หลกั สตู รสถานศึกษาปฐมวัย โรงเรียนบึงเขายอ้ น (คงพนั ธ์อุ ุปถมั ภ)์ พทุ ธศักราช 2563
๒หลกั สูตรสถานศกึ ษาปฐมวยั โรงเรียนบึงเขายอ้ น (คงพนั ธุ์อุปถมั ภ)์ 1.ปรชั ญาการศกึ ษาปฐมวยั โรงเรียนบึงเขาย้อน (คงพนั ธ์ุอปุ ถัมภ์) การจัดการศึกษาปฐมวยั โรงเรียนบึงเขายอ้ น (คงพันธอ์ุ ุปถัมภ)์ เป็นการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาเดก็ วัย 4-6 ปี ให้เด็กเกิดการเรียนรู้บนพื้นฐานการอบรมเล้ียงดูและส่งเสริมให้มีพัฒนาการครบทั้ง 4 ด้าน คือด้าน ร่างกาย อารมณ์-จิตใจ สังคม และสติปัญญา ตามศักยภาพของเด็ก โดยผ่านกระบวนการเรียนรู้แบบ บูรณาการที่หลากหลาย ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ ที่สอดคล้องกับการพัฒนาสมองของเด็กแต่ละคนให้เต็ม ศกั ยภาพผา่ นการเล่น การชว่ ยเหลือตนเองมที กั ษะในการดารงชีวติ ประจาวัน ส่งเสริมใหเ้ ด็กเปน็ คนฉลาด รา่ เริง มีความสุข มีคุณธรรม จริยธรรม อนรุ ักษ์ความเปน็ ไทย รักษ์สิ่งแวดล้อมโดยมีผู้ปกครอง ชมุ ชน ได้ มสี ว่ นรว่ มในการจดั การเรียนรู้และให้เดก็ สามารถดารงชีวิตในสังคมไดอ้ ย่างมีความสุข 2.วิสัยทัศน์ปฐมวยั โรงเรียนบึงเขาย้อน (คงพนั ธ์ุอปุ ถมั ภ์) ภายในปกี ารศึกษา 2563 โรงเรยี นบึงเขาย้อน (คงพนั ธุอ์ ุปถมั ภ)์ มงุ่ เน้นพฒั นาการจัดการศกึ ษา ระดบั ปฐมวยั กล่มุ อายุ 4 – 6 ปี ให้มีคณุ ภาพเป็นไปตามมาตรฐานคุณลกั ษณะที่พึงประสงค์ตามหลักสูตร ปฐมวัย เพื่อใหน้ ักเรยี นได้รับการพัฒนาท้งั ทางดา้ นร่างกาย ดา้ นอารมณ์-จติ ใจ ดา้ นสงั คมและดา้ นสติปัญญา เปน็ ไปตามวัยและความสามารถของแตล่ ะบุคคล ให้มีความพรอ้ มในการศกึ ษาในระดับประถมศึกษา บนพน้ื ฐานการให้การศึกษาและอบรมเล้ียงดดู ว้ ยความรกั และความอบอนุ่ ท้งั ในครอบครัวและสถานศึกษา การบริหารจดั การศกึ ษาในสถานศกึ ษาระดับปฐมวัยใหน้ ักเรียนเป็นคนดี มวี ินยั และสานึกความเป็น ไทยดาเนนิ ชีวิตประจาวนั ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งและปฏิบัติตนตามคา่ นิยม 12 ประการ โดยความรว่ มมือระหว่าง สถานศึกษา พ่อแม่ผูป้ กครอง ชุมชน และทุกฝ่ายท่เี ก่ยี วข้องเพื่อส่งเสรมิ ใหน้ ักเรียน มศี กั ยภาพ
๓หลกั สูตรสถานศึกษาปฐมวยั โรงเรียนบงึ เขายอ้ น (คงพนั ธุ์อุปถมั ภ)์ 3. พนั ธกจิ ปฐมวยั โรงเรียนบงึ เขาย้อน (คงพนั ธ์ุ อปุ ถัมภ์) ๑. ครผู ้สู อนชน้ั อนบุ าลปีท่ี 2 และ 3 จดั ทาแผนการจดั ประสบการณ์การเรยี นรูท้ ่ีมีคุณภาพ เน้น พฒั นาการ ผู้เรยี นท้ัง ๔ ดา้ น ๒. สร้างบรรยากาศการเรียนรู้ท่ีช่วยสง่ เสรมิ พัฒนาการผู้เรยี นทั้ง ๔ ดา้ น ๓. เฝ้าระวงั ดูแลสุขภาพ การรบั ประทานอาหาร การดืม่ นมอย่างสม่าเสมอ ๔. จดั หาสือ่ แหลง่ เรยี นร้ทู เ่ี หมาะสมและหลากหลาย ๕. มีการประเมนิ พัฒนาการผูเ้ รยี นอยา่ งต่อเนอื่ ง และสม่าเสมอ ด้วยวิธีการและเครอื่ งมอื ที่หลากหลาย ๖. ครผู สู้ อนชนั้ อนุบาลปีที่ 2 และ 3 ไดร้ ับการพัฒนาอย่างต่อเนอ่ื ง ๗. ประสานความร่วมมือกับหน่วยงาน บคุ ลากร ผู้ปกครองและชุมชน เพอ่ื ระดมความคดิ ทรพั ยากรมา ชว่ ยเหลอื ในการจดั ประสบการณก์ ารเรียนรู้ ในระดบั ชนั้ อนุบาลปที ่ี 2 และ 3 4.เปา้ หมายปฐมวัยโรงเรียนบึงเขาย้อน (คงพนั ธ์ุอปุ ถัมภ์) ๑. ครูผ้สู อนระดับช้ันอนุบาลปีท่ี 2 และ 3 มแี ผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่ดี มคี ณุ ภาพดี ๒. โรงเรียนมกี ารจดั บรรยากาศการเรยี นรู้อย่างเหมาะสม ตามสภาพของท้องถิ่น ๓. ผเู้ รียนระดบั ชัน้ อนุบาลปีที่ 2 และ 3 ร้อยละ ๙๐ มสี ขุ ภาพดี เจรญิ เติบโตตามวัย ๔. โรงเรยี นมีส่อื และแหลง่ เรียนรทู้ ่ีเหมาะสมและหลากหลาย ผู้เรียนมโี อกาสได้เรยี นรู้และสมั ผัสจริง ๕. ผู้เรียนระดับชั้นอนบุ าลปีท่ี 2 และ 3 ทุกคน ได้รับการประเมนิ พฒั นาการ และนาผลการประเมินน้ัน ไปปรบั ปรุงและพัฒนาแผนการจดั ประสบการณก์ ารเรียนรู้ ๖. ครผู สู้ อนระดบั ชั้นอนุบาลปีที่ 2 และ 3 เข้ารับการอบรมทุกคร้ังท่มี ีการจัดการอบรมเร่อื งทเ่ี กยี่ วข้อง กบั การศกึ ษาปฐมวยั ๗. หนว่ ยงาน บคุ ลากร ผู้ปกครองและชุมชน มสี ว่ นร่วมในการจดั การศึกษาและพฒั นาหลักสูตร
๔หลกั สูตรสถานศึกษาปฐมวยั โรงเรียนบงึ เขายอ้ น (คงพนั ธุอ์ ุปถมั ภ)์ หลกั การปฐมวยั โรงเรียนบงึ เขาย้อน (คงพนั ธ์ุอปุ ถมั ภ์) เด็กปฐมวัยทุกคนมีสิทธิท่ีจะได้รับการอบรมเล้ียงดูและส่งเสริมพัฒนาการตลอดจนการเรียนรู้อย่าง เหมาะสมด้วยปฏิสมั พันธ์ท่ีดรี ะหว่างเด็กกับพ่อแมเ่ ด็ก กบั ผเู้ ล้ยี งดหู รอื บุคลากรที่มีความสามารถในการเล้ียงดู และให้การศึกษาเด็กปฐมวัย เพ่ือให้เด็กมีโอกาสพัฒนาตนเองตามลาดับข้ันของการพัฒนาการทุกด้านอย่าง สมดลุ และเตม็ ศักยภาพโดยกาหนดหลกั การดงั นี้ 1. สง่ เสริมกระบวนการเรยี นรู้ และพฒั นาการทีค่ รอบคลุมเดก็ ปฐมวยั ทุกคน 2. ยึดหลักการอบรมเล้ียงดูและให้การศึกษาท่ีเน้นเด็กเป็นสาคัญโดยคานึงถึงความแตกต่างระหว่าง บคุ คลและวิถชี ีวิตของเดก็ ตามบรบิ ทของชมุ ชน สงั คม และวัฒนธรรมไทย 3. ยึดพัฒนาการและการพัฒนาเด็กโดยองค์รวมผ่านการเล่นและกิจกรรมท่ีหลากหลายเหมาะสมกับ วยั 4. จัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้สามารถดารงชีวิตประจาวันตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ไดอ้ ยา่ งมีคุณภาพและ มคี วามสุข 5. สร้างความรู้ความเข้าใจและประสานความร่วมมือในการพัฒนาเด็กระหว่างสถานศึกษากับพ่อแม่ ครอบครัวและ ชมุ ชนทกุ ฝา่ ยทเ่ี ก่ยี วขอ้ งกบั การพฒั นาเดก็ ปฐมวยั 5.จุดหมายปฐมวยั โรงเรียนบึงเขาย้อน (คงพนั ธ์ุอปุ ถมั ภ์) หลกั สตู รการศึกษาปฐมวยั สาหรับเดก็ อายุ ๔-6 ปี มงุ่ ใหเ้ ด็กมพี ฒั นาการตามวัยเตม็ ตามศักยภาพและ มีความพร้อมในการเรียนรู้ต่อไป จึงกาหนดจุดหมายเพื่อให้เกิดกบั เด็กเม่ือจบการศกึ ษาระดับปฐมวยั ดงั นี้ 1. เด็กมีร่างกายเจรญิ เติบโตตามวยั แขง็ แรง และมีสขุ นสิ ัยที่ดี 2. เด็กมีสขุ ภาพจติ ดี มีสุนทรียภาพ มีคุณธรรม จรยิ ธรรม และจติ ใจท่ีดีงาม 3. เด็กมีทักษะชวี ติ และปฏิบัติตนตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง มวี ินัย และอยูร่ ว่ มกับผู้อนื่ ได้อยา่ งมีความสุข 4. เดก็ มีทกั ษะการคดิ การใช้ภาษาส่ือสาร และการแสวงหาความรู้ได้เหมาะสมกับวยั 5. เดก็ มีความพร้อมในการเรียนชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 1
๕หลกั สูตรสถานศึกษาปฐมวยั โรงเรียนบึงเขายอ้ น (คงพนั ธุ์อุปถมั ภ)์ 6. มาตรฐานคณุ ลักษณะที่พึงประสงค์ มาตรฐานคุณลักษณะท่ีพึงประสงคเ์ ปน็ การกาหนดความคาดหวงั ท่ีจะเกดิ ขึน้ กบั เด็กปฐมวยั หลังจาก จบหลกั สตู รแลว้ มาตรฐานคณุ ลกั ษณะท่ีพงึ ประสงคจ์ ะต้องกาหนดให้ตรงกบั หลักสูตรการศึกษาปฐมวยั พ.ศ. 2560 จานวนวน 12 มาตรฐานประกอบดว้ ยมาตรฐานต่าง ๆ ดงั น้ี 1. พัฒนาการดา้ นรา่ งกาย ประกอบดว้ ย 2 มาตรฐาน คอื มาตรฐานที่ 1 รา่ งกายเจริญเตบิ โตตามวยั และมีสขุ นสิ ัยทด่ี ี มาตรฐานท่ี 2 กลา้ มเน้ือใหญ่และกล้ามเนื้อเลก็ แข็งแรง ใช้ไดอ้ ยา่ งคล่องแคลว่ ประสาน สมั พันธ์กนั 2. พฒั นาการด้านอารมณ์ จิตใจ ประกอบด้วย 3 มาตรฐานคือ มาตรฐานที่ 3 มสี ุขภาพจติ ดีและมคี วามสุข มาตรฐานที่ 4 ชนื่ ชมและแสดงออกทางศลิ ปะ ดนตรี การเคล่อื นไหวและรักการออกกาลงั กาย มาตรฐานที่ 5 มีคุณธรรม จริยธรรม และมจี ติ ใจทีด่ ีงาม 3. พัฒนาการดา้ นสังคม ประกอบด้วย 3 มาตรฐานคือ มาตรฐานที่ 6 มที ักษะชวี ิตและปฏบิ ัติตนตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง มาตรฐานที 7 รักธรรมชาติ สง่ิ แวดลอ้ ม วฒั นธรรมและความเปน็ ไทย มาตรฐานที่ 8 อย่รู ่วมกบั ผู้อน่ื ได้อยา่ งมีความสุขและปฏบิ ตั ิตนเป็นสมาชิกทีด่ ีของสังคมใน ระบอบประชาธิปไตย อนั มีพระมหากษัตรยิ ์เปน็ ประมุข 4. พัฒนาการดา้ นสติปัญญา ประกอบด้วย 4 มาตรฐาน คือ มาตรฐานที่ 9 ใชภ้ าษาสอ่ื สารได้ย่างเหมาะสม มาตรฐานท่ี 10 มีความสามารถในการคดิ ทีเ่ ปน็ พ้นื ฐานในการเรยี นรู้ มาตรฐานที 11 มีจนิ ตนาการและความคิดสรา้ งสรรค์ มาตรฐานท่ี 12 มีเจตคตทิ ่ีดีต่อการเรียนรูแ้ ละมีความสามารถในหารแสวงหาความรู้ ไดเ้ หมาะสมกับวัย
๖หลกั สูตรสถานศึกษาปฐมวยั โรงเรียนบงึ เขายอ้ น (คงพนั ธุ์อุปถมั ภ)์ เปา้ หมายของหลักสตู ร โรงเรยี นบงึ เขายอ้ น (คงพันธอ์ุ ุปถัมภ์) ได้กาหนดเป้าหมายของหลักสตู รเป้าหมายเชิงปริมาณและเชงิ คณุ ภาพดังนี้ เป้าหมายเชิงปริมาณ มาตรฐานที่ 1 รอ้ ยละ 90 ของเดก็ ปฐมวยั มีรา่ งกายเจริญเติบโตตามวัยและมีสุขนสิ ัยท่ีดี มาตรฐานท่ี 2 ร้อยละ 90 ของเด็กปฐมวัยมีกล้ามเนื้อใหญ่และกล้ามเน้ือเลก็ แข็งแรง ใช้ได้ อยา่ งคล่องแคลว่ ประสานสัมพันธก์ ัน มาตรฐานที่ 3 รอ้ ยละ 90 ของเด็กปฐมวัยมีมีสุขภาพจติ ดีและมีความสขุ มาตรฐานที่ 4 ร้อยละ 90 ของเดก็ ปฐมวัยมีชืน่ ชมและแสดงออกทางศลิ ปะ ดนตรี การ เคลอ่ื นไหวและรักการออกกาลังกาย มาตรฐานท่ี 5 ร้อยละ 90 ของเด็กปฐมวัยมีมคี ุณธรรม จรยิ ธรรม และมีจิตใจทด่ี ีงาม มาตรฐานที่ 6 รอ้ ยละ 90 ของเดก็ ปฐมวัยมีมีทักษะชีวติ และปฏบิ ตั ิตนตามหลกั ปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพยี ง มาตรฐานที 7 รอ้ ยละ 90 ของเด็กปฐมวยั มรี กั ธรรมชาติ สิง่ แวดลอ้ ม วัฒนธรรมและความ เป็นไทย มาตรฐานที่ 8 รอ้ ยละ 90ของเดก็ ปฐมวยั มีอยรู่ ่วมกบั ผู้อืน่ ได้อย่างมีความสุขและปฏบิ ตั ิตน เป็นสมาชิกทดี่ ขี องสังคมในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษตั รยิ เ์ ปน็ ประมขุ มาตรฐานที่ 9 ร้อยละ 90 ของเด็กปฐมวยั ใชภ้ าษาสอื่ สารไดย้ า่ งเหมาะสม มาตรฐานท่ี 10 ร้อยละ 90 ของเด็กปฐมวัยมีมีความสามารถในการคดิ ทเี่ ปน็ พื้นฐานในการ เรียนรู้ มาตรฐานที 11 รอ้ ยละ 85 ของเด็กปฐมวยั มีมจี ินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ มาตรฐานท่ี 12 ร้อยละ 85 ของเด็กปฐมวัยมมี เี จตคติท่ีดีต่อการเรียนรู้และมีความสามารถ ในการแสวงหาความรไู้ ด้เหมาะสมกับวัย เป้าหมายเชิงคณุ ภาพ มาตรฐานท่ี 1 เด็กปฐมวัยมีร่างกายเจริญเติบโตตามวัยและมีสุขนิสัยทด่ี ีในระดับคุณภาพ ดมี าก มาตรฐานที่ 2 เด็กปฐมวยั มีกลา้ มเนือ้ ใหญ่และกล้ามเนอ้ื เล็กแข็งแรง ใช้ได้อยา่ งคล่องแคล่ว ประสานสมั พนั ธก์ ันในระดับคุณภาพดีมาก มาตรฐานที่ 3 เดก็ ปฐมวยั มีมีสขุ ภาพจติ ดีและมีความสุขในระดับคุณภาพดมี าก มาตรฐานท่ี 4 เด็กปฐมวัยมีช่ืนชมและแสดงออกทางศิลปะ ดนตรี การเคล่อื นไหวและ รกั การออกกาลังกายในระดับคณุ ภาพดมี าก มาตรฐานท่ี 5 เด็กปฐมวัยมมี ีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และมจี ิตใจท่ดี ีงามในระดับคุณภาพดีมาก มาตรฐานที่ 6 เดก็ ปฐมวัยมีมีทักษะชวี ติ และปฏบิ ัติตนตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงในระดับคณุ ภาพดีมาก มาตรฐานที 7 เด็กปฐมวยั มรี ักธรรมชาติ สง่ิ แวดลอ้ ม วฒั นธรรมและความ
๗หลกั สูตรสถานศกึ ษาปฐมวยั โรงเรียนบึงเขายอ้ น (คงพนั ธุ์อุปถมั ภ)์ เปน็ ไทยในระดับคณุ ภาพดีมาก มาตรฐานที่ 8 เด็กปฐมวัยมีอยูร่ ่วมกบั ผ้อู ืน่ ได้อย่างมีความสุขและปฏิบัตติ น เปน็ สมาชกิ ท่ีดีของสงั คมในระบอบประชาธิปไตย อนั มพี ระมหากษัตริย์เป็น ประมุขในระดับคุณภาพดีมาก มาตรฐานที่ 9 เดก็ ปฐมวัยใช้ภาษาส่อื สารไดย้ ่างเหมาะสมในระดบั คุณภาพดมี าก มาตรฐานท่ี 10 เด็กปฐมวยั มีมีความสามารถในการคิดที่เป็นพืน้ ฐานในการเรียนรู้ในระดับ คุณภาพดีมาก มาตรฐานที 11 เดก็ ปฐมวยั มีมจี ินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ในระดับคุณภาพดมี าก มาตรฐานท่ี 12 เดก็ ปฐมวัยมีมเี จตคตทิ ่ีดีตอ่ การเรียนร้แู ละมีความสามารถในการแสวงหา ความรูไ้ ด้เหมาะสมกับวัยในระดบั คุณภาพดีมาก มาตรฐานคณุ ลกั ษณะทพ่ี ึงประสงคต์ วั บ่งช้แี ละสภาพที่พึงประสงค์ ตวั บ่งช้ีเป็นเป้าหมายในการพัฒนาเดก็ และสภาพท่ีพึงประสงค์เป็นความสามารถตามวยั ที่คาดหวังให้ เกดิ บนพน้ื ฐานพฒั นาการและธรรมชาตขิ องเด็กแตล่ ะช่วงอายเุ พอ่ื นาไปกาหนดในสาระการเรยี นรู้และการ ประเมนิ พฒั นาการมรี ายละเอียดตามหลักสตู รการศึกษาปฐมวัย พ.ศ. 2560 ดังนี้ สาหรบั เด็กอายุ 4-6 ปี โดยยึดมาตรฐานในจุดหมายหลกั สตู รการศึกษาปฐมวัย ดงั น้ี มาตรฐานที่ 1 รา่ งกายเจรญิ เตบิ โตตามวัย และมสี ุขนิสัยทีด่ ี ตัวบง่ ชี้ สภาพทพ่ี ึงประสงค์ 1.1 น้าหนักและส่วนสงู อายุ 4-5 ปี อายุ 5-6 ปี ตามเกณฑ์ 1.1.1นา้ หนกั และสว่ นสงู ตาม 1.1.1นา้ หนกั และส่วนสูงตาม เกณฑ์ของกรมอนามยั เกณฑ์ของกรมอนามัย 1.2 มสี ขุ ภาพอนามยั สขุ นสิ ัยท่ีดี 1.2.1รับประทานอาหารทม่ี ี 1.2.1รบั ประทานอาหารทีม่ ี ประโยชนแ์ ละด่ืมน้าสะอาดได้ดว้ ย ประโยชน์ได้หลายชนิดและดื่มนา้ 1.3 รกั ษาความปลอดภยั ของ ตนเอง สะอาดได้ด้วยตนเอง ตนเองและผอู้ ่นื 1.2.2 ล้างมือก่อนรบั ประทาน 1.2.2 ล้างมอื ก่อนรับประทาน อาหารและหลงั จากใช้ห้องน้าหอ้ ง อาหารและหลังจากใช้หอ้ งนา้ ห้อง สว้ มดว้ ยตนเอง ส้วมด้วยตนเอง 1.2.3 นอนพักผ่อนเป็นเวลา 1.2.3 นอนพกั ผ่อนเปน็ เวลา 1.2.4 ออกกาลังกายเป็นเวลา 1.2.4 ออกกาลังกายเปน็ เวลา 1.3.1 เล่นและทากจิ กรรมอย่าง 1.3.1 เลน่ ทากจิ กรรมและปฏบิ ัติ ปลอดภัยด้วยตนเอง ต่อผ้อู นื่ อย่างปลอดภยั
๘หลกั สูตรสถานศึกษาปฐมวยั โรงเรียนบงึ เขายอ้ น (คงพนั ธุ์อุปถมั ภ)์ มาตรฐานท่ี 2 กล้ามเนือ้ ใหญแ่ ละกลา้ มเนือ้ เล็กแข็งแรง ใช้ไดอ้ ย่างอย่างคล่องแคลว่ และ ประสานสัมพันธก์ ัน ตวั บ่งชี้ สภาพท่พี ึงประสงค์ 2.1 เคล่ือนไหวร่างกายอย่าง อายุ 4-5 ปี อายุ 5-6 ปี คลอ่ งแคล่วประสานสัมพนั ธ์ และทรงตัวได้ 2.1.1เดินต่อเท้าไปขา้ งหนา้ เปน็ 2.1.1เดนิ ต่อเท้าถอยหลังเป็นเส้นตรง เสน้ ตรงไดส้ ลบั เท้าได้โดยไม่ต้อง ได้โดยไมต่ ้องกางแขน กางแขน 2.1.2กระโดดขาเดยี วอย่กู บั ทไ่ี ด้ 2.1.2กระโดดขาเดียวไปขา้ งหน้าได้ โดยไมเ่ สยี การทรงตวั อย่างต่อเนอื่ งโดยไมเ่ สยี การทรงตวั 2.1.3วิง่ หลบหลีกสง่ิ กีดขวางได้ 2.1.3วง่ิ หลบหลีกสง่ิ กีดขวางไดอ้ ย่าง คลอ่ งแคลว่ 2.1.4รบั ลูกบอลโดยใช้มือทงั้ สอง 2.1.4รับลูกบอลท่กี ระดอนจากพื้นได้ ข้าง 2.3 ใช้มอื -ตา ประสาน 2.2.1ใช้กรรไกรตดั กระดาษตาม 2.2.1ใชก้ รรไกรตดั กระดาษตามแนว สมั พันธ์กัน แนวเสน้ ตรงได้ เสน้ โค้งได้ 2.2.2เขียนรปู สเ่ี หลย่ี มตามแบบได้ 2.2.2เขยี นรปู สามเหลี่ยมตามแบบได้ อยา่ งมีมมุ ชดั เจน อย่างมีมุมชัดเจน 2.2.3ร้อยวัสดทุ ่ีมีรูขนาดเสน้ ผ่าน 2.2.3ร้อยวสั ดุที่มีรขู นาดเส้นผา่ น ศนู ย์กลางขนาด 0.5เซนตเิ มตรได้ ศนู ยก์ ลางขนาด 0.25เซนติเมตรได้ มาตรฐานที่ 3 มีสุขภาพจติ ดี และมคี วามสขุ ตวั บ่งช้ี สภาพที่พงึ ประสงค์ 3.1 แสดงออกทางดา้ นอารมณ์ อายุ 4-5 ปี อายุ 5-6 ปี อย่างเหมาะสม 3.1.1 แสดงอารมณ์ ความร้สู ึก 3.1.1 แสดงอารมณ์ ความร้สู ึก ได้ตามสถานการณ์ ไดส้ อดคลอ้ งกับสถานการณ์อย่าง เหมาะสม 3.2 มคี วามรสู้ ึกท่ีดตี อ่ ตนเอง 3.2.1 กลา้ พดู กล้าแสดงออกอยา่ ง 3.2.1 กล้าพดู กลา้ แสดงออก และผู้อ่ืน เหมาะสมบางสถานการณ์ อยา่ งเหมาะสมบางสถานการณ์ 3.2.2 แสดงความพอใจในผลงาน 3.2.2 แสดงความพอใจใน และความสามารถของตนเอง ผลงานและความสามารถของ ตนเอง
๙หลกั สูตรสถานศึกษาปฐมวยั โรงเรียนบงึ เขายอ้ น (คงพนั ธุ์อุปถมั ภ)์ มาตรฐานที่ 4 ชื่นชมและแสดงออกทางศลิ ปะ ดนตรี และการเคลอ่ื นไหว ตวั บง่ ช้ี สภาพท่ีพงึ ประสงค์ อายุ 4-5 ปี อายุ 5-6 ปี 4.1 สนใจมีความสขุ และแสดงออก 4.1.1สนใจมคี วามสขุ และ 4.1.1สนใจมีความสขุ และ ผา่ นงานศลิ ปะ ดนตรี และการ แสดงออกผา่ นงานศิลปะ แสดงออกผา่ นงานศลิ ปะ เคล่ือนไหว 4.1.2สนใจ มีความสุขและ 4.1.2สนใจ มคี วามสขุ และ แสดงออกผา่ นเสียงเพลงดนตรี แสดงออกผ่านเสยี งเพลงดนตรี 4.1.3 สนใจ มคี วามสขุ และแสดง 4.1.3 สนใจ มคี วามสขุ และ ท่าทาง/เคลื่อนไหวประกอบเพลง แสดงท่าทาง/เคลื่อนไหวประกอบ จังหวะและดนตรี เพลง จังหวะและดนตรี มาตรฐานที่ 5 มีคุณธรรม จริยธรรม และมีจติ ใจทีด่ ีงาม ตัวบ่งช้ี สภาพท่ีพึงประสงค์ 5.1ซื่อสัตยส์ จุ ริต อายุ 4-5 ปี อายุ 5-6 ปี 5.1.1ขออนุญาตหรอื รอคอยเมอ่ื 5.1.1ขออนุญาตหรือรอคอยเม่ือ ตอ้ งการสง่ิ ของของผู้อน่ื เมื่อมีผู้ ตอ้ งการสิ่งของของผอู้ ่นื ด้วยตนเอง ชี้แนะ 5.2 มีความเมตตากรุณามนี ้าใจ 5.2.1 แสดงความรักเพ่อื นและมี 5.2.1 แสดงความรักเพอ่ื นและมี และชว่ ยเหลือแบง่ ปนั เมตตาสัตว์เลี้ยง เมตตาสตั วเ์ ลี้ยง 5.2.2 ช่วยเหลือและแบ่งปนั ผู้อ่ืน 5.2.2 ชว่ ยเหลือและแบ่งปนั ผู้อ่นื ไดเ้ ม่ือมีผู้ช้ีแนะ ได้เมื่อมผี ้ชู ้แี นะ 5.3 มคี วามเหน็ อกเหน็ ใจผู้อ่ืน 5.3.1 แสดงสหี น้าและท่าทาง 5.3.1 แสดงสีหนา้ และท่าทางรบั รู้ รับรูค้ วามรูส้ ึกผู้อนื่ ความรูส้ ึกผ้อู ืน่ อยา่ งสอดคล้องกับ สถานการณ์ 5.4 มีความรบั ผิดชอบ 5.4.1 ทางานท่ไี ดร้ บั มอบหมาย 5.4.1 ทางานทีไ่ ดร้ บั มอบหมายจน จนสาเรจ็ เมื่อมีผู้ชี้แนะ สาเร็จด้วยตนเอง
๑๐หลกั สูตรสถานศึกษาปฐมวยั โรงเรียนบึงเขายอ้ น (คงพนั ธุ์อุปถมั ภ)์ มาตรฐานท่ี 6 มที กั ษะชีวติ และปฏบิ ตั ติ นตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ตวั บง่ ช้ี สภาพท่ีพงึ ประสงค์ 6.1 ช่วยเหลือตนเองในการปฏบิ ตั ิ กิจวัตรประจาวนั อายุ 4-5 ปี อายุ 5-6 ปี 6.2 มีวินัยในตนเอง 6.1.1 แต่งตวั ดว้ ยตนเอง 6.1.1 แต่งตวั ดว้ ยตนเองได้อย่าง 6.3 ประหยัดและพอเพยี ง คล่องแคลว่ 6.1.2 รับประทานอาหารดว้ ย 6.1.2 รับประทานอาหารดว้ ย ตนเอง ตนเองอย่างถูกวิธี 6.1.3 ใชห้ อ้ งน้าห้องสว้ มดว้ ย 6.1.3 ใชแ้ ละทาความสะอาดหลงั ตนเอง ใชห้ อ้ งนา้ ห้องสว้ มด้วยตนเอง 6.2.1 เก็บของเลน่ ของใชเ้ ขา้ ท่ี 6.2.1 เกบ็ ของเล่นของใช้เขา้ ที่ ด้วยตนเอง อยา่ งเรียบร้อยดว้ ยตนเอง 6.2.2 เข้าแถวตามลาดับ 6.2.2 เข้าแถวตามลาดบั ก่อนหลงั ก่อนหลังไดด้ ว้ ยตนเอง ได้ด้วยตนเอง 6.3.1 ใชส้ ิง่ ของเคร่ืองใช้อย่าง 6.3.1 ใชส้ ิง่ ของเคร่ืองใช้อยา่ ง ประหยดั และพอเพียงเม่อื มีช้ีแนะ ประหยดั และพอเพียงด้วยตนเอง มาตรฐานท่ี 7 รกั ธรรมชาติ สง่ิ แวดล้อม วฒั นธรรมและความเปน็ ไทย ตวั บ่งชี้ สภาพท่ีพงึ ประสงค์ 7.1 ดแู ลรกั ษาธรรมชาตแิ ละ อายุ 4-5 ปี อายุ 5-6 ปี สิง่ แวดล้อม 7.1.1 มีสว่ นร่วมในการดแู ลรัก 7.1.1 มสี ่วนรว่ มในการดแู ลรัก ธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ มเม่อื มผี ู้ ธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ มเม่อื มีผู้ ชี้แนะ ช้แี นะ 7.1.2 ทิ้งขยะไดถ้ ูกที่ 7.1.2 ทิ้งขยะไดถ้ ูกท่ี 7.2 มีมารยาทและรักความ 7.2.1 ปฏบิ ตั ิตนตามมารยาท 7.2.1 ปฏบิ ตั ติ นตามมารยาทไทย เปน็ ไทย ไทยไดด้ ้วยตนเอง ได้ตามกาลเทศะ 7.2.2 กล่าวคาขอบคุณและขอ 7.2.2 กลา่ วคาขอบคุณและขอ โทษดว้ ยตนเอง โทษด้วยตนเอง 7.2.3 ยนื ตรงเมื่อได้ยนิ 7.2.3 ยืนตรงและรว่ มรอ้ งเพลง เสยี งเพลงชาตไิ ทยและเพลง ชาตไิ ทยและเพลงสรรเสริญพระ สรรเสรญิ พระบารมี บารมี
๑๑หลกั สูตรสถานศกึ ษาปฐมวยั โรงเรียนบึงเขายอ้ น (คงพนั ธุ์อุปถมั ภ)์ มาตรฐานที่ 8 อยูร่ ่วมกบั ผูอ้ ่ืนได้อยา่ งมีความสขุ และปฏิบัติตนเปน็ สมาชกิ ทด่ี ีของสังคม ในระบอบ ประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ตัวบง่ ช้ี สภาพทพ่ี งึ ประสงค์ อายุ 4-5 ปี อายุ 5-6 ปี 8.1 ยอมรับความเหมือนและความ 8.1.1 เล่นและทากิจกรรม 8.1.1 เลน่ และทากจิ กรรมรว่ มกบั แตกต่างระหว่างบุคคล ร่วมกบั เด็กท่ีแตกต่างไปจากตน เด็กที่แตกต่างไปจากตน 8.2 มีปฏิสมั พันธ์ทดี่ ีกับผอู้ น่ื 8.2.1 เลน่ และทางานร่วมกบั 8.2.1 เลน่ และทางานรว่ มกับเพื่อน เพ่อื นเป็นกลมุ่ อย่างมเี ป้าหมาย 8.2.2 ย้ิมทักทายหรือพดู คยุ กับ 8.2.2 ยมิ้ ทักทายและพูดคยุ กับ ผใู้ หญ่และบุคคลทค่ี ุ้นเคยได้ด้วย ผ้ใู หญแ่ ละบคุ คลทค่ี นุ้ เคยได้ ตนเอง เหมาะสมกับสถานการณ์ 8.3 ปฏบิ ัติตนเบอ้ื งตน้ ในการเปน็ 8.3.1 มสี ่วนร่วมสร้างขอ้ ตกลง 8.3.1 มีสว่ นร่วมสร้างขอ้ ตกลงและ สมาชกิ ท่ีดีของสังคม และปฏบิ ัติตามขอ้ ตกลงเมื่อมีผู้ ปฏบิ ตั ิตามข้อตกลงดว้ ยตนเอง ชีแ้ นะ 8.3.2 ปฏิบตั ติ นเป็นผนู้ าและผู้ 8.3.2 ปฏบิ ัตติ นเปน็ ผูน้ าและผู้ตาม ตามไดด้ ว้ ยตนเอง ได้เหมาะสมกบั สถานการณ์ 8.3.3 ประนปี ระนอมแก้ไข 8.3.3 ประนปี ระนอมแก้ไขปัญหา ปัญหาโดยปราศจากการใช้ความ โดยปราศจากการใช้ความรนุ แรง รุนแรงเม่อื มีผู้ช้ีแนะ ดว้ ยตนเอง
๑๒หลกั สูตรสถานศกึ ษาปฐมวยั โรงเรียนบึงเขายอ้ น (คงพนั ธุอ์ ุปถมั ภ)์ มาตรฐานท่ี 9 ใช้ภาษาส่ือสารได้เหมาะสมกบั วัย ตวั บ่งช้ี สภาพท่ีพงึ ประสงค์ 9.1 สนทนาโต้ตอบและ อายุ 4-5 ปี อายุ 5-6 ปี เล่าเรื่องให้ผอู้ ืน่ เขา้ ใจ 9.1.1 ฟังผอู้ น่ื พูดจนจบและ 9.1.1 ฟงั ผู้อ่นื พูดจนจบและ สนทนาโตต้ อบสอดคลอ้ งกับเรือ่ ง สนทนาโต้ตอบอย่างต่อเนื่อง ที่ฟงั เช่ือมโยงกับเรื่องท่ีฟัง 9.1.2 เลา่ เรื่องเปน็ ประโยคอยา่ ง 9.1.2 เล่าเป็นเร่ืองราวต่อเนื่องได้ ตอ่ เนอื่ ง 9.2 อ่านเขียนภาพ 9.2.1 อา่ นภาพ สัญลกั ษณ์ คา 9.2.1 อา่ นภาพ สญั ลกั ษณ์ คา และสัญลักษณไ์ ด้ พรอ้ มทัง้ ช้หี รือกวาดตามอง ด้วยการชห้ี รอื กวาดจุดเรมิ่ ต้นและ ขอ้ ความตามบรรทัด จุดจบของข้อความ 9.2.2 เขียนคล้ายตวั อักษร 9.2.2 เขยี นชอ่ื ของตนเองตามแบบ เขยี นขอ้ ความด้วยวธิ ที ่คี ิดขึน้ เอง
๑๓หลกั สูตรสถานศึกษาปฐมวยั โรงเรียนบึงเขายอ้ น (คงพนั ธุอ์ ุปถมั ภ)์ มาตรฐานท่ี 10 มคี วามสามารถในการคดิ ท่ีเป็นพืน้ ฐานในการเรียนรู้ ตวั บ่งชี้ สภาพท่ีพึงประสงค์ 10.1 มีความสามารถในการคิด อายุ 4-5 ปี อายุ 5-6 ปี รวบยอด 10.1.1 บอกลักษณะและ 10.1.1 บอกลกั ษณะ สว่ นประกอบของสิง่ ต่างๆจาก ส่วนประกอบการเปลีย่ นแปลงหรือ การสงั เกตโดยใชป้ ระสาทสมั ผัส ความสัมพันธ์ของสง่ิ ต่างๆจากการ สังเกตโดยใช้ประสาทสัมผสั 10.1.2 จับคแู่ ละเปรยี บเทียบ 10.1.2 จบั คแู่ ละเปรียบเทียบ ความแตกต่างหรือความเหมือน ความแตกตา่ งและความเหมือนของ ของสิ่งตา่ งๆโดยใชล้ กั ษณะที่ สง่ิ ตา่ งๆโดยใช้ลกั ษณะทสี่ งั เกตพบ สงั เกตพบเพียงลักษณะเดยี ว 2 ลกั ษณะขน้ึ ไป 10.1.3 จาแนกและจัดกล่มุ ส่งิ 10.1.3 จาแนกและจัดกลมุ่ ส่งิ ต่างๆโดยใช้อยา่ งน้อย1 ลักษณะ ตา่ งๆโดยใช้ตั้งแต่ 2 ลกั ษณะขึ้นไป เป็นเกณฑ์ เปน็ เกณฑ์ 10.1.4 เรียงลาดบั ส่ิงของหรือ 10.1.4 เรยี งลาดับสิ่งของและ เหตุการณ์อย่างน้อย 4 ลาดบั เหตุการณ์อย่างน้อย 5 ลาดับ 10.2 มคี วามสามารถในการคดิ 10.2.1 ระบุสาเหตุหรือผลที่ 10.2.1 อธบิ ายเช่ือมโยงสาเหตุ เชงิ เหตผุ ล เกดิ ขึ้นในเหตุการณห์ รือการ และผลทีเ่ กิดข้นึ ในเหตุการณ์หรอื กระทาเมอ่ื มผี ู้ช้ีแนะ การกระทาดว้ ยตนเอง 10.2.2 คาดเดาหรือคาดคะเน 10.2.2 คาดคะเนสงิ่ ทอี่ าจจะ ส่ิงที่อาจจะเกิดขน้ึ หรือมีสว่ นร่วม เกิดขึ้นและมสี ่วนร่วมในการลง ในการลงความเหน็ จากข้อมลู ความเหน็ จากข้อมลู อยา่ งมีเหตุผล 10.3 มคี วามสามารถในการคิด 10.3.1 ตดั สินใจในเรื่องง่ายๆ 10.3.1 ตดั สินใจในเร่ืองงา่ ยๆและ แก้ปัญหาและตัดสินใจ และเร่มิ เรยี นรผู้ ลที่เกิดขึ้น ยอมรบั ผลท่ีเกิดขน้ึ 10.3.2 ระบุปญั หาและ 10.3.2 ระบปุ ัญหาสรา้ งทางเลือก แก้ปญั หาโดยลองผดิ ลองถูก และเลือกวิธีแก้ปญั หา
๑๔หลกั สูตรสถานศึกษาปฐมวยั โรงเรียนบงึ เขายอ้ น (คงพนั ธุ์อุปถมั ภ)์ มาตรฐานท1่ี 1 มีจนิ ตนาการและความคดิ สร้างสรรค์ ตัวบ่งช้ี สภาพทพี่ ึงประสงค์ 11.1 ทางานศลิ ปะตาม อายุ 4-5 ปี อายุ 5-6 ปี จินตนาการและ ความคดิ สรา้ งสรรค์ 11.1.1 สร้างผลงานศลิ ปะเพ่ือ 11.1.1 สรา้ งผลงานศิลปะเพื่อ ส่อื สารความคิด ความรูส้ ึกของ ส่ือสารความคดิ ความรสู้ กึ ของ ตนเองโดยมีการดดั แปลงและ ตนเองโดยมีการดัดแปลงและแปลก แปลกใหมจ่ ากเดิมหรือมี ใหมจ่ ากเดิมหรือมรี ายละเอยี ด รายละเอียดเพิ่มขึ้น เพิ่มขึน้ 11.2 แสดงทา่ ทาง/เคลือ่ นไหว 11.2.1 เคลอื่ นไหวท่าทางเพื่อ 11.2.1 เคลอื่ นไหวท่าทางเพ่ือ ตามจินตนาการ สอ่ื สารความคดิ ความร้สู กึ ของ ส่ือสารความคิด ความรู้สึกของ อย่างสร้างสรรค์ ตนเองอยา่ งหลากหลายหรือ ตนเองอยา่ งหลากหลายและแปลก แปลกใหม่ ใหม่ มาตรฐานที่ 12 มเี จตคตทิ ด่ี ีตอ่ การเรยี นรู้ และมีความสามารถในการแสวงหาความรไู้ ด้เหมาะสมกับวยั ตวั บ่งช้ี สภาพทพ่ี งึ ประสงค์ 12.1 มีเจตคตทิ ด่ี ีต่อการเรยี นรู้ อายุ 4-5 ปี อายุ 5-6 ปี 12.1.1 สนใจซักถามเกย่ี วกับ 12.1.1 สนใจหยบิ หนังสอื มาอ่าน สญั ลกั ษณ์หรือตวั หนังสอื ที่พบ และเขียนสื่อความคิดด้วยตนเอง เหน็ เปน็ ประจาอย่างต่อเนื่อง 12.1.2 กระตือรือร้นในการเขา้ 12.1.2 กระตอื รือรน้ ในการร่วม ร่วมกจิ กรรม กจิ กรรมตง้ั แตต่ ้นจนจบ 12.2 มีความสามารถ 12.2.1 ค้นหาคาตอบของข้อ 12.2.1 ค้นหาคาตอบของข้อสงสยั ในการแสวงหาความรู้ สงสยั ต่างๆตามวธิ ีการของตนเอง ต่างๆตามโดยใชว้ ธิ ีการท่ี หลากหลายด้วยตนเอง 12.2.2 ใช้ประโยคคาถามว่า 12.2.2 ใช้ประโยคคาถามวา่ “ทไ่ี หน” “ทาไม” ในการ “เมอื่ ไหร่” “อย่างไร” ในการ ค้นหาคาตอบ คน้ หาคาตอบ
๑๕หลกั สูตรสถานศึกษาปฐมวยั โรงเรียนบงึ เขายอ้ น (คงพนั ธุ์อุปถมั ภ)์ โครงสร้างหลกั สตู ร โรงเรียนบงึ เขาย้อน (คงพนั ธอุ์ ุปถัมภ)์ ได้กาหนดการจดั เวลาเรียนของหลักสตู รสถานศึกษาปฐมวยั และสาระการเรยี นรู้ เพื่อใหก้ ารศึกษาเปน็ ไปตามหลักการ จุดหมายที่กาหนด สถานศึกษาได้กาหนด โครงสรา้ งดังนี้ โครงสร้างหลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวยั พุทธศกั ราช 2560 ช่วงอายุ อายุ 4-6 ปี สาระการเรียนรู้ ประสบการณส์ าคัญ สาระทค่ี วรเรยี นรู้ ดา้ นรา่ งกาย เรอ่ื งราวเก่ียวกบั ตวั เด็ก ดา้ นอารมณ์และจิตใจ เรื่องราวเกีย่ วกับบุคคล ดา้ นสงั คม และสถานท่ีแวดลอ้ มเด็ก ดา้ นสตปิ ัญญา ธรรมชาตริ อบตวั ส่ิงตา่ งๆรอบตวั ระยะเวลาเรยี น เวลาเรยี นไมน่ ้อยกวา่ 180 วนั ต่อ 1 ปกี ารศึกษา 7. การจดั เวลาเรียน โรงเรียนบึงเขาย้อน (คงพันธอุ์ ุปถมั ภ์) จดั ประสบการณ์การเรียนรใู้ ห้กับเด็กปฐมวยั กลุม่ อายุ ๔- ๖ ปี ตามหลักสตู รการศกึ ษาปฐมวยั โดยแบ่งเปน็ ๒ ช่วงชั้น ไดแ้ ก่ ช้ันอนุบาล ๒ อายุ ๔-๕ ปี, ชนั้ อนุบาล ๓ อายุ ๕-๖ ปี จัดการศึกษาเป็นรายปี ปกี ารศึกษาละ ๒ ภาคเรยี น ดังนี้ ภาคเรียนท่ี ๑ ระหว่างวันท่ี ๑๖ พฤษภาคม ถึง ๑๐ ตุลาคม ภาคเรยี นท่ี ๒ ระหวา่ ง ๑ พฤศจิกายน ถงึ ๓๑ มีนาคม สาระการเรยี นรู้ สาระการเรียนรู้เปน็ ส่ือกลางในการจดั ประสบการณ์การเรยี นรู้ให้กับเดก็ เพ่ือสง่ เสริมพฒั นาการเด็ก ทกุ ดา้ น ใหเ้ ป็นไปตามจุดหมายของหลักสตู รท่กี าหนด สาระการเรียนรู้ ประกอบดว้ ย ประสบการณ์สาคญั และสาระที่ควรเรยี นรู้ ดงั น้ี 1. ประสบการณส์ าคัญ ประสบการณ์สาคญั เป็นแนวทางสาหรับนาไปใช้ในการออกแบบการจดั ประสบการณ์ให้เดก็ เรยี นรู้ ลงมอื ปฏบิ ัติ และไดร้ ับการสง่ เสรมิ พัฒนาการครอบคลุมทุกด้าน ดงั น้ี 1.1 ประสบการณส์ าคญั ทสี่ ่งเสรมิ พัฒนาการด้านรา่ งกาย เปน็ การสนบั สนนุ ใหเ้ ด็กได้มี โอกาสพฒั นาการใชก้ ลา้ มเน้อื ใหญ่ กล้ามเนื้อเล็ก และการประสานสมั พนั ธร์ ะหว่างกล้ามเนอ้ื และระบบ ประสาทในการทากิจวัตรประจาวันหรอื ทากิจกรรมต่างๆ และสนับสนนุ ใหเ้ ดก็ มโี อกาสดูแลสุขภาพและ สุขอนามยั สุขนสิ ยั และการรักษาความปลอดภยั ดังน้ี
๑๖หลกั สูตรสถานศกึ ษาปฐมวยั โรงเรียนบึงเขายอ้ น (คงพนั ธุอ์ ุปถมั ภ)์ ๑.๑.๑ การใชก้ ล้ามเน้อื ใหญ่ ๑.๑.๑.๑ การเคลือ่ นไหวอยู่กับที่ ๑.๑.๑.๒ การเคล่ือนไหวเคลื่อนที่ ๑.๑.๑.๓ การเคลือ่ นไหวพร้อมวัสดุอุปกรณ์ ๑.๑.๑.๔ การเคลอ่ื นไหวทใ่ี ช้การประสานสัมพันธข์ องการใช้กล้ามเนื้อมัดใหญใ่ นการขว้าง การจบั การโยน การเตะ ๑.๑.๑.๕ การเลน่ เครื่องเล่นสนามอย่างอสิ ระ ๑.๑.๒ การใช้กล้ามเนื้อเล็ก ๑.๑.๒.๑ การเลน่ เครอ่ื งเลน่ สัมผสั และการสร้างจากแท่งไม้ บล็อก ๑.๑.๒.๒ การเขยี นภาพและการเล่นกับสี ๑.๑.๒.๓ การปั้น ๑.๑.๒.๔ การประดิษฐส์ ิง่ ตา่ งๆด้วย เศษวสั ดุ ๑.๑.๒.๕ การหยบิ จบั การใชก้ รรไกร การฉกี การตัด การปะ และการรอ้ ยวัสดุ ๑.๑.๓ การรกั ษาสขุ ภาพอนามัยส่วนตัว ๑.๑.๓.๑ การปฏิบัตติ นตามสุขอนามัย สขุ นสิ ัยทด่ี ีในกจิ วัตรประจาวนั ๑.๑.๔ การรกั ษาความปลอดภัย ๑.๑.๔.๑ การปฏบิ ตั ิตนใหป้ ลอดภยั ในกจิ วตั รประจาวนั ๑.๑.๔.๒ การฟงั นทิ าน เร่อื งราว เหตกุ ารณ์ เกยี่ วกบั การป้องกันและรักษาความปลอดภัย ๑.๑.๔.๓ การเลน่ เคร่ืองเลน่ อยา่ งปลอดภัย ๑.๑.๔.๔ การเล่นบทบาทสมมตเิ หตกุ ารณต์ ่างๆ ๑.๑.๕ การตระหนกั รู้เก่ียวกับรา่ งกายตนเอง ๑.๑.๕.๑ การเคลื่อนไหวเพ่ือควบคมุ ตนเองไปในทิศทาง ระดับ และพนื้ ที่ ๑.๑.๕.๒ การเคลื่อนไหวขา้ มสิง่ กดี ขวาง ๑.๒ ประสบการณส์ าคัญท่ีส่งเสรมิ พัฒนาการดา้ นอารมณ์ จิตใจ เปน็ การสนับสนนุ ให้เดก็ ได้ แสดงออกทางอารมณแ์ ละความรู้สึกของตนเองทเี่ หมาะสมกบั วัย ตระหนกั ถึงลกั ษณะพเิ ศษเฉพาะที่เป็น อตั ลกั ษณ์ ความเปน็ ตวั ของตัวเอง มีความสุข ร่าเริงแจม่ ใส การเหน็ อกเหน็ ใจผ้อู ื่นได้พฒั นาคุณธรรม จรยิ ธรรม สนุ ทรียภาพ ความรสู้ กึ ท่ีดีต่อตนเอง และความเช่ือมน่ั ในตนเองขณะปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ ดังน้ี ๑.๒.๑ สุนทรียภาพดนตรี ๑.๒.๑.๑ การฟังเพลง การรอ้ งเพลง และการแสดงปฏิกิริยาโตต้ อบเสียงดนตรี ๑.๒.๑.๒ การเลน่ เคร่อื งเลน่ ดนตรปี ระกอบจงั หวะ 1.2.1.3 การเคลือ่ นไหวตามเสียงเพลง/ดนตรี ๑.๒.๑.4 การเลน่ บทบาทสมมติ ๑.๒.๑.5 การทากจิ กรรมศลิ ปะต่างๆ ๑.๒.๑.6 การสรา้ งสรรค์สง่ิ สวยงาม
๑๗หลกั สูตรสถานศึกษาปฐมวยั โรงเรียนบึงเขายอ้ น (คงพนั ธุอ์ ุปถมั ภ)์ ๑.๒.๒ การเล่น ๑.๒.๒.๑ การเล่นอสิ ระ ๑.๒.๒.๒ การเล่นรายบุคคล กล่มุ ย่อย กลุ่มใหญ่ ๑.๒.๒.๓ การเลน่ ตามมุมประสบการณ์ ๑.๒.๒.๔ การเล่นนอกห้องเรียน ๑.๒.๓ คุณธรรม จริยธรรม ๑.๒.๓.๑ การปฏิบตั ิตนตามหลักศาสนาทีน่ บั ถอื ๑.๒.๓.๒ การฟงั นทิ านเกย่ี วกับคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ๑.๒.๓.๓ การร่วมสนทนาแลกเปลีย่ นความคิดเหน็ เชิงจรยิ ธรรม ๑.๒.๔ การแสดงออกทางอารมณ์ ๑.๒.๔.๑ การสะท้อนความรู้สกึ ของตนเองและผู้อ่นื ๑.๒.๔.๒ การเลน่ บทบาทสมมติ ๑.๒.๔.๓ การเคลื่อนไหวตามเสียงเพลง/ดนตรี ๑.๒.๔.๔การรอ้ งเพลง ๑.๒.๔.๕ การทางานศิลปะ ๑.๒.๕ การมอี ัตลกั ษณเ์ ฉพาะตนและเชอื่ ว่าตนเองมีความสามารถ ๑.๒.๕.๑ การปฏิบัติกิจกรรมต่างๆตามความสามารถของตนเอง ๑.๒.๖ การเหน็ อกเห็นใจผู้อ่ืน ๑.๒.๖.๑ การแสดงความยนิ ดีเมือ่ ผ้อู ื่นมคี วามสุข เหน็ อกเห็นใจเมอื่ ผู้อน่ื เศรา้ หรือเสยี ใจ และ การช่วยเหลือปลอบโยนเม่ือผู้อ่นื ได้รับบาดเจ็บ ๑.๓ ประสบการณส์ าคัญทีส่ ่งเสรมิ พัฒนาการด้านสังคม เปน็ การสนบั สนนุ ให้เดก็ ได้มีโอกาส ปฏิสมั พนั ธก์ บั บคุ ลและส่งิ แวดลอ้ มตา่ งๆรอบตัวจากการปฏิบัติกจิ กรรมต่างๆผา่ นการเรียนร้ทู างสงั คม เชน่ การเลน่ การทางานกบั ผู้อื่น การปฏบิ ตั ิกิจวตั รประจาวัน การแก้ปัญหาข้อขัดแยง้ ตา่ งๆ ๑.๓.๑ การปฏิบัติกิจวัตรประจาวัน ๑.๓.๑.๑ การชว่ ยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวนั ๑.๓.๑.๒ การปฏิบัติตนตามแนวทางหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๑.๓.๒ การดูแลรกั ษาธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ ม ๑.๓.๒.๑ การมีสว่ นรว่ มรับผิดชอบดูแลรกั ษาสิ่งแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกหอ้ งเรียน ๑.๓.๒.๒ การทางานศลิ ปะทใ่ี ชว้ ัสดุหรอื สง่ิ ของท่ีใช้แลว้ มาใชซ้ า้ หรือแปรรูปแล้วนากลบั มา ใชใ้ หม่ ๑.๓.๒.๓ การเพาะปลกู และดูแลตน้ ไม้ ๑.๓.๒.๔ การเลี้ยงสตั ว์ ๑.๓.๒.๕ การสนทนาข่าวและเหตกุ ารณ์ท่เี กยี่ วกับธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อมในชีวติ ประจาวนั
๑๘หลกั สูตรสถานศึกษาปฐมวยั โรงเรียนบึงเขายอ้ น (คงพนั ธุ์อุปถมั ภ)์ ๑.๓.๓ การปฏบิ ัติตามวัฒนธรรมท้องถ่ินท่ีอาศัยและความเปน็ ไทย ๑.๓.๓.๑ การเลน่ บทบาทสมมุตกิ ารปฏิบัตติ นในความเปน็ คนไทย ๑.๓.๓.๒ การปฏิบัติตนตามวฒั นธรรมท้องถ่ินทีอ่ าศัยและประเพณไี ทย ๑.๓.๓.๓ การประกอบอาหารไทย ๑.๓.๓.๔ การศึกษานอกสถานที่ ๑.๓.๓.๕ การละเลน่ พ้นื บา้ นของไทย ๑.๓.๔ การมีปฏสิ ัมพนั ธ์ มวี ินยั มีสวนร่วม และบทบาทสมาชิกของสังคม ๑.๓.๔.๑ การรว่ มกาหนดขอ้ ตกลงของหอ้ งเรียน ๑.๓.๔.๒ การปฏิบตั ิตนเปน็ สมาชทิ ่ีดขี องหอ้ งเรยี น ๑.๓.๔.๓ การใหค้ วามรว่ มมือในการปฏิบัตกิ จิ กรรมตา่ ง ๆ ๑.๓.๔.๔ การดแู ลหอ้ งเรยี นร่วมกัน ๑.๓.๔.๕ การร่วมกจิ กรรมวันสาคัญ ๑.๓.๕ การเล่นแบบรว่ มมอื ร่วมใจ ๑.๓.๕.๑ การรว่ มสนทนาและแลกเปล่ียนความคิดเหน็ ๑.๓.๕.๒ การเลน่ และทางานรว่ มกับผู้อืน่ ๑.๓.๕.๓ การทาศิลปะแบบร่วมมือ ๑.๓.๖ การแก้ปัญหาความขดั แยง้ ๑.๓.๖.๑ การมสี ว่ นรว่ มในการเลอื กวิธีการแก้ปญั หา ๑.๓.๖.๒ การมีสว่ นร่วมในการแก้ปญั หาความขดั แย้ง ๑.๓.๗ การยอมรบั ในความเหมอื นและความแตกตา่ งระหว่างบคุ คล ๑.๓.๗.๑ การเล่นหรือ ทากิจกรรมรว่ มกบั กลมุ่ เพื่อน ๑.๔ ประสบการณ์สาคัญที่ส่งเสริมพัฒนาการด้านสตปิ ญั ญา เปน็ การสนับสนนุ ให้เด็กไดร้ ับรู้ เรียนรสู้ ิง่ ตา่ งๆรอบตัวผ่านการมีปฏิสมั พันธก์ บั สิ่งแวดลอ้ ม บคุ คลและสือ่ ตา่ งๆ ดว้ ยกระบวนการเรียนรูท้ ห่ี ลากหลาย เพื่อเปิดโอกาสให้เดก็ พัฒนาการใช้ภาษา จนิ ตนาการความคิดสรา้ งสรรค์การแก้ปัญหา การคดิ เชงิ เหตผุ ล และ การคดิ รวบยอดเกยี่ วกับส่ิงต่างๆ รอบตวั และมคี วามคิดรวบยอดทางคณิตศาสตรท์ ่ีเป็นพื้นฐานของการเรยี นรู้ ในระดับที่สูงข้ึนต่อไป ๑.๔.๑ การใชภ้ าษา ๑.๔.๑.๑ การฟงั เสียงตา่ งๆ ในสงิ่ แวดล้อม ๑.๔.๑.๒ การฟังและปฏบิ ตั ติ ามคาแนะนา ๑.๔.๑.๓ การฟังเพลง นทิ าน คาคลอ้ งจอง บทร้อยกรงหรอื เรอื่ งราวต่างๆ ๑.๔.๑.๔ การแสดงความคิด ความร้สู กึ และความต้องการ ๑.๔.๑.๕ การพดู กบั ผู้อืน่ เกยี่ วกบั ประสบการณข์ องตนเอง หรอื พดู เลา่ เร่ืองราวเกี่ยวกับ ตนเอง ๑.๔.๑.๖ การพูดอธบิ ายเกีย่ วกบั สิ่งของ เหตุการณ์ และความสมั พันธข์ องสง่ิ ตา่ งๆ ๑.๔.๑.๗ การพดู อยา่ งสรา้ งสรรคใ์ นการเลน่ และการกระทาตา่ งๆ ๑.๔.๑.๘ การรอจังหวะทีเ่ หมาะสมในการพดู ๑.๔.๑.๙ การพูดเรยี งลาดบั เพื่อใชใ้ นการส่ือสาร
๑๙หลกั สูตรสถานศึกษาปฐมวยั โรงเรียนบงึ เขายอ้ น (คงพนั ธุ์อุปถมั ภ)์ ๑.๔.๑.๑๐ การอ่านหนงั สอื ภาพ นทิ าน หลากหลายประเภท/รูปแบบ ๑.๔.๑.๑๑ การอา่ นอสิ ระตามลาพงั การอ่านรว่ มกนั การอ่านโดยมผี ูช้ ้แี นะ ๑.๔.๑.๑๒ การเหน็ แบบอย่างของการอ่านทถ่ี ูกตอ้ ง ๑.๔.๑.๑๓ การสังเกตทศิ ทางการอ่านตวั อักษร คา และข้อความ ๑.๔.๑.๑๔ การอา่ นและชข้ี ้อความ โดยกวาดสายตาตามบรรทัดจากซา้ ยไปขวาจากบนลงลา่ ง ๑.๔.๑.๑๕ การสังเกตตวั อักษรในชอื่ ของตน หรือคาคุ้นเคย ๑.๔.๑.๑๖ การสงั เกตตัวอักษรท่ีประกอบเปน็ คาผ่านการอา่ นหรอื เขียนของผูใ้ หญ่ ๑.๔.๑.๑๗ การคาดเดาคา วลี หรอื ประโยคที่มโี ครงสรา้ งซา้ ๆกันจากนิทานเพลงคาคล้องจอง ๑.๔.๑.๑๘ การเลน่ เกมทางภาษา ๑.๔.๑.๑๙ การเหน็ แบบอย่างของการเขยี นทถ่ี กู ต้อง ๑.๔.๑.๒๐ การเขยี นรว่ มกันตามโอกาส และการเขียนอิสระ ๑.๔.๑.๒๑ การเขียนคาทีม่ ีความหมายกับตวั เดก็ /คาคุ้นเคย ๑.๔.๑.๒๒ การคิดสะกดคาและเขียนเพื่อส่ือความหมายดว้ ยตนเองอย่างอิสระ 1.4.1.23 การเขียนในหลายรปู แบบผ่านประสบการณท์ ่สี ่ือความหมายต่อเด็ก ๑.๔.๒ การคิดรวบยอด การคิดเชิงเหตุผล การตัดสนิ ใจและแกป้ ัญหา ๑.๔.๒.๑ การสังเกตลักษณะ ส่วนประกอบ การเปลีย่ นแปลง และความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆ โดยใช้ประสาทสมั ผสั อยา่ งเหมาะสม ๑.๔.๒.๒ การสงั เกตส่ิงต่างๆ และสถานท่จี ากมุมมองทีต่ ่างกัน ๑.๔.๒.๓ การบอกและแสดงตาแหน่ง ทิศทาง และระยะทางของสง่ิ ตา่ งๆด้วยการกระทา ภาพวาด ภาพถ่าย และรูปภาพ ๑.๔.๒.๔ การเล่นกบั ส่ือต่างๆทเ่ี ปน็ ทรงกลม ทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก ทรงกระบอก กรวย ๑.๔.๒.๕ การคัดแยก การจัดกลุ่ม และการจาแนกสิ่งตา่ งๆตามลกั ษณะและรปู รา่ ง รปู ทรง ๑.๔.๒.๖ การตอ่ ของชิ้นเล็กเตมิ ในชิน้ ใหญ่ให้สมบูรณ์ และการแยกชิน้ ส่วน ๑.๔.๒.๗ การทาซา้ การต่อเติม และการสรา้ งแบบรูป ๑.๔.๒.๘ การนบั และแสดงจานวนของสิ่งตา่ งๆในชวี ิตประจาวัน ๑.๔.๒.๙ การเปรียบเทยี บและเรยี งลาดับจานวนของส่ิงต่างๆ ๑.๔.๒.๑๐ การรวมและการแยกสง่ิ ต่างๆ ๑.๔.๒.๑๑ การบอกและแสดงอนั ดับท่ีของสงิ่ ต่างๆ ๑.๔.๒.๑๒ การชั่ง ตวง วดั สิ่งต่างๆโดยใช้เครื่องมือและหน่วยที่ไมใ่ ช่หน่วยมาตรฐาน ๑.๔.๒.๑๓ การจบั คู่ การเปรียบเทียบ และการเรยี งลาดับ ส่งิ ต่างๆ ตามลักษณะความยาว/ ความสูงนา้ หนัก ปรมิ าตร ๑.๔.๒.๑๔ การบอกและเรียงลาดบั กิจกรรมหรือเหตกู ารณ์ตามช่วงเวลา ๑.๔.๒.๑๕ การใชภ้ าษาทางคณติ ศาสตรก์ บั เหตกุ ารณ์ในชวี ิตประจาวัน ๑.๔.๒.๑๖ การอธิบายเชื่อมโยงสาเหตุและผลที่เกิดขน้ึ ในเหตุการณ์หรือการกระทา ๑.๔.๒.๑๗ การคาดเดาหรือการคาดคะเนส่งิ ที่อาจเกิดขึน้ อยา่ งมเี หตุผล ๑.๔.๒.๑๘ การมสี ว่ นร่วมในการลงความเห็นจากข้อมูลอย่างมเี หตผุ ล ๑.๔.๒.๑๙ การตดั สนิ ใจและมีสว่ นรว่ มในกระบวนการแก้ปัญหา
๒๐หลกั สูตรสถานศึกษาปฐมวยั โรงเรียนบงึ เขายอ้ น (คงพนั ธุ์อุปถมั ภ)์ ๑.๔.๓ จินตนาการและความคิดสรา้ งสรรค์ ๑.๔.๓.๑ การรับรู้ และแสดงความคิดความรสู้ กึ ผา่ นส่ือ วัสดุ ของเล่น และชิ้นงาน ๑.๔.๓.๒ การแสดงความคิดสร้างสรรคผ์ ่านภาษา ทา่ ทาง การเคล่อื นไหว และศิลปะ ๑.๔.๓.๓ การสรา้ งสรรคช์ ้ินงานโดยใช้รปู ร่างรปู ทรงจากวสั ดทุ ่ีหลากหลาย ๑.๔.๔ เจตคตทิ ่ีดตี ่อการเรยี นรแู้ ละการแสวงหาความรู้ ๑.๔.๔.๑ การสารวจสงิ่ ต่างๆ และแหลง่ เรียนรรู้ อบตัว ๑.๔.๔.๒ การตง้ั คาถามในเร่อื งท่ีสนใจ ๑.๔.๔.๓ การสืบเสาะหาความรูเ้ พ่ือคน้ หาคาตอบของข้อสงสยั ตา่ งๆ ๑.๔.๔.๔ การมสี ว่ นร่วมในการรวบรวมข้อมูลและนาเสนอข้อมูลจากการสืบเสาะหาความรใู้ น รปู แบบตา่ งๆและแผนภมู ิอย่างงา่ ย สาระทค่ี วรเรยี นรู้ สาระที่ควรเรยี นรู้ เปน็ เร่ืองราวรอบตัวเด็กทนี่ ามาเป็นสื่อกลางในการจัดกิจกรรมให้เดก็ เกิดแนวคดิ หลงั จากนาสาระการเรียนรนู้ ้ัน ๆ มาจดั ประสบการณ์ใหเ้ ด็ก เพื่อให้บรรลจุ ัดหมายท่ีกาหนดไวท้ ัง้ น้ี ไม่เนน้ การ ท่องจาเนื้อหา ครสู ามารถกาหนดรายละเอียดขึ้นเองใหส้ อดคล้องกับวยั ความตอ้ งการ และความสนใจของเด็ก โดยให้เดก็ ได้เรยี นรู้ผา่ นประสบการณ์สาคัญ ทัง้ น้ี อาจยืดหยนุ่ เนอ้ื หาได้โดยคานงึ ถึงประสบการณแ์ ละ สิ่งแวดลอ้ มในชวี ิตจริงของเด็ก ดงั นี้ ๒.๑ เรอื่ งราวเก่ียวกับตัวเด็ก 1. เด็กควรเรยี นรู้ ชือ่ นามสกุล รูปรา่ งหนา้ ตา รจู้ กั อวยั วะต่างๆ 2. เดก็ ควรเรียนรู้วธิ รี ะวังรักษาร่างกายใหส้ ะอาด 3. เด็กควรเรียนรู้การมสี ขุ ภาพอนามัยทด่ี ี 4. เด็กควรเรยี นรู้การรับประทานอาหารที่เปน็ ประโยชน์ 5. เด็กควรเรยี นรู้การรักษาความปลอดภัยของตนเอง 6. เดก็ ควรเรยี นรู้การปฏบิ ัตติ ่อผอู้ ่นื อยา่ งปลอดภยั 7. เดก็ ควรเรียนรู้การรูจ้ กั ประวัติความเป็นมาของตนเองและครอบครวั 8. เดก็ ควรเรียนรู้การปฏบิ ตั ิตนเป็นสมาชิกท่ีดขี องครอบครัวและโรงเรียน 9. เด็กควรเรียนรู้การเคารพสทิ ธิของตนเองและผอู้ ่ืน 10.เดก็ ควรเรยี นรู้การรจู้ กั แสดงความคดิ เหน็ ของตนเองและรับฟังความคิดเห็นของผู้อ่นื 11.เดก็ ควรเรยี นรู้การกากบั ตนเอง การเล่นและทาสิง่ ต่างๆด้วยตนเองตามลาพังหรือกบั ผู้อ่นื 12 เด็กควรเรยี นรู้การตระหนกั รู้เกยี่ วกับตนเอง 13.เด็กควรเรียนรู้ความภาคภูมิใจในตนเอง 14.เด็กควรเรียนรู้การสะท้อนการรับรู้อารมณ์และความรู้สึกของตนเองและผู้อื่น 15.เดก็ ควรเรยี นรู้การแสดงออกทางอารมณ์และความรสู้ ึกอยา่ งเหมาะสม 16.เด็กควรเรียนรู้การแสดงมารยาททีด่ ี 17. เดก็ ควรเรยี นรู้การมคี ณุ ธรรมจริยธรรม 18. ประโยชนข์ องการนอน
๒๑หลกั สูตรสถานศึกษาปฐมวยั โรงเรียนบงึ เขายอ้ น (คงพนั ธุอ์ ุปถมั ภ)์ 19. ประโยชน์ของการออกกาลงั กาย 20. การเดนิ ต่อเทา้ ตามแนวเสน้ ตรง 21. สญั ลกั ษณ์ประจาตัวเอง ๒.๒ เร่ืองราวเกี่ยวกับบุคคลและสถานทีแ่ วดลอ้ มเดก็ 1. เด็กควรเรยี นรเู้ ก่ียวกับครอบครวั สถานศึกษา ชุมชน และบุคคลตา่ งๆ ท่ีเด็กตอ้ งเก่ยี วข้อง หรือใกลช้ ิด 2. เด็กควรเรยี นรู้มปี ฏิสมั พนั ธ์ในชวี ิตประจาวัน 3. เด็กควรเรยี นรู้สถานท่ีสาคัญ วนั สาคัญ 4. เด็กควรเรยี นรู้อาชีพของคนในชุมชน 5. เดก็ ควรเรียนรู้ศาสนา แหล่งวัฒนาธรรมในชุมชน 6. เด็กควรเรียนรู้สญั ลักษณส์ าคัญของชาติไทย 7. เด็กควรเรียนรู้การปฏบิ ตั ิตามวฒั นธรรมทอ้ งถ่ินและความเปน็ ไทย หรือแหล่งเรยี นรจู้ าก ภูมิปัญญาท้องถ่นิ อนื่ ๆ 8. การเลน่ และทากจิ กรรมกับผูอ้ ่ืน 9. ความปลอดภัยในการเลน่ 10. การทางานรว่ มกับผอู้ ื่น 11. รจู้ ักการอดทนรอคอย 12. การทกั ทายผู้ใหญ่ เพ่ือน นอ้ ง 13. การเปน็ ผู้นา ผูต้ าม ๒.๓ ธรรมชาตริ อบตัว 1. เด็กควรเรยี นรู้เกีย่ วกับชอื่ ลกั ษณะ สว่ นประกอบ การเปล่ยี นแปลงและความสัมพันธข์ อง มนุษย์ สัตว์ พืช 2. เด็กควรเรยี นรู้เก่ียวกบั ดิน นา้ ทอ้ งฟ้า สภาพอากาศ ภัยธรรมชาติ 3. เด็กควรเรียนรเู้ ก่ียวกบั แรง และพลังงานในชวี ิตประจาวันท่แี วดล้อมเด็ก 4. เด็กควรเรยี นรู้การอนรุ กั ษ์สิ่งแวดลอ้ มและการรกั ษาสาธารณสมบัติ ๒.๔ ส่งิ ตา่ งๆรอบตวั เด็ก 1. เด็กควรเรียนรูเ้ กีย่ วกับการใชภ้ าษาเพ่ือสื่อความหมายในชีวติ ประจาวนั ความรู้พนื้ ฐาน เก่ยี วกบั การฟงั และพูด 2. เด็กควรเรยี นร้เู รื่องการใช้หนังสอื และตัวหนังสือ 3. เด็กควรเรยี นร้จู กั ช่ือ ลกั ษณะ สี ผิวสมั ผัส 4. เดก็ ควรเรยี นรู้ขนาด รปู ร่าง รูปทรง ปรมิ าตร น้าหนกั จานวน ส่วนประกอบ 5. การเปล่ยี นแปลงและความสมั พันธข์ องสง่ิ ต่างๆรอบตวั 6. เด็กควรเรยี นรเู้ รื่อง เวลา ประโยชน์และการใช้งาน 7. เดก็ ควรเรียนรู้เร่ือง เงิน ประโยชน์และการใช้งาน 8. เด็กควรเรยี นรู้การเลือกใช้สิง่ ของเครื่องใช้
๒๒หลกั สูตรสถานศึกษาปฐมวยั โรงเรียนบงึ เขายอ้ น (คงพนั ธุ์อุปถมั ภ)์ 9. เด็กควรเรยี นรู้เร่ืองยานพาหนะ การคมนาคม 10. เดก็ ควรเรยี นรูเ้ รอื่ งเทคโนโลยีและการสื่อสารตา่ งๆ ทีใ่ ชอ้ ยใู่ นชีวิตประจาวันอย่าง ประหยัด ปลอดภัยและรักษาส่ิงแวดลอ้ ม 11. เด็กควรรู้จกั สี ขนาด รูปร่าง รูปทรง 12. การอา่ นนทิ าน 13. สญั ลักษณป์ ระจาตนเอง
๒๓หลกั สูตรสถานศึกษาปฐมวยั โรงเรียนบึงเขายอ้ น (คงพนั ธุ์อุปถมั ภ)์ 8. ตารางวเิ คราะห์สาระการเรยี นรู้รายปี อายุ 4-5 ปี และ 5-6 ปี
สาระการเร ตารางวเิ คราะห์สาระการเรยี นรูร้ ายปี ( มาตรฐานที่ ตัวบ่งช้ีที่ สภาพท่พี ึงประสงค์ สภาพท่ีพงึ ป 4-5 ปี 5- มาตรฐานที่ ๑ ตัวบง่ ช้ีที่ ๑.๑ 1.1.1น้าหนกั และสว่ นสูง 1.1.1น้าหน ตามเกณฑ์ของกรมอนามัย ส่วนสูงตาม รา่ งกายเจรญิ เตบิ โต น้าหนกั และ กรมอนามัย ตามวัยและมีสุข สว่ นสูงตาม นสิ ยั ทด่ี ี เกณฑ์ ตัวบง่ ช้ที ่ี ๑.๒ 1.2.1รบั ประทานอาหารที่ . 1.2.1 รบั มีสุขภาพ มีประโยชน์ และดืม่ นา้ อาหารที่มปี อนามัย สุขนสิ ยั สะอาดได้ดว้ ยตนเอง หลายชนิดแ ท่ีดี และรจู้ ัก 1.2.2 ล้างมอื ก่อน สะอาดได้ดว้ รกั ษาความ รับประทานอาหารและ 1.2.2 ล้างม ปลอดภัย หลังจากใชห้ อ้ งน้าห้องสว้ ม รบั ประทาน ด้วยตนเอง หลังจากใชห้ สว้ มดว้ ยตน
24หลกั สูตรสถานศกึ ษาปฐมวยั โรงเรียนบึงเขายอ้ น (คงพนั ธุอ์ ุปถมั ภ)์ รียนรูร้ ายปี (เดก็ ปฐมวยั อายุ 4-5 ปี และ 5-6 ป)ี ประสงค์ สาระการเรยี นรู้ -6 ปี ประสบการณ์สาคญั สาระทคี่ วรรู้ นกั และ 1.1.3 การรักษาสุขภาพ เรอื่ งราวเก่ียวกับตัวเด็ก มเกณฑข์ อง อนามัยสว่ นตน 1. เด็กควรรูจ้ กั ช่ือ นามสกุล ย (1)การปฏิบตั ิตนตาม รูปรา่ งหน้าตา รู้จกั อวัยวะต่างๆ สุขอนามัย สขุ นิสัยที่ดีใน 2. เดก็ ควรเรียนรู้วิธีการรกั ษา กิจวตั รประจาวนั ร่างกายใหส้ ะอาด 3. เดก็ ควรเรียนรรู้ บั ประทาน อาหารท่มี ปี ระโยชน์ บประทาน 1.1.3 การรักษาสุขภาพ เรื่องราวเก่ียวกบั ตัวเด็ก ประโยชน์ได้ อนามัยส่วนตวั 1.เด็กควรเรียนรวู้ ิธกี ารรักษา และดมื่ น้า (1)การปฏบิ ัตติ นตาม รา่ งกายให้สะอาด วยตนเอง สขุ อนามัย สขุ นสิ ัยที่ดีใน 2.เดก็ ควรร้กู ารมสี ุขภาพอนามยั มอื ก่อน กจิ วัตรประจาวนั ทีด่ ี นอาหารและ 1.1.4 การรกั ษาความ 3. เด็กควรเรียนรู้รับประทาน หอ้ งน้าห้อง ปลอดภยั อาหารทม่ี ปี ระโยชน์ นเอง (1)การปฏบิ ตั ิตนให้ปลอดภัย 4.เด็กควรรู้การรักษาความ ในกิจวัตรประจาวนั ปลอดภยั ของตนเอง
มาตรฐานท่ี ตัวบง่ ชที้ ่ี สภาพที่พึงประสงค์ สภาพท่พี ึงป 4-5 ปี 5- 1.2.3 นอนพกั ผ่อนเป็น 1.2.3 นอน เวลา เวลา 1.2.4 ออกกาลงั กายเปน็ 1.2.4 ออก เวลา เปน็ เวลา ตัวบ่งชท้ี ่ี ๑.3 1.3.1เล่นและทากจิ กรรม 1.3.1 เลน่ รักษาความ อยา่ งปลอดภัยด้วยตนเอง และปฏิบตั ปลอดภยั ของ ตนเองและผู้อนื่ ปลอ
25หลกั สูตรสถานศกึ ษาปฐมวยั โรงเรียนบึงเขายอ้ น (คงพนั ธุอ์ ุปถมั ภ)์ ประสงค์ สาระการเรยี นรู้ -6 ปี ประสบการณ์สาคญั สาระท่คี วรรู้ นพักผ่อนเปน็ 1.1.3 การรกั ษาสขุ ภาพ เรอ่ื งราวเกย่ี วกบั ตัวเดก็ อนามยั ส่วนตน 1.ประโยชน์ของการนอนหลับ (1)การปฏบิ ัติตนตาม พักผ่อน สขุ อนามยั สขุ นสิ ัยท่ีดีใน กิจวัตรประจาวนั กกาลงั กาย 1.1.1 การใช้กลา้ มเนื้อใหญ่ เร่อื งราวเกีย่ วกบั ตัวเด็ก (1)การเคล่อื นไหวอยกู่ บั ที่ 1.ประโยชนข์ องการออกกาลัง (2)การเคล่ือนไหวเคลื่อนท่ี กาย (3)การเคลอ่ื นไหวพรอ้ มวสั ดุ อปุ กรณ์ น ทากิจกรรม 1.1.4 การรักษาความ เร่ืองราวเกย่ี วกับตัวเดก็ ตติ ่อผู้อ่ืนอย่าง ปลอดภยั 1. การรักษาความปลอดภัยของ อดภัย (1)การปฏบิ ตั ติ นให้ปลอดภยั ตนเอง ในกจิ วตั รประจาวนั 2.การปฏิบัตติ อ่ ผอู้ ื่นอยา่ ง (2)ฟงั นิทาน เร่อื งราว ปลอดภัย เหตกุ ารณ์เกยี่ วกับการป้องกนั และรักษาความปลอดภัย (3)การเลน่ เครื่องเครือ่ งเลน่ อยา่ งปลอดภัย (4)การเลน่ บทบาทสมมติ เหตกุ ารณ์ต่างๆ
มาตรฐานที่ ตัวบง่ ช้ีที่ สภาพทพ่ี งึ ประสงค์ สภาพท่พี ึงป 4-5 ปี 5- มาตรฐานท่ี ๒ ตวั บง่ ช้ที ี่ ๒.๑ 2.1.1 เดินต่อเท้าไป 2.1.1เดนิ ต กลา้ มเน้ือใหญแ่ ละ เคล่ือนไหว ขา้ งหน้าเปน็ เส้นตรงไดโ้ ดย หลงั เปน็ เส้น กล้ามเนอื้ เล็ก ร่างกายอย่าง ไม่ต้องกางแขน ไมต่ ้องกางแ แขง็ แรงใชไ้ ด้อย่าง คล่องแคล่ว คล่องแคลว่ และ ประสานสัมพันธ์ ประสานสมั พันธก์ นั และทรงตัวได้ 2.1.2 กระโดดขาเดยี ว 2.1.2 กระ อยกู่ บั ท่ีได้โดยไมเ่ สียการ ไปข้างหน้าไ ทรงตวั ตอ่ เนอ่ื ง โดยไมเ่ สียก 2.1.3 ว่ิงหลบหลีกส่ิงกีด 2.1.3 วิ่งห ขวางได้ ขวางได้อย่า
26หลกั สูตรสถานศกึ ษาปฐมวยั โรงเรียนบงึ เขายอ้ น (คงพนั ธุอ์ ุปถมั ภ)์ ประสงค์ สาระการเรียนรู้ -6 ปี ประสบการณ์สาคญั สาระท่ีควรรู้ ตอ่ เท้าถอย 1.1.1 การใช้กลา้ มเนื้อใหญ่ เรอ่ื งราวเกีย่ วกับตัวเดก็ นตรงไดโ้ ดย (1)การเคลือ่ นไหวเคล่อื นท่ี 1. การรักษาความปลอดภยั ของ แขน ตนเอง 2. วธิ ีการเดินต่อเทา้ ตามแนว เส้นตรง ะโดดขาเดยี ว 1.1.1 การใชก้ ล้ามเนื้อใหญ่ เร่อื งราวเกี่ยวกับตัวเดก็ ได้อยา่ ง (1) การเคลื่อนไหวอยู่กบั ท่ี 11.การกากบั ตนเอง การเลน่ 1.1.5 การตระหนักร้เู ก่ยี วกับ และทาส่งิ ต่างๆดว้ ยตนเองตาม การทรงตวั ร่างกายตนเอง ลาพังหรอื กบั ผูอ้ ื่น (1) การเคล่ือนไหวเพ่ือ ควบคุมตนเองไปในทิศทาง ระดบั และ พ้นื ท่ี 1.2.2 การเลน่ (1)การเล่นอสิ ระ หลบหลีกสง่ิ กดี 1.1.1 การใช้กลา้ มเนื้อใหญ่ เร่ืองราวเก่ียวกบั ตัวเดก็ างคล่องแคลว่ (2)การเคลื่อนไหวเคลอื่ นที่ 1.การกากับตนเอง การเล่นและ 1.1.5 การตระหนกั รู้เก่ยี วกบั ทาสิ่งต่างๆด้วยตนเองตามลาพงั ร่างกายตนเอง หรอื กบั ผูอ้ นื่ (2)การเคลื่อนไหวข้ามสงิ่ กีด ขวาง
มาตรฐานที่ ตวั บง่ ช้ีที่ สภาพที่พงึ ประสงค์ สภาพทีพ่ งึ ป 4-5 ปี 5- 2.1.4 รบั ลกู บอลโดยใช้ 2.1.4รับลกู มือท้ัง 2 ข้าง กระดอนขึ้น ตวั บ่งช้ที ี่ ๒.๒ 2.2.1 ใชก้ รรไกรตดั 2.2.1 ใชก้ ร กระดาษตา ใชม้ อื -ตา กระดาษตามแนวเสน้ ตรง ได้ ประสานสัมพนั ธ์ ได้ กนั
27หลกั สูตรสถานศกึ ษาปฐมวยั โรงเรียนบึงเขายอ้ น (คงพนั ธุอ์ ุปถมั ภ)์ ประสงค์ สาระการเรยี นรู้ -6 ปี ประสบการณ์สาคัญ สาระทค่ี วรรู้ กบอลท่ี 1.1.1 การใชก้ ล้ามเน้อื ใหญ่ เร่ืองราวเกี่ยวกบั ตัวเด็ก นจากพืน้ ได้ (4)การเคลื่อนไหวท่ีใชก้ าร 1. การรักษาความปลอดภัยของ ประสานสัมพนั ธ์ของการใช้ ตนเอง กล้ามเน้ือใหญ่ใน 2. การปฏิบตั ิต่อผู้อน่ื อยา่ ง การขว้าง การจบั การโยน ปลอดภัย การเตะ 3.การกากบั ตนเอง การเล่นและ 1.1.5 การตระหนักรู้เก่ียวกับ ทาส่ิงต่างๆดว้ ยตนเองตามลาพงั ร่างกายตนเอง หรือกับผู้อืน่ (1)การเคล่อื นไหวเพอื่ ควบคุม ตนเองไปในทิศทาง ระดบั และ พนื้ ท่ี 1.2.2 การเล่น (1)การเลน่ อสิ ระ (2)การเล่นรายบุคคล กลุ่ม ย่อยและกลุ่มใหญ่ รรไกรตดั 1.1.1 การใชก้ ล้ามเนื้อเล็ก เรื่องราวเกี่ยวกับตัวเดก็ ามแนวเส้นโค้ง (5) การหยบิ จบั การใช้ 1. การรักษาความปลอดภัยของ กรรไกร การฉกี การตดั การ ตนเอง ปะ และการร้อยวัสดุ 2. การปฏิบัติต่อผู้อ่นื อย่าง ปลอดภยั ส่งิ ตา่ งๆรอบตวั เด็ก 1. รจู้ กั ขนาด รปู ร่าง รูปทรง ปริมาตร น้าหนกั จานวน
มาตรฐานท่ี ตัวบง่ ชี้ท่ี สภาพทพ่ี งึ ประสงค์ สภาพทพี่ งึ ป 4-5 ปี 5- 2.2.2 เขยี นรปู ส่ีเหล่ยี ม 2.2.2เขียน ตามแบบได้อยา่ งมมี ุม สามเหล่ียมต ชดั เจน อย่างมีมุมช 2.2.3 ร้อยวสั ดุทม่ี รี ขู นาด 2.2.3 ร้อย เส้นผา่ ศูนยก์ ลาง0.5 ขนาดเสน้ ผา่ เซนตเิ มตรได้ ขนาด 0.25 ได้
28หลกั สูตรสถานศึกษาปฐมวยั โรงเรียนบึงเขายอ้ น (คงพนั ธุอ์ ุปถมั ภ)์ ประสงค์ สาระการเรยี นรู้ -6 ปี ประสบการณส์ าคัญ สาระท่คี วรรู้ สว่ นประกอบ นรปู 1.1.2 การใชก้ ลา้ มเนื้อเลก็ เรอื่ งราวเกยี่ วกบั ตัวเด็ก ตามแบบได้ (2) การเขียนภาพและการเล่น 1.ความภาคภูมิใจในตนเอง ชัดเจน กบั สี 2.การสะทอ้ นการรับรู้อารมณ์ และความรสู้ ึกของตนเองและ ผู้อ่นื 3.การแสดงออกทางอารมณแ์ ละ ความรู้สึกอยา่ งเหมาะสม ยวสั ดุทีม่ ีรู 1.1.2 การใชก้ ล้ามเน้ือเลก็ เรอ่ื งราวเกี่ยวกบั ตัวเด็ก านศูนยก์ ลาง (5) การหยิบจับ การใช้ 1.ความภาคภูมิใจในตนเอง 5เซนติเมตร กรรไกร การตดั การปะและ 2.การร้อยหลอด การรอ้ ยวสั ดุ 3.การร้อยลูกปัด 1.4.3 จินตนาการและ ความคิดสร้างสรรค์ (1)การรบั รู้และแสดงความคิด ความรู้สึกผา่ นสือ่ วัสดุ ของ เล่นและชนิ้ งาน (2) การแสดงความคดิ สร้างสรรคผ์ ่านภาษา ท่าทาง การเคลื่อนไหวและศลิ ปะ (3) การสร้างสรรคช์ นิ้ งานโดย
มาตรฐานที่ ตวั บง่ ชี้ท่ี สภาพท่พี งึ ประสงค์ สภาพทพ่ี งึ ป 4-5 ปี 5- 2.2.4 ตอ่ ภาพตัดต่อได้ 2.2.4 ต่อภ อยา่ งน้อย ๖ ชิ้น อยา่ งน้อย 2.2.5 วางวสั ดหุ รือต่อ 2.2.5 วางว บลอ็ กซ้อนกันได้ อยา่ ง บลอ็ กซ้อนก น้อย ๘ ช้นิ เป็นแนวต้ัง น้อย ๘-๑o เปน็ แนวต้งั
29หลกั สูตรสถานศกึ ษาปฐมวยั โรงเรียนบึงเขายอ้ น (คงพนั ธุ์อุปถมั ภ)์ ประสงค์ สาระการเรียนรู้ -6 ปี ประสบการณ์สาคญั สาระทค่ี วรรู้ ใชร้ ูปร่างรูปทรงจากวสั ดุท่ี หลากหลาย ภาพตดั ตอ่ ได้ 1.1.2 การใช้กลา้ มเน้ือเล็ก เร่ืองราวเกย่ี วกับตัวเด็ก ๘-๑o ชิ้น การต่อของ บรรจุ เท และ 1.การเล่น การทางาน ชว่ ยให้ วสั ดุหรือต่อ กนั ได้ อย่าง แยกชน้ิ สว่ น กล้ามเนอ้ื มอื ทางานได้สัมพันธ์ o ชนิ้ ได้ ช้นิ 1.4.3 เจตคติท่ีดีต่อการ กับตา เรียนรู้ และ การแสวงหาความรู้ (1) การมงุ่ ม่นั ในการทา กิจกรรม มสี มาธิทจ่ี ดจ่อ 1.4.4 การพัฒนาความเข้าใจ พืน้ ฐาน ในการเรยี นรู้ มติ ิ สมั พนั ธ์(พืน้ ที/่ ระยะ) (1) การต่อเข้าดว้ ยกัน การ แยกออกการบรรจุ และการเท ออก 1.1.2 การใชก้ ล้ามเนอื้ เล็ก เรอ่ื งราวเก่ียวกับตัวเดก็ (1)การต่อของ บรรจุ เท และ 1.การเล่น การทางาน ช่วยให้ แยกช้นิ ส่วน กล้ามเน้ือมือ ทางานได้อย่าง (2)การใช้อปุ กรณ์วัสดทุ ี่มี คลอ่ งแคล่ว ลกั ษณะสองมิติและสามมิติ 1.2.5 การแสดงออกทาง อารมณ์
มาตรฐานที่ ตัวบง่ ช้ีที่ สภาพทีพ่ ึงประสงค์ สภาพที่พงึ ป 4-5 ปี 5- มาตรฐานที่ ๓ ตัวบ่งชที้ ่ี ๓.๑ 3.1.1 รา่ เรงิ สดชืน่ 3.1.1 รา่ เร แจ่มใส มีสขุ ภาพจติ ดแี ละมี แสดงออกทาง แจม่ ใสและอารมณ์ดี อารมณ์ดี ความสุข อารมณ์อย่าง เหมาะสมกับวัย และสถานการณ์ 3.1.2 แสดงอารมณ์ 3.1.2 แสด ความรู้สึกได้ตาม ความรสู้ กึ ได สถานการณ์ กับสถานกา เหมาะสม
30หลกั สูตรสถานศึกษาปฐมวยั โรงเรียนบงึ เขายอ้ น (คงพนั ธุ์อุปถมั ภ)์ ประสงค์ สาระการเรียนรู้ -6 ปี ประสบการณ์สาคญั สาระทีค่ วรรู้ (3) การเล่นตามมมุ เล่น 1.4.3 เจตคตทิ ด่ี ีตอ่ การ เรียนรู้ และ การแสวงหา ความรู้ -การมงุ่ มัน่ ในการทากจิ กรรม มสี มาธทิ ี่จดจอ่ รงิ สดช่นื 1.2.1 สนุ ทรยี ภาพดนตรี เรอื่ งราวเก่ยี วกับตัวเดก็ ดงอารมณ์ (1)การฟงั เพลง การรอ้ งเพลง 1.การเลน่ และทาส่ิงต่างๆดว้ ย ดส้ อดคล้อง ารณอ์ ย่าง และการแสดงปฏิกิริยาโต้ตอบ ตนเองหรอื กับผอู้ ่ืน เสยี งดนตรี 2.การรอ้ งเพลง, ทอ่ งคาคลอ้ ง 1.2.4 การแสดงออกทาง จอง อารมณ์ (1)การสะทอ้ นความร้สู ึกของ ตนเองและผู้อื่น 1.2.4 การแสดงออกทาง เร่ืองราวเก่ียวกบั ตัวเดก็ อารมณ์ 1.การสะท้อนความรู้สึกของ (1)การสะทอ้ นความรสู้ กึ ของ ตนเองและผ้อู ่ืน ตนเองและผูอ้ ่ืน 2.การแสดงออกทางอารมณแ์ ละ ความรู้สึกอยา่ งเหมาะสม
มาตรฐานท่ี ตัวบ่งช้ที ่ี สภาพที่พงึ ประสงค์ สภาพที่พึงป 4-5 ปี 5- ตวั บ่งชี้ที่ ๓.๒ มคี วามรสู้ กึ ที่ดี 3.2.1 กล้าพดู กล้า 3.2.1 กล้า ตอ่ ตนเองและ แสดงออกอย่างเหมาะสม แสดงออกอ ผอู้ ืน่ บางสถานการณ์ เหมาะสมบ สถานการณ 3.2.2 บอกหรอื แสดง 3.2.2 แสด ท่าทางพอใจในผลงานและ ในผลงานแล ความสามารถของตนเอง ความสามาร และผู้อน่ื ตัวบง่ ช้ที ี่ ๓.๓ 3.3.1 รับรูค้ วามรสู้ กึ ผูอ้ นื่ 3.3.1 รับร มีความเห็นอก และปลอบโยนเมื่อผ้อู ื่น ความรูส้ กึ ผ เหน็ ใจผู้อืน่ เสียใจ ปลอบโยนเม
31หลกั สูตรสถานศกึ ษาปฐมวยั โรงเรียนบึงเขายอ้ น (คงพนั ธุอ์ ุปถมั ภ)์ ประสงค์ สาระการเรยี นรู้ -6 ปี ประสบการณส์ าคัญ สาระทคี่ วรรู้ าพูดกล้า 1.2.4 การแสดงออกทาง เรื่องราวเก่ยี วกับตัวเดก็ อย่าง อารมณ์ 1.การสะท้อนการรับรู้อารมณ์ บาง (1)การสะท้อนความรสู้ กึ ของ และความรสู้ ึกของตนเองและ ณ์ ตนเองและผู้อน่ื ผู้อน่ื 2.การแสดงออกทางอารมณแ์ ละ ดงความพอใจ 1.2.4 การแสดงออกทาง ความรู้สกึ อยา่ งเหมาะสม ละ อารมณ์ ส่งิ ต่างๆ รอบตัวเดก็ รถของตนเอง (1)การสะท้อนความรู้สึกของ 1.การเรยี นรู้เก่ียวกับการใช้ ภาษาเพ่ือสื่อความหมายใน ตนเองและผอู้ น่ื ชวี ติ ประจาวนั 1.2.5 การมีอัตลกั ษณเ์ ฉพาะ ตนและเชอ่ื ว่าตนเองมี เรือ่ งราวเกีย่ วกบั ตัวเด็ก ความสามารถ 1.การตระหนักรเู้ กย่ี วกบั ตนเอง (1)การปฏบิ ัตกิ ิจกรรมต่าง ๆ 2.ความภาคภมู ิใจในตนเอง ตามความสามารถของตนเอง 3.การแสดงอารมณแ์ ละ ความรู้สกึ อยา่ งเหมาะสม รแู้ ละเห็นใจ 1.2.4 การแสดงออกทาง เรอื่ งราวเกยี่ วกับบคุ คลและ ผอู้ ื่นและ อารมณ์ สถานทีแ่ วดล้อมเด็ก มื่อผู้อนื่ เสียใจ (1)การสะทอ้ นความร้สู กึ ของ 1.การมีปฏิสัมพันธใ์ น ชีวิตประจาวัน ตนเองและผู้อื่น เร่อื งราวเก่ียวกบั ตัวเด็ก 1.เรียนรู้การสะทอ้ นการรบั รู้ อารมณ์และความรูส้ ึกของตนเอง และผอู้ ่ืน
มาตรฐานท่ี ตัวบ่งชี้ท่ี สภาพทีพ่ งึ ประสงค์ สภาพทพี่ ึงป 4-5 ปี 5- มาตรฐานท่ี ๔ ตวั บง่ ชีท้ ่ี ๔.๑ 4.1.1 สนใจและมี 4.1.1 สนใ ชื่นชมและ สนใจและ มี แสดงออกทาง ความสุขกบั ความสุขขณะทางานศิลปะ และแสดงอ ศิลปะ ดนตรี และ ศิลปะ ดนตรี การเคลื่อนไหว และการ ศลิ ปะ เคลอื่ นไหว 4.1.2 สนใจและมี 4.1.2 สนใ ความสขุ กบั เสยี งเพลง และแสดงอ ดนตรี และการเคลือ่ นไหว เสยี งเพลงด
32หลกั สูตรสถานศกึ ษาปฐมวยั โรงเรียนบึงเขายอ้ น (คงพนั ธุ์อุปถมั ภ)์ ประสงค์ สาระการเรียนรู้ -6 ปี ประสบการณส์ าคญั สาระทค่ี วรรู้ (2)การเลน่ บทบาทสมมุติ เรื่องราวเกีย่ วกับบุคคลและ 1.2.6 การเห็นอกเห็นใจผ้อู ่ืน สถานท่ีแวดล้อมเดก็ (1)การแสดงความยินดเี ม่อื 1.การมีปฏสิ มั พันธใ์ น ผู้อนื่ มีความสขุ เห็นอกเหน็ ใจ ชีวติ ประจาวัน เมื่อผูอ้ น่ื เศร้าหรือเสียใจ และ การชว่ ยเหลือปลอบโยนเมอ่ื ผอู้ ่ืนไดร้ ะชบั บาทเจ็บ ใจมคี วามสขุ 1.1.๒ การใช้กล้ามเน้ือเล็ก เรื่องราวเกยี่ วกบั ตัวเด็ก ออกผ่านงาน (1)การเขียนภาพและการเลน่ 1.การแสดงความคิดเหน็ ใจ มคี วามสขุ ออกผา่ น กับสี ความรู้สกึ ดนตรี (2)การป้นั เร่ืองราวธรรมชาติรอบตัว (3)การประดษิ ฐ์ส่ิงต่าง ๆ ด้วย 1.การอนุรกั ษ์สิง่ แวดล้อมและ เศษวสั ดุ การรกั ษาสาธารณสมบตั ิ 1.2.2 สนุ ทรียภาพ เรื่องสง่ิ ตา่ งๆ รอบตวั เดก็ (1)การสรา้ งสรรคส์ ิ่งสวยงาม 1.เด็กควรจะไดร้ ู้จักสี ขนาด (2)การทากจิ กรรมศิลปะต่างๆ รปู ร่าง รูปทรง 1.1.1การใช้กล้ามเนื้อใหญ่ เรอ่ื งราวเกยี่ วกับตัวเด็ก (1)การเคลอ่ื นไหวอย่กู ับท่ี 1.การแสดงออกทางอารมณ์และ (2)การเคล่อื นไหวเคลือ่ นที่ ความร้สู กึ อย่างเหมาะสม (3)การเคล่อื นไหวพร้อมวสั ดุ 2.การเคล่อื นไหวประกอบเพลง อุปกรณ์ 1.2.1 สนุ ทรยี ภาพดนตรี (1)การฟังเพลง การร้องเพลง
มาตรฐานที่ ตวั บ่งชี้ที่ สภาพที่พงึ ประสงค์ สภาพทพี่ ึงป 4-5 ปี 5- ตัวบง่ ชท้ี ี่ ๔.๒ 4.2.1 แสดงและชนื่ ชม 4.2.1 มคี ว แสดงออก ผลงานศลิ ปะของตนเอง และชืน่ ชมผ ทางดา้ นศลิ ปะ ของตนเองแ ดนตรี และการ 4.2.2 แสดงทา่ ทาง/ เคลื่อนไหวตาม เคลอื่ นไหวประกอบเพลง 4.2.2 สนใ จินตนาการ จงั หวะ และดนตรี และแสดงท เคลอื่ นไหวป จงั หวะและด มาตรฐานท่ี ๕ ตัวบง่ ชที้ ่ี 5.1 5.1.1 ขออนุญาตหรอื รอ 5.1.1 ขออ มีคุณธรรม ซอื่ สตั ยส์ จุ รติ คอยเมื่อต้องการสิ่งของ รอคอยเม่ือต จริยธรรม และมี ของผู้อ่ืน ส่งิ ของของผ จิตใจทด่ี งี าม ตนเอง
33หลกั สูตรสถานศึกษาปฐมวยั โรงเรียนบงึ เขายอ้ น (คงพนั ธุ์อุปถมั ภ)์ ประสงค์ สาระการเรยี นรู้ -6 ปี ประสบการณส์ าคัญ สาระที่ควรรู้ การแสดงปฏิกริ ิยาโตต้ อบ เสียงดนตรี (2)การเคลอ่ื นไหวตาม เสยี งเพลง/ดนตรี วามสุขแสดง 1.2.2 สนุ ทรยี ภาพ เรือ่ งราวเก่ียวกบั ตัวเดก็ ผลงานศิลปะ และผู้อนื่ (1)การสร้างสรรค์ส่งิ สวยงาม 1.การแสดงความคิดเห็น 1.2.4 คณุ ธรรม จรยิ ธรรม ความรูส้ กึ (1)การจดั กจิ กรรมศิลปะแบบ 2.การเล่นและทาสิง่ ต่างๆด้วย ร่วมมอื ตนเองหรือกับผู้อ่ืน ใจ มีความสขุ 1.1.1 การใช้กลา้ มเนื้อใหญ่ เรอ่ื งราวเกยี่ วกับตัวเดก็ 1.การแสดงออกทางอารมณ์และ ท่าทาง/ (1) การเคลื่อนไหวอยู่กับท่ี ความร้สู ึกอย่างเหมาะสม ประกอบเพลง (2) การเคล่ือนไหวเคล่ือนที่ เรื่องราวเกยี่ วกบั ตัวเดก็ 1.การปฏิบตั กิ ิจวตั รประจาวนั ได้ ดนตรี 1.2.1 สุนทรยี ภาพดนตรี ดว้ ยตนเอง 2.การแสดงมารยาทที่ดี (1) การเคลื่อนไหวตาม 3.การไม่นาของผู้อนื่ มาเปน็ ของ ตนเองโดยไมไ่ ด้รับอนญุ าติ เสียงเพลง/ดนตรี 4.การเข้าแถว อนญุ าตหรือ 1.2.2 การเลน่ ต้องการ (1) การเล่นรายบุคคล กลุม่ ผู้อนื่ ด้วย ยอ่ ย กลมุ่ ใหญ่ (2) การเลน่ ตามมมุ ประสบการณ์ มมุ เล่นตา่ ง ๆ 1.2.3 คุณธรรม จรยิ ธรรม (1) การปฏิบตั ิตามหลัก
มาตรฐานท่ี ตวั บง่ ชที้ ่ี สภาพทีพ่ ึงประสงค์ สภาพที่พึงป 4-5 ปี 5- ตัวบง่ ชท้ี ่ี 5.2 5.2.1 แสดงความรัก 5.2.1 แสด มีความเมตตา เพอื่ นและมเี มตตาต่อสตั ว์ เพือ่ นและม กรุณา มีนา้ ใจ เลย้ี ง เลีย้ ง และช่วยเหลือ แบง่ ปนั 5.2.2 ช่วยเหลือและ 5.2.2 ชว่ ย แบง่ ปนั ผู้อืน่ เม่ือมผี ู้ชี้แนะ แบง่ ปนั ผอู้ ื่น ตนเอง ตวั บ่งชีท้ ี่ 5.3 5.3.1 แสดงสีหนา้ และ 5.3.1 แสด มคี วามเหน็ อก ทา่ ทางรบั รูค้ วามรสู้ กึ ผ้อู ื่น ท่าทางรับร้คู เห็นใจผู้อ่ืน ผอู้ ่ืนอย่างส
34หลกั สูตรสถานศึกษาปฐมวยั โรงเรียนบงึ เขายอ้ น (คงพนั ธุ์อุปถมั ภ)์ ประสงค์ สาระการเรยี นรู้ -6 ปี ประสบการณ์สาคญั สาระท่ีควรรู้ ศาสนาทีน่ ับถือ 1.3.4การมีปฏิสัมพันธ์ มี ส่วนร่วม และบทบาทสมาชิก ของสงั คม (1) การเป็นสมาชกิ ท่ดี ีของ หอ้ งเรียน ดงความรัก 1.2.3 คุณธรรม จริยธรรม เรื่องราวเกี่ยวกบั ตัวเด็ก มีเมตตาสตั ว์ (1) การปฏิบัติตามหลัก 1.คุณธรรม จริยธรรม ความ ยเหลอื และ นไดด้ ้วย ศาสนาทนี่ บั ถือ เมตตากรุณา ดงสีหนา้ และ (2) การฟังนิทานเกย่ี วกับ ความรู้สกึ สอดคล้องกบั คุณธรรม จริยธรรม 1.2.3 คุณธรรม จริยธรรม เร่อื งราวเกี่ยวกับตัวเดก็ (1) การปฏบิ ตั ติ ามหลัก 1.การปฏิบตั ติ ่อผ้อู ืน่ อยา่ ง ศาสนาท่นี บั ถือ ปลอดภยั 1.2.6 การเห็นอกเห็นใจผ้อู ื่น เรือ่ งราวเกี่ยวกับบุคคลและ (1) การแสดงความยนิ ดีเม่ือ สถานที่แวดล้อมเด็ก ผอู้ ื่นมีความสุข เห็นอกเห็นใจ 1.เด็กควรเรียนรกู้ ารมี เมอื่ ผู้อ่นื เศรา้ หรอื เสยี ใจ และ ปฏิสัมพนั ธ์ในชีวิตประจาวัน การช่วยเหลอื ปลอบโยนเมอ่ื ผูอ้ ่นื ไดร้ บั บาดเจ็บ 1.2.4 การแสดงออกทาง เรื่องราวเกยี่ วกับตัวเด็ก อารมณ์ 1.การสะทอ้ นการรับรอู้ ารมณ์ (1) การสะท้อนความรสู้ ึกของ และความรู้สกึ ของตนเองและ
มาตรฐานท่ี ตัวบง่ ชีท้ ่ี สภาพที่พงึ ประสงค์ สภาพทีพ่ งึ ป 4-5 ปี 5- สถานการณ ตวั บ่งชท้ี ่ี 5.4 5.4.1 ทางานที่ได้รบั 5.4.1 ทาง มคี วาม มอบหมายจนสาเรจ็ เม่อื มผี ู้ มอบหมายจ รับผิดชอบ ชแ้ี นะ ตนเอง มาตรฐานที่ ๖ ตวั บ่งชที้ ่ี ๖.๑ 6.1.1 แตง่ ตัวไดเ้ อง 6.1.1 แต่ง มีทักษะชีวิตและ ช่วยเหลอื ตนเอง ตนเองได้อย ปฏบิ ตั ิตนตามหลกั ในการปฏิบัติ คล่องแคล่ว ปรชั ญาของ กิจวัตร เศรษฐกิจพอเพียง ประจาวนั
35หลกั สูตรสถานศกึ ษาปฐมวยั โรงเรียนบึงเขายอ้ น (คงพนั ธุอ์ ุปถมั ภ)์ ประสงค์ สาระการเรยี นรู้ -6 ปี ประสบการณ์สาคญั สาระที่ควรรู้ ณ์ ตนเองและผอู้ ่ืน ผอู้ ่ืน 1.2.6 การเหน็ อกเห็นใจผูอ้ ่นื 2.การแสดงออกทางอารมณ์และ (1)การแสดงความยินดีเมือ่ ความรูส้ กึ อยา่ งเหมาะสม ผอู้ น่ื มีความสุข เห็นอกเหน็ ใจ เมื่อผู้อ่นื เศรา้ หรอื เสียใจ และ การช่วยเหลือ ปลอบโยนเมอ่ื คนอ่ืนไดร้ บั บาดเจบ็ แสดง ความยนิ ดเี มื่อผู้อ่ืนมีความสขุ งานท่ไี ด้รบั 1.3.4 การมีปฏิสมั พนั ธ์ มี เร่ืองราวเกย่ี วกบั ตัวเด็ก จนสาเรจ็ ด้วย วินยั มีส่วนร่วม และบทบาท 1.ความรบั ผิดชอบ สมาชิกของสงั คม งตวั ดว้ ย (1) การใหค้ วามร่วมมือในการ เร่ืองราวเกี่ยวกบั ตัวเด็ก ยา่ ง ปฏิบตั กิ ิจกรรมต่างๆ ใน (1) วิธีระวงั รักษาร่างกายให้ ว ห้องเรยี น สะอาด (2) การมีสขุ ภาพอนามยั ท่ีดี 1.1.3 การรกั ษาสขุ ภาพ อนามยั สว่ นตัว (1) การปฏบิ ัติตนตาม สขุ อนามัย สขุ นสิ ยั ท่ีดใี น กจิ วัตรประจาวนั
มาตรฐานท่ี ตัวบ่งชีท้ ่ี สภาพทีพ่ ึงประสงค์ สภาพท่พี งึ ป 4-5 ปี 5- 6.1.2 รับประทานอาหาร 6.1.2 รบั ป ด้วยตนเอง อาหารด้วยต ถูกวธิ ี 6.1.3 ใชห้ อ้ งน้าหอ้ งสว้ ม 6.1.3 ใชแ้ ล ด้วยตนเอง สะอาดหลัง หอ้ งส้วมดว้ ตวั บง่ ชี้ท่ี ๖.๒ มี 6.2.1 เกบ็ ของเล่นของใช้ 6.2.1 เก็บ วินัยในตนอง เข้าทดี่ ว้ ยตนเอง ใชเ้ ขา้ ที่อย่า ด้วยตนเอง ตัวบ่งชีท้ ่ี ๖.๓ 6.3.1 ใชส้ ิง่ ของเครื่องใช้ 6.3.1 ใชส้ ิ่ง ประหยดั และ พอเพยี ง อยา่ งประหยดั และ เครอื่ งใช้อย พอเพียงเมื่อมีผู้ช้แี นะ และพอเพีย
36หลกั สูตรสถานศึกษาปฐมวยั โรงเรียนบงึ เขายอ้ น (คงพนั ธุอ์ ุปถมั ภ)์ ประสงค์ สาระการเรยี นรู้ -6 ปี ประสบการณ์สาคญั สาระท่คี วรรู้ ประทาน 1.1.3 การรักษาสขุ ภาพ เร่อื งราวเกี่ยวกบั ตัวเดก็ ตนเองอย่าง อนามยั สว่ นตัว (1) วธิ ีการการรบั ประทาน (1) การปฏบิ ตั ติ นตาม อาหาร ละทาความ สุขอนามัย สุขนสิ ัยที่ดใี น (2) การรับประทานอาหารท่ีมี งใชห้ ้องนา้ กิจวตั รประจาวัน ประโยชน์ วยตนเอง เรอ่ื งราวเก่ียวกับตัวเด็ก 1.1.3 การรกั ษาสขุ ภาพ (1) วธิ รี ะวังรกั ษารา่ งกายให้ บของเลน่ ของ อนามัยส่วนตัว สะอาด างเรียบรอ้ ย (1) การปฏิบัตติ นตาม (2) วิธกี ารใช้หอ้ งน้าห้องส้วม สขุ อนามยั สุขนสิ ัยท่ีดีใน กจิ วัตรประจาวัน เร่ืองราวเกี่ยวกบั ตัวเด็ก (1) เรียนรกู้ ารกากบั ตนเอง การ 1.3.4 การมปี ฏสิ ัมพนธ์ มี เล่นและทาสงิ่ ต่าง ๆ ดว้ ยตนเอง วินัย มสี ่วนร่วมและบทบาท ตามลาพงั หรือกับผู้อื่น สมาชกิ ของสังคม ส่ิงตา่ งๆ รอบตัวเด็ก (1) การปฏิบัติตนเป็นสมาชิก -การเรียนรู้การเลือกใชส้ ิ่งของ ท่ีดขี องหอ้ งเรียน เครื่องใช้ต่างๆ (2) การดูแลห้องเรียนรว่ มกัน งของ 1.3.1 การปฏิบัตกิ ิจวตั ร เรื่องราวเก่ียวกบั ตัวเดก็ ย่างประหยัด ประจาวัน 1. การตระหนกั รเู้ กีย่ วกับตนเอง ยงด้วยตนเอง (1) การปฏิบัติตามแนวทาง หลักปรชั ญาเศรฐกจิ พอเพียง
มาตรฐานที่ ตัวบง่ ชที้ ี่ สภาพทีพ่ งึ ประสงค์ สภาพท่ีพึงป 4-5 ปี 5- มาตรฐานท่ี ๗ รัก ตัวบ่งชี้ที่๗.๑ ธรรมชาติ ดูแลรักษา 7.1.1 มีสว่ นร่วมในการ 7.1.1 ดูแล สิง่ แวดลอ้ ม ธรรมชาติและ ดูแลรักษาธรรมชาตแิ ละ ธรรมชาติแล วฒั นธรรม และ สงิ่ แวดลอ้ ม ส่ิงแวดล้อมเมื่อมผี ชู้ ีแนะ สง่ิ แวดลอ้ ม ความเปน็ ไทย 7.1.2 ท้ิงขยะได้ถูกที่ 7.1.2 ทิ้งข ตัวบง่ ชท้ี ี่ ๗.๒ 7.2.1 ปฏบิ ัตติ นตาม 7.2.1 ปฏิบ มีมารยาทตาม มารยาทไทยได้ดว้ ยตนเอง มารยาทไทย วฒั นธรรมไทย กาลเทศะ
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124