ค�ำ นิยม ผมรู้สึกเป็นเกียรติอย่างสูงที่นายแพทย์ยงยุทธ วงศ์ภิรมย์ศานต์ิ นายก สภามหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง ได้ขอให้ผมเขียนค�ำนิยมในหนังสือชื่อ สนุ ทรยี สนทนาเพอ่ื พฒั นามหาวทิ ยาลยั (Dialogue for the University) รวมวาระ เพอื่ ทราบนายกสภามหาวิทยาลัยราชภฏั หมูบ่ า้ นจอมบึง พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๓ ซ่ึงรวบรวมเรื่องราวต่าง ๆ ในวาระเพื่อทราบของนายกสภามหาวิทยาลัยในช่วง ที่ท่านด�ำรงต�ำแหน่งนายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง ระหว่าง พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๓ นายแพทย์ยงยุทธ วงศ์ภิรมย์ศานต์ิ เป็นจิตแพทย์ของกระทรวงสาธารณสุข เป็นผู้ทรงคุณวุฒิของหน่วยงานต่าง ๆ ในระดับประเทศท่ีเกี่ยวกับสุขภาพจิต การศึกษา การสร้างเสริมสุขภาพ เด็กและเยาวชน ตลอดจนเคยเป็นท่ีปรึกษา ของรัฐมนตรีกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ และท่ีปรึกษา ของรองนายกรฐั มนตรี ส�ำนักนายกรัฐมนตรอี กี ดว้ ย ในฐานะนายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง นายแพทย์ยงยุทธ วงศ์ภิรมย์ศานต์ิ ได้ขับเคลื่อนการบริหารและการพัฒนามหาวิทยาลัยราชภัฏ หมู่บ้านจอมบึง ให้สอดคล้องกับสภาพและปัญหาความจ�ำเป็น ตลอดจนวิกฤติ และสถานการณ์ ความเปล่ียนแปลงต่าง ๆ ท่ีเกิดข้ึน ซ่ึงมีผลกระทบต่อการด�ำเนิน งานและการพฒั นาของมหาวทิ ยาลัยราชภัฏหมบู่ ้านจอมบงึ โดยนำ� เสนอในลกั ษณะ ของสุนทรียสนทนาในการประชุมของสภามหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง ในประเด็นและเรื่องราวต่าง ๆ ซึ่งเป็นเร่ืองท่ีน่าสนใจเป็นอย่างย่ิง โดยเฉพาะ การริเริ่มให้มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึงเป็นมหาวิทยาลัยแห่งการเรียนรู้ แบบใฝ่รู้ (Active Learning University) แนวทางการบริหารมหาวิทยาลัย การปรับเปล่ียนมหาวิทยาลัยให้ทันต่อการเปล่ียนแปลง การจัดการกับภาวะวิกฤติ ต่าง ๆ และสุดท้ายคือการน�ำมหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึงไปสู่การเป็น มหาวทิ ยาลัยแหง่ สติ (Mindfulness University) หนังสือเล่มนี้จึงเป็นหนังสือที่มิใช่จะเป็นประโยชน์ในเฉพาะผู้บริหาร คณาจารย์ และบุคลากรของมหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึงเท่าน้ัน แต่ยังเป็น ประโยชน์ต่อสถาบนั การศึกษาตา่ ง ๆ ได้อีกด้วย ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.โสภณ พวงสวุ รรณ อุปนายกสภามหาวทิ ยาลัยราชภัฏหมู่บา้ นจอมบงึ รวมวาระเพอื่ ทราบนายสภามหาวิทยาลัยราชภัฏหม่บู า้ นจอมบงึ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๓ 1
คำ�นิยม คณะกรรมการสภามหาวิทยาลัยเป็นองค์คณะบุคคลที่เปรียบเสมือน เขม็ ทศิ เดนิ ทางของมหาวทิ ยาลยั วา่ ควรกา้ วเดนิ ไปทศิ ทางใดจงึ จะถกู ตอ้ ง เหมาะสม สอดคล้องกับบริบทสังคม และเป็นไปตามเหตุปัจจัยต่าง ๆ ท่ีจะหนุนเสริม ใหม้ หาวทิ ยาลยั ดำ� เนนิ กจิ กรรม กจิ การตามพนั ธกจิ ของสถาบนั อดุ มศกึ ษาทกุ พนั ธกจิ ให้บรรลุผลส�ำเร็จตามเป้าหมายที่วางไว้ ซ่ึงหากมองย้อนกลับไปในช่วงเวลา ท่ีผ่านมาไม่เกิน ๕ ปี จะพบว่าการอุดมศึกษาไทยมีการปรับเปล่ียนค่อนข้างมาก ตง้ั แตโ่ ครงสรา้ งการบรหิ ารระดบั กระทรวงทเ่ี กดิ กระทรวงการอดุ มศกึ ษา วทิ ยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ส่งผลกระทบต่อระดับปฏิบัติการท่ีได้มีการออกแบบระบบ การท�ำงานของสถาบันอุดมศึกษาให้เหมาะสม สอดคล้องกับบริบทและอัตตลักษณ์ ของแต่ละสถาบัน ท้ังด้านการผลิตบัณฑิต การวิจัย การรับใช้สังคมท้องถิ่น ประจวบกบั การทตี่ อ้ งเผชญิ กบั ความทา้ ทายใหมห่ ลายประการ อาทเิ ชน่ สถานการณ์ ท่ีความต้องการเรียนต่อในระดับอุดมศึกษาท้ังระดับปริญญาตรีและ บัณฑิตศึกษา มีแนวโน้มลดลงต่อเนื่องมาหลายปีและจะเป็นเช่นน้ีอีกตลอดไป สถานการณ์ การระบาดของโรคอุบัติใหม่ COVID-19 ท่ีส่งผลกระทบโดยตรงต่อทุกภาคส่วน ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และแน่นอนการศึกษาได้รับผลกระทบด้วย อย่างหลีกเล่ียงไม่ได้ ความท้าทายท่ีน่าสนใจอีกประการหน่ึงท่ีเป็นความคาดหวัง ที่ภาครัฐมีต่อสถาบันอุดมศึกษา คือ การขจัดความยากจนแบบตรงจุด ด้วย โครงการ ๑ ต�ำบล ๑ มหาวิทยาลัย ผ่านการพัฒนาเศรษฐกิจ BCG เชิงพื้นที่ ซ่ึงความท้าทายเหล่าน้ีต้องอาศัย นวัตกรรมองค์ความรู้ เครือข่ายคนและองค์กร ภายใตก้ ารมยี ุทธศาสตรท์ ่ีสรา้ งสรรค์ มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึงโชคดีที่ได้คุณหมอยงยุทธ์ วงศ์ภิรมยศ์ านติ์ มาเป็นนายกสภามหาวทิ ยาลัยในช่วงเวลาท่ตี อ้ งเผชญิ ความท้าทาย ดังกล่าวมาข้างต้น อันเนื่องด้วยคุณหมอได้ให้นโยบาย ให้แนวคิด ให้แนวปฏิบัติ ผ่านหลายบทบาทไม่เฉพาะบทนายกสภามหาวิทยาลัยเท่านั้น ดังปรากฏเป็น องคค์ วามรทู้ ไ่ี ดถ้ อดความไวใ้ นหนงั สอื เลม่ นี้ ซง่ึ สาระความรเู้ หลา่ นยี้ งั คงความทนั สมยั 2 สุนทรยี สนทนาเพื่อพัฒนามหาวิทยาลยั (D i a l o g u e f o r t h e U n i v e r s i t y)
สามารถน�ำมาประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสมกับสถานการณ์ที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน และท่ีจะเกิดข้ึนในอนาคต เช่น การจัดการเรียนรู้แบบใฝ่รู้ ระบบดูแลช่วยเหลือ นักศึกษาที่มีคุณภาพ การจัดการกับสภาวะวิกฤติ การปรับเปล่ียนมหาวิทยาลัย ด้วย Blue Ocean Shift มหาวิทยาลัยแห่งสติ (Mindfulness University) เป็นต้น เหตุท่ีกล่าวเช่นนี้ก็เน่ืองจากองค์ความรู้ที่ได้กล่าวมาได้ผ่านการน�ำไปสู่ การปฏิบัติจริงในมหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึงแห่งนี้อย่างต่อเนื่องจนถีง ปัจจุบัน ด้วยนายกสภามหาวิทยาลัยท่ีช่ือคุณหมอยงยุทธ วงศ์ภิรมย์ศานต์ิ ท่านเป็นนักปฏิบัติวิชาการ (Pracademia) ที่ได้น�ำพาพวกเราให้ลงมือปฏิบัติ ก�ำกับติดตามดูแลให้ค�ำแนะน�ำอย่างใกล้ชิดผ่านกิจกรรม Professional Learning Community (PLC) การตรวจเยี่ยมหน่วยงาน การฝึกอบรมที่ท่านเสียสละ เวลามาเป็นวทิ ยากรนับครั้งไมถ่ ้วน ตลอดระยะเวลาที่ท่านดำ� รงต�ำแหน่ง ผมในฐานะของอาจารย์คนหนึ่งและได้ด�ำรงต�ำแหน่งอธิการบดี ของ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั หมูบ่ า้ นจอมบึง ในชว่ งทคี่ ุณหมอยงยุทธ์ วงศภ์ ิรมย์ศานติ์ เป็นนายกสภามหาวิทยาลัย ต้องกราบขอบพระคุณท่านเป็นอย่างย่ิงที่นอกจาก จะใหแ้ นวทางทมี่ คี ณุ คา่ ในการทำ� งานแลว้ ยงั ไดส้ รา้ งสรรคอ์ งคค์ วามรหู้ ลายประการ ไว้ให้กับสถาบันแห่งน้ีส�ำหรับคนรุ่นหลังจะได้สืบสานน�ำไปปรับประยุกต์ใช้ในการ ปฏิบิติงานเพ่ือให้มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึงได้เป็นประทีปแห่งปัญญา ของชุมชนท้องถ่ินสมดังปณิธานที่ได้ก�ำหนดไว้ตั้งแต่การก่อเกิดสถาบันแห่งน้ี หลกั การแนวคิด แนวปฏิบตั ิ ต่างๆ ทป่ี รากฏในหนงั สือเล่มน้ี ผมเชอ่ื มน่ั ว่า สามารถ น�ำไปประยุกต์ใช้ในสถาบันการศึกษาอ่ืนได้เป็นอย่างดี หากได้มีการเผยแพร่ ให้กว้างขวางมากข้ึน ก็จะเป็นอีกเครื่องมือหน่ึงท่ีจะช่วยยกระดับการศึกษาไทย ใหม้ ีคุณภาพ และเผชญิ กบั ความทา้ ทายทีบ่ างครั้งยากจะคาดการณล์ ว่ งหน้าได้ ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัยฤทธิ์ ศลิ าเดช อธกิ ารบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏหมบู่ า้ นจอมบงึ (๒๕๕๗ - ๒๕๖๓) ๒๗ มกราคม ๒๕๖๔ รวมวาระเพ่อื ทราบนายสภามหาวิทยาลยั ราชภัฏหมู่บ้านจอมบงึ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๓ 3
ค�ำ นยิ ม นับเป็นเกียรติอย่างสูงในชีวิตรับราชการของผมที่ได้รับมอบหมาย จากท่านอธิการบดี รองศาสตราจารย์ ดร.ชาญชัย ยมดิษฐ์ และท่านต่อมา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัยฤทธ์ ศิลาเดช ให้ท�ำหน้าที่เลขานุการสภามหาวิทยาลัย ราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง และนับเป็นการได้รับโอกาสอย่างมากอีกประการหน่ึง ที่ได้ท�ำหน้าที่เลขานุการสภามหาวิทยาลัยภายใต้นายกสภามหาวิทยาลัย นายแพทย์ยงยุทธ วงศ์ภิรมย์ศานต์ิ เพราะตลอดระยะเวลา ๓ ปี ต้ังแต่กันยายน ๒๕๖๐ เป็นต้นมา จนกระท่ังถึงกันยายน ๒๕๖๓ นอกเหนือจากการด�ำเนินการ ตามอ�ำนาจและหน้าที่แล้ว สภามหาวิทยาลัยภายใต้การด�ำรงต�ำแหน่งนายกสภา มหาวิทยาลัยของคุณหมอ (คุณหมอเป็นอีกค�ำหน่ึงท่ีผู้บริหาร และคณาจารย์ มักใช้เรียกท่านนายกสภา นอกเหนือจากการใช้ค�ำว่าท่านนายกสภามหาวิทยาลัย) ยังได้ท�ำให้การประชุมในช่วงวาระแจ้งเพื่อทราบก่อเกิดเป็นเวทีแห่งการแลกเปล่ียน และเรียนรู้ที่ผมขอใช้ค�ำว่า “ท่ีน่าสนใจ และท้าทายการน�ำไปด�ำเนินการเพ่ือก่อ ให้เกิดประโยชน์กับการท�ำพันธกิจของ และการสร้างศักยภาพด้านการแข่งขัน ให้กับมหาวิทยาลัย” อย่างยิ่ง เพราะได้มีการน�ำประเด็นที่เป็นการตอบสนองต่อ ภาวะขดั ข้อง ป้องกัน ของปัญหาท่ีประสบอยทู่ ั้งในระดบั มหาวทิ ยาลยั และในระดบั สังคมวงกว้างขณะหนึ่งๆ และที่เป็นประเด็นเชิงการพัฒนาการเป็นมหาวิทยาลัย ราชภัฏเพ่ือพัฒนาท้องถิ่น (โดยเฉพาะในพ้ืนท่ีบริการ) มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ในทุกครั้งของการประชุมสภามหาวิทยาลัย และในเกือบทุกครั้งของการประชุม จะควบคู่ไปกับการน�ำผลการเยือนผู้บริหาร คณาจารย์ของหน่วยงานต่างๆ ของ มหาวิทยาลัย ที่ท่านท�ำเป็นนิจในช่วงเช้าก่อนท่ีจะมีการประชุมสภามหาวิทยาลัย ในชว่ งบา่ ย มารายงานในรปู ขอ้ มลู ขอ้ คน้ พบ เพอ่ื นำ� ไปสกู่ ารแลกเปลย่ี นประสบการณ์ และการให้ขอ้ เสนอแนะจากกรรมการสภามหาวทิ ยาลยั จากการได้รับฟังในการประชุม และจากกระบวนการจัดท�ำรายงาน การประชมุ งานสภามหาวทิ ยาลยั ตระหนกั ถงึ ความสำ� คญั ของขอ้ มลู วตั ถดุ บิ ดงั กลา่ ว อย่างยิ่ง ดังน้ันบนความรับผิดชอบในการจัดท�ำรายงานการประชุมตามบทบาท 4 สนุ ทรียสนทนาเพอื่ พฒั นามหาวทิ ยาลัย (D i a l o g u e f o r t h e U n i v e r s i t y)
และหน้าท่ีแล้ว งานสภามหาวิทยาลัยยังตั้งใจท�ำรายงานดังกล่าวให้เป็นรายงาน ท่ีให้รายละเอียดองค์ความรู้เท่าที่ได้มีการแลกเปล่ียนอย่างเต็มความสามารถ ใหอ้ ยใู่ นเลม่ การประชมุ สภามหาวทิ ยาลยั และมาอยใู่ นรปู หนงั สอื ชอ่ื สนุ ทรยี สนทนา เพ่ือพฒั นามหาวทิ ยาลยั รวมวาระเพือ่ ทราบนายกสภามหาวทิ ยาลัยราชภฏั หมบู่ า้ น จอมบึง พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๓ ที่ท่านถืออยู่ในมือขณะน้ี ขอขอบพระคุณท่าน นายกสภามหาวิทยาลัย กรรมการสภามหาวิทยาลัยจากทุกองค์ประกอบทุกท่าน ท่านอธิการบดี ทีมงานสภามหาวิทยาลัย ตลอดจนทีมงานจากงานนิติการทุกท่าน ทที่ ำ� ใหเ้ กิดสง่ิ น้ีข้นึ ได้ อาจารย์ ดร.อาคม เจรญิ สขุ อดตี เลขานุการสภามหาวทิ ยาลัยราชภัฏหมูบ่ ้านจอมบึง รวมวาระเพ่ือทราบนายสภามหาวทิ ยาลัยราชภฏั หม่บู า้ นจอมบึง พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๓ 5
สารบญั หนา้ คำ� นิยม ๑ บทนํา ๙ บทท่ี ๑ มหาวทิ ยาลัยแหง การเรียนรูแบบใฝ่รู ้ ๑๑ (Active Learning University) ๑.๑ Active Learning และการจดั วง PLC ๑๑ ๑.๒ จาก Active Learning ไปสู ๑๙ Competency Based learning ๑.๓ การจดั การเรียนการสอนแบบ ๒๒ Online Active Learning บทท่ี ๒ ระบบดแู ลชว่ ยเหลือนกั ศกึ ษาที่มีคณุ ภาพ ๒๕ ๒.๑ แนวทางการพัฒนาและปรบั ปรุงระบบดแู ลนกั ศกึ ษา ๒๕ ๒.๒ แลกเปลีย่ นกับคณะบคุ คลทีเ่ กีย่ วข้องกับระบบดูแล ๓๑ ชว่ ยเหลอื นักศึกษา บทที่ ๓ แนวทางการบรหิ ารจดั การมหาวทิ ยาลัย ๓๓ ๓.๑ ระบบการขอผลงานทางวิชาการ ๓๓ ๓.๒ การบูรณาการระบบประกนั คณุ ภาพของ ๓๔ การวจิ ยั กับการสอนและการพฒั นาทองถนิ่ ๓.๓ การขับเคลอ่ื นด้วยการเทยี บระดบั ๓๘ ๓.๔ การพฒั นาคร ู ๓๘ บทที่ ๔ การปรับเปลีย่ นมหาวิทยาลยั ด้วย Blue Ocean shift (BOS) ๔๑ ๔.๑ เคร่ืองมอื BOS ๔๑ ๔.๒ คณะทำ� งานจอมบงึ มาราธอนกับ BOS ๔๙ 6 สนุ ทรียสนทนาเพือ่ พัฒนามหาวิทยาลยั (D i a l o g u e f o r t h e U n i v e r s i t y)
สารบญั (ตอ่ ) หนา้ บทที่ ๕ การจดั การกับภาวะวิกฤต ๕๑ ๕.๑ บทเรยี นจากความรนุ แรงในมหาวทิ ยาลยั ตา่ งประเทศ ๕๑ ๕.๒ บทเรยี นจากกรณที ีมหมปู า่ ตดิ ถำ้� ๕๕ ๕.๓ วกิ ฤตความเหน็ ต่างทางการเมือง ๕๖ บทที่ ๖ การเยี่ยมคณะและหนว่ ยงาน ๕๙ ๖.๑ คณะวิทยาการจดั การ ๕๙ ๖.๒ คณะเทคโนโลยอี ุตสาหกรรม (ครง้ั ที่ ๑) ๖๐ ๖.๓ วิทยาลัยมวยไทยศกึ ษาและการแพทย์แผนไทย ๖๓ ๖.๔ ศนู ยภ์ าษา ๖๔ ๖.๕ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม (ครง้ั ที่ ๒) ๖๕ ๖.๖ คณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ๖๕ ๖.๗ สำ� นกั ศลิ ปะและวฒั นธรรม ๖๖ ๖.๘ คณะวิทยาการจดั การ ๖๘ ๖.๙ โรงเรยี นสาธติ แหงมหาวทิ ยาลัยราชภัฏหมู่บา้ นจอมบงึ ๖๙ ๖.๑๐ คณะครุศาสตร์ (ครง้ั ท่ี ๑) ๖๙ ๖.๑๑ กองนโยบายและแผน ๗๑ ๖.๑๒ ส�ำนกั งานมาตรฐานและประกันคณุ ภาพการศึกษา ๗๒ ๖.๑๓ คณะครุศาสตร์ (คร้ังที่ ๒) ๗๓ ๖.๑๔ สถาบันวจิ ยั และพฒั นา ๗๕ บทที่ ๗ การเย่ียมประชาคมมหาวทิ ยาลัย ๗๗ ๗.๑ มลู นธิ วิ ทิ ยาลัยครูหมูบ้านจอมบงึ ๗๗ ๗.๒ สภาวิชาการ ๗๗ ๗.๓ สภาคณาจารยแ์ ละข้าราชการ ๗๙ รวมวาระเพ่ือทราบนายสภามหาวิทยาลยั ราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๓ 7
สารบญั (ตอ่ ) หนา้ ๘๓ ๘๓ บทท่ี ๘ ประชาคมการเรยี นรูของมหาวทิ ยาลยั ๘๕ ๘.๑ วง PLC วชิ า GE/PC ๘๗ ๘.๒ คณะกรรมการระบบดแู ลช่วยเหลือ ๙๓ นกั ศกึ ษา ๙๓ ๘.๓ คณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลยั ๙๔ บทท่ี ๙ บทเรียนและการเรียนรูจากหนว่ ยงานในประเทศ ๙๕ ๙.๑ กองทุนเพอ่ื ความเสมอภาคทางการศกึ ษา (กสศ.) ๙๕ ๙.๒ UNICEF ไทย ๙๕ บทที่ ๑๐ บทเรียนและการเรียนรูจากต่างประเทศ ๙๗ ๑๐.๑ ประเทศเนเธอร์แลนด์ : การทอ งเทยี่ วเชิงนเิ วศน ์ ๙๙ ๑๐.๒ ประเทศเยอรมนี : การทอ งเทยี่ วเมืองรอง ๑๐.๓ บทบาทเพอื่ สงั คมของมหาวิทยาลยั : กรณีมหาวทิ ยาลยั Maudsley ประเทศอังกฤษ บทท่ี ๑๑ สมู หาวทิ ยาลยั แหง สติ (Mindfulness University) 8 สนุ ทรยี สนทนาเพื่อพฒั นามหาวิทยาลัย (D i a l o g u e f o r t h e U n i v e r s i t y)
บทนำ� นายแพทย์ยงยุทธ วงศ์ภิรมย์ศานติ์ ได้รับการโปรดเกล้าฯ ให้ด�ำรง ต�ำแหน่งนายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง ต้ังแต่วันที่ ๓๐ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ มีผลงานต่าง ๆ ดังเจตนารมณ์ที่ได้แถลงต่อกรรมการสภา มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง ในการประชุมครั้งท่ี ๑๐/๒๕๖๐ เมื่อ วันพฤหัสบดีท่ี ๒๘ กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๐ ณ ห้องประชุมทรัพย์คิรี ชั้น ๓ อาคารอ�ำนวยการ มหาวิทยาลยั ราชภฏั หมู่บา้ นจอมบงึ เจตนารมณ์ การได้มาเป็นส่วนหนึ่งของสภามหาวิทยาลัยที่มีขนาดกลางคิดว่า เป็นเร่ืองท่ีมีคุณค่า เพราะว่าการมีขนาดกลางเคลื่อนไหวเปล่ียนแปลงได้ง่าย มี impact ได้มาก เพราะถ้ามีขนาดเล็กก็จะมี impact น้อย ถ้ามีขนาดใหญ่ก็จะ อุ้ยอ้าย คิดว่าหลายท่านที่มาช่วยงานมหาวิทยาลัย ก็ด้วยจุดท่ีคิดว่ามหาวิทยาลัย จะสร้าง ความเปล่ียนแปลงได้ โดยเฉพาะในด้านการเป็นมหาวิทยาลัยเพ่ือการ พัฒนาท้องถ่ินซ่ึงส�ำคัญมาก ประเทศไทยเปล่ียนแปลงการปกครองมาตั้งแต่ ปี พ.ศ. ๒๔๗๕ อกี ๑๕ กจ็ ะครบ ๑๐๐ ปแี ล้ว ไดพ้ ฒั นาจากประเทศด้อยพัฒนา มาเปน็ ประเทศกำ� ลงั พฒั นา และตดิ ชะงกั อยตู่ รงตำ� แหนง่ ทเ่ี รยี กวา่ Middle Income (Country) คือ ไปต่อไม่ได้ ทัง้ ท่จี ริงๆ แลว้ ก็น่าจะไปไดจ้ ึงสนใจเร่ืองนมี้ าก มโี อกาส ไปศึกษาดูงาน ๓ ประเทศท่ีสามารถ ฝ่าก�ำแพง Middle Income เป็น Higher Income ได้ คือ ประเทศไต้หวัน ประเทศสิงคโปร์ และประเทศเกาหลีใต้ พบว่า ประเทศท่ีกล่าวน้ีไม่ได้เพียงแต่เพ่ิมรายได้ประชาชาติ แต่ที่ส�ำคัญ คือ การสร้าง สังคมให้มีการพัฒนาที่ย่ังยืน มีคุณภาพการศึกษาที่ดี มีสวัสดิการที่ดี มีความ เหลื่อมล�้ำน้อย ซึ่งเหล่าน้ีเป็นสิ่งที่ประเทศไทยสร้างไม่ส�ำเร็จ และดึงรั้งท�ำให้ ไม่สามารถเพ่ิมรายได้ต่อหัวของประชากร ได้ศึกษา profile ของจังหวัดราชบุรี ซง่ึ มี profile ทดี่ ี รายไดข้ องจังหวดั อยู่ในล�ำดับที่ ๑๗ รายไดต้ ่อหวั อยใู่ นล�ำดับที่ ๑๓ ทห่ี นง่ึ แสนหา้ หมนื่ บาท อกี หนงึ่ แสนกจ็ ะเปน็ ตวั เลขของประเทศ Higher Income แลว้ รวมวาระเพอ่ื ทราบนายสภามหาวิทยาลัยราชภัฏหมบู่ า้ นจอมบึง พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๓ 9
แต่การท�ำอย่างน้ันก็ต้องมีการพัฒนาหลายอย่าง จึงคิดว่าถ้าเราช่วยกัน ต้ังปณิธานหรือต้ังวิสัยทัศน์ว่า ให้มหาวิทยาลัยของเราเป็นประทีปแห่งท้องถ่ิน เป็นปัญญาของแผ่นดิน การที่จะท�ำให้ทั้งประเทศเป็นประเทศ Higher Income น่ีอาจจะยากกว่าการท่ีจะท�ำให้หน่ึงจังหวัดเป็นจังหวัด Higher Income คิดว่าถ้าเราสามารถท�ำให้จังหวัดน้ีเป็นจังหวัด Higher Income ได้ ความหวัง ของประเทศไทยทจ่ี ะเปน็ ประเทศทมี่ คี วามมง่ั คงั่ และยง่ั ยนื อยา่ งทห่ี ลายทา่ นปรารถนา ก็น่าจะไม่ยาก เพราะองค์ประกอบท่ีจะท�ำให้จังหวัดราชบุรีเป็นจังหวัด Higher Income ล้วนอยู่ในคณะหลัก ๆ ของมหาวิทยาลัยท้ังส้ิน ไม่ว่าจะเป็นเรื่อง เศรษฐกจิ การศกึ ษา สาธารณสขุ สงั คม ดงั นน้ั เราควรชว่ ยกนั ผลกั ดนั ใหม้ หาวทิ ยาลยั มีบทบาทในการท�ำส่ิงน้ี ความตง้ั ใจของคณะผบู้ รหิ ารกเ็ ปน็ สว่ นสำ� คญั ทจี่ ะผลกั ดนั ใหม้ หาวทิ ยาลยั เพื่อการพัฒนาท้องถิ่นของจังหวัดราชบุรีบรรลุผลใน ๑๕ ปีข้างหน้า และจะเป็น ผู้น�ำท่ีท�ำให้ประเทศไทยมีทางออกว่าเราสามารถผ่านพ้นก�ำแพงไปเป็นประเทศท่ีมี ความม่ังคั่งได้ ขอให้เราได้ใช้ความรู้ และธรรมาภิบาลอย่างเต็มที่ โดยเร่ิมจาก ภายในก่อน โดยเฉพาะเรอ่ื งคน ผบู้ ริหารควรม่งุ ใหค้ นทำ� งานใหก้ บั มหาวทิ ยาลัยดว้ ย ความมุ่งม่ัน ผูกพัน และมีความสุขมีระบบท่ีดี เป็นองค์กรท่ีมีคุณภาพ เป็นองค์กร แห่งการเรียนรู้ จากน้ีไปจะได้ร่วมกันท�ำให้มหาวิทยาลัยเป็นปัญญาของราชบุรี เป็นประทีปของราชบรุ ี สรา้ งจังหวัดท่ีพฒั นาแลว้ ขน้ึ มา ตลอดระยะเวลา ๓ ปี นพ.ยงยุทธ วงศ์ภิรมย์ศานติ์ ได้ขอให้ปรับวาระ เพอ่ื ทราบเปน็ วาระเพอื่ แลกเปลยี่ นเรยี นรเู้ พอื่ ใหก้ ก.สภามหาวทิ ยาลยั ไดก้ ลั ยาณมติ ร สนทนา (Dialogue) เพ่ือการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และสร้างแรงบันดาลใจในการ พฒั นามหาวิทยาลัย โดยไดน้ �ำวิสยั ทัศน์ เจตนารมณ์ ประสบการณ์และภารกิจตา่ งๆ ที่ท่านท�ำกับมหาวิทยาลัยมาน�ำเสนอทุกเดือน และมีการบันทึกไว้ในรายงานของ มหาวิทยาลัยฯ หนังสือเล่มนี้เป็นการรวบรวมให้เป็นระบบและหมวดหมู่แทนการ รายงานตามระยะเวลาแบบท่ีปรากฏในรายงาน การประชุมสภา เพ่ือให้ง่ายต่อ การเรียนรู้และเป็นองค์ความรูท้ ี่จะเปน็ ประโยชน์สาธารณะตอ่ ไป 10 สนุ ทรียสนทนาเพื่อพัฒนามหาวทิ ยาลยั (D i a l o g u e f o r t h e U n i v e r s i t y)
บทท่ี ๑ มหาวทิ ยาลยั แห่งการเรียนรู้แบบใฝ่รู้ (Active Learning University) ๑.๑ Active Learning และการจดั วง PLC ช่วงเช้าวันที่ ๑๓ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๒ ได้จัดวง PLC ของ Active Learning โดย ทุกคณะส่งอาจารย์เข้าร่วม วันนี้เป็นการรายงานผล และตั้งประเด็นสนทนาท่ีจะเป็น Knowledge Vision ส�ำหรับที่จะจัดวง PLC ของคณะต่อไป ได้แก่ ประเด็นการใช้ active learning ในวิชาภาคทฤษฎี วิชาภาคปฏิบัติ วิชาฝึกทักษะ และการประเมินผล ว่าจะท�ำอย่างไร วง PLC เป็นกิจกรรมท่ีทุกคณะได้มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อเอาประสบการณ์จากเพื่อนๆ ไปใช้ประโยชน์ ดงั นัน้ ควรมีการดำ� เนนิ การทกุ สามเดอื น สงิ่ ท่ีท้าทายคอื ทำ� อยา่ งไร ให้เกิดวง PLC ระดับสาขาวิชาทุกเดือน ซ่ึงจะได้ผลมากข้ึนในการพัฒนา Active Learning ตาม MCRU model Active Learning ๑. การเรยี นรโู้ ดยการใช้กระบวนการเรียนรแู้ บบใฝ่รู้ หลักการเรียนรู้ ๑) เปน็ การสรา้ งความรมู้ ากกวา่ ถา่ ยทอดความรโู้ ดยอาศยั ประสบการณ์ ของผเู้ รียน ๒) ผเู้ รยี นเป็นฝ่ายกระทำ� และเคลอื่ นไหวตืน่ ตัว ๓) มีปฏสิ ัมพนั ธ์ระหวา่ งผู้เรียนด้วยกนั ควบคู่ไปกบั ผเู้ รยี นผู้สอน ๔) เกิดการเรียนรู้ใหม่อย่างต่อเนื่อง และขยายเครือข่ายความรู้ ของแต่ละคน รวมวาระเพื่อทราบนายสภามหาวทิ ยาลยั ราชภฏั หม่บู ้านจอมบงึ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๓ 11
๕) อาศัยการท�ำงานของสมองทงั้ ๒ ซกี ในการแสดงออกทกุ รูปแบบ : พดู เขยี น วาดภาพ การแสดงละครสนทนา ฯลฯ การออกแบบกระบวนการเรียนรู้ตามหลักดังกล่าวจะต้องท�ำ ความเข้าใจกับองค์ประกอบของการเรียนรู้เชิงประสบการณ์และการออกแบบ การเรียนรใู้ หม้ ีประสทิ ธิภาพ ๒. องคป์ ระกอบของการเรยี นรเู้ ชงิ ประสบการณใ์ นการเรยี นรแู้ บบใฝร่ ู้ ๑) ประสบการณ์ (Experience) ผู้จัดการเรียนรู้ช่วยให้สมาชิก ไดเ้ รยี นรปู้ ระสบการณใ์ หมห่ รอื นำ� ประสบการณเ์ ดมิ ของตนมาพฒั นาเปน็ องคค์ วามรู้ ๒) การสะทอ้ นความคดิ และอภปิ ราย (Reflex and Discussion) ผจู้ ดั การเรยี นรชู้ ว่ ยใหส้ มาชกิ ไดม้ โี อกาสแสดงออกเพอื่ แลกเปลยี่ นความคดิ เหน็ และ เรยี นรู้ซึ่งกันและกนั อยา่ งลกึ ซ้ึง ๓) เข้าใจและเกิดความคิดรวบยอด (Understanding and Conceptualization) สมาชกิ เกดิ ความเขา้ ใจและนำ� ไปสกู่ ารเกดิ ความคดิ รวบยอด อาจเกิดขึ้นโดยผู้เรียนเป็นฝ่ายริเร่ิมแล้วผู้จัดการเรียนรู้ช่วยเติมแต่งให้สมบูรณ์ หรือในทางกลบั กนั ผูจ้ ดั การเรยี นรเู้ ปน็ ผนู้ �ำทางและสมาชิกเป็นผู้สานต่อจนความคดิ นัน้ สมบูรณ์เป็นความคิดรวบยอด ๔) การปฏบิ ตั ิ หรอื ประยกุ ตแ์ นวคดิ (Experiment / Application) สมาชกิ นำ� เอาการเรยี นรทู้ เี่ กดิ ขนึ้ ใหมไ่ ปประยกุ ตใ์ ชใ้ นลกั ษณะ หรอื สถานการณต์ า่ งๆ จนเกดิ เป็นแนวทางปฏิบัตขิ องสมาชกิ เอง 12 สนุ ทรยี สนทนาเพื่อพฒั นามหาวิทยาลยั (D i a l o g u e f o r t h e U n i v e r s i t y)
๔ องคป์ ระกอบเอหงคล์ป่าระนกีส้อบาเมหลา่ารนถี้สาสมรารุปถสเปรุป็นเปภน็ ภาาพพรรววมมดังดแังผนแภผานพทภี่ 1าพท่ี 1 กคจาาวสเคกราำลคจมจื่อญัดัุดสนทกใัมย่ีกดา้าคพายจรวรัไนาเุดจปรมธัดมหยีสก์ขามันนรรอพะะึ่งรงหบนั ู้จอววธแงึ่นา์ขงลองอกคอะางา์ปงอรจเคใคงรเ์หปคระลค้รป์ ่ิมกะื่อรรกบตอะนอทกน้บยบอกุ ทต้าทบอ่ยา่ใีงทั้งงดคไั้งๆ์ปปก๔๔รดม่อะังปานกนปรอรัก้นะรบะกใ็ไะนหดากรแว้ จางแ่าะ่ขรงตเอจปองส่ ็ะนกงำ�ไเาคปปคร์ปอจัญ็นยัดรไ่าทกะปงา่ีกพกอรลาอเยรวรบียัต่าจนตรงดั รพ่าโกู้ดจงลยึงรๆออวะาาัตบจดจรเเวรังริ่มนนิ่มโจตกั้นดา้นกายใจทนรอุดี่ใใแาดใหดงจกจค้่ข่อเุดรรอนหบิ่มกงน็ไึ่งดแ้ แลตะ่ ทุกมุ่งอเงนค้นป์ใหกร้เากะรกิดกจคาัดอวรกบาจามรัดคเริดกียสานรรร้าู้ใงเนสรลรียรักนคษ์แรณลู้ใะะนดคังวลกาักลม่าษควิดณวนิจะอากดรจณังา์แกกลจล้วะ่าเยปวัง็นเปพน็นื้นอพฐกาื้นนฐจขาาอนกงในกจากะราเรเรปเียรนีย็นนรพู้ใรนู้ใ้ืนนดด้ฐาน้าานพนจุทขิตธพอิพิสิสงัยัย กาทรักเษระียพนสิ ยั รอู้ใีกนดด้วย้านพุทธิพิสัย โดยมุ่งเน้นให้เกิดความคิดสร้างสรรค์และความคิด โดย และ วจิ า๒ร.ณกาแ์ รลเรว้ยี นยรงั้ทู เ่ีมปปี น็ ระพสนื้ ทิ ฐธภิาานพในการเรยี นรใู้ นด้านจิตพิสัย และทกั ษะพิสยั อกี ดว้ ย การ๒จ.ัดก กิจากรรเรรมียกนารรเร้ทู ียีม่นรปี ู้แรบะบสมิทีส่วธนิภรา่วมพมีหลักสำคัญอีกข้อหนึ่งคือต้องการให้เกิดการเรียนรู้สูงสุด โดยให้สมาช ิกมีสก่วานรร่วจมัดมกากิจทกี่สรุดรในมทกุกาๆรอเรงคีย์ปนรระู้แกอบบบกม็คือีส่วกานรรแ่วบม่งปมันีหปรละักสบสก�ำาครณัญ์ กอารีกไดข้ส้อะหท้อนนึ่งคควาือมคิดและ ตกอค้็ถเกกงอื ดิเกถกกาียางารรรเใกรหแายี รเบ้นสกรง่รดิสู้ปุปงูกคนัสาวุดปรามหเรรคระยีอืิดสอนรบวารบจกสู้กยางูลอรสา่ดณวดุ ไตดโ์ ลกดว้ อ่าายดรใจไหนดส้ไส้ดม้ทะาดทชลอ้ กิอนงมหคสี รวว่ือานปมรระคว่ ยดิมุกแมตล์แานกะวถทคกส่ีิดเดุ ถแใลยีนะงทในกกุ ทาๆุกรอสองรงคคปุ์ปปร์คะรวกะาอกมบอนคั้นบดิ จะต้อง รวบยอด ตลอดจนไดท้ ดลองหรอื ประยกุ ตแ์ นวคดิ และในทกุ องคป์ ระกอบนน้ั จะตอ้ ง เกิดการเรยี นรสู้ งู สุดกหารรเรอื ียอนารจสู้ งูกสลุดา่ =วไกดา้วรม่าีสว่ นร่วมสูงสุด + การบรรลงุ านสูงสูด การมีส่วนร่วมสูงสดุ (Maximum Participation) การกมาีสร่วนเรรยี่วมนสรูงู้สสุดงู เสกิดุดจา=กกกาารอรอมกสี แ่วบบนกรล่วุ่มมทสี่เหูงมสาดุะสม+ในกแาตร่ลบะอรงรคล์ปรงุ ะากนอสบขงู อสงุดการเรียนรู้กลุ่มที่ ใช้บ่อยๆ ในการจัดการเรียนรู้ในห้องเรียนมี ๔ ชนิด ซึ่งมีผลลัพธ์ที่แตกต่างกัน ดังในแผนภาพที่ 2 กลุ่มแต่ละ รวมวาระเพ่อื ทราบนายสภามหาวิทยาลัยราชภัฏหมบู่ ้านจอมบึง พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๓ 13
การมสี ว่ นรว่ มสงู สดุ (Maximum Participation) การมีส่วนร่วมสูงสุดเกิดจากการออกแบบกลุ่มที่เหมาะสมในแต่ละ องค์ประกอบของการเรียนรู้กลุ่มที่ใช้บ่อยๆ ในการจัดการเรียนรู้ในห้องเรียนมี ๔แลชะขนอ้ดิ จซ�ำกึ่งมดั ผีทลต่ี ลา่ ัพงกธนัท์ ่แี เชต่นกตบา่ างงกปนั ระดเังภใทนเแอผือ้ นอภำ� านพวทยใี่ ห๒ม้ สีกว่ลน่มุ รแ่วตมล่ ไะดป้มราะกเภแทตจอ่ งึามจ๕ีขข้อาดดี ปคคววราาะมมเคแภคหสวทิดลาดเจาหมึงกง็นมหหอจีขลาอล้อากากดยปขีกแแรอละหลงะสลแกขบน้าอกเวปจายครำลขณิดกี่อยัด์โจดงนทึงยแี่ตเยหน่าคังมงไววกมาคะั่ตานส้อิมดเำงชคหก่นจาริดรับึงบเขเเหา้อวหงลส็นปมราจรุปทาะาี่ผะเกภรู้สสาทปอ�ยำเนลรหอตะืะ้อร้เอออสับงีำยกบเนดาวกวขรลยอใาหใางรหก้ทณเ้ลมก่ีผุ่มีสิด์โแู้ส่วดกตนอาย่ลรรนะ่ยวแปมตสังรไดไ้อะดมงเ้งมอภ่ตกาอทก้ากอขแรแง้อลใตกบหก่อา่งเา้ใปรจชเลข้ขแกี่ยลา้อิดนดะสกราุปร ข้อจำรกาัดยปลราะกเฏอในยี ตดาขราองงกลุม่ แต่ละประเภท ข้อบง่ ใช้และขอ้ จำ� กัดปรากฏในตาราง ประเภทกล่มุ ความหมาย ขอ้ บง่ ใช้ ข้อจำกัด กลุ่ม ๒ คน ให้สมาชกิ จับคกู่ นั ทำกิจกรรม ตอ้ งการใหท้ กุ คนมีส่วนรว่ ม ขาดความหลากหลาย (Pair Gr.) ทีไ่ ด้รับมอบหมาย ในการออกความเห็นหรือปฏิบัติ ทางความคดิ และ กลมุ่ ๓ คน ใหส้ มาชิกจับกลุ่ม ๓ คน แตล่ ะคนมี ทุกคนมสี ว่ นรว่ มในการเรยี นรู้ ประสบการณ์ (Triad Gr.) บทบาทท่ชี ัดเจนและหมุนเวียน ตามบทบาทและสามารถเรียนรู้ ขาดความหลากหลาย บทบาทกนั ได้ ไดค้ รบทกุ บทบาท และความกระจ่างชัด ไปบ้าง กลมุ่ ยอ่ ยระดม เป็นการรวมกล่มุ ๓ – ๔ คน ตอ้ งการให้สมาชิกมีสว่ นร่วมใน ขาดความลกึ ซงึ้ ไม่มี สมอง ข้ึนชว่ั คราวเพ่ือแสดงความเห็น เวลาสนั้ ๆ โดยไม่ต้องการข้อสรุป การอภปิ รายกัน (Buzz Gr.) โดยไมต่ ้องการขอ้ สรุป หรือต้องการข้อสรปุ ท่ไี มล่ กึ ซงึ้ อย่างลกึ ซึง้ มากนัก กลุม่ เลก็ เปน็ การจัดกล่มุ ๕ – ๖ คน ต้องการให้สมาชกิ ไดแ้ ลกเปลีย่ น ใช้เวลามาก (Small Gr.) ทำกจิ กรรมที่ไดร้ บั ความคดิ เหน็ และถกเถียงอยา่ ง ลกึ ซึ้งจนได้ขอ้ สรุป กลุ่มใหญ่ เปน็ การอภปิ รายในกลมุ่ ตอ้ งการใหเ้ กดิ การโตแ้ ยง้ หรือการ บางคนอาจให้ความ (Large Gr.) ๑๕ – ๓๐ คน หรอื ท้ังช้นั รวบรวมความคิดจากกลุ่มยอ่ ย สนใจหรือมสี ว่ นร่วม เพื่อหาข้อสรุป นอ้ ย ใช้เวลามาก การรอ้ ยรัดกกราะรบรวน้อกยารรกัดลก่มุ ทรหี่ ะลบากวหนลากยาเขร้ากด้วลยุ่มกันทอ่ีหย่าลงาเหกมหาะลสมาใยนเแขต้ล่าะดช้วั่ โยมกงกันารอเรยีย่านงรู้เกหจ็ มะทาำะสม คใหว้าเกมกใิดสนานกแราใจรเตอคม่ยลีสลา่ ะ่วงื่อนตชนอ่รั่ว่วเไนโมหมอื่ อวงงยขก่าองาสงรูงกเสราุดียรมเนรีพรียลู้ นวกัตร็รจ้ตู หะลรทืออก�ำดาใเรหวเคล้เกลาื่อิดทนกไ�ำาหใรวหขม้สอีสงม่กวาานชรรเิกร่วียมมนคี อรวู้ตยาล่ามองดสสเนวูงลใสาจุดอทยำมใ่าหีพง้สตลมอ่าวชเัตนิกรม่ือหี งรือ การบรรลุงานสงู สุด (Maximum Performance) แม้การออกแบบกระบวนการกลุ่มที่หลากหลายจะช่วยให้เกิดการมีส่วนร่วมได้มาก แต่ไม่ได้ หมายความว่า การมีส่วนร่วมนั้นได้เกิดการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพโดยไม่เสียเวลา หัวใจสำคัญของการ บรร1ล4ุงานสส(งูDนุสiaทุดloรจgียuึงสeอนfยทorู่ทนtาีก่hเพeาื่อUรพnกัฒivำนeหาrมsหนitาyดว)ทิ งยาาลนยั ให้กับกระบวนการกลุม่ ซง่ึ มอี งค์ประกอบทีส่ ำคญั ของการกำหนดงาน ๓ ประการ คอื ๑) กำหนดกิจกรรมที่ชัดเจนว่าจะให้สมาชิกแบ่งกลุ่มอย่างไร เพื่อทำอะไร ใช้เวลามากน้อยแค่ไหน
การบรรลงุ านสงู สดุ (Maximum Performance) แม้การออกแบบกระบวนการกลุ่มที่หลากหลายจะช่วยให้เกิด การมีส่วนร่วมได้มาก แต่ไม่ได้หมายความว่า การมีส่วนร่วมนั้นได้เกิดการเรียนรู้ อย่างมีประสิทธิภาพโดยไม่เสียเวลา หัวใจส�ำคัญของการบรรลุงานสูงสุดจึงอยู่ท่ี การก�ำหนดงานให้กับกระบวนการกลุ่ม ซ่ึงมีองค์ประกอบท่ีส�ำคัญของการ กำ� หนดงาน ๓ ประการ คอื ๑) ก�ำหนดกิจกรรมที่ชัดเจนว่าจะให้สมาชิกแบ่งกลุ่มอย่างไร เพ่ือท�ำอะไร ใช้เวลามากน้อยแค่ไหน เม่ือบรรลุงานแล้วจะให้ท�ำอย่างไรต่อ (เช่น เตรยี มนำ� เสนอ ในเวลาทกี่ ำ� หนดให้) ๒) ก�ำหนดบทบาทของกลุ่มหรือสมาชิกที่ชัดเจน โดยปกติการก�ำหนด บทบาทในกลุ่มย่อยควรให้แต่ละกลุ่มมีบทบาทท่ีแตกต่างกัน เม่ือมารวมเสนอ ในกลมุ่ ใหญจ่ งึ จะเกดิ การขยายเครอื ขา่ ยการเรยี นรโู้ ดยไมน่ า่ เบอ่ื การกำ� หนดบทบาท ยงั รวมถงึ สมาชกิ ในกลมุ่ ดว้ ย เชน่ บทบาทของผเู้ ลน่ บทบาทสมมตุ ิ และผสู้ งั เกตการณ์ หรือบทบาทของการน�ำกลุ่ม การรวบรวมความเห็น และการนำ� เสนอ เป็นต้น ๓) ควรมีโครงสร้างของงานท่ีชัดเจน ซึ่งบอกรายละเอียดของ กิจกรรมและบทบาทโดยท�ำเป็นก�ำหนดงาน ที่ผู้สอนแจ้งแก่สมาชิก หรือท�ำเป็น ใบงานมอบให้กับกลุ่ม ซ่ึงประการหลังจะเหมาะกับการท�ำกลุ่มย่อยที่ต้องการ ท�ำงานใหม้ ผี ลงานที่เป็นข้อสรปุ ของกลมุ่ โดยจัดทำ� เปน็ ● ใบกิจกรรมเป็นก�ำหนดงาน หรือใบมอบหมายงานให้กลุ่มเล็ก หรือกลุ่มย่อยระดมสมองที่มีรายละเอียดมาก และต้องการผลงานที่เป็นข้อสรุป ของกลุ่มที่มีความลึกซ้ึงมาก ผู้สอนอาจพิมพ์หรือเขียนใส่กระดาษแจกให้สมาชิก หรือแจกให้กลุ่มประกอบการท�ำงานกลุ่ม มักใช้ในกิจกรรมสะท้อนความคิด และอภปิ ราย และกิจกรรมประยุกต์แนวคิด ● ใบชี้แจง เป็นการอธิบายงานที่มีรายละเอียดไม่มากนักใน กลุ่มใหญ่ ก่อนท�ำกิจกรรมกลุ่มผู้สอนอาจเขียนบนกระดาษหรือขึ้นจอ ให้สมาชิก อ่านพร้อมกันในชั้นเรียนหรือในกลุ่มใหญ่ มักใช้ในกิจกรรมด้านประสบการณ์ หรอื ประยุกต์แนวคดิ รวมวาระเพอ่ื ทราบนายสภามหาวิทยาลยั ราชภัฏหมบู่ า้ นจอมบึง พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๓ 15
กระบวนการเรียนรแู้ บบใฝ่รทู้ เ่ี นน้ ความรู้ หลักการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม ช่วยสร้างการเรียนรู้ท่ีเป็นพื้นฐาน และเปน็ องคป์ ระกอบสำ� คญั ของการสรา้ งความคดิ สรา้ งสรรค์ และความคดิ วเิ คราะห์ วิจารณ์อันเป็นคุณลักษณะเฉพาะของความรู้ท่ียึดหลัก การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม ดังตาราง ตารางองค์ประกอบของการเรยี นรแู้ บบมีส่วนร่วมและลักษณะเฉพาะของความร๗ู้ องค์ประกอบ AL ลกั ษณะเฉพาะ ประสบการณ์ ตง้ั คำถามเพอ่ื รวบรวมประสบการณข์ องสมาชิก สมาชกิ ไดแ้ ลกเปล่ียนความรเู้ พอ่ื การสะท้อนความคดิ และอภิปราย สร้างความรตู้ ามงานทีไ่ ด้รับมอบหมาย ความคดิ รวบยอด การบรรยาย (โดยผสู้ อนและสอื่ การสอน) การรายงานผลงานกลุม่ ท่ีไปค้นคว้ากนั มา ประยุกตแ์ นวคิด หรอื บูรณาการความร้ขู องกลุ่มยอ่ ยโดยการนำเสนออภปิ รายในกลุ่มใหญ่ สมาชิกไดท้ ำกิจกรรมทป่ี ระยกุ ต์ความรทู้ ่เี กดิ ขึน้ เชน่ นำเสนอในรปู แบบใหม่ (แผนภูม,ิ mind map) จดั บอร์ด ทำรายงาน เขียนบทความ ฯลฯ การจัดกิจกกรารรมจกาัดรกเริจียกนรรู้เรพมื่อกใหา้สรมเารชียิกนเกริดเู้ พคว่ือาใมหรู้ค้สวมามาเชขิก้าใเจกใดินเคนวื้อาหมาวริชู้คาวนาั้นมไเมข่ม้าีขใั้นจตใอนนเกนาอ้ื รหา ฝึกอบวรชิ มาทนี่เฉนั้ พาไะมเจม่ าขี ะน้ัจงตเอพนียงกแาตร่ใหฝ้คกึ ำอนึงบถรึงกมาทรจเี่ ฉัดกพิจากะรรเจมทาี่คะรจบงอเงพค์ปยี รงะแกตอบใ่ หขอค้ งำ�กนารงึ เรถยี งึ นกราู้แรบจบใดั ฝก่รู้ทจิ ั้งก๔รรม ประกทาร่ีครบองคป์ ระกอบของการเรียนรู้แบบใฝร่ ้ทู ้ัง ๔ ประการ กระบวนการเรียนรแู้ บบใฝร่ ทู้ เ่ี นน้ เจตคติ อมดงัุง่งคกเนป์ล กจ้นร่าติระกวกะาถพแรอึงบลสิฝแบะวมึกยั ก๔้กอนาแรบปรกะรตจรบามัะดก่ถวใรกรนนาึงเาะกรดแรรบา้าเยีมรบจรนเนงึ้กครยีจคียวิรตรนวนาพแู้ะรรมรมิสบู้แบเ้คู ลีจัยติดวบกั่ลตคซนษะใวคึ่งณคฝกามตรมะีอา่รั้งจิเเงจร้ทูชฉคะะเืพ่อี่เ์มปรมนาีอเรียะงุ่มน้ะงดนเคื่อกนังเ์ปนรอตจน้รำบู้าแตะมรกตก๒าาคาองส่ลตรบดัมะฝ้ทาิพคนั้งกึันดรอคธ้าั้ง์กือนบจับรกพะหามุทมลรธใักสีอิพนกรงิส้าดาคัยงรา้ คท์ปจนวั่วิตราจไพมปะติ ิสรขกูพัย้สออึกงสิแทกบตยั าี่ส่กทรอซาเ้ังดรรง่ึ ดีเยครมนล้าียอีร้อนนู้แงงรกบคู้เจพับบป์ ตเใุทจครฝตตธ่ระคูิจ้ซิพกตะ่ึงอิสิ บัย ๒ ดอ้างนค์ปคระือกอกบาPรLสร้างความรู้สึกที่สอดลคกั ษลณ้อะงเกฉับพาเะจขตอคงกตาิดรฝังกึกอลบ่ารวมเจแตลคตะิแกบาบรPจLัดระบบ ขัน้ คสวรา้างมควคาิมดรค้สู วกึ ปารมะเสชบื่กอารเณม์ ่ือนเน�ำน้มปารสะสัมบพกาันรณธ์ก์ดา้ับนหควลามักรกสู้ กึาขรอทงส่ัวมไาปชิกของการเรียนรู้แบบใฝ่รู้ สะซท่งึอ้ อนคงวคา์ปมครดิะแกลอะถบกเ๔ถยี งประกาสรมาจชึงกิ คไดว้มรโี อมกลี ากัสแษสณดงะคเวฉามพคาิดะเหด็นังแตละาโรตา้แงย้งอยา่ งเตม็ ท่ี สมาชิกไดข้ ้อสรุปดว้ ยตนเอง โดยผูส้ อนกระตุน้ ให้สมาชกิ คดิ และช่วยเพมิ่ เติม การสรุปความคดิ รวบยอด16 สุนทรยี สนทนาเพอ่ื พัฒนามหาวิทยาลัย สมาชกิ ไดท้ ำกจิ กรรมท้ังในหรือนอกเวลาเรยี นเพือ่ ใหม้ ีเจตคติทฝี่ ังแนน่ มากข้ึน (D i a l o g u e f o r t h e U n i v e r s i t y) การทดลองหรอื ประยุกตแ์ นวคิด
ถึงแม้กระบวนการเรียนรู้แต่ละครั้งจะมีองค์ประกอบทั้งด้าน พุทธิพิสัย จิตพิสัย แต่การเรียนรู้เจตคติจะ มุ่งเน้นการฝึกอบรมในด้านจิตพิสัย ซึ่งมีองค์ประกอบ ๒ ด้าน คือ การสร้างความรู้สึกที่สอดคล้องกับเจตคติ ดังกล่าว และการจัดระบบความคิดความเชื่อ เมื่อนำมาสัมพันธ์กับหลักการทั่วไปของการเรียนรู้แบบใฝ่รู้ซึ่ง องค์ประกอบ ๔ ประการ จึงควรมลี ักษณะเฉพาะดังตาราง องค์ประกอบ PL ลกั ษณะเฉพาะของการฝกึ อบรมเจตคติแบบ PL ขน้ั สร้างความรู้สึกประสบการณ์ เนน้ ประสบการณด์ า้ นความรสู้ ึกของสมาชิก สะท้อนความคดิ และถกเถยี ง สมาชกิ ไดม้ ีโอกาสแสดงความคดิ เหน็ และโต้แย้งอย่างเตม็ ที่ สมาชกิ ไดข้ อ้ สรปุ ดว้ ยตนเอง โดยผู้สอนกระตุน้ ให้สมาชิกคดิ และชว่ ยเพิม่ เติม การสรุปความคิดรวบยอด สมาชกิ ได้ทำกจิ กรรมทั้งในหรอื นอกเวลาเรียนเพ่อื ใหม้ เี จตคตทิ ฝี่ ังแน่นมากข้นึ การทดลองหรือประยกุ ตแ์ นวคดิ เน่ืองจากทัศนคติเป็นความคิดหรือความเชื่อที่มีความรู้สึกเป็น เนอื่ งจากทอศั งคน์ปครตะิเกปอ็นบควกาามรจคดัิดกหารรือเรคียวนารมู้ เจชงึ ื่อมที ๒่ีมคีขว้ันาตมอรนู้สคึกือเป็นองค์ประกอบ การจัดการเรยี นรู้ จึงมี ๒ อน คอื ข้นั ตอนและกจิ กรรมการเรยี นรู้เจตคติ ข้ันตอนสรา้ งความร้สู ึก ขัน้ จัดระบบความคดิ /ความเชือ่ - ประสบการณ/์ สง่ิ สร้างความรู้สึก - อภปิ รายความเหน็ - เปิดเผยตนเอง - ประยกุ ต์แนวคดิ กระบวนการเรยี นรแู้ บบใฝ่รู้ท่เี น้นทักษะ การจัดการเรียนรู้แต่ละคร้ังจะมีองค์ประกอบผสมผสานกันไปในด้าน พุทธิพิสัย จิตพิสัยและทักษะพิสัย แต่การจัดการเรียนรู้ทักษะต่างๆ เช่น ทักษะ การสอ่ื สารเปน็ การมงุ่ เนน้ ในดา้ นทกั ษะพสิ ยั ซง่ึ ตอ้ งอาศยั การสรา้ งใหเ้ กดิ ความชดั เจน ในตัวทักษะ ให้เห็นเป็นขั้นตอนที่ปฏิบัติได้ง่าย และสมาชิกได้มีโอกาสลงมือปฏิบัติ บวนการเรียนรในู้แสบถบาในฝกร่ าทู้ รเี่ณน์ใน้ กทลกั้ตษัว ะเม่ือดูจากองค์ประกอบท่ัวไปท้ัง ๔ ประการของการเรียนรู้ การจดั การแเบรบยี นมสีรว่แู้ นตรล่ ่วะมคกร้ังาจรเะรมียอีนงรค้ทู ป์กั รษะะกจองึ คบวผรสมมลี ผกั สษาณนะกเฉันพไปาะในดังดต้าานรพางุทธพิ สิ ยั จิตพิสยั และทักษะพิส ารจดั การเรยี นรู้ทักษะต่างๆ เช่น ทกั ษะการสอื่ สารเป็นการมุ่งเน้นในด้านทักษะพสิ ยั ซ่ึงต้องอาศัยการสร้า กิดความชัดเจนในตัวทักษะ ให้เห็นเป็นขั้นตอนที่ปฏิบัติได้ง่าย และสมาชิกได้มีโอกาสลงมือปฏิบ17รวมวาระเพื่อทราบนายสภามหาวิทยาลยั ราชภัฏหมบู่ า้ นจอมบงึ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๓ ัติใ นการณ์ใกล้ตวั เมื่อดูจากองคป์ ระกอบท่วั ไปท้ัง ๔ ประการของการเรียนรแู้ บบมีสว่ นร่วม การเรียนรู้ทักษ
สถานการณ์ใกลต้ วั เมอ่ื ดูจากองค์ประกอบทัว่ ไปทั้ง ๔ ประการของการเรียนรแู้ บบมีส่วนร่วม การเรียนรู้ทักษะ จึงควรมลี กั ษณะเฉพาะดงั ตาราง องค์ประกอบ PL ลักษณะเฉพาะของการฝึกอบรมทกั ษะแบบ PL ประสบการณ์ อาศัยเหตุการณท์ ต่ี รงกับชวี ิตจริงในการเรยี นรทู้ ักษะ การสะท้อนความคิด และ สมาชกิ ได้มีโอกาสแลกเปลย่ี นซึง่ กันและกันในการวเิ คราะห์ปญั หากฎเกณฑ์ หรอื อภิปราย วิเคราะหข์ ั้นตอนในการฝกึ ทกั ษะตา่ งๆ ความคิดรวบยอด ได้ความคดิ รวบยอดหลายข้ันตอน ท้งั จากการฟังบรรยายจากการสังเกต การสาธิต การประเมินผลในกลมุ่ และการประเมนิ ผลรวม การทดลองหรอื ประยกุ ตแ์ นวคดิ สมาชิกได้มโี อกาสฝกึ ซำ้ ๆ โดยการแสดงบทบาทสมมุติตามสถานการณต์ ่าง ๆ ทักษะ เป็นคทวักามษสะามาเปรถ็นทีค่คนวเารามไดส้เาคยมมามี ราถกอ่ทนค่ี แนตเ่ไรดเ้ารไียดน้เรคูจ้ นยกมระมี ทางั้ กท่อำไนด้อยแ่าตงชไ่ ำดน้เารญียดนงั รนู้จนั้ นกากรระท่ัง จดั การทเร�ำียไนดรทู้อ้ กัยษ่าะงจชึงต�ำ้อนงมาีญ๒ ขด้ันังตนอนน้ั คกอื ารจัดการเรยี นรูท้ กั ษะจึงต้องมี ๒ ขนั้ ตอน คอื ๑) ขั้น รู้ชัดเห็นจร๑ิง) เปข้ัน็นรขู้ชั้นัดตเหอ็นนจทรี่มิงุ่งเใปห็น้สขมั้นาตชอิกนรทับี่มรุ่งู้วใ่าห้สทมักาษชะิกเรหับลร่าู้วน่าั้นทมักีคษวะาเมหสลำ่าคนัญ้น และฝึกฝนให เป็นมหีครวือามทสำ�ำไคดัญ้อยแ่าลงะไรฝึกฝนให้ทำ� เปน็ หรอื ทำ� ได้อยา่ งไร ๒) ขน้ั ปลฏงมบิ ือัตกทิ ร่ไี ดะเ้ท๒รำีย) น เปรขู้ม็นั้นาขลจัน้ างตกมอขือนั้นกตทรอ่ีเะปนทิดแ�ำรโ อกเกปา็นสขใั้หนส้ตมอานชทกิ ่ีเไปดิดล้ โงอมกอื าปสฏใบิหตั้สิทมีไ่าดช้เิกรยีไดน้ลร้มูงมาืกอจากข้นั ตอนแร ขั้นตอนและกจิ กรรมการเรยี นรูท้ กั ษะ ขัน้ รชู้ ดั เห็นจรงิ ขน้ั ลงมอื กระทำ - บรรยายนำ - ฝึกปฏบิ ตั ิ - กรณีศกึ ษา / สถานการณจ์ ำลอง / สาธิต - ประเมินการฝึก - วิเคราะห์กรณีศกึ ษา/สถานการณจ์ ำลอง /การสาธิต ๑.๒ จาก Active Learning ไปสู่ Competency-Based Learning arning จุดเ1น8กน้ าตร้อส(Dจุนiงaทlัoเดรgขียuกสe้านfาใทorนจรtาhวเพeเ่อื่ารUพnฒัีiยvCนeาrนมosหitารymว)ิทยู้แาpลยับeบtenAccytiv-eBaLseeadrnคinอื g และการก้าวต่อไปสู่ Competency - Bas การออกแบบหลักสูตรที่เน้นสมรรถนะท่ีต้องได กการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning (AL) บางมหาวิทยาลัยพยายามทำ Competency -Bas
- บรรยายนำ - ฝึกปฏิบัติ ๑-.๒ก ร ณจีศากึ ษAาc/tivสeถาLนeกaาrรnณin์จgำไลปอสงู่ C/ oสmาธpิตetency-Based Learning - ป ร ะกเมานิรจกัดากรฝากึรเรียนรู้แบบ Active Learning และการก้าวต่อไปสู่ Competenc-yวเิ -ครBาaะsหed์กรLณeศี aึกrnษinา/gสจถดุานเนก้นาตรณอ้ งจ์ เำขล้าใอจงว/่ากCารoสmาธpิตetency - Based คือ การออกแบบหลักสูตรที่เน้นสมรรถนะท่ีต้องได้มาจากการจัดการเรียนรู้แบบ ๑.๒AcจtาivกeAcLteiavrenLinegar(nAiLn)gบไาปงมสหู่ Cาoวmิทยpาeลtัยeพnยcาyย-Bามasทe�ำd CLoemarpneintegncy -Based Cuกrาrรicจuัดluกmาร(เCรBียCน)รโู้แดบยไบม่มAีcAtiLveแLตe่จaะrปnรinะgสบแปลัญะกหารมกาก้าวแตล่อะไเป็นสทู่ Cี่ยoอmมรpับeกtันency - Based Learning จุดเโนด้นยตท้อ่ัวงไปเขว้า่าใจกวา่ รCทo�ำ mCpBeCteตn้อcงyเร-่ิมBมaาsจeาdกกคาอื รมกีาAรอctอivกeแบLบeหaลrnกั iสnูตgรกท่อีเน้นจสามกรนรถ้ันนะที่ต้องได้ม จากการจัดกาจรึงเปรียลย่ีนนรเู้แปบน็ บCAocmtipvetLeenacryni-nBgas(AeLd) Lบeาaงrมnหinาgวซิท่ึงยกาจ็ ละัยเปพ็นยสา่วยนาหมนท่ึงำขอCงomCopmet-ency -Base Curriculum (CpBeCte) nโcดyยไ-ม่มBีaAsLedแตC่จuะปrrรicะuสlบuปmัญหปารมะาเดก็นแนลี้มะีคเปว็นามทสี่ย�ำอคมัญรับมกาันกโดวยันททั่วีจไัดปอวบ่ารกมาไรดท้มำี CBC ต้องเร มาจากการมี กAาcรtiจvัดeแLบe่งaกrรnะinบgวนกก่อานรเจปา็นกสนอั้นงจวันึงเปวลันี่ยแนรกเปน็น�ำ CAocmtivpeetLeenacryni-nBgasมeาdใหL้อeาaจrnาiรnยg์ ซึ่งก็จะเป็น สว่ นหนง่ึ ของ Cทoุกmท่าpนeชte่วnยcกyันพ- BิจaาsรeณdาวC่าurทric�ำuอlยu่าmงไรปใรหะ้เเปด็น็นนMมี้ ีคaวxาimมสuำmคญั Lมeาaกrnวiันnทg่จี แดั ลอะบวรันมทได่ี ม้ กี ารจัดแบ ใกเปหร็นเ้ะปบMน็ วaนCxกoimาmรuเpปสกCme็อำ�นotหงemสLเนnอeนpดcงa้นeyวกrกntันาe-าiรnnรBวมgเcันaีดปysแงัลแeนร-่ียลdก้ีนะBนLจวaำeันาsaกeทArdcnี่สMtiอniLvaงgeeเxนaiแmLr้นลneกuะianาmrCgรnเoiปแnLmลลegะี่paยมrนenาCtจใieonหาnmกg้อcาpMyทจe่ีเaา-ปtรxeB็นยinma์ทscAueุกycmdทt-i่าvCLนBeueชaras่วLrrieยecnduกainrlันunCgพmiunทิจrgี่rเาปiรcกใ็นณuำหlห้เาuAปนวmc็น่าดtiกvทาeำรอLมยeดี ่าaงั งrนไnรี้ inให รวมวาระเพื่อทราบนายสภามหาวทิ ยาลัยราชภัฏหมู่บา้ นจอมบึง พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๓ 19
๑๐ การปรับ Active Learning ใหเ้ ป็น Competency - Based Learning ใ กชาห้(ร๑ลป)ักรกสบั าารมAป((ขc๑๒รt้อi))บั v ควeกกัตือLำา�ถeรหุปปaนรrรดะnบั สเiกnวงณgัตคถ์ใใฑหหปุ ์กเ้้เรปปาะร็นน็สบพงCรคฤรoตใ์ ลหmิกุสเ้รปpมรe็นรมรtพeถ(ฤสnนตมcะิกyรรร-ถรBมนaะ(s)สeมdรรLถeนarะn)ing ใช้หลักสามขอ้ คือ (๒) กำห(น๓ด)เ กวณิธฑีกก์าราปรบระรรเมลินุสผมลรรถนะ (๓) วธิ ีกาวริธปกี ราะรเนมจ้ี ินะผทลำ� ให้การเขียนวตั ถุประสงค์ที่แตเ่ ดมิ มักจะเขยี นกวา้ ง ๆ ตว้อิธงีกเาขรียนนี้จเปะท็นำเชใหิงค้กวาารมเขสียานมวาัตรถ ุปแรละะสแงตค่์เทดี่แิมตท่เ่ีมดักิมเมขักียจนะวเิธขีปียรนะกเมวิ้นางผลๆกตว้อาง เขๆียนเป็นเชิง วามสามารถ แเชล่นะแใตช่เ้วดิธมีกทามี่ รักสเังขเียกนตวิธใชปี ้วริธะีทเม�ำิน Pผoลกstวา้ –ง ๆteเsชtน่ ตใอชนว้ นิธีก้จาะรไสมัง่ไดเก้แตล้วใชเว้พิธรีทาำะวP่าoจsะtต–้องtest ตอนน้ี ะไม่ได้แล้ว เพปรราะะเวม่าินจผะลตต้อางมปเรกะณเมฑิน์กผาลรตบารมรเลกุณสมฑร์กราถรนบะรรยลกุสตมัวรอรถยน่าะงเชย่กนตัแวอบยบ่าเงดเิมชถ่น้าแผบู้เรบียเดนิมถ้าผู้เรียน ดาo้ผรmปลpรกะeาเtรมeเนิรnียจcนyงึ เไจกแรนยดบ็ะตะ้น่อผ้ ตดบ้อยแลับ้องบกFซถงาบoC่พอ้ารrมิmจเFกCรoา็ถoียaซรrือmนtmณึ่งiวรvจpa่าะาeะetผเดiเปtมv่าปับeeนา็น็nนกCรมcกแกาyาตากวยกร่า่ถถ็ใกดปแือ้าCวไบรเวมo่าปะบ่าแ่ผm็นผเบม่าS่าpบนCินuนeกomเSพtแ็ตmuemตื่อ้อmpnถ่พงaecซ้าmtัฒtyเi่อveปaนมenน็tยาicvซ่อEจyCeึ่vงยรoจa-ิงEmะlถBvuเๆaa้าปpaslte็นuรeiCotกaูปdeontาแnimรLoบcปenypบaรerกะ-ntเาBมienรaินnปgsเcรeพจyะdะื่อเตพมใLด้อินัฒeไงaจนมพrึงาn่ผิจเจนi่าาnร้รนนgิงณๆาเรปูป็นแรบาบย กล่าวในภาพรวมการจะทำ Competency - Based Learning ได้นั้น ต้องทำ Grand Design 20 สุนทรยี สนทนาเพือ่ พัฒนามหาวิทยาลยั อ ๒๐ สัปดาห์ จะต้องเปลี่ยนเป็นการกำหนดให้เป็น เดิมอาจารย์จะเขียนเป็นวัตถุประสงค์ของการสอน(Dialogue for the University) ompetency หลัก เช่น กรณีตัวอย่างตามสไลด์มี ๔ Competencies หลัก ก็เขียนว่ามี Competency
กล่าวในภาพรวมการจะท�ำ Competency - Based Learning ได้นนั้ ต้องท�ำ Grand Design คือ เดิมอาจารย์จะเขียนเป็นวัตถุประสงค์ของการสอน ๒๐ สัปดาห์ จะต้องเปล่ียนเป็นการก�ำหนดให้เป็น Competency หลัก เช่น กรณีตัวอย่างตามสไลด์มี ๔ Competencies หลัก ก็เขียนว่ามี Competency อะไรบ้าง จากน้ันแต่ละ Competency หลัก ก็ต้องมาแยกเป็น Competency ยอ่ ย แตล่ ะ Competency ยอ่ ย ตอ้ งกำ� หนดใหไ้ ดว้ า่ เนน้ อะไร ความรู้ (Knowledge) ทักษะ (Skill) เจตคติ (Attitude) ก็ท�ำเคร่ืองหมายวงกลมในด้านนั้น ๆ (K A S) แล้วจึงก�ำหนดกิจกรรมการเรียนรู้และการประเมินผล การประเมินผลและคะแนน ๑๑ หนรนือแลบงไบปเดรีย่ววมอทยแกง้ังา่า็จลเวนงะะลเภตแดา้าอบียดยงวบ้วสนยกหมอลดรกุ่มือุลออรยอะย่าหย่างเ่าวเนดเ่านน้ียงก้แนวาตแรต่งตปา้อ่แรนงบะภกเบ�ำามกหยินลนนแุ่มอดบหกใบหอรใ้ืสอนยมา่แหงดบ้อเุลดบงเียเรดจวียา่ียนตกวแ้อนอลงั้นยะก่ากนำง็รหอเะดกนบียหดุเว้อกใหงณหเส้ รฑรมียือ์คดนอะลุ ยแแจ่านบาเนบนกลเ้นนดงแ้ันี่ยไปตกว่็ระบุ การทำ Grรaวnมdทงั้ Dเวeลsาigดn้วยแบบนี้จะทำให้เห็นภาพรวมทั้งหมดของวิชา และสามารถใช้สิ่งนี้ทำ น มคอ.๒ เพอ่ื ให เ้ หน็ ภาพรกวมารขทอ�ำง วGชิ าrand Design แบบน้ีจะท�ำให้เห็นภาพรวมท้ังหมดของวิชา การทำ GrแaลnะdสาDมeาsรigถnใชมส้ าิ่งสนู่กี้ทาำ� รหทนำา้ แทผีแ่ นทกนารมสคออน.๒สเรพุป่อื ไใดห้ด้เงัหนน็ ี้ ภาพรวมของวชิ า การทำ� Grand Design มาสูก่ ารทำ� แผนการสอน สรปุ ไดด้ ังน้ี สิ่งที่ต้องย้ำความเข้าใจ คือ อาจารย์ต้องไม่เขียนแผนการสอนก่อน อาจารย์ต้องออกแบบก่อนรวมวาระเพ่ือทราบนายสภามหาวทิ ยาลัยราชภฏั หมบู่ ้านจอมบงึ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๓21 aximum Learning ที่ต้องมีเกณฑ์การประเมินและการประเมินผลให้ชัดเจน จากนั้นอาจารย์จึง
สิ่งท่ีต้องย้�ำความเข้าใจ คือ อาจารย์ต้องไม่เขียนแผนการสอนก่อน อาจารยต์ ้องออกแบบกอ่ น ใหเ้ กิด Maximum Learning ทตี่ อ้ งมเี กณฑ์การประเมิน และการประเมนิ ผลใหช้ ดั เจน จากนนั้ อาจารยจ์ งึ ออกแบบการสอนหรอื แผนการสอน ของแต่ละ Competency ย่อย และจากแต่ละ Competency ย่อยนี้เอง ที่อาจารย์จะสามารถประเมินผลว่าผู้เรียนผ่าน หรือต้องพัฒนาอย่างไร ส่วนแผน การสอนท่ีเต็มรูปแบบคงต้องเอาไว้ส�ำหรับให้อาจารย์เก็บไว้เพื่อพัฒนา โดยเฉพาะ อย่างยิ่งในวง PLC เป็น Continuous Improvement ไม่น่าจะต้องมาอยู่ใน มคอ.๓ ๑.๓ การจดั การเรยี นการสอนแบบ Online Active Learning (OAL) ในช่วงเชา้ ไดเ้ ข้าร่วมการประชุม PLC ในหัวข้อ Online Learning บรู ณาการกับ Active Learning ไดอ้ ยา่ งไร หรือ Online Active Learning (OAL) โดยมตี วั แทนผบู้ รหิ าร คณบดี และรองคณบดฝี า่ ยวชิ าการ ของทกุ คณะเขา้ รว่ มประชมุ ในการจดั การประชมุ มกี ารปฏบิ ตั ติ ามกฎความปลอดภยั ๓ ขอ้ ทเ่ี ปน็ มาตรฐาน คอื ๑) Social Distancing ๒) ล้างมอื ด้วยเจลแอลกอฮอล์กอ่ นเข้า–ออกหอ้ งประชุม และ ๓) การสวม Universal Mask จากวิกฤติการระบาดโควิด-๑๙ การมี Online Learning ถือเป็น โอกาส เพราะท�ำให้สามารถสอนนักศึกษาต่อเนื่องไปได้ และระบบออนไลน์ท�ำให้ เกิดการเรียนรู้ได้เช่นกัน เน่ืองจากสามารถส่งเอกสารหรือสื่อการสอนได้ล่วงหน้า รวมท้ังการประเมินผลก็สามารถประเมินผลรายบุคคลที่ส่งกลับมาได้ แต่ก็ต้อง แกไ้ ขจดุ ออ่ นทีส่ �ำคญั คือ การปฏิสัมพนั ธเ์ ปน็ แบบ passive คอ่ นข้างมาก ทจ่ี ะต้อง ท�ำให้เป็น active (learning) ให้ได้ โดยการสร้างการมีส่วนร่วมในการจัดการ ชั้นเรียนผ่านระบบออนไลน์ เพราะว่าผู้เรียนอยู่คนละท่ี และต้องมีการบูรณาการ กบั Personalized Learning ให้ได้ ถา้ บรู ณาการไมไ่ ด้หรือไดไ้ ม่ดี กจ็ ะเหมือนกับ เป็นการเรียนรู้ท่ีแยกส่วนกัน ระบบ Online Active Learning จึงต้องมีการจัด ๓ ระบบให้เช่ือมต่อกัน ได้แก่ ๑) Personalized คือ ไม่ต้องเข้าช้ันเรียน เรยี นตามอธั ยาศยั ๒) Online Class และ ๓) Class ชนั้ เรยี นปกติ เชน่ ใหเ้ ปน็ สดั สว่ น P : O : C เป็น ๑ : ๓ : ๑ ซ่งึ สามารถปรบั ไดเ้ หมาะสมตามบรบิ ท 22 สนุ ทรียสนทนาเพื่อพฒั นามหาวทิ ยาลยั (D i a l o g u e f o r t h e U n i v e r s i t y)
เหมือนกับเป็นการเรียนรู้ที่แยกส่วนกัน ระบบ Online Active Learning จึงต้องมีการจัด ๓ ระบบให้เชื่อ กัน ไดแ้ ก่ ๑) Personalized คอื ไมต่ อ้ งเขา้ ชน้ั เรยี น เรยี นตามอธั ยาศยั ๒) Online Class และ ๓) Class เรียนปกติ เชว่นธิ ีกใาหรเ้วปปิธร็นกี บั สาเรัดพปสือ่ ร่วใบันหเพเ้ ปPอ่ื น็ ใ:หOOเ้ ปn:น็ lCinOเeปnAน็linc๑teiv:Ae๓cLti:ev๑earLnซeinง่ึ aสgrาnโมiดnายgรกถโาดปรยรแบักปาไดลรแเ้งหแปมผลานงะแเสดผมิมนตเดามมิ บริบท ใน ๔ องค์ประใกนอบ๔ องคป์ ระกอบ - เ นน้ ออกแบ-บ กเลนุ่ม้น..อRอ/กDแบ+บAกpลpุ่มly.. R/D + Apply หป ารกะเรมะินบผวลน--ดก ้วายรปหการกจิ กะลกเรุม่มระโรนิบดมผวยลนAผดู้ใpกช้วpา้.ยร.l.yกเกปจิ ลน็กมุ่ รLโรiดnมยeAผหู้ใpชรp.้อื .l.yหเป้อ็นงยL่อiยne หรือหอ้ งยอ่ ย - - การจัดการกชา้ันรเจรดั ยี กนาOรชnั้นliเnรeยี น Online ใใมใชชชกี ้ก้ก้ ตPาากิrรรo-----าอถ gชาอr้นัมaเใใใมกตชชชเmเีกแรพรก้้้กตบียPียื่อาาทิกนบrมรรกoี่เาลกอถสหรgชว่ลาอะ่ือrน็ ัน้งมaุ่มตกปผหเmเุ้นแรรู้เพ(นรผบคียะา้่ือียท่ากนนบรกนน่เีอทล่วกหรสมบ่วี่ละ็นd่อืเงกกุ่มชตiผหนัsาO่นุ้นู้เt(นรรผrคnสZaา้ีย่านlอรcoiนนnทว่tนoสeeม่ีเทmdือ่dช)กนี่น่iเ,ันsOพ่าtWZสื่อrnaนใeolcหibnใot้มจeeemสีxd)ว่,เนพWรอ่ื e่วใbมหeม้ xสี ว่ นร่วม - - - - - เตรยี มPสe่ือrปsoรnะกalอizบeกdารLสeอaนrnทiี่นnา่gสกนาใรจออกแบบโปรแกรมใหอ้ าจารย์ทุกคนทำ� ได้ Personali-z edกาLรefaerneidngข้อกมารลู อVอกDแOบ,บบโทปครแวากมรมใหอ้ าจารยท์ กุ คนทำได้ - การ feed ขอ้ มลู VDO, บทความ - การ tracking ว่านกั ศึกษาเขา้ ตามเกณฑ์ 23รวมวาระเพอื่ ทราบนายสภามหาวทิ ยาลยั ราชภฏั หมู่บา้ นจอมบงึ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๓
- การ tracking ว่านักศึกษาเขา้ ตามเกณฑ์ - กิจกรรมให้ท�ำและประเมิน (formative) F2F Classroom (Face to Face Classroom) - ใช้ Orientation, ฝึก Online skill - รู้จักนักศกึ ษา/นกั ศึกษาร้จู กั กนั - สรุปและ summative Evaluation - ท�ำไดด้ ้วยกฎความปลอดภัย (ระยะหา่ ง, ลา้ งมอื , สวม Mask) ขอ้ เสนอ PLC ในเรอ่ื ง Online Active Learning - ออกแบบระบบ P : O : C ให้ชัดเจนกอ่ นอบรมจะอบรมได้ตรงจุด - Design Online Tech. ใหส้ อดคล้องกับระบบ - มี PLC ระดับ University, คณะ, สาขาวชิ า - มหาวทิ ยาลยั นา่ จะใหค้ ณะจดั อปุ กรณส์ ง่ เสรมิ การ online ใหน้ กั ศกึ ษา - สง่ เสริมให้นักศกึ ษามีระบบ buddy 24 สุนทรยี สนทนาเพื่อพัฒนามหาวทิ ยาลัย (D i a l o g u e f o r t h e U n i v e r s i t y)
บทที่ ๒ ๑๔ ระบบดูแลช่วยเหลอื นกั ศกึ ษาท่มี ีคุณภาพ บทท่ี ๒ ระบบดแู ลชว่ ยเหลอื นักศกึ ษาที่มคี ณุ ภาพ ๒.๑ แนวทางกา๒ร.พ๑ฒั แนนาวแทลาะงปกราับรปพรฒัุงรนะบาแบลดะูแปลรนับักปศึกรงุษราะบบดแู ลนักศกึ ษา องค์การอน า มอัยงโคล์กา(รWอนHาOม)ัยไโดล้ใกห้(แWนHวทOา)งได(G้ใหui้แdนeวliทneา)ง ก(Gารuแidกe้ปliัญneห)าการแฆก่า้ ตัวตาย ทปี่ ระกอบด้วยปัญLIหVEากแาลระฆL่าIตFEวั ตดางั ยน้ี ทีป่ ระกอบด้วย LIVE และ LIFE ดงั น้ี กล่าวอีกนกัยลห่านวึ่งอีกกานรัยปหรนับึ่ปง รกุงราะรบปบรกับาปรดรุูงแรละชบ่วยบเกหาลรือดนูแักลศชึก่ษวยาขเหองลมือหนาักวิศทึกยาษลาัยจะต้อง ประกอบด้วยขกอางรมดำหเานวินิทกยาราล๒ัยจส่วะนต้อคงือปสร่วะนกอLIบVดE้วทยี่เปก็นาเชริงดก�ำาเรนบินรกิหาารร ป๒ระสก่วอนบดค้วือย กสา่วรนมีภLาวIVะEผู้นำ และ วิสัยทัศน์ของทผู่ีเ้นปำ็นในเชเริงื่อกงากราบรรดิหูแาลร/พปัฒระนกาอคบุณดภ้วายพชกีวาิตรขมอีภงานวักะศผึกู้นษ�ำา แรลวะมวทิสั้งัยมทีกัศารนด์ขำอเนงผินู้นก�ำาใรนในเรเร่ือื่องงนี้ และ มีการประเมินกผาลรทดี่มูแีปล/รพะสัฒิทนธาิภคาุณพภด้วายพชสีว่ ิตนขLอIVงนEักทศี่เึกปษ็นาเชิงรกวามรทป้ังฏมิบีกัตาิกรดาร�ำเปนรินะกกาอรบในด้เวรย่ือ๑งน) ี้กแาลรละด/กำจัด หนทางหรือวมิธีการรทปี่สราะมเามรินถผใชล้ใทน่ีมกีาปรรฆะ่าสติทัวตธิาภยาพ๒ด)้วกยารส่ัมวนมนาLสIVร้Eางคทว่ีเาปม็นเขเ้าชใิงจกกาับรสปื่อฏเริบื่อัตงิการลงข่าวท่ี เหมาะสม ถูกหปลรักะกาอรบ๓ด)้วกยาร๑เพ)ิ่มกทาักรษละดช/ีวกิต�ำใจหัด้กหับนทักศาึกงหษราือแวลิธะีก๔า)รทดำ่ีสเานมินากราถรเใรชื่อ้ใงนกกาารรEฆa่าrlตyัวIdตeาnยtification กลุม่ เส่ียง ซึ่งทัง้ หมดจะเป็นจรงิ ได้ตอ้ งมีการพัฒนาบุคลากรโดยการอบรม และการจัดให้มี PLC กรมสุขภาพจิตเสนอให้มีการอบรมอาจารย์ที่ปรึกษาทุกมหาวิทยาลัยในลักษณะ Faculty- based one-day workshop โดยจะเน้นการให้ความเข้ารวใมจวาระแเพล่ือทะราบในหาย้สBภามaหsาวiิทcยาลSยั รkาชiภlฏัlหsมู่บต้าน่าจองมบๆึง พแ.ศ.ล๒๕้ว๖๐ม-า๒๕ว๖า๓งแผ2น5รว่ มกนั หลักสูตรการประชุมปฏิบัติการการพัฒนาอาจารย์ที่ปรึกษา จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อ ๑) สามารถอธิบาย
๒) การสัมมนาสร้างความเข้าใจกับสื่อเรื่องการลงข่าวที่เหมาะสม ถูกหลักการ ๓) การเพิ่มทักษะชีวิตให้กับนักศึกษา และ ๔) ด�ำเนินการเรื่องการ Early Identification กลุ่มเส่ียง ซ่ึงท้ังหมดจะเป็นจริงได้ต้องมีการพัฒนาบุคลากร โดยการอบรม และการจดั ใหม้ ี PLC กรมสุขภาพจิตเสนอให้มีการอบรมอาจารย์ที่ปรึกษาทุกมหาวิทยาลัย ในลักษณะ Faculty-based one-day workshop โดยจะเน้นการให้ความเข้าใจ และให้ Basic Skills ตา่ งๆ แล้วมาวางแผนร่วมกัน หลักสตู รการประชมุ ปฏิบัตกิ าร การพัฒนาอาจารยท์ ปี่ รกึ ษา จงึ มวี ตั ถุประสงค์เพือ่ ๑) สามารถอธิบายสถานการณ์ และความจ�ำเป็นในการพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือ นิสิต นักศึกษา ๒) สามารถ ใช้ทักษะพ้ืนฐานในการคัดกรองและช่วยเหลือเบ้ืองต้น และ ๓) ร่วมกันก�ำหนด แนวทางในการพฒั นาระบบดแู ลช่วยเหลอื นกั ศกึ ษาอยา่ งตอ่ เนือ่ ง โดยมแี นวทางเก่ยี วกับผูเ้ ข้าร่วมประชมุ ดงั น้ี ๑) ควรท�ำเป็นลักษณะทั้งคณะ (Faculty-based) เพ่ือให้อาจารย์ ทป่ี รกึ ษาสามารถประสานงานและเรยี นรรู้ ่วมกนั ในการพฒั นาระบบ ๒) จ�ำนวนผเู้ ขา้ ประชมุ อาจารย์ทั้งหมดในคณะ ๒๐ - ๕๐ คน เนือ่ งจาก เป็นการจัดในลักษณะปฏบิ ตั ิการ (Workshop) ๓) เนน้ กระบวนการฝกึ อบรมแบบการเรียนรู้แบบมีสว่ นร่วม กิจกรรม ประกอบด้วย การบรรยาย : แนวคดิ และแนวทางการจัดระบบดแู ลฯ ฝกึ ทักษะ : การส่ือสาร การประเมินความเส่ียง การให้ ค�ำปรึกษาเบือ้ งต้น การอภิปรายกลมุ่ ย่อย : พัฒนาระบบดแู ลฯ 26 สุนทรยี สนทนาเพอื่ พฒั นามหาวทิ ยาลัย (D i a l o g u e f o r t h e U n i v e r s i t y)
ฝึกทักษะ : การสอื่ สาร การประเมนิ ความเสี่ยง การให้คำปรึกษาเบอ้ื งตน้ การอภปิ รายกลุ่มยอ่ ย : พัฒนาระบบดแู ลฯ Flow chart และวธิ กี ารปฏบิ ัติ Flow chart และวธิ ีการปฏิบัติ ญ่ของการทำรขะ นตอบา�ำงบมไมปครหะเือาปบวพ็นบิทอสอยขวาาาราอจลสงจงัยรนมะทะเยหทบีเ่ งัปาศขบว็นาิแทแจดลยตคดุ ้าว่ปวแลาัญขกมัยง็ หาชทคราดั่ีเใทือปเหจำ็นมญนตจีก่ขาเุดรขอมะแม้ งรบขแกะว็ขงาบนรง็ บทคกแอื�ำอาลรราะะแจมตบลจีอก้ ะบะงรมคมยะีขือกีับงอ้าพขวรมาอนพูลดวกฒัทาคางน่จีวรระาาแะรมนลบะำชะบบไัดมปแบีเขลเใจป้หอ้วน็นต้มกสอู่ลเาาขเทนรร้มี่จทสอื่ แะ�ำนงขเท็งศแแลตะป่ตัญ้องห พัฒนาระบบใหดต้ ังอ่ นเนัน้ อ่ืจงงึ ไดดใ้ ังหน้ทน้ั ุกจมงึ หไดาว้ใหิทท้ยากุ ลมยั หไาปวทิทบยทาวลนยั เไรปอื่ ทงตบ่าทงวๆนเดรื่องั นงต้ี า่ ง ๆ ดงั น้ี ก ารรู้จักนักกศาึกรษรู้จากัเปน็นกั ศรึกายษบาเุคปคน็ ลราใยหบ้มุคีกคาลรใiหdม้ eกี nาtรifyidวe่าnใtคifyรเปวา่ ็นใคกรลเุ่มปเ็นสกี่ยลง่มุ เเพสื่อียงใส่ใจให้มากข จน โดยมองพฤเตพิกื่อรใสรม่ใจกใาหร้มเราียกนข้ึนแลชะัดอเาจกนารโพดฤยมตอิกงรพรมฤทติกี่จระรนมำกไปารสเู่ปรียัญนหาแลเชะ่นอาเกราื่อรงพกฤาตรใิกชร้สรุรมา การติดเกม เวมรม่ไียดกน้ับเทปพี่ล็นฤดทตลี่ปิกงรรคึกรมนกทเอษชกาาทีจ่าน่ รจาะี่จเารนมระรเกำ�ียาสรยไส็มนียังป์ทาเีกนทกสี่พยาี่ลปู่ตบเรขดชเญัหเหาล่นหดหา็นง็นรเมาครเือคาขยีเือกสนช้นาเันาน่ทพถยหึมงี่จื่อเนลาะรขนบัักกือ่สาแศใงวังดลนกเ่ึากเกะหราคษอตรียอ้วาใาเนงรหชจเจแ้สร็นาหะตียรุรคลตาน่ไยือับม้อ์ทกเอ่ไใงพี่สานดาใื่อรอหก้เหตปนนา้อ้อดิ็นรแางเเรลทจเกหะระี่ปามลบียอรรส่านบยาึกน์ จนถ์ทษีเ้อาปา้ี้จี่เาารรหน็ะกยวกท็นาม์ทe็มรำมกa่ีสเใีกrีวบัหอหlาิธyพลน้อรีก่าฤsหาานiรตจgาระาีิก้nเรสปบรือรไื่อย็นรบกมสม์ทันน่ตeากี่พี้จม้อaราะาบงrทรlรกทเเyั้งอหรก�ำแียผsใ็นวบiหนลg่าเบขn้ ้าไoถมnึง่ตนli้อnักงeศรึอกแผษล ne แจ้งใหอ้ าจาครวยรท์จี่ปะตร้อกึ งษใาหท้อราาจบารเปย์ท็นี่เหรือ่็นงมกีวาิธรีกวาารงสระ่ือบสาบรททค่ี ั้งณแบะบตอ้ oงหnlาiรnอืeกแันละ offline แจ้งให้ เรอื่อาจงถารัดยไ์ทปีป่ทรี่คกึ วษราจทะรตา้อบงเมปีก็นาเรื่อปงรกับาปรวราุงงครือะบเรบื่อทงคี่กณาระสตอ้อนงหทาักรษอื ะกชันีวิต มี ๒ ส่วน/คาบที่ใช้ได้ ค าร Homeroom กับ ในการสอนวชิ า GE ซึ่งต้องศกึ ษาเนอ้ื หาวิชาวา่ มีเร่ืองการจดั การ การแก้ปญั หาของตนเอ อไม่ อย่างไร โดยทั่วไปองค์ประกอบของทักษะชีวิต ได้แก่ การสร้างสัมพันธภาพรวมวาระเพอื่ ทราบนายสภามหาวิทยาลัยราชภฏั หม่บู า้ นจอมบงึ พ.ศ. ๒ก๕๖า๐ -ร๒ส๕๖๓ื่อสา2ร7 การตัดสิน
เร่ืองถัดไปที่ควรจะต้องมีการปรับปรุงคือเร่ืองการสอนทักษะชีวิต มี ๒ ส่วน/คาบท่ีใช้ได้ คือ ในการ Homeroom กับ ในการสอนวิชา GE ซึ่งต้องศึกษาเน้ือหาวิชาว่ามีเรื่องการจัดการ การแก้ปัญหาของตนเองหรือไม่ อย่างไร โดยทั่วไปองค์ประกอบของทักษะชีวิต ได้แก่ การสร้างสัมพันธภาพ การส่ือสาร การตัดสินใจ การแก้ปัญหา การจัดการกับอารมณ์ การจัดการกับ ความเครียด ความรับผิดชอบตอ่ สังคม ความภมู ใิ จในตนเอง การเขา้ ใจสภาวะผูอ้ ืน่ และการตระหนักในตนเอง ในวิชา homeroom ควรน�ำเร่ืองพวกน้ีมาให้เรียนรู้ คือ ควรมีการพัฒนากระบวนการในคาบของการโฮมรูมให้มีผลต่อการเรียนรู้ของ นักศึกษาในเร่ืองของทักษะชีวิตให้เพิ่มมากขึ้น ทักษะของอาจารย์ที่ปรึกษา ใน การดูแลสุขภาพจิตทุกปญั หาของนกั ศึกษา ต้องมีทกั ษะ ๓ ส. คอื สอดสอ่ งมองหา (คนใกลช้ ิดท่เี ป็นกลมุ่ เส่ียง) ใส่ใจรบั ฟัง (การฟังอย่างใสใ่ จ ช่วยให้เกิดความไว้วางใจ) ส่งตอ่ เช่อื มโยง (เป็นฝ่ายชักชวน/นำ� พาเข้าส่รู ะบบการรกั ษา) มีระบบให้ค�ำปรึกษาท่ียืดหยุ่นมากขึ้น นอกจากอาจารย์ท่ีปรึกษาแล้ว ยงั ควรมี Peer Counselor ตอนนมี้ ีระบบใหญเ่ ปน็ ระบบ online เป็น chat board ช่อื ว่า จบั ใจ ผา่ นทาง Messenger Facebook แลว้ นักศึกษาสามารถคุยด้วยแลว้ จะมี AI คอยตอบและพยายามน�ำไปสู่การออกจากความคิดการฆ่าตัวตาย ระบบ Peer Counselor มี ๒ แบบ ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ฝ่ายกิจการ นักศึกษาเป็นผู้ด�ำเนินการ โดยอบรมนักศึกษามาเป็น Counselor อีกระบบคือ ท่ีคณะแพทย์ เป็นกิจกรรมที่ฝ่ายนักศึกษาท�ำเอง ซ่ึงก็จะมีข้อดีข้อเสียคนละแบบ ฝ่ายนักศึกษาด�ำเนินการเองก็จะตอบสนองและเข้าถึงนักศึกษาได้ดี ส่วนท่ี ฝ่ายกิจการนักศึกษาด�ำเนินการก็จะช่วยให้นักศึกษาท่ีมีปัญหาเข้าถึงการช่วยเหลือ ไดม้ ากขึน้ อีกเร่ืองหนงึ่ ทค่ี วรพฒั นาคือระบบ Postvention เม่อื มีปัญหาเกิดขนึ้ แล้ว ควรมีระบบการเยยี วยาผ้ใู กล้ชดิ ให้ชดั เจน และการป้องกันไม่ให้เกิดซำ้� ในทส่ี ดุ ทง้ั หมดน้จี ะนำ� มาสู่การอบรมอาจารยท์ ี่ปรกึ ษา ในทักษะตา่ ง ๆ ทจ่ี ำ� เปน็ ไดแ้ ก่ การฟงั การถาม รวมทงั้ ทวนความ สรปุ ความ สะทอ้ นความรสู้ กึ การให้ กำ� ลงั ใจ ใหข้ อ้ มลู รวมทง้ั การพฒั นาทางเลอื กและการเสนอแนะ รวมทงั้ กระบวนการ ใหค้ ำ� ปรึกษา โดยมีขอ้ เสนอ Timeline การพัฒนาระบบดูแลนกั ศกึ ษา ดังนี้ 28 สุนทรียสนทนาเพื่อพัฒนามหาวิทยาลยั (D i a l o g u e f o r t h e U n i v e r s i t y)
ในที่สุด ทั้งหมดนี้จะนำมาสู่การอบรมอาจารย์ที่ปรึกษา ในทักษะต่าง ๆ ที่จำเป็น ได้แก่ การฟัง การถาม รวมทั้งทวนความ สรุปความ สะท้อนความรู้สึก การให้กำลังใจ ให้ข้อมูล รวมทั้งการพัฒนาทางเลือกและ การเสนอแนะ รวมท้ังกระบวนการใหค้ ำปรึกษา โดยมีข้อเสนอ Timeline การพัฒนาระบบดแู ลนักศึกษา ดังนี้ ขอ้ เสนอแนะจากทปี่ ระชุม ในสว่ นมหาวิทยาลัยขนาดใหญ่ จดุ แขง็ - มหาวิทยาลัยขนาดใหญ่มีระบบการดูแลช่วยเหลือท่ีดี (มหาวิทยาลัย เชียงใหม่ มีการน�ำเอาระบบหอพัก เครือข่ายนักศึกษาช่วยกันท�ำงาน พัฒนาฐาน ขอ้ มลู เพื่อให้เข้า ถงึ นกั ศกึ ษามากขึน้ และให้นักศึกษาเปน็ ผู้ออกแบบกิจกรรม) - มชี มรมเพอื่ นชว่ ยเพอื่ น โดยมอี าสาสมคั รในการชว่ ยเพอื่ น ๒๔ ชวั่ โมง เก่ียวกับการให้ค�ำปรึกษาหรือพูดคุย และให้นายกสโมสรมีส่วนร่วม นักศึกษา มีการใช้ facebook เป็นช่องทางเครอื ขา่ ยในการตดิ ตอ่ ส่ือสารและชว่ ยเหลอื กนั - ปรับระบบให้นักศึกษาเพิ่มการเข้าถึงอาจารย์ท่ีปรึกษามากข้ึน เช่น มีเกณฑก์ รณเี กรดไม่ถงึ ๒.๐๐ กอ่ นลงทะเบียนตอ้ งพบอาจารย์ท่ปี รึกษา ปัญหาและระบบการดูแลช่วยเหลอื ท่ีมอี ยู่ของมหาวิทยาลยั ขนาดใหญ่ (๑) การชว่ ยเหลอื ไมค่ รอบคลุม (๒) การประสานงานกับหน่วยงานอ่ืนที่เก่ียวข้องยงั ลา่ ชา้ (๓) การดูแลหลังเกดิ เหตกุ ารณ์ฆา่ ตัวตาย ยงั ไมม่ ีการจัดระบบ (๔) ผ้ปู กครองไมม่ าหรือไม่รอพบอาจารย์ที่ปรึกษา 29รวมวาระเพ่อื ทราบนายสภามหาวทิ ยาลัยราชภัฏหมู่บา้ นจอมบึง พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๓
(๕) ข้อมูลของนักศึกษาจากอาจารย์ประจ�ำวิชาไม่ถูกส่งต่อถึงอาจารย์ ทีป่ รึกษา (๖) อาจารยท์ ่ปี รึกษามภี าระงานมาก (๗) การเข้าถึงอาจารย์ท่ีปรึกษาของนักศึกษายังไม่สามารถเข้าถึง ไดเ้ ทา่ ท่คี วร (๘) นกั ศกึ ษากบั อาจารยท์ ป่ี รกึ ษาบคุ ลกิ ภาพแตกตา่ งกนั ทำ� ใหน้ กั ศกึ ษา ไม่เข้าพบอาจารยท์ ป่ี รึกษา (๙) สอ่ื /การประชาสัมพันธไ์ ม่ครบถ้วน ครอบคลมุ (๑๐) ยงั ไม่มีแผนการเผชิญเหตุวกิ ฤติเจรจาต่อรอง (๑๑) ยังไมม่ ีแผนการเยียวจาจิตใจเพื่อนของผู้เสียชวี ิต ในสว่ นของมหาวทิ ยาลยั ขนาดเลก็ กลมุ่ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคล พบปัญหาและระบบการดูแลชว่ ยเหลือที่มีอยู่ ดังน้ี (๑) ยังไม่มีระบบดูแลนักศึกษาในภาพใหญ่ทั้งมหาวิทยาลัย แม้ว่า บางแห่งมเี พียงศูนย์ใหค้ �ำปรึกษาแต่มีข้อจ�ำกดั ของการทำ� งาน (๒) การส่งต่อ case อาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์ผู้สอน ไม่มีเวลาให้ นักศึกษา (๓) ระบบส่งตอ่ ไมเ่ ข้มแขง็ ท้ังภายในและภายนอก (๔) นกั ศกึ ษาไมม่ คี วามรู้ ปฏเิ สธการเจบ็ ปว่ ย / ปญั หาซบั ซอ้ น / นกั ศกึ ษา เปน็ คนต่างจังหวัด ตดิ ตามล�ำบาก ผปู้ กครองไม่รว่ มมือ และมขี อ้ เสนอแนะดงั นี้ (๑) ระบบอาจารยท์ ป่ี รกึ ษา แตล่ ะแหง่ ควรมกี ารทบทวน พฒั นาปรบั ปรงุ เนน้ การสร้างความตระหนักและความร่วมมอื จากผูม้ ีส่วนเก่ียวขอ้ ง (๒) เสรมิ สร้างศักยภาพอาจารย์ดา้ นการให้ค�ำปรึกษาอย่างต่อเน่อื ง (๓) กรมสุขภาพจิต สนับสนุนเครื่องมือท่ีเป็นมาตรฐานกลางด้าน การคดั กรองคน้ หา และระบกุ ลุม่ เส่ียงท่ีชัดเจน 30 สนุ ทรียสนทนาเพอื่ พฒั นามหาวิทยาลยั (D i a l o g u e f o r t h e U n i v e r s i t y)
(๔) มีเครือข่ายระดับจังหวัด สนับสนุนให้มีชมรม Gatekeeper เพื่อนช่วยเพื่อน ชมรมผู้ปกครอง และการเชื่อมประสานระหว่างสถาบันศึกษากับ สถานบรกิ ารสาธารณสขุ (๕) มีระบบรายงาน ข้อมูลการส่งต่อร่วมกันระหว่างเครือข่ายและ จดั ทำ� เปน็ ระบบข้อมลู สารสนเทศ (๖) ก�ำหนดให้เป็น KPI ของการประกันคุณภาพของมหาวิทยาลัย เพือ่ กระต้นุ ให้เกิดการดำ� เนนิ งานอย่างต่อเนือ่ ง (๗) ควรมีหลักสูตรทักษะชีวิตส�ำหรับกิจกรรม Homeroom และ ใช้ช่วั โมงน้ีใหเ้ ป็นไปอยา่ งมีประสิทธภิ าพ (๘) เน้น Prevention ป้องกันเหตุการณ์ความรุนแรงของปัญหา และ การ Postvention ขอให้มีทีมสาธารณสุขลงไปให้การดูแลในสถาบันการศึกษา กรณีเกดิ การเสยี ชวี ิต (๙) เผยแพร่ App SABAI-JAI ใหม้ สี ว่ นช่วยในการสนบั สนนุ ระบบดูแล (๑๐) ขอให้จัดเวทีการส่ือสารอีกคร้ัง เพ่ือให้ส�ำนักงานคณะกรรมการ การอดุ มศกึ ษาผรู้ บั ผดิ ชอบระบบการศกึ ษาโดยตรงได้เขา้ มามีบทบาทหลักส�ำคญั ๒.๒ แลกเปลี่ยนกับคณะบุคคลท่ีเกี่ยวข้องกับระบบดูแลช่วยเหลือ นักศกึ ษา ช่วงเช้าของวนั ท่ี ๑๓ กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๒ ได้พบกับคณะบคุ คล ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั ระบบดแู ลชว่ ยเหลอื นกั ศกึ ษาของมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั หมบู่ า้ นจอมบงึ จากการอภิปราย ลักษณะปัญหาทั่วไปของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้าน จอมบงึ ไดแ้ ก่ ๑) ปัญหาเกย่ี วกบั สารเสพติด และ ๒) ปญั หาระหว่างนกั ศกึ ษากับ ผปู้ กครอง มี ๒ ลกั ษณะคอื ผปู้ กครองตอ้ งการใหเ้ รยี นแตต่ วั นกั ศกึ ษาไมต่ อ้ งการเรยี น และผู้ปกครองต้องการให้นักศึกษาเรียนในสาขาท่ีนักศึกษาไม่ต้องการเรียน ซ่ึงท้ัง สองกรณที ำ� ใหน้ กั ศกึ ษาไมต่ ง้ั ใจเรยี น และ (๓) ปญั หานกั ศกึ ษาฆา่ ตวั ตาย ในสว่ นของ การดูแลชว่ ยเหลือ มหาวทิ ยาลัยยังประสบปญั หาและข้อทา้ ทาย ดงั นี้ รวมวาระเพอื่ ทราบนายสภามหาวทิ ยาลยั ราชภฏั หมบู่ ้านจอมบงึ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๓ 31
๑) อาจารยท์ ปี่ รกึ ษามที กั ษะในการวเิ คราะหแ์ ละการจดั การปญั หา พ้นื ฐานของนักศกึ ษา ไมพ่ อเพยี ง ควรมกี ารเพมิ่ ศักยภาพให้กับอาจารยท์ ี่ปรกึ ษา ๒) อาจารย์ผู้สอนเม่ือพบปัญหาของนักศึกษาแต่ขาดกลไกในการ ส่งต่อข้อมูลไปยังอาจารย์ท่ีปรึกษา ถ้าเป็นกรณีปัญหาการไม่ตั้งใจเรียน อาจารย์ ผู้สอนอาจยังขาดทักษะในการจัดการชั้นเรียน ควรมีการเพิ่มศักยภาพของอาจารย์ เรื่องการจดั การช้ันเรียน ๓) เม่ือเกิดปัญหาและอาจารย์ที่ปรึกษาไม่สามารถแก้ไขได้ ระบบ ให้ค�ำปรึกษากลางภายในมหาวิทยาลัยเพื่อรองรับการส่งต่อยังไม่มี มหาวิทยาลัย ควรมีระบบใหค้ ำ� ปรกึ ษาเพอื่ ชว่ ยเหลือนักศกึ ษาภายในมหาวทิ ยาลยั ๔) ควรมีการวางระบบการให้ค�ำปรึกษาเชื่อมโยงกับหน่วยงาน ภายนอก หากระบบภายในไม่สามารถแก้ไขปัญหาดังกล่าวได้ ซ่ึงในจังหวัดราชบุรี มีหน่วยงานที่มีความเช่ียวชาญ เช่น หน่วยทหาร โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราช จอมบงึ โรงพยาบาลราชบุรีซึ่งมจี ติ แพทย์ประจ�ำโรงพยาบาล จากนั้นท่ีประชุมได้มีการร่วมอภิปราย โดยเพ่ิมเติมประเด็นเรื่องระบบ ดูแลช่วยเหลือท่ีต้องไม่ละเลยนักศึกษาท่ีเรียนดีด้วย และควรมีการท�ำวิจัยสถาบัน เพือ่ ตอบค�ำถามเชงิ How to เกยี่ วกับการแก้ปัญหานักศึกษาในเร่ืองตา่ ง ๆ ออกมา จากนั้นท่ีประชุมได้ข้อสรุปว่า มหาวิทยาลัยควรมีการสร้างระบบการดูแลช่วย เหลือนักศึกษาขึ้นมาเพ่ือจัดการปัญหาดังกล่าว โดยอาจมีการจัดต้ังคณะกรรมการ ในลักษณะ Cross Function Team มีรองอธิการบดเี ปน็ ผกู้ ำ� กบั ดูแล ส่วนการฝกึ อบรม ควรด�ำเนินการเปน็ รายคณะ (Faculty-Based) เพ่ือให้ครอบคลมุ และเป็น ผลดตี อ่ การประสานงานภายในแตล่ ะคณะ 32 สุนทรยี สนทนาเพือ่ พฒั นามหาวิทยาลยั (D i a l o g u e f o r t h e U n i v e r s i t y)
บทท่ี ๓ แนวทางการบรหิ ารจัดการมหาวิทยาลยั ๓.๑ ระบบการขอผลงานทางวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึงควรสร้างระบบการขอผลงาน ทางวชิ าการโดยการวจิ ยั ทเ่ี ชอื่ มโยงกบั พนั ธกจิ ของมหาวทิ ยาลยั ดา้ นการสอนและการ พัฒนาทอ้ งถ่ิน เมื่อนำ� กระบวนการวิจัยมาเทียบกับกระบวนการสอนทเ่ี ปน็ มคอ. ๓ แบบ Active Learning และเทียบกับกระบวนการท�ำโครงการพัฒนาท้องถิ่น มคี วามสอดคลอ้ งกันเป็นส่วนใหญ่ โดยเพียงเพม่ิ กระบวนการ Review องคค์ วามรู้ การก�ำหนดตัวช้ีวัด/เคร่ืองมือประเมิน ในช่วงแรก (ของการสอนและการจัดท�ำ โครงการพฒั นาท้องถิน่ ) และเพ่ิมกระบวนการ วเิ คราะห์ขอ้ มลู /ปรบั ปรุง การเขียน รายงานการวิจัย และการเผยแพร่ในมหาวิทยาลัย ในประเทศ และต่างประเทศ ในช่วงท้ายกระบวนการ ซึ่งถ้ามหาวิทยาลัยมีระบบและกลไกการบริหารเข้าไป สนับสนุน เช่น การให้ทุนวิจัย การจัดหาเวทีการเผยแพร่ผลงาน การเผยแพร่ภาย ในมหาวิทยาลยั ท่ีเป็นไปได้อยา่ งไม่ยากคอื วง PLC เรื่องงานวจิ ยั ทงั้ หมดนี้ ถ้าไดม้ ี การท�ำความเข้าใจกับคณาจารย์ และอาจมกี ารต้งั เป้าหมายวา่ ภายใน ๑ ปี อาจารย์ หน่ึงคนต้องมีงานวิจัย ๑ เรื่อง ก็จะท�ำให้แนวคิดนี้เกิดเป็นจริงได้ อย่างไรก็ตาม ยงั ตอ้ งมกี าร workshop เพอ่ื สรา้ งความสมบรู ณใ์ หก้ บั แนวคดิ เชน่ ตอ้ งมกี ารใสก่ ลไก ข้นั ตอน เกี่ยวกบั การวจิ ยั ลงไป ได้แก่ โจทย์วจิ ยั คณะกรรมการวิจยั กระบวนการขอ และพิจารณาทุนวิจัย เป็นต้น ทั้งน้ีเพ่ือให้กระบวนการเรียนการสอน การพัฒนา ทอ้ งถนิ่ กับการวจิ ัย รวมทัง้ การประกันคุณภาพการศึกษา ไมแ่ ยกออกจากกัน รวมวาระเพื่อทราบนายสภามหาวทิ ยาลัยราชภัฏหมบู่ า้ นจอมบงึ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๓ 33
hop เพือ่ สร้างความสมบรู ณ์ใหก้ บั แนวคดิ เช่น ตอ้ งมีการใสก่ ลไก ขั้นตอน เกยี่ วกบั การวิจยั ลงไป ได้แก่ จัย คณะกรรมการวิจัย กระบวนการขอและพิจารณาทุนวิจัย เป็นต้น ทั้งนี้เพื่อให้กระบวนการเรียนการ ารพฒั นาทอ้ ง ถ่ิน กับการ๓ว.๒จิ ยั กรารวบมรูทณั้งกาากราปรรระะบกบนั ปครณุ ะภกนัาพคณุกาภราศพกึ ขษอางกไมาร่แวยจิกยัอกอบักกจาากรสกอันนและ ๓.๒ กกาารรบพูรัฒณนาากทา้อรงรถะิ่นบบประกันคุณภาพของการวิจยั กับการสอนและการพฒั นาท้องถ่ิน ก ารประกัน คุณ ภกาาพรปเประ็นกกันาครุณปภราะพกเันปเ็นพกื่อารใหป้รระะกบันบเพตื่อ่างใหๆ้ระทบำบงาตน่างไๆด้ดที �ำตงาามนหไดล้ดักี การประกัน พรทะ่ีวก่าอถบ้ามดีก้วรยะเตคก๕บือาิดวมเผน๑รหลื่อก)ลลงาักกพั รกคาธรา(ท์ือPเรี่ดรrป๑ียีoรก)นcะรกกeกะาsาบันsรร)วสคเรนอทุณียกนี่ดภนาี รากก๒ทพาจ็)่ดีรทะกีคสที่วาวอ่าำรรนถใดยห้าูแึดเ้ม๒ลรกีกะช)ดิ รบ่วผกะยบลาบเหรลหวลดัพลนักูแือธกเลน์ทปาชัก็นด่ีร่วศตี ย(ึกวักPเตษหรrงั้oาะลcบือป๓eวนร)sนะักsกกก)ศิจอาึกทกบรษี่ดทรดารี้ว่ีดมกยคี น๓็จว๕ักะ)รศทยกเึก�ำึดริจษใ่ือรกหางะร้ บรมบนหักลศักึกเปษ็นา พัฒนาท้องถ๔ิ่น)แกลาะร๕พ)ัฒกนาารทวิจ้อัยงถิ่นส่วแนลกะาร๕ท)ี่กรกะาบรววนิจักยารสห่วลนักกจาะรดทีก่ีก็ตร้อะงบมวีกนรกะาบรวหนลกักาจระระดบี บสนับสนุน เข้ามาช่วย กได็ต้แอกงม่ ๑ีกร) ะธบรรวมนากภาริบราะลบบ๒ส)นแับผสนนุน๓๖) กเารร่ือบงริหเขา้ารม๔าช)่วกยารไพด้ัแฒกน่ า๑บ)ุคธลรารกมราภ๕ิบ)าลการมีส่วนร่วม ชน และ ๖) ๒ร)ะบแผบนสา๓ร)สกนาเรทบศรแหิ ลาะรก๔า)รจกัดารกพาัฒรคนวาาบมุครลู้ ากครำว๕่า)ปกราะรกมันสี ค่วนุณรภว่ มาพขอคงือชกมุ าชรนปรแะลกะันแต่ละเรื่อง ถา้ ทำได้ดกี จ็ ๖แะตม) ล่ ผี ระละเลบรือ่ัพบงธสท์ใาหร่ีด้ดสเี ีปนซเน็ ่ึงทถตศ้าัวแทยลำ�นื ะไยดกัน้ดาีกรจ็จะัดมกผีาลรคลวัพาธม์ทรี่ดู้ ีเคป�ำ็นวต่าวั ปยรืนะยกันันคุณภาพคือการประกัน การท�ำให้เกิดกระบวนการท่ีดีมาจากการประยุกต์แนวคิด PDCA (Plan-Do-Check-Act) PDSA (Plan-Do-Study-Act) และ ADLI (Approach Deployment-Learning-Integration) ดงั น้ี 34 สนุ ทรยี สนทนาเพ่ือพัฒนามหาวทิ ยาลยั (D i a l o g u e f o r t h e U n i v e r s i t y)
การทำให้เกิดกระบวนการที่ดีมาจากการประยุกต์แนวคิด PDCA (Plan-Do-Check-A DSA (Plan-Do -Study-AcPt) แ ละคอื A DอLอI ก(Aแpบpบrรoะaบcบh(DหeรือplAo)yment Learning Integration) ดังนี้ P คอื ออกDแ บ บ รคะือบ บท(�ำหตราือมรAะ)บบ D คือ ทำตCาAม ร ะคบือบ ประเมิน/ปรับปรุงระบบเปน็ ระยะ ทICLวั่ คAไคปือือคเปบือเน็ รรู ปสยีณว่รปLIนานะ รรก หเะ้แู มานเลรด นิ ง่ึ ะก็นขคค/พับปอสอืือัฒงร�ำรก คะับนาบัญเบปรราบรูคจียรรณดอัุงือะนรกบ่ืนาระPกาู้แบบรๆาลอทมรบะยกว่ัาพเไา่ับจปฒัปงารน็ ทตกนะรมี่อ่คบาะกีรเ�ำบยนะาวอะรอื่บ่าน่ืกงบPำ� ๆอหlaยนn่าดงnเตปin่อา้ gเหนมหอื่ ารงยือตกวั าชรวี้วดัางแแตผ่ Pนlaซnึ่งnโiดnยg ใปนรPะDเดCน็ AสำสคามัญาครือถแPปลมวา่าจกาากรควำางวร่าะPบlบanหnรiือnกgาหรอรอือกกแารบวบารงะแบผบนเพ่ือซวึง่ ัตโดถยุปทระ่วั สไปงคเป์ น็ สว่ นหนึ่ง รจัดการทั่วไปใทนี่มกีกาารรพกัฒำนหานคดุณเปภ้าหพมไดา้อยยต่าัวงชตี้ว่อัดเนแื่อตง่ Pซlึ่งaถn้าnกi�ำnหgนใดนออPกDมCาAใหส้เาปม็นารFถloแwปลCว่าhกaาrtรวางระบบ ห รออกแบบระบทบ่ีมเีกพาื่อรลวดัตขถั้นุปตรอะนสทงค�ำใ์ใหน้มกีขารั้นพตัฒอนนแาลคะุณมีจภุดากพาไรดต้อัดยส่าินงใตจ่อนเ้อนยื่องกซ็จึ่งะถท้า�ำกใหำ้เหปน็นดรอะอบกบมาให้เป็น Fl วhอaยrt่างทเี่มชี่นกากรรลณดหอขกีอรั้นาือกรกตแสรบออะบนบนใทหวำแน้มใลกกีหะาร้มกระีทขาบัร้่ีดนวพีนตตัฒกอัวานนอรแายดทล่าังงะอ้ นเมงช้ี ถีจ่นิ่นุดกกสราาณรมตีกาัดารรสถสินอออในจกนแแ้อบลยะบกใกหา็จรม้ ะพกี ทัฒรำะนใบาหทว้เนป้องก็นถาร่ินระบดสบังานมหาี้ รรือถกระบวนการ รวมวาระเพอ่ื ทราบนายสภามหาวทิ ยาลยั ราชภัฏหมูบ่ า้ นจอมบึง พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๓ 35
และถ้าน�ำกระบวนการวิจัยมาเช่ือมโยงเพ่ือส่งเสริมการท�ำวิจัย ๒๒ ด้านการแเลระียถน้านกำากรรสะอบนวนแกลาระววิจิจัยัยมดา้าเชนื่อกมาโรยพงเัฒพื่อนสา่งทเส้อรงิมถกิ่นารทสำาวมิจาัยรดถ้าแนสกดารงเรระียบนบกาหรรสืออน และ วิจยั ดา้ นกการระพบัฒวนนากทา้อรงใถนน่ิ รสูปาแมบารบถขแอสงดงFรlะoบwบหCรhือaกrรtะบไดวน้ดกังนารี้ ในรปู แบบของ Flow Chart ไดด้ ังน้ี ได้มีการนำ Flow Chart นี้เข้าสู่การประชุมเพื่อรับฟังความคิดเห็น ได้รับข้อคิดเห็นที่จะนำไปสู่ การปรบั ปรงุ สรปุ ไดด้ งั นี้36 สุนทรยี สนทนาเพอื่ พฒั นามหาวิทยาลยั (D i a l o g u e f o r t h e U n i v e r s i t y) ๑. จะทำเคา้ โครงระบบวิจัยใหม่ ดังน้ี ๑) Standard Operation Procedure (SOP) ตาม FC
ได้มกี ารน�ำ Flow Chart นเ้ี ขา้ สกู่ ารประชมุ เพอ่ื รบั ฟงั ความคิดเหน็ ได้รับ ข้อคิดเหน็ ท่ีจะน�ำไปสู่การปรบั ปรงุ สรุปได้ดังนี้ ๑. จะทำ� เค้าโครงระบบวิจัยใหม่ ดังน้ี ๑) Standard Operation Procedure (SOP) ตาม FC ๒) WI (Work Instruction) สำ� คญั (๒ ขั้นตอนแรก) ๓) เอกสารที่เกีย่ วขอ้ งตามแต่ละ WI - แบบฟอรม์ ใหก้ รรมการ/อนกุ รรมการพจิ ารณาความเปน็ ไปได้ ของโครงการ - ประกาศ ระเบยี บทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง (ทนุ , จริยธรรมการวิจัย) - เอกสารวชิ าการ (ระเบยี บวิธวี ิจยั ) ๔) ภาคผนวก ตัวอย่าง ๙ เรื่อง (งานวิจัย และเอกสารการสอน/ โครงการใหเ้ ปน็ วจิ ยั ) ๒. ขอ้ เสนอแนะจากคณาจารย์ (เช่อื ม Planning กบั PDCA) ๑) การให้ทุนภายใน หลัง ๓ คร้ัง จะส�ำคัญส�ำหรับวิจัยการสอน โดยให้เปน็ คณะบคุ คล ในการปรบั ปรงุ หลงั มีวิชา / สาขาใหม่ ๒) ปรบั ระบบ mentor (จดั ทำ� บญั ชเี พม่ิ เตมิ อบรม วางระบบ buddy) ๓) มคี ณะกรรมการ/อนกุ รรมการ ๒ ชดุ (แยกวจิ ยั การสอน กบั พฒั นา ท้องถนิ่ ) เพ่อื ความคลอ่ งตวั ๔) มี PLC ด้านวิจัยด้วย (ของคณะ ทุก ๑ เดือน รว่ มกับ AL และ ของมหาวทิ ยาลยั ทุก ๓ เดอื น) ๕) มกี ารประชมุ เสนอผลงานระดบั มหาวทิ ยาลยั ทกุ ๑ ปี เพอ่ื เตรยี ม อาจารยไ์ ปสู่เวทีระดบั ชาติ /นานาชาติ (ควรมที ัง้ แบบไทย และแบบอังกฤษ) ๖) เชอ่ื มโยงการอบรมพฒั นาบคุ ลากรใหเ้ ขา้ กบั ระบบ เชน่ โจทยว์ จิ ยั Action research, mentor, จรยิ ธรรมการวจิ ยั 37รวมวาระเพอื่ ทราบนายสภามหาวทิ ยาลัยราชภฏั หมู่บ้านจอมบึง พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๓
ขนั้ ตอนตอ่ ไปจะมกี ารนำ� WI สง่ ใหป้ ระชาคมอาจารยท์ ง้ั หมดชว่ ยพจิ ารณา และให้กรรมการบริหารช่วยประกาศ โดยไม่ต้องผ่านกรรมการสภามหาวิทยาลัย และท้ายที่สุดสถาบันวิจัย ควรน�ำข้อเสนอแนะมาวางแผนด�ำเนินการเพื่อท�ำให้ ระบบดีข้นึ ที่ประชุมรับทราบและเห็นควรให้มีการน�ำลงสู่การปฏิบัติ โดยมีการ ติดตามเป็นระยะ ๓.๓ การขบั เคลื่อนดว้ ยการเทียบระดับ การเทียบระดับ (Benchmarking) เป็นวิธีการพัฒนาองค์กรท่ีดีมาก ในอนาคตควรน�ำวิธีนี้มาใช้ในการพัฒนามหาวิทยาลัยด้วย ขณะน้ีได้น�ำมาใช้เร่ือง การปรับปรุงระบบการเรียนการสอนแบบ Active Learning หน่วยงานที่จะเป็น แบบให้องค์กรอ่ืนได้เรียนรู้ ได้แก่ คณะครุศาสตร์กับคณะมนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์ โดยท้งั สองคณะจะเปน็ พ่ีเลี้ยงให้ด้วย และหวงั ว่าในปีการศกึ ษาต่อไป Active Learning จะครอบคลุมท่ัวทั้งมหาวิทยาลัย และขอขอบคุณศูนย์ Active Learning ที่ได้ด�ำเนินการอย่างเข้มแข็ง มีส่ิงท้าทายที่จะท�ำให้ Active learning เดินหน้าไปได้เร็วข้ึน คือ การจัดงานเชิงระบบ เพราะจะท�ำให้มี Alignment เช่น เร่ืองระบบประกันคุณภาพภายใน ควรมีการก�ำหนดให้การสอน Active Learn- ing บรรจุอยู่ในหัวข้อการประกันคุณภาพภายในอย่างชัดเจน อีกเรื่องหน่ึงคือ เร่ืองภาระงาน ซึ่งคณะมีข้อห่วงใยว่าอาจมีอาจารย์บางส่วนไม่ด�ำเนินการ จริงแล้ว ก็เป็นธรรมชาติขององค์กร หากมหาวิทยาลัยมีระบบรองรับ ทั้งเร่ืองการประกัน คณุ ภาพภายใน และเรื่องภาระงาน จะทำ� ให้อาจารย์ปรับตัวได้เร็วขึ้น ๓.๔ การพฒั นาครู เรื่องการพัฒนาครูตอนนี้ประเทศไทยมีกลุ่มการเคล่ือนไหว ทเ่ี ป็นเครือข่ายกล่มุ ปฏิรปู การศกึ ษา Thailand Education Partnership (TEPS) มนี ายอานนั ท์ ปันยารชุน เปน็ ประธานจดั ประชมุ (Conference) ทุกปี TEPS จะมี วงยอ่ ยๆ ท่สี ำ� คญั เชน่ วงโรงเรยี นปฏิรูป วงพ่อแม่ปฏริ ปู การศกึ ษา วงผ้นู �ำเยาวชน 38 สนุ ทรยี สนทนาเพอื่ พัฒนามหาวทิ ยาลยั (D i a l o g u e f o r t h e U n i v e r s i t y)
วง Area-Based Education แล้วก็จะมีวงหน่ึงท่ีมหาวิทยาลัยราชภัฏเกี่ยวข้อง อยา่ งมาก คอื การผลติ และการพัฒนาครู และมหาวทิ ยาลัยราชภัฏหมู่บา้ นจอมบงึ เป็นผู้น�ำส�ำคัญ โดยอธิการบดีได้ไปน�ำเสนอบทเรียนและมีการอภิปราย สุดท้าย ที่ประชุมประมวลข้อสรุปว่า โอกาสอยู่ท่ีมีการปฏิรูประบบการผลิตครู นอกจากน้ี ยงั ได้มกี ารอภปิ รายเรื่องทำ� อย่างไรให้ไดค้ รทู ด่ี ี ซง่ึ ได้มีการพูดถงึ เร่ืองการมีหลกั สูตร ใหม่ที่เน้นสมรรถนะ (Competency) ซึ่งหลักสูตรอิงสมรรถนะน้ีจะเปลี่ยน วิธีการสอนแบบเป็นเร่ืองให้กลายเป็นการสอนเชิงสมรรถนะ ซึ่งจะมีสมรรถนะหลัก สมรรถนะยอ่ ย โดยสอนเป็นโมดูลแทน ซงึ่ เป็นเรือ่ งทท่ี ัว่ โลกก�ำลังท�ำกันอยู่ แต่การ สอนอิงสมรรถนะก็เป็นปัจจัยความส�ำเร็จหน่ึงเท่าน้ัน ปัจจัยความส�ำเร็จยังมีเรื่อง การพัฒนาอาจารย์คณะครุศาสตร์ ซ่ึงมีปัจจัยอยู่สามข้อคือ ๑) ต้องท�ำให้อาจารย์ คณะครุศาสตร์มีใจเปิดกว้าง เครื่องมือท่ีส�ำคัญ คือ จิตปัญญาท่ีมหาวิทยาลัย ท�ำ คือ เรื่องสติ ๒) การสอนแบบ Active Learning และ ๓) การเข้าร่วมวง PLC เพ่ือพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอนอย่างต่อเน่ือง ซึ่งท้ังหมดน้ีจะท�ำได้ดี หากมกี ารบรหิ ารจดั การท่เี ข้มแขง็ และมีการวางแผนท่ีดี 39รวมวาระเพื่อทราบนายสภามหาวทิ ยาลยั ราชภฏั หมู่บ้านจอมบงึ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๓
40 สุนทรียสนทนาเพือ่ พฒั นามหาวิทยาลัย (D i a l o g u e f o r t h e U n i v e r s i t y)
บทที่ ๔ การปรับเปลี่ยนมหาวทิ ยาลัยด้วย Blue Ocean Shift (BOS) บทท่ี ๔ การปรบั เปล่ียนมหาวทิ ยาลยั ด้วย Blue Ocean Shift (BOS) ๔.๑ เค รื่องมอื BO๔S.๑ เครื่องมือ BOS ท่ปี ระชุมเพอื่ ไดจจะ้ม ึงเีโปปอร็นกะปาสสรงไะคปโ์จ ยเะผชน ยนำ� แไม์กดพาับ้มนรมีโ่�ำแอหเนกสาาวนวสคอิทไิดใปยหเาเร้ทผลื่อยี่ปยั งแรพะBชรluุม่แนเeพวO่อื คจิcดะeเรเaป่ือnน็งปSBรhlะuifโetย/ชSOนtcr์กaeบั taeมngหyาSวhทิจifยึงt/ปาSลรtยัะraสtงeคgy์จ ะ นำมานำเส anagement MTaonoal:geมmาเeปnน็ tนTาoยoเคl:รมื่อางเมปอื็นนายเครือ่ งมือ นหลักทตี่ผ่อ่ามนามใา เชรมิ่้กแจานารวกบคกริดาิหรทSาใชรt่ีผแ้rจ่aานัดนtวeกมคgาดาิ iรcมPกMOีกาาSaรรCnบใoaรชRgิห้หBeาลmเรปาจยeน็ ัดแnหกนtลากัวตรค่ตมอิดอ่ีมกมมาาาารภใเใชาปชแย้ ็น้หนหเลวคลคารังยดิื่อมแงSีกนมtาrวือaรคtใeเิชดรg้แมิ่มicนาจMเาวปกaค็นnกิดเaาคgBรeรใl่ืmอuชงe้แeมนnOือวtcคeิดanPSOtSraCto รือ Blue Ocean Shift (BOS) ที่มีการวิเคราะห์ Pain Point ของผู้รับบริการ โดยสรุปแล้ว การจัด รวมวาระเพอ่ื ทราบนายสภามหาวิทยาลัยราชภฏั หมูบ่ ้านจอมบงึ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๓ 41 มยั ใหมจ่ ะมี ๓ แนวคิดหลกั คอื (๑) Strategic Management ซง่ึ เดมิ ใช้ SWOT แต่ตอนน้ีมกี ารใช้ BOS
ต่อมาภายหลงั มกี ารใชแ้ นวคดิ Blue Ocean Strategy หรือ Blue Ocean Shift (BOS) ที่มีการวิเคราะห์ Pain Point ของผู้รับบริการ โดยสรุปแล้ว การจัดการ สมัยใหมจ่ ะมี ๓ แนวคดิ หลัก คือ (๑) Strategic Management ซ่ึงเดิมใช้ SWOT แต่ตอนนี้มีการใช้ BOS (๒) Quality Management ซ่ึงเป็นจุดแข็งของมหาวิทยาลัย คือ การประกันคณุ ภาพ และ (๓) Knowledge Management เดิมการได้มาซ่งึ ความรู้ มหาวิทยาลัย จะเน้นท่ีการท�ำวิจัย แต่จะท�ำการวิจัยอย่างเดียวไม่ได้ เพราะ Knowledge Management ท�ำให้ได้ความรู้มาอย่างรวดเร็ว และได้ความรู้จากความส�ำเร็จ แต่ต้องถอดรหัสหรือจัดการให้ได้มาซ่ึงความรู้ให้ถูกต้อง ดังน้ัน ๓ แนวคิดน้ีน่าจะ น�ำมาใช้ให้เกิดประโยชน์ไดม้ ากท่สี ดุ Blue Ocean Shift หรอื BOS เกิดจากแนวคดิ หรือ Mind set ดัง้ เดมิ ที่มนุษย์มักจะแข่งขันท�ำในส่ิงที่เหมือนกัน กล่าวอีกนัยหน่ึงคือ ใครท�ำอะไรส�ำเร็จ ทกุ คนจะหนั ไปทำ� สงิ่ นน้ั เชน่ เมอ่ื นกั เรยี นตอ้ งการเรยี นกเ็ ปดิ มหาวทิ ยาลยั จนปจั จบุ นั น้ี มีมหาวิทยาลัยท่ัวประเทศกว่า ๒๐๐ แห่ง เมื่อมีผู้เล่นจ�ำนวนมาก จึงท�ำให้เกิด การแขง่ ขันท่ีสร้างปญั หา หรือทเี่ รยี กว่า Red Ocean (RO) คือ ๑) การลดต้นทุน ๒๖ แต่ Blue42Oceaส(Dุนniaทloร(gยีBuสeOนfทo)rนเtาhสเพeนื่อUพnอัฒivแนeาrมนsหitาวyว)ิททยาาลงัย ใหม่วา่ เราสามารถเพิม่ คณุ ค่าไดโ้ ดยตน้ ทุนตำ่ ๒) Mindset เกา่ RO สรา้ ง นวตั กรรมด้วยการทำลายตลาดเดมิ เช่น กลอ้ งถา่ ยรูประบบฟลิ ์มมาเป็นกลอ้ งดิจิตอล ท่ีทำลายระบบฟิล์มทง้ิ เลย แต่ BO สร้างสรรค์โดยไม่ปั่นป่วนตลาดเดิม แต่มีกลุ่มลูกค้าใหม่ๆ เช่น กรณีการเกิด Low Cost Airline คือ
ลดราคา และการเพม่ิ คุณคา่ เพิ่มราคา แต่ Blue Ocean (BO) เสนอแนวทางใหม่ วา่ เราสามารถเพม่ิ คุณคา่ ได้โดยตน้ ทุนต่�ำ ๒) Mindset เกา่ RO สรา้ งนวตั กรรมดว้ ย การท�ำลายตลาดเดิม เช่น กล้องถ่ายรูประบบฟิล์มมาเป็นกล้องดิจิตอล ท่ีท�ำลาย แนแทตคBPตตOoนลวี่มัต่่าiทSีคnBBดก่เีวtlOจครทuาขระยี่มeมสมอมหีกจรดOงีวราำ้าล้วิธอืcรเงยูกีกปeชแรเใกมสตโสกคชดนาaอ็นขะร็ยรถาาา้รน่nยบก่งบรใงกรงัาโวนขคไมโดทาคบน(กิเดหันBก์คโรยกีำงใรฟกดยOนาสเลรนมโลณดยสาริดลาูาง)แกีตยรเาไินะย์มยกีลเลดมคลุทรณสหตทสาทยิว้นเ่ปือานธล์วครทุาา์ททิ้งทกดั่น์อา่าอเรรงเธกำ่ี�าดตาเทปล่ือยแสเ์อรรองเดหิรงนยู่่ว่ีมดาายทสย๖บงนมเวมมิีกLู่าี่มปกา่แนิ๖ทตือาoมาีกง็นับตราลรSนเราwไกลชาง่ถขาuรรแRเคลBใน่ยดดใถpมอหCขOยาOหทุเมิมpากงมสo่งดทุ เ้ธาเlมตไลขงู่วปิมsธyสดดเ์กรา่้อtหัน์ดพน็รนิ้เงพมย็งAิารนสแแ้าไรถทังารBาหวiงทตตูง้อค่าrกอ้สาOิสทlนย่ม่างมกมiงาLnครโรงแยีกวโมตตโดoโรปูeืดอลล่าาดาัวดัวยคwร้วลยกุ่รมอยคอยสDะโ์ทถเัยาลยกเดาอืยบeคCเคำร่าูกราพ่ายบmรอคงoรทเBครงหมิ่ไฟือ่ดืย่อนsaเ้ดี่ามมOคมพงัิลง่างtnใทังี่ปนบณุงบSหอื์มม่ิdAนSเไี่ี้่ันนมิมนินคครคiี้uซจrาเป่ๆใไไ่ายณุดlpเหด่ึงดะไi่วปหnิมเดเ้p้เคม้ปนชน็ปMรไMeโ้ าl่ีวด่็นนดตกอื็นyiiิธ้ทnยสลแลnชแกีกBตdถ้อล�ำมาอdตรOาน้างใดะบา่ณSดหนรLSทลเกeโิจโวดoีกกค้eนุดดดกtติิเwาามิtนตยยควBอรรPำ่Bทกส่ารณOลเCแaกOาาัว่า๒oตSi์ทิดรnรDะไทS)sม่เี่ปตเนหtพe่ีทLMคPกีรนท้ีoA์mวิ่มำoรมงลi้ีnม่ีลwi่าอกื่คมiีrคุ่มnaาdlเคีับงุณคีวiรยลntnCsบวขาวารeคกูeoขdามนิอะาเt่าคsอมปงสบมทรtเา้มซงแจำกา็บนำสAใลหลคึ่ง�ำค่าใฟหำ� iหกูเเะัาญrาคRิลปRปมlวค้ลคสiม์มัญOOn็น็นิท่ๆดนา้งู ทาeยทสกPิ้งา่ัวรเaคลลใไา้iปนือัnยยง รวมวาระเพื่อทราบนายสภามหาวทิ ยาลยั ราชภัฏหมู่บ้านจอมบงึ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๓ 43
ตลจาจะดะเหเเหก็นน็า่วว่าา่ BจBOะOSเหSจน็ จะวะคคา่ดิ ดิเBพเพOมิ่ ิม่คSคุณจณุ คะคา่ คโา่ ดดิโดยเยตพตน้ ม่ิ ้นทคทุนณุ นุไมไคมส่ า่่สงู โงู ดสสรย้ารตงา้ สน้งสรทรรนุครคโ์ไดโ์มดยส่ ยไงมูไมป่ ส่ปัน่ รั่นปา้ ป่วง่วนสนตรตลรลาคดาโ์ ดเดกเยกา่ า่ไมป่ น่ั ปว่ น ๒๒๗๗ ตตรงรไงหไ ตคหนนนอื ใ๓นเใ๓๕อ)นภ)เง)ภราเาราพต๒จาพร้อ)จะรวงะไตวมใปทไม้อนกปไำ�กหงาไภใหารรนหารท้วูนพท้เ๔่าำค๔ำร)เBรร)ววBOอื่าวธิมOอSิธีกงกSกีมยาจาราือตู่จะรไระปไรมไทปปมงีเำ�(คไีเใ๖ (คหรช๖Bรื่อวนง้ Oื่อวิธงาธิี)มง๓นS)ีมแือไ)แือลจดเ๕ละะร้จ๕ะสมาตรสดุ จตีเงิัวดุทคะัว/ทา้ชร/ไย้าชปุ่ือดยคุดงไคือคหมือคือ๕นอื ือ๕)๑)๔๕๑ต)ต้อ))ร้อตงรูว้จทงวัู้จธิักทำ/ักีกผใำชหผลใาหดุลเ้ิรตคเ้ิตไภครคปภัณือ่รือัณ่ือง(ฑมง๖ฑ๑ม์ตือ์ตือน)ไวปนไเิธรปอใเ)ีู้จชอใงชแง้กังา๒ง้ลผนา๒)ะลนไ)ตดสไติ ตด้อ้จดุภ้อ้จงรทรัณงงิรรูงิ้วา้ ฑู้ว่าย่าเ์รเราาออยยู่ ู่ กกรรณณีมีมหหาาววิทิทยยาาลลัยัยถถ้า้าววิเคิเครราาะะหห์ค์คววาามมเปเป็น็นไปไปไดได้ใน้ในกกาารรใชใช้แ้แนนววคคิดิดBBlulueeOOcceeaannพพบบวว่า่ามมีคีคววาามม เเปหเเปห็ลน็ลนือไ4ปือไเ4ปพไเพดไียด้ียง๑้จง(สD๑)จนุะia)ทะเทloรพเทgำยีพuิ่มสำอeิ่มนคอfยทoคุณยr่นาtุณา่างhคเพeไงคื่อ่ารUไพ่nาไรใฒั iดหไvในeดห้จา้เrมsป้จ้หาเitาปกาy็นว)ิทก็นยผเาผลชลเัยชล่นิต่นิตภAภัณALัณL,ฑ,ฑส์ขสห์ขอหกองกิมจงิมจศหศหึกาึกาวษวษิทาิท,าย,ยราระาละลบัยบัยบไดบไดด้จดูแ้จรูแลริงลชๆิงช่วๆ่วย๒ยเ๒ห)เห)ลไลมือไมือ่ไ,ป่ไ,จปแจิตแขิตศข่งศึกก่งึกษกับษาับลาล,ูก,ูกGคGคr้าer้าเeดeเดenิมnิมคUคือUnือนnivนักiveักเerรเsrรียistียนiytนy มมัธัธยยมมศศึกึกษษาา แแตต่ค่คิดิดถถึงึลงลูกูกคค้า้ากกลลุ่มุ่มใหใหมม่ห่หลลาายยกกลลุ่มุ่มเชเช่น่นกกาารรจจัดัดหหลลักักสสูตูตรรเพเพื่อื่อคคนนตต้อ้องกงกาารรปปรริญิญญญาาใบใบทที่ ๒ี่ ๒คคือือ
กรณีมหาวิทยาลัย ถ้าวิเคราะห์ความเป็นไปได้ในการใช้แนวคิด Blue Ocean พบวา่ มคี วามเปน็ ไปได้ ๑) เพ่มิ คณุ ค่าไดจ้ าก เชน่ AL, สหกจิ ศึกษา, ระบบ ดูแลช่วยเหลือ, จิตศึกษา, Green University เหลือเพียงจะท�ำอย่างไรให้เป็น ผลติ ภณั ฑข์ องมหาวทิ ยาลยั ไดจ้ รงิ ๆ ๒) ไมไ่ ปแขง่ กบั ลกู คา้ เดมิ คอื นกั เรยี นมธั ยมศกึ ษา แต่คิดถึงลูกค้ากลุ่มใหม่หลายกลุ่ม เช่น การจัดหลักสูตรเพ่ือคนต้องการปริญญา ใบที่ ๒ คอื สำ� หรบั ผู้ทีเ่ รยี นปรญิ ญาตรีมาแล้วแต่ไมต่ รงกบั งานที่ท�ำ และไม่ตอ้ งการ เรียนปริญญาโท แต่ต้องการเรียนปริญญาตรีท่ีไม่ใช้เวลามาก โดยใช้การเทียบโอน รายวิชาวิชาพ้ืนฐาน มีงานวิจัยพบว่าในอีกสิบปีข้างหน้า อาชีพที่จะท�ำรายได้ได้ดี ในอนาคต ๖๐% เป็นอาชีพท่ีปัจจุบันยังไม่มีการสอนในมหาวิทยาลัย ดังนั้น ต้องมีสาขาใหม่ในกลุ่มนี้ อาจจะท�ำ Internet University กับกลุ่มลูกค้าใหม่ๆ ๒๘ ปสอาารขชิญาีพญใทหาทมวี่จมติสแีะี่ไ่ใรทมนัยคีทกำท่ต่นี่ไรลมัศ้ักอาุ่ม่ใยนศงชนไไกึ์้เดี้ ปวอษเ้ไลชาดแาาจ่้นดยมจีใไ่งาะนมมกกทอ่ไอับำนดโดงาม้มInเยคหีแรtใตe่ือชคาr้ก๖งn่ผวาหe๐ิท้ปู รt%่วกยเUทงคาโnีเยลรปซiบvอัย็น่ผeโงอออู้rซsาน่ืนื้อยiชtรyังีพามปนยกทฝีวับัักญี่ปิช่ากศัจหายลจึกวกาุ่มุบิชษคิจลันาาูกืกอพยหคาังจื้น้าไรระฐมใือกาหท่มาลนมีก�ำรูก่ๆาอทมครยทอ่สีง้าี่่ไาาองขมนงเนอ่ตทวไใ้อรงนิจี่ยงมทัยมวไพหห�ปำฝาบไแาวด่ายววิทย่า่้งิจทยกใอรยนาับตุิงลอามสัลยีกหไาสัยามหิบดว่ใกิทังปไชนมรยีข่แั้นรา่ใ้าคลมชตงัยห้อ่่ อนง่ืนม้าี ปัญหาคฝือ่าจยะกทาำรอเยก่าษงไตรทรำไเดป้จ็นริผง ู้ซไมื้อ่ใสช�ำ่แคคั่ญวิสัยมทหัศานว์ เิทชย่นามลอัยงอเราื่อจงผหล่วิงตโอซ่ะผู้ไซรื้อทน่ีแักตศกึกตษ่าางหจราือกลูเกดคิม้าของ มหาวิทมยาีบลรัยิกไามร่ใชเส่มีแรคิม่นักมศีหึกลษักา สไมูต่ไรดเ้มสีแรคิม่ผู้ปมกคีหรลอักง สยูัตงมรีฝอ่าอยกนิจไกลานรก์มาี รWท่อoงrเทkี่ยshว oฝ่าpยอเุตพสิ่มาหเตกิมรรใมหฝ้ ่าย การเกษกตบัรกเปา็รนเผรู้ซยี ื้อนสใำนคบัญามงแหบาวบิททยช่ีาลว่ ัยยอใาหจก้ ผาลริตเอระยี ไนรทดี่แขี ตน้ึ กหต่ารงอื จเารกาเจดะิมมมเี ีบทรริกนาดรเใ์ สหรมิมๆ่ มสีหาลขักาสใูตหรมเสๆ่ ริม มี หลักสตู เรกอ่ียอนวไกลับน์มAี WI oสrkิ่งsแhวoดpลเ้พอิ่มเตแิมลใหะ้กเบัร่ือกางรสเรุขยี ภนาในพบาทงแ้ังบหบมทด่ชี สว่ ายมใหาก้ ราถรใเรชีย้เนคดรีข่ือ้นึ งมหือรตือาเรมาลจะ�ำมดีเับทรนด์ ใหมๆ่ สดาขังานใี้หม่ๆ เกี่ยวกับ AI สง่ิ แวดล้อม และเรอื่ งสุขภาพ ทัง้ หมดสามารถใช้เครื่องมือตามลำดบั ดงั นี้ เครเื่อคงรมือ่อื ทงม่ี ๑ือทผังี่ ผ๑ลิตผภังัณผฑลิต์ ภณั ฑ์ เคร่อื งมือที่ ๒ สร้างรปู Profile ใหม่ (ผา้ ใบกลยุทธ์)รวมวาระเพ่อื ทราบนายสภามหาวิทยาลยั ราชภฏั หมบู่ า้ นจอมบึง พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๓ 45
เคเครร่อื ่อื งงมมือือทท่ี ๒่ี ๒สร้าสงรรูป้างPรroูปfilPerใoหfมi่le(ผา้ใใหบมกล่ (ยผุทา้ธ์)ใบกลยทุ ธ์) ๒๙ ผา้ ใบเชิงกลยทุ ธ์ เปน็ เคร่ืองมือของ Blue Ocean ใหเ้ ราจะตอ้ งคิดใหม่ ทำว๒ใธิห)คี้โปลดิ รดใไหฟคลมุณ์ไค่มค่เอืผห่าา้จมใเืะอบกนเต่าชเอ้ดิงทกิมง่ีไลทมยโำ�ุท่จดใธย�ำห์ เ๑โ้ปเ)ปป็นสน็รรเไค้าฟจงรคื่อะลุณงเไ์มหมคือ่า็นเ่ขใหอหวงมม่า่Bๆอืผlนu้าเพeใเิ่มดบOเมิขจc้าeะโมaดไาnมยใ่เห๒๑หเ้ )รม)าลสจือดะรคนตาุ้ณอ้เงดงคคค่าิมิดณุเกให่าคตทมา่้อี่ไ่ ใวมงหธิ่จทคี ำมิดเ�ำปๆ่ใคห็นวเมพ่คาจือม่ิมะจเเเหะขข็นตา้้า้อวมใ่างจา ผา้ กใบลจยะุไทมธเ่ ห์ตมัวอื นเอเดงิมก่อตน้องแทลำค้ววเาทมเียขา้บใจกกับลยผุทู้แธต์ขัว่งเอขงันก่อนจแะลว้เเหท็ียนบวก่าับตผแู้อขน่งขนนั ี้เรจาะมเหัก็นวท่า�ำตอผนิดนที้เราามงักทคำือ ผิดททำ� าสง ่ิงคทอื ท่ีเำหสมงิ่ ทอื เ่ี นหมกือันนกซัน่งึ ซบึ่งบาางงททีกกี เ็เ็พพ่ิมม่ิตน้ตทน้ ุนทโดุนยโไมดจ่ ยำไเปม็น่จ�ำเปน็ หร Pือaลiกู nคา้ Pโoดยinใชtเเ้ตคคขารรรอื่อาื่องงงมงผMือมซู้ aทือtอ้ืี่r๓ทiหx่ีร๖ผ๓อืxัง๖ปลรผูกดะงัังคโตยป้าัวชอรนโยะ์ใดา่ชโงย้สยอใชยชขน้ตอ์ใางชรผู้ซา้สื้องอยMโดขaยอกtrางiรxผวู้ิเซ๖ค้ือรxา๖ะโหด์ดใหยงั ้เกหต็นาวั รอPวaยiิเnา่ คงPรoาinะtหข์ใอหงผ้เู้ซห้ือ็น 46 สุนทรยี สนทเนคารเพอ่ื ่ืองพมฒั ือนาทมหี่ า๓วิทยาตลยััวท่ี ๒ คอื วิเคราะห์ลูกค้าใหม่ ซ่ึง Noncustomers มี ๓ ระดบั (D i a l o g u e f o r t h e U n i v e r s i t y)
๓เครระือ่ ดงมบั อื เคทร่ี ๓ื่องมตือัวทท่ี่ี ๒๓ คตอื ัววทิเี่ค๒ราะคหือล์ วูกิเคคร้าาใะหหม์ล่ ูกซคง่ึ ้าNใหoมn่cuซs่ึงtoNmonecrsuมstี o๓mรeะrดsบั มี ๓๐ เครอ่ื งเมคอืรทื่อ่ีง๔มือแทน่ี ๔วทแางนสวรทา้ างขงสอรบา้ เขงขตอใหบมเ่ใขนตเใรหือ่ มงค่ในุณเครา่ือ่ กงับคตุณน้ คทา่ ุนกบั ต้นทุน โดยใช้ ๖ แนวทางสร้างขอบเขตใหม่ในเรื่องคุณค่ากับต้นทุน ที่เราต้องตัดสินใจเลือกเพราะทั้ง ๖ นี้อาจไม่ได้ ไดผ้ ลทงั้ หมด ข้นึ อยู่กับอะไรที่ทำได้ และมีเครือ่ งมอื อกี ตัวหน่ึงชว่ ยคือ ตาราง ERRC (ขจดั – ลด – เพม่ิ – สร้าง) 47รวมวาระเพือ่ ทราบนายสภามหาวทิ ยาลยั ราชภัฏหมูบ่ ้านจอมบึง พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๓
โไดดผ้ยลใชท้ ง้ั ๖หมแด ตแนลว้ขอทะึน้งมาอตงยเีัดคสกู่ สรรับ้าิื่อนองงโใะขมดจไอรือยเบทลอใเ่ทีืชอีกขำ้กตตไ๖ดใเัวหพ้หแมรแนล่ใานะง่ึนะมชวเทรเี่วทคื่อย้ังรางคื่องค๖ืองสุณมรตอืคน้าาอ่าง้ีอรีกกขาาตับองจวั ตบหไE้นมนเRทข่ง่ึไRุนชดตC่ว้ใผทยห(ลขคี่เมรทือจา่ใัดั้งตตนห้าอ-เรมรงลาต่ือดงดัดงEสค-ขRินุณึ้RนเใพCอจคมิ่ เ(ย่าลขกู่-กจือับดััสบกรตเอ–พ้า้นะลรงไท)าดระุน–ทที่ทั้เงทพ�ำ๖่ีิม่เไรด–นา้ี้อสารจา้ งไ)ม่ได้ กจ็ ะกลายเปน็ ผก้า็จใบะกกลลยาทุยเธป์ใหน็ มผ่ า้ ตใัวบอกยลา่ ยงเทุ ชธน่ ใ์ หโรมง่แตรวัมอ๕ยา่ ดงาเชวน่ ซติ โรเิ ซง็นแเรอมม็ ๕ ดาว ซิตเิ ซ็นเอ็ม ๓๑ การที่มหาวิทยาลัยใช้แนวคิด Blue Ocean ก็เหมือนเป็นการทบทวนตนเอง โดยตอบคำถาม ำคัญ ๔ ข้อคือ ๑) What ทำอะไร ๒) Who ทำเพื่อใคร ๓) How ทำอย่างไร ๔) Money คุ้มค่าเพียงใด 48 สุนทรียสนทนาเพอื่ พัฒนามหาวทิ ยาลัย งเร่อื งของสติจะเขา้ มามีบทบาททีส่ ำคญั ดว้ ย(Dialogue for the University)
การท่ีมหาวิทยาลัยใช้แนวคิด Blue Ocean ก็เหมือนเป็นการทบทวน ตกนาเรอทงี่มโหดายวติทอยบาคลำ� ัยถใาชม้แนส�ำวคญัิด B๔luขeอ้ Oคcอื ea๑n) กW็เhหaมtือทน�ำเปอ็ะนไกราร๒ท)บWทhวoนตทนำ� เเอพงื่อโใดคยรตอบคำถาม สำคัญ ๔ ข้อ๓ค)ือH๑o)wWทhaำ� tอยท่าำงอไะรไร๔) ๒M) oWnheoy ทคำมุ้ เคพา่ ื่อเพใคยี รงใด๓)ซHึง่ เoรw่ืองทขอำองสยต่าิจงไะรเข๔า้ )มาMมoบี nทeบyาคทุ้มค่าเพียงใด ซึง่ เรือ่ งของสตทิจ่ีสะ�ำเคขญั า้ มดา้วมยบี ทบาทท่สี ำคัญด้วย อกทลย่ไี ด่ยาจ้งุทไะธรก์ใหวโดา้มงย่ ๆน โจเนจทพด่าะา่ัดแงั้จยอ่ืจกสหตะอตะวัมม่มเดัา้าBอมดจีงกสOานๆจจานิเSางึรรัดใแนผอค่ืจทตจตู้บำงิดเ้ัั้งงะช่นเรอทหสBไงิิหม้ีดยนOีมมยาา้ก่าอดุทSใรลงชสBจเธจยจพห้ภOึศงรุทะื่อรนาาิงSไธอืมตสจ�ำดท์ไหัดัเงตข้กมสจี่คสารอลอ่ำนวร์ินงยยเทิหบอพมใาุ่ทจยวัทสางหธเใาไภะั้งชาจ์ทรลาิงวส๖จ่ีัยโยมิทด�ำำ� ุทหเคเยเยพคพธาญัานรือ่ศาวลา่คื่อนะาิทัยจอืงสำะเยมไตพมาปBือรื่อกลี Oค์ หาัหยโิดSดราัววคยกเใ่าไพดิจอมลมอสื่าอย่เหหจยำนุทาคาจ่ม�ำวธงัญัดือไทิจ์ใปตนหคยรั้งคืองิามทจSิลด่ BีงมัWยัวจคOเ่าัดOBรรSมสาบOTหนัมไทSมา่ามทง้ั ่เจวขนหก่ี๖ิทะอลามเยงเอผยือคมาาู้บทุนรหลเอื่รธรัยาSิหื่อท์งวเWมงรา่ีไิทนดอืราOย้ม้ี าTาลใทัยชี่กเ้หพลรื่อยือุทหไมธา่์ ๔.๒ คณะทำงานจอมบงึ มาราธอนกบั BOS จปเชอร่นะมโบเยรึงชื่อมนงา์ไหดรลา้ หัก SBชธtัวอOส่วrใยนูตaSจใtรสหนeปใำโgน้ที้ คดรคyชบิญญัณย)่วทใกญคะ ๔งชวบัอืแเา้.เนช๒คเวลตป ้าผลณะรไ็น ลใคมาีดะนซเิตณหค้มท๔ชึ่งภารีโะำ�ไ่ววัณออื่ดงชทงทิงาก้มั่วฑเำ�มนยชาีโกงท์ือาสม้าาาจลชมี่ไจงนรอดยว่ัหเัดกจมตย้มนาลอบ็มใwีาโ่ว่าหมองึจทิoวท้คมบกะกยrิบดานkางึัานรsวทสมำ�ลวาh่าไจวายัธ่าปoเนัดรมอคpใ๗าผนชีอรธลw๐ืป้่เอยอโริตoู่งรดื่อน–ภมะยrยงัณกkโกือ๘ใยsับชBตฑ๐hชBเ้Oัววท์นoBOอเลS่มีไ์pOปยSดาห(อ่าS้B๔นาเหรงรlวีผ้์uเวัื่ชอทิซคใลeว่ังจ็นยณติโสOาตมภBะลำ�์cงแOัณคัยขเeลตมญัอSฑaะม็ีองnค์หมอ(ยคอืBลSหาู่ ดิเยlักtชปาurวกีพวaน็eา่ตเtิทใเเชeัวนคคยOน่อgรรอาyยcออื่่ืนล)เา่eงงราัยงกมมaือ่คผนับอnอืืงตล่าคิยตจณัภงะไัะณนมทำฑ่มำไีส์หปงอลาในนชัก้ รวมวาระเพอื่ ทราบนายสภามหาวทิ ยาลัยราชภัฏหม่บู า้ นจอมบึง พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๓ 49
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110