Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผน ม.3 เทอม 1 ปี 65

แผน ม.3 เทอม 1 ปี 65

Published by mulan_31, 2022-05-27 08:48:04

Description: แผน ม.3 เทอม 1 ปี 65

Search

Read the Text Version

1 แผนการจัดการเรียนรู วิชา นาฏศลิ ปไ ทย ละคร ชนั้ มัธยมศกึ ษาปท่ี 3 กลมุ สาระการเรียนรูวิชาชพี เฉพาะนาฏศิลปไ ทย ปการศกึ ษา 2565 ครูผสู อน นางสาวเกณิกา วงศนรนิ ทร นางนจิ วรรณ ขนุ เณร นางสาวฐานดิ า วนั โสภา วทิ ยาลยั นาฏศิลปรอยเอด็ สถาบันบัณฑิตพฒั นศิลป กระทรวงวัฒนธรร

ข คํานาํ ในการจดั การเรียนการสอน ส่ิงท่สี าํ คญั ทส่ี ุดคือการวางแผนการสอนเพือ่ เป็นการเตรียม ความพร้อม ในการสอนของครู ท่ีเรียกว่า แผนการสอน หรือแผนการจัดการเรียนรู้ ทาํ ให้กระบวน การสอนประสบ ผลสําเร็จ สิ่งสําคญั ที่สุดคือครูตอ้ งหมนั่ ศึกษาคน้ ควา้ หานวตั กรรมใหม่ๆ เพื่อนาํ มาพฒั นาการเรียนการสอนของ ตนเองอยู่เสมอ ในการสอนนาฏศิลป์ จาํ เป็นอย่างย่ิงที่ครูตอ้ งมีความชาํ นาญในการปฏิบตั ิ จึงจะสามารถช้ีแนะ นกั เรียนใหป้ ฏิบตั ไิ ดอ้ ่อนชอ้ ยสวยงาม เพื่อนาํ มาถา่ ยทอดใหน้ กั เรียนได้ร่วมกนั อนุรักษ์ สืบสาน และสร้างสรรค์ ศลิ ปะใหม้ กี ารสืบทอดต่อไป แผนการจดั การเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาชีพเฉพาะนาฏศิลป์ ไทย (ละคร) ช้ันมธั ยมศึกษาปี ที่ 3 เล่มน้ี จดั ทาํ ข้ึนเพ่ือใชป้ ระกอบการเรียนการสอนรายวชิ านาฏศลิ ป์ ไทย(ละคร) ตามหลกั สูตรสถานศึกษาวทิ ยาลยั นาฏศิลป์ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน เป็ นการสนองนโยบายสถานศึกษาที่มุ่งเน้นผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียนดา้ นทักษะปฏิบัตินาฏศิลป์ มุ่งพฒั นาผูเ้ รียนโดยเน้นผูเ้ รียนเป็ นสําคญั การวดั ผลประเมินผลใน แผนการจดั กิจกรรมการเรียนรู้เลม่ น้ี มีการวดั ผลท่ีหลากหลาย ไดแ้ ก่ การสังเกตพฤติกรรมในการร่วมกิจกรรม การเรียนรู้ แบบฝึกหัด ใบงาน โครงงาน แบบประเมินการอภิปรายหนา้ ช้ันเรียน แบบประเมินทกั ษะภาษา นาฏศลิ ป์ แบบประเมนิ ทกั ษะนาฏยศพั ท์ แบบประเมินการรอ้ งเพลง และแบบประเมนิ ทกั ษะการปฏิบตั ิทา่ ราํ ผจู้ ดั ทาํ หวงั เป็นอยา่ งยง่ิ ว่าแผนการจดั การเรียนรูก้ ลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาชีพเฉพาะนาฏศิลป์ ไทย (ละคร) เล่มน้ีจะส่งผลใหผ้ เู้ รียนเกิดองคค์ วามรูแ้ ละคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงคต์ ามหลกั สูตรการศึกษา ข้นั พ้นื ฐานต่อไป คณะผจู้ ดั ทาํ

ค มาตรฐานท่ี 1 โครงสรางหลกั สตู รพ้นื ฐานวิชาชีพเฉพาะวทิ ยาลยั นาฏศลิ ป มาตรฐานที่ 2 หมวดวิชานาฏศลิ ป ( ละคร ) ชัน้ มธั ยมศึกษาตอนตน เขาใจหลักการฝกหัดเบื้องตน นาฏยศัพท ประวัติความเปนมา และ องคประกอบของ รำมาตรฐาน ระบำมาตรฐาน รำหนาพาทย ระบำ เบ็ดเตล็ด เพลงปลุกใจใหสัมพันธระหวางนาฏศิลปไทยกับประวัติศาสตร สังคมและวัฒนธรรม วิเคราะหวิพากษ วิจารณ นาฏศิลปไทยอยาง สรางสรรคถายทอดความคิดเห็น ความรูสึกความคิดริเริ่มอยางอิสระ สามารถนำไปประยกุ ตใชใ นชีวิตประจำวนั มีทักษะในการปฏิบัติการฝกหัดเบือ้ งตน ทานาฏยศัพท รำมาตรฐาน ระบำ มาตรฐานรำหนาพาทย ระบำเบ็ดเตลด็ เพลงปลกุ ใจไดถกู ตอ งตามแบบแผน เพื่ออนุรักษ สืบทอด เผยแพร เห็นคุณคาของนาฏศิลปไทยอันเปน มรดก ทางวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถิ่นและภูมิปญญาไทย รวมทั้งสามารถนำ ความรูทีเ่ รยี นมาบูรณาการได

ง สาระและมาตรฐานการเรยี นรู สาระท่ี 1 การฝกหดั เบือ้ งตน และนาฏยศัพท มาตรฐานที่ ศ 1.1 มีความรูความเขาใจ เกี่ยวกับที่มา ความหมาย หลักการปฏิบัติ รวมทั้งเห็น คุณคา ของ การฝกหดั เบ้ืองตน และนาฏยศัพท มาตรฐานที่ ศ 1.2 มที ักษะในการปฏบิ ัตทิ า ฝกหัดเบื้องตน และทานาฏยศัพทไดอ ยางถูกตองตาม แบบแผน สาระท่ี 2 รำมาตรฐาน มาตรฐานท่ี ศ 2.1 มีความรูความเขาใจ สามารถอธิบายประวัติความเปนมาองคประกอบ และ ประโยชนของการฝก ปฏิบัตริ ำมาตรฐาน มาตรฐานท่ี ศ 2.2 มที กั ษะในการปฏิบัติทารำ รำมาตรฐานไดอ ยา งถูกตอ งตามแบบแผน สาระที่ 3 ระบำมาตรฐาน มาตรฐานที่ ศ 3.1 มีความรูความเขา ใจสามารถอธิบายประวัติความเปนมาองคประกอบของระบำ มาตรฐาน มาตรฐานท่ี ศ 3.2 มที ักษะในการปฏิบตั ทิ ารำ ระบำมาตรฐานไดอยางถูกตอ งตามแบบแผน สาระที่ 4 รำหนา พาทย มาตรฐานที่ ศ 4.1 มคี วามรูค วามเขาใจสามารถอธบิ ายประวัติความเปนมาองคป ระกอบของรำหนา พาทย มาตรฐานที่ ศ 4.2 มที กั ษะในการปฏบิ ัตทิ ารำ เพลงหนา พาทยไ ดอ ยา งถูกตอ งตามแบบแผน สาระที่ 5 ระบำเบด็ เตล็ด มาตรฐานที่ ศ 5.1 มีความรูความเขาใจสามารถอธิบายประวัติความเปนมาองคประกอบของระบำ เบ็ดเตล็ด มาตรฐานที่ ศ 5.2 มีทักษะในการปฏบิ ัติทารำ ระบำเบ็ดเตลด็ ไดอ ยา งถกู ตอง ตามแบบแผน

จ สาระที่ 6 เพลงปลุกใจ มาตรฐานที่ ศ 6.1 มีความรูความเขาใจสามารถอธิบายประวตั ิความเปน มาองคป ระกอบของเพลง ปลกุ ใจ มาตรฐานที่ ศ 6.2 มที กั ษะในการปฏบิ ัติทารำ เพลงปลกุ ใจ ไดอยา งถูกตอ งตามแบบแผน สาระท่ี 7 อนุรกั ษเผยแพรและสืบทอดศลิ ปวัฒนธรรมไทย มาตรฐานท่ี ศ 7.1 เขา ใจและเหน็ คุณคานาฏศิลปไทย วิเคราะห วพิ ากษ วจิ ารณ นาฏศลิ ปไทยอยาง สรางสรรค ถายทอดความคิดเห็นความรูสึก ความคิดริเริ่มอยางอิสระ สามารถ นำไป ประยุกตใ ชในชวี ิตประจำวันเขาใจบทบาทความสัมพนั ธร ะหวา งนาฏศิลปไทยกับ ประวตั ิศาสตร สังคมและวัฒนธรรม มาตรฐานท่ี ศ 7.2 อนุรักษ สืบทอด เผยแพร เห็นคุณคาของนาฏศิลปไทยอันเปนมรดกทาง วัฒนธรรม ภูมปิ ญญาทองถิน่ และภมู ิปญ ญาไทย รวมทั้งสามารถนำความรูมาบูรณาการได คณุ ภาพผเู รยี น จบชัน้ มธั ยมศึกษาปท ี่ 3  รูและเขาใจ สามารถอธิบายหลักการฝกหัดเบื้องตน นาฏยศัพท ประวัติความเปนมา และ องคประกอบของรำมาตรฐาน ระบำมาตรฐาน รำหนาพาทย ระบำเบ็ดเตล็ด และเพลงปลุกใจได สามารถวิเคราะห วิพากษ วิจารณ เปรียบเทียบ เห็นคุณคาของนาฏศิลปไทยอันเปนมรดกทาง วัฒนธรรมของชาติ  มีทักษะในการปฏิบัติการฝกหัดเบื้องตน สามารถปฏิบัติทานาฏยศัพท รำมาตรฐาน ระบำ มาตรฐาน รำหนา พาทย ระบำเบ็ดเตลด็ และเพลงปลุกใจไดถ ูกตอ งตามแบบแผน  มคี วามคิดริเร่ิมสรา งสรรค สามารถนำความรูม าบรู ณาการในการแสดงผลสมั ฤทธิท์ างวิชาชีพ อนุรักษ สืบทอด เผยแพร ตระหนักและเห็นคุณคาของนาฏศิลปไทยอันเปนมรดกทางวัฒนธรรม ภมู ิปญญาทองถน่ิ และภมู ิปญ ญาไทย

ฉ โครงสรางหลกั สูตรพื้นฐานวชิ าชีพเฉพาะ วทิ ยาลยั นาฏศลิ ป กลมุ สาระการเรยี นรู วิชาชพี เฉพาะ นาฏศิลปไทย (ละคร) ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที่ 3 จำนวน 6 สาระ 12 มาตรฐาน มผี ลการเรยี นรู จำนวน 39 ขอ

ช โครงสรางหลกั สูตรพื้นฐานวิชาชพี เฉพาะวิทยาลยั นาฏศลิ ป กลุมสาระวิชาชพี เฉพาะนาฏศิลปไ ทย (ละคร) ระดับชน้ั มัธยมศกึ ษาปท่ี 3 สาระที่ 2 รำมาตรฐาน ผลการเรียนรู มาตรฐาน สาระการเรยี นรสู ถานศกึ ษา ภาคเรยี นที่ มาตรฐานที่ ศ 2.1 1. อธิบายประวัตคิ วามเปนมา นาฏย  ประวัติความเปนมารำมาตรฐาน 1 มีความรูความ ศัพท ของรำมาตรฐานได แมบ ทเล็กออกตน วรเชษฐ 1 เขา ใจ สามารถ 2. ระบอุ งคป ระกอบของรำมาตรฐาน  องคประกอบ อธบิ ายประวตั ิ ได - เครอ่ื งแตงกาย ความเปน มา - เครอ่ื งดนตรี องคป ระกอบของรำ - บทรองและทำนองเพลง มาตรฐาน -โอกาสทใี่ ช มาตรฐานที่ ศ 2.2 1. รอ งเพลงชมตลาด ไดถ ูกตอ งตาม  บทรอ งและทำนองเพลงชม สามารถรอ งและ บทรอง ทำนอง และจังหวะ ตลาด (แมบทเล็กออกตน วรเชษฐ) ปฏบิ ตั ิทา รำ 2. อธิบายและเปรยี บเทียบ  ทา รำมาตรฐาน แมบทเล็ก มาตรฐาน ความหมายของทารำมาตรฐานได 3. ปฏิบตั ทิ ารำมาตรฐานไดถูกตอ ง ตามแบบแผน สาระท่ี 3 ระบำมาตรฐาน มาตรฐาน ผลการเรยี นรู สาระการเรียนรสู ถานศึกษา ภาคเรยี นท่ี มาตรฐานท่ี ศ 3.1 1. อธิบายประวัตคิ วามเปนมา นาฏย  ประวัตคิ วามเปน มา และนาฏย 1 มคี วามรูความเขาใจ ศพั ทของระบำมาตรฐานได ศพั ท ของระบำมาตรฐาน สามารถอธิบาย 2. ระบุองคป ระกอบของระบำ - ระบำนันทอุทยาน ภาคเรยี นที่ ประวตั คิ วามเปนมา มาตรฐานได  องคประกอบ 1 องคประกอบของ - เครอื่ งแตง กาย ระบำมาตรฐาน - เครือ่ งดนตรี - บทรอ งและทำนองเพลง -โอกาสท่ใี ช มาตรฐาน ผลการเรยี นรู สาระการเรียนรสู ถานศึกษา มาตรฐานที่ ศ 3.2 1. รอ งเพลงระบำมาตรฐานไดถูกตอ ง  บทรอ งและทำนองเพลง สามารถรอ งและ ตามบทรอง ทำนอง และจังหวะ - ระบำนันทอุทยาน ปฏิบตั ทิ า รำ ระบำ 2. ปฏิบตั ิทารำระบำมาตรฐานได  ทารำระบำมาตรฐาน มาตรฐาน ถกู ตอ งตามแบบแผน - ระบำนันทอุทยาน

ซ สาระที่ 4 รำหนา พาทย ผลการเรยี นรู สาระการเรียนรูส ถานศึกษา ภาคเรียนท่ี มาตรฐาน มาตรฐานท่ี ศ 4.1 1. อธิบายประวัตคิ วามเปน มา  ประวัตคิ วามเปนมา และ 1 มคี วามรูความเขาใจ นาฏยศพั ทของรำหนา พาทยได นาฏยศพั ท เพลงหนา พาทยสีนวล สามารถอธิบาย 2. ระบอุ งคประกอบของรำหนา  องคป ระกอบ ประวตั ิความเปน มา พาทยได - เครื่องแตง กาย องคป ระกอบของ - เคร่ืองดนตรี เพลงหนา พาทย - ทำนองเพลง - โอกาสที่ใช มาตรฐานที่ ศ 4.2 1. ปฏบิ ตั ิทารำเพลงหนาพาทย  ทารำเพลงหนา พาทยส ีนวล 1 สามารถปฏิบตั ทิ ารำ ไดถกู ตอ งตามแบบแผน เพลงหนาพาทย สาระท่ี 5 ระบำเบ็ดเตลด็ มาตรฐาน ผลการเรียนรู สาระการเรยี นรสู ถานศกึ ษา ภาคเรยี นท่ี มาตรฐานท่ี ศ 5.1 1. อธิบายประวตั คิ วามเปน มา  ประวตั ิความเปนมา และ 1 มคี วามรู ความเขา ใจ ของระบำเบ็ดเตล็ดได นาฏยศัพทข องระบำ-เบ็ดเตล็ด 1 สามารถอธบิ าย 2.ระบุองคประกอบของระบำ ประวัติความเปนมา เบด็ เตล็ดได - ญวนรำกระถาง องคป ระกอบของ - จีนรำพดั ระบำเบด็ เตล็ด - มยุราภิรมย - มฤคระเรงิ มาตรฐานท่ี ศ 5.2 1. รอ งเพลงระบำเบ็ดเตลด็ ได  องคประกอบของระบำ สามารถรองและ ถูกตอ งตามบทรอ ง ทำนอง และ เบด็ เตลด็ ปฏิบัตทิ า รำ ระบำ จงั หวะ - เครอ่ื งแตง กาย เบ็ดเตล็ด - เคร่ืองดนตรี - บทรองและทำนองเพลง - โอกาสที่ใช  บทรองและทำนองเพลงระบำ เบด็ เตลด็ - ญวนรำกระถาง - จนี รำพัด - มยรุ าภิรมย - มฤคระเริง  ทา รำระบำเบด็ เตลด็

ฌ มาตรฐาน ผลการเรยี นรู สาระการเรียนรสู ถานศกึ ษา ภาคเรยี นที่ 2. ปฏิบตั ิทารำ ระบำเบ็ดเตล็ด ได - ญวนรำกระถาง 1 ถกู ตอ งตามแบบแผน - จีนรำพดั - มยรุ าภิรมย - มฤคระเริง สาระที่ 3 ระบำมาตรฐาน มาตรฐาน ผลการเรยี นรู สาระการเรยี นรูส ถานศึกษา ภาคเรียนที่ มาตรฐานท่ี ศ 3.1 1. อธิบายประวัติความเปน มา  ประวัติความเปน มา และนาฏย 2 มคี วามรู ความเขาใจ นาฏยศัพทของระบำมาตรฐานได ศัพทข องระบำมาตรฐาน 2 สามารถอธิบาย - ระบำพรหมาสตร ประวตั คิ วามเปนมา 2. ระบอุ งคป ระกอบของระบำ  องคประกอบ องคป ระกอบของ มาตรฐานได - เครอ่ื งแตง กาย ระบำมาตรฐาน - เครือ่ งดนตรี - บทรองและทำนองเพลง - โอกาสที่ใช มาตรฐานที่ ศ 3.2 1. รองเพลงระบำมาตรฐานไดถกู ตอ ง  บทรอ งและทำนองเพลง สามารถรอง ตามบทรอง ทำนอง และจงั หวะ - ระบำพรหมาสตร และปฏบิ ตั ิทารำ 2. ปฏบิ ตั ิทารำระบำมาตรฐาน ได ระบำมาตรฐาน ถูกตอ งตามแบบแผน  ทารำระบำมาตรฐาน - ระบำพรหมาสตร สาระท่ี 4 รำหนา พาทย ผลการเรยี นรู มาตรฐาน สาระการเรียนรูส ถานศกึ ษา ภาคเรยี นท่ี มาตรฐานท่ี ศ 4.1 1. อธบิ ายประวัตคิ วามเปนมา  ประวตั ิความเปนมา และนาฏย 2 มคี วามรู ความเขาใจ นาฏยศัพทข องรำหนา พาทยไ ด ศัพท เพลงหนาพาทยพ ญาเดิน 2 สามารถอธบิ าย 2.ระบุองคประกอบของรำหนา  องคป ระกอบ ประวัติความเปนมา พาทยได องคป ระกอบของ - เคร่ืองแตง กาย เพลงหนาพาทย - เครอ่ื งดนตรี - ทำนองเพลง มาตรฐานท่ี ศ 4.2 1. ปฏบิ ัติทารำหนาพาทยได - โอกาสที่ใช สามารถ ปฏบิ ัติทารำ ถกู ตอ งตามแบบแผน  ทารำเพลงหนาพาทยพญาเดิน เพลงหนา พาทย

ญ สาระท่ี 5 ระบำเบ็ดเตล็ด มาตรฐาน ผลการเรียนรู สาระการเรยี นรสู ถานศกึ ษา ภาคเรียนที่ มาตรฐานท่ี ศ 5.1 1. อธิบายประวตั คิ วามเปน มา  ประวตั คิ วามเปนมา และนาฏย 2 มีความรู ความเขา ใจ นาฏยศพั ทข องระบำเบ็ดเตล็ดได ศพั ทของระบำเบ็ดเตล็ด สามารถอธิบาย 2. ระบอุ งคป ระกอบของระบำ - ฟอนเล็บ ประวตั ิความเปน มา เบด็ เตล็ดได - ฟอนเทยี น องคป ระกอบของ - รำวงมาตรฐาน 4 เพลง ระบำเบ็ดเตล็ด (หญิงไทยใจงาม, ดวงจนั ทรขวญั ฟา , ยอดชายใจหาญ, บชู านกั รบ)  องคประกอบของระบำเบ็ดเตล็ด - เครอ่ื งแตง กาย - เคร่ืองดนตรี - บทรอ งและทำนองเพลง - โอกาสท่ีใช มาตรฐานที่ ศ 5.2 1. รองเพลงระบำเบด็ เตลด็  บทรอ งและทำนองเพลงระบำ 2 สามารถรอ งและ ไดถ ูกตองตามบทรอง ทำนอง เบด็ เตล็ด ปฏิบตั ิทา รำ ระบำ และจงั หวะ - ฟอนเล็บ เบ็ดเตลด็ - ฟอ นเทยี น - รำวงมาตรฐาน 4 เพลง (หญิงไทยใจงาม, ดวงจนั ทรข วญั 2. ปฏิบัติทารำ ระบำเบ็ดเตลด็ ฟา , ไดถูกตองตามแบบแผน ยอดชายใจหาญ, บูชานกั รบ)  ทา รำระบำเบ็ดเตล็ด - ฟอ นเล็บ - ฟอนเทยี น - รำวงมาตรฐาน 4 เพลง (หญงิ ไทยใจงาม, ดวงจนั ทรข วญั ฟา , ยอดชายใจหาญ, บูชานักรบ)

ฎ สาระท่ี 6 เพลงปลุกใจ มาตรฐาน ผลการเรียนรู สาระการเรียนรูสถานศกึ ษา ภาคเรียนท่ี มาตรฐานที่ ศ 6.1 1. อธิบายประวัตคิ วามเปนมาของ  ประวตั คิ วามเปน มาของเพลงปลุก 2 มีความรู ความเขาใจ เพลงปลุกใจได ใจ บางระจัน 2 สามารถอธิบาย 2. ระบอุ งคประกอบของเพลงปลุกใจ  องคประกอบ ประวตั ิความเปน มา ได องคประกอบของ - เคร่อื งแตง กาย เพลงปลุกใจ - เคร่ืองดนตรี - บทรอ งและทำนองเพลง มาตรฐานที่ ศ 6.2 1. รองเพลงปลุกใจไดถูกตอ งตามบท - โอกาสท่ีใช สามารถรองและ รอ ง ทำนอง และจงั หวะ  บทรอ งและทำนองเพลงปลกุ ใจ ปฏิบัตทิ า รำเพลง 2. ปฏบิ ตั ิทารำเพลงปลกุ ใจไดถูกตอง บางระจนั ปลุกใจ ตามแบบแผน  ทารำเพลงปลุกใจบางระจนั สาระที่ 7 อนรุ ักษเผยแพรและสบื ทอดศลิ ปวฒั นธรรมไทย มาตรฐาน ผลการเรยี นรู สาระการเรียนรสู ถานศึกษา ภาคเรยี นที่ มาตรฐานที่ ศ 7.1 1. เขาใจและเหน็ คุณคาในการเรยี น  การฝก หดั เบือ้ งตน และนาฏยศพั ท 2 เขา ใจและเหน็ คุณคา นาฏศิลปไ ทย เบ้ืองตน นาฏศิลปไทย 2.วเิ คราะห วพิ ากษ วจิ ารณ ทารำ  รำมาตรฐาน วิเคราะห วพิ ากษ นาฏศลิ ปไ ทยไดอ ยางสรา งสรรค  ระบำมาตรฐาน วจิ ารณ นาฏศิลปไ ทย 3. แสดงความคิดเห็น ความรูสึก  รำหนาพาทย อยา งสรางสรรค ความคิดริเริ่มดานนาฏศลิ ปไ ทยอยา ง  ระบำเบ็ดเตลด็ ถา ยทอดความ อิสระ  เพลงปลกุ ใจ คิดเห็น ความรูสึก 4.นำความรูที่ไดไปประยกุ ตใ ชใหเกดิ ความคิดริเร่ิมอยา ง ประโยชนใ นวชิ าชีพ อิสระ สามารถนำไป 5. อธบิ ายและเปรียบเทยี บ บทบาท ประยุกตใ ชใ น ความสัมพนั ธระหวา งนาฏศลิ ปไ ทย ชีวติ ประจำวัน เขาใจ กับประวตั ิศาสตร สังคมและ บทบาทความสัมพันธ วฒั นธรรม ระหวา งนาฏศลิ ปไทย กับประวัติศาสตร สังคมและวฒั นธรรม

ฏ มาตรฐาน ผลการเรียนรู สาระการเรยี นรูสถานศึกษา ภาคเรียนท่ี มาตรฐานที่ ศ 7.2 1. ตระหนักและเห็นคุณคาของ  การฝก หัดเบ้ืองตน และ 2 อนุรกั ษ สืบทอด นาฏศลิ ปไ ทยอนั เปนมรดกทาง นาฏยศัพทเบอื้ งตน เผยแพร เห็นคุณคา วฒั นธรรม ภมู ปิ ญ ญาทองถ่นิ และภมู ิ  รำมาตรฐาน ของนาฏศิลปไ ทยอนั ปญญาไทย  ระบำมาตรฐาน เปนมรดกทาง 2. อนุรกั ษ สบื ทอด เผยแพร  รำหนาพาทย วัฒนธรรม ภมู ิปญญา นาฏศลิ ปไทยอันเปนมรดกทาง  ระบำเบด็ เตล็ด ทอ งถนิ่ และภมู ิ วฒั นธรรม  เพลงปลุกใจ ปญญาไทย รวมทงั้ 3. นำความรมู าบรู ณาการได สามารถนำความรมู า บูรณาการได

ฐ โครงสรา งหลักสูตรพนื้ ฐานวิชาชีพเฉพาะวทิ ยาลัยนาฏศิลป กลมุ สาระวชิ าชีพเฉพาะนาฏศลิ ปไทย (ละคร) ระดับช้นั มัธยมศึกษาปท ่ี 3 ภาคเรยี นท่ี 1 สาระท่ี 2 รำมาตรฐาน มาตรฐาน ศ 2.1 มีความรูความเขาใจ สามารถอธิบายประวตั คิ วามเปนมาองคป ระกอบของรำ มาตรฐาน ผลการเรียนรู สาระการเรยี นรสู ถานศกึ ษา 1. อธบิ ายประวัติความเปนมา นาฏยศัพท ของ  ประวตั คิ วามเปน มา และนาฏยศพั ทของรำ รำมาตรฐานได มาตรฐาน แมบ ทเลก็ - ออกตน วรเชษฐ 2. ระบอุ งคป ระกอบของรำมาตรฐานได  องคป ระกอบ - เคร่ืองแตงกาย - เครือ่ งดนตรี - บทรองและทำนองเพลง - โอกาสท่ีใช มาตรฐาน ศ 2.2 สามารถรองและปฏบิ ัติทา รำมาตรฐาน สาระการเรยี นรูสถานศึกษา ผลการเรียนรู 1. รอ งเพลงชมตลาด ไดถ ูกตองตามบทรอ ง  บทรอ งและทำนองเพลงชมตลาด (แมบทเล็ก ทำนอง และจงั หวะ ออกตนวรเชษฐ) 2. อธบิ ายและเปรียบเทียบความหมายของทา รำ  ทา รำมาตรฐาน แมบทเล็ก มาตรฐานได 3. ปฏิบัติทารำมาตรฐานไดถูกตองตามแบบแผน

ฑ สาระที่ 3 ระบำมาตรฐาน มาตรฐานที่ ศ 3.1 มีความรูความเขาใจ สามารถอธิบายประวัติความเปนมาองคประกอบของระบำ มาตรฐาน ผลการเรียนรู สาระการเรยี นรสู ถานศกึ ษา 1. อธิบายประวัติความเปนมา นาฏยศัพทของระบำ  ประวัตคิ วามเปนมาและนาฏยศัพท ของ มาตรฐานได ระบำมาตรฐาน - ระบำนันทอุทยาน 2. ระบุองคประกอบของระบำมาตรฐานได  องคประกอบ - เครือ่ งแตง กาย - เครื่องดนตรี - บทรองและทำนองเพลง - โอกาสท่ีใช มาตรฐานท่ี ศ 3.2 สามารถรองและปฏบิ ตั ิทารำ ระบำมาตรฐาน สาระการเรียนรสู ถานศึกษา ผลการเรยี นรู 1. รอ งเพลงระบำมาตรฐานไดถ ูกตองตามบทรอง  บทรองและทำนองเพลง ทำนอง และจงั หวะ - ระบำนนั ทอุทยาน 2. ปฏิบัติทารำระบำมาตรฐานไดถกู ตอ งตามแบบแผน  ทารำระบำมาตรฐาน - ระบำนนั ทอุทยาน สาระที่ 4 รำหนา พาทย มาตรฐานที่ ศ 4.1 มีความรคู วามเขา ใจ สามารถอธบิ ายประวัตคิ วามเปนมาองคประกอบของเพลง หนา พาทย ผลการเรียนรู สาระการเรียนรสู ถานศกึ ษา 1. อธิบายประวตั คิ วามเปน มา นาฏยศัพทข อง  ประวตั คิ วามเปนมา และนาฏยศัพท เพลง รำหนาพาทยไ ด หนา พาทยส ีนวล 2. ระบอุ งคประกอบของรำหนา พาทยได  องคป ระกอบ - เครอื่ งแตง กาย - เครือ่ งดนตรี - ทำนองเพลง - โอกาสที่ใช

ฒ มาตรฐานที่ ศ 4.2 สามารถปฏิบัติทารำเพลงหนา พาทย สาระการเรียนรูสถานศึกษา ผลการเรียนรู 1. ปฏิบัตทิ ารำเพลงหนา พาทย ไดถูกตอ งตาม  ทา รำเพลงหนา พาทยสีนวล แบบแผน สาระที่ 5 ระบำเบด็ เตลด็ มาตรฐานท่ี ศ 5.1 มีความรูความเขาใจ สามารถอธิบายประวัตคิ วามเปนมาองคป ระกอบของระบำ เบ็ดเตล็ด ผลการเรยี นรู สาระการเรียนรูส ถานศกึ ษา 1. อธบิ ายประวัตคิ วามเปนมาของระบำ  ประวตั ิความเปนมา และนาฏยศพั ทข อง เบ็ดเตล็ดได ระบำเบด็ เตลด็ - ญวนรำกระถาง - จนี รำพดั - มยรุ าภริ มย - มฤคระเรงิ

ณ ผลการเรยี นรู สาระการเรยี นรูสถานศึกษา 2.ระบอุ งคประกอบของระบำเบ็ดเตล็ดได  องคประกอบของระบำเบ็ดเตล็ด - เครื่องแตง กาย - เครือ่ งดนตรี - บทรอ งและทำนองเพลง - โอกาสท่ีใช มาตรฐานท่ี ศ 5.2 สามารถรอ งและปฏิบัติทา รำ ระบำเบด็ เตลด็ ผลการเรียนรู สาระการเรียนรูสถานศกึ ษา 1. รอ งเพลงระบำเบด็ เตลด็ ไดถูกตอ งตามบท  บทรองและทำนองเพลงระบำเบ็ดเตลด็ รอง ทำนอง และจงั หวะ - ญวนรำกระถาง - จีนรำพดั - มยรุ าภริ มย - มฤคระเริง 2. ปฏิบตั ิทารำระบำเบ็ดเตล็ดไดถ กู ตองตาม  ทารำระบำเบด็ เตล็ด แบบแผน - ญวนรำกระถาง - จีนรำพดั - มยรุ าภริ มย - มฤคระเริง

ด โครงสรางกลมุ สาระการเรียนรู วิชาชพี เฉพาะนาฏศลิ ปไทย (ละคร) ช้นั มธั ยมศึกษาปท ่ี 3 ภาคเรียนที่ 1 มาตรฐานการ ลำดบั ช่อื หนว ยการ เรยี นรู/ผลการ สาระสำคญั เวลา นำ้ หนัก ที่ เรียนรู (ชัว่ โมง) คะแนน เรยี นรู 1 รำมาตรฐาน ศ 2.1 ม. 3/1  ประวัติความเปนมารำ 48 20 “แมบทเล็ก ม. 3/2 มาตรฐานแมบทเลก็ ออกตน ออกตนวรเชษฐ” วรเชษฐ 15  องคป ระกอบ - เครอื่ งแตงกาย 15 - เคร่อื งดนตรี - ทำนองเพลง - โอกาสทใ่ี ช ศ 2.2 ม. 3/1 ปฏบิ ตั กิ ารรอ ง ม. 3/2 ปฏบิ ัติทารำ ม. 3/3 2 ระบำมาตรฐาน ศ 3.1 ม. 3/1  ประวัตคิ วามเปนมา ระบำ 36 “ระบำนนั ทอุ ม. 3/2 มาตรฐาน “ระบำนนั ทอุยาน” ยาน”  องคป ระกอบ - เครื่องแตง กาย - เครอื่ งดนตรี - ทำนองเพลง - โอกาสทใ่ี ช ศ 3.2 ม. 3/1 ปฏิบัตกิ ารรอง ม. 3/2 ปฏิบตั ิทารำ 3 รำหนาพาทย ศ 4.1 ม. 3/1  ประวัตคิ วามเปน มารำหนา 36 “หนาพาทย ม. 3/2 พาทย “หนาพาทยส นี วล” สีนวล”  องคป ระกอบ - เครือ่ งแตง กาย - เครื่องดนตรี - ทำนองเพลง - โอกาสท่ีใช ศ 4.2 ม. 3/1  ปฏิบตั ิทารำ

ต ลำดบั ช่ือหนว ยการ มาตรฐานการ สาระสำคญั เวลา นำ้ หนัก ที่ เรยี นรู เรียนรู/ผลการ (ชวั่ โมง) คะแนน เรียนรู 4 ระบำเบด็ เตล็ด ศ 5.1 ม. 3/1  ประวตั ิความเปน มา ระบำ 36 15 “ญวนรำ ม. 3/2 เบ็ดเตลด็ กระถาง” “ญวนรำกระถาง”  องคประกอบ - เครอื่ งแตงกาย - เคร่ืองดนตรี - ทำนองเพลง - โอกาสท่ใี ช  ปฏิบตั ิการรอง  ปฏิบตั ิทารำ 5 ระบำเบ็ดเตลด็ ศ 5.1 ม. 3/1  ประวัติความเปนมา ระบำ 36 15 “จนี รำพัด” ม. 3/2 เบด็ เตล็ด “จีนรำพัด”  องคประกอบ - เครอ่ื งแตง กาย - เครอ่ื งดนตรี - ทำนองเพลง ศ 5.2 ม. 3/1 - โอกาสทีใ่ ช ม. 3/2  ปฏิบตั กิ ารรอง  ปฏิบัติทา รำ 6 ระบำเบด็ เตล็ด ศ 5.1 ม. 3/1  ประวตั คิ วามเปนมา ระบำ 24 10 “มยุราภริ มย” ม. 3/2 เบ็ดเตล็ด “มยุราภิรมย”  องคประกอบ - เครื่องแตง กาย - เครอ่ื งดนตรี - ทำนองเพลง - โอกาสทใ่ี ช ศ 5.2 ม. 3/1  ปฏิบัติการรอง ม. 3/2  ปฏบิ ตั ิทารำ

ถ ลำดับ ชือ่ หนวยการ มาตรฐานการ สาระสำคญั เวลา น้ำหนัก ที่ เรียนรู เรียนร/ู ผลการ (ชั่วโมง) คะแนน เรยี นรู 7 ระบำเบด็ เตลด็ ศ 5.1 ม. 3/1  ประวตั ิความเปนมา ระบำ 24 10 “มฤคระเริง” ม. 3/2 เบ็ดเตลด็ “มฤคระเรงิ ”  องคประกอบ - เครอ่ื งแตง กาย - เครอื่ งดนตรี - ทำนองเพลง ศ 5.2 ม. 3/1 - โอกาสทใี่ ช ม. 3/2  ปฏบิ ตั กิ ารรอง  ปฏบิ ตั ิทา รำ

ท รหัสวชิ า ศ 23207 คำอธบิ ายรายวชิ า ชอ่ื รายวชิ านาฏศิลปไ ทย ละคร 5 กลุม สาระการเรียนรูนาฏศลิ ปไทย ละคร ชัน้ มธั ยมศึกษาป ท่ี 3 เวลา 240 ชัว่ โมง จำนวน 6 หนวยกติ ……………………………………………………………………………………………………………………………………… …… ประวัติความเปนมาและหลักการปฏิบัติ รำมาตรฐาน แมบทเล็กออกตนวรเชษฐ ระบำ มาตรฐาน นันทอุทยาน รำหนาพาทย สีนวล ระบำเบ็ดเตล็ด ญวนรำกระถาง จีนรำพัด มยุราภิรมย มฤคระเริง ระบุองคประกอบไดแก เครื่องแตงกาย เครื่องดนตรี บทรอง และทำนองเพลง โอกาสที่ใช รำ มาตรฐาน แมบทเล็กออกตนวรเชษฐ ระบำมาตรฐาน นันทอุทยาน รำหนาพาทย สีนวล ระบำ เบด็ เตลด็ ญวนรำกระถาง จีนรำพดั มยรุ าภิรมย มฤคระเริง ปฏบิ ตั ทิ ารำ รำมาตรฐาน แมบทเล็กออกตนวรเชษฐ ระบำมาตรฐาน นนั ทอทุ ยาน รำหนา พาทย สีนวล ระบำเบด็ เตล็ด ญวนรำกระถาง จนี รำพดั มยรุ าภริ มย มฤคระเริง สงเสริมใหผูเรียนมีทักษะดานนาฏศิลปไทย ปลูกฝงใหผูเรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค ไดแ ก รกั ความเปน ไทย มีความสามารถในการส่ือสาร และวเิ คราะหขอมูลในการนำไปใชไดอยาง ถกู ตอง ผลการเรียนรู ศ 2.1 ม.3/1 ม.3/2 ศ 2.2 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 ศ 3.1 ม.3/1 ม.3/2 ศ 3.2 ม.3/1 ม.3/2 ศ 4.1 ม.3/1 ม.3/2 ศ 4.2 ม.3/1 ศ 5.1 ม.3/1 ม.3/2 ศ 5.2 ม.3/1 ม.3/2 รวมผลการเรยี นรู 16 ขอ

ธ แนวทางการจดั การเรียนรู

22 ภาคเรยี นท่ี 1

23 แผนการจัดการเรียนรูท ่ี 1 หนว ยการเรยี นรูที่ 1 เรอ่ื ง รำมาตรฐาน เรือ่ ง แมบ ทเล็ก รหัส ศ 23207 ชอื่ รายวิชานาฏศิลปไทย กลมุ สาระการเรียนรวู ิชาชพี นาฏศิลปล ะครชัน้ มธั ยมศึกษาปท ี่ 3 ภาคเรยี นท่ี 1 เวลา 48 ช่วั โมง ครูผสู อน นางสาวเกณิกา วงศนรินทร , นางนจิ วรรณ ขุนเณร , นางสาวฐานิดา วันโสภา มาตรฐานการเรียนรู/ผลการเรยี นรู มาตรฐานท่ี ศ 2.1 ม.3/1 ม.3/2 มีความรคู วามเขาใจ สามารถอธบิ ายประวตั คิ วามเปน มา องคป ระกอบของรำ มาตรฐาน มาตรฐานที่ ศ 2.2 ม.3/1 ม.3/2 ม.3.3 มีทักษะในการปฏบิ ัตทิ า ฝก หัดเบือ้ งตน และทา นาฏยศพั ทไ ดอ ยา งถูกตอ งตามมแบบ แผน จุดประสงคการเรยี นรู 1. จดุ ประสงคปลายทาง 1.1 เขา ใจและประยกุ ตใ ชเทคนคิ กระบวนการปฏบิ ตั ิดานนาฏศลิ ปต ามแบบแผน 1.2 วิเคราะห วิจารณ ประเมินคุณคาสุนทรียะ ถายทอดความรูสึก ความคิดอยาง อสิ ระ บนหลกั การศลิ ปะ 1.3 นำมาประยกุ ตใชใ นชวี ติ ประจำวนั ไดอยางเหมาะสม 2. จุดประสงคน ำทาง 2.1 นักเรยี นสามารถรหู ลกั และวธิ กี ารฝก ปฏิบัติเพลงแมบ ทเล็ก 2.2 นกั เรียนสามารถอธิบายนาฏยศพั ทท ่ีใชในเพลงแมบ ทเล็กได 2.3 นักเรียนสามารถอธิบายองคประกอบของชุดแมบทเล็กได เชน ประวัติความ เปน มา การแตงกาย เครื่องดนตรี และโอกาสท่ีใชแสดง 2.4 นักเรียนสามารถรอ งเพลงประกอบการแสดงแมบ ทเล็กได 2.5 นักเรยี นสามารถนำไปใชในชีวติ ประจำวันได

24 สาระสำคญั / ความคดิ รวบยอด แมบทเล็กหรือแมบทนางนารายณ เปนการรำมาตรฐานที่ถือเปนตนกำเนิดของเรื่อง ร า ม เ ก ี ย ร ต์ิ ซึ่งไดปรากฏในตำราการฟอนรำของอินเดีย ไทยไดนำมาประดิษฐเปนทารำแมบทเล็ก เชน ทาสอด สรอยมาลา ใชทำนองเพลงชมตลาด สาระการเรียนรู / เนื้อหายอย ความรู (K) 1. อธิบายประวัติความเปนมารำมาตรฐาน แมบ ทเล็กได 2. อธบิ ายองคประกอบเคร่ืองแตงกาย เครื่องดนตรี บทรอ งและทำนองเพลง และ โอกาสที่ใช เพลงแมบทเลก็ ได 3. อธิบายความหมายบทรองเพลงแมบทเลก็ ได 4. อธิบายนาฏยศพั ทท่ีใชในรำเพลงแมบทเลก็ ได 5. อธบิ ายทารำเพลงแมบทเล็กได ทกั ษะ / กระบวนการ (P) 1. รองเพลงแมบทเล็กได 2. ปฏบิ ตั ิทา ฝกหดั เบอื้ งตนไดถ ูกตอ ง ตามแบบแผน คุณลักษณะอันพึงประสงค (A) มีความรกั ชาติ ศาสน กษตั ริย มีวนิ ัย ใฝเ รียนรู มงุ มั่นในการทำงาน และรกั ความ เปนไทย สมรรถนะสำคัญของผูเรยี น - มคี วามสามารถในการสอื่ สาร และในการคิด การประเมนิ ผลรวบยอด ช้นิ งานหรอื ภาระงานท่มี อบหมายแกผเู รียน 1. แบบทดสอบ เรือ่ ง ประวัตคิ วามเปนมาและองคป ระกอบการแสดงรำเพลงแมบ ทเล็ก 2. การรองเพลงไดด วยตนเอง 3. การปฏบิ ัตทิ า รำดว ยตนเอง ใหเกิดทักษะและความชำนาญ

25 การวดั และการประเมนิ ผลการเรยี นรู ประเดน็ ระดับคุณภาพ การประเมนิ 4 3 2 1 - อธิบายประวัตคิ วาม - อธิบายประวตั ิ - อธบิ ายประวัติ - อธบิ ายประวตั ิ ดา นความรู เปน มาของเพลง ความเปนมาของ ความเปนมาเพลง ความเปน มาของ แมบทเล็ก อยา ง เพลงแมบ ทเล็ก แมบ ทเล็ก ไดอยางดี เพลงแมบ ทเล็กได (K) ถกู ตองและเหมาะสม ไดอ ยา งถูกตอ ง (Knowledge) ตรงกบั จดุ ประสงค การเรียน - ปฏบิ ัติทารำเพลง - ปฏิบตั ิทารำเพลง - ปฏิบัติทารำเพลง - ปฏิบัติทารำเพลง แมบ ทเล็กไดถ กู ตอง แมบทเล็ก พรอ มทงั้ มี แมบ ทเลก็ ไดถกู ตอง แมบทเลก็ ไดถูกตอง ดานทักษะ/ พรอ มท้ังมไี หวพรบิ ไหวพรบิ ปฏภิ าณใน พรอ มทัง้ มีไหวพรบิ กระบวนการ (P) ปฏิภาณในการ การแกป ญ หา ปฏิภาณในการ (Performance) แกปญหา ในขณะ ในขณะปฏบิ ัติทารำ แกป ญ หา ในขณะ ปฏบิ ัตทิ า รำไดอ ยางดี ไดอยางดี ปฏิบัตทิ า รำได เยี่ยม - มวี ินัย เขา เรียนตรง - มีวนิ ัย เขา เรยี นตรง - มีวินัย เขา เรยี นตรง - มวี นิ ยั เขา เรยี นตรง ตอ เวลา มีความสนใจ ตอเวลา มีความสนใจ ตอ เวลา มีความสนใจ ตอเวลา มีความสนใจ ดานคณุ ธรรม ใฝรู มีความ ใฝรู มคี วาม ใฝร ู มีควารบั ผิดชอบ ใฝรู มคี วารับผดิ ชอบ ธรรมจริยธรรม รับผิดชอบงานท่ี รบั ผิดชอบงานท่ี งานท่ีไดร บั งานท่ีไดร บั และคา นยิ ม (A) ไดรบั มอบหมาย ไดร บั มอบหมาย มอบหมาย มอบหมาย (Affective) มีนำ้ ใจเอ้อื เฟอ ผูอนื่ มีน้ำใจเอือ้ เฟอ ผอู ่นื มีนำ้ ใจเอื้อเฟอผูอ ื่น มีนำ้ ใจเออ้ื เฟอ ผอู ่นื รักความเปนไทยได รกั ความเปนไทยได รกั ความเปนไทยได รักความเปนไทยได อยางดีเยี่ยม อยางดี อยา งพอใช เปน บางครั้ง

26 กิจกรรมการเรยี นรู (การเรียนการสอนในรปู แบบในชัน้ เรียนและปรบั ใชใ นรูปแบบออนไลน) ขน้ั นำเขาสบู ทเรียน 1. นกั เรยี นฝกหดั เบือ้ งตน และทบทวนเพลงชา เพลงเรว็ เพลงแมบทใหญ 2. ใหนักเรียนดูวดี ีทัศนการแสดงโขน เรื่อง รามเกียรติ์ ตอนนารายณปราบนนทุก แลว ตอบคำถามตอไปน้ี - การรา ยรำของพระนารายณแปลงมีลกั ษณะทารำ และเพลงรองคลา ยกับเพลงใด - มีนาฏยศพั ทใดบางท่ีใชใ นการรำเพลงแมบ ทเล็ก 3. โยงเน้ือหาเขา สปู ระวตั คิ วามเปนมารำเพลงแมบ ทเลก็ ขั้นสอน (ใชก ารสอนแบบบรรยายและสาธิต) 1. แจกใบความรูที่ 1 เรื่อง ประวัติความเปนมาและองคประกอบการแสดงรำเพลง แมบทเลก็ 2. ครบู รรยายเนอื้ หาประกอบใบความรู นักเรยี นดเู นือ้ หาตามในใบความรู 3. นักเรียนทำกิจกรรมที่ 1 แบบทดสอบ เร่ือง ประวัตคิ วามเปนมาและองคประกอบ การแสดงรำเพลงแมบทเล็ก 4. นักเรียนและครแู ปลความหมายของบทรองเพลงแมบทเล็กรว มกัน 5. นกั เรยี นทำกจิ กรรมท่ี 2 แปลความหมายบทรอ งเพลงแมบทเลก็ 6. นักเรียนอา นเนื้อเพลงแมบ ทเลก็ พรอมกนั 1 รอบ 7. เปดซีดีเพลงแมบทเล็กใหนักเรียนฟง 2 รอบ เพื่อสังเกตการณรอง นักเรียนรอง เพลงแมบ ทเลก็ ทลี ะทอนเพลงตามการสาธิตของครู จนจบ แลวใหน กั เรียนรอ งเอง 2 รอบ ครู สังเกตพฤตกิ รรมสนใจใฝเรยี นรูการเรียนและคอยแกไขขอบกพรอ งใหถูกตอ ง 8. นักเรยี นปฏิบัตทิ า รำเพลงแมบทเลก็ ต้ังแตทา ออกจนจบบทรองตามการสาธิตของ ครูทีละทารำแลวใหนักเรียนปฏิบัติทารำเอง 2 รอบ ครูสังเกตพฤติกรรมสนใจใฝเรียนรูการ เรียนและคอยแกไ ขขอบกพรองใหถูกตอ ง 9. นกั เรยี นปฏิบัติทา รำเพลงวรเชษฐและเพลงเร็วลาจนจบเพลงตามการสาธิตของครู ทลี ะทา แลว ใหนกั เรยี นปฏิบตั ิทารำเอง 2 รอบ ครูสังเกตพฤติกรรมสนใจใฝเ รยี นรู การเรียน และคอยแกไขขอ บกพรองใหถ กู ตอ ง 10. นักเรยี นแบงกลมุ ฝกปฏบิ ัติทา รำ 11. นักเรยี นทำกจิ กรรมที่ 3 ประเมนิ ทกั ษะปฏิบัตทิ า รำเพลงแมบทเล็ก ขั้นสรปุ 1. นักเรยี นปฏบิ ตั ทิ ารำเพลงแมบทเล็กพรอมกัน 1 รอบ 2. ครแู นะนำวธิ ีการปฏบิ ัติทา รำใหสวยงาม พรอมสรุปเนอ้ื หาอีกครง้ั สือ่ การเรยี นรู 1. เคร่อื งเลนซดี ี 2. แผน เพลงชา , เพลงเร็ว เพลงแมบทใหญ เพลงแมบทเล็ก

27 3. วีดที ัศนก ารแสดงโขน เรื่อง รามเกยี รติ์ ตอนนารายณปราบนนทุก 4. เครือ่ งเลนโทรทศั น 5. ใบกจิ กรรมท่ี 1 แบบทดสอบ เร่อื ง ประวัตคิ วามเปนมาและองคประกอบการแสดงเพลง แมบทเล็ก 7. ใบกจิ กรรมท่ี 2 แปลความหมายบทรองเพลงแมบทเล็ก 8. แบบประเมนิ ทักษะปฏิบตั ทิ ารำเพลงแมบ ทเล็ก 9. แบบสังเกตพฤตกิ รรมสนใจ ใฝเรยี นรกู ารเรียน 10. แอปพลเิ คชัน Google meet , Line

28 แบบประเมนิ ทกั ษะปฏิบตั ิทารำเพลงแมบ ทเล็ก ชอ่ื ………………………………………………..ช้ัน……………................................... ละคร O พระ O นาง หัวขอ เกณฑการวัดผล คะแนนเต็ม คะแนนท่ไี ด 1. การ นักเรียนสามารถปฏิบตั ิทานาฏยศัพทใ หส มั พันธกับทา 5 ปฏิบตั ทิ า รำแมบทเลก็ ไดอยางถูกตองและสวยงาม นาฏยศพั ท นกั เรยี นสามารถปฏบิ ัติทานาฏยศพั ทใ หส มั พนั ธก ับทา รำแมบทเล็กไดเ ปน บางสว น (ผิด 3-5 ทา) 3 …………… นักเรยี นสามารถปฏบิ ัติทานาฏยศพั ทใ หสมั พันธก บั ทา รำแมบทเล็กไดเ ปนสวนนอย (ผิด 5 ทา ขนึ้ ไป) 2 2.ความ นักเรยี นสามารถปฏบิ ัติทารำและเรียงลำดับทารำ 5 แมน ยำใน แมบ ทเล็กไดอ ยางถกู ตองและสวยงาม การปฏิบตั ิ นักเรียนสามารถปฏิบตั ทิ ารำและเรียงลำดับทา รำ ทารำ แมบทเลก็ ไดอยางถูกตองและสวยงามไดเ ปน บางสวน 3 ……………. (ผิด 3-5 ทา) นักเรียนสามารถปฏิบตั ิทารำและเรียงลำดับทารำ แมบ ทเล็กไดอ ยา งถูกตองและสวยงามไดเ ปน สวนนอย 2 (ผดิ ตั้งแต 5 ทาข้นึ ไป) 3.การปฏิบตั ิ นกั เรียนสามารถปฏิบตั ิทารำแมบทเล็ก ไดถกู จงั หวะ 5 ทา รำได ตามทแ่ี บบแผนกำหนด ถูกตองตาม นักเรยี นสามารถปฏบิ ตั ทิ ารำแมบทเลก็ ไดถ กู จังหวะ จังหวะ ตามทแ่ี บบแผนกำหนดไดเ ปน บางสว น (ผดิ 3-5 ทา) 3 ……………. นักเรยี นสามารถปฏิบัตทิ ารำแมบ ทเล็กไดถูกจังหวะ ตามทแี่ บบแผนกำหนดไดเ ปนสวนนอ ย (ผิดตง้ั แต 5 2 ทาขนึ้ ไป) รวมคะแนนทไ่ี ด………………..(นำมาหาร 1.5) เทา กับ ………………..คะแนน ลงช่ือ …………………………..ผปู ระเมนิ

29 แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการเรียน คำช้ีแจง ใหทำเคร่อื งหมาย / ลงในชองรายการประเมนิ และสงั เกตพฤตกิ รรมท่ีกำหนด รายวิชานาฏศลิ ปไทย (ละคร) ศ 23207 ระดับมธั ยมศกึ ษาป ท่ี 3 แผนการจดั กจิ กรรมการเรยี นรทู ่ี 1 เรอ่ื ง เพลงแมบท เลก็ รายการประเมนิ เลข ช่ือ-สกลุ คะแนนเตม็ ท่ี ความสนใจ การปฏิบตั ิ ทำงานรว มกบั 9 คะแนน ในเร่อื งทีเ่ รยี น ทารำ ผอู นื่ ได 321321321 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 เกณฑระดับคณุ ภาพ ลงชื่อ......................................ผูประเมนิ ชว งคะแนน ระดบั คุณภาพ วันที่.................เดือน....................พ.ศ.......... ลงชอ่ื ......................................ผูประเมิน 7-9 ดเี ยีย่ ม วนั ที่.................เดือน....................พ.ศ.......... 4-6 ดี 1-3 พอใช

30 ขอเสนอแนะของหวั หนา สถานศกึ ษาหรือผูทไ่ี ดรับมอบหมาย (ตรวจสอบ,นเิ ทศ,เสนอแนะ,รบั รอง) …………………………………………………………..………………………………………………………………………………… …………………………………..………………………………………………………………………………………………………… ลงชอื่ ………………………………………….. ลงช่ือ………………………….…………………. (นางสดุ คนึง สนุ าคราช) (นายณุทชากร เกชณียาบุตร) หวั หนาภาควิชานาฏศิลป หัวหนา กลุมสาระนาฏศลิ ปไทย ละคร ลงชื่อ………………………………………. ลงช่อื ………………………….…………………. (นายปรเมศวร โพธค์ิ ลา ย) (นางธัญญลกั ษณ อุบลเลิศ) รองผอู ำนวยการฝายวิชาการ ผูอำนวยการวทิ ยาลัยนาฏศิลป รอยเอด็

31 บันทึกทา ยแผนการจัดการเรยี นรู รายวชิ า .......................................................................................................................................................... แผนการจดั การเรียนรทู ี่...............ครั้งท่ี.................วนั ท.่ี ..................เดอื น...............พ.ศ เรือ่ ง............................................................ชั้น......................................จำนวน................................... ชั่วโมง ผลการสอน 1. ผลการเรียนของนกั เรียน ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ 2. ผลการสงั เกต (การทำงานกลุม ,การอภิปราย,การรวมมือการปฏิบัติ,การนำเสนอ) ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ 3. บรรยากาศในหอ งเรยี น ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ 4. เทคนคิ การสอน/นวัตกรรม ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ 5. ปญหาและอปุ สรรค ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ 6. ขอ เสนอแนะ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ลงชอ่ื .................................................ครูผูสอน ลงช่อื .................................................ครูผสู อน (นางสาวเกณกิ า วงศน รินทร) (นางนจิ วรรณ ขนุ เณร) ลงชื่อ.................................................ครูผูส อน (นางสาวฐานดิ า วนั โสภา)

32 ขอ เสนอแนะ/ความคดิ เห็นหวั หนากลมุ สาระการเรียนรูว ชิ าชพี เฉพาะนาฏศิลป ไทย ละคร ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ (นางสุดคนึง สนุ าคราช) หวั หนากลุมสาระการเรยี นรูวชิ าชีพเฉพาะนาฏศิลปไทย ละคร ขอเสนอแนะ/ความคิดเหน็ หวั หนา ภาควิชานาฏศลิ ป ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ (นายณุทชากร เกชณยี าบุตร) หวั หนาภาควิชานาฏศิลป ขอ เสนอแนะ/ความคิดเห็นหวั หนาสถานศึกษา ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ (นางธญั ญลกั ษณ อุบลเลศิ ) ผูอำนวยการวิทยาลัยนาฏศิลปรอยเอด็

33 แผนการจัดการเรยี นรูท่ี 2 หนวยการเรยี นรทู ี่ 2 เรอื่ ง รำมาตรฐาน เรอ่ื ง ระบำนันทอุทยาน รหัส ศ 23270 ชื่อรายวิชานาฏศลิ ปไทย กลมุ สาระการเรยี นรูวชิ าชีพ นาฏศิลปล ะครชนั้ มธั ยมศึกษาปท ่ี 3 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 36 ชวั่ โมง ครูผสู อน นางสาวเกณกิ า วงศนรินทร , นางนจิ วรรณ ขนุ เณร , นางสาวฐานิดา วันโสภา มาตรฐานการเรยี นรู/ผลการเรียนรู มาตรฐานที่ ศ 3.1 ม.3/1 ม.3/2 มคี วามรูความเขาใจ สามารถอธบิ ายประวตั คิ วามเปนมา องคป ระกอบของรำ มาตรฐาน มาตรฐานที่ ศ 3.2 ม.3/1 ม.3/2 มีทกั ษะในการปฏิบตั ิทา ฝก หัดเบื้องตน และทา นาฏยศพั ทไดอยาง ถูกตอ งตามมแบบแผน จดุ ประสงคการเรียนรู 1. จุดประสงคป ลายทาง 1.1 เขา ใจและประยกุ ตใ ชเทคนิค กระบวนการปฏิบัตดิ า นนาฏศิลปต ามแบบแผน 1.2 วิเคราะห วิจารณ ประเมินคุณคาสุนทรียะ ถายทอดความรูสึก ความคิดอยาง อสิ ระ บนหลักการศิลปะ 1.3 นำมาประยุกตใชในชวี ติ ประจำวนั ไดอยางเหมาะสม 2. จดุ ประสงคนำทาง 2.1 นักเรยี นสามารถรูหลักและวธิ กี ารฝก ปฏบิ ัติเพลงระบำนันทอทุ ยาน 2.2 นักเรยี นสามารถอธิบายนาฏยศพั ทท ี่ใชในเพลงระบำนันทอทุ ยานได 2.3 นักเรียนสามารถอธิบายองคประกอบของชุดระบำนนั ทอทุ ยานได เชน ประวัติ ความ เปน มา การแตงกาย เครอื่ งดนตรี และโอกาสที่ใชแสดง 2.4 นกั เรยี นสามารถรองเพลงประกอบการแสดงระบำนันทอทุ ยานได 2.5 นกั เรยี นสามารถนำไปใชในชีวติ ประจำวนั ได สาระสำคญั / ความคิดรวบยอด ระบำชุดนี้ถือเปนระบำชุดหนึ่งในรูปแบบของระบำสมัยรัตนโกสินทร มีลักษณะ เฉพาะของ ระบำเปนรูปแบบของระบำสมัยรัตนโกสนิ ทร

34 สาระการเรยี นรู / เน้อื หายอย ความรู (K) 1. อธิบายประวัตคิ วามเปนมารำนันทอทุ ยานได 2. อธิบายองคประกอบเครอื่ งแตง กาย เคร่อื งดนตรี บทรอ งและทำนองเพลง และ โอกาสทีใ่ ช เพลงนนั ทอุทยานได 3. อธบิ ายความหมายบทรองเพลงนนั ทอทุ ยานได 4. อธบิ ายนาฏยศพั ทท ่ีใชในเพลงนนั ทอุทยานได 5. อธิบายทารำเพลงนนั ทอุทยานได ทกั ษะ / กระบวนการ (P) 1. รองเพลงนนั ทอุทยานได 2. ปฏิบัติทาฝก หัดเบ้ืองตนไดถ กู ตอ ง ตามแบบแผน คุณลักษณะอันพึงประสงค (A) รักชาติ ศาสน กษตั ริย มีวินัย ใฝเ รยี นรู มุงม่ันในการทำงาน และรักความเปน ไทย สมรรถนะสำคัญของผเู รยี น - มีความสามารถในการสอื่ สาร และในการคิด การประเมนิ ผลรวบยอด ชิ้นงานหรอื ภาระงานท่ีมอบหมายแกผ ูเรียน 1. แบบทดสอบ เร่ือง ประวัติความเปน มาและองคประกอบการแสดงรำเพลงนนั ท อุทยาน 2. การรองเพลงไดด วยตนเอง 3. การปฏบิ ัติทา รำดวยตนเอง ใหเกดิ ทักษะและความชำนาญ

35 การวัดและการประเมนิ ผลการเรยี นรู ประเดน็ ระดบั คุณภาพ การประเมิน 4 3 2 1 - อธบิ ายประวัติความ - อธบิ ายประวตั ิ - อธิบายประวัติ - อธบิ ายประวัติ เปน มาอยางถูกตอ ง ความเปน มาของ ความเปน มาเพลง ความเปนมาของ ดานความรู (K) และเหมาะสมตรงกับ เพลงระบำนนั ท ระบำนันทอุทยานได เพลงระบำนันท (Knowledge) จดุ ประสงคการเรยี น อทุ ยานไดอยาง อยางดี อุทยานได ประเด็น ถกู ตอง ระดบั คุณภาพ การประเมิน 4 3 2 1 - ปฏบิ ัติทารำเพลง - ปฏบิ ัติทารำเพลง - ปฏบิ ัติทารำเพลง - ปฏบิ ตั ิทารำเพลง ระบำนนั ทอุทยานได ระบำนันทอุทยาน ระบำนันทอุทยาน ได ระบำนันทอุทยาน ได ดานทกั ษะ/ ถูกตอ ง พรอมทัง้ มี พรอมทัง้ มีไหวพริบ ถกู ตอง พรอ มทัง้ มี ถูกตอ ง กระบวนการ (P) ไหวพรบิ ปฏิภาณใน ปฏิภาณในการ ไหวพริบปฏิภาณใน (Performance) การแกป ญหา แกป ญ หา ในขณะ การแกป ญหา ในขณะปฏิบัตทิ ารำ ปฏิบัตทิ า รำไดอ ยางดี ในขณะปฏบิ ัติทารำ ไดอ ยา งดเี ยยี่ ม ได - มีวนิ ัย เขา เรียนตรง - มีวินัย เขา เรียนตรง - มวี นิ ัย เขา เรยี นตรง - มีวนิ ยั เขาเรียนตรง ตอ เวลา มีความสนใจ ตอ เวลา มีความสนใจ ตอ เวลา มีความสนใจ ตอ เวลา มีความสนใจ ดา นคณุ ธรรม ใฝรู มีความ ใฝร ู มีความ ใฝรู มคี วาม ใฝร ู มีความ ธรรมจริยธรรม รับผดิ ชอบงานที่ รบั ผดิ ชอบงานท่ี รับผดิ ชอบงานท่ี รับผดิ ชอบงานท่ี และคา นิยม (A) ไดร ับมอบหมาย ไดร บั มอบหมาย ไดรบั มอบหมาย ไดร ับมอบหมาย (Affective) มนี ำ้ ใจเออื้ เฟอ ผอู ื่น มนี ้ำใจเออ้ื เฟอ ผอู ่ืน มีน้ำใจเอ้ือเฟอ ผูอ นื่ มีนำ้ ใจเอ้ือเฟอผอู ื่น รักความเปนไทยได รักความเปนไทยได รกั ความเปนไทยได รักความเปนไทยได อยางดเี ยีย่ ม อยางดี อยางพอใช เปน บางครัง้

36 กิจกรรมการเรยี นรู (การเรียนการสอนในรปู แบบในชน้ั เรยี นและปรบั ใชในรปู แบบออนไลน) ขนั้ นำเขา สูบทเรียน - ทบทวนความรเู ดิม (ปฏบิ ัตทิ า รำ) ขน้ั สอน 1. ขั้นความรู - นำเขา สูบทเรยี นโดยสอื่ นำเสนอ เรือ่ ง เพลงนันทอทุ ยานสือ่ นำเสนอ เร่อื ง ทา นาฏยศพั ทและภาษาทา ในระบำนนั ทอทุ ยาน - บทรอง นาฏยศัพท และโอกาสท่ใี ชในการแสดงใหน ักเรียนศึกษา - นกั เรยี นฝก หดั รอ งเพลงจากการสาธติ ของครู - นกั เรียนฝกหัดทา นาฏยศัพทโดยครเู ปน ผูสาธติ แลวใหน ักเรยี นปฏิบตั ิตาม 2. ขนั้ ลงมอื ปฏบิ ตั ิ - ครเู ปดวดิ ีโอการแสดงชุดนนั ทอุทยานทอนที่ 1 ใหนักเรยี นชม จากนนั้ ครูต้ังคำถาม กับนักเรียนวาในวิดีโอที่เปดใหชมนั้นวามีทานาฏยศัพทใดบาง จากนั้นครูอธิบายและยกตัวอยางทา นาฏยศัพท - นักเรยี นศึกษาทา รำจากการสาธิตของครู โดยครแู นะนำการรำทีถ่ กู ตอ ง - นักเรยี นปฏบิ ัตทิ า รำตามที่ครูสาธติ - ครเู สนอแนะและแกไ ขขอบกพรอ ง - ทดสอบปฏิบัตทิ ารำครัง้ ละ 4 คน - ครูสรุปและประเมินผล 3. ข้ันเพม่ิ พนู ความรู - ใหนักเรยี นศกึ ษาจากสอ่ื การสอนที่ครสู ง ลงในไลนกลุม สื่อการเรยี นรู 1. ใบความรูเกี่ยวกับประวัตคิ วามเปน มา เครื่องแตงกาย เครื่องดนตรี เนื้อรอง โอกาสที่ใชแสดง และนาฏยศพั ททใ่ี ชในเพลงนนั ทอุทยาน 2. วีดที ัศนเ พลงนนั ทอุทยาน 3. ใบกิจกรรมที่ 1 แบบทดสอบ เรื่อง ประวตั คิ วามเปน มาและองคป ระกอบการแสดงเพลงนันท อทุ ยาน 4. ใบกิจกรรมท่ี 2 แปลความหมายบทรองเพลงนันทอทุ ยาน 5. แบบประเมินทักษะปฏิบัติทารำเพลงนันทอทุ ยาน 6. แบบสังเกตพฤติกรรมสนใจ ใฝเ รยี นรกู ารเรยี น 7. แอปพลเิ คชัน Google meet , Line

37 แบบประเมนิ ทกั ษะปฏิบัติทารำเพลงนันทอุทยาน ชื่อ………………………………………………..ช้นั ……………................................... ละคร O พระ O นาง หวั ขอ เกณฑก ารวัดผล คะแนนเต็ม คะแนนท่ไี ด 1. การ นกั เรียนสามารถปฏบิ ตั ิทานาฏยศัพทใ หส ัมพันธกับทา 5 ปฏบิ ัติทา รำนนั ทอทุ ยานไดอ ยางถกู ตอ งและสวยงาม นาฏยศพั ท นกั เรียนสามารถปฏิบตั ทิ านาฏยศัพทใหสมั พนั ธก บั ทา รำนันทอุทยานไดเปนบางสว น (ผิด 3-5 ทา ) 3 …………… นกั เรียนสามารถปฏบิ ัติทานาฏยศพั ทใ หส มั พันธกบั ทา รำนนั ทอุทยานไดเ ปน สวนนอย (ผดิ 5 ทาขึ้นไป) 2 2.ความ นักเรียนสามารถปฏิบตั ทิ ารำและเรยี งลำดับทารำนันท 5 แมนยำใน อทุ ยานไดอ ยา งถกู ตอ งและสวยงาม การปฏิบตั ิ นักเรยี นสามารถปฏิบตั ทิ ารำและเรียงลำดับทารำ ทา รำ นนั ทอุทยานไดอยา งถูกตอ งและสวยงามไดเปน 3 ……………. บางสว น (ผดิ 3-5 ทา) นักเรียนสามารถปฏิบัติทารำและเรยี งลำดับทา รำ นนั ทอทุ ยานไดอ ยา งถูกตอ งและสวยงามไดเปนสว น 2 นอ ย(ผิดตง้ั แต 5 ทาขึน้ ไป) 3.การปฏิบตั ิ นกั เรียนสามารถปฏบิ ตั ิทารำนันทอทุ ยานไดถูกจังหวะ 5 ทา รำได ตามท่แี บบแผนกำหนด ถูกตองตาม นักเรียนสามารถปฏบิ ัตทิ ารำนันทอทุ ยานไดถ ูกจงั หวะ จังหวะ ตามท่ีแบบแผนกำหนดไดเ ปน บางสวน (ผดิ 3-5 ทา) 3 ……………. นักเรียนสามารถปฏิบตั ทิ ารำนนั ทอุทยานไดถ กู จงั หวะ ตามทแ่ี บบแผนกำหนดไดเ ปนสวนนอ ย (ผิดตัง้ แต 5 2 ทา ขน้ึ ไป) รวมคะแนนท่ีได… ……………..(นำมาหาร 1.5) เทากับ ………………..คะแนน ลงชื่อ …………………………..ผปู ระเมนิ

38 แบบสังเกตพฤตกิ รรมการเรียน คำช้ีแจง ใหท ำเครอื่ งหมาย / ลงในชองรายการประเมินและสงั เกตพฤติกรรมทก่ี ำหนด รายวิชานาฏศลิ ปไ ทย (ละคร) ศ 23207 ระดบั มัธยมศึกษาป ท่ี 3 แผนการจัดกจิ กรรมการเรียนรทู ่ี 2 เร่ือง เพลงนนั ท อุทยาน รายการประเมิน เลข ชื่อ-สกุล คะแนนเตม็ ที่ ความสนใจ การปฏบิ ัติ ทำงานรว มกบั 9 คะแนน ในเรอื่ งที่เรยี น ทา รำ ผูอ่นื ได 321321321 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 เกณฑระดับคณุ ภาพ ลงชื่อ......................................ผูประเมนิ ชว งคะแนน ระดบั คุณภาพ วนั ท.่ี ................เดอื น....................พ.ศ.......... ลงชือ่ ......................................ผปู ระเมิน 7-9 ดีเยี่ยม วันท.ี่ ................เดือน....................พ.ศ.......... 4-6 ดี 1-3 พอใช

39 ขอเสนอแนะของหวั หนา สถานศกึ ษาหรือผูทไ่ี ดรับมอบหมาย (ตรวจสอบ,นเิ ทศ,เสนอแนะ,รบั รอง) …………………………………………………………..………………………………………………………………………………… …………………………………..………………………………………………………………………………………………………… ลงชอื่ ………………………………………….. ลงช่ือ………………………….…………………. (นางสดุ คนึง สนุ าคราช) (นายณุทชากร เกชณียาบุตร) หวั หนาภาควิชานาฏศิลป หัวหนา กลุมสาระนาฏศลิ ปไทย ละคร ลงชื่อ………………………………………. ลงช่อื ………………………….…………………. (นายปรเมศวร โพธค์ิ ลา ย) (นางธัญญลกั ษณ อุบลเลิศ) รองผอู ำนวยการฝายวิชาการ ผูอำนวยการวทิ ยาลัยนาฏศิลป รอยเอด็

40 บันทึกทา ยแผนการจัดการเรยี นรู รายวชิ า .......................................................................................................................................................... แผนการจดั การเรียนรทู ี่...............ครั้งท่ี.................วนั ท.่ี ..................เดอื น...............พ.ศ เรือ่ ง............................................................ชั้น......................................จำนวน................................... ชั่วโมง ผลการสอน 1. ผลการเรียนของนกั เรียน ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ 2. ผลการสงั เกต (การทำงานกลุม ,การอภิปราย,การรวมมือการปฏิบัติ,การนำเสนอ) ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ 3. บรรยากาศในหอ งเรยี น ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ 4. เทคนคิ การสอน/นวัตกรรม ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ 5. ปญหาและอปุ สรรค ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ 6. ขอ เสนอแนะ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ลงชอ่ื .................................................ครูผูสอน ลงช่อื .................................................ครูผสู อน (นางสาวเกณกิ า วงศน รินทร) (นางนจิ วรรณ ขนุ เณร) ลงชื่อ.................................................ครูผูส อน (นางสาวฐานดิ า วนั โสภา)

41 ขอ เสนอแนะ/ความคดิ เห็นหวั หนากลมุ สาระการเรียนรูว ชิ าชพี เฉพาะนาฏศิลป ไทย ละคร ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ (นางสุดคนึง สนุ าคราช) หวั หนากลุมสาระการเรยี นรูวชิ าชีพเฉพาะนาฏศิลปไทย ละคร ขอเสนอแนะ/ความคิดเหน็ หวั หนา ภาควิชานาฏศลิ ป ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ (นายณุทชากร เกชณยี าบุตร) หวั หนาภาควิชานาฏศิลป ขอ เสนอแนะ/ความคิดเห็นหวั หนาสถานศึกษา ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ (นางธญั ญลกั ษณ อุบลเลศิ ) ผูอำนวยการวิทยาลัยนาฏศิลปรอยเอด็

42 แผนการจดั การเรยี นรทู ่ี 3 หนว ยการเรยี นรทู ี่ 3 เรื่อง รำหนาพาทย เร่อื ง รำหนา พาทยส ีนวล รหสั 23207 ช่อื รายวชิ านาฏศลิ ปไ ทย กลุมสาระการเรยี นรูวชิ าชพี นาฏศลิ ป ช้ันมัธยมศึกษาปที่ 3 ภาคเรยี นท่ี 1 เวลา 36 ช่ัวโมง ครผู ูสอน นางสาวเกณิกา วงศน รนิ ทร , นางนิจวรรณ ขนุ เณร , นางสาวฐานดิ า วันโสภา มาตรฐานการเรียนรู/ผลการเรยี นรู มาตรฐานที่ ศ 4.1 ม.3/1 ม.3/2 มีความรูความเขาใจ สามารถอธิบายประวัติความเปนมาองคประกอบของรำหนา พาทย มาตรฐานท่ี ศ 4.2 ม.3/1 มที ักษะในการปฏิบตั ทิ า รำ เพลงหนา พาทยไดอ ยา งถูกตองตามแบบแผน จุดประสงคการเรยี นรู 1. จุดประสงคปลายทาง 1.1 เขาใจและประยุกตใชเทคนคิ กระบวนการปฏิบตั ดิ านนาฏศลิ ปตามแบบแผน 1.2 วิเคราะห วิจารณ ประเมินคุณคาสุนทรียะ ถายทอดความรูสึก ความคิดอยาง อิสระ บนหลักการศลิ ปะ 1.3 นำมาประยกุ ตใ ชใ นชีวติ ประจำวนั ไดอ ยา งเหมาะสม 2. จดุ ประสงคน ำทาง 2.1 นักเรียนสามารถรหู ลักและวิธีการฝกปฏบิ ัติเพลงหนา พาทยสนี วล 2.2 นกั เรยี นสามารถอธบิ ายนาฏยศัพทท่ีใชในเพลงหนาพาทยสนี วลได 2.3 นักเรียนสามารถอธิบายองคประกอบของหนาพาทยสีนวลได เชน ประวัติความ เปนมา การแตง กาย เครอื่ งดนตรี และโอกาสทีใ่ ชแสดง 2.4 นกั เรยี นสามารถรองทำนองเพลงประกอบการแสดงหนา พาทยสนี วลได 2.5 นกั เรียนสามารถนำไปใชใ นชีวติ ประจำวันได สาระสำคญั / ความคดิ รวบยอด รำหนาพาทยเปนการรำทม่ี แี บบแผน ซึ่งเปนเพลงที่นำทารำจากแมบทใหญและเพลงชา เพลง เรว็ ซ่งึ เปนแมทามาประดิษฐใ หมีลีลาตอ เนอื่ งกนั อยา งสวยงาม

43 สาระการเรียนรู / เนอ้ื หายอย ความรู (K) 1. อธบิ ายประวัติความเปน มาหนาพาทยสนี วลได 2. อธบิ ายองคประกอบเคร่ืองแตง กาย เคร่ืองดนตรี ทำนองเพลง และโอกาสที่ใช เพลงหนาพาทยสีนวลได 3. อธบิ ายนาฏยศัพทที่ใชใ นเพลงหนาพาทยส นี วลได 5. อธิบายทารำเพลงหนา พาทยสีนวลได ทักษะ / กระบวนการ (P) 1. รองทำนองเพลงหนาพาทยสีนวลได 2. ปฏบิ ตั ิทาฝกหัดเบื้องตน ไดถ ูกตอง ตามแบบแผน คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค (A) รกั ชาติ ศาสน กษัตรยิ  มีวนิ ัย ใฝเรยี นรู มุง ม่นั ในการทำงาน และรักความเปนไทย สมรรถนะสำคัญของผูเ รยี น - มีความสามารถในการส่อื สาร และในการคดิ การประเมนิ ผลรวบยอด ชิ้นงานหรอื ภาระงานทีม่ อบหมายแกผูเรยี น 1. แบบทดสอบ เร่อื ง ประวัติความเปนมาและองคป ระกอบการแสดงรำหนา พาทยส ี นวล 2. การรอ งทำนองเพลงไดดวยตนเอง 3. การปฏบิ ตั ิทา รำดว ยตนเอง ใหเกิดทกั ษะและความชำนาญ

44 การวดั และการประเมินผลการเรียนรู ระดบั คุณภาพ ประเด็น การประเมิน 4 3 2 1 - อธิบายประวัตคิ วาม - อธบิ ายประวัติ - อธิบายประวัติ - อธบิ ายประวัติ เปนมาของเพลงหนา ความเปนมาของ ความเปนมาเพลง ความเปนมาของ ดานความรู (K) พาทยสนี วลอยาง เพลงหนาพาทยสี หนาพาทยส นี วลได เพลงหนา พาทยสี (Knowledge) ถูกตองและเหมาะสม นวลไดอ ยา งถูกตอ ง อยางดี นวลได ตรงกับจดุ ประสงค การเรยี น ประเดน็ ระดับคุณภาพ การประเมิน 4 3 2 1 - ปฏบิ ตั ิทา รำเพลง - ปฏบิ ตั ิทา รำเพลง - ปฏิบตั ิทา รำเพลง - ปฏิบัติทารำเพลง หนาพาทยสนี วลได หนา พาทยสีนวล หนาพาทยส ีนวลได หนา พาทยส ีนวลได ดา นทักษะ/ ถกู ตอ ง พรอ มทง้ั มี พรอ มทงั้ มีไหวพริบ ถูกตอง พรอมทง้ั มี ถูกตอ ง กระบวนการ (P) ไหวพริบปฏิภาณใน ปฏิภาณในการ ไหวพรบิ ปฏิภาณใน (Performance) การแกปญหา แกปญหา ในขณะ การแกป ญ หา ในขณะปฏบิ ัติทารำ ปฏิบัติทา รำไดอ ยางดี ในขณะปฏิบัติทารำ ไดอยา งดีเย่ียม ได - มีวนิ ัย เขาเรียนตรง - มวี ินัย เขา เรยี นตรง - มีวนิ ยั เขาเรยี นตรง - มีวนิ ยั เขาเรยี นตรง ตอ เวลา มีความสนใจ ตอเวลา มีความสนใจ ตอเวลา มีความสนใจ ตอเวลา มีความสนใจ ดานคุณธรรม ใฝรู มคี วาม ใฝร ู มีความ ใฝรู มีความ ใฝร ู มคี วาม ธรรมจริยธรรม รับผิดชอบงานที่ รบั ผิดชอบงานที่ รบั ผดิ ชอบงานที่ รับผดิ ชอบงานท่ี และคานยิ ม (A) ไดร บั มอบหมาย ไดร ับมอบหมาย ไดร บั มอบหมาย ไดร บั มอบหมาย (Affective) มนี ้ำใจเอ้อื เฟอผูอื่น มีนำ้ ใจเอือ้ เฟอผูอ ่นื มนี ้ำใจเอ้อื เฟอผูอ ืน่ มีนำ้ ใจเออ้ื เฟอ ผอู นื่ รักความเปนไทยได รักความเปนไทยได รักความเปนไทยได รกั ความเปนไทยได อยา งดีเยยี่ ม อยางดี อยา งพอใช เปน บางครัง้

45 กิจกรรมการเรยี นรู (การเรียนการสอนในรูปแบบในช้ันเรยี นและปรับใชในรูปแบบออนไลน) ขนั้ นำเขาสูบทเรียน - ทบทวนความรเู ดิม (ปฏบิ ัตทิ ารำ) ขั้นสอน 1. ขั้นความรู - นำเขาสูบทเรียนโดยสอ่ื นำเสนอ เรอ่ื ง ประวตั คิ วามเปน มา และองคป ระกอบเพลง หนา พาทยส นี วล - นาฏยศัพท และโอกาสทใ่ี ชใ นการแสดงใหนักเรียนศึกษา - นกั เรียนฝกหัดรองทำนองเพลงจากการสาธิตของครู 2. ข้นั ลงมือปฏิบัติ - ครูเปดวิดีโอการแสดงหนาพาทยสีนวลใหนักเรียนชม จากนั้นครูตั้งคำถามกับ นักเรียนวาในวดิ ีที่เปดใหชมนั้นวา มีทานาฏยศัพทใดบาง จากนั้นครูอธิบายและยกตัวอยางทานาฏย ศัพท - นกั เรียนศึกษาทารำจากการสาธิตของครู โดยครูแนะนำการรำที่ถูกตอ ง - นกั เรยี นปฏิบัตทิ า รำตามที่ครสู าธิต - ครเู สนอแนะและแกไ ขขอบกพรอง - ทดสอบปฏิบัตทิ ารำครั้งละ 8 คน - ครูสรปุ และประเมินผล 3. ขั้นเพิ่มพนู ความรู - ใหน ักเรียนศกึ ษาจากส่อื การสอนที่ครูสง ลงในไลนก ลุม ส่ือการเรียนรู 1. ใบความรูเ กย่ี วกบั ประวัตคิ วามเปนมา เครื่องแตงกาย เครื่องดนตรี โอกาสทใี่ ชแสดงและนาฏย ศพั ทท ใี่ ชในเพลงหนา พาทยส นี วล 2. วดี ที ัศนเ พลงหนาพาทยสนี วล 3. ใบกจิ กรรมท่ี 1 แบบทดสอบ เร่ือง ประวัตคิ วามเปน มาและองคประกอบการแสดงเพลงหนา พาทยส ีนวล 4. แบบประเมนิ ทักษะปฏิบัติทารำเพลงหนา พาทยสนี วล 5. แบบสงั เกตพฤตกิ รรมสนใจ ใฝเ รยี นรูการเรยี น 6. แอปพลเิ คชัน Google meet , Line

46 แบบประเมินทักษะปฏบิ ตั ิทารำเพลงหนาพาทยส นี วล ชอ่ื ………………………………………………..ชัน้ ……………................................... ละคร O พระ O นาง หัวขอ เกณฑก ารวัดผล คะแนนเตม็ คะแนนท่ไี ด 1. การ นกั เรยี นสามารถปฏิบัตทิ านาฏยศัพทใหสัมพันธกบั ทา 5 ปฏบิ ตั ทิ า รำเพลงหนาพาทยสนี วลไดอยา งถูกตอ งและสวยงาม นาฏยศัพท นักเรียนสามารถปฏบิ ัตทิ านาฏยศพั ทใหสมั พันธก บั ทา รำเพลงหนา พาทยส นี วลไดเปนบางสว น (ผดิ 3-5 ทา ) 3 …………… นักเรยี นสามารถปฏิบัตทิ านาฏยศพั ทใ หส มั พันธก ับทา รำเพลงหนาพาทยสีนวลไดเปนสวนนอย (ผดิ 5 ทาขึน้ 2 ไป) 2.ความ นักเรียนสามารถปฏิบตั ิทารำและเรยี งลำดับทารำ 5 แมน ยำใน เพลงหนา พาทยสีนวลไดอยางถกู ตอ งและสวยงาม การปฏบิ ัติ นักเรยี นสามารถปฏบิ ัตทิ ารำและเรียงลำดับทารำ ทา รำ เพลงหนาพาทยส ีนวลไดอ ยางถูกตองและสวยงามได 3 ……………. เปนบางสว น (ผิด 3-5 ทา) นักเรยี นสามารถปฏิบัติทารำและเรยี งลำดับทา รำ เพลงหนาพาทยส ีนวลไดอ ยางถกู ตองและสวยงามได 2 เปน สวนนอย(ผดิ ตงั้ แต 5 ทา ขนึ้ ไป) 3.การปฏบิ ตั ิ นักเรยี นสามารถปฏิบตั ทิ ารำเพลงหนา พาทยสนี วลได 5 ทา รำได ถูกจังหวะตามทีแ่ บบแผนกำหนด ถูกตองตาม นกั เรียนสามารถปฏิบตั ิทารำเพลงหนาพาทยสีนวลได จังหวะ ถกู จงั หวะตามท่ีแบบแผนกำหนดไดเ ปนบางสว น (ผดิ 3 ……………. 3-5 ทา ) นกั เรียนสามารถปฏบิ ัติทารำเพลงหนา พาทยสีนวลได ถกู จังหวะตามทแ่ี บบแผนกำหนดไดเปน สวนนอ ย (ผดิ 2 ต้ังแต 5 ทาข้ึนไป) รวมคะแนนทไ่ี ด………………..(นำมาหาร 1.5) เทา กับ ………………..คะแนน ลงชอื่ …………………………..ผูป ระเมิน

47 แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน คำช้ีแจง ใหท ำเคร่ืองหมาย / ลงในชองรายการประเมนิ และสงั เกตพฤติกรรมท่กี ำหนด รายวิชานาฏศลิ ปไทย (ละคร) ศ 23207 ระดบั มธั ยมศึกษาป ที่ 3 แผนการจดั กิจกรรมการเรียนรูท ี่ 3 เร่อื ง เพลงหนา พาทยส ี นวล รายการประเมิน เลข ชือ่ -สกุล คะแนนเตม็ ท่ี ความสนใจ การปฏบิ ตั ิ ทำงานรวมกับ 9 คะแนน ในเร่อื งทีเ่ รียน ทา รำ ผูอ่ืนได 321321321 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 เกณฑระดับคุณภาพ ลงชื่อ......................................ผปู ระเมิน ชว งคะแนน ระดับคุณภาพ วนั ที่.................เดือน....................พ.ศ.......... ลงชื่อ......................................ผปู ระเมิน 7-9 ดเี ยีย่ ม วนั ท.่ี ................เดือน....................พ.ศ.......... 4-6 ดี 1-3 พอใช

48 ขอเสนอแนะของหวั หนา สถานศกึ ษาหรือผูทไ่ี ดรับมอบหมาย (ตรวจสอบ,นเิ ทศ,เสนอแนะ,รบั รอง) …………………………………………………………..………………………………………………………………………………… …………………………………..………………………………………………………………………………………………………… ลงชอื่ ………………………………………….. ลงช่ือ………………………….…………………. (นางสดุ คนึง สนุ าคราช) (นายณุทชากร เกชณียาบุตร) หวั หนาภาควิชานาฏศิลป หัวหนา กลุมสาระนาฏศลิ ปไทย ละคร ลงชื่อ………………………………………. ลงช่อื ………………………….…………………. (นายปรเมศวร โพธค์ิ ลา ย) (นางธัญญลกั ษณ อุบลเลิศ) รองผอู ำนวยการฝายวิชาการ ผูอำนวยการวทิ ยาลัยนาฏศิลป รอยเอด็

49 บันทึกทา ยแผนการจัดการเรยี นรู รายวชิ า .......................................................................................................................................................... แผนการจดั การเรียนรทู ี่...............ครั้งท่ี.................วนั ท.่ี ..................เดอื น...............พ.ศ เรือ่ ง............................................................ชั้น......................................จำนวน................................... ชั่วโมง ผลการสอน 1. ผลการเรียนของนกั เรียน ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ 2. ผลการสงั เกต (การทำงานกลุม ,การอภิปราย,การรวมมือการปฏิบัติ,การนำเสนอ) ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ 3. บรรยากาศในหอ งเรยี น ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ 4. เทคนคิ การสอน/นวัตกรรม ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ 5. ปญหาและอปุ สรรค ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ 6. ขอ เสนอแนะ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ลงชอ่ื .................................................ครูผูสอน ลงช่อื .................................................ครูผสู อน (นางสาวเกณกิ า วงศน รินทร) (นางนจิ วรรณ ขนุ เณร) ลงชื่อ.................................................ครูผูส อน (นางสาวฐานดิ า วนั โสภา)

50 ขอ เสนอแนะ/ความคดิ เห็นหวั หนากลมุ สาระการเรียนรูว ชิ าชพี เฉพาะนาฏศิลป ไทย ละคร ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ (นางสุดคนึง สนุ าคราช) หวั หนากลุมสาระการเรยี นรูวชิ าชีพเฉพาะนาฏศิลปไทย ละคร ขอเสนอแนะ/ความคิดเหน็ หวั หนา ภาควิชานาฏศลิ ป ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ (นายณุทชากร เกชณยี าบุตร) หวั หนาภาควิชานาฏศิลป ขอ เสนอแนะ/ความคิดเห็นหวั หนาสถานศึกษา ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ (นางธญั ญลกั ษณ อุบลเลศิ ) ผูอำนวยการวิทยาลัยนาฏศิลปรอยเอด็


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook