปรับปรุงตนเองอยา่ งไร ๕) เมอ่ื พอ่ แมห่ รอื ผปู้ กครองวา่ กลา่ วตกั เตอื น นกั เรยี นควรปฏบิ ตั ติ นอยา่ งไร ตอนที่ ๒ ชวนคดิ ชวนทาํ ๑. สํารวจสมาชิกในครอบครัวของตนเองวามใี ครบา ง แลวสอบถามสมาชิกวา มีหนา ท่ีใดบา ง จากนั้นบนั ทึกขอ มลู ลงในสมุด ๒. อา นเหตกุ ารณท ก่ี าํ หนดให แลว เขยี นสง่ิ ทนี่ กั เรยี นควรปฏบิ ตั เิ มอ่ื พบเหตกุ ารณ น้ันลงในสมุด ๑) พ่อ แม ่ หรือผูป้ กครองก�าลังรดน้�าตน้ ไม้ ๒) ปาก�าลังกรอกน้า� ใส่ขวด ๓) พอ่ แม่ หรอื ผ้ปู กครองกา� ลงั กวาดบ้าน ๔) พีก่ �าลงั ซักผ้า ๕) ตาก�าลังจะยกเก้าอีอ้ อกมาท�าความสะอาด ตอนท่ี ๓ ผลงานสรา งสรรค นกั เรยี นนาํ ภาพครอบครวั มาติดลงในกระดาษ แลวเขียนชอ่ื สมาชิกและบอก ความสัมพนั ธท เี่ ก่ียวขอ งกับนักเรียน และอธิบายหนาท่ีของสมาชกิ ในครอบครัว แลวตกแตงผลงานใหส วยงาม จากนั้นนาํ ออกมาแสดงท่ีหนาชน้ั 2๑ ขอสอบเนน การคิด เฉลย กจิ กรรมการเรียนรู ถา แมขอใหนักเรยี นชว ยกวาดบา นขณะนกั เรียนกําลงั ทาํ การบาน ตอนท่ี 1 คาํ ถามชวนคดิ นักเรยี นควรทาํ อยา งไร เพราะอะไร แนวตอบ แนวตอบ บอกแมว า ขอทําการบานใหเสรจ็ กอนแลว จึงจะไปกวาดบา น 1) ต้งั ใจเรยี นหนังสือ และชว ยทํางานบานเพื่อแบง เบาภาระของพอแม หรือ เพราะการทาํ การบา นกเ็ ปน หนาท่ีของเด็กในวัยเรียนทีส่ ําคัญเชนกนั ผูปกครอง ซึ่งถา เรามหี นาทที่ าํ สิง่ ใดก็ควรทําใหเสร็จกอนจึงไปทํางานอื่น โดยอธิบาย 2) รูส ึกเสียใจท่ีลูกไมรกั และสามัคคีกัน เหตุผลใหแ มเ ขาใจดว ยถอ ยคําทีส่ ุภาพ 3) รสู กึ เสียใจ และไมมกี ําลงั ใจในการทํางาน 4) เชน ใชจ า ยฟุมเฟอย ควรปรบั ปรงุ โดยการประหยดั และใชจ ายแตส งิ่ ที่จาํ เปน 5) ยอมรบั ฟง และปฏิบัตติ าม ตอนท่ี 2 ชวนคดิ ชวนทาํ 21 2. แนวตอบ 1) ชว ยพอ แม หรอื ผปู กครอง รดน้ําตนไม 2) ชว ยปากรอกน้าํ ใสขวด 3) ชว ยพอ แม หรอื ผปู กครองกวาดบาน 4) ชวยพซี่ กั ผา และตากผา 5) ชว ยคณุ ตายกเกา อแี้ ละทาํ ความสะอาดเกาอ้แี ทนคณุ ตา คูมอื ครู

กกรระตะตนุ Eนุ nคคgววaาgามeมสสนนใจใจ สํารวจคนหา อธบิ ายความรู ขยายความเขา ใจ ตรวจสอบผล Explain Expand Evaluate Engage Explore เปา หมายการเรียนรู òบทท่ี • บอกความสาํ คญั ของเพ่ือน (พ 2.1 ป.2/2) สาระสาํ คัญ สมรรถนะของผเู รยี น หน่งึ มติ รชิดใกล เพ่ือนมีความส�าคัญและเป็นคนท่ีใกล้ชิดเรา เมื่อเราอยู่ที่โรงเรียน เรียนและท�ากิจกรรม 1. ความสามารถในการสือ่ สาร ¡¨Ô ¡ÃÃÁ¹ÒÊÙ‹¡ÒÃàÃÕ¹ รว่ มกนั เราจึงควรปฏิบัตติ นเป็นเพอ่ื นที่ด ี 2. ความสามารถในการใชทกั ษะชีวิต คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค 1. มีวนิ ยั รับผิดชอบ กระตนุ ความสนใจ Engage 1. ครสู อนนกั เรียนรอ งเพลง “เพอ่ื นฉัน” พรอ มกับใหช วยกนั ปรบมอื ตามจังหวะเพลง จนคลองแคลว 2. ครสู ุมเรยี กนกั เรียนทลี ะคนใหรอ งเพลงเพ่ือนฉัน พรอ มกบั เตมิ ช่ือเพือ่ นลงในวรรคสุดทา ยของ เพลง แลวช้ีท่เี พอ่ื นคนนนั้ ถานักเรยี นบอก ชอื่ เพอื่ นไมถกู ตอง ใหนักเรยี นไปถามชอ่ื เพอ่ื น แลว รอ งซาํ้ อกี คร้งั ? เ¾è×อนมÕคÇÒมÊÒí คัÞµอ่ เรÒอÂÒ่ §ไรบÒŒ § 22 เกร็ดแนะครู ครูจัดกระบวนการเรียนรโู ดยการใหนักเรยี นปฏิบตั ิ ดังน้ี • อธบิ ายวธิ ีปฏบิ ัตติ นตอเพื่อน • แสดงบทบาทสมมุติวิธปี ฏบิ ัตติ นที่เหมาะสมตอเพอื่ น จนเกดิ เปน ความรูค วามเขาใจวา เพื่อนมคี วามสาํ คัญตอเรา เพราะเปน ผูที่ พูดคยุ เลน และใหก ําลงั ใจกับเรา ดงั นนั้ เราจึงควรปฏบิ ัติดีกับเพอื่ น ครูอาจนาํ เน้อื เพลง “เพื่อนฉัน” มาตดิ บนกระดาน เพื่อใหนักเรียนฝก รอ ง ตามเนือ้ เพลง มองหามองดูซี เพลง เพอ่ื นฉนั มีเพ่ือนเราอยูไหน (ซา้ํ ) เพ่ือนฉันนน้ั มมี ากมาย ฉนั ยังจําชื่อได (ช...่อื...เ..พ...อ่ื...น......ช...ือ่ ...เ.พ....อ่ื ...น...) 22 คูมือครู

กระตนุ ความสนใจ สสาํ าํ รรEวxวpจจloคคrนeน หหาา ออธธบิ บิ Eาาxยยplคคaวiวnาามมรรู ู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล Engage Evaluate Explore Explain Expand Explore สาํ รวจคน หา ๑ ความสาํ คญั ของเพอ่ื น 1. ใหน ักเรียนบอกชือ่ เพ่ือนในกลุมของนกั เรยี น แลวใหบ อกวาชอบอะไรในตัวเพื่อนบา ง คนเราทกุ คนตา่ งลว้ นมเี พอื่ น ทงั้ เพอื่ นทเี่ ปน็ เพศเดยี วกนั หรอื เพ่ือนที่ไม่ใช่เพศเดียวกัน ไม่ว่าจะเป็นเพ่ือนที่อยู่ใกล้ๆ บ้าน หรือ 2. ใหน กั เรียนรว มกนั บอกวา เพื่อนที่นกั เรียนชอบ เพือ่ นที่โรงเรยี น และไมช อบมลี กั ษณะอยางไร เพ่ือนเป็นคนท่ีอยู่ใกล้ชิดเราและใช้เวลาอยู่ร่วมกับเรามาก รองลงมาจากครอบครัว ในวันหนึ่งเราเรียนและท�ากิจกรรมร่วมกับ 3. ใหนกั เรยี นเลาวา ในแตละวันนกั เรียนทํา เพอื่ น ดังน้ันเพอ่ื นจงึ มคี วามสา� คญั ตอ่ เราหลายประการ กจิ กรรมอะไรกับเพือ่ นบา ง แลวครูจดลงบน กระดาน อธบิ ายความรู Explain 1. ใหน ักเรยี นรว มกนั สรปุ กิจกรรมทที่ ํารวมกับ เพอ่ื น จากนน้ั อธิบายความสําคัญของเพ่อื น 2. ใหน กั เรยี นรวมกันคิดวิธีปฏบิ ัตติ นตอเพ่อื น โดยครูเขยี นแผนผงั ความคดิ บนกระดานแลว ใหนกั เรยี นออกมาเขยี นเตมิ วธิ ีปฏบิ ตั ติ นตอ เพอ่ื น เชน น¡ั เรÂÕ นค´Ô Ç่Ò เธอ เ¾èอ× นมคÕ ÇÒมÊÒí คÞั µ่อเรÒ เปน็ ¼ทÙŒ ÕèเรÒเÅ่น ย้มิ พดู ไพเราะ ฉนั ´ŒÇÂครบั อÂÒ่ §ไรบÒŒ §คÐ วธิ ีปฏิบตั ิ จะ ªÇ่ ÂÊอน¡ÒรบŒÒน ตอ เพื่อน ทèÕเรÒไม่เขŒÒã¨ค่Ð แบง ขนม นม ขนมปง คอªÇ่ ÂเËÅอ× เมèอ× เรÒมปÕ Þ˜ ËÒครับ เปน็ ¼ŒÙทเèÕ รÒ¾´Ù คØÂ ´ÇŒ ÂเÊมอคÐ่ นั¡เรÕÂนเËนç ไËมคÐÇ่Ò เ¾è×อนมÕคÇÒมÊÒí คÞั มÒ¡ ´ั§นนéั เรÒ¨§Ö คÇร ป¯บÔ ัµµÔ นเปน็ เ¾×อè นทÕ´è µÕ อ่ ¡นั เ¾èอ× นæ ¨Ðไ´รŒ ¡ั เรÒ 2๓ ขอ สอบเนนการคดิ เกร็ดแนะครู “เพื่อนกินหางาย เพ่อื นตายหายาก” นกั เรยี นคดิ วา ขอความน้ี ครูควรอธบิ ายใหนกั เรยี นเขา ใจวา ถา นกั เรียนทําการบา นไมได นักเรียนก็ หมายความวาอะไร และยกตวั อยางพฤติกรรมทีต่ รงกบั สาํ นวนน้ี ไมควรลอกการบานเพอ่ื น เพราะจะทาํ ใหไ มเขา ใจบทเรียนมากข้ึนและถกู ครลู งโทษ แนวตอบ สํานวนนีห้ มายถึง เพอื่ นกนิ เปน เพื่อนที่จะอยูกบั เราในเวลาท่ี ดังนน้ั ถานกั เรยี นไมส ามารถทาํ การบา นได ควรสอบถามครหู รือใหเ พือ่ นทเ่ี ขาใจ เรามีความสขุ เทาน้นั สว นเพ่อื นตายเปน เพอื่ นทีอ่ ยูกับเราเมื่อเรามปี ญหา ชว ยสอน เพอื่ ใหเ ราสามารถทําการบานได หรือความทกุ ข ซงึ่ เพือ่ นที่มลี กั ษณะเปน เพื่อนกนิ นน้ั มีอยูมาก แตเพอ่ื นที่มี ลกั ษณะเปน เพ่อื นตายมีอยนู อ ย พฤติกรรมที่ตรงกับสํานวนน้ี เชน • น้งิ ชอบชวนตา ยไปดูหนงั อยเู สมอ แตเ มื่อตา ยมปี ญหา น้งิ ก็ ไมสนใจ แตฝ า ยซึ่งเปนเพ่ือนอีกคนกลับมาใหคาํ ปรกึ ษาและคอยปลอบใจ ตา ยอยูเสมอ จงึ เปรยี บน้งิ เปน เพอ่ื นกนิ และฝา ยเปน เพอื่ นตาย คมู ือครู 23

กระตนุ ความสนใจ สํารวจคนหา อธิบายความรู ขขยยาายยEคคxpววaาาnมมdเเขขา าใจใจ ตรวจสอบผล Explore Explain Evaluate Engage Expand Expand ขยายความเขา ใจ 1. ใหน กั เรยี นแบงกลมุ แลว ใหแตล ะกลุมรว มกัน ๒ วิธีการปฏบิ ตั ิตนเป็นเพอ่ื นทด่ี ี แสดงบทบาทสมมุติ การปฏิบัตติ นตอเพ่อื นตาม เราควรปฏิบัติตนเป็นเพ่ือนท่ีดีเพราะจะท�าให้เราอยู่ร่วมกัน สถานการณท คี่ ดิ ข้ึน แลวออกมาแสดงท่ีหนาช้ัน อย่างมคี วามสขุ ซง่ึ สามารถท�าได้ ดังนี้ จากน้นั ใหเพอื่ นตา งกลุมตรวจสอบวาถูกตอ ง เพือ่ นล๑มื .น แา� บย่งาปงลันบสมิ่งขาอเงรใาหกก้ ็คนั วรมแนีบา้�่งใใจหเเ้อพ้อื ือ่ เฟนใือ้ ชเผด้ อื่ว้ ยแผข่ตณอ่ เะพเลอ่ื ่นนชเงิ ชชน่า้ 1 เหมาะสมหรือไม ทส่ี นามโรงเรยี น ก็ควรผลดั กันเล่นกบั เพอ่ื น เป็นตน้ ๒. ช่วยเหลือซ่ึงกนั และกัน เช่น การช่วยเหลอื เพอื่ นในด้าน 2. ใหนกั เรียนอา นขอความในกิจกรรม ชวนคดิ การเรียนบางวิชา ถ้าเพ่ือนหรือเราไม่เข้าใจเนื้อหาบางส่วน ก็อาจ ชวนทาํ ขอ 2 แลว บอกวาเหมาะสมหรือไม เพราะเหตใุ ด 3. ใหน กั เรยี นอานขอความจากกิจกรรมรวบยอด ที่ 2.2 จากแบบวัดฯ สุขศึกษาฯ ป.2 แลว บอก ความสําคัญของเพอ่ื น ใบงาน ✓แบบวัดฯ แบบฝก ฯ พูดคุยแลกเปล่ียนความรู้หรือให้เพื่อนท่ีเข้าใจดีแล้ว ช่วยสอนหรือ สขุ ศึกษา ป.2 กิจกรรมรวบยอดที่ 2.2 แบบประเมินตวั ช�้วัด พ 2.1 ป.2/2 อธบิ ายอีกครั้งหน่งึ เป็นตน้ แบบประเมนิ ผลการเรียนรูตามตัวชวี้ ัด ประจาํ หนวยท่ี ๒ บทที่ ๒ ๓. ไมร่ งั แกเพือ่ น ไมแ่ กลง้ เพอื่ น และไมล่ ้อเลยี นเพ่อื น ๔. ต้งั ใจเรยี น ไมช่ กั ชวนเพ่อื นคุย ขณะท่คี รูกา� ลังสอน กิจกรรมรวบยอดที่ ๒.๒ ๕. พดู จาไพเราะสภุ าพกับเพ่ือน เชน่ “ครบั ” หรอื “คะ่ ” ๖. กล่าว “ขอบคุณ” “ขอบใจ” แบบประเมินตัวชวี้ ัด พ ๒.๑ ป.๒/๒ เม่ือเพ่ือนท�าส่ิงใดให้แก่เรา และ • บอกความสาํ คญั ของเพื่อน ขอโทษครบั กลา่ ว “ขอโทษ” เมื่อตนท�าผดิ และ ไม่เปน็ ไรครบั ร้จู ักให้อภัยเพือ่ น ชดุ ที่ ๑ ๑๐ คะแนน ๗. แสดงความชื่นชมยินดี อา นสถานการณทก่ี าํ หนดให แลว บอกความสาํ คัญของเพื่อน กบั เพอื่ น เม่ือเพื่อนมคี วามสุข ๘. เพอื่ นควรใหค้ วามชว่ ยเหลอื ๑) ฝนเห็นแกมน่ังหนาเศรา จึงเขาไปถามแกมวาเปนอะไร แกมเลาให ผู้อื่นทต่ี ้องการความช่วยเหลือ ฟงวา แมวของเธอตาย เธอจึงรสู กึ เศรา ฝนจงึ พดู ปลอบใจแกม เพ่ือนมคี วามสําคญั ดังน้ี การรจู้ กั กลา่ วคา� ขอโทษเมอ่ื ทา� สง่ิ ทไ่ี มด่ ตี อ่ เพอ่ื น ทง้ั ตง้ั ใจหรอื ไมไ่ ดต้ งั้ ใจ เปน็ ลกั ษณะของเพอื่ นทดี่ ี ๒) เม่อื ครปู ระกาศผลสอบวาเกงสอบไดค ะแนนเต็มวชิ าภาษาไทยเปน ผทู ่ีคอยปลอบใจเพื่อนเมอ่ื เพื่อนมีความทกุ ขเฉฉบลบั ย ........................................................................................................................................................................................................ เพ่ือนๆ กเ็ ขา มาแสดงความยนิ ดกี บั เกง เพื่อนมีความสาํ คญั ดังน้ี เปน ผูท่ีชื่นชมยินดเี มอ่ื เพื่อนทาํ ดีหรอื ประสบความสาํ เรจ็........................................................................................................................................................................................................ ๓) มดไมสามารถทําการบานวิชาคณิตศาสตรได จึงไปขอใหฝายชวย ซึ่งฝายชวยอธิบายจนมดทาํ การบา นไดเ สรจ็ ทุกขอ เพอ่ื นมีความสาํ คัญ ดงั นี้ เปน ผูใ หคําสอน คาํ อธิบาย คําแนะนาํ เมอ่ื เพอื่ นมีปญ หา........................................................................................................................................................................................................ ๔) ตอนพักเท่ียง นนทชวนเพื่อนไปเลนเตะบอลที่สนามของโรงเรียน เขาและเพื่อนๆ รสู กึ สนกุ มาก เพื่อนมีความสาํ คญั ดงั นี้ เปน เพ่ือนเลน ทาํ ใหเ กิดความสนุกสนานเพลดิ เพลนิ........................................................................................................................................................................................................ ๑๘ 24 เกร็ดแนะครู ขอสอบเนน การคดิ ถาเพื่อนลมื นาํ ดนิ สอมา นกั เรยี นควรพดู กบั เพือ่ นอยา งไร ครูอธบิ ายเพิม่ เตมิ วา เพอ่ื นตา งเพศควรใหเ กยี รติซง่ึ กันและกัน เชน เพอ่ื น ก. เธอมีเงนิ ซือ้ ดนิ สอไหม ผชู ายไมควรถกู เนือ้ ตองตัวเพ่อื นผหู ญงิ ไมพ ดู คําหยาบ หรือคาํ ลามกกับเพื่อนผหู ญงิ ข. ท่ีสหกรณมดี นิ สอขายนะ เพ่อื นผหู ญงิ กค็ วรใหเกียรตเิ พ่อื นผูช าย พดู จากันดวยถอยคาํ ทส่ี ภุ าพ ไมพดู ลามก ค. ฉันมหี ลายแทง ฉันใหย ืมจะ เปน ตน ง. ไปขอยืมคณุ ครสู ิ ฉนั เห็นครูมเี ยอะ วเิ คราะหคําตอบ เม่ือเพ่ือนลมื นาํ ดนิ สอมา เพ่อื นที่ดคี วรใหเ พ่ือนยืม นกั เรยี นควรรู เพราะเปน การแสดงความมีน้ําใจเอื้อเฟอตอ เพ่อื น ดงั นนั้ ขอ ค. เปน คําตอบทถ่ี กู 1 เลนชิงชา ขณะไกวชงิ ชา ใหเพื่อนไมค วรไกวแรงมากเกินไป เพราะอาจทาํ ให เพื่อนตกจากชงิ ชา และไดร บั บาดเจ็บได 24 คูม ือครู

กระตนุ ความสนใจ สาํ รวจคนหา อธบิ ายความรู ขยายความเขา ใจ ตตรรวEวvจจaสสluออaบtบeผผลล Engage Explore Explain Expand Evaluate ตรวจสอบผล Evaluate ¡¨Ô ¡ÃÃÁ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ ครูตรวจสอบการบอกความสําคญั ของเพื่อน จากการทาํ กจิ กรรมรวบยอดท่ี 2.2 จากแบบวัดฯ สขุ ศกึ ษา ป.2 ตอนที่ ๑ คําถามชวนคดิ หลักฐานแสดงผลการเรยี นรู เขยี นตอบคาํ ถามตอ ไปนี้ลงในสมดุ ๑) ใ นแต่ละวัน นักเรียนท�ากิจกรรมใดร่วมกับเพื่อนบ้าง เม่ือท�ากิจกรรม • กิจกรรมรวบยอดที่ 2.2 จากแบบวดั ฯ สุขศกึ ษา ป.2 น้ันแล้ว นกั เรยี นมีความร้สู กึ อย่างไร ๒) นกั เรยี นเคยทะเลาะกบั เพอื่ นหรอื ไม ่ และมวี ธิ ปี รบั ความเขา้ ใจกนั อยา่ งไร ๓) ถ้าเพ่ือนไมเ่ ห็นด้วยกบั ความคดิ ของเรา นกั เรยี นควรทา� อย่างไร ๔) ถ ้าเกิดเหตุการณที่ท�าให้ทะเลาะกับเพ่ือน แล้วนักเรียนรู้สึกโมโหมาก นกั เรยี นควรท�าอยา่ งไร ตอนท่ี ๒ ชวนคดิ ชวนทํา ๑. จับคกู ับเพื่อนสนทิ แลวเขยี นขอดี ขอ เสีย และขอ ควรปรับปรงุ ของตนเอง และเพ่อื นสนทิ ลงในสมุด ๒. อานขอ ความทกี่ ําหนดให แลว บอกวาควรปฏิบัตติ อ เพอื่ นตามพฤตกิ รรม ท่กี ําหนดใหห รือไม เพราะเหตุใด ๑) ชว่ ยเพ่อื นถอื ของ ๒) เรยี กเพอื่ นวา่ “คณุ ” หรอื “เธอ” ๓) ช่วยสอนการบา้ นเพ่ือน ๔) แอบปากระดาษให้โดนเพอื่ น ๕) กลา่ วขอโทษเมื่อเดนิ ชนเพือ่ น ตอนท่ี ๓ ผลงานสรางสรรค นกั เรยี นรวมกนั คัดเลือกเพ่ือนทีม่ ีลกั ษณะดงั ตอ ไปนี้ โดยการลงคะแนน ๑) เพอ่ื นท่ีพดู ไพเราะมากที่สุด ๒) เพ่อื นท่ีเรยี บรอ้ ยมากที่สดุ ๓) เพอ่ื นทีม่ ีนา�้ ใจมากทส่ี ดุ ๔) เพือ่ นทีเ่ รยี นเกง่ ท่สี ุด ๕) เพ่อื นท่ชี อบชว่ ยเหลอื เพ่อื นมากทส่ี ุด 2๕ ขอสอบเนนการคิด เฉลย กจิ กรรมการเรยี นรู ใครในขอ ตอไปนี้ปฏบิ ัติตนเปนเพื่อนท่ีดีไดเ หมาะสมท่สี ุด ตอนที่ 1 คาํ ถามชวนคดิ ก. หวานใหเ พื่อนยืมดนิ สอโดยคดิ คา ยืมวนั ละ 1 บาท แนวตอบ ข. ผ้งึ ใหเ พอื่ นที่เปน หวดั ดมื่ นา้ํ จากแกว ของตนเอง 1) ว่งิ เลน กบั เพื่อน เม่ือทําแลวรูสกึ มคี วามสุข ค. นาํ้ ชวยพยุงจิบ๊ ไปหองพยาบาล เพราะจ๊บิ ขาเจ็บ 2) เคย ปรับความเขาใจโดยพดู คุยกันดวยเหตุผล ไมใชอ ารมณ ง. ตนชวยทําการบานแทนแปง เพราะแปง ไมเ ขาใจ 3) รบั ฟงเหตุผลของเพือ่ น และอธบิ ายความคิดของเราใหเพ่อื นเขา ใจ วิเคราะหค ําตอบ ก. การชว ยเหลอื เพ่อื นควรทาํ ดว ยความจริงใจ โดยไมใ ชอารมณ ไมห วงั สงิ่ ตอบแทน 4) พยายามระงับความโมโห แลวแยกจากเพอื่ นสักพกั เม่อื อารมณด ขี น้ึ แลว ข. การใหเ พอ่ื นท่ีเปนหวดั ดืม่ น้ําจากแกว ของเรา อาจทาํ ใหเราตดิ หวัด จึงคอยกลบั มาปรับความเขาใจกบั เพ่ือน จากเพ่ือนได ตอนท่ี 2 ชวนคิด ชวนทาํ ค. การชวยเหลอื เม่ือเพ่ือนบาดเจบ็ เปนการแสดงถึงความมนี ้ําใจตอกนั 2. แนวตอบ ง. การทําการบานแทนเพอื่ นจะยิ่งทําใหเ พื่อนไมเ ขาใจบทเรียนมากข้นึ 1) ควร เพราะเปน การแสดงความมนี าํ้ ใจ เราควรจะสอนเพ่อื นใหเขาใจ แตไ มควรทําการบา นแทนเพื่อน 2) ควร เพราะเปน คําที่สภุ าพ 3) ควร เพราะเปน การชวยเหลอื เพ่อื น ดังนั้น ขอ ค. เปน คาํ ตอบที่ถกู 4) ไมค วร เพราะเปน การแกลง เพ่ือน 5) ควร เพราะเราทาํ ผดิ กค็ วรขอโทษเพ่ือน คูมอื ครู 25

กกรระตะตนุ Eุนnคคgววaาgามeมสสนนใจใจ สํารวจคนหา อธบิ ายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล Explain Expand Evaluate Engage Explore เปา หมายการเรยี นรู óบทท่ี 1. บอกพฤตกิ รรมทเ่ี หมาะสมกบั เพศ เขา ใจตนเอง (พ 2.1 ป.2/3) สาระสําคญั ¡¨Ô ¡ÃÃÁ¹ÒÊÙ‹¡ÒÃàÃÕ¹ เพศชายและเพศหญงิ เกดิ มามคี วามแตกตา่ ง 2. อธิบายความภมู ใิ จในความเปนเพศหญงิ หรอื กนั ทางสรรี ะหรอื รา่ งกาย แตค่ วามเปน็ ชายหรอื เพศชาย (พ 2.1 ป.2/4) ความเป็นหญิงนั้นไม่ได้ขึ้นอยู่กับเพศโดย กา� เนดิ เราจงึ ควรภมู ใิ จในความเปน็ ตวั ตนของ สมรรถนะของผเู รียน ตนเอง และปฏบิ ัตติ นให้เหมาะสม 1. ความสามารถในการสอ่ื สาร 2. ความสามารถในการคดิ คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค ๑๒ 1. มีวินยั รับผดิ ชอบ 2. รักความเปน ไทย กระตนุ ความสนใจ Engage ใหน กั เรยี นดูภาพ หนา 26 แลวบอกวา เดก็ ใน ภาพมลี กั ษณะอยา งไร และรูไดอยา งไร ๔ ๓ ? µÇั µนขอ§น¡ั เรÂÕ นเป็นอÂÒ่ §ไร 2๖ เกรด็ แนะครู ครจู ัดกระบวนการเรียนรโู ดยการใหน ักเรียนปฏบิ ตั ิ ดงั น้ี • อภิปรายคุณคาตนเอง • แสดงบทบาทสมมตุ เิ กยี่ วกับการปฏิบตั ติ นที่เหมาะสม จนเกิดความรูความเขาใจวา คนทุกคนมีความสําคัญไมวาจะเกดิ มามเี พศใด ดังนน้ั ทุกคนจึงควรปฏบิ ตั ติ นใหเหมาะสม และใหเ กียรตผิ ูอ ืน่ 26 คูมอื ครู

กระตนุ ความสนใจ สสาํ าํ รรEวxวpจจloคคrนeน หหาา ออธธบิ ิบEาาxยยplคคaวiวnาามมรรู ู ขยายความเขา ใจ ตรวจสอบผล Engage Evaluate Explore Explain Expand Explore สาํ รวจคน หา ๑ ตัวตนของเรา 1. ใหน กั เรียนแบง กลุมเปน 2 กลุม โดยแตละ กลมุ รว มกนั คิดวา บทบาททางสังคมอยางไร คนเรามีความแตกต่างกันทั้งทางสรีระร่างกายและบทบาท บา ง แลว ออกมาเขียนบนกระดาน ทางสงั คม ซ่ึงความแตกต่างทางสรีระร่างกายเป็นสิ่งที่มองเห็นได้ สว่ นบทบาททางสังคมส่วนใหญ่มลี กั ษณะ ดังน้ี 2. ใหน กั เรยี นดขู อมูลบนกระดาน แลวรวมกัน อภปิ รายวาทุกคนมคี ุณคา เหมอื นกันหรือไม ตัวอยางบทบาททางสังคม และมีคณุ คา อยางไรบาง อธบิ ายความรู Explain  มีความเป็นผู้นา� เช่น เป็นหวั หน้าชั้น ผนู้ �าสวดมนต 1. ใหนักเรียนรว มกนั สรุปวา ทุกคนตา งกม็ ีคณุ คา  ปกปอ งคุ้มครองดูแลผ้ทู อี่ ่อนแอกว่า เช่น ดแู ลนอ้ ง ในตนเอง เพราะทกุ คนตา งมบี ทบาทหนาที่  มีความอดทนและเข้มแขง็ และความสําคญั ในสงั คม  มีวาจาสภุ าพกบั ผ้อู ่ืน  ปฏิบตั ิตนเป็นแบบอย่างทดี่ ตี อ่ ผ้อู ืน่ 2. ครูอธิบายเพมิ่ เติมโดยการนาํ ภาพชายและ  มีน้�าใจ เสียสละ หญิงทป่ี ระกอบอาชพี หลากหลายในปจ จบุ นั รมักีกนิรวิยลาสสภุงวานพต ัวเ1ร เยี ชบ่นร อ้ไมย่อยู่ในที่ลับตา 2ไม่ให้ผู้อื่นถูกเน้ือต้องตัว มาใหด ู แลว บอกวา ในปจ จุบันชายและหญงิ  ไม่ควร ตา งกม็ สี ิทธิเทา เทยี มกนั สามารถทํางานตา งๆ  ไดเ หมือนกัน ดงั นั้น ทกุ คนจึงมีคณุ คา และ ควรภาคภูมิใจในตนเอง แต่งกายเปดเผยเนือ้ ตวั มากเกินไป 3. ใหนกั เรียนรว มกันอภิปรายวา จะทาํ อยา งไรให ตนเองมคี ุณคา แลวสรปุ ผลเปนขพฤตกิ รรมที่ เหมาะสม ๒ ความภูมใิ จในตนเอง ความภาคภมู ิใจในตนเอง เปน็ ความรสู้ กึ ทดี่ ตี อ่ ตนเอง เชอื่ มนั่ และเห็นคุณค่าในตนเอง ซึ่งคุณค่าน้ันไม่ได้ขึ้นอยู่กับรูปร่างหน้าตา ฐานะ ฯลฯ แตจ่ ะขนึ้ อยกู่ บั การทา� ความด ี รจู้ กั ยกยอ่ งใหเ้ กยี รตติ นเอง และผู้อ่นื ไมด่ ถู ูกดูหม่นิ ตนเองและผอู้ ื่น ผ้ทู มี่ คี วามภูมิใจในตนเอง จะเช่ือมน่ั ในความสามารถของตนเองท่จี ะกระท�าส่ิงตา่ ง ๆ ได้ส�าเรจ็ ทงั้ ดา้ นการเรยี นและการอยรู่ ว่ มกนั ในสงั คม รวมถงึ อาชพี ของตนเอง ในอนาคต 2๗ ขอ สอบเนนการคดิ นักเรยี นควรรู ใครมพี ฤติกรรมที่เหมาะสม 1 รกั นวลสงวนตัว หมายถึง การดแู ลตนเองใหบ รสิ ุทธิ์ แสดงกริ ิยาสุภาพ ก. แตว ชอบเลนตอสกู ับเพื่อนผชู าย เหมาะสม แตง กายสุภาพ ไมล อ แหลมหรอื ยว่ั ยวนใหเกิดพฤตกิ รรมทางเพศ ข. ติก๊ ชอบชวยแมทํากบั ขาวตอนเย็น ท่ีไมเหมาะสม ไมมีเพศสัมพนั ธก อ นวัยอันสมควร ซง่ึ การรกั นวลสงวนตวั เปน ค. เติ้งชอบเอาลิปสตกิ ของแมม าทาเลน วฒั นธรรมไทยอยา งหนึ่งท่ีเดก็ หญงิ ทุกคนควรนาํ มาปฏิบัติ ง. ตม้ั แอบเอากระโปรงของพ่ีสาวมาสวม 2 ท่ีลบั ตา หมายถึง สถานทที่ ล่ี บั ตาผูอ ื่น สถานทีท่ ่ผี อู นื่ มองไมเ ห็น เชน หองท่ี วิเคราะหคาํ ตอบ เติง้ ควรขออนญุ าตแิ มกอนจะนาํ ลิปสตกิ มาเลน ตัม้ ไมม ใี ครอยู หอ งนอน เปน ตน ควรขออนุญาติพ่ีสาวกอนนาํ กระโปรงมาสวม สวนแตว เลน ตอ สูกันเปน พฤติกรรม ซึง่ อาจมีความรนุ แรง จงึ ไมเ หมาะ ดงั น้นั ขอ ข. เปน คําตอบทถ่ี กู คมู อื ครู 27

กระตุน ความสนใจ สํารวจคนหา อธิบายความรู ขขยยาายยEคคxpววaาาnมมdเเขขาาใจใจ ตรวจสอบผล Explore Explain Evaluate Engage Expand Expand ขยายความเขา ใจ 1. ครูยกตัวอยา งสถานการณ แลว ใหนักเรียน ๓ พฤตกิ รรมทเี่ หมาะสม แสดงบทบาทสมมุตวิ ิธปี ฏิบตั ิตนท่ีเหมาะสม ทห่ี นา ชัน้ จากนน้ั ใหนักเรยี นบันทึกลงในสมุด คนในสังคมปจั จุบนั มคี วามแตกตา่ งกนั ทงั้ ขนาดร่างกาย สีผิว สีผม เช้ือชาติ รวมทั้งความหลากหลายทางเพศ ความแตกต่าง 2. ใหนกั เรยี นบอกความภาคภมู ิใจในเพศของตน หรือความหลากหลายเช่นน้ี เป็นลักษณะเฉพาะของแตล่ ะบคุ คลที่ แลว บันทึกผลลงในกิจกรรมรวบยอดท่ี 2.4 แสดงออก เราควรเรยี นรพู้ ฤตกิ รรมทเ่ี หมาะสมตอ่ ตนเองและผอู้ นื่ ดงั นี้ จากแบบวดั ฯ สุขศึกษาฯ ป.2 ไม่ตัดสินหรือให้คณุ ค่าของคนจากลักษณะภายนอก ใบงาน ✓แบบวัดฯ แบบฝกฯ สขุ ศกึ ษา ป.2 กจิ กรรมรวบยอดท่ี 2.4 ยอมรบั และเคารพในสทิ ธขิ องตนเองและผ้อู ื่นทม่ี ตี า่ งกนั แบบประเมินตวั ช้ว� ดั พ 2.1 ป.2/4 ใหเ้ กียรตแิ ละยกย่องผู้อน่ื มคี วามเสยี สละ กิจกรรมรวบยอดที่ ๒.๔ มคี วามรับผดิ ชอบ มีความห่วงใยผู้อืน่ แบบประเมนิ ตวั ช้วี ัด พ ๒.๑ ป.๒/๔ มคี วามจริงใจ ซอื่ สัตย ไม่เอาเปรียบผู้อน่ื • อธิบายความภาคภูมใิ จในความเปน เพศหญงิ หรือเพศชาย มีความอดทน อดกล้ัน ไม่ก้าวรา้ ว รนุ แรง เปน็ ผูพ้ ดู และผู้ฟงั ทด่ี ี พดู จาด้วยถ้อยค�าที่สภุ าพ ชดุ ที่ ๑ ๑๐ คะแนน มีกริ ยิ ามารยาทเรยี บร้อยเหมาะสมตามวฒั นธรรม ไเหมน็ย่ คอณุมใคหา่ ข้ผอู้องนื่ ตสนัมเอผงสั รมา่ คี งวกาามยน1บั ถอื ตนเอง รกั นวลสงวนตวั เขียนความภาคภมู ิใจในตนเองมา ๒ ประการ พรอมท้ังยกตวั อยางเหตุการณป ระกอบ 2๘ เป็นผู้ท่ีรับฟังปญั หาของผอู้ ื่นและพรอ้ มช่วยเหลอื ๑(ต)วั อคยวาางม) ภาคภูมิใจในตนเอง คอื ................................................................................................................... .ฉ.....นั ....เ..ป....น.....ผ...ูท.....ีม่ ...ีก....ริ....ยิ....า..ม....า...ร...ย....า...ท....เ..ร...ีย....บ....ร....อ....ย...เ..ห....ม....า...ะ..ส.....ม...ก....ับ.....เ..พ....ศ....................................................................... จากเหตุการณ ดังนี้ ....๑...).....เ..ม....่อื....ฉ....ัน....จ....ะ...อ...อ....ก....จ....า...ก....บ....า...น.....เ..พ....่ือ...ม....า...โ...ร...ง....เ.ร....ีย...น..................................... ...........ฉ....นั.....จ....ะ..ย....ก....ม....ือ...ไ...ห....ว...แ...ล....ะ...ก....ล....า...ว...ส.....ว...ัส....ด....ีพ....อ....แ...ม....ท ....กุ ....ค....ร....้ัง.............................................................................. เฉฉบลบั ย .๒....)......เ..ม....อ่ื ...ฉ....ัน.....ม....า...ถ...ึง....โ..ร....ง...เ..ร....ีย...น........ฉ....นั.....จ....ะ..ย....ก....ม....อื ...ไ...ห....ว...แ...ล....ะ...ก....ล....า...ว...ส....ว...ัส.....ด....คี....ณุ......ค....ร...ูท.....กุ ....ค....น..................... .๓....)......เ..ม....อ่ื ...ฉ....นั.....ก....ล....บั.....ถ....ึง...บ....า...น........ฉ....นั.....จ...ะ...ย....ก....ม...อื....ไ...ห....ว...แ...ล....ะ...ก....ล....า...ว...ส....ว...ัส.....ด....ีพ....อ....แ...ม....ท....ุก....ค....ร....งั้ ......................... ...........เ..ม....ือ่ ...ฉ....ัน.....ป....ฏ....บิ.....ัต....แิ ...บ....บ.....น....้ี...ท....าํ...ใ...ห....ท....กุ....ค.....น....ช...ม....ว...า...ฉ....ัน.....เ..ป....น ....เ..ด....็ก....ด....ี.......................................................... ๒) ความภาคภูมิใจในตนเอง คือ................................................................................................................... ฉันแตง กายเรยี บรอยจนทกุ คนช่ืนชม........................................................................................................................................................................................................ จากเหตุการณ ดงั น้ี ....๑...).....เ..ม....อ่ื....ฉ....ัน....ไ...ป....ว...ัด.......ฉ....ัน.....ก....ส็....ว...ม....เ..ส....ือ้....ผ...า...ท.....่เี .ร....ยี...บ.....ร...อ....ย.............................. โดยสวมเส้ือแขนยาวและใสกระโปรงยาว........................................................................................................................................................................................................ .๒....)......เ..ม....อ่ื ...ฉ....นั.....ไ...ป....โ..ร....ง...เ..ร....ยี ...น........ฉ....นั.....ก....็แ...ต....ง....ก....า...ย...ด....ว...ย....ช...ดุ....น.....กั....เ..ร...ีย....น.....ท....ี่ถ....ูก....ร...ะ...เ..บ....ยี....บ................................... .๓....)......เ..ม....ื่อ...ฉ....นั.....ไ...ป....เ..ท....ีย่...ว......ฉ.....ัน....ก....ใ็...ส....ช....ดุ ....ท....ี่ท....ะ...ม...ัด....ท.....ะ..แ....ม...ง.......เ.ช....น .......เ..ส....้อื....ย....ดื .......ก....า...ง...เ..ก....ง...ข...า...ย....า...ว................. ...........เ..ม....่ือ...ฉ....ัน.....ป....ฏ....ิบ.....ตั ....ิแ...บ....บ.....น....ี้...ท....กุ.....ค....น....ก.....ช็ ...ม...เ..ช....ย...ว...า...ฉ....ัน.....แ...ต....ง....ก....า...ย...ด....ีแ...ล.....ะ..เ..ห....ม....า...ะ..ส.....ม............................ ตัวชี้วัด พ ๒.๑ ขอ ๔ ñðไดค ะแนน คะแนนเตม็ ๒๔ บรู ณาการอาเซียน ขอสอบเนนการคดิ ใครมีพฤตกิ รรมทเี่ หมาะสมกบั คําวา สภุ าพบรุ ุษ ใหนักเรียนคิดวา มีความภาคภมู ใิ จในตนเองอยางไรบา ง แลว ออกมาเลาท่ี ก. อนเดนิ จับมือกับตาลขณะเดินขามถนน หนาช้ัน จากนน้ั ครแู ละเพือ่ นๆ กลาวชมเชยในสงิ่ ทนี่ ักเรยี นภาคภมู ิใจ เพือ่ ให ข. เตย ชวนหญิงไปบานเม่ือพอแมไมอยบู าน นักเรียนเหน็ คุณคา รกั ตวั เอง และอยากทาํ ดตี อ ไปอกี เพ่อื เปน การเตรียมพรอ ม ค. พลชว ยแนนถอื กองหนงั สอื ไปคืนหองสมดุ สูการเปนพลเมืองอาเซียน ง. กองสอนการบานแปงในหอ งเรยี นสองตอ สอง วเิ คราะหคาํ ตอบ สุภาพบุรุษ คือ ผูช ายท่ปี ฏิบตั ิตนไดเ หมาะสมตามเพศ นกั เรียนควรรู เชน ใหเ กียรติผูห ญงิ ชวยเหลอื ผทู อ่ี อนแอกวา มีความสุภาพ ออนนอ ม ไมถกู เนอ้ื ตองตัวผหู ญิง เปน ตน ซ่งึ พลชว ยแนนถือกองหนงั สือ เปน การ 1 ไมย อมใหผอู ่นื สมั ผัสรา งกาย ถามคี นมาถกู เนื้อตองตัวเรา โดยทเี่ รา แสดงความมนี ํ้าใจตอแนน ซึ่งปฏิบตั ิไดอยา งเหมาะสม ดงั น้ัน ขอ ค. ไมย นิ ยอม ถอื วาเปนการลว งละเมิดทางเพศ เราตองรองตะโกนดงั ๆ เพอื่ ขอ เปน คําตอบทีถ่ ูก ความชวยเหลอื จากผใู หญ 28 คูมือครู

กระตุน ความสนใจ สาํ รวจคนหา อธบิ ายความรู ขยายความเขาใจ ตตรรวEวvจจaสสluออaบtบeผผลล Engage Explore Explain Expand Evaluate ตรวจสอบผล Evaluate ¡¨Ô ¡ÃÃÁ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ 1. ครูตรวจสอบความถูกตองของการเขียน พฤติกรรมทีเ่ หมาะสม ตอนท่ี ๑ คาํ ถามชวนคิด เขียนตอบคําถามตอ ไปน้ีลงในสมดุ 2. ครตู รวจสอบการเขยี นบอกความภาคภูมิใจ ๑) เ มือ่ พบผ้ใู หญ่ นักเรียนควรปฏิบัตติ นอย่างไร ในตนเอง จากกจิ กรรมรวบยอดที่ 2.4 จาก ๒) เ มอ่ื เหน็ ผทู้ แ่ี ตง่ กายเปด เผยเนอื้ ตวั นกั เรยี นคดิ อยา่ งไร แบบวดั ฯ สขุ ศกึ ษาฯ ป.2 ๓) นักเรียนควรทา� กจิ กรรมเฉพาะตามเพศของตนเองเท่านัน้ หรือไม ่ เพราะ เหตใุ ด หลักฐานแสดงผลการเรยี นรู ๔) ถา้ นกั เรยี นจะไปท�ากจิ กรรมทางศาสนา นกั เรียนควรแต่งกายอย่างไร 1. ผลการเขยี นพฤติกรรมท่ีเหมาะสม 2. ผลงานการเขยี นความภาคภูมใิ จในตนเองจาก กิจกรรมรวบยอดที่ 2.4 จากแบบวดั ฯ สุขศึกษาฯ ป.2 ตอนที่ ๒ ชวนคิด ชวนทาํ ๑. ตดิ ภาพตนเองลงในสมดุ แลว อธบิ ายวา ตนเองมลี กั ษณะและบทบาททางสงั คม อยางไร ๒. เขียนบอกความภาคภมู ใิ จในตนเองมา ๕ ขอ ๓. นกั เรยี นยกตวั อยา ง “พฤตกิ รรมทเี่ หมาะสม” และ “พฤตกิ รรมทไี่ มเ หมาะสม” อธบิ ายเหตุผลประกอบ แลวรว มกนั แสดงความคดิ เห็นกบั เพื่อน พฤติกรรมท่เี หมาะสม เหตผุ ล พฤตกิ รรมที่ไมเหมาะสม เหตผุ ล ตอนท่ี ๓ ผลงานสรา งสรรค เขียนแผนผังความคิดแสดงพฤติกรรมท่ีเหมาะสม และความภาคภูมิใจของตน แลว ตกแตงใหสวยงาม 2๙ ขอ สอบเนนการคิด เฉลย กิจกรรมการเรยี นรู ตอนที่ 1 คําถามชวนคดิ ใครมีพฤติกรรมทีแ่ สดงถงึ ความภาคภูมิใจในตนเอง ก. หนิงกอดกบั ตนเพื่อแสดงความยินดที ีช่ นะการแขง ขันกฬี า แนวตอบ ข. ปานเรยี กเพอ่ื นวา แกเพ่ือแสดงความสนทิ สนม 1) ทาํ ความเคารพผูใ หญโ ดยการไหว ค. อนชวยมดยกสมุดการบานทหี่ นกั ไปสง ครู 2) คําตอบข้ึนอยกู ับนกั เรียนแตล ะคน ง. ตม้ั แสดงทา ทางเลยี นแบบเพ่ือน 3) ไมจ าํ เปน เพราะถา เราตงั้ ใจ เรากจ็ ะทาํ กจิ กรรมนนั้ ไดด ี แนวตอบ การมคี วามภาคภมู ใิ จในตนเอง ควรแสดงออกดว ยการปฏิบัติ 4) แตง กายดว ยชดุ ทสี่ ภุ าพ ใสเ สอื้ มแี ขนและกระโปรงยาวคลมุ เขา ตนทเี่ หมาะสม มีน้าํ ใจเอ้อื เฟอ เผอ่ื แผต อผูอืน่ ซ่ึงอน ชว ยมดยกสมดุ ทห่ี นกั ตอนที่ 2 ชวนคดิ ชวนทาํ 3. แนวตอบ ไปสงครู จงึ เปน พฤตกิ รรมท่ีเหมาะสม ดังนนั้ ขอ ค. เปนคําตอบทถ่ี ูก พฤตกิ รรมท่เี หมาะสม เหตุผล พฤติกรรมท่ไี มเหมาะสม เหตผุ ล แพรเลนตกุ ตากับนอ ง ตกุ ตาเปน นนทแอบนาํ กระโปรง ตองขออนุญาติ ของเลน ทเ่ี ลน ของพม่ี าใส จากพกี่ อ น รว มกันได คมู ือครู 29

กกรระตะตนุ Eุนnคคgววaาgามeมสสนนใจใจ สาํ รวจคนหา อธบิ ายความรู ขยายความเขา ใจ ตรวจสอบผล Explore Explain Expand Engage Engage Evaluate ó กระตนุ ความสนใจ หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 1. ใหนักเรยี นสงั เกตเพอื่ นๆ ในหอ งวา รกั สุขภาพ ใครมสี ุขภาพดีบาง จากนั้นครูแจกกระดาษให นักเรียนคนละ 1 แผน แลว ใหน กั เรียนเขียนชอ่ื เป้าหมายการเรยี นรู้ประจ�าหน่วยท่ ี ๓ เพ่อื นในหอ งท่ีนักเรยี นคิดวา มสี ุขภาพดีท่สี ดุ มา 1 คน ลงในกระดาษ เม่อื เรยี นจบหน่วยน� ้ ผเู้ รียนจะมีความรู้ ความสามารถต่อไปน้� 2. ครูนับผลคะแนนของนกั เรยี น แลว ประกาศ ๑. บอกลักษณะของการมสี ขุ ภาพด ี รายชื่อนักเรียนที่เพอื่ นคดิ วา มีสุขภาพดีที่สดุ (มฐ. พ ๔.๑ ป.๒/๑) จากนนั้ ใหน ักเรียนบอกเหตผุ ลวา เพราะเหตุใด ๒. เลอื กกนิ อาหารท่มี ปี ระโยชน์ จึงคิดวา เพื่อนคนนี้มีสุขภาพดีท่ีสดุ แลว ครเู ขยี น (มฐ. พ ๔.๑ ป.๒/๒) เหตผุ ลของนกั เรยี นลงบนกระดาน ๓. ระบขุ องใชแ้ ละของเลน่ ทมี่ ีผลเสียตอ่ สขุ ภาพ (มฐ. พ ๔.๑ ป.๒/๓) ๔. อธิบายอาการและวธิ ีป้องกนั การเจบ็ ปว่ ย การบาดเจ็บทีอ่ าจเกดิ ขน้ึ (มฐ. พ ๔.๑ ป.๒/๔) ๕. ปฏบิ ัติตามค�าแนะนา� เม่อื มีอาการเจบ็ ปว่ ยและ บาดเจ็บ (มฐ. พ ๔.๑ ป.๒/๕) เกร็ดแนะครู ครตู รวจสอบสขุ อนามยั ของนักเรียนกอ นเขา เรียน เชน ตรวจมอื ตรวจเลบ็ ตรวจความสะอาดเครื่องแตงกาย เปนตน จากนั้นครูสอบถามนกั เรียนวา กาํ ลังปวย หรือไม เปน โรคอะไร เพื่อครอู าจนาํ มาเปน หัวขอ สนทนาในการเรยี นการสอน 30 คมู ือครู

กกรระตะตนุ Eนุ nคคgววaาgามeมสสนนใจใจ สํารวจคน หา อธบิ ายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล Explore Explain Engage Expand Evaluate ñบทที่ เปา หมายการเรียนรู สาระสา� คัญ • บอกลกั ษณะของการมสี ขุ ภาพดี (พ 2.1 ป.2/1) การมสี ขุ ภาพรา่ งกายทแ่ี ขง็ แรง มสี ขุ ภาพจติ ที่ สุขภาพของเรา รา่ เรงิ แจม่ ใส มคี วามสขุ และมคี วามปลอดภยั สมรรถนะของผเู รยี น ในชีวติ ท�าให้เราเป็นคนที่มีสขุ ภาพดี ¡¨Ô ¡ÃÃÁ¹ÒÊÙ‹¡ÒÃàÃÕ¹ 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคดิ คุณลักษณะอันพึงประสงค 1. ใฝเ รียนรู กระตนุ ความสนใจ Engage 1. ใหนกั เรยี นดูภาพ หนา 31 แลว รว มกันแสดง ความคดิ เหน็ วา เด็กในภาพมสี ุขภาพดีหรอื ไม เพราะอะไร 2. ใหนักเรยี นสังเกตตนเองวา มสี ุขภาพดหี รือไม เพราะอะไร แลว ออกมาพูดทหี่ นา ชน้ั เชน “ฉันมสี ขุ ภาพดี เพราะฉันมอี ารมณด ”ี “ฉันมีสุขภาพดี เพราะฉันวิง่ ไดไ กล” ? นั¡เรÕÂนค´Ô ÇÒ่ เ´¡ç ãนÀÒ¾มÊÕ ØขÀÒ¾ ท´èÕ ËÕ รอ× ไม่ เ¾รÒÐเ˵Øã´¨Ö§ค´Ô เª่นนัéน 31 เกร็ดแนะครู ครูจดั กระบวนการเรยี นรโู ดยการใหนักเรียนปฏิบตั ิ ดงั นี้ • อภปิ รายลกั ษณะของการมสี ขุ ภาพดี • วางแผนในการปฏบิ ตั ิตนใหม ีสุขภาพดี เพอื่ นําไปปฏบิ ัติในชวี ติ ประจําวนั จนเกดิ เปนความรูความเขา ใจวา ผทู ม่ี ีสขุ ภาพดี จะตองเปนผูทม่ี รี า งกาย แข็งแรง มอี ารมณแจม ใส สามารถอยูรว มกับผอู ื่นไดอ ยางมีความสุข และมีความปลอดภยั ในชวี ิต คมู อื ครู 31

กระตุนความสนใจ สสาํ าํ รรEวxวpจจloคคrนeน หหาา ออธธบิ ิบEาาxยยplคคaวiวnาามมรรู ู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล Expand Evaluate Engage Explore Explain สาํ รวจคน หา Explore ใหน กั เรยี นแบงกลุม แลว ใหแตละกลุม รวมกัน ๑ ลักษณะของผูท้ ม่ี ีสขุ ภาพด ี อภิปรายวา ผูท ีม่ ีสขุ ภาพดีมีลกั ษณะอยางไร แลวทํา อยา งไรจึงจะมสี ขุ ภาพดี จากนนั้ ใหสง ตัวแทนออก สขุ ภาพ หมายถงึ การมรี า่ งกายสมบรู ณแ์ ขง็ แรง จติ ใจแจม่ ใส มารายงานหนา ชนั้ มีความสขุ ในการอยรู่ ว่ มกบั ผู้อน่ื ในสังคม และมสี ติปญั ญา คนเราทุกคนต้องการมีสุขภาพที่ดี เพราะสุขภาพดีเป็นส่ิง อธบิ ายความรู Explain สสขุ�าคภัญาพทก่ีทา�ายใดห ี ้เสรุขาภมาีคพวจาติมดส1ี ุขแ ลผะมู้ทคี่ีมวีสาุขมภปาลพอดดีภจะยั ตใน้อชงวีเกติ ิดจากการมี ลกั ษณะของผู้ที่มสี ขุ ภาพดี มีดังน้ี 1. ครูเขียนคําวา “สุขภาพกายด”ี และ “สุขภาพ จติ ดี” แลว ใหน ักเรียนออกมาเขยี นลักษณะ  มรี า่ งกายแข็งแรง  อยรู่ ว่ มกบั ผู้อ่ืนไดด้ ี ใหตรงกบั คาํ ทค่ี รูเขยี น จากน้นั นกั เรยี นและ ครรู วมกนั สรปุ ลักษณะของผทู ม่ี ีสุขภาพดี  มีความปลอดภัย  ยิม้ แย้ม แจ่มใส ในการด�าเนนิ ชีวิต 2. ใหน กั เรียนรวมกันอภปิ รายประโยชนของการมี สุขภาพดี จากนั้นรวมกนั คดิ วาจะทาํ อยา งไร  แยกแยะผดิ ถกู ได้  มองโลกในแงด่ ี2 ใหมสี ุขภาพดี สุขภาพกายและสุขภาพจิตเป็นสิ่งที่สัมพันธ์กัน ถ้าร่างกาย 3. ครอู ธบิ ายเพม่ิ เติมวา การมีสขุ ภาพดีควร ไม่แข็งแรงก็จะท�าให้สุขภาพจิตไม่ดีไปด้วย และถ้าสุขภาพจิตไม่ด ี ปฏบิ ตั ติ ามหลักสุขบัญญัติแหงชาติ จากนั้น กจ็ ะสง่ ผลใหร้ า่ งกายไมแ่ ขง็ แรงเชน่ กนั ดงั นนั้ เราจงึ ควรดแู ลสขุ ภาพ ใหนักเรยี นแบงกลมุ 10 กลมุ แลวใหแ ตละ ร่างกายให้แขง็ แรง และท�าจติ ใจให้ร่าเริงอยเู่ สมอ กลมุ เลอื กสขุ บญั ญัติกลุมละ 1 ขอ (ไมซ้าํ กัน) จากน้นั รว มกนั คิดวาจะปฏิบัติตามหลัก ¼ทÙŒ Õมè ÊÕ ขØ ÀÒ¾¨µÔ ´Õนนéั ¨ÐอÂÙร่ ่Çม สุขบญั ญัติน้นั ไดอยางไร แลว ออกมารายงาน ¡บั ¼ÙŒอน×è ไ´อŒ ÂÒ่ §มÕคÇÒมÊขØ เ¾รÒÐไม่ค´Ô รÒŒ µ่อ¼อÙŒ น×è หนา ชน้ั มÕคÇÒมเมµµÒ áÅÐมคÕ ÇÒมเออé× เ¿อ„œ เ¼อè× á¼¡่ นั 4. นักเรยี นและครูรวมกนั สรุปวธิ ีปฏิบตั ิตนตาม หลกั สขุ บัญญัติแหง ชาติ 32 นักเรียนควรรู ขอ สอบเนนการคิด “จติ ใจแจมใส ยอ มอยูในรา งกายท่แี ขง็ แรง” นักเรยี นเหน็ ดวยหรอื ไม 1 สขุ ภาพจิตดี หมายถึง การมีสภาพจติ ใจที่เปน สุข สามารถดําเนินชีวิตได เพราะอะไร อยา งมีความสขุ ซึ่งผทู ่มี ีสขุ ภาพจิตดีจะมีลักษณะ เชน รจู ักรักตนเองและรกั ผูอ ่นื ก. เหน็ ดวย เพราะผูทมี่ ีรา งกายแข็งแรงทําใหไ มตอ งกังวลกบั อาการ ยอมรบั และสามารถเผชญิ กบั ความจริงในชวี ิตได เขา กับคนอนื่ ไดง าย มีความ เจ็บปวย จึงมอี ารมณด ี รับผดิ ชอบ มจี ิตใจราเรงิ แจม ใส เปนตน ข. เหน็ ดว ย เพราะผูท ีม่ ีรา งกายแขง็ แรงทําใหไ มต อ งกลัววา จะตอ งไป 2 มองโลกในแงดี เปนการคิดสรางสรรคหรือคิดในเชิงบวก กลา วคือ คดิ วาส่ิงท่ี หาหมอ เกิดขนึ้ ไมไ ดม แี ตสงิ่ ท่ีไมด หี รอื เลวรายเสมอไป เชน เม่อื ถูกแมด ใุ นเร่ืองทเี่ ราทาํ ผดิ ค. ไมเ ห็นดว ย เพราะรา งกายและจติ ใจไมไดทํางานสัมพนั ธก ัน กใ็ หย อมรบั ผดิ แลวคดิ วา ทแี่ มดเุ รา แสดงวาแมรกั และหวงใยเรา ง. ไมเหน็ ดว ย เพราะผูท มี่ อี าการเจ็บปวยเล็กนอ ยก็มอี ารมณดไี ด จงึ ดุเรา เพอ่ื ใหเราไดปรับปรุงตวั ไปในทางที่ดี เปนตน วิเคราะหค ําตอบ ผทู ่มี รี า งกายแข็งแรง ไมเ จบ็ ปว ย จะทาํ ใหไมเ กดิ อาการวติ กกังวล หรอื เครยี ด จึงมอี ารมณท่แี จม ใส ดงั นนั้ ขอ ก. เปนคาํ ตอบท่ีถูก 32 คมู ือครู

กระตุน ความสนใจ สํารวจคน หา อธบิ ายความรู ขขยยาายยEคคxวpวaาาnมมdเขเขาใา จใจ ตรวจสอบผล Engage Explore Explain Evaluate Expand Expand ขยายความเขา ใจ ๒ การปฏบิ ัติตนให้มสี ุขภาพด ี 1. ใหน ักเรียนแบง กลุม จากน้นั ใหแ ตละกลมุ จัด ทําสมุดภาพ “ลกั ษณะของผูทีม่ ีสุขภาพด”ี การที่เราจะมีสุขภาพดี เราควรเริ่มตั้งแต่การดูแลตนเอง พรอ มท้ังตกแตง ใหส วยงาม จากนนั้ นาํ ผลงาน โดยการปฏบิ ัตติ ามหลกั สุขบญั ญตั แิ หง่ ชาติ ๑๐ ประการ ดังนี้ ออกมาแสดงทห่ี นา ช้นั ๑ ดแู ลรกั ษารา่ งกายและของใชใ้ หส้ ะอาด 2. ใหน กั เรยี นวางแผนทจี่ ะปฏบิ ตั ติ นใหม สี ขุ ภาพดี ในชวี ติ ประจาํ วัน แลว เขียนบนั ทึกลงในสมุด ๒ รักษาฟันใหแ้ ขง็ แรงและแปรงฟันทกุ วันอย่างถกู วิธี ๓ ลา้ งมอื ใหส้ ะอาดกอ่ นการกนิ อาหาร และหลงั การขบั ถา่ ย 3. ใหน ักเรยี นทาํ กิจกรรมรวบยอดท่ี 3.1 จาก แบบวดั ฯ สุขศึกษาฯ ป.2 โดยอา นเหตกุ ารณ ๔ กนิ อาหารทส่ี กุ สะอาด ไม่มีสารอันตรายเจอื ปน แลว บอกวา เดก็ มสี ขุ ภาพดหี รอื ไม เพราะเหตใุ ด และหลกี เลย่ี งอาหารทม่ี รี สจดั และอาหารทม่ี สี ฉี ดู ฉาด ใบงาน ✓แบบวดั ฯ แบบฝก ฯ สขุ ศกึ ษา ป.2 กจิ กรรมรวบยอดที่ 3.1 ๕ ไม่สูบบหุ รี ่ ไมด่ ืม่ สุรา ไม่เสพสารเสพตดิ แบบประเมินตัวชว�้ ดั พ 4.1 ป.2/1 ไมเ่ ล่นการพนนั และไมม่ วั่ สมุ ทางเพศ แบบประเมินผลการเรียนรูตามตัวช้ีวัด ประจําหนว ยท่ี ๓ บทท่ี ๑ ๖ สรา้ งความรกั 1 ความอบอนุ่ ในครอบครวั กิจกรรมรวบยอดท่ี ๓.๑ ๗ ปอ้ งกนั อบุ ตั เิ หตดุ ว้ ยความไมป่ ระมาท แบบประเมินตวั ช้ีวัด พ ๔.๑ ป.๒/๑ ๘ ออกก�าลงั กายสมา่� เสมอ และตรวจสุขภาพประจ�าป2 • บอกลกั ษณะของการมสี ุขภาพดี ๙ ทา� จติ ใจใหร้ า่ เรงิ แจม่ ใสอยเู่ สมอ ชดุ ที่ ๑ ๑๐ คะแนน ๑๐ มีส�านกึ ต่อสว่ นรวม และรว่ มทา� สิ่งทีเ่ ป็นประโยชน์ต่อ ๑ อานเหตุการณท่ีกําหนดให แลวบอกวาเด็กในเหตุการณมีสุขภาพดีหรือไม พรอมทั้งบอก สงั คม เหตุผล 33 ๑) วนั นี้คณุ ครสู ง่ั ใหนกั เรยี นวิ่งรอบสนาม ๓ รอบ หลังวง่ิ เสร็จแลว กองไมรูสกึ เหน่ือยมาก ขณะท่ีเพ่อื นๆ หอบตวั โยน กอ งมี สขุ ภาพดี สขุ ภาพไมด ี❍ ❍เฉฉบลับย ✓ เพราะ กอ งไมร สู กึ เหนอ่ื ยมากแมห ลงั ออกกําลงั กายเสร็จแลว......................................................................................................................................................................... ๒) ปอมชวยครูยกลังใสอุปกรณทางการเรียนซ่ึงหนักมากไปสงที่ หอ งพกั ครูซงึ่ อยูช ้ันสามไดจ นเสรจ็ เรยี บรอย ปอ มมี ❍✓ สุขภาพดี ❍ สุขภาพไมด ี เพราะ กอ งแข็งแรงสามารถยกของท่ีหนักได......................................................................................................................................................................... ๓) นิดนอนไมค อยหลบั เพราะเธอกงั วลกบั การสอบปลายภาค นิดมี ❍ สุขภาพดี ❍✓ สุขภาพไมด ี เพราะ นดิ เกดิ ความเครยี ดเนือ่ งจากกงั วลกบั ผลสอบ......................................................................................................................................................................... ๔) จ๊บิ รสู กึ เศรา เพราะพอ แมทะเลาะกนั เสมอ และไมส นใจเธอเลย จ๊บิ มี ❍ สขุ ภาพดี ❍✓ สขุ ภาพไมดี เพราะ จิ๊บรสู ึกเศรา ไมมีความสุข......................................................................................................................................................................... ๒๘ บรู ณาการเชือ่ มสาระ เกร็ดแนะครู ครูบรู ณาการความรใู นสาระสขุ ศึกษาฯ กับสาระศลิ ปะ วิชาดนตรีฯ เร่ือง ครอู ธิบายเพิม่ เตมิ วา กองสขุ ศึกษา กระทรวงสาธารณสุข ไดจ ัดทําสขุ บญั ญตั ิ เพลงสุขบญั ญัติแหง ชาติ โดยครูเปดเพลงสขุ บัญญัติแหง ชาติใหน กั เรยี นฟง แหง ชาติ 10 ประการ เพ่อื เปน แนวทางการปฏบิ ัติท่เี ปน พน้ื ฐานสาํ หรับชีวิตเพอ่ื การ แลว ใหน กั เรียนรอ งตามเพอ่ื ใหนักเรยี นสามารถจดจาํ สขุ บัญญัติแหง ชาตไิ ด สรางเสรมิ สุขภาพดีทัง้ ทางรา งกาย จติ ใจ และสงั คม ดงั นั้น เดก็ เยาวชน และ บุคคลทว่ั ไปควรปฏิบัติอยา งสม่ําเสมอจนเปน สุขนิสยั กจิ กรรมทา ทาย ใหนกั เรยี นสาํ รวจตนเองและสมาชิกในครอบครวั วายังไมไดปฏิบัติ นักเรยี นควรรู ตามสขุ บญั ญัตแิ หง ชาติขอ ใดบา ง จากนัน้ ปฏบิ ัติตามสุขบญั ญตั แิ หง ชาติ แลวบนั ทึกผลหลังการปฏิบตั วิ า ตนเองและสมาชกิ ในครอบครวั มสี ุขภาพ 1 สรางความรกั การสรางความรกั ความอบอุน ในครอบครัวสามารถทําได เปลี่ยนแปลงไปอยา งไรบา ง หลายวธิ ี เชน หาเวลาวางในการทาํ กจิ กรรมรว มกัน แสดงความรักทีม่ ีตอกัน ดวยการกอดกนั ใหเ กียรติสมาชกิ ในบาน เปน ตน 2 ตรวจสขุ ภาพประจาํ ป การตรวจสขุ ภาพอยา งสม่าํ เสมอ จะทําใหเราทราบถงึ ความผดิ ปกตขิ องรา งกาย และสามารถพบแพทยเ พอื่ รกั ษาอาการผดิ ปกติท่เี กิดขึน้ ของรา งกายไดท นั ทว งที คมู อื ครู 33

กระตนุ ความสนใจ สาํ รวจคน หา อธิบายความรู ขยายความเขาใจ ตตรรวEวvจจaสสluออaบtบeผผลล Explore Explain Expand Engage Evaluate Evaluate ตรวจสอบผล 1. ครูตรวจสมุดภาพแสดงผูที่มีสุขภาพดี ¡¨Ô ¡ÃÃÁ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ 2. ครูตรวจสอบผลการทํากจิ กรรมรวบยอดที่ 3.1 จากแบบวัดฯ สุขศกึ ษาฯ ป. 2 หลกั ฐานแสดงผลการเรียนรู ตอนท ่ี ๑ ค�าถามชวนคดิ เขียนตอบค�าถามตอ่ ไปนี้ลงในสมดุ 1. สมุดภาพลักษณะของผทู ม่ี สี ขุ ภาพดี ๑) น กั เรียนรสู้ กึ ว่าตนเองมีสุขภาพดีหรือไม่ เพราะเหตใุ ด 2. กิจกรรมรวบยอดที่ 3.1 จากแบบวดั ฯ ๒) ส ขุ บญั ญตั แิ หง่ ชาติข้อใดทน่ี กั เรยี นปฏบิ ัตเิ ป็นประจา� ทกุ วนั และนกั เรยี น สุขศกึ ษาฯ ป. 2 ปฏบิ ตั ไิ ด้ดีแลว้ หรอื ไม ่ อย่างไร ๓) ส า� รวจตนเองดูวา่ ปฏิบัติตามหลักสขุ บญั ญัติแหง่ ชาติได้มากนอ้ ย เพยี งใด และทา� อย่างไรจงึ จะปฏบิ ัติได้มากขนึ้ ตอนท่ี ๒ ชวนคิด ชวนท�า ๑. ดูภาพ แล้วบอกวา่ ภาพใดเป็นภาพของคนทม่ี กี ารดแู ลสขุ ภาพดี ๑) ๒) ๓) ๔) ๒. บอกข้อควรปฏิบตั ิเพอื่ การมีสุขภาพดีมา ๕ ขอ้ ๓. บ ันทกึ การดแู ลรกั ษาสุขภาพของตนเองเปน็ ระยะเวลา ๑ วัน ต้ังแต่ตน่ื นอน ตอนเช้าจนกระทง่ั เขา้ นอนตอนกลางคืน ลงในสมดุ แลว้ ให้ผู้ปกครองลงชอ่ื รับทราบ ตอนที่ ๓ ผลงานสร้างสรรค์ นกั เรยี นแบง่ กล่มุ กลมุ่ ละ ๔ - ๕ คน แล้วแต่ละกลุม่ ท�าสมดุ ภาพ “ลักษณะของ ผู้ที่มสี ขุ ภาพดี” พรอ้ มตกแตง่ ให้สวยงาม น�าผลงานออกมาแสดงท่ีหน้าชั้น 34 เฉลย กิจกรรมพัฒนาการเรยี นรู ขอสอบเนน การคดิ ขอ ใดคือผลดีของการเปนผูมีสุขภาพดที ่ีชดั เจนที่สดุ ตอนที่ 1 คาํ ถามชวนคิด ก. มคี วามสุข แนวตอบ ข. มคี วามนาเช่ือถือ 1) - 3) คาํ ตอบขึน้ อยูกบั นักเรยี นแตล ะคน ค. มชี ่ือเสียงโดง ดัง ง. มเี พอื่ นรักมากขึ้น ตอนท่ี 2 ชวนคดิ ชวนทาํ วิเคราะหค าํ ตอบ การมสี ุขภาพดี ทง้ั สขุ ภาพกายและสุขภาพจิต ไดแก 1. ตอบ การมรี า งกายแขง็ แรง และการมจี ิตใจที่ราเรงิ สดใส ก็จะทําใหเราทํา 2), 3), 4) กจิ กรรมตางๆ ไดอยา งเตม็ ท่ี และดําเนนิ ชวี ติ ไดอ ยางมคี วามสขุ 2. แนวตอบ ดงั นัน้ ขอ ก. เปนคําตอบที่ถูก 1) แปรงฟนกอนนอนทกุ คร้งั 2) รับประทานอาหารครบ 5 หมู 3) ออกกําลังกายเปน ประจํา 4) ทําจิตใจใหร าเริงอยเู สมอ 5) อาบนํา้ อยา งนอยวันละ 2 ครัง้ ฯลฯ 34 คมู ือครู

กกรระตะตนุ Eนุ nคคgววaาgามeมสสนนใจใจ สํารวจคน หา อธบิ ายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล Explore Explain Engage Expand Evaluate òบทท่ี เปาหมายการเรยี นรู สาระสา� คญั • เลอื กกนิ อาหารท่ีมีประโยชน (พ 4.1 ป.2/2) อาหารเป็นสง่ิ ท่ีจ�าเปน็ ต่อร่างกายมนุษย์ อาหารดีมีประโยชน ดังนนั้ เราจึงควรเลอื กกินแตอ่ าหารทม่ี ี สมรรถนะของผเู รยี น ประโยชน์ ¡¨Ô ¡ÃÃÁ¹ÒÊÙ¡‹ ÒÃàÃÕ¹ 1. ความสามารถในการคดิ 2. ความสามารถในการแกป ญหา คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค 1. ใฝเรียนรู 2. อยอู ยา งพอเพียง กระตนุ ความสนใจ Engage ? 1. ครูนําภาพอาหารหลากหลายชนิดมาแสดงให นักเรียนดู แลว ถามนักเรียนวา ชอบหรอื อยาก ¨Ò¡ÀÒ¾ อÒËÒรเËÅÒ่ นมÕé ÕปรÐโªน กนิ อาหารในภาพที่ครูแสดงใหด หู รือไม µ‹Í¹¡Ñ àÃÂÕ ¹ËÃÍ× äÁ‹ Í‹ҧäà ถา อยากกินใหทาํ ทาควาอาหารมาใสป าก แตถาไมอ ยากกนิ ใหเอามอื ท้งั สองขางมา 35 ปด ปาก 2. ใหน กั เรียนผลดั กนั บอกวา ตนเองชอบกิน อาหารชนิดใดมากทีส่ ดุ เพราะอะไร และไมชอบกนิ อาหารชนดิ ใดมากทส่ี ดุ เพราะอะไร 3. ครสู นทนากับนกั เรยี นวา การเลอื กกินอาหาร นน้ั ไมไดอยูที่นักเรียนชอบหรอื ไมช อบอาหาร ชนดิ นนั้ แตความสาํ คัญอยทู ่ีอาหารชนดิ นน้ั มปี ระโยชนห รือไมม ปี ระโยชน ซง่ึ นกั เรยี น จะไดเ รยี นรูในบทเรียนน้ี เกรด็ แนะครู ครจู ดั กระบวนการเรียนรโู ดยการใหนักเรียนปฏบิ ัติ ดงั น้ี • สํารวจอาหารท่มี ีประโยชนและไมม ีประโยชน • จําแนกอาหารทีม่ ีประโยชนแ ละไมม ปี ระโยชน • วเิ คราะหอ าหารทีร่ บั ประทานวา มปี ระโยชนหรือไม จนเกิดความรคู วามเขาใจวา อาหารเปนสง่ิ จาํ เปน ตอรางกาย อาหารแตล ะชนิด จะใหส ารอาหารทจี่ ําเปนตอรางกายแตกตา งกัน ดงั น้นั เราจงึ ควรกินอาหาร ใหหลากหลายและครบทุกประเภท นอกจากน้ันควรหลีกเล่ยี งการกินอาหารที่ไมมี ประโยชนต อรา งกายดวย คูมอื ครู 35

กระตนุ ความสนใจ สสาํ ํารรEวxวpจจloคคrนeน หหาา อธบิ ายความรู ขยายความเขา ใจ ตรวจสอบผล Explain Expand Evaluate Engage Explore สาํ รวจคน หา Explore 1. ครสู ุมเรียกนักเรียนออกมาแสดงทาทางการ ๑ อาหารทีม่ ปี ระโยชน กนิ อาหาร แลวทําทา ปวดทอ ง จากนน้ั ครูให นักเรยี นทายวา ทา ทางท่ีเพ่ือนแสดงหมายถงึ อาหารเป็นส่ิงจ�าเป็นส�าหรับคนเรา เพราะร่างกายของเรา อะไร และนาจะมีสาเหตมุ าจากอะไร ตอ้ งการอาหารเพอ่ื ชว่ ยในการเจรญิ เตบิ โตและป้องกันโรค อาหารมีอยู่มากมายหลายชนิด อาหารท่ีมีประโยชน์ต่อ 2. ใหน กั เรียนสาํ รวจตนเองวา เมอื่ วานกนิ ตวั เรา คอื อาหารหลัก ๕ หม ู่ เช่น อะไรบา ง แลว เขยี นลงบนกระดาษ จากน้ันให หม่ทู ี่ ๑ เนอื้ สตั ว ์ นม ไข ่ และถว่ั ต่างๆ นกั เรียนพิจารณาวา อาหารท่ีกนิ ไปชนดิ ใดบาง หมทู่ ี ่ ๒ ข้าว แปง้ และน้�าตาล ทม่ี ีประโยชน และชนดิ ใดบา งท่ีไมม ปี ระโยชน หมู่ที่ ๓ ผกั ต่างๆ หม่ทู ่ี ๔ ผลไมต้ า่ งๆ 3. ใหน ักเรยี นแบง กลุม จากน้นั ใหแ ตละกลมุ หมู่ท ี่ ๕ ไขมนั จากพชื และสตั ว์ รว มกันอภิปรายวา อาหารทม่ี ปี ระโยชน มีลกั ษณะอยางไร และอาหารทไ่ี มมปี ระโยชน มีลักษณะอยา งไร ผดั ผัก ข้าวสวย นมสด ไข่ต้ม ผลไม้สด ปลาทอด 1 เรÒคÇร´ม×è นéíÒอÂ่Ò§นŒอÂÇันÅÐ ø á¡ŒÇ ´ŒÇÂนÐครับ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ 36 นักเรยี นควรรู ขอ สอบเนนการคิด ขอ ใดเปน อาหารท่ีวยั ของนักเรยี นควรรับประทานเปน อาหารเชา 1 ดมื่ นาํ้ เราควรดมื่ น้ําในชวงเวลา ดังน้ี มากทส่ี ดุ • 5.00 น. - 7.00 น. ด่ืม 1 แกว เพื่อใหร า งกายกระฉบั กระเฉง ก. ขนมปงทาเนย และนม • 9.00 น. - 10.00 น. ดม่ื 2 แกว เพื่อชาํ ระของเสยี ข. ขา วตม หมู และน้ําสม • 13.00 น. - 14.00 น. ด่ืม 3 แกว เพอื่ ความสดชน่ื ค. สลดั ผัก และน้าํ ฟก ทอง • 19.00 น. -20.00 น ดมื่ 3 แกว เพ่ือใหนํ้าทด่ี มื่ ไหลเวียนชะลาง ง. ปาทอ งโก และนํ้าเตาหู สิ่งตกคางในลําไสแ ละกระเพาะอาหาร วิเคราะหคําตอบ ในวัยของนกั เรยี นทยี่ งั เปน เด็ก ตอ งการอาหารท่ีเปน ประโยชนต อ การเจรญิ เตบิ โตของรางกายอยางครบถว น ดงั นนั้ ขอ ข. เบศูรณรากษารฐกจิ พอเพียง เปนคาํ ตอบท่ีถูก นกั เรยี นปลกู พชื ผกั สวนครวั คนละ 1 - 2 ชนดิ หรอื มากกวา โดยศกึ ษาวธิ กี ารปลกู และปลกู โดยไมใชสารเคมี เพือ่ นํามาใชประกอบอาหารกนิ ในครอบครวั เปน การ ประหยัดคา ใชจาย และไดก ินพชื ผกั ที่ปลอดสารพิษ 36 คมู ือครู

กระตุนความสนใจ สํารวจคน หา ออธธบิ ิบEาาxยยplคคaวiวnาามมรรู ู ขยายความเขา ใจ ตรวจสอบผล Engage Explore Evaluate Explain Expand Explain อธบิ ายความรู ๒ อาหารท่ีไมม่ ปี ระโยชน 1. ใหนักเรียนรวมกนั สรปุ ลกั ษณะอาหาร ท่ีมปี ระโยชน และอาหารทไี่ มม ีประโยชน ในปจั จุบนั อาหารมอี ยมู่ ากมายหลายชนิด ซ่ึงส่วนใหญล่ ้วน พรอ มทัง้ ยกตวั อยางประกอบ มีประโยชน์ต่อร่างกาย แต่ก็ยังมีอาหารบางชนิดท่ีแทบจะไม่มี ประโยชน์เลย เพราะว่าให้สารอาหารท่ีจ�าเป็นต่อร่างกายน้อยมาก 2. ครอู ธบิ ายเพิ่มเตมิ วา อาหารที่มปี ระโยชน และอาจทา� ให้เกิดโทษต่อรา่ งกายตามมาได้ เชน่ ปวดทอ้ ง ทอ้ งเสีย คือ อาหาร 5 หมู ซงึ่ จะใหสารอาหารท่จี าํ เปน ฟันผ ุ เปน็ โรคอว้ น เป็นอันตรายต่อไต เปน็ ตน้ ตอ รางกายแตกตา งกนั ดงั น้นั เราจึงควรกิน อาหารทเี่ ดก็ ๆ ไมค่ วรเลือกกิน เชน่ อาหารใหหลากหลายและครบทุกประเภท 3. ครูถามคําถามวา • การกนิ อาหารอยางไรท่ีจะทาํ ใหตัวเรา มีสขุ ภาพดี (แนวตอบ มหี ลายวธิ ี เชน กินอาหารทส่ี ุก สะอาด กนิ อาหารใหต รงเวลา เปนตน ) 4. ใหน ักเรียนศึกษาขอ ควรปฏิบัติในการกนิ อาหารจากหนงั สอื เรยี น หนา 38 จากนน้ั ใหนกั เรยี นสังเกตตนเองวายงั ไมเคยปฏบิ ัติ ตามขอ ใด แลวใหนกั เรียนบอกวาจะปรับปรงุ ตนเองอยางไร 5. ใหน กั เรียนรวมกันสรปุ หลกั ในการกินอาหาร เพอ่ื ใหม สี ขุ ภาพดี ของหมกั ดอง น้�าอัดลม และช็อกโกแลต อาหารทีม่ ีแปง้ และไขมนั มาก ขนมกรุบกรอบมีน้า� ตาล ไขมัน เกลอื และผงชรู ส 37 ขอ สอบเนน การคดิ บรู ณาการอาเซยี น อาหารในขอใดทน่ี าจะปลอดภัยและมีประโยชนม ากที่สุด ครยู กตวั อยา งอาหารยอดนยิ มของประเทศสมาชิกอาเซียนใหนักเรยี นรจู ัก เชน ก. เนือ้ ปลา ไขไก ทอฟฟ อัมบยู ัต ของประเทศบรูไน อาม็อก ของประเทศกัมพชู า กาโก กาโด ของประเทศ ข. กะหลํา่ ปลี ฝรั่งดอง ขนมจนี อนิ โดนเี ซยี เปน ตน ค. มะมว งสุก นมสด ขนมปง สังขยา ง. มันฝรง่ั ผักกาดดอง ปลากระปอง วิเคราะหค าํ ตอบ อาหารทม่ี ีประโยชนและปลอดภยั คือ อาหารหลัก 5 หมู สวนอาหารท่ไี มมีประโยชน คือ อาหารประเภทหมักดอง ลูกอม หรอื ทอฟฟ ดงั นนั้ มะมวงสกุ นมสด และขนมปงสังขยา จงึ เปน อาหารที่ ปลอดภยั และมปี ระโยชนมากทส่ี ดุ ดังน้นั ขอ ค. เปนคาํ ตอบท่ถี กู อามอ็ ก คูมือครู 37

กระตุนความสนใจ สํารวจคน หา อธบิ ายความรู ขขยยาายยEคคxpววaาาnมมdเเขขา าใจใจ ตรวจสอบผล Explore Explain Evaluate Engage Expand Expand ขยายความเขา ใจ 1. ใหนักเรียนรวบรวมภาพอาหารท่ีมปี ระโยชน ๓ ขอ้ ควรปฏบิ ตั ิในการกินอาหาร และอาหารทไี่ มม ีประโยชน แลว มาตดิ ลงใน นอกจากการเลือกกินอาหารท่ีมีประโยชน์แล้ว เรายังต้องรู้ สมดุ ภาพ พรอ มท้ังอธิบายเหตุผลวา เปนอาหาร หลกั ในการกนิ อาหารทถ่ี กู ตอ้ งดว้ ย ซงึ่ ขอ้ ควรปฏบิ ตั ิในการกนิ อาหาร ทม่ี ีประโยชน และไมมีประโยชน เพราะอะไร มีดังนี้ มือ้ ๑ค. ือก ินมอือ้ าเชหา้า1 รมให้ือก้คลราบงทวนั้ัง 2. ใหน กั เรยี นแบง กลมุ ใหแตละกลมุ จัดทําเมนู ๓ อาหาร 1 วนั ทนี่ กั เรียนควรรบั ประทาน มอ้ื เยน็ และควรกนิ ให้ตรงเวลา แลว เขียนลงในกระดาษ พรอมทง้ั ตดิ ภาพหรอื ๒. ล้างมือให้สะอาดก่อน วาดภาพอาหารใหสวยงาม จากนั้นนําผลงาน ไปจัดปา ยนเิ ทศ 3. ใหนักเรยี นทํากิจกรรมรวบยอดที่ 3.2 ขอ 2 จากแบบวดั ฯ สขุ ศกึ ษาฯ ป.2 โดยวาดภาพหรอื ตดิ ภาพอาหารท่มี ปี ระโยชนแ ละไมม ีประโยชน ใบงาน ✓แบบวดั ฯ แบบฝก ฯ กนิ อาหาร และหลงั ขับถา่ ย สขุ ศึกษา ป.2 กิจกรรมรวบยอดท่ี 3.2 แบบประเมนิ ตัวชว�้ ดั พ 4.1 ป.2/2 ๓. กินอาหารที่สุกสะอาด และไม่มแี มลงวนั ตอม ๔. กนิ อาหารครบทุกชนิด ๒ วาดภาพอาหารทม่ี ปี ระโยชนแ ละไมม ปี ระโยชนม าอยา งละ ๒ ชนดิ พรอ มทงั้ เขยี นชอื่ อาหาร และให้หลากหลาย ล้างมือทกุ ครัง้ กอ่ นกนิ อาหารให้เปน็ นสิ ัย ใหถ กู ตอง (ตวั อยาง) ÍÒËÒ÷ÕÁè Õ»ÃÐ⪹ ๕. ขณะกินอาหารร่วมกับผู้อ่ืน ถ้าจะไอหรือจาม ควรใช้มือ หรือผา้ ปิดปากหรือจมูก เพ่อื ป้องกันเศษอาหารในปากกระจายออก มาจากปาก ไข สม..................................................................................................................................................................................................................... เฉฉบลบั ย ๖. ควรเค้ียวอาหารใหล้ ะเอยี ดก่อนกลืน โดยเคีย้ วช้าๆ ไม่ให้ ÍÒËÒ÷ÕèäÁÁ‹ Õ»ÃÐ⪹ มเี สียงด๗ัง. ควรใช้ช้อนกลาง2ตักอาหาร เม่ือกินอาหารร่วมกับผู้อื่น เพ่ือปอ้ ๘งก. ันไมกค่ าวรรแเพลน่รก่หรระอื จพาดูยคขยุอขงเณชะือ้ กโนริ คอาหาร3 เพราะอาจทา� ใหส้ า� ลกั ชอ็ กโกแลต ไอศกรมี..................................................................................................................................................................................................................... 38อาหารได้ ตัวชวี้ ดั พ ๔.๑ ขอ ๒ õไดคะแนน คะแนนเตม็ ๓๓ นกั เรียนควรรู กจิ กรรมสรา งเสรมิ 1 ม้ือเชา อาหารมอื้ เชา เปนอาหารมื้อทสี่ ําคัญท่ีสุด เพราะเปน ชว งทรี่ า งกาย ใหนกั เรยี นนําอาหารทีม่ ปี ระโยชนมารวมรบั ประทานกบั เพือ่ นๆ ตองการสารอาหารมากทสี่ ดุ เพอื่ ประกอบกิจกรรมตางๆ ในแตละวัน คนทไี่ มกิน ในตอนกลางวัน แลว ใหบ อกชอื่ อาหารเหลานัน้ อาหารมื้อเชา มักจะมอี าการซมึ งวงนอน วงิ เวยี นศรี ษะ ทําใหรางกายทํางานได ไมดเี ทาท่คี วร ดังนั้น นักเรียนจงึ ควรกนิ อาหารม้ือเชา กอนเขาเรียนทุกวนั กิจกรรมทาทาย 2 ชอนกลาง เปนชอ นทีใ่ ชต กั อาหารจากสาํ รับมาใสใ นจานของตนเอง ขณะรับประทานอาหารรว มกับผูอืน่ เพ่ือปอ งกนั เศษอาหารจากจานของตนเอง ใหนักเรียนนาํ อาหารมารว มรบั ประทานกบั เพ่ือนๆ ในตอนกลางวนั รว งหลน สูกับขา ว และปองกันการแพรก ระจายของเชือ้ โรค จากนัน้ เมอื่ รับประทานอาหารเสรจ็ แลว ใหน ักเรียนวิเคราะหการรบั ประทาน 3 พูดคยุ ขณะกินอาหาร การพดู ขณะมีอาหารอยใู นปากมกั ทําใหมีเศษอาหาร อาหารของตนเองวา มปี ระโยชนต อ สุขภาพอยางไร พน ออกจากปาก ดนู า รังเกียจ ทง้ั ยงั อาจทาํ ใหส าํ ลกั อาหารได หรืออาจมเี ศษอาหาร หลุดเขา ไปอุดหลอดลม ทําใหห ายใจไมอ อกและอาจทาํ ใหเ สยี ชีวิตได 38 คมู ือครู

กระตนุ ความสนใจ สาํ รวจคน หา อธบิ ายความรู ขยายความเขาใจ ตตรรวEวvจจaสสluออaบtบeผผลล Engage Explore Explain Expand Evaluate ตรวจสอบผล Evaluate ¡¨Ô ¡ÃÃÁ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ 1. ครูตรวจสอบความถูกตองของสมดุ ภาพอาหาร ทมี่ ปี ระโยชนและอาหารทไี่ มม ปี ระโยชน 2. ครตู รวจสอบการทาํ กิจกรรมรวบยอดท่ี 3.2 จากแบบวัดฯ สขุ ศกึ ษาฯ ป.2 ตอนท ่ี ๑ ค�าถามชวนคิด หลักฐานแสดงผลการเรยี นรู เขยี นตอบคา� ถามตอ่ ไปน้ลี งในสมดุ ๑) ว นั นนี้ กั เรยี นกนิ อะไรบา้ ง อะไรทมี่ ปี ระโยชนแ์ ละไมม่ ปี ระโยชน ์ และนกั เรยี น 1. สมดุ ภาพอาหารทมี่ ปี ระโยชนแ ละอาหารท่ไี มมี ประโยชน รู้สึกอยา่ งไรเมื่อกนิ อาหารที่ไม่มีประโยชน์เขา้ ไป ๒) อาหารท่ีไมม่ ปี ระโยชน์ท่นี ักเรียนกนิ เข้าไปจะสง่ ผลอยา่ งไรต่อร่างกาย 2. กิจกรรมรวบยอดที่ 3.2 จากแบบวดั ฯ ๓) ถ ้านักเรียนมีเงิน ๒๐ บาท จะนา� เงินไปซ้ืออาหารอะไร เพ่ือให้มีสขุ ภาพ สขุ ศกึ ษาฯ ป.2 ท่ดี ี ๔) ถา้ พบเหน็ เพื่อนจะกินอาหารที่ไม่มปี ระโยชน์ นักเรียนควรทา� อย่างไร ตอนท ่ี ๒ ชวนคดิ ชวนท�า ๑. ดภู าพ แลว้ บอกว่าอาหารชนิดใดมีประโยชน์ หรือไมม่ ีประโยชน ์ พรอ้ มทัง้ บอกเหตผุ ล ๑) ๒) ๓) ๔) ๒. อา่ นขอ้ ความที่ก�าหนดให้ แลว้ บอกว่าใครมีพฤติกรรมท่เี หมาะสมในการ กินอาหาร ๑) ตน้ ดม่ื นมในตอนเช้าทุกวนั ๒) โดง่ เข่ยี ผกั ออกจากข้าวผดั ๓) แก้วลา้ งมอื กอ่ นกนิ อาหารทกุ คร้งั ๔) ตาลกนิ ลูกอมกอ่ นนอน ตอนท่ ี ๓ ผลงานสร้างสรรค์ นักเรียนติดภาพหรือวาดภาพ อาหารที่มีประโยชน์ และอาหารที่ไม่มีประโยชน์ ลงในกระดาษ พรอ้ มทง้ั บอกชอื่ อาหารและเหตผุ ล แลว้ รวบรวมจดั ทา� เปน็ สมดุ ภาพ อาหารที่มีประโยชน์และไมม่ ปี ระโยชน์ 39 เฉลย กิจกรรมการเรยี นรู ตอนท่ี 1 คําถามชวนคิด แนวตอบ 1) กินขา ว ด่ืมนมและน้ําอดั ลม ขาวและนมมปี ระโยชน สวนน้ําอดั ลมไมมปี ระโยชน 2) นํ้าอดั ลม มีรสหวานจดั ทาํ ใหฟ นผไุ ด 3) ซอ้ื นม 1 กลอง ราคา 10 บาท 4) หา มเพ่ือนไมใ หกนิ และบอกถึงโทษของการกนิ อาหารชนิดน้ัน ตอนท่ี 2 ชวนคดิ ชวนทํา 2) นม มีประโยชน ทาํ ใหร างกายเจรญิ เตบิ โต 1. แนวตอบ 4) ลูกอม ไมมีประโยชน ทาํ ใหอว น ฟนผุ 2), 4) เปนพฤติกรรมทไี่ มเ หมาะสม 1) สม มปี ระโยชน ทําใหข บั ถา ยสะดวก 3) ขนมปง มปี ระโยชน ใหพลังงานแกรา งกาย 2. แนวตอบ 1), 3) เปนพฤติกรรมทีเ่ หมาะสม คูม ือครู 39

กกรระตะตนุ Eนุ nคคgววaาgามeมสสนนใจใจ สาํ รวจคนหา อธบิ ายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล Explain Expand Evaluate Engage Explore เปาหมายการเรยี นรู óบทท่ี • ระบุของใชแ ละของเลน ที่มผี ลเสยี ตอสขุ ภาพ (พ 4.1 ป.2/3) สาระส�าคัญ ของใช้และของเล่นบางชนิดอาจท�าให้เกิด สมรรถนะของผเู รียน ของใชและของเลน อนั ตราย และมีผลเสียต่อสุขภาพได ้ ถา้ หาก ผใู้ ช้ใช้อย่างไม่ระมดั ระวงั หรือใชอ้ ยา่ งผิดวิธี 1. ความสามารถในการคดิ ¡¨Ô ¡ÃÃÁ¹ÒÊÙ‹¡ÒÃàÃÕ¹ 2. ความสามารถในการแกไขปญหา คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค 1. ใฝเรยี นรู 2. อยูอ ยางพอเพียง กระตนุ ความสนใจ Engage 1. ครนู าํ บัตรภาพของใชแ ละของเลนมาแสดงให ? นกั เรียนดู แลว ใหน ักเรียนรว มกันบอกวา สิ่งของ ในภาพเปนของใชห รือของเลน นั¡เรÂÕ นคÔ´Ç่Ò ขอ§เÅน่ Ëร×อขอ§ãªŒ ทÕèเËçนãนÀÒ¾มอÕ นั µรÒÂËรอ× มÕ¼ÅเÊÂÕ 2. ครูใหน ักเรยี นดูภาพ หนา 40 แลว รวมกัน พิจารณาวา สิ่งของในภาพมีอนั ตรายหรือ µอ่ ÊขØ ÀÒ¾Ëร×อไม่ อÂÒ่ §ไร มผี ลเสียตอสขุ ภาพหรอื ไม เพราะอะไร (แนวตอบ ของเลน และของใชใ นภาพมปี ระโยชน ตอ รางกายและพัฒนาการของเรา เชน เครื่องตอกไม ชว ยฝกกลา มเนอื้ กรรไกรใชตดั กระดาษ เปนตน แตถาเรานําสิง่ เหลานี้มาใช อยา งผิดวธิ ีหรอื ใชส ิ่งของอยา งไมร ะมดั ระวัง ก็อาจเกดิ อนั ตรายตอ เราได) 40 เกร็ดแนะครู ครจู ดั กระบวนการเรยี นรูโดยการใหนักเรยี นปฏิบัติ ดังนี้ • สาํ รวจของใชแ ละของเลน • อธบิ ายอนั ตรายท่ีอาจเกิดจากของใชและของเลน • วางแผนปฏบิ ัติตนในการใชข องใชแ ละของเลนใหป ลอดภยั จนเกดิ ความรคู วามเขาใจวา ของใชและของเลนบางชนดิ อาจกอใหเ กิด อันตรายไดถา เราใชของใชห รอื เลนของเลน บางชนิดอยา งไมระมัดระวัง ดงั น้นั เราจึงควรเลน ของเลน และใชข องใชอยางระมัดระวัง 40 คมู ือครู

กระตนุ ความสนใจ สสาํ ํารรEวxวpจจloคคrนeน หหาา ออธธบิ ิบEาาxยยplคคaวiวnาามมรรู ู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล Engage Evaluate Explore Explain Expand Explore สาํ รวจคน หา ๑ ของใช้ในบ้าน 1. ใหน กั เรียนสํารวจของใชแ ละของเลน ในบา น ของใช้ในบา้ นมีอยมู่ ากมายหลายชนดิ เชน่ โตะ๊ ตู้ เตียง มีด และในโรงเรียนวา มอี ะไรบา ง เปน็ ตน้ ของใชเ้ หลา่ นี้มปี ระโยชน์ตอ่ ชีวติ ประจ�าวนั ของเรา แต่ถา้ ใช้ ไมถ่ กู วิธีหรือใชอ้ ย่างไมร่ ะมดั ระวัง ก็อาจเกิดอันตรายตอ่ ผ้ใู ชไ้ ด้ 2. ครยู กตัวอยา งของใชแ ละของเลนอยา งละ ๑. อันตรายจากของใชใ้ นบา้ น 1 ชนดิ แลว ใหน ักเรยี นรวมกนั แสดงความ อันตรายจากของใช้ในบ้าน เกิดจากความไม่ระมัดระวังของ คดิ เห็นวา ของใชแ ละของเลนเหลาน้จี ะเปน อันตรายตอสขุ ภาพไดหรือไม อยา งไร 3. ใหนกั เรียนแบงกลุม ใหแ ตละกลมุ รวมกนั คดิ วธิ ใี ชของใช และวิธเี ลน ของเลน ใหปลอดภัย จากนั้นออกมานาํ เสนอทห่ี นาชนั้ ผใู้ ชแ้ ละการชา� รดุ ของของใชเ้ หลา่ นนั้ ซง่ึ ทา� ใหไ้ ดร้ บั บาดเจบ็ และเกดิ อธบิ ายความรู Explain ความเสยี หายตอ่ ทรพั ยส์ นิ ได ้ ของใชท้ อี่ าจกอ่ ใหเ้ กดิ อนั ตราย เชน่ 1. ใหนกั เรยี นรวมกนั สรปุ อนั ตรายทเี่ กดิ จาก ไม้กวาด1หรืออุปกรณ์ ของใชและวธิ ใี ชของใชใหป ลอดภัย โตะ๊ เกา้ อท้ี ม่ี ีมุมแหลม ท�าความสะอาดทมี่ ่ี หรือช�ารดุ เสียหาย 2. ครูตัง้ คาํ ถามวา ดา้ มยาว ถา้ วางกับพื้น • สิ่งของใดท่ีไมค วรนํามาวางใกลเ ตาแกส อาจทา� ใหเ้ กดิ การสะดดุ เพราะอะไร (แนวตอบ นํ้ามันกาด กระดาษ เพราะเปน ของมคี ม เชน่ ลวด มดี 2 เครื่องใช้ไฟฟา้ ต่างๆ วัตถุไวไฟ) กรรไกร จอบ เสียม ที่ก�าลังใช้งานอยู่ • ถา มือเปยกนา้ํ ไมควรจับสง่ิ ใด (แนวตอบ ไมค วรจบั ปลก๊ั ไฟ หรอื เครอื่ งใชไ ฟฟา เตาถ่าน เตาแกส๊ 3 กระจกหรือสงิ่ ของ เพราะอาจทาํ ใหถ กู ไฟดูดได) ไมข้ ดี ไฟ ท่ีอาจท�าให้ ท่ีสามารถแตกได้ • ถาพบของใชใ นบา นชํารุด นกั เรียนควรทํา เกดิ ไฟไหม้ได้ เชน่ แก้ว อยา งไร ท เต�า้าใหรับ้เกแิดลไะฟเตดูด้า4เไสดีย ้ ถบ้าอเอาจา (แนวตอบ แจงใหพ อแมห รือผใู หญในบาน นวิ้ แหย่เขา้ ไปในรู ไมค่ วร ทราบ เพ่อื จะไดแ กไขตอไป) ให้นิ้วมือสัมผัสกับขาของ เตา้ เสยี บ และรขู องเตา้ รบั ประต ู หรอื หนา้ ตา่ ง 41 ท่ีอาจหนีบน้ิว ถ้า ไม่ระมัดระวงั หรอื ไม่มที ่ยี ดึ ขณะเปดิ ขอ สอบเนนการคิด นักเรยี นควรรู พฤติกรรมในขอ ใดท่อี าจทําใหเ กิดอันตรายในการใชเ คร่ืองใชไฟฟา 1 ไมกวาด การเก็บไมกวาดหลงั ใชง านเสรจ็ แลว อาจใสหว งหรือเจาะรทู ่ี ก. เช็ดทําความสะอาดเคร่ืองใชไฟฟา ที่เสียบปล๊ักอยูด วยผา เปยก ปลายดา มแลว ใชเ ชอื กรอ ย ทาํ หว งสาํ หรบั แขวน หรอื เกบ็ ในชนั้ เกบ็ ไมก วาดโดยเฉพาะ ข. ถอดปลกั๊ กอ นนาํ เคร่ืองใชไ ฟฟาไปทําความสะอาด ก็ได ทําใหห ยิบใชงานไดสะดวก ค. นาํ เครื่องใชไฟฟาท่ชี ํารดุ ไปซอมแซมกอ นนาํ มาใช 2 มดี การเกบ็ มดี หลงั ใชง านเสรจ็ แลว ใหล า งทาํ ความสะอาดและใชผ า เชด็ ใหแ หง ง. เก็บเคร่ืองใชไฟฟาทีใ่ ชเ สร็จแลว เขา ทีใ่ หเ รียบรอ ย แลว นาํ ไปเกบ็ ในทเ่ี ก็บมีดใหเ รียบรอ ย วเิ คราะหค ําตอบ กอนนําเครือ่ งใชไ ฟฟา ไปทาํ ความสะอาด ควรถอดปลกั๊ 3 เตาแกส ในหองครวั ทไี่ มม ีชองลม หรือระบบระบายอากาศ จะเปน แหลง สะสม ออกกอ นเพื่อปองกันไฟชอ็ ต และควรซอ มแซมเครือ่ งใชไ ฟฟา ใหดีกอนนาํ ของแกสทีร่ วั่ ไหลจากถงั หรอื เตาแกส เม่ือสูดดมเขา ไปมากๆ อาจเกดิ อนั ตรายตอ ไปใช เพ่ือไมใ หเ กดิ ไฟฟา ลดั วงจร รวมถงึ เมอื่ ใชเครื่องใชไฟฟาเสรจ็ แลว รางกายได ดังนน้ั จึงควรตงั้ เตาแกสไวบรเิ วณท่ีมีอากาศถายเทไดสะดวก ควรเก็บเขาทีใ่ หเ รียบรอ ยเพอื่ ใหส ะดวกในการหยิบใชค ร้ังตอไป สวนการ 4 ไฟดูด การจับปลั๊กไฟในขณะทม่ี อื เปยกจะทาํ ใหถกู ไฟฟาดูดได ถาหากกระแส ทาํ ความสะอาดเคร่อื งใชไ ฟฟาดว ยผาเปยก ในขณะที่ยงั เสียบปลก๊ั อยูอาจ ไฟฟา มปี ริมาณมาก อาจทําใหเ ปนอนั ตรายถงึ แกชีวิตได ทาํ ใหถูกไฟดดู ได ดงั นนั้ ขอ ก. เปนคําตอบท่ีถูก คูม อื ครู 41


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook