Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สุนิสา เมฆวิลัย

สุนิสา เมฆวิลัย

Published by วิทย บริการ, 2022-07-04 01:50:33

Description: สุนิสา เมฆวิลัย

Search

Read the Text Version

38 4. การเลือกกลยุทธ์สร้างความพึงพอใจ (strategic constituencies satisfaction) คือ การ กาหนดยุทธศาสตร์ที่เหมาะสม เพ่ือสร้างความพึงพอใจแก่ทุกฝ่าย ได้แก่ ผู้ที่อยู่ในองค์การ ผู้ท่ีให้การ สนับสนุนองค์การ ผู้รับบริการท่ีมีความคาดหวังต่อองค์การ การสร้างความพึงพอใจแก่ผู้ที่รับบริการกับ องค์การในเชิงกลยุทธ์ ซ่ึงเกี่ยวข้องกับประชากรและวิถีการดารงชีวิต ดังน้ันหลายคนจึงเห็นว่าความพึง พอใจของทุกฝ่ายจะเป็นเกณฑ์ที่สาคัญของการวัดประสิทธิภาพหรือความสาเร็จขององค์การ ผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียกับองค์การในเชิงกลยุทธ์จะเป็นกลุ่มของบุคคลซึ่งมีส่วนได้เสียในองค์การ เช่นผู้จัดหาทรัพยากร ผู้ใช้ผลิตภัณฑ์ขององค์การ หรือผู้ท่ีจัดการด้านงานส่งออกผลิตภัณฑ์ขององค์การ กลุ่มคนเหล่าน้ีมี ความสาคัญกับความอยู่รอดขององค์การฉันท์ใด ผลกระทบจากองค์การก็มีความสาคัญกับกลุ่มเหล่านั้น ฉันท์น้ัน ผู้มีส่วนได้เสียกับองค์การในเชิงกลยุทธ์น้ัน โดยทั่วไปจะมีการแข่งขันหรือมีการขัดผลประโยชน์ กัน มีความขัดแย้งเร่ืองผลประโยชน์และความพึงพอใจท่ีเก่ียวข้องกัน ซึ่งความท้าทายของการบริหาร จัดการทีห่ าข้อยตุ ิไม่ไดก้ ารใช้กลยุทธ์สร้างความพึงพอใจจะเป็นการรักษาสมดุลให้ทุกฝ่ายมีความพึงพอใจ ในทุก ๆ ด้าน 2.3.3 แนวคิดและทฤษฎีเกย่ี วกับประสิทธผิ ลของสถานศกึ ษาของมอท มอทท์ (Mott, 1972) ซ่ึงได้กล่าวถึงประสิทธิผลของโรงเรียน ซึ่งประกอบด้วยความสามารถ 4 ประการ คือ ความสามารถในการผลิตนักเรียนท่ีมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนสงู ความสามารถในการ พัฒนา ทัศนคติทางบวก ความสามารถในการปรับเปล่ียนและพฒั นาโรงเรียน และความสามารถในการแกป้ ัญหา ดังมีรายละเอยี ด ต่อไปนี้ 1. ความสามารถในการผลิตนักเรียนท่ีมีผลสัมฤทธ์ิทางการโรงเรียนสูง หมายถึง ปริมาณและ คุณภาพของนักเรียน ประสิทธิผลของโรงเรียนท่ี สร้างความเชื่อม่ันสูง โดยวัดความนิยมจากชุมชนและ ผปู้ กครองนักเรียน ประการหน่ึงไดแ้ ก่ โรงเรียนน้ันมีนักเรียนเข้าเรยี นมีปริมาณมาก และคุณภาพการเรยี น การสอนอยู่ในเกณฑส์ ูง โดยวดั จากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน ความสามารถในการศกึ ษาต่อใน สถาบันศึกษาช้ันสูงได้เป็นจานวนมาก นักเรียนมีความสนใจในการศึกษาเล่าเรียน มีความรู้ความสามารถ ทักษะทางวิชาการดีเย่ียม มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาต่าง ๆ สูง นอกจากน้ียังมีการพัฒนาความรู้ ความสามารถ ทักษะเจตคติค่านิยม และคณุ ธรรมต่าง ๆ ที่พึงปรารถนาให้เพียงพอตอ่ การดารงชีวิต และ อยู่ในสังคมอย่างมีความสุข ซึ่งลักษณะต่าง ๆ ดังกล่าว น้ันเป็น ลักษณะท่ีพึงประสงค์ตามท่ีสังคมมีความ คาดหวัง และมีความตอ้ งการอย่างมาก 2. ความสามารถในการพัฒนาทัศนคติทางบวก หมายถึง มีความเห็นท่าทีความรู้สึกหรือ พฤติกรรมที่แสดงออกในทางที่ดีงาม สมเหตุสมผล และสอดคล้องกับ ความต้องการของสังคม การศึกษา

39 สร้างความเจริญให้บุคคลใน 4 ด้าน คือ ด้านร่างกาย มีความสมบูรณ์แข็งแรง พัฒนาส่วนต่าง ๆ อย่าง เหมาะสมกับวัย ด้านสติปัญญา มีความใฝ่รู้ใฝ่เรียน รู้จักคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผลและมี ความคิด สร้างสรรค์ด้านสังคม สามารถนาความรู้ความสามารถและทักษะอันจาเป็นไปใช้ในการดารงชีวิตในสังคม ได้อยา่ งเปน็ สขุ และด้านจติ ใจรู้จกั เหตุผลมีวนิ ยั คุณธรรม จรยิ ธรรมอย่างเหมาะสม และดงี าม 3. ความสามารถในการปรับเปลี่ยนและพัฒนาโรงเรียน ในยุคปฏิรูปการศึกษาการบริหาร โรงเรียนต้องคานึงถึงวิสัยทัศน์ เป้าหมาย ผู้บริหารและครูจะต้องมีบทบาทสาคัญต่อการปรับตัวอย่างไม่ หยุดน่ิง ต้องพยายามปรับปรุงองค์การ รูปแบบการบริหารงานและการดาเนินงานต่าง ๆ ให้มีความ คล่องตัวต่อการปฏิบัติงาน ผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษา หรือผู้ท่ีเกี่ยวข้องต้องเป็นนักพัฒนา ริเร่ิมสร้างสรรค์ให้เกิดส่ิงใหม่ ๆ อยู่เสมอ การจัดการเรียนการสอนให้นักเรียนมีความรู้ เพื่อให้สามารถ ปรับตัวอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุขนั้น ต้องมีเทคนิควิธีการสอนท่ีเหมาะสม ครูต้องสร้างกระบวนการ และวิธีการเรียนรู้ให้กับนักเรียน ท้ังเน้ือหาวิชาการและคุณธรรมจริยธรรม เพราะวิธีการเรียนรู้ของ นักเรียนจะเป็นวิธีการท่ีติดตัว สามารถนาไปปรับปรุงใช้ในการประกอบอาชีพและพัฒนาตนเองให้เป็น บุคคลท่ีมีคณุ ภาพสามารถดารงชีวติ อยู่ในสงั คมได้อย่างเหมาะสม 4. ความสามารถในการแก้ไขปัญหา การท่ีโรงเรียนจะมีประสิทธิผลนั้น ปัจจัยที่สาคัญประการ หนึ่ง ก็คือ ความสามารถในการแก้ปัญหาภายในโรงเรียน เพราะในโรงเรียน ประกอบด้วยคนหลายกลุ่ม หลายฝ่ายมาทางานรว่ มกนั ความขัดแย้งก็อาจจะเกิดขึ้นได้เพราะบคุ คล แต่ละบคุ คลมคี วามเป็นอัตตาของ แต่ละคนแตกต่างกัน มีความคิดค่านิยมความต้องการ และเป้าหมายต่างกัน ซ่ึงที่จรงิ ความขดั แย้งเปน็ สิ่งที่ ดที าใหเ้ กิดความคดิ สร้างสรรค์ แต่ผู้บรหิ ารโรงเรยี นต้องบรหิ ารความขัดแย้งให้อยู่ในระดับที่เหมาะสมจะมี ผลต่อการพฒั นางาน เพราะถ้ามีความขดั แย้งมากเกินไปจะทาให้เกิดความไม่ไว้วางใจ ขาดความร่วมมือใน การทางาน ทาลายความสมานฉันท์ สรา้ งความเปน็ ศัตรูและนาไปสกู่ ารลดประสทิ ธภิ าพในการทางานและ การออกจากงานได้ซงึ่ ย่อมมผี ลต่อประสทิ ธิผลของโรงเรียน ประสิทธิผล (effectiveness) หมายถึง การมุ่งผลสาเร็จท่ีสูงสุด โดยมีการจัดการท่ีเป็น กระบวนการในการทาใหบ้ รรลุวัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้ การศกึ ษาวจิ ัยครงั้ นผ้ี ู้วจิ ยั เลือกใช้แนวคิดเกยี่ วกับ ประสิทธิผลของสถานศึกษาตามทฤษฎีของมอทในการประเมินประสิทธิผลของสถานศึกษา โดยพิจารณา จากความสามารถในการผลิตนักเรียนให้มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น ความสามารถในการพัฒนาเจต คติทางบวกของนักเรียน ความสามารถในการปรับตัว และความสามารถในการแก้ปัญหา มาใช้ให้ สอดคล้องกบั สถานศึกษา

40 3. ขอ้ มูลพื้นฐานของพ้ืนทวี่ ิจยั ข้อมลู สารสนเทศสถานศกึ ษาในสังกดั สานักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาราชบรุ ี เขต 2 สานกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษาราชบรุ ี เขต 2 ตั้งอยูเ่ ลขท่ี 59 หม่ทู ่ี 4 ถนนเพชรเกษม สายเก่า ตาบลบ้านเลือก อาเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี รับผิดชอบใน 4 อาเภอ คือ อาเภอบ้านโป่ง อาเภอโพธาราม อาเภอดาเนินสะดวก และอาเภอบางแพ ข้อมูลสถานศึกษาในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่ การศกึ ษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 ระบุข้อมูลระบบการบริหารสารสนเทศประกอบด้วย 147 โรงเรียน ที่มขี นาดโรงเรียนขนาดเล็ก กลาง ใหญ่ สงั กดั สานักงานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาราชบุรี เขต 2 ทุก ระดับมีอัตรากาลังของบุคลากรท่ีสามารถสอนและให้ความรู้แก่นักเรียนได้ตรงตามมาตรฐาน กระทรวงศึกษาธิการกาหนด ข้อมูลบุคลากรสังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 มีจานวนบุคลาการทางการศึกษาที่ประกอบไปด้วย ผู้อานวยการสถานศึกษา ครู และบุคลากรทางการ ศึกษา รวมท้ังหมด 1,703 คน จากจานวนโรงเรียนในสังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษา ราชบรุ ี เขต 2 จานวน 147 โรงเรยี น ดังรายละเอียดตามตารางนี้ ตารางที่ 1 จานวนโรงเรียน ผู้อานวยการ ครู บคุ ลากรทางการศกึ ษา และนกั เรียนจาแนกตามอาเภอ ของ สถานศกึ ษาในสงั กดั สานักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษา เขต 2 อาเภอ โรงเรยี น ผบู้ รหิ าร ครู นักเรยี น สถานศึกษา บา้ นโปง่ 47 47 332 6,707 โพธาราม 51 51 325 7,404 ดาเนนิ สะดวก 25 25 201 5,123 บางแพ 24 24 123 2,664 รวม 147 147 981 21,898

41 งานวิจัยที่เกีย่ วขอ้ ง 1. งานวจิ ัยในประเทศ ผู้วิจัยไดศ้ ึกษาและรวบรวมวจิ ัยท้ังในประเทศและนอกประเทศที่มีตัวแปรต้นและตัวแปรตาม คล้ายกับวจิ ยั ที่ผูว้ ิจยั กาลังศกึ ษา โดยมีรายละเอียดดงั น้ี ขวัญตา เกื้อกูลรัฐ (2554, ง) ได้ศึกษาวิจัยเร่ืองความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นาการเปลี่ยนแปลง กับประสิทธิผลของสถานศึกษาขนาดกลาง อาเภอโพธาราม สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาราชบรุ ี เขต 2 ผลการวิจัยพบวา่ 1) ภาวะผนู้ าการเปล่ยี นแปลงของผู้บริหารสถานศกึ ษา และ 2) ประสิทธิผลของสถานศึกษาขนาดกลาง อยู่ในระดับมาก ท้ังโดยรวมและรายด้าน 3) ความสัมพันธ์ ระหว่างภาวะผู้นาการเปล่ียนแปลงกับประสิทธิผลของสถานศึกษาขนาดกลางโดยมีค่าความสัมพันธ์กันใน ทางบวก หรือมีความสัมพันธ์กันในลักษณะที่คล้อยตามกัน และ 4) ภาวะผู้นาการเปลี่ยนแปลงส่งผลต่อ ประสิทธิผลของสถานศึกษาขนาดกลางอาเภอโพธาราม สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษา ราชบุรี เขต 2 ในภาพรวม มีความสัมพนั ธอ์ ย่างมนี ยั สาคัญทางสถติ ิทร่ี ะดบั .01 ปญั ญาวฒุ ิ ธนาวฒุ ิ (2558, ง) ได้ศึกษาวจิ ัยเรอื่ งความสัมพันธ์ระหวา่ งภาวะผู้นาการเปล่ียนแปลง ของผู้บริหารสถานศึกษากับประสิทธิผลของสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 11 ผลการวิจัยพบว่า 1) ภาวะผู้นาการเปล่ียนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษาอยู่ในระดับมาก 2) ประสิทธิผลของสถานศึกษาอยู่ในระดับมาก และ 3) ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นาการเปล่ียนแปลง ของผู้บริหารสถานศึกษากับประสิทธิผลของสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 11 พบว่าโดยภาพรวมมีควาสมั พนั ธก์ ันในระดบั สูงมาก อย่างมีนยั สาคญั ทางสถิติท่รี ะดับ .01 เฉลิมชัย วารี (2556, ง) ได้ศึกษาภาวะผู้นาการเปลี่ยนแปลงกับประสิทธิผลของโรงเรียน ประถมศึกษาเครอื ข่ายท่ี 33 เขตมีนบรุ ี กรงุ เทพมหานคร ผลการวิจัยพบว่า 1) ภาวะผู้นาการเปล่ียนแปลง ของผบู้ ริหารโรงเรียนประถมศึกษาเครอื ข่ายท่ี 33 เขตมีนบุรี กรงุ เทพมหานคร โดยรวมและรายด้านอยู่ใน ระดับมาก 2) ประสิทธิผลของสถานศึกษาโรงเรียนประถมศึกษาเครือข่ายท่ี 33 เขตมีนบุรี กรุงเทพมหานคร โดยรวมและรายด้านอยูใ่ นระดับมาก และ 3) ภาวะผนู้ าการเปล่ียนแปลงกับประสิทธิผล ของโรงเรียนประถมศึกษาเครือข่ายที่ 33 เขตมีนบุรี กรุงเทพมหานคร โดยรวมและรายด้านมี ความสัมพันธท์ างบวกในระดบั มาก อย่างมีนยั สาคญั ทางสถิติทีร่ ะดบั .05 สุมาลี อุดารักษ์ (2555, ง) ได้ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นาการเปลี่ยนแปลงกับการใช้ อานาจของผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร เขตหนองจอก กรุงเทพมหานคร สรุปว่า

42 1) ภาวะผู้นาการเปล่ียนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดกรุงเทพมหานคร เขตหนองจอก กรงุ เทพมหานคร โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก 2) การใชอ้ านาจของผู้บรหิ ารสถานศกึ ษาโรงเรียน สงั กัดกรุงเทพมหานคร เขตหนองจอก กรุงเทพมหานคร โดยรวมและรายดา้ นอยูใ่ นระดบั มาก 3) ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นาการเปล่ียนแปลงกับการใช้อานาจของผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียนสังกัด กรงุ เทพมหานคร เขตหนองจอก กรุงเทพมหานคร มีความสัมพันธ์กันทางบวก อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ี ระดบั .05 สันติ หอมทวีโชค (2554, ง) ได้ศึกษาภาวะผู้นาการเปล่ียนแปลงกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การศึกษาในสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาราชบุรี ผลการวิจัยพบว่า 1) ภาวะผู้นาการเปล่ียนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษา ราชบุรี โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก 2) การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศการศึกษาในสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก และ 3) ศึกษาภาวะผู้นาการเปลี่ยนแปลงมีความสัมพันธ์กับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศการศึกษาใน สถานศึกษา สังกัดสานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาราชบรุ ี อย่างมนี ยั สาคัญทางสถิติท่ี .01 นิศา วงษ์สุวรรณ์ (2556, ง) ได้ศึกษาภาวะผู้นาการเปล่ียนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาฉะเชิงเทรา เขต 2 ผลการวิจัย พบว่า 1) ภาวะผู้นาการ เปล่ียนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาฉะเชิงเทรา เขต 2 โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก 2) วิเคราะห์เปรียบเทียบภาวะผู้นาการเปล่ียนแปลงของผู้บริหาร สถานศึกษา สังกดั สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาฉะเชิงเทรา เขต 2 จาแนกตามวุฒิการศกึ ษา ของผู้บริหาร โดยรวมและรายด้านแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสาคัญทางสถิติ ยกเว้นด้านการเป็นผู้มีบารมี และ 3) วิเคราะห์ความแปรปรวน ภาวะผู้นาการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสานักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาฉะเชิงเทรา เขต 2 จาแนกตามขนาดของโรงเรียนของผู้บริหาร โดยรวม และรายดา้ นแตกตา่ งกันอยา่ งไมม่ นี ัยสาคัญทางสถติ ิ อรกัญญา เปรมสุข (2559, ง) ได้ศึกษาภาวะผู้นาการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษากับ การดาเนินงานนิเทศในโรงเรียน สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาประจวบคีรีขันธ์ เขต 1 ผลการวิจัยพบว่า 1) ภาวะผู้นาการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ี การศึกษาประถมศึกษาประจวบคีรีขันธ์ เขต 1 โดยภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก 2) การ ดาเนินงานนิเทศในโรงเรยี น สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาประจวบคีรีขันธ์ เขต 1 โดย

43 ภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก และ 3) ภาวะผ้นู าการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษากับการ ดาเนินงานนเิ ทศในโรงเรียน สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาประจวบคีรีขันธ์ เขต 1 โดย ภาพรวมมคี วาสัมพนั ธก์ ันอย่างมนี ยั สาคญั ทางสถิตทิ ี่ระดับ .01 วิรวรรณ จิตต์ปราณี (2559, ง) ได้ศึกษาภาวะผู้นาการเปลี่ยนแปลงกับทักษะในศตวรรษท่ี 21 ของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 2 ผลการวิจัยพบว่า 1) ภาวะ ผู้นาการเปล่ียนแปลงของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 2 โดย ภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก 2) การมีทักษะในศตวรรษที่ 21 ของผู้บริหารโรงเรียน สังกัด สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2 โดยภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก และ 3) ภาวะ ผนู้ าการเปล่ียนแปลงกับทักษะในศตวรรษที่ 21 ของผู้บรหิ ารโรงเรียน สังกดั สานักงานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษา มธั ยมศกึ ษา เขต 2 มีความสัมพันธ์กนั อยา่ งมนี ัยสาคญั ทางสถติ ทิ ีร่ ะดบั .01 พัชราพร ร่วมรักษ์ (2559, ง) ได้ศึกษาการวางแผนกลยุทธ์ของผู้บริหารกับประสิทธิผลของ สถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 9 ผลการวิจัยพบว่า 1) การวางแผนกล ยุทธ์ของผู้บริหารสังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 9 ทั้งภาพรวมและรายด้านอยู่ใน ระดับมาก 2) ประสิทธิผลของสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 9 ท้ัง ภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก และ 3) การวางแผนกลยุทธ์ของผู้บริหารกับประสิทธิผลของ สถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 9 มีความสัมพันธ์เชิงบวก ในระดับสูง อยา่ งมนี ยั สาคญั ทางสถิตทิ ี่ระดบั .01 ศุภกร อนิ ทรค์ ลา้ (2556, ง) ได้ศกึ ษาทกั ษะภาวะผนู้ าของผบู้ รหิ ารกบั ประสิทธผิ ลของสถานศกึ ษา สังกัดเทศบาล กลมุ่ การศึกษาท้องถิ่นที่ 1 ผลการวิจัย พบว่า 1) ทักษะภาวะผู้นาของผบู้ ริหารสถานศึกษา สังกัดเทศบาล กลุ่มการศึกษาท้องถ่ินท่ี 1 โดยภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก 2) ประสิทธิผลของ สถานศึกษาสังกัดเทศบาล กลุ่มการศึกษาท้องถ่ินท่ี 1 โดยภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก และ 3) ทักษะภาวะผู้นาของผู้บริหารกับประสิทธิผลของสถานศึกษาสังกัดเทศบาล กลุ่มการศึกษาท้องถิ่นท่ี 1 มี ความสมั พนั ธก์ ัน อย่างมีนัยสาคญั ทางสถิติที่ระดบั .01 อานวยพร สอิ้งทอง (2556, ง) ได้ศึกษาคุณภาพชีวิตของผู้บริหารที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของ สถานศึกษาในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 2 ผลการวิจัยพบว่า 1) คณุ ภาพชวี ิตของผู้บริหารสถานศกึ ษาในสังกดั สานกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาสุพรรณบุรี เขต 2 โดยภาพรวมและรายด้านอยใู่ นระดับมากที่สุด 2) ประสิทธิผลของสถานศึกษาในสังกดั สานักงานเขตพื้นที่

44 การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 2 ทั้งภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก และ 3) คุณภาพชีวิต ของผู้บริหารส่งผลต่อประสิทธิผลของสถานศึกษาในสังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษา สุพรรณบุรี เขต 2 โดยคุณภาพชีวิตด้านความเป็นมนุษย์ คุณภาพชีวิตด้านเศรษฐกิจ และคุณภาพชีวิต ด้านสิ่งแวดล้อม ส่งผลต่อประสิทธิผลของสถานศึกษาด้านสภาพแวดล้อมเป็นระเบียบและปลอดภัย คุณภาพชีวิตด้านความเป็นมนุษย์และคณุ ภาพชวี ติ ด้านเศรษฐกจิ สง่ ผลต่อประสิทธิผลของสถานศึกษาด้าน พันธกจิ ของสถานศึกษามคี วามชดั เจน คุณภาพชีวิตด้านความเป็นมนุษย์ คณุ ภาพชวี ติ ด้านสภาพทวั่ ไปของ ชีวิตและคุณภาพชวี ิตด้านเศรษฐกจิ สง่ ผลต่อประสิทธิผลของสถานศกึ ษา ด้านการมภี าวะผู้นาทางวิชาการ คุณภาพชวี ิตด้านความเป็นมนุษย์ คุณภาพชวี ิตด้านเศรษฐกจิ คุณภาพชีวิต ด้านสภาพทั่วไปของชีวิต และ คุณภาพชีวิตด้านสังคมส่งผลต่อประสิทธิผลของสถานศึกษาด้านบรรยากาศของความคาดหวังท่ีสูง คณุ ภาพชีวิตด้านสภาพท่ัวไปของชวี ติ และคุณภาพชีวิตด้านเศรษฐกจิ สง่ ผลต่อประสิทธผิ ลของสถานศกึ ษา ด้านทุ่มเทเวลาในการทางาน และด้านการตรวจสอบความก้าวหน้าของนักเรียนอย่างสม่าเสมอ คุณภาพ ชวี ิตด้านสภาพทัว่ ไปของชีวิต และคุณภาพชีวิตด้านสง่ิ แวดล้อมส่งผลตอ่ ประสิทธิผลของสถานศึกษาด้านมี ความสมั พันธเ์ ชิงบวกกบั ผู้ปกครอง ฐิตารีย์ ตรีเหรา (2556, ง) ได้ศึกษาสุขภาพองค์กรที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของสถานศึกษา สังกัด กรุงเทพมหานคร ผลการวิจัยพบว่า 1) สุขภาพองค์กรของสถานศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร โดย ภาพรวมอยใู่ นระดบั มาก 2) ประสทิ ธิผลของสถานศกึ ษา สงั กัดกรงุ เทพมหานคร โดยภาพรวมอยู่ในระดับ มาก และ 3) สุขภาพองค์กรส่งผลต่อประสิทธิผลของสถานศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร โดยภาพรวม และรายด้าน อย่างมนี ยั สาคัญทางสถิติท่รี ะดบั .01 สาวิตรี ง้วนหอม (2556, ง) ได้ศึกษาปัจจัยความเสี่ยงกับประสิทธิผลของสถานศึกษา สังกัด เทศบาลกลุ่มการศึกษาท้องถ่ินที่ 1 ผลการวิจัยพบว่า 1) ปัจจัยความเส่ียงในสถานศึกษา สังกัดเทศบาล กลุ่มการศึกษาท้องถ่ินที่ 1 โดยภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก 2) ประสิทธิผลของสถานศึกษา สังกัดเทศบาลกลุ่มการศึกษาท้องถ่ินท่ี 1 โดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง และ 3) ปัจจัยความเส่ียงกับ ประสิทธิผลของสถานศึกษา สังกัดเทศบาลกลุ่มการศึกษาท้องถ่ินที่ 1 โดยภาพรวมมีความสัมพันธ์กัน ทางบวกในระดบั ปานกลาง อย่างมนี ยั สาคญั ทางสถติ ิทีร่ ะดับ .01

45 2. งานวิจยั ตา่ งประเทศ ไมเคิล (Michael, 2003) ได้ศึกษาถึงความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นาการเปล่ียนแปลงกับ ประสิทธิผลของโรงเรียนมัธยมศึกษา พบว่าผู้บริหารมีภาวะผู้นาการเปล่ียนแปลงสูง ผู้บริหารที่มี ประสบการณ์ในการบรหิ ารมากมีภาวะผู้นาการเปล่ียนแปลงมากและอัตราการสอบเข้าเรียนกบั อัตราการ มาเรียนและอตั ราการเรียนจบตามกาหนดไว้ในหลักสูตรมคี ่าสหสัมพันธ์ทางลบ และยังพบอีกว่าปจั จัยทาง สังคมเศรษฐกจิ ของนักเรียนสง่ ผลตอการออกกลางคนั ของนกั เรียน และปัจจัยทางสังคมเศรษฐกิจกับอตั รา การมาเรียน การเรยี นจบตามทกี่ าหนดไว้ในหลกั สูตรและอตั ราการเรยี นตอ่ มีความสัมพนั ธ์ทางลบ บาเลียร์ (Balyer, 2012, 581) ได้ศึกษาพฤติกรรมผู้นาการเปลยี่ นแปลงของผู้บริหารสถานศึกษา พบว่า ผู้บริหารสถานศึกษามีภาวะผู้นาการเปล่ียนแปลงสูง โดยมีความเป็นผู้นาในแง่ของการมีอิทธิพล อย่างมีอุดมการณ์ มีการสร้างแรงจูงใจและแรงบันดาลใจ คานึงถึงความเป็นปัจเจกบุคคล และมีการ กระตนุ้ ทางปญั ญา เลทวูด แจนท์ซี และเฟอร์นันเดซ (Leithwood, Jantzi & Fernandez, 1994, 74-98) ได้ศึกษา ภาวะผ้นู าการเปลี่ยนแปลงและความผูกพันต่อการเปลี่ยนแปลงของครูโรงเรียนมัธยมศึกษาในออนตาริโอ ประเทศแคนาดา พบว่า ภาวะผู้นาการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารโรงเรียนสัมพันธ์กับความผูกพันต่อการ เปล่ียนแปลงของครู พฤติกรรมของผู้บริหารมีอิทธิพลต่อครู มีผลกระทบต่อการปรับปรุงคุณภาพของ นักเรียนด้วย หากครูมีความผูกพัน มีความพึงพอใจ การปฏิบัติงานดี ส่งผลกระทบต่อนักเรียนน่ันเอง ดงั น้ัน หากจะถามวา่ ผู้บริหารมอี ิทธพิ ลต่อผลสมั ฤทธิ์หรอื ไม่ ก็อาจได้คาตอบวา่ มี แต่สง่ ผลกระทบทางออ้ ม ผา่ นตวั แปรอ่ืน ๆ และมคี วามสมั พันธ์กันในทางบวก คูเนิร์ท และเลวิส (Kuhnert & Lewis, 1987, 648-65) ได้ศึกษาลักษณะภาวะผู้นาการ เปลี่ยนแปลง และภาวะผู้นาแบบแลกเปล่ียน พบว่า ภาวะผู้นาการเปลี่ยนแปลงจะอยู่ในระดับ ท่ีมีคุณค่า สูงกว่าภาวะผู้นาการแลกเปล่ียน คือ ผู้นาในลักษณะของผู้นาการแลกเปล่ียน จะมีลักษณะการทางาน ดว้ ยแรงจงู ใจเพอื่ ผลประโยชน์ท้ังสองฝ่ายในขณะท่ีผู้นาการเปลยี่ นแปลงจะอยู่ในระดับพฒั นาการสงู ข้ึนไป จะไม่สนใจต่อความต้องการของตนเองแต่จะเร่ิมเห็นคุณค่าของหมู่คณะและของหน่วยงาน ซ่ึงคุณค่าหรือ คุณธรรมท่ีสูงสูงกว่าผู้นาการเปล่ียนแปลงจะเสียสละผลประโยชน์ของตนเองก้าวถึงจิตใจของผู้ตาม กระตุ้นให้ลูกนอ้ งเห็นคุณค่าของความมีอุดมคติ ศักด์ิศรีเพ่ือท่ีจะได้ไม่ทางานตามหน้าท่ีเพียงเพ่ือเงนิ เดือน หรือผลตอบแทนไปวัน ๆ อีกท้ังพยายามเปล่ียนแปลงทัศนคติ ความเชื่อของผู้ใต้บังคับบัญชาให้เกิดการ ยอมรบั และทางานจนบรรลุเป้าหมายท่ยี าก

46 ดิออนนี่ (Dionne, 2004, 177-193) ดาเนินการวิจัยเรื่องภาวะผู้นาการเปล่ียนแปลงและ ประสิทธิภาพของทีม พบว่า อุดมการณ์ แรงบันดาลใจ หรืออิทธิพลต่อจิตใจ การกระตุ้นความคิด วิจารณญาณ จะถูกสร้างและแสดงออกมาในรูปแบบต่าง ๆ เช่น การแสดงวิสัยทัศน์ การตัดสินใจร่วมกัน เป็นทีม การทางานเป็นทีม และการจัดการปัญหาที่เกิดข้ึนในทีม โดยส่ิงที่แสดงออกมายังส่วยรวมน้ีจะ ส่งผลกระทบในเชิงบวกในด้านการสื่อสาร การเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน และการจัดการความขัดแย้งท่ี เกดิ ขึน้ สิง่ ต่าง ๆ เหลา่ นจ้ี ะเขา้ มามสี ่วนเกี่ยวข้องในการพัฒนาทมี การฝกึ ซ้อม และโครงสร้างของทีม กราเดอร (Grader, 2003, 141) ได ทาการวิจัยเร่ืองการนาองค์การแห่งการเรียนรู ท่ีมี ประสิทธิผล ในโรงเรียน: กรณีศึกษาโรงเรียนขนาดกลางประเด็นที่ว่าจะนาหลักการองค์การแห่งการ เรียนรู้มาใช้ในโรงเรียนไดอย่างไร โดยสามารถสร้างความพึงพอใจและเพิ่มผลการปฏิบัติงานให้พนักงาน ผล การวจิ ัยแบ่งออกเป็น 2 กลมุ่ ดังนี้ กลุ่มที่หน่ึงไมไดรับการสนบั สนุนจากโรงเรยี นให้มี ความสามารถใน ด้านความรูแห่งตน การเรียนรูเป็นทีม การสร้างวิสัยทัศน์ร่วม ผู้บริหารให้ความสนใจในองค์การแห่งการ เรียนรูแบบทั่ว ๆ ไป และผู้บริหารไมสามารถติดต่อส่ือสารกับพนักงานในเรื่องวิสัยทัศน์ของพนักงานได กลุ่มที่สองไดรับการสนับสนุนพนักงานสาหรับการวิจัยในอนาคต ศึกษาการพัฒนาเคร่ืองมือท่ีเหมาะสม สาหรับการประเมินการปฏบิ ัติงานขององคก์ ารแหง่ การเรียนรู้ในโรงเรยี น กรีน (Green, 2005, 12) ไดศึกษาวิจัยการรับรูของครูผู้ปกครอง และนักเรียนเก่ียวกับ คุณลักษณะของโรงเรียนที่มีประสิทธิผลตามธรรมนูญโรงเรียนในรัฐเท็กซัส พบว่า คุณลักษณะของ ธรรมนูญ โรงเรียนที่มีประสิทธิผลที่ครู ผู้ปกครองและนักเรียนเห็นด้วยร่วมกันได การจัดสิ่งแวดล้อมท่ี ปลอดภัยและเรียบร้อยการจัดบรรยากาศเชิงบวกการกาหนดความคาดหวังท่ีสูงและการตรวจสอบ ความสาเร็จอย่างต่อเนื่อง ครูและผู้ปกครองเห็นว่าโรงเรียนท่ีมีประสิทธิผลต้องเป็นโรงเรียนที่มีภาวะผู้นา ของครูและการกาหนดพันธกิจที่ชัดเจน หนักแน่น มีการส่งเสริมโอกาสในการเรียนรูสูง สวนนักเรียนไม แนใ่ จถึงการส่งเสรมิ โอกาสในการเรียนรูท่ีเต็มความสามารถ เฉพาะผู้ปกครองและนกั เรียนเหน็ ดว้ ยกับการ ใหผ้ ู้ปกครองมสี ่วนร่วมในโรงเรียน แต่ครไู มแนใ่ จว่าโรงเรยี นจัดให้ผู้ปกครองและชุมชนให้มีส่วนร่วม ครูไม ม่ันใจวา่ โรงเรียนจัดให้มกี ารพัฒนาความเชยี่ วชาญอยา่ งจรงิ จังและให้พวกครูไดร่วมตัดสินใจด้วย สเตฟาโน่ (Stefano, 2003) ทาการวิจัยเร่ือง ประสิทธิผลของโรงเรียน : บทบาทการนาของ ครใู หญใ่ นโรงเรียนมธั ยมศึกษาของรัฐใน Santa Fe Province ประเทศอาเจนตนิ า่ พบวา่ พฤตกิ รรมในการ

47 ให้ความช่วยเหลือของครูใหญ่ที่พบบ่อยท่ีสุดในความมีประสิทธิผลของโรงเรียน คือ การจัดแบ่งสถานที่ อย่างเป็นสัดส่วน ซึ่งเป็นการแสดงออกถึงภาวะผู้นาทางการบริหาร การแบ่งอย่างเป็นสัดส่วนนี้ ช้ีให้เห็น ถึงความสัมพนั ธ์ของการมีระเบียบวินัย การใช้แหล่งเรียนรู้ในโรงเรียน รูปแบบภาวะผู้นาของครูใหญ่ และ การเชอ่ื มโยงกบั ผู้มสี ่วนได้ส่วนเสีย บุซซี่ (Buzzi, 1991) ได้ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประสิทธิผลของโรงเรียนกับการเลือกมิติ ความเป็นผู้นาทางวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนในรัฐคอนแนคติคัส โดยใช้แบบสอบถามกับผู้บริหาร โรงเรียนประถมศึกษาในรัฐคอนแนคติคัส ผลการวิจัยพบว่าพฤติกรรมความเป็นผู้นาทางวิชาการของ ผบู้ ริหารมีความสมั พนั ธก์ บั ความมีประสิทธิผลของโรงเรยี นในทางบวก

บทท่ี 3 วธิ ดี ำเนนิ กำรวจิ ยั กำรวิจัยในครั้งนี้ เป็นกำรวิจัยเชิงพรรณนำ ศึกษำควำมสัมพันธ์ระหว่ำงภำวะผู้นำกำร เปลี่ยนแปลงของผู้บริหำรกับประสิทธิผลของสถำนศึกษำในสังกัดสำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำ ประถมศกึ ษำรำชบรุ ี เขต 2 ซง่ึ ผู้วิจยั ไดด้ ำเนินกำรตำมข้นั ตอนดงั นี้ 1. ประชำกรและกลุ่มตัวอยำ่ ง 2. ตวั แปรทีศ่ ึกษำ 3. เครื่องมอื ที่ใชใ้ นกำรวิจยั 4. กำรเกบ็ รวบรวมข้อมูล 5. กำรวิเครำะห์ข้อมูลและสถติ ทิ ่ใี ชใ้ นกำรวิจยั ประชำกรและกล่มุ ตัวอยำ่ ง ประชำกร ที่ใชใ้ นกำรวิจัยครัง้ นี้ ไดแ้ ก่ โรงเรยี นในสงั กดั สำนักงำนเขตพืน้ ที่กำรศึกษำประถมศกึ ษำ รำชบรุ ี เขต 2 จำนวน 147 โรงเรียน กลุ่มตัวอย่ำง ที่ใช้ในกำรวิจัย ได้แก่ โรงเรียนในสังกัดสำนักงำนเขตพื้นท่ีกำรศึกษำประถมศึกษำ รำชบุรี เขต 2 จำนวน 108 โรงเรียน ซ่ึงได้มำโดยเปิดตำรำงกำหนดขนำดกลุ่มตัวอย่ำงตำมตำรำงของ เครจซีและมอรแ์ กน (Krejcie & Morgan, 1970, 608) หลังจำกน้นั ผูว้ ิจยั ใชว้ ธิ สี ่มุ กลุ่มตัวอย่ำงซง่ึ มีข้นั ตอน ดังนี้ 1. ผวู้ จิ ัยแบ่งกลมุ่ ตวั อย่ำงออกเป็น 4 กลุม่ โดยจำแนกตำมอำเภอ ไดแ้ ก่ อำเภอบ้ำนโปง่ อำเภอ โพธำรำม อำเภอดำเนินสะดวก และอำเภอบำงแพ จำกนั้นทำกำรสุ่มตัวอย่ำงแบบแบ่งชั้นอย่ำงเป็น สัดส่วน (stratified random sampling) โดยใช้ตำมอำเภอเป็นช้ันทำให้ได้ยอดรวมของตัวอย่ำง ในแต่ละ อำเภอ ผู้ให้ขอ้ มลู โรงเรียนละ 3 คน ประกอบดว้ ย ผอู้ ำนวยกำรสถำนศกึ ษำ 1 คน และครผู ู้สอน 2 คน 2. เพอ่ื ใหไ้ ด้ผู้ตอบแบบสอบถำม ผู้วิจยั ทำกำรสมุ่ อย่ำงงำ่ ยดว้ ยวิธีกำรจบั สลำก ดังตำรำงท่ี 2

49 ตำรำงที่ 2 จำนวนประชำกรและกล่มุ ตัวอยำ่ ง ท่ี อำเภอ สถำนศกึ ษำ ผใู้ ห้ข้อมลู ผบู้ รหิ ำร ครู ประชำกร กลมุ่ ตวั อยำ่ ง สถำนศกึ ษำ รวม 1 บำ้ นโปง่ 47 35 35 70 105 2 โพธำรำม 51 37 37 74 111 3 ดำเนนิ สะดวก 25 18 18 36 54 4 บำงแพ 24 18 18 36 54 147 108 108 216 324 รวม ตัวแปรท่ศี ึกษำ 1. ตัวแปรต้น คอื ภำวะผู้นำกำรเปลย่ี นแปลง ประกอบด้วย 1. กำรมีอิทธิพลอยำ่ งมีอดุ มกำรณ์ (idealized influence) 2. กำรสรำ้ งแรงบนั ดำลใจ (inspirational motivation) 3. กำรกระตุน้ ทำงปัญญำ (intellectual stimulation) 4. กำรคำนึงถึงควำมเป็นปัจเจกบคุ คล (individualized 2. ตวั แปรตำม คือ ประสิทธผิ ลของสถำนศึกษำ ประกอบดว้ ย 1. ควำมสำมำรถในกำรผลิตนกั เรียนให้มผี ลสัมฤทธทิ์ ำงกำรเรยี นสูงข้นึ (productivity) 2. ควำมสำมำรถในกำรพฒั นำเจตคตทิ ำงบวกของนักเรียน (positive attitude) 3. ควำมสำมำรถในกำรปรบั ตัว (adaptability) 4. ควำมสำมำรถในกำรแก้ปญั หำ (solving problems) เครอื่ งมอื ท่ีใช้ในกำรวจิ ยั 1. เครอ่ื งมอื ที่ใช้ในกำรวจิ ยั กำรวิจัยครั้งน้ีใช้แบบสอบถำมเป็นเครื่องมือสำหรับเก็บข้อมูล จำนวน 1 ฉบับ แบ่งออกเป็น 3 ตอน มีรำยละเอียดดังน้ี

50 ตอนท่ี 1 เป็นแบบสอบถำมเก่ียวกับสถำนภำพของผู้ตอบแบบสอบถำม ประกอบด้วย เพศ อำยุ ระดับกำรศึกษำ และประสบกำรณใ์ นกำรทำงำน ตอนท่ี 2 เป็นแบบสอบถำมเกี่ยวกับ ภำวะผู้นำกำรเปล่ียนแปลง ตำมแนวคิดของบำส และ อโวลิโอ (Bass & Avolio) จำนวน 4 องค์ประกอบ โดยมีตัวแปรยอ่ ยในแต่ละองค์ประกอบรวม 4 ตัวแปร ยอ่ ยมขี อ้ คำถำมทง้ั ส้นิ จำนวน 20 ข้อ ดังนี้ 1. กำรมีอทิ ธิพลอยำ่ งมอี ดุ มกำรณ์ (idealized influence) จำนวน 5 ขอ้ 2. กำรสร้ำงแรงบนั ดำลใจ (inspirational motivation) จำนวน 5 ข้อ 3. กำรกระตุน้ ทำงปัญญำ (intellectual stimulation) จำนวน 5 ขอ้ 4. กำรคำนงึ ถงึ กำรเปน็ ปัจเจกบุคคล (individualized consideration) จำนวน 5 ข้อ ตอนที่ 3 เป็นแบบสอบถำมเก่ียวกับ ประสิทธิผลของสถำนศึกษำ ตำมแนวคิดของมอท (Mott) จำนวน 4 องค์ประกอบ โดยมีตัวแปรย่อยในแต่ละองค์ประกอบรวม 5 ตัวแปรย่อยมีข้อคำถำม ท้ังส้ิน จำนวน 20 ขอ้ ดงั น้ี 1. ควำมสำมำรถในกำรผลิตนักเรียนให้มีผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียนสูงขึ้น (productivity) จำนวน 5 ข้อ 2. ควำมสำมำรถในกำรพฒั นำเจตคติทำงบวกของนักเรยี น (positive attitude) จำนวน 5 ขอ้ 3. ควำมสำมำรถในกำรปรับตัว (adaptability) จำนวน 5 ขอ้ 4. ควำมสำมำรถในกำรแก้ปญั หำ (solving problems) จำนวน 5 ขอ้ ลักษณะแบบสอบถำมในตอนท่ี 2 และ ตอนท่ี 3 เป็นแบบสอบถำมแบบมำตรประมำณค่ำ 5 ระดับ ตำมแนวคิดของ ลิเคิร์ท (Likert’s rating scale) โดยผู้วิจัยกำหนดค่ำคะแนนของช่วงน้ำหนัก เปน็ 5 ระดบั มีควำมหมำยดังนี้ ระดับ 5 หมำยถึง ภำวะผู้นำกำรเปลี่ยนแปลง/ประสิทธิผลของสถำนศึกษำ อยู่ในระดับมำกท่ีสุด ใหม้ ีคำ่ นำ้ หนกั เท่ำกับ 5 คะแนน ระดับ 4 หมำยถึง ภำวะผู้นำกำรเปล่ียนแปลง/ประสิทธิผลของสถำนศึกษำ อยใู่ นระดบั มำก ใหม้ ีค่ำนำ้ หนกั เทำ่ กบั 4 คะแนน ระดับ 3 หมำยถึง ภำวะผู้นำกำรเปลี่ยนแปลง/ประสิทธิผลของสถำนศึกษำ อยู่ในระดับปำนกลำง ใหม้ คี ำ่ น้ำหนกั เท่ำกบั 3 คะแนน

51 ระดับ 2 หมำยถึง ภำวะผู้นำกำรเปลี่ยนแปลง/ประสิทธิผลของสถำนศึกษำ อยใู่ นระดับนอ้ ย ใหม้ คี ่ำน้ำหนัก เท่ำกับ 2 คะแนน ระดับ 1 หมำยถึง ภำวะผู้นำกำรเปล่ี ยนแปลง/ประสิทธิผลของสถำนศึกษำ อยู่ในระดบั น้อยทส่ี ดุ ใหม้ คี ่ำนำ้ หนัก เทำ่ กับ 1 คะแนน 2. กำรสร้ำงเครอ่ื งมือวิจยั ผ้วู จิ ยั ไดด้ ำเนินกำรสรำ้ งเครอ่ื งมือสำหรับกำรวจิ ยั โดยมขี น้ั ตอนกำรดำเนินงำนดังนี้ 1. ศกึ ษำวรรณกรรม หลกั กำร แนวคิด และทฤษฎีที่เก่ียวข้องจำกหนงั สือ ตำรำ เอกสำรและ งำนวิจยั ที่เก่ยี วข้องกับภำวะผู้นำกำรเปลยี่ นแปลง และประสทิ ธผิ ลของสถำนศกึ ษำ 2. นำข้อมูลท่ีได้จำกกำรศึกษำมำประมวล เพ่ือมำกำหนดเป็นโครงสร้ำงเคร่ืองมือโดยขอ คำแนะนำจำกอำจำรยท์ ี่ปรึกษำวิทยำนพิ นธ์ 3. สร้ำงแบบสอบถำมโดยให้ครอบคลุมเน้ือหำเสนออำจำรย์ท่ีปรึกษำตรวจสอบ เพื่อให้ ข้อเสนอแนะนำมำปรบั ปรุง 4. นำแบบสอบถำมเสนอผู้เชี่ยวชำญเพ่ือตรวจสอบควำมเท่ียงตรงของเนื้อหำ (content validity) เพื่อปรับปรุงแก้ไขข้อบกพร่อง เพ่ือควำมสมบูรณ์และถูกต้องของเนื้อหำโดยให้เทคนิค IOC (index of item objective congruence) แล้วนำมำปรับปรุงแก้ไขอีกคร้ังโดยคัดเลือกเฉพำะข้อที่มีค่ำ 0.67 ขึ้นไป 5. นำแบบสอบถำมท่ีปรับปรุงแก้ไขแล้วไปทดลองใช้ (try out) กับโรงเรียนที่ไม่ใช่กลุ่ม ตัวอย่ำง จำนวน 5 โรงเรียน 6. นำแบบสอบถำมท่ีได้รับคืนมำคำนวณหำค่ำควำมเชื่อมั่น (reliability) โดยใช้สัมประสิทธิ แอลฟำ (-coefficient) ตำมวิธีกำรของครอนบำค (Cronbach,1978, 161) โดยมีค่ำควำมเช่ือม่ันของ แบบสอบถำมตอนท่ี 2 เทำ่ กับ .690 ตอนท่ี 3 เทำ่ กบั .982 และทั้งฉบับ เท่ำกับ .971 กำรเก็บรวบรวมข้อมลู ในกำรเก็บรวบรวมข้อมูลเพ่ือให้กำรปฏิบัติเป็นไปอย่ำงถูกต้องและเป็นระบบ ผู้วิจัยดำเนินตำม ขั้นตอนดังนี้ 1. ผู้วิจัยทำหนังสือถึงคณบดีบัณฑิตวิทยำลัย มหำวิทยำลัยรำชภัฏหมู่บ้ำนจอมบึง เพ่ือทำ หนังสือขอควำมอนเุ ครำะห์ไปยงั ผูอ้ ำนวยกำรสถำนศึกษำ สังกัดสำนกั งำนเขตพ้นื ท่กี ำรศึกษำประถมศึกษำ รำชบุรี เขต 2 ทเี่ ป็นสถำนศึกษำของกลมุ่ ตวั อยำ่ งในกำรตอบแบบสอบถำมกำรวจิ ัยครัง้ นี้

52 2. ในกำรเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้วิจัยดำเนินกำรเก็บข้อมูลและติดตำมรวบรวมแบบสอบถำมคืน จำกสถำนศกึ ษำต่ำง ๆ ดว้ ยตนเอง กำรวิเครำะห์ข้อมูลและสถิติทใี่ ช้ในกำรวิจัย 1. กำรวิเครำะหข์ ้อมูล ในกำรวิจัยคร้ังน้ีมีหน่วยวิเครำะห์ (unit of analysis) เป็นผู้บริหำรและครู โดยผู้วิจัยนำ แบบสอบถำมทไ่ี ดร้ บั กลบั คืนมำจัดกระทำขอ้ มลู โดยมีข้ันตอนดังน้ี 1.1 ตรวจสอบควำมสมบูรณ์ของข้อมูลท่ีไดร้ ับคนื มำ 1.2 จดั ระบบข้อมลู ตรวจรวบรวมคะแนนแบบสอบถำมทสี่ มบรู ณ์ 1.3 นำข้อมลู ไปคำนวณหำค่ำสถิติ โดยใชโ้ ปรแกรมสำเร็จรูป 2. สถติ ิทใี่ ช้ในกำรวจิ ัย เพ่ือให้กำรวิเครำะห์ข้อมูลตรงตำมวัตถุประสงค์กำรวิจัย ผู้วิจัยได้ใช้สถิติในกำรวิเครำะห์ข้อมูล ดังน้ี 1. วิเครำะห์ข้อมูลเกี่ยวกับสถำนภำพของผู้ตอบแบบสอบถำม ซึง่ ถำมรำยละเอียดเก่ียวกับ เพศ อำยุ ตำแหนง่ ระดบั ปฏิบตั งิ ำน ใช้กำรแจกแจงควำมถ่ี (frequency) และค่ำรอ้ ยละ (percentage) 2. กำรวเิ ครำะห์ระดบั ภำวะผนู้ ำกำรเปลย่ี นแปลงกับประสทิ ธิผลของสถำนศึกษำ ใชค้ ่ำเฉลีย่ (X) และสว่ นเบี่ยงเบนมำตรฐำน (S.D.) สำหรบั แบบสอบถำมตอนท่ี 2 และ ตอนที่ 3 ได้นำคำ่ เฉล่ียของนำ้ หนัก ทไ่ี ดม้ ำเทียบเคยี งกับเกณฑ์ ดังน้ี (บุญชม ศรีสะอำด, 2554, 121) คำ่ เฉลย่ี 4.51-5.00 หมำยถงึ ระดับภำวะผนู้ ำกำรเปล่ียนแปลง/ประสิทธผิ ลของสถำนศกึ ษำ อยู่ในระดบั มำกท่สี ดุ คำ่ เฉลย่ี 3.51-4.50 หมำยถงึ ระดับภำวะผู้นำกำรเปล่ยี นแปลง/ประสิทธผิ ลของสถำนศกึ ษำ อยู่ในระดบั มำก ค่ำเฉลยี่ 2.51-3.50 หมำยถึง ระดับภำวะผู้นำกำรเปลีย่ นแปลง/ประสทิ ธผิ ลของสถำนศกึ ษำ อยใู่ นระดับปำนกลำง ค่ำเฉล่ีย 1.51-2.50 หมำยถึง ระดับภำวะผนู้ ำกำรเปล่ียนแปลง/ประสิทธิผลของสถำนศกึ ษำ อยูใ่ นระดบั น้อย ค่ำเฉลีย่ 1.00-1.50 หมำยถึง ระดับภำวะผู้นำกำรเปล่ยี นแปลง/ประสทิ ธิผลของสถำนศึกษำ อยใู่ นระดบั นอ้ ยท่ีสุด

53 3. กำรวิเครำะห์ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงภำวะผ้นู ำกำรเปลี่ยนแปลงกบั ประสทิ ธผิ ลของสถำนศึกษำ ใช้กำรวิเครำะหค์ ำ่ สหสมั พนั ธข์ องเพียรส์ ัน (Pearson’s product moment correlation coefficient) เกณฑใ์ นกำรพิจำรณำควำมสมั พนั ธ์ คำ่ สัมประสทิ ธิส์ หสมั พนั ธ์ (r) (Bartz, 1999, 184) ดังนี้ 1. ± 0.81 ถึง ±1.00 หมำยถึง มคี วำมสัมพันธร์ ะดบั สงู มำก 2. ± 0.61 ถึง ±0.80 หมำยถงึ มคี วำมสมั พนั ธ์ระดบั สูง 3. ± 0.41 ถงึ ±0.60 หมำยถึง มคี วำมสัมพันธร์ ะดับปำนกลำง 4. ± 0.21 ถงึ ±0.40 หมำยถึง มคี วำมสัมพันธ์ระดบั ตำ่ 5. ± 0.00 ถงึ ±0.20 หมำยถงึ มีควำมสัมพนั ธ์ระดับต่ำมำก เกณฑ์ในกำรพจิ ำรณำทิศทำงควำมสัมพันธ์ของคำ่ สมั ประสทิ ธิ์สหสัมพันธ์ (กัลยำ วำณิชยบ์ ญั ชำ, 2545, 311-312) ดังนี้ ค่ำสมั ประสทิ ธิส์ หสมั พนั ธจ์ ะมีค่ำระหว่ำง 1. คำ่ r เป็น ลบ แสดงวำ่ X และ Y มีควำมสัมพันธ์ในทศิ ทำงตรงข้ำม คอื ถำ้ X เพิม่ Y จะลด แต่ ถ้ำ X ลด Y จะเพม่ิ 2. คำ่ r เปน็ บวก แสดงวำ่ X และ Y มคี วำมสมั พันธใ์ นทิศทำงเดยี วกนั คือ ถำ้ X เพ่มิ Y จะเพิม่ แตถ่ ำ้ X ลด Y จะลด 3. ค่ำ r เขำ้ ใกล้ 1 แสดงว่ำ X และ Y มคี วำมสมั พนั ธใ์ นทศิ ทำงเดียวกัน และมีควำมสัมพนั ธก์ ัน มำก 4. ค่ำ r เข้ำใกล้-1 แสดงวำ่ X และ Y มคี วำมสมั พนั ธใ์ นทิศทำงตรงข้ำม และมคี วำมสมั พนั ธก์ ัน มำก 5. ค่ำ r เทำ่ กบั 0 แสดงว่ำ X และ Y ไมม่ ีควำมสมั พันธ์กัน

บทท่ี 4 ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มลู ในการวจิ ัยครัง้ น้ี ผู้วิจัยศึกษาเรือ่ งภาวะผู้นาการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารกับประสิทธผิ ลของ สถานศึกษาในสังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพ่อื ศึกษาภาวะผู้นาการเปลย่ี นแปลงของผ้บู รหิ ารสถานศกึ ษาในสงั กัดสานักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษา ประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 2) เพ่ือศึกษาประสิทธิผลของสถานศึกษาในสังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่ การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 3) เพ่ือศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นาการเปลี่ยนแปลง ของผู้บริหารกับประสิทธิผลของสถานศึกษาในสงั กดั สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาราชบุรี เขต 2 ผ้วู ิจยั นาเสนอผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูลตามลาดับดงั น้ี 1. สัญลกั ษณ์ทใ่ี ชใ้ นการวเิ คราะหข์ ้อมลู 2. การวิเคราะหข์ ้อมลู 3. ผลการวเิ คราะหข์ ้อมูล สญั ลกั ษณ์ทใ่ี ชใ้ นการวเิ คราะหข์ อ้ มลู ในการเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลการวิจัย และเพ่ือให้เกิดความเข้าใจท่ีตรงกัน ผู้วิจัยจึงได้ กาหนดสัญลกั ษณ์มาใชใ้ นการวิเคราะห์ขอ้ มลู ดงั น้ี n แทน จานวนกลุ่มตัวอย่าง X̅ แทน ค่าเฉลย่ี S.D. แทน สว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐาน r แทน ค่าสมั ประสิทธส์ิ หสัมพนั ธ์ของเพยี ร์สัน Xtot แทน ภาวะผ้นู าการเปล่ียนแปลง X1 แทน การมีอิทธิพลอยา่ งมีอดุ มการณ์ X2 แทน การสร้างแรงบนั ดาลใจ X3 แทน การกระต้นุ ทางปญั ญา X4 แทน การคานึงถึงการเปน็ ปัจเจกบคุ คล Ytot แทน ประสิทธผิ ลของสถานศึกษา Y1 แทน ความสามารถในการผลติ นกั เรียนใหม้ ีผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนสงู ข้ึน Y2 แทน ความสามารถในการพฒั นาเจตคติทางบวกของนักเรยี น Y3 แทน ความสามารถในการปรับตวั

55 Y4 แทน ความสามารถในการแก้ปัญหา ** แทน มีความสมั พนั ธ์อยา่ งมีนยั สาคญั ทางสถิติทรี่ ะดบั .01 * แทน มีความสัมพันธ์อย่างมีนยั สาคัญทางสถติ ทิ ร่ี ะดับ .05 การวเิ คราะหข์ ้อมลู เพ่ือให้การวิเคราะห์ข้อมูลตรงตามข้อมูลวัตถุประสงค์การวิจัย ในการวิจัยครั้งน้ีได้ใช้สถิติใน การวิเคราะห์ข้อมลู ดงั น้ี 1. วิเคราะห์ข้อมูลเก่ียวกับสถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม ซึ่งถามรายละเอียดเก่ียวกับ เพศ อายุ ระดับการศึกษาและประสบการณ์ทางาน ใช้การแจกแจงความถ่ี (frequency) และค่าร้อย ละ (percentage) 2. การวิเคราะห์ระดับภาวะผนู้ าการเปล่ียนแปลงและประสิทธิผลของสถานศึกษาใช้ค่าเฉล่ีย (X̅) และสว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐาน (S.D.) 3. การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นาการเปล่ียนแปลงกับประสิทธิผลของ สถานศึกษาใช้การวิเคราะห์ค่าประสิทธ์ิสหสัมพันธ์ของเพียร์สัน (Pearson’s product moment correlation coefficient) ทดสอบทีร่ ะดบั นยั สาคัญทางสถิติทีร่ ะดับ .01 ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูล เพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์และตอบสมมติฐานของการวิจัยครั้งน้ี ผู้วิจัยได้นาข้อมูลที่ได้ จากการตอบแบบสอบถามของผู้ให้ข้อมูล คือ โรงเรียนในสังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 ที่เป็นกลุ่มตัวอย่างจานวน 108 โรงเรียน โดยจาแนกเป็น ผู้บริหาร สถานศึกษาจานวน 108 คน และครูจานวน 216 คน รวมจานวนทั้งส้ิน 324 คน ซ่ึงได้รับ แบบสอบถามกลับคนื มา 324 ฉบับ คดิ เป็นรอ้ ยละ 100 นามาวิเคราะห์และเสนอผลการวิเคราะห์โดย ใช้ตารางประกอบคาบรรยาย จาแนกเป็น 4 ตอน คอื ตอนที่ 1 สถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม ตอนท่ี 2 ภาวะผู้นาการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารในสังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา ประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 ตอนท่ี 3 ประสิทธิผลของสถานศึกษาในสังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษา ราชบุรี เขต 2 ตอนท่ี 4 ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นาการเปล่ียนแปลงกับประสิทธิผลของสถานศึกษาใน สังกดั สานักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาราชบรุ ี เขต 2

56 ตอนที่ 1 ขอ้ มูลท่วั ไปของผตู้ อบแบบสอบถาม สถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม ซึ่งได้จากการตอบแบบสอบถามของสถานศึกษา สังกัด สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 ที่เป็นกลุ่มตัวอย่างจานวน 108 โรงเรียน โดยจาแนกเป็น ผูบ้ ริหารสถานศึกษาจานวน 108 คน และครูจานวน 216 คน รวมจานวนท้ังส้ิน 324 คน แยกพจิ ารณาตาม เพศ อายุ ระดับการศึกษา และประสบการณท์ างานของผ้ตู อบแบบสอบถามดัง รายละเอยี ดในตารางท่ี 3 ตารางท่ี 3 สถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม (n=324) ข้อท่ี สถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม จานวน (คน) รอ้ ยละ ลาดับ 1 เพศ 1.ชาย 134 41.36 2 2. หญงิ 190 58.64 1 รวม 324 100.00 2 อายุ 1.น้อยกวา่ 30 ปี 140 43.21 1 2. 30-40 ปี 115 35.49 2 3. 41-50 ปี 48 14.81 3 4. มากกวา่ 50 ปี 21 6.48 4 รวม 324 100.00 3 ระดบั การศกึ ษา 1. ปรญิ ญาตรี 203 62.65 1 2. ปริญญาโท 116 35.80 2 3. ปริญญาเอก 5 1.54 3 รวม 324 100.00 4 ประสบการณท์ างาน 1.นอ้ ยกว่า 5 ปี 110 33.95 2 2. 5–10 ปี 163 50.31 1 3. 11-15 ปี 24 7.41 4 4. มากกว่า 15 ปี 27 8.33 3 รวม 324 100.00

57 จากตารางที่ 3 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงจานวน 190 คน คิดเป็น รอ้ ยละ 58.64 เปน็ เพศชายจานวน 134 คนคดิ เป็นร้อยละ 41.36 ซ่ึงผู้ตอบสอบถามเป็นผู้ทีม่ ีน้อยกว่า 30 ปีมากท่สี ุดจานวน 140 คน คดิ เป็นร้อยละ 43.21 รองลงมาคอื อายุ 30-40 ปี จานวน 115 คน คิด เปน็ ร้อยละ 35.49 อายุ 41-50 ปี จานวน 48 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 14.81 และเป็นผทู้ ีม่ อี ายุมากกวา่ 50 ปี จานวน 21 คน คิดเป็นร้อยละ 6.48 ตามลาดับ ส่วนระดับการศึกษาพบว่าผู้ตอบแบบสอบถามจบ การศึกษาระดับปริญญาตรีมากท่ีสุดจานวน 203 คน คิดเป็นร้อยละ 62.65รองลงมาคือจบการศึกษา ระดับปริญญาโท จานวน 116 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 35.80 และจบการศึกษาปริญญาเอก จานวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 1.54 ตามลาดับ และประสบการณ์ทางานของผู้ตอบแบบสอบถามมีประสบการณ์ ทางาน 5-10 ปีมากท่ีสุด จานวน 163 คน คิดเป็นร้อยละ 50.31 รองลงมาคือประสบการณ์ทางาน นอ้ ยกว่า 5 ปี จานวน 110 คน คิดเป็นร้อยละ 33.95 ประสบการณ์ทางานมากกว่า 15 ปี จานวน 27 คน คิดเป็นร้อยละ 8.33 และประสบการณ์ทางาน 11-15 ปี จานวน 24 คน คิดเป็นร้อยละ 7.41 ตามลาดบั ตอนท่ี 2 ภาวะผนู้ าการเปลย่ี นแปลงของผบู้ รหิ าร สงั กดั สานกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษา ราชบรุ ี เขต 2 ในการวเิ คราะห์ภาวะผู้นาการเปลีย่ นแปลงของผู้บริหาร สังกดั สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา ประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 ผู้วิจยั วเิ คราะห์โดยใช้ค่าเฉลย่ี (X̅) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) จากกลุ่มตัวอย่างของโรงเรียน 108 แห่ง แลว้ นาไปเปรยี บเทียบกับเกณฑ์ตามแนวคิดของบุญชม ศรสี ะอาด ทก่ี าหนดไว้ ตารางท่ี 4 คา่ เฉลยี่ ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐานภาวะผูน้ าการเปล่ียนแปลงของผบู้ รหิ ารในสังกัดสานกั งาน เขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 โดยภาพรวม (n = 108) ภาวะผนู้ าการเปลยี่ นแปลง X̅ S.D. คา่ ระดบั ลาดับ 1. การมอี ิทธิพลอย่างมอี ุดมการณ์ (X1) 4.30 0.83 มาก 2 มาก 1 2. การสร้างแรงบนั ดาลใจ (X2) 4.32 0.70 มาก 4 มาก 3 3. การกระตุ้นทางปญั ญา (X3) 4.25 0.71 มาก 4. การคานงึ ถึงการเป็นปัจเจกบุคคล (X4) 4.28 0.73 รวม (Xtot) 4.29 0.72

58 จากตารางที่ 4 พบว่า ภาวะผู้นาการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก (X̅= 4.29, S.D. = 0.72) เมื่อ พิจารณารายด้านพบว่าภาวะผู้นาการเปล่ียนแปลงของผู้บริหาร สังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา ประถมศกึ ษาราชบรุ ี เขต 2 อยใู่ นระดบั มากทกุ ด้านโดยเรยี งลาดับค่าเฉล่ยี จากมากไปน้อยได้ดงั นี้ การ สร้างแรงบันดาลใจ มีค่าเฉล่ียมากท่ีสุด (X̅= 4.32, S.D. = 0.70) รองลงมาคือการมีอิทธิพลอย่างมี อดุ มการณ์ (X̅= 4.30, S.D. = 0.83) การคานึงถึงการเปน็ ปัจเจกบคุ คล (X̅= 4.28, S.D. = 0.73) และ การกระตนุ้ ทางปัญญา (X̅= 4.25, S.D. = 0.71) ตามลาดบั ตารางที่ 5 ค่าเฉล่ีย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานภาวะผู้นาการเปลี่ยนแปลงของผบู้ ริหารในสังกัดสานกั งาน เขตพ้นื ท่กี ารศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 ดา้ นการมอี ทิ ธพิ ลอยา่ งมีอดุ มการณ์ (n = 108) การมีอทิ ธพิ ลอยา่ งมอี ดุ มการณ์ X̅ S.D. คา่ ระดบั ลาดบั 1. ผู้บริหารประพฤติตนเป็นแบบอย่างท่ีดี และเปน็ ที่ยอมรบั แก่บคุ ลากร 4.29 0.94 มาก 2 2. ผูบ้ ริหารประพฤติตนเปน็ ทเ่ี คารพ ยกย่อง น่านับถือ ไววางใจและทาให้บุคลากรเกิด ความภาคภมู ใิ จ เมื่อไดร่วมงานกัน 4.25 0.89 มาก 3 3. ผู้บริหารมีวิสัยทัศน์ มีความคิดริเร่ิม สร้างสรรค์ และถ่ายทอดความคิดไปสู่ บุคลากร 4.29 0.90 มาก 2 4. ผู้บริหารมีศีลธรรมและมีจริยธรรมสูง ประพฤตติ นเพื่อให้เกิดประโยชนแกส่วนรวม ห ลี ก เ ล่ี ย ง ก า ร ใ ช้ อ า น า จ เ พ่ื อ ป ร ะ โ ย ช น์ ส่วนตน 4.35 0.96 มาก 1 5. ผู้บริหารมีความตั้งใจ เช่ือม่ันในตนเอง แน่วแน่ในอุดมการณ สร้างมาตรฐานการ ปฏิบัติงานของตนเองและกาหนดแบบอย่าง การปฏิบตั ิงานให้แกบ่ ุคลากร 4.29 0.86 มาก 2 รวม 4.29 0.83 มาก

59 จากตารางที่ 5 พบว่า ภาวะผู้นาการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่ การศกึ ษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 ด้านการมีอิทธิพลอยา่ งมอี ุดมการณ์อยู่ในระดับมาก (X̅= 4.29, S.D. = 0.83) และเม่ือพิจารณาในรายข้อพบว่าภาวะผู้นาการเปล่ียนแปลงของผู้บริหาร อยู่ในระดับ มากท้ังหมด โดยเรียงลาดับค่าเฉล่ียจากมากไปน้อยได้ดังน้ี ผู้บริหารมีศีลธรรมและมีจริยธรรมสูง ประพฤติตนเพื่อให้เกิดประโยชนแกส่วนรวม หลีกเล่ียงการใช้อานาจเพ่ือประโยชน์ส่วนตนมีค่าเฉล่ีย มากท่ีสุด (X̅= 4.35, S.D. = 0.96) รองลงมาคือผู้บริหารมีความต้ังใจ เชื่อมั่นในตนเอง แน่วแน่ใน อุดมการณ สร้างมาตรฐานการปฏิบัติงานของตนเองและกาหนดแบบอย่างการปฏิบัติงานให้แก่ บุคลากร (X̅= 4.29, S.D. = 0.86) ผู้บริหารประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดีและเป็นที่ยอมรับแก่ บคุ ลากรผบู้ ริหารมีวสิ ยั ทศั น์ มีความคดิ ริเร่ิมสรา้ งสรรค์ และถ่ายทอดความคดิ ไปสู่บคุ ลากร (X̅= 4.29, S.D. = 0.94) ผบู้ รหิ ารมวี ิสัยทัศน์ มีความคิดริเร่ิมสรา้ งสรรค์ และถ่ายทอดความคิดไปสบู่ ุคลากร (X̅= 4.29, S.D. = 0.90) และผู้บริหารประพฤติตนเป็นท่ีเคารพ ยกย่อง น่านับถือ ไววางใจและทาให้ บุคลากรเกิดความภาคภมู ิใจ เมอ่ื ไดร่วมงานกนั (X̅= 4.25, S.D. = 0.89) ตามลาดับ ตารางท่ี 6 ค่าเฉลยี่ สว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐานภาวะผูน้ าการเปล่ียนแปลงของผู้บริหารในสังกัดสานกั งาน เขตพื้นทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาราชบุรี เขต 2 ด้านการสร้างแรงบันดาลใจ (n = 108) การสรา้ งแรงบนั ดาลใจ X̅ S.D. ค่าระดบั ลาดบั 1. ผูบ้ ริหารกระตุ้นแรงจูงใจของบุคลากรให้เห็น ความสาคญั ของการมสี ว่ นรว่ มในการปฏิบัติงาน 4.28 0.73 มาก 4 2. ผ้บู ริหารสรา้ งเจตคติท่ดี ีและการคิดในแง่บวก แกบ่ ุคลากร 4.22 0.86 มาก 5 3. ผู้บริหารเปิดโอกาสให้บุคลากรมีส่วนร่วมใน ก า ร ก า ห น ด วิ สั ย ทั ศ น์ แ ล ะ ภ า ร กิ จ ข อ ง สถานศกึ ษา 4.45 0.71 มาก 1 4. ผู้บริหารแสดงความเชื่อม่ันว่าผู้ร่วมงาน สามารถทางานได้บรรลุตามเป้าหมาย 4.29 0.82 มาก 3 5. ผู้บริหารสร้างและส่งเสริมให้บุลากรอุทิศตน ในการทางานเพ่ือพัฒนาองค์กรให้มีประสิทธิผล ร่วมกนั 4.35 0.82 มาก 2 รวม 4.32 0.70 มาก

60 จากตารางที่ 6 พบว่า ภาวะผู้นาการเปล่ียนแปลงของผู้บริหารในสังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ี การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 ด้านการสรา้ งแรงบันดาลใจอยูใ่ นระดับมาก (X̅= 4.32, S.D. = 0.70) และเม่ือพิจารณาในรายข้อพบว่าภาวะผู้นาการเปล่ียนแปลงของผู้บริหารด้านการสร้างแรง บันดาลใจอยู่ในระดับมากท้ังหมด โดยเรียงลาดับค่าเฉลี่ยจากมากไปน้อยได้ดังน้ี ผู้บริหารเปิดโอกาส ให้บุคลากรมีส่วนร่วมในการกาหนดวิสัยทัศน์และภารกิจของสถานศึกษาได้มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด (X̅= 4.45, S.D. = 0.71) รองลงมาคือผ้บู ริหารสร้างและส่งเสริมให้บุลากรอุทิศตนในการทางานเพอื่ พฒั นา องค์กรให้มีประสิทธิผลร่วมกัน (X̅= 4.35, S.D. = 0.82) ผู้บริหารแสดงความเช่ือมั่นว่าผู้ร่วมงาน สามารถทางานไดบ้ รรลุตามเป้าหมาย (X̅= 4.29, S.D. = 0.82) ผู้บรหิ ารกระตนุ้ แรงจงู ใจของบุคลากร ให้เห็นความสาคัญของการมีส่วนร่วมในการปฏิบัติงาน (X̅= 4.28, S.D. = 0.73) และผู้บริหารสร้าง เจตคติท่ีดแี ละการคดิ ในแงบ่ วกแกบ่ คุ ลากร (X̅= 4.22, S.D. = 0.86) ตามลาดบั ตารางท่ี 7 ค่าเฉล่ีย ส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐาน ภาวะผูน้ าการเปลยี่ นแปลงของผูบ้ ริหารในสังกดั สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 ดา้ นการกระตนุ้ ทางปญั ญา (n = 108) การกระตนุ้ ทางปญั ญา X̅ S.D. ค่าระดบั ลาดับ 1. ผู้บริหารกระตุ้นบุคลากรให้ตระหนักถึง ปัญหา คิดและแก้ปัญหาต่าง ๆ ท่ีเกิดข้ึนภายใน โรงเรยี นอย่างเปน็ ระบบ 4.30 0.63 มาก 2 2. ผู้บริหารส่งเสริมให้บุคลากรการมองปัญหา ด้วยวิถีทางแบบใหม่ ๆ คิดแก้ปัญหาต่าง ๆ โดย อาศัยขอ้ มูลและหลักฐานต่าง ๆ อยา่ งมเี หตุผล 4.19 0.81 มาก 5 3. ผู้บริหารจูงใจและสนับสนุนให้บุคลากรคิด ริเริ่มแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรคด์ ว้ ยวธิ ีการ ใหม่ ๆ 4.24 0.78 มาก 3 4. ผู้บริหารกระตุ้นให้ผู้ตามแสดงความคิดอย่าง มเี หตุผล และยอมรบั ฟังความคิดเห็นของผ้อู ืน่ 4.21 0.90 มาก 4 5. ผู้บริหารสร้างความเชื่อมั่นให้บุคลากรเห็นว่า ปญั หาทกุ อย่างตอ้ งมีวิธีแก้ไข 4.34 0.88 มาก 1 รวม 4.25 0.71 มาก

61 จากตารางที่ 7 พบว่า ภาวะผู้นาการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารในสังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่ การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 ด้านการกระตุ้นทางปัญญาอยู่ในระดับมาก (X̅= 4.25, S.D. = 0.71) และเมื่อพิจารณาในรายข้อพบว่าภาวะผู้นาการเปล่ียนแปลงของผู้บริหาร ด้านการกระตุ้นทาง ปัญญาอยู่ในระดับมากทั้งหมด โดยเรียงลาดับค่าเฉล่ียจากมากไปน้อยได้ดังน้ี ผู้บริหารสร้างความ เชื่อม่ันให้บุคลากรเห็นว่าปัญหาทุกอย่างต้องมีวิธีแก้ไขมีค่าเฉลี่ยมากที่สุด (X̅= 4.34, S.D. = 0.80) รองลงมาคือผู้บริหารกระตุ้นบุคลากรให้ตระหนักถึงปัญหา คิดและแก้ปัญหาต่าง ๆ ท่ีเกิดข้ึนภายใน โรงเรียนอย่างเป็นระบบ (X̅= 4.30, S.D. = 0.63) ผู้บริหารจูงใจและสนับสนุนให้บุคลากรคิดริเร่ิม แก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ด้วยวิธีการใหม่ ๆ (X̅= 4.24, S.D. = 0.78) ผู้บริหารกระตุ้นให้ผู้ตามแสดง ความคิดอย่างมีเหตุผล และยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น (X̅= 4.21, S.D. = 0.90) และผู้บริหาร ส่งเสริมให้บุคลากรการมองปัญหาด้วยวิถีทางแบบใหม่ ๆ คิดแก้ปัญหาต่าง ๆ โดยอาศัยข้อมูลและ หลักฐานต่าง ๆ อยา่ งมีเหตผุ ล (X̅= 4.19, S.D. = 0.81) ตามลาดับ ตารางท่ี 8 ค่าเฉลยี่ ส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐานภาวะผู้นาการเปล่ยี นแปลงของผบู้ ริหารในสังกัดสานกั งาน เขตพื้นท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 ด้านการคานงึ ถงึ ความเป็นปจั เจกบุคคล (n = 108) การคานงึ ถงึ ความเปน็ ปจั เจกบุคคล X̅ S.D. คา่ ระดบั ลาดบั 1. ผู้บริหารดูแลเอาใจใส่บุคลากรเป็นรายบุคคล ทาใหค้ รรู สู้ ึกมีคณุ คา่ 4.22 0.85 มาก 4 2. ผู้บริหารเป็นโค้ช (coach) และเป็นที่ปรึกษา (advisor) ท่ดี ใี ห้แกบ่ ุคลากร 4.18 0.95 มาก 5 3. ผู้บริหารส่งเสริมพัฒนาศักยภาพของบุคลากร ใหส้ งู ขนึ้ โดยการใหโ้ อกาสในการเรยี นรสู้ ่งิ ใหม่ ๆ 4.38 0.75 มาก 1 4. ผู้บริหารมอบหมายงานเพื่อเป็นเคร่ืองมือใน ก า ร พั ฒ น า ข อ ง บุ ค ล า ก ร โ ด ย ค า นึ ง ถึ ง ค ว า ม แตกต่าง ความรู้ ความสามารถ และความ เหมาะสมเปน็ รายบคุ คล 4.30 0.72 มาก 3 5. ผูบ้ ริหารดูแล สนับสนุน ชว่ ยเหลอื บุคลากรใน การทางานท่ีรับผิดชอบโดยบุคลากรไม่รู้สึกตัวว่า กาลงั ถูกตรวจสอบ 4.31 0.84 มาก 2 รวม 4.28 0.73 มาก

62 จากตารางท่ี 8 พบว่า ภาวะผู้นาการเปล่ียนแปลงของผู้บริหารในสังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ี การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 ด้านการคานึงถึงความเป็นปัจเจกบุคคลอยู่ในระดับมาก (X̅= 4.28, S.D. = 0.73) และเม่ือพิจารณาในรายข้อพบว่าภาวะผนู้ าการเปลี่ยนแปลงของผ้บู ริหารด้านการ คานึงถึงความเป็นปัจเจกบคุ คลอยู่ในระดับมากทั้งหมด โดยเรียงลาดับค่าเฉลี่ยจากมากไปน้อยไดด้ ังนี้ ผู้บริหารส่งเสริมพัฒนาศักยภาพของบุคลากรให้สูงขึ้น โดยการให้โอกาสในการเรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ (X̅= 4.38, S.D. = 0.75) รองลงมาคือผู้บริหารดูแล สนับสนุน ช่วยเหลือ บุคลากรในการทางานท่ี รับผิดชอบโดยบุคลากรไม่รู้สึกตัวว่ากาลังถูกตรวจสอบ (X̅= 4.31, S.D. = 0.84) ผู้บริหารมอบหมาย งานเพื่อเป็นเครอื่ งมือในการพัฒนาของบุคลากรโดยคานงึ ถงึ ความแตกต่าง ความรู้ ความสามารถ และ ความเหมาะสมเป็นรายบคุ คล (X̅= 4.30, S.D. = 0.72) ผู้บริหารดูแลเอาใจใส่บคุ ลากรเป็นรายบุคคล ทาให้ครูรู้สึกมีคุณค่า (X̅= 4.22, S.D. = 0.85) และผู้บริหารเป็นโค้ช (coach) และเป็นที่ปรึกษา (advisor) ท่ีดใี หแ้ กบ่ ุคลากร (X̅= 4.18, S.D. = 0.95) ตามลาดบั ตอนที่ 3 ประสทิ ธผิ ลของสถานศกึ ษา สงั กดั สานกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาราชบรุ ี เขต 2 ในการวิเคราะห์ประสิทธิผลของสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาราชบรุ ี เขต 2 ผวู้ ิจัยวเิ คราะห์โดยใชค้ ่าเฉลย่ี (X̅) และส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน (S.D.) จาก กลุ่มตัวอย่างโรงเรียน 108 แห่ง แล้วนาไปเปรียบเทยี บกับเกณฑ์ตามแนวคิดของบุญชม ศรีสะอาด ท่ี กาหนดไว้ ตารางท่ี 9 คา่ เฉลีย่ ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐานประสทิ ธิผลของสถานศกึ ษาในสังกัดสานกั งานเขตพื้นท่ี การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 โดยภาพรวม (n = 108) ประสทิ ธผิ ลของสถานศกึ ษา X̅ S.D. ค่าระดบั ลาดบั 1. ความสามารถในการผลิตนักเรยี นใหม้ ี ผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นสูงขึน้ (Y1) 4.24 0.52 มาก 4 2. ความสามารถในการพัฒนาเจตคติ ทางบวกของนักเรยี น (Y2) 4.32 0.63 มาก 2 3. ความสามารถในการปรบั ตัว (Y3) 4.36 0.65 มาก 1 4. ความสามารถในการแก้ปัญหา (Y4) 4.29 0.65 มาก 3 4.30 0.55 มาก รวม (Ytot)

63 จากตารางที่ 9 พบว่า ประสิทธิผลของสถานศึกษาในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก (X̅= 4.30, S.D. = 0.55) เม่ือพิจารณาราย ดา้ นพบว่าประสิทธิผลของสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศกึ ษาราชบรุ ี เขต 2 อย่ใู นระดับมากทุกด้านโดยเรียงลาดบั ค่าเฉล่ียจากมากไปน้อยไดด้ งั นี้ความสามารถในการปรบั ตัว (X̅= 4.29, S.D. = 0.65) รองลงมาคือความสามารถในการพัฒนาเจตคติทางบวกของนักเรียน (X̅= 4.32, S.D. = 0.63) ความสามารถในการแก้ปัญหา มีค่าเฉลี่ยมากท่ีสุด (X̅= 4.36, S.D. = 0.65) และการ ความสามารถในการผลิตนักเรียนให้มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น (X̅= 4.24, S.D. = 0.52) ตามลาดับ ตารางท่ี 10 ค่าเฉลี่ย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานประสิทธิผลของสถานศึกษาในสังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่ การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 ด้านความสามารถในการผลิตนักเรียนท่ีมี ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนสงู (n = 108) ความสามารถในการผลติ นกั เรยี นทม่ี ผี ลสมั ฤทธิ์ X̅ S.D. คา่ ลาดบั ทางการเรยี นสงู ระดบั 1. นักเรียนมีคุณภาพ มีคุณลักษณะเป็นคนดี คนเก่ง และมีความสุขตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพ้ืนฐานท่ี กาหนด 4.32 0.60 มาก 1 2. นักเรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนโดยเฉล่ียพัฒนา อย่ใู นระดับที่สงู ข้นึ ตามเกณฑก์ ารประเมนิ ของ สมศ. 4.16 0.63 มาก 3 3. นกั เรียนท่ีสาเร็จการศึกษาสามารถเข้ารับการศึกษา ในสถานบนั การศกึ ษาชน้ั สูงได้ตามเปา้ หมายทกี่ าหนด 4.32 0.60 มาก 1 4. นักเรยี นมคี วามรู้ความสามารถ มที ักษะทางวิชาการ ไดร้ บั รางวลั จากการเข้ารว่ มประกวดและแข่งขันตา่ ง ๆ 4.14 0.65 มาก 4 5. นกั เรียนมีเจตคติ คา่ นิยม และคุณธรรมต่าง ๆ ที่พึง ประสงค์ รู้เท่าทันต่อเหตุการณ์และการเปลี่ยนแปลง ทางสงั คมสามารถดารงชวี ิตอยไู่ ด้อย่างมีความสขุ 4.27 0.74 มาก 2 รวม 4.24 0.52 มาก

64 จากตารางที่ 10 พบว่า ประสิทธิผลของสถานศึกษาในสังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ประถมศึกษาราชบรุ ี เขต 2 ด้านความสามารถในการผลิตนักเรียนทีม่ ผี ลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนสูงอยใู่ น ระดับมาก (X̅= 4.20, S.D. = 0.52) และเม่ือพิจารณาในรายข้อพบว่าประสิทธิผลของสถานศึกษา ด้านความสามารถในการผลิตนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงอยู่ในระดับมากท้ังหมด โดย เรียงลาดับค่าเฉลี่ยจากมากไปนอ้ ยได้ดังนี้ นกั เรียนทส่ี าเร็จการศกึ ษาสามารถเข้ารบั การศึกษาในสถาน บันการศึกษาช้ันสูงได้ตามเป้าหมายท่ีกาหนด และ นักเรียนมีคุณภาพ มีคุณลักษณะเป็นคนดี คนเก่ง และมีความสุขตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานท่ีกาหนด มีค่าเฉลี่ยมากท่ีสุด (X̅= 4.32, S.D. = 0.60) รองลงมาคือนักเรียนมีเจตคติ ค่านิยม และคุณธรรมต่าง ๆ ท่ีพึงประสงค์ รู้เท่าทันต่อ เหตุการณ์และการเปลี่ยนแปลงทางสังคมสามารถดารงชีวิตอยู่ได้อย่างมีความสุข (X̅= 4.27, S.D. = 0.74) นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยเฉลี่ยพัฒนาอยู่ในระดับที่สูงขึ้นตามเกณฑ์การประเมิน ของ สมศ. (X̅= 4.16, S.D. = 0.63) และนักเรียนมีความรู้ความสามารถ มีทักษะทางวิชาการ ได้รับ รางวลั จากการเข้าร่วมประกวดและแข่งขนั ต่าง ๆ (X̅= 4.14, S.D. = 0.65) ตามลาดับ ตารางที่ 11 ค่าเฉล่ีย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานประสิทธิผลของสถานศึกษาในสังกัดสานักงานเขตพื้นท่ี การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 ด้านความสามารถในการพัฒนานักเรียนให้ มที ศั นคติทางบวก (n = 108) ความสามารถในการพฒั นานกั เรยี นใหม้ ที ศั นคตทิ างบวก X̅ S.D. ค่า ลาดบั ระดบั 1. นกั เรียนมีพฤติกรรมทแี่ สดงออกในทางท่ดี งี าม ปฏิบตั ิ ตามกฎระเบยี บของโรงเรยี น 4.24 0.81 มาก 5 2. นกั เรียนมคี วามสมบูรณแ์ ข็งแรง พัฒนาสว่ นตา่ ง ๆ อยา่ งเหมาะสมกบั วยั 4.44 0.69 มาก 1 3. นกั เรยี นมีความใฝร่ ูใ้ ฝ่เรียน รูจ้ ักคิดวิเคราะห์อยา่ งมี เหตุผลและมี ความคิดสร้างสรรค์ 4.25 0.74 มาก 4 4. นักเรยี นสามารถนาความรู้ความสามารถและทักษะอนั จาเปน็ ไปใช้ในการ ดารงชวี ิตในสังคมได้อย่างเปน็ สุข 4.33 0.61 มาก 3 5. นักเรยี นรจู้ กั การใช้เหตุผล มีวนิ ยั มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม อย่างเหมาะสม และดีงาม 4.36 0.73 มาก 2 รวม 4.32 0.63 มาก

65 จากตารางท่ี 11 พบว่า ประสิทธิผลของสถานศึกษาในสังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 ดา้ นความสามารถในการพัฒนานักเรียนให้มีทัศนคตทิ างบวกอยู่ในระดับ มาก (X̅= 4.32, S.D. = 0.63) และเม่ือพิจารณาในรายข้อพบว่าประสิทธิผลของสถานศึกษาด้าน ความสามารถในการพัฒนานักเรียนให้มีทัศนคติทางบวกอยู่ในระดับมากทั้งหมด โดยเรียงลาดับ คา่ เฉลี่ยจากมากไปน้อยได้ดังนี้ นกั เรยี นมคี วามสมบูรณแ์ ข็งแรง พัฒนาสว่ นตา่ ง ๆ อย่างเหมาะสมกับ วัยมีค่าเฉลี่ยมากท่ีสุด (X̅= 4.44, S.D. = 0.69) รองลงมาคือนักเรียนรู้จักการใช้เหตุผล มีวินัย มี คุณธรรม จริยธรรมอย่างเหมาะสม และดีงาม (X̅= 4.36, S.D. = 0.73) นักเรียนสามารถนาความรู้ ความสามารถและทักษะอันจาเป็นไปใช้ในการดารงชีวิตในสังคมได้อย่างเป็นสุข (X̅= 4.33, S.D. = 0.61) นักเรียนมีความใฝ่รู้ใฝ่เรียน รู้จักคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผลและมี ความคิดสร้างสรรค์ (X̅= 4.25, S.D. = 0.74) และนักเรียนมีพฤติกรรมที่แสดงออกในทางท่ีดีงาม ปฏิบัติตามกฎระเบียบ ของโรงเรยี น (X̅= 4.24, S.D. = 0.81) ตามลาดับ ตารางท่ี 12 ค่าเฉล่ีย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานประสิทธิผลของสถานศึกษาในสังกัดสานักงานเขตพื้นท่ี การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 ด้านความสามารถในการปรับเปล่ียนและพัฒนา โรงเรยี น (n = 108) ความสามารถในการปรบั เปลยี่ นและพฒั นาโรงเรยี น X̅ S.D. คา่ ระดบั ลาดบั 1. โรงเรยี นมีการพฒั นา ปรบั ปรงุ วธิ ีการดาเนนิ งานในทุก ๆ ด้านตามวสิ ัยทัศน์ พนั ธกิจ และเป้าประสงค์ 4.31 0.69 มาก 3 2. โรงเรียนมีการพัฒนา ปรับปรุง ในด้านต่าง ๆ ให้มีความ ค ล่ อ ง ตั ว ต่ อ ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น โ ด ย ก า ร ใ ช้ เ ท ค โ น โ ล ยี แ ล ะ นวัตกรรมใหม่ ๆ 4.27 0.80 มาก 4 3. โรงเรยี นมีการสรา้ งสรรค์ส่งิ ใหม่ ๆ อยู่เสมอ เช่น พฒั นา อาคารเรียน สภาพแวดล้อม ภูมิทัศน์ ให้สะอาด สวยงาม เอ้อื ตอ่ การเรียนรู้ของนักเรยี น 4.41 0.71 มาก 1 4. โรงเรียนมีการจัดการเรียนการสอนโดยนาเทคนิค วิธีการสอนใหม่ ๆ มาใช้ตามความเหมาะสม 4.40 0.62 มาก 2 5. โรงเรียนสร้างกระบวนการและวิธีการเรียนรู้ให้กับ นกั เรียน ท้ังเนอ้ื หาวชิ าการ และคุณธรรมจรยิ ธรรม 4.40 0.68 มาก 2 รวม 4.36 0.65 มาก

66 จากตารางที่ 12 พบว่า ประสิทธิผลของสถานศึกษาในสังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 ด้านความสามารถในการปรับเปลี่ยนและพัฒนาโรงเรียนอยู่ในระดับมาก (X̅= 4.36, S.D. = 0.65) และเมื่อพิจารณาในรายข้อพบว่าประสิทธิผลของสถานศึกษา ด้าน ความสามารถในการปรับเปลี่ยนและพัฒนาโรงเรียนอยู่ในระดับมากท้ังหมดโดยเรียงลาดับค่าเฉล่ีย จากมากไปน้อยได้ดังน้ี โรงเรียนมีการสร้างสรรค์สิ่งใหม่ ๆ อยู่เสมอ เช่น พัฒนาอาคารเรียน สภาพแวดล้อม ภูมิทัศน์ ให้สะอาด สวยงาม เอื้อต่อการเรียนรู้ของนักเรียนมีค่าเฉล่ียมากท่ีสุด (X̅= 4.41, S.D. = 0.71) รองลงมาคอื โรงเรียนสร้างกระบวนการและวิธีการเรียนรู้ให้กับนักเรียน ท้ัง เนื้อหาวิชาการ และคุณธรรมจริยธรรม (X̅= 4.40, S.D. = 0.68) โรงเรียนสร้างกระบวนการและ วิธีการเรียนรู้ให้กับนักเรียน ท้ังเน้ือหาวิชาการ และคุณธรรมจริยธรรม (X̅= 4.40, S.D. = 0.62) โรงเรียนมีการพัฒนา ปรับปรุงวิธีการดาเนินงานในทุกๆด้านตามวิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้าประสงค์ (X̅= 4.31, S.D. = 0.69) และโรงเรยี นมกี ารพัฒนา ปรบั ปรุง ในด้านต่าง ๆ ให้มีความคล่องตัวต่อการ ปฏบิ ตั งิ านโดยการใช้เทคโนโลยแี ละนวัตกรรมใหม่ ๆ (X̅= 4.27, S.D. = 0.80) ตามลาดับ ตารางท่ี 13 ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานประสิทธิผลของสถานศึกษาในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศกึ ษาราชบรุ ี เขต 2 ดา้ นความสามารถในการแก้ปัญหาภายในโรงเรยี น (n = 108) ความสามารถในการแกป้ ญั หาภายใน X̅ S.D. คา่ ระดบั ลาดับ โรงเรียน 1. โรงเรียนมีการกาหนดรูปแบบการ บ ริ ห า ร ง า น ภ า ย ใ น ส ถ า น ศึ ก ษ า ไ ด้ อ ย่ า ง เหมาะสมและชดั เจน 4.27 0.67 มาก 4 2. โรงเรียนมีการร่วมกันวางแผนแก้ปัญหาท่ี เกดิ ขนึ้ 4.35 0.63 มาก 1 3. โรงเรียนร่วมกันแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง ทีเ่ กดิ ข้ึนได้อย่างเรยี บร้อย 4.23 0.85 มาก 5 4. โรงเรียนแก้ปัญหาดา้ นความประพฤตขิ อง นักเรยี นให้เป็นไปด้วยความเรียบรอ้ ย 4.29 0.76 มาก 3 5. โรงเรียนแก้ปัญหาด้านการเรียนการสอน อยา่ งสม่าเสมอ 4.30 0.76 มาก 2 รวม 4.29 0.65 มาก

67 จากตารางท่ี 13 พบว่า ประสิทธิผลของสถานศึกษาในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาราชบรุ ี เขต 2 ดา้ นความสามารถในการแกป้ ญั หาภายในโรงเรยี นอยใู่ นระดับมาก (X̅= 4.29, S.D. = 0.65) และเมื่อพิจารณาในรายข้อพบว่าอยู่ในระดับมากท้ังหมด โดยเรียงลาดับค่าเฉล่ีย จากมากไปน้อยได้ดังนี้ โรงเรียนมีการร่วมกันวางแผนแก้ปัญหาทเ่ี กิดข้ึนมีคา่ เฉลย่ี มากทีส่ ุด (X̅= 4.35, S.D. = 0.63) รองลงมาคือโรงเรียนแก้ปัญหาด้านการเรียนการสอนอย่างสม่าเสมอ (X̅= 4.30, S.D. = 0.76) โรงเรียนแก้ปัญหาด้านความประพฤติของนักเรียนให้เป็นไปด้วยความเรียบร้อย (X̅= 4.29, S.D. = 0.76) โรงเรยี นมกี ารกาหนดรูปแบบการบริหารงานภายในสถานศึกษาได้อย่างเหมาะสม และชัดเจน(X̅= 4.27, S.D. = 0.67) และโรงเรียนร่วมกันแก้ไขปัญหาความขัดแย้งท่ีเกิดข้ึนได้อย่าง เรยี บร้อย (X̅= 4.23, S.D. = 0.85) ตามลาดับ ตอนที่ 4 ความสมั พันธร์ ะหวา่ งภาวะผนู้ าการเปลยี่ นแปลงของผบู้ รหิ ารกบั ประสทิ ธผิ ลของสถานศกึ ษา ในสงั กัดสานักงานเขตพื้นท่กี ารศึกษาประถมศึกษาราชบรุ ี เขต 2 ในการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นาการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารกับประสิทธิ ผลของสถานศึกษาในสังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 ผู้วิจัยใช้การ วิเคราะห์หาค่าสัมประสิทธ์ิสหสัมพันธ์ของเพียร์สัน (Pearson’s product moment correlation coefficient) ดังมรี ายละเอยี ดในตารางที่ 14

68 ตารางที่ 14 ความสัมพนั ธร์ ะหว่างภาวะผนู้ าการเปลย่ี นแปลงของผู้บรหิ ารสถานศกึ ษากบั ประสทิ ธผิ ล ของสถานศกึ ษาในสงั กดั สานักงานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 ภาวะผนู้ าการ การมอี ทิ ธพิ ล การสรา้ งแรง การกระตนุ้ การคานงึ ถงึ รวม เปลย่ี นแปลง อยา่ งมี บนั ดาลใจ (X2) ทางปญั ญา การเปน็ (Xtot) อดุ มการณ์ (X1) (X3) ปจั เจกบคุ คล 0.496** (X4) ประสทิ ธผิ ลของ 0.430** 0.499** 0.517** สถานศกึ ษา 0.487** ความสามารถในการ ผลิตนักเรยี นใหม้ ี ผลสัมฤทธิท์ างการ เรยี นสูงขึน้ (Y1) ความสามารถในการ พัฒนาเจตคตทิ างบวก ของนักเรยี น (Y2) 0.611** 0.618** 0.643** 0.644** 0.649** ความสามารถในการ 0.578** 0.613** 0.607** ปรับตวั (Y3) 0.600** 0.559** 0.666** 0.687** 0.609** 0.668** 0.678** 0.680** ความสามารถในการ แกป้ ญั หา (Y4) 0.674** 0.642** รวม (Ytot) 0.647** 0.644** ** มีความสัมพันธอ์ ยา่ งมีนัยสาคญั ทางสถติ ทิ ีร่ ะดบั .01 *มคี วามสมั พนั ธ์อย่างมนี ัยสาคญั ทางสถิติทรี่ ะดับ .05 จากตารางที่ 14 พบว่า ภาวะผู้นาการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารกับประสิทธิผลของ สถานศึกษาในสังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 โดยรวมมีความสัมพันธ์ ต่อกนั ทางบวกในระดับสูงอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดบั .01 (r = .680) เมือ่ พิจารณารายค่พู บว่ามี ความสัมพันธ์กันในทางบวกทุกคู่ โดยที่การคานึงถึงการเป็นปัจเจกบุคคลกับประสิทธิผลของ สถานศึกษามีความสัมพันธ์กันอยู่ในลาดับสูงที่สุด (r = .678) และการสร้างแรงบันดาลใจกับ ประสิทธผิ ลของสถานศึกษามคี วามสัมพันธ์กนั อยู่ในลาดบั ตา่ ท่สี ุด (r = .644)

บทที่ 5 สรปุ อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ การวิจัยคร้งั นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาภาวะผู้นาการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหาร ประสิทธิผล ของสถานศึกษาในสังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 และความสัมพันธ์ ระหว่างภาวะผูน้ าการเปล่ียนแปลงของผู้บรหิ ารกับประสิทธิผลของสถานศึกษาในสงั กัดสานักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 กลุ่มตัวอย่าง คือ โรงเรียนในสังกัดสานักงานเขตพื้นท่ี การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 จานวน 108 โรงเรียน โดยจาแนกเป็น ผู้บริหารสถานศึกษา จานวน 108 คน และครูจานวน 216 คน รวมจานวนทั้งสิ้น 324 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็น แบบสอบถามเก่ียวกบั ภาวะผู้นาการเปล่ียนแปลงตามแนวคิดของ บาส และ อโวลิโอ (Bass & Avolio, 1991, 3-4) และแบบสอบถามเกี่ยวกับประสิทธิผลของสถานศึกษาแนวคิดมอท (Mott, 1972, 97) สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถ่ี ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่า สหสัมพันธข์ องเพียรส์ ัน สรปุ ผลการวจิ ัย 1. ภาวะผู้นาการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารในสังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เม่ือแยกพิจารณาในรายด้าน พบว่า ภาวะ ผนู้ าการเปลี่ยนแปลงของผูบ้ ริหาร สังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 อยู่ ในระดับมากทุกด้านโดยเรียงลาดับค่าเฉล่ียจากมากไปหาน้อยได้ดังนี้ การสร้างแรงบันดาลใจ การมี อทิ ธิพลอยา่ งมอี ดุ มการณ์ การคานงึ ถึงการเป็นปัจเจกบคุ คล และการกระตนุ้ ทางปัญญา 2. ประสทิ ธิผลของสถานศึกษาในสังกัดสานกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาราชบรุ ี เขต 2 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อแยกพิจารณาในรายด้าน พบว่า ประสิทธิผลของสถานศึกษาใน สงั กัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 อยู่ในระดับมากทกุ ด้านโดยเรียงลาดับ ค่าเฉล่ียจากมากไปหาน้อยได้ดังนี้ ความสามารถในการปรับตัว ความสามารถในการพัฒนาเจตคติ ทางบวกของนักเรียน ความสามารถในการแก้ปัญหา และความสามารถในการผลิตนักเรียนให้มี ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนสูงข้ึน 3. ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นาการเปล่ียนแปลงของผู้บริหารกับประสิทธิผลของ สถานศึกษาในสังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 โดยรวมมีความสัมพันธ์ ตอ่ กนั ทางบวกในระดับสูงอย่างมีนัยสาคัญทางสถิตทิ ี่ระดับ .01 (r = .680) เม่อื พิจารณารายคู่พบว่ามี ความสัมพันธ์กันในทางบวกทุกคู่โดยท่ีการคานึงถึงการเป็นปัจเจกบุคคลกับประสิทธิผลของ

70 สถานศึกษามีความสัมพันธ์กันอยู่ในลาดับสูงที่สุด (r = .678) และการสร้างแรงบันดาลใจกับ ประสิทธผิ ลของสถานศกึ ษามคี วามสมั พนั ธ์กนั อยู่ในลาดบั ตา่ ทส่ี ดุ (r = .644) อภปิ รายผลการวจิ ยั จากผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลจากการวิจยั ขา้ งตน้ สามารถอภปิ รายผลการวจิ ยั ได้ดงั นี้ 1. จากผลการวิจัยที่พบว่าภาวะผู้นาการเปล่ียนแปลงของผู้บริหาร สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ี การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ท้ังนี้อาจเป็นเพราะว่า ภาวะผู้นา การเปล่ียนแปลงเป็นพฤติกรรมที่ผู้บริหารจะต้องมีในสถานการณ์ปัจจุบันท่ีมีการเปลี่ยนแปลงอย่าง รวดเร็ว เพื่อให้องค์กรมีการเปล่ียนแปลงสิ่งใหม่ ๆ โดยใช้อิทธิพลของผู้นาที่มีต่อผู้ตามในการ แสดงออกถึงคุณลกั ษณะหรือพฤติกรรมในการเป็นแบบอยา่ งทด่ี ีในการปฏิบัติงาน สรา้ งแรงบันดาลใจ ในการทางาน การมีอุดมการณ์ที่ทาให้ผู้ตามเกิดความเชื่อถือศรัทธา และการตระหนักถึงความ ตอ้ งการของผตู้ ามเปน็ รายบคุ คล มากกว่าน้นั ผตู้ ามผู้นาและผ้ตู ามต้องมีปฏิสัมพันธท์ ีด่ ีระหวา่ งกัน เพ่ือ เปล่ียนแปลงความพยายามของผู้ตามให้สงู ข้ึนกว่าความพยายามที่คาดหวัง ท้งั น้ีเพื่อใหผ้ ู้นาและผูต้ าม เห็นความสาคัญของภารกิจและวิสัยทัศน์ขององค์การร่วมกัน ได้ทางานร่วมกันอย่างมีความสุข เพ่ือ ความสาเร็จขององค์การ ซึ่งไม่ว่าจะอยู่ในพ้ืนที่ใด บนพื้นท่ีราบสูงหรือพื้นท่ีปกติ ในเมืองหรือในเขต ชนบท ผบู้ ริหารสถานศึกษายอ่ มตอ้ งมีภาวะผู้นาการเปลี่ยนแปลงในการบริหารสถานศึกษา สอดคล้อง กับแนวคิดของรัตติกรณ์ จงวิศาล (2561, 56) กล่าวไว้ว่า ภาวะผู้นาหมายถึง คุณลักษณะ หรือ พฤติกรรม หรือความสามารถ หรือกระบวนการทเ่ี ป็นปฏิสัมพันธ์ หรือเป็นศนู ย์กลางของกระบวนการ กลุ่ม หรือเป็นกระบวนการที่บุคคลสามารถมีอิทธิพลต่อผู้อ่ืนหรือกลุ่มคน มีการจูงใจ หรือสร้างแรง บันดาลใจ หรือสร้างความปรารถนา ทาให้เกิดความเชื่อถือศรัทธา และช่วยเพ่ิมพลังอานาจ หรือดึง ศักยภาพของผู้อ่ืนออกมา เพื่อให้บรรลุผลสาเร็จตามเป้าหมาย ซึ่งสอดคล้องกับ จตุพงษ์ ล้ีประเสริฐ (2558, 77) ทก่ี ลา่ ววา่ ภาวะผู้นาการเปลี่ยนแปลง มีความสามารถในการนาการเปล่ียนแปลงวิสยั ทัศน์ กลยุทธ์ และวัฒนธรรมขององค์กรไปพร้อมกับการส่งเสริมการริเรม่ิ สร้างสรรค์ด้านผลงาน ผลิตภัณฑ์ และเทคโนโลยีใหม่ ๆ ไม่ใช้แรงจูงใจทางวัตถุแต่จะใชว้ ิสัยทัศน์ ค่านิยมร่วม และความคิดในการสร้าง ความสัมพันธ์ต่อกนั ทาให้กิจกรรมต่าง ๆ เกิดความหมายในเชงิ คุณค่า สร้างความเขา้ ใจและความรู้สึก ร่วมของผู้ตาม และสอดคล้องกับแนวคิดของ Bass & Avolio (1991) กล่าวไว้ว่า ภาวะผู้นาการ เปล่ียนแปลงเป็นกระบวนการท่ีผู้นามีอิทธิพลต่อผู้ร่วมงานและผู้ตาม โดยเปล่ียนแปลงความพยายาม และความสามารถของผู้ร่วมงานและผู้ตามให้สูงข้ึน ใช้ศักยภาพของตนเองมากข้ึน ทาให้เห็น ความสาคัญและคุณค่าในภารกิจและวิสัยทัศน์ของกลุ่มและขององค์การ จูงใจให้ผู้ร่วมงานและผู้ตาม เห็นแก่ประโยชน์ของกลุ่มขององค์การ และสังคม มากกว่าน้ันยังสอดคล้องกับงานวิจัยของ พิสุทธิณี หาดเพ็ชร (2557, ง) ทาการศึกษาความคิดเห็นของครูที่มีต่อภาวะผู้นาการเปลี่ยนแปลงใน

71 กลุ่มโรงเรียนลานสัก กลุ่มท่ี 2 จังหวัดอุทัยธานี ผลการศึกษาพบว่า ความคิดเห็นของครูท่ีมีต่อภาวะ ผู้นาการเปลี่ยนแปลงในกลุ่มโรงเรียนลานสัก กลุ่มที่ 2 จังหวัดอุทัยธานี โดยภาพรวมและรายด้านอยู่ ในระดับมาก คือ ด้านการสร้างแรงบันดาลใจ ด้านการคานึงถึงการเป็นปัจเจกบคุ คล ด้านการกระตุ้น ทางปัญญา ด้านการสร้างบารมี และการสร้างวิสัยทัศน์และการปลูกฝังค่านิยม นอกจากนั้นยัง สอดคล้องกับงานวิจัยของอมาวสี คีติสาร (2557, ง) ทาการศึกษาความคิดเห็นของข้าราชการครูและ บุคลากรทางการศึกษาท่ีมีต่อภาวะผู้นาการเปล่ียนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษา กลุ่มพัฒนา การศึกษามาจันทรายสวรรค์ สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาเชียงรายเขต 3 ผล การศึกษาพบว่า ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาที่มีต่อภาวะผู้นาการเปล่ียนแปลงของ ผู้บริหารสถานศึกษา กลุ่มพัฒนาการศึกษามาจันทรายสวรรค์ สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา ประถมศึกษาเชียงรายเขต 3 มีความคิดเห็นต่อภาวะผู้นาของผู้บริหารสถานศึกษาโดยภาพรวมและ รายด้านอยู่ในระดับมาก และสอดคล้องกับภาณุวัฒน์ โทมณี (2555, ง) ได้ศึกษาเร่ือง การศึกษา ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นาการเปล่ียนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษา กับการบริหารโดยใช้ โรงเรียนเป็นฐานในสถานศึกษาสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 7 โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก เม่ือพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าอยู่ในระดับมากทุกด้านโดยการ สร้างแรงบันดาลใจมีค่าเฉล่ียอยู่ในลาดับสูงที่สุด รองลงมาคือการมีอิทธิพลอย่างมีอุดมการณ์ การ คานึงถึงการเป็นปัจเจกบุคคล และการกระตุ้นทางปัญญาตามลาดับ โดยสามารถอภิปรายเป็นราย ดา้ นได้คอื การสรา้ งแรงบนั ดาลใจมีค่าเฉลี่ยอยใู่ นลาดับสงู ท่สี ุด ทั้งน้ีอาจเป็นเพราะ ผูบ้ รหิ ารเปิดโอกาส ให้บุคลากรมีส่วนร่วมในการกาหนดวิสัยทัศน์และภารกิจของสถานศึกษา มีการสร้างและส่งเสริมให้ บลุ ากรอุทศิ ตนในการทางานเพื่อพัฒนาองค์กรให้มปี ระสิทธิผลร่วมกัน แสดงความเชอ่ื ม่ันว่าผูร้ ่วมงาน สามารถทางานได้บรรลตุ ามเป้าหมาย รวมท้งั กระตุน้ แรงจูงใจของบุคลากรให้เห็นความสาคัญของการ มีส่วนร่วมในการปฏิบัติงาน และสร้างเจตคติที่ดีและการคิดในแง่บวกแก่บุคลากร ซ่ึงสอดคล้องกับ งานวิจัยของวิไลวรรณ แสงจันทร์ (2556, 72) ได้วิจัยเรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นาการ เปลี่ยนแปลงของผู้บริหารกับประสิทธิผลของโรงเรียนในอาเภอสนามชัยเขต สานักงานเขตพ้ืนท่ี การศึกษาประถมศึกษาฉะเชิงเทราเขต 2 กับงานวิจัยของจตุพงษ์ ลี้ประเสริฐ (2558, 78) ไดว้ ิจยั เร่ือง ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นาการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารโรงเรียนกับประสิทธิผลของโรงเรียน สังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามธั ยมศึกษา เขต 18 จังหวัดชลบุรี พบว่า ผู้บริหารมีความสามารถ ในการกระตุ้น และสร้างแรงจูงใจให้ผู้ร่วมงานปฏิบัติงานได้บรรลุเป้าหมาย มีความเชื่อมั่นในการ ปฏิบัติงานของผู้ร่วมงาน ปฏิบัติหน้าที่จนเต็มความรู้ความสามารถ เสริมสร้างกาลังใจให้เกิดขึ้นกับ ผูร้ ่วมงานในการปฏิบัติหน้าท่ีอย่างสม่าเสมอ ส่งผลให้ผู้ร่วมงานพร้อมท่ีจะทุ่มเทกาลังกาย กาลังใจใน การทางานตามท่ีผู้บริหารมอบหมายอย่างเต็มกาลังความสามารถ สอดคล้องกับงานวิจัยของ เชาวนี อยู่รอด (2557, 88) ได้วิจัยเรื่อง การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นาการเปล่ียนแปลง

72 ของผู้บริหารกับประสิทธิผลของโรงเรียนมาตรฐานสากล สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา ประถมศึกษาจันทบุรี เขต 1 กับงานวิจัยของ ธวัลรัตน์ ใบบัว (2555, 68) ได้วิจัยเรื่อง การศึกษา ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นาการเปล่ียนแปลงของผู้บริหารโรงเรียนกับประสิทธิผลของโรงเรียน สังกดั เมอื งพัทยา จังหวัดชลบรุ ี พบว่า ผบู้ ริหารจะแสดงความกระตือรือรน้ ในการทางานใหส้ าเร็จ และ ให้ความไว้วางใจว่าครูจะปฏิบัติหน้าท่ีได้สาเร็จตามเป้าหมาย มีการส่งเสริมและทากิจกรรมท่ีให้ครูได้ ทางานเป็นทีม และผู้บริหารมีการให้กาลังใจให้ครูที่ปฏิบัติได้สาเร็จ รองลงมาคือด้านการมีอิทธิพล อย่างมีอุดมการณ์ โดยเรียงลาดับจากมากไปน้อยได้แก่ ผู้บริหารมีศีลธรรมและมีจริยธรรมสูง ประพฤติตนเพ่ือให้เกิดประโยชนแกส่วนรวม หลีกเลี่ยงการใช้อานาจเพื่อประโยชน์ส่วนตน ประพฤติ ตนเป็นแบบอย่างที่ดีและเป็นที่ยอมรับแก่บุคลากร มีความต้ังใจ เชื่อม่ันในตนเอง แน่วแน่ใน อุดมการณ สร้างมาตรฐานการปฏิบัติงานของตนเองและกาหนดแบบอย่างการปฏิบัติงานให้แก่ บคุ ลากร ประพฤติตนเป็นแบบอย่างท่ีดีและเป็นท่ยี อมรับแกบ่ ุคลากรและ เป็นท่ีเคารพ ยกย่อง น่านับ ถือ ไววางใจและทาให้บุคลากรเกิดความภาคภูมิใจ เม่ือได ร่วมงานกันทั้งน้ีอาจมาจากผู้บริหาร สถานศึกษาในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 ปฏิบัติตนให้เป็น แบบอย่างท่ีดีแก่บุคลากรในโรงเรียน มีเป้าหมายที่ชัดเจนตัดสินใจโดยคานึงถึงผลท่ีจะตามมา โดยยึด หลักการบริหารงาน โดยใช้หลักธรรมาภิบาล อีกท้ังผู้ท่ีจะมาเป็นผู้บริหาร ได้นั้นต้องผ่านการ สอบแข่งขัน การอบรม และมีการประชุม สัมมนาวิชาการอย่างต่อเน่ือง ซ่ึงเป็นการคัดกรองความ เฉลียวฉลาดและสมรรถภาพในการทางาน สิ่งเหลา่ นีท้ าให้ครูเกดิ ความไว้วางใจและเชอ่ื มั่นว่าผู้บริหาร จะนาพาโรงเรียนไปสู่ความสาเร็จ สอดคล้องกับแคทซ์ (Katz, 1955, 33-42) ที่กล่าวว่า ผู้บริหารต้อง สามารถทางานร่วมกับผอู้ ื่นได้อย่างมปี ระสิทฺธภิ าพ มคี วามสามารถในการประสานงานเพ่ือใหไ้ ว้วางใจ ในหน่วยงาน เป็นการชักนาโน้มน้าวจิตใจท่ีผู้นาใช้กระตุ้นให้ผู้ตามมีค่านิยมที่ดี อุทิศตนให้กับการ ปฏิบัติหน้าท่ีของตนให้บรรลุเป้าหมาย ลาดับต่อมาคือด้านการคานึงถึงการเป็นปัจเจกบุคคล เน่ืองจากผู้บริหารเปิดโอกาสให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาเข้ามาพูดคุย ปรึกษาหารือ ด้วยความเป็นกันเอง และมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีระหว่างกัน คอยเป็นพี่เล้ียงและเป็นท่ีปรึกษา คอย ช่วยเหลือช้ีแนะ สนับสนุนอยู่เสมอ เอาใจเขามาใส่ใจเราคานึงถึงความต้องการเป็นรายบุคคล ส่ิง เหล่านี้จะทาให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษารู้สึกว่า ผู้บริหารคอยเป็นโค้ชและเป็นท่ี ปรึกษาอยู่ตลอดเวลา ส่งผลต่อความสุขในการทางานและนาไปสู่การนาพาองค์การไปสู่เป้าหมายที่ ประสบผลสาเร็จ รวมท้ังยังสอดคล้องกับงานวิจัยของธนสิตา ก้องยืนยง (2556, 68) ได้วิจัยเรื่อง การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นาการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษากับประสิทธิผล ของโรงเรียนมัธยม สังกัดเทศบาลเมืองชลบุรี กับงานวิจัยของจตุพงษ์ ล้ีประเสริฐ (2558, 77) ได้วิจัย เรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นาการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารโรงเรียนกับประสิทธิผลของ โรงเรียน สังกัดสานักงานเขตพื้นท่กี ารศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 18 จงั หวัดชลบุรี พบวา่ ผู้บริหารแสดง

73 ให้ครูเห็นว่า ผู้บริหารเป็นคนมีวิสัยทัศน์ของการเป็นผู้นาในการทางาน มีจุดยืนอย่างมีเหตุผลในการ แสดงความคิดเห็นต่อปัญหาหรือข้อโต้แย้งท่ีเกิดขึ้น และมีความเฉลียวฉลาด และสมรรถภาพอย่างสูง ในการกระทาส่ิงต่าง ๆ โดยที่ผู้บริหารซ่ึงเป็นผู้มีบารมีน้ันจะสร้างให้ผู้ร่วมงานไว้ใจผู้บริหาร ส่งผลให้ เกิดความร่วมมือในการทางานกับโรงเรียนเป็นอย่างดี สอดคล้องกับงานวิจัยของสมโชค โพธิ์งาม (2550, 66) ได้วิจัยเรื่อง การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นาของผู้บริหารกับประสิทธิผลของ โรงเรียนสังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาสระแก้ว เขต 2 พบว่าผู้บริหารโรงเรียนสามารถทาให้คน อื่นยอมรับ ศรัทธา และเป็นผู้ท่ีมีความสามารถในการชักนาโน้มน้าวจิตใจให้คนอ่ืนมีความคิดเห็น คล้อยตาม และยังสอดคล้องกับ เวเบอร์ (Weber อ้างถึงใน เสาวลักษณ์ โสมะทัต, 2553, 63) กล่าว ว่า การสร้างบารมีสามารถมองเห็นได้จากปฏิกิริยาโต้ตอบของผู้ตาม ซ่ึงได้แก่การที่ผู้ตามรักใคร่ ยกย่อง นิยมชมชอบ ให้ความไว้วางใจ เลื่อมใสศรัทธา ให้ความเคารพและเกรงกลัว ลาดับต่อมาคือ ด้านการคานึงถึงความเป็นปัจเจกบคุ คล โดยเรียงลาดับจากมากไปน้อย 3 อนั ดับแรก ได้แก่ ผู้บริหาร สง่ เสรมิ พัฒนาศักยภาพของบคุ ลากรให้สูงขึ้น โดยการให้โอกาสในการเรยี นรูส้ ่ิงใหม่ ๆ ดูแล สนับสนุน ช่วยเหลือ บุคลากรในการทางานที่รับผิดชอบโดยบุคลากรไม่รู้สึกตัวว่ากาลังถูกตรวจสอบ และ มอบหมายงานเพื่อเป็นเคร่ืองมือในการพัฒนาของบุคลากร โดยคานึงถึงความแตกต่าง ความรู้ ความสามารถ และความเหมาะสมเป็นรายบคุ คล ท้ังนอ้ี าจมาจากผู้บรหิ ารให้ความสาคัญกับบุคลากร แต่ละคน ในการที่โรงเรียนจะพัฒนาจนประสบความสาเร็จนั้น ผู้บริหารควรให้ความสาคัญต่อการ พัฒนาครูโดยไม่เลือกหน้า คิดว่าครูทุกคนมีความสาคัญต่อโรงเรียน พัฒนาจุดท่ีดีเด่นของครูแต่ละคน ภายใต้การคานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล รับฟังปัญหาของครูและแนะนาสิ่งท่ีเป็นประโยชน์ ต่อความก้าวหน้าของครู สอดคล้องกับ ชีวิน อ่อนละออ (อ้างอิงใน วิโรจน์ สารรัตนะ, 2555, 127) กล่าวไว้ว่า การคานึงถึงเอกัตถะบุคคล ประกอบด้วย การเน้น การพัฒนา การเน้นความแตกต่าง บุคคล และการเป็นพ่ีเล้ียง และสอดคล้องกับงานวิจัยของ ธุมากร เจดีย์คา (2559) ทาการศึกษา ความสมั พันธร์ ะหว่างภาวะผู้นาการเปลย่ี นแปลงของผ้บู ริหารสถานศึกษากับประสิทธผิ ลในการบรหิ าร สถานศึกษาข้ันพื้นฐาน สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี ผลการศึกษาพบว่า ภาวะผู้นาการเปล่ียนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษา ด้านการคานึงถึงการเป็นปัจเจกบุคคล โดย ภาพรวมอยู่ในระดับมาก เม่ือพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่าทุกข้ออยู่ในระดับมาก เรียงลาดับค่าเฉล่ีย จากมากไปน้อย 3 ลาดับแรก คือ ผู้บริหารส่งเสริมและพัฒนาครูตามความสนใจ และตาม ความสามารถของแต่ละบุคคล ผู้บริหารส่งเสริมให้ครูแต่ละคนปฏิบัติงานด้วยความเต็มใจ มีความ ตระหนักในความคิด จินตนาการ ความเชื่อและเห็นคุณค่าของตนเอง ละผู้บริหารให้ความช่วยเหลือ ชี้แนะในการทางานของครู เมื่อครูต้องการความช่วยเหลือ และสอดคล้องกับงานวิจัยของ กนั ตพิชญ์ สตี นไชย (2558, ง) ได้ศึกษาความสัมพันธ์ของภาวะผู้นาการเปลย่ี นแปลงกบั พฤติกรรมการ ตัดสินใจของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 4

74 ผลการศึกษาพบว่า ภาวะผู้นาการเปล่ียนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษาโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก โดยด้านการคานึงถึงความเป็นปัจเจกบุคคลมีค่าเฉล่ียสูงท่ีสุด และด้านที่มีค่าเฉล่ยี ต่าท่ีสุดแต่ยังคงอยู่ ในระดับมาก คือด้านการกระตุ้นการใช้ปัญญา เม่ือเรียงอันดับจากมากไปน้อย 3 อันดับแรกได้แก่ ผู้บริหารสร้างความเช่ือม่ันให้บุคลากรเห็นว่าปัญหาทุกอย่างต้องมีวิธีแก้ไข กระตุ้นบุคลากรให้ ตระหนักถึงปัญหา คิดและแก้ปัญหาต่าง ๆ ท่ีเกิดข้ึนภายในโรงเรียนอย่างเป็นระบบ และจูงใจและ สนับสนุนให้บุคลากรคิดริเร่ิมแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ด้วยวิธีการใหม่ ๆ ทั้งน้ีอาจเนื่องมาจาก ผู้บริหารสถานศึกษามีความสามารถในการกระตุ้นให้ผู้ร่วมงานใช้สติปัญญาในการแก้ปัญหา กระตุ้น กระบวนการคดิ เรียนร้วู ิธีวิเคราะหแ์ ละแก้ปัญหาอยา่ งสร้างสรรค์ ให้มีการพัฒนาความรู้ความสามารถ ในการศึกษาต่อในระดับท่ีสูงขึ้น สอดคล้องกับงานวิจัยของเสาวลักษณ์ โสมะทัต (2553, 64) ได้วิจัย เรื่อง การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นาการเปล่ียนแปลงของผู้บริหารสตรีกับประสิทธิผลของ โรงเรียนในสังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษาชลบรุ ี เขต 1 พบว่า ผู้บริหารมีการกระตนุ้ ให้ครูเกิดแรง บันดาลใจท่ีจะปฏิบัติงานโดยตระหนักถึงอุปสรรค ปัญหาที่จะเกิดข้ึนในการปฏิบัติ สามารถมองเห็น สามเหตขุ องปัญหา แล้วนาประเด็นปญั หามาวิเคราะห์หาแนวทางในการแก้ไขปัญหาดว้ ยวิธีการใหม่ ๆ อยา่ งเป็นระบบ และสอดคล้องกบั งานวิจัยของพณพร เกษตรเวทนิ (2554, 93) ไดว้ ิจัยเรอ่ื ง การศกึ ษา ภาวะผู้นาการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารท่ีส่งผลต่อประสิทธิผลของสถานศึกษาในกลุ่มอาเภอสตึก สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาบุรีรัมย์ เขต 4 พบว่า ผู้บริหารมองเห็นความสาคัญของการใช้ปัญญา ในการแกป้ ัญหาตา่ ง ๆ ภายในโรงเรียน จึงมกั จะมอบหมาย ให้ผูร้ ่วมงานได้ช่วยกนั คิดแกป้ ัญหาโดยใช้ รปู แบบการสือ่ สารต่าง ๆ ไม่ว่าจะแบบเปดิ เชน่ การประชุมระดมความคิดหรือสัง่ การโดยสว่ นตัว เมื่อ ผู้ร่วมงานได้รับโอกาสให้แก้ปัญหาก็จะเกิด ความภูมิใจและพยายามที่จะทางานที่ได้รับมอบหมายให้ สาเร็จ มกี ารส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้ร่วมงานได้รับการอบรมเพิ่มเติมในด้านตา่ ง ๆ เพ่ือนามาพัฒนา แนวความคิดและนามาปรับใช้ ในโรงเรียนได้อย่างเหมาะสมเป็นการสร้างความเข้มแข็งในองค์กร ดังนั้นจึงทาให้ภาวะผู้นาการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารโรงเรียน ด้านการกระตุ้นการใช้ปัญญาโดย รวมอย่ใู นระดับมาก 2. จากผลการวิจัยที่พบว่าประสิทธิผลของสถานศึกษาในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยเรียงลาดับจากมากไปน้อยได้ ดังน้ี ความสามารถในการปรับตัว ความสามารถในการพัฒนาเจตคติทางบวกของนักเรียน ความสามารถในการแก้ปัญหา และความสามารถในการผลิตนักเรียนให้มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สูงข้ึน ท้ังนี้อาจเป็นเพราะ การบริหารโรงเรียนท่ีดีมีผู้นาท่ีมีภาวะผู้นาการเปล่ียนแปลงทาให้นักเรียน ส่วนใหญ่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงข้ึน นักเรียนมีทัศนคติท่ีดีต่อการเรียน มีการปรับเปลี่ยนและ พฒั นาโรงเรียนให้ดีข้ึน และสามารถแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ได้ดี สอดคล้องกับวิจัยของสุริศักดิ์ แสงจันทร์ (2556, 116) ได้วิจัยเร่ือง การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นาการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารกับ

75 ประสิทธิผลของโรงเรียนมัธยมสมบูรณ์ จังหวัดภาคใต้ในประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชน ลาว พบว่าประสิทธิผลของโรงเรียนมัธยมสมบูรณ์ จังหวัดภาคใต้ในประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาว โดยรวมอยู่ในระดับมาก เช่นเดียวกับงานวิจัยของจตุพงษ์ ล้ีประเสริฐ (2558, 80) ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นาการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารโรงเรียนกับประสิทธิผลของโรงเรียน สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษาเขต 18 จังหวัดชลบุรี พบว่าภาพรวมประสิทธิผลของ โรงเรียน สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 18 จังหวัดชลบุรี โดยรวมอยู่ในระดับ มาก เช่นเดียวกับทรงชัย คงเงิน (2553, 87) ได้วิจัยเรื่อง การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นา การเปล่ียนแปลงของผู้บริหารโรงเรียนกับประสิทธิผลของโรงเรียนในสังกัดสานักงานเขตพื้นท่ี การศึกษาปราจนี บรุ ี เขต 2 ตามการรบั รขู้ องครูปฏิบตั กิ ารสอน โดยรวมและทุกข้ออยใู่ นระดบั มาก เมื่อพจิ ารณาเปน็ รายดา้ นพบว่าอยใู่ นระดับมากทุกดา้ นโดยความสามารถในการปรบั ตัวมากที่สุด รองลงมาคือ ความสามารถในการพัฒนาเจตคติทางบวกของนักเรียน ความสามารถในการแก้ปัญหา และความสามารถในการผลิตนักเรียนให้มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น ตามลาดับ ทั้งนี้อาจเป็น เพราะ ผู้บริหารและครูผู้สอนมีความตื่นตัวและร่วมกันพัฒนาสถานศึกษาอย่างต่อเนื่อง ปรับรูปแบบ การบริหาร และการดาเนินงานต่าง ๆ ท่ีเหมาะสมต่อการพัฒนาผู้เรียน ทาให้เป็นสถานศึกษาท่ีมี ความก้าวหน้าและประสบความสาเรจ็ ในทุกดา้ น ปรบั เปล่ยี นวิธีการเรียนรู้ จัดกจิ กรรมการเรียนรู้ดว้ ย เทคนิคที่เหมาะสม มีสื่อการเรียนรู้และเทคโนโลยีท่ีทันสมัย มีความคิดท่ีสร้างสรรค์ให้เกิดสิ่งใหม่ ๆ อยู่เสมอ สอดคล้องกับแนวคิดของมอทท์ (Mott, 1972, 373) ที่กล่าวว่าการจัดการศึกษาให้มี ประสิทธิภาพ และเกิดประสิทธิผลนั้น โรงเรียนจะต้องมีความสามารถในการกาหนดนโยบายต่าง ๆ ต้องสอดคล้องให้ทันสมัย ผู้บริหารและครูจะต้องไม่หยุดนิ่งต้องพยายามปรับปรุงให้รูปแบบการ บริหารงานมีความคล่องตัว สอดคล้องกับแนวคิดของเสาวลักษณ์ โสมะทัต (2553, 66) กล่าวว่า เป็น เพราะโรงเรียนมีผู้บริหารและคณะครูที่สามารถยอมรับในการเปล่ียนแปลงด้านต่าง ๆ และนามาซึ่ง การปรับใช้เพื่อการพัฒนาโรงเรียน การเรียนการสอน ร่วมกับนโยบายที่ทันสมัย มีการปรับปรุง รูปแบบการดาเนินงาน โดยนาเทคโนโลยีสมัยใหม่มาพัฒนาผู้เรียนส่งผลให้โรงเรียนมีความ เจริญก้าวหน้าและประสบความสาเร็จในทุกด้าน ในด้านของการพัฒนาเจตคติทางบวกของนักเรียน โดยรวมและรายข้ออยู่ในระดับมาก ทั้งน้ีอาจมาจากโรงเรียนในสังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา ประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 มีการเน้นให้มีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนท่ีสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม สร้างค่านิยมและเจตคติท่ีดีให้กับนักเรียน ทาให้นักเรียนประพฤติและปฏิบัติตามระเบียบ วินัยของโรงเรียน รู้จักการใช้เหตุผล มีวินัย มีคุณธรรม จริยธรรมอย่างเหมาะสม และดีงาม สามารถ นาความรู้ความสามารถและทักษะอันจาเป็นไปใช้ในการ ดารงชีวิตในสังคมได้อย่างเป็นสุข ใฝ่รู้ ใฝ่เรียน และรู้จักคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตผุ ลและมี ความคิดสร้างสรรค์ สอดคล้องกบั งานวิจัยของ จตุพงษ์ ล้ีประเสริฐ (2558, 81) ว่าประสิทธิผลของโรงเรียน สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา

76 มัธยมศึกษาเขต 18 จังหวดั ชลบุรี ด้านการพัฒนาเจตคติทางบวกของนักเรยี น โดยรวมและรายข้ออยู่ ในระดับมาก ลาดับต่อมาคือด้านความสามารถในการแก้ปัญหา โดยรวมและรายข้ออยู่ในระดับมาก ทงั้ น้ีอาจมาจากโรงเรียนในสงั กัดสานักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 มีผู้บรหิ ารท่ี มีภาวะผู้นา จึงสามารถประสานงานให้ภาระงานสาเรจ็ ตามเป้าหมาย มีการร่วมกันวางแผนแก้ปัญหา ทีเ่ กดิ ขึน้ และมกี ารกาหนดรูปแบบการบริหารงานภายในสถานศึกษาไดอ้ ย่างเหมาะสมและชดั เจน ทา ใหส้ ามารถแก้ปญั หาได้และทกุ ฝ่ายพงึ พอใจกบั ผลของการแกป้ ญั หาน้นั สอดคลอ้ งกับวจิ ยั ของ สุ ริศกั ดิ์ แสงจันทร์ (2556, 116) ไดว้ จิ ัยเรอ่ื ง การศกึ ษาความสมั พันธร์ ะหวา่ งภาวะผู้นาการเปลีย่ นแปลง ของผู้บริหารกับประสิทธิผลของโรงเรียนมัธยมสมบูรณ์ จังหวัดภาคใต้ในประเทศสาธารณรัฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาว และจตุพงษ์ ลี้ประเสริฐ (2558, 80) ศึกษาเร่ืองความสัมพันธ์ระหว่าง ภาวะผ้นู าการเปลย่ี นแปลงของผบู้ รหิ ารโรงเรียนกับประสิทธผิ ลของโรงเรยี น สังกัดสานักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษาเขต 18 จังหวัดชลบุรี พบวา่ ประสิทธผิ ลของโรงเรยี น ด้านความสามารถในการ แก้ปัญหา โดยรวมอยู่ในระดบั มาก ส่วนลาดับสุดท้ายคือดา้ นการผลิตนักเรียนให้มีผลสัมฤทธ์ิทางการ เรียนสูงขึ้น ซึ่งโดยรวมและรายข้อก็ยังอยู่ในระดับมากเช่นกัน ท้ังนี้อาจเป็นเพราะโรงเรียนในสังกัด สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 ให้ความสาคัญกับการจัดกิจกรรมหรือ โครงการต่าง ๆ เพ่ือพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นสงู ขึ้น มีความรู้ความสามารถ มีทักษะทางวิชาการ ได้รับรางวัลจากการเข้าร่วมประกวดและแข่งขันต่าง ๆ สามารถเข้ารับการศึกษาในสถาบันการศึกษา ช้ันสูงได้ตามเป้าหมายท่ีกาหนด และมีเจตคติ ค่านิยม และคุณธรรมต่าง ๆ ที่ พึงประสงค์ รู้เท่า ทนั ตอ่ เหตุการณแ์ ละการเปล่ียนแปลงทางสังคมสามารถดารงชวี ิตอยู่ได้อย่างมีความสุข สอดคล้องกับ มอทท์ (Mott, 1972, 373) ทก่ี ล่าวว่า คุณภาพทเ่ี กิดข้ึนกับผู้เรยี นนอกจากจะเป็นการท่ีผู้เรียนมีความ สนใจในการศึกษาเล่าเรียน มีความรู้ความสามารถทางวิชาการอย่างยอดเยี่ยม มีผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนเป็นท่ีนา่ พอใจแล้ว ยังพัฒนาความรคู้ วามสามารถ ด้านทักษะ เจตคติ ค่านิยม และคุณธรรมต่าง ๆ ทพ่ี งึ ปรารถนาให้เพียงพอตอ่ การดารงชีวิต และอยใู่ นสังคมไดอ้ ย่างมีความสขุ สอดคล้องกับงานวจิ ัย ของพณพร เกษตรเวทิน (2554, 93) ได้วิจัยเร่ือง การศึกษาภาวะผู้นาการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารที่ ส่งผลต่อประสิทธิผลของสถานศึกษาในกลุ่มอาเภอสตึก สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา ประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 4 ด้านการผลิตนักเรียนให้มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น โดยรวมอยู่ใน ระดับมาก 3. จากการวิจัยที่พบว่าภาวะผู้นาการเปล่ียนแปลงของผู้บริหารกับประสิทธิผลของ สถานศึกษาสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 โดยภาพรวมอยู่ในระดับ มาก ในภาพรวมภาวะผู้นาการเปล่ียนแปลงของผบู้ รหิ าร ทาให้ประสิทธผิ ลของสถานศกึ ษามากตามไป ด้วย ท้ังนี้อาจเป็นเพราะ ผู้บริหารแสดงออกซึ่งภาวะผู้นาในทางที่ก่อให้เกิดการยอมรับในตัวของ ผู้บริหาร มีการกระตุ้นให้ครูเกิดความมุ่งม่ันในการทางานจนประสบผลสาเร็จ โดยมีค่านิยมในทาง

77 เดียวกัน ส่งเสริมให้ครูได้เสนอแนวคิดใหม่ ๆ หลายแง่มุม ให้กาลังใจและให้การดูแลเอาใจใส่เป็น รายบุคคล จนสามารถปฏิบัติงานตามภาระหน้าท่ีและภารกิจท่ีได้รับมอบหมาย เป็นผลให้นักเรียนมี ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนทส่ี ูงข้นึ มเี จตคติทดี่ ี และทาให้ครูเกิดการพัฒนางาน เปล่ียนแปลงการทางาน ให้ทันยุคสมัย มีความเหมาะสมกับนโยบายขององค์การทเี่ ปลี่ยนแปลง ส่งผลดีต่อการปรับปรงุ พัฒนา และการแก้ปัญหาท่ีเกิดข้ึนในโรงเรียน ส่งผลให้ประสิทธิผลของโรงเรียนในสังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ี การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 อยู่ในระดับมาก สอดคล้องกับแนวคิดของศิริพงศ์ สาระโชติ (อ้างถึงใน เฉลมิ ชัย วารี, 2556) ทกี่ ล่าวว่า ผูบ้ ริหารเปน็ ผทู้ มี่ ีความรู้ความสามารถในการดาเนนิ กจิ การ ของโรงเรียนให้พัฒนาไปอย่างมีประสิทธิภาพในทุกด้าน ท้ังครูและบุคลากรทางการศึกษาได้รับการ พัฒนาตามศักยภาพ นักเรียนมีความรู้คู่คุณธรรม สามารถดารงชีวิตในสังคมได้อย่างมีความสุข และ โรงเรียนมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง สอดคล้องกับงานวิจัยของแมค เคอเทนต์ (McCurtain, อ้างถึงใน พณพร เกษตรเวทิน, 2554, 95) ได้วิจัยเรื่อง การศึกษาเกี่ยวกับความสามารถของผู้บริหารโรงเรียน ประถมศึกษาและประสิทธิภาพของงานตามการรับรู้ของครูในโรงเรียนในอลาเมตา รัฐแคลิฟอร์เนีย การวิจัยได้ให้ความสาคัญของความสามารถในวิชาชีพของผู้บริหารโรงเรียน โดยศึกษาความสัมพันธ์ ของโรงเรียนที่มีประสิทธิภาพกับความสามารถของผู้บริหารโรงเรียน 8 รายการ พบว่าผู้บริหาร โรงเรียนมีความสามารถเท่าไหร่ก็จะส่งผลให้ประสิทธิผลของโรงเรียนมากข้ึนเท่านั้น สอดคล้องกับ นนทลี แสนหิ่ง (2561, ง) ได้ศึกษาความสัมพันธ์ของภาวะผู้นาการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารกับ ประสิทธิผลของโรงเรียนประถมศึกษา ในอาเภอบางละมุง สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาชลบุรี เขต 3 ผลการวิจัยพบว่า ภาวะผู้นาการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารโรงเรียน ประถมศึกษา ในอาเภอบางละมุง สังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 3 มี ความสัมพันธ์กับประสิทธิผลของโรงเรียน โดยรวมอยู่ในระดับสูงทางบวกอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ ระดับ .01 และสอดคล้องกับขวัญตา เกื้อกูลรัฐ (2554, ง) ได้ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นา การเปลีย่ นแปลงกับประสิทธผิ ลของสถานศึกษาขนาดกลาง อาเภอโพธาราม สงั กดั สานกั งานเขตพน้ื ท่ี การศึกษาประถมศึกษาราชบรุ ี เขต 2 ผลการวจิ ยั พบว่าภาวะผู้นาการเปลี่ยนแปลง มคี วามสัมพันธ์กับ ประสิทธิผลของสถานศึกษาขนาดกลาง อาเภอโพธาราม สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา ประถมศึกษาราชบรุ ี เขต 2 โดยรวมอยู่ในระดับสูงทางบวกอยา่ งมีนยั สาคญั ทางสถิตทิ ่ีระดับ .01 และ สอดคล้องกับงานวิจัยของจตุพงษ์ ลี้ประเสรฐิ (2558, ง) ได้ศึกษาความสมั พันธ์ระหว่างภาวะผู้นาการ เปลี่ยนแปลงของผู้บริหารโรงเรียนกับประสิทธิผลของโรงเรียน สังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา มัธยมศึกษาเขต 18 จังหวัดชลบุรี ผลการวิจัยพบว่า ภาวะผูน้ าการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษาเขต 18 จังหวัดชลบุรี โดยรวมอยู่ในระดับค่อนข้างสูง และเป็นความสัมพันธ์ทางบวกกับประสิทธิผลของโรงเรียน สังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา มธั ยมศึกษาเขต 18 จังหวดั ชลบรุ ี อยา่ งมนี ยั สาคัญทางสถติ ทิ ี่ระดบั .01

78 ข้อเสนอแนะ จากการศึกษาภาวะผู้นาการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารกับประสิทธิผลของสถานศึกษาใน สังกัด สานักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาราชบุรี เขต 2 ผู้วิจัยมีข้อเสนอแนะเพื่อเป็นแนวทางในการ พฒั นาความสัมพนั ธ์ระหว่างภาวะผู้นาการเปลย่ี นแปลงของผูบ้ ริหารกับประสิทธผิ ลของสถานศึกษาใน สังกัดสานักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาราชบรุ ี เขต 2 และเป็นแนวทางในการศึกษาวิจัยครั้ง ตอ่ ไป ดงั นี้ ขอ้ เสนอแนะจากการวิจัย 1. ภาวะผู้นาการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารในสังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา ประถมศกึ ษาราชบุรี เขต 2 ผลการวจิ ัยพบวา่ ดา้ นการกระต้นุ ทางปญั ญา อยใู่ นลาดับน้อยทีส่ ุด ดังน้ัน ผู้บริหารควรให้ความสนใจในการกระตุ้นใหค้ รูแสดงความคิดเห็นในการทางาน ไม่ปิดกั้นทางความคิด ผู้บริหารควรให้ความสาคัญต่อการตั้งสมมติฐาน การต้ังสมมติฐานคือการคาดคะเน หรือการ วางเป้าหมายของกระบวนการน้ัน ๆ เม่ือมีการวางเป้าหมายที่ดี ก็จะทาให้สถานศึกษาและนักเรียนมี ประสิทธิภาพ รวมท้ังส่งเสริมให้ครูได้คิดหาแนวทางใหม่ ๆ ท้ังในการปฏิบัติงานและการแก้ปัญหา เพื่อพัฒนาภาวะผู้นาการเปล่ยี นแปลงของผูบ้ ริหารโรงเรียนใหม้ ีภาวะผนู้ าสงู ขึ้นดว้ ย 2. ประสิทธิผลของสถานศึกษาในสังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 ผลการวิจัยพบว่า ด้านความสามารถในการผลิตนักเรียนให้มผี ลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น อยู่ ในลาดับน้อยที่สุด ดังนั้นผู้บริหารควรให้ความสาคัญต่อการจัดการเรียนรู้ ส่งเสริมกิจกรรมท่ีกระตุ้น ทักษะทุกด้านของนักเรียน ให้นักเรียนรู้จักกระบวนการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมินค่า และนา ความรูท้ ี่ได้มาประยกุ ตใ์ ชใ้ หเ้ หมาะสมกับสถานการณ์ หรอื นามาปรับใชใ้ นชีวติ ประจาวนั 3. ภาวะผู้นาการเปล่ียนแปลงของผู้บริหารกับประสิทธิผลของสถานศึกษาในสังกัดสานักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 ผลการวิจยั พบว่า ด้านการสร้างแรงบนั ดาลใจกับด้าน ความสามารถในการผลิตนักเรียนให้มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงข้ึน อยู่ในลาดับน้อยที่สุด ดังนั้น ผบู้ รหิ ารต้องกระตนุ้ ให้ครูตระหนักถึงสง่ิ สาคัญท่ีควรได้รับการพจิ ารณาดาเนินการ ก่อน–หลัง กระตุ้น ให้ครูมองเห็นความสาเร็จท่ีจะเกิดข้ึน ให้ความสาคัญต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียนเป็น สาคัญ มกี ารสร้างขวญั กาลังใจเพ่อื ใหค้ รมู ีกาลงั ใจในการพัฒนาผู้เรยี นต่อไป

79 ข้อเสนอแนะในการวจิ ยั ครัง้ ตอ่ ไป ตามท่ีผู้วิจัยได้มีข้อเสนอแนะของการวิจัยดังกล่าวไว้ข้างต้น เพื่อให้งานวิจัยเกี่ยวกับภาวะผู้นา การเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารกับประสิทธิผลของสถานศึกษาในสังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา ประถมศกึ ษาราชบุรี เขต 2 ได้แพร่หลายออกไปและเป็นประโยชน์ ผู้วิจยั จงึ มีข้อเสนอแนะในการวจิ ัย ครัง้ ตอ่ ไป ดังนี้ 1. ควรมีการศึกษาเปรียบเทียบภาวะผู้นาการเปล่ียนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษาในระบบ สถานศึกษาและนอกระบบสถานศกึ ษา 2. ควรมีการศึกษาวิจัยเก่ียวกับปัจจัยใดที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของสถานศึกษา ในสังกัด สานกั งานเขตพื้นท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาในจังหวัดต่าง ๆ 3. ควรมีการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับความสมั พันธ์ระหวา่ งภาวะผู้นาการเปลี่ยนแปลงของผบู้ ริหารกับ ประสทิ ธิผลของสถานศกึ ษา ในสงั กัดสานักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษาในจังหวดั ต่าง ๆ

บรรณานกุ รม

บรรณานกุ รม กมลมาลย์ ไชยศิรธิ ญั ญา. (2559). ภาวะผูน้ าการเปลี่ยนแปลงของผบู้ รหิ ารทีส่ ง่ ผลตอ่ สมรรถนะหลัก ของครูในโรงเรียน สังกัดสานักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 2. Veridian E-Journal, Silpakorn University, ฉบบั ภาษาไทย สาขามนษุ ยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และ ศลิ ปะ, 9, 1510-1525, คน้ เมื่อ มิถุนายน 20, 2564, จาก https://he02.tci-thaijo.org กระทรวงศึกษาธิการ. (2553). คู่มือการดาเนินงาน โครงการโรงเรียนดีประจาตาบล. กรุงเทพฯ : ผู้แต่ง. กันตพิชญ์ สตี นไชย. (2558). ความสัมพันธข์ องภาวะผู้นาการเปลย่ี นแปลงกบั พฤติกรรมการตดั สนิ ใจ ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 4. การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิต วิทยาลยั มหาวิทยาลัยพะเยา. กันทิมา ชยั อดุ ม. (2556). ความสมั พนั ธร์ ะหว่างภาวะผูน้ าการเปลีย่ นแปลงและพฤติกรรมการบริหาร แบบมสี ว่ นรว่ มของผูบ้ ริหารสถานศกึ ษากับประสทิ ธิผลของสถานศกึ ษา สังกัดสานกั งานเขต พนื้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาชลบรุ ี เขต 3. ปริญญานพิ นธ์ศึกษาศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ า การบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยบรู พา. กรชนก แย้มอุทัย. (2557). ประสิทธิผลสถานศึกษาตามทรรศนะของบุคลากรทางการศึกษา . วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร. เกล้ารจิกา ถวัลย์เสรี. (2557). ภาวะผู้นาการเปลยี่ นแปลงของผ้บู ริหารสถานศึกษา สังกดั เทศบาล เมืองโพธาราม จังหวัดราชบุรี. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหาร การศกึ ษา บัณฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลัยศลิ ปากร. ขวัญตา เกื้อกูลรัฐ. (2554). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นาการเปล่ียนแปลงกับประสิทธิผลของ สถานศึกษาขนาดกลาง อาเภอโพธาราม สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ราชบุรี เขต 2. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการบริหาร การศึกษา คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ .ี จตุพงษ์ ล้ีประเสริฐ. (2558). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผนู้ าการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารโรงเรียน กับประสิทธิผลของโรงเรียน สังกัดสานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษามัธยมศึกษาเขต 18 จงั หวัด ชลบุรี. ปริญญานิพนธ์การศึกษาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา.

82 บรรณานกุ รม (ตอ่ ) จตุรภัทร ประทุม. (2559). ปัจจัยท่ีส่งผลต่อประสิทธิผลของสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ี การศกึ ษามธั ยมศึกษาเขต 27. ปรญิ ญานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหาร การศกึ ษา คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา. จริยา บุญมา. (2554). ความสัมพนั ธ์ระหว่างภาวะผู้นาการเปลีย่ นแปลงของผู้บรหิ ารสถานศึกษากับ ประสิทธิผลของโรงเรียน สังกัดเทศบาลจังหวัดฉะเชิงเทรา. ปริญญานิพนธ์ศึกษาศาสตร มหาบัณฑติ สาขาวชิ าการบรหิ ารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั บูรพา. เฉลิมชัย วารี. (2556). ภาวะผู้นาการเปลี่ยนแปลงกบั ประสทิ ธิผลของโรงเรยี นประถมศึกษาเครือข่าย ท่ี 33 เขตมีนบุรี กรุงเทพมหานคร. ปริญญานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการ บรหิ ารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยบูรพา. เฉลิมวุฒิ โสมงาม. (2562). ความสัมพันธ์ระหวา่ งบทบาทการนิเทศภายในของผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษากบั ประสิทธิผลของสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 22. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยนครพนม. เชาวนี อยู่รอด. (2557). การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นาการเปลี่ยนแปลงของผบู้ ริหารกับ ประสิทธิผลของโรงเรียนมาตรฐานสากล สังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษา จันทบรุ ี เขต 1. ปริญญานพิ นธ์ศกึ ษาศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะ ศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยบรู พา. ฐิตารีย์ ตรีเหรา. (2556). สุขภาพองค์กรท่ีส่งผล ต่อประสิทธิผลของสถานศึกษา สังกั ด กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑติ วิทยาลยั มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร. ณัฐกานต์ วงศ์ใหญ่. (2563). การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วมกับ ประสิทธิผลของสถานศึกษา สงั กัดองค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ จงั หวดั เชยี งราย. วทิ ยานพิ นธ์ การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยการศึกษา มหาวิทยาลัย พะเยา. ทรงชยั คงเงนิ . (2553). ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งภาวะผ้นู าการเปลย่ี นแปลงของผบู้ รหิ ารกับประสทิ ธิผล ของโรงเรียน สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปราจีนบุรี เขต 2. ปริญญา นิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยบูรพา.

83 บรรณานกุ รม (ตอ่ ) ธนวิชญ์ เอื้อจานง. (2558). แนวทางพัฒนาภาวะผู้นาการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษา ัขันพื้นฐาน กัล่มโรงเรียนพบพระวาเล่ย์รวมไทย อาเภอพบพระ สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ี การศกึ ษาประถมศึกษาตาก เขต 2. วิทยานิพนธค์ รุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหาร การศกึ ษา คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั กาแพงเพชร. ธนสติ า ก้องยืนยง. (2556). การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นาการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหาร สถานศึกษากับประสิทธิผลของโรงเรียนมัธยม สังกัดเทศบาลเมืองชลบุรี. ปริญญานิพนธ์ ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัย บูรพา. ธนติ ทองอาจ. (2553). ภาวะผนู้ าการเปลยี่ นแปลงของผบู้ รหิ ารทส่ี ง่ ผลตอ่ ประสทิ ธผิ ลของโรงเรียนใน สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามุกดาหาร. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร. ธนิตา นาพรม. (2558). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นาการเปล่ียนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษา แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูกับประสิทธิผลของสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นที การศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี เขต 1. ปริญญานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา การบริหารการศกึ ษา คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั บรู พา. ธวัลรัตน์ ใบบัว. (2555). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นาการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารโรงเรียนกับ ประสิทธิผลของโรงเรียน สังกัดเมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี. ปริญญานิพนธ์ศึกษาศาสตร มหาบัณฑิต สาขาวชิ าการบริหารการศึกษา คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั บรู พา. ธรี ะ รุญเจรญิ . (2550). ความเป็นมอื อาชพี ในการจดั และบรหิ ารการศึกษา. กรุงเทพฯ : ข้าวฟาง. ธมุ ากร เจดีย์คา. (2559). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นาการเปล่ยี นแปลงของผู้บริหารสถานศึกษา กับประสิทธิผลในการบริหารสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน สังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา ประถมศึกษาจันทบุรี. วิทยานิพนธ์ครุศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา คณะ ครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฎราไพพรรณ.ี นันท์นภัส รัชพงศ์ชญานนท์. (2557). การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมภาวะผู้นาการ เปลยี่ นแปลงกับพฤติกรรมเชาวน์ด้านจิตวิญญาณของผู้บริหารสถานศึกษา สังกดั สานักงาน เขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 7. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิ าการบริหารการศึกษา คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา.

84 บรรณานกุ รม (ตอ่ ) นารีรัตน์ บัตรประโคน. (2557). ความสัมพันธ์ระหว่างแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูกับประสิทธิ ผลของโรงเรียนในสังกัดสานักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประศึกษาบุรีรัมย์ เขต 3. วิทยานพิ นธ์ ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ บรุ รี ัมย์. นิติยา นาคดิลก. (2557). การศึกษาภาวะผู้นาการเปล่ียนแปลงของผู้บริหารท่ีส่งผลต่อการจัดการ ความรู้ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษา นครราชสีมา เขต 7. วิทยานิพนธ์ครศุ าสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศกึ ษา คณะ ครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครราชสีมา. นศิ า วงศ์สุวรรณ์. (2556). การศกึ ษาภาวะผู้นาการเปล่ยี นแปลงของผูบ้ รหิ ารสถานศึกษา สังกัดสานัก งานเขตการศึกษาประถมศึกษาฉะเชิงเทรา เขต 2. ปริญญานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิ าการบริหารการศึกษา บณั ฑิตวทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลัยบรู พา. นนทลี แสนหิง่ . (2561). ความสมั พันธข์ องภาวะผนู้ าการเปลยี่ นแปลงของผบู้ รหิ ารกบั ประสทิ ธิผลของ โรงเรียนประถมศกึ ษา ในอาเภอบางละมงุ สังกัดสานกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษาประถมศึกษา ชลบุรี เขต 3. ปริญญานิพนธศ์ กึ ษาศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวชิ าการบริหารการศึกษา บณั ฑิต วทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลัยบรู พา. บุญชม ศรีสะอาด. (2554). การวิจัยเบ้ืองตน้ (พมิ พค์ รงั้ ท่ี 9). กรุงเทพฯ : สวุ ีรยิ าสาสน์ . ปภงั กร หัสดธี รรม. (2555). ความสมั พันธร์ ะหวา่ งภาวะผนู้ าการเปลยี่ นแปลงของผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา กับการปฏิรูปการเรียนรู้ สู่ห้องเรียนคุณภาพตามความคิดเห็นของครู ในโรงเรียน สังกัด สานกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 1. วทิ ยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา การบริหารการศกึ ษา โครงการบัณฑติ ศกึ ษา มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี. ปัญญาวัฒิ ธนาวุฒิ. (2558). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นาการเปล่ียนแปลงของผู้บริหาร สถานศึกษากับประสิทธิผลของสถานศึกษาสังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา มัธยมศึกษาเขต 11. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาการบรหิ ารการศกึ ษา คณะ ครศุ าสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช. ประยูร คุณนาม. (2557). ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษากับ ประสิทธิผลของสถานศึกษาในอาเภอบ่อทอง สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาชลบุรี เขต 2. ปริญญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหาร การศึกษา คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา.

85 บรรณานกุ รม (ตอ่ ) ปาริชาต สมใจ. (2556). อิทธิพลของภาวะผู้นาตามสถานการณ์ของผู้บริหารสถานศึกษาต่อ ประสิทธิผลของสถานศกึ ษาสังกัดสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน. วทิ ยานพิ นธ์ ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย ศลิ ปากร. ปิยะพงษ์ วรรณกูลพงศ์. (2553). การเปรียบเทียบภาวะผู้นาการเปล่ียนแปลงและแรงจูงใจในการ ทางานระหว่างนักธุรกิจอิสระที่ประสบความสาเร็จในอาชีพระดับสูงและต่า : กรณีศึกษา บริษัท ยูนิซิตี้ มาร์เก็ตติ้ง (ประเทศไทย) จากัด. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิ าจิตวิทยาอตุ สาหกรรมและองค์การ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่. พณพร เกษตรเวทิน. (2554). ภาวะผู้นาการเปล่ียนแปลงของผู้บริหารท่ีส่งผลต่อประสิทธิผลของ สถานศึกษาในกลุ่มอาเภอสตึก สังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 4. ปริญญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะ ศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบรู พา. พัชราพร ร่วมรักษ์. (2559). การวางแผนกลยุทธ์ของผู้บริหารกับประสิทธิผลของสถานศึกษา สังกัด สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 9. ปริญญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบรหิ ารการศกึ ษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยบรู พา. พัฒนะ สีหานู. (2553). รูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิผลของ โรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาปรัชญา คณะมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั เลย. พิทยา บวรพัฒนา. (2541). ทฤษฎีองคก์ รสาธารณะ (พมิ พ์คร้ังท่ี 5). กรงุ เทพฯ : ศักดโิ สภาการพิมพ์. พมิ พรรณ สรุ ิโย. (2552). ปัจจยั ดา้ นผบู้ รหิ ารสถานศึกษาทส่ี ง่ ผลตอ่ ประสทิ ธผิ ลของ โรงเรียนเทศบาล กลุ่มการศึกษาท้องถิ่นที่ 9 กรมส่งเสริมการปกครองท้องถ่ิน. วิทยานิพนธ์ครุศาสตร มหาบัณฑติ สาขาการบรหิ ารการศกึ ษา คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏเลย. พสิ ทุ ธิณี หาดเพช็ ร. (2557). ความคดิ เหน็ ของครทู ี่มีต่อภาวะผ้นู าเปล่ยี นแปลงในกลุ่มโรงเรยี นลานสกั กลุ่มท่ี 2 จังหวัดอุทัยธานี. การศึกษาค้นคว้าการศึกษามหาบัณฑิต สาขาการบริหาร การศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั รามคาแหง. ไพฑูรย์ สินลารัตน์ และคณะ. (2560). โรงเรียน 4.0 โรงเรียนผลิตภาพ. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. ภรณี มหานนท์. (2554). การประเมนิ ประสทิ ธิผลขององคก์ าร. กรงุ เทพฯ : โอเดยี นสโตร์.

86 บรรณานกุ รม (ตอ่ ) ภาณุวัฒน์ โทมณี. (2555). การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นาการเปล่ียนแปลงของผู้บริหาร สถานศึกษากับการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน ในสถานศึกษาสังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่ การศึกษาประถมศกึ ษานครราชสีมา เขต 7. วิทยานิพนธค์ รศุ าสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิ าการ บรหิ ารการศกึ ษา คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลยั มหาสารคาม. ภารดี อนนั ตน์ าวี. (2553). หลักการแนวคดิ ทฤษฏีทางการบริหารการศึกษา. ชลบุรี : มนตรี. มณีประภา ผิวเงิน. (2557). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นาการเปล่ียนแปลงกับประสิทธิผลการ บริหารงานขององค์การบริหารส่วนตาบลในเขตจังหวัดสกลนคร . วิทยานิพนธ์รัฐ ประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขารัฐประศาสนศาสตร์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัย ราชภัฏสกลนคร. มทุ ิตา อินกลา่ . (2556). ความสัมพันธ์ระหวา่ งความฉลาดทางอารมณก์ ับภาวะผู้นาการเปล่ียนแปลง ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18. ปริญญา นิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยบูรพา. ยุกตนันท์ หวานฉา่ . (2555). การบริหารสถานศกึ ษากบั ประสทิ ธผิ ลของโรงเรยี นในอาเภอ คลองหลวง สังกัดสานกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศึกษาปทมุ ธานี เขต 1. วิทยานิพนธศ์ ึกษาศาสตร มหาบณั ฑิต สาขาวชิ าการบริหารการศกึ ษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยี ราชมงคลธญั บุรี ยุรพร ศุทธรัตน์. (2553). องค์การเพื่อการเรียนรู้ (พิมพ์คร้ังที่ 2). กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์ มหาวทิ ยาลัย. รังสรรค์ อ้วนวิจัตร. (2554). รูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุประสิทธิผลของโรงเรียนประถมศึกษา ขนาดเล็ก. วิทยานิพนธ์ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวทิ ยาลยั ครสิ เตียน. รังสิวุฒิ ป่าโสม. (2556). การบริหารความขัดแย้งกับประสิทธิผลของสถานศึกษา ในอาเภอองครักษ์ สังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษานครนายก. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตร มหาบัณฑติ สาขาวชิ าการบรหิ ารการศกึ ษา บณั ฑติ วิทยาลยั มหาวทิ ยาลัยศิลปากร. รัตติกรณ์ จงวิศาล. (2556). ภาวะผู้นา ทฤษฎีการวิจัยและแนวทาง. กรุงเทพฯ : จฬุ าลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. ______. (2561). จติ วิทยาองค์การ (พมิ พ์คร้งั ที่ 2). กรุงเทพฯ : จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย.

87 บรรณานกุ รม (ตอ่ ) เรวดี ซ้อนเพชร. (2556). ภาวะผู้นาการเปล่ียนแปลงของผู้บริหารกับงานบริหารวิชาการโรงเรียน สงั กดั สานกั งานเขตพื้นทกี่ ารศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 4. วทิ ยานพิ นธ์ศกึ ษาศาสตร มหาบณั ฑิต สาขาวชิ าการบรหิ ารการศกึ ษา บัณฑติ วิทยาลัย มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร. เรียม สุขกล่า. (2553). ความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพชีวิตกี่ทางานของข้าราชการครูกับประสิทธิผล ของโรงเรียน สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาสระแก้ว เขต 1. ปริญญานิพนธ์การศึกษา มหาบณั ฑิต สาขาวิชาการบรหิ ารการศึกษา คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยบูรพา. รณรงค์ คงทวี. (2554). ภาวะผู้นาการเปลย่ี นแปลงของผู้บริหารท่ีส่งผลตอ่ องคก์ รแห่งการเรียนรขู้ อง โรงเรียน สังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาสุรินทร์ เขต 1. วิทยานิพนธ์ครุศาสตร มหาบัณฑติ สาขาการบรหิ ารการศกึ ษา คณะครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏสุรินทร.์ วโิ รจน์ สารรัตนะ. (2555). แนวคิด ทฤษฎี และประเด็นเพอื่ การบรหิ ารทางการศกึ ษา (พมิ พ์ครั้งท่ี 8). กรงุ เทพฯ : ทพิ ยวิสทุ ธ.์ วรนารถ แสงมณี. (2553). องค์การ : ทฤษฎีการออกแบบและการบริหารจัดการเชิงกลยุทธ์. กรงุ เทพฯ : ระเบียงทองการพมิ พ.์ วันเพ็ญ บุรีสูงเนิน. (2552). ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสาเร็จในการบริหารสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน เขต พัฒนาพื้นที่ชายฝั่งทะเลตะวันออก. วิทยานิพนธ์ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาการ บรหิ ารการศึกษา ภาควชิ าการบรหิ ารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศิลปากร. วลั ภา อิสระธานนั ธ์. (2557). ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งผู้นาการเปลย่ี นแปลงของหวั หนา้ หอผปู้ ว่ ยและการ ทางานเป็นทีมกบั คุณภาพบริการโรงพยาบาลตามการรับรขู้ องพยาบาลวชิ าชพี โรงพยาบาล กาแพงเพชร. ปริญญานิพนธ์วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาการบริหารการพยาบาล บัณฑิต วิทยาลัย มหาวิทยาลัยบรู พา. วิรวรรณ จิตต์ปราณี. (2559). ภาวะผู้นาการเปลี่ยนแปลงกับทักษะในศตวรรษท่ี 21 ของผู้บริหาร โรงเรียน สังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตร มหาบัณฑติ สาขาวิชาการบรหิ ารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร. วิรวรรณ จิตต์ปราณี. (2559). ภาวะผู้นาการเปลี่ยนแปลงกับทักษะในศตวรรษท่ี21ของผู้บริหาร โรงเรียน สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 2. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตร มหาบณั ฑิต สาขาวชิ าการบริหารการศึกษา บณั ฑติ วทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook