Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore กนกวรรณ แสนเมือง

กนกวรรณ แสนเมือง

Published by วิทย บริการ, 2022-07-01 08:57:03

Description: เอกสารตำ กนกวรรณ แสนเมือง

Search

Read the Text Version

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบง5.Seek First to Understand, Then to Be Understood “เขา้ ใจคนอืน่ ก่อนทจี่ ะใหค้ นอ่ืนเข้าใจเรา ร้จู กั รบั ฟังความเห็นของคนอ่ืน พยายามเขา้ ใจความตอ้ งการของคน อ่ืนๆ” ทักษะการส่ือสารโดยเฉพาะอยา่ งยิ่งทักษะการฟงั เปน็ ส่ิงจำเปน็ และสำคญั มาก ในการทจ่ี ะเขา้ ใจความ ต้องการของคนอืน่ หรือเข้าใจส่ิงที่คนอื่นๆ กำลงั จะบอกเรา สง่ิ ทเี่ รามองอาจไมใ่ ชค่ วามจรงิ ตาเรามจี ุดบอดและนั่น ทำให้สมองต้องเติมเต็มส่ิงทหี่ ายไป ด้วยประสบการณท์ ี่ผ่านมาของแต่ละคน ซึ่งอาจทำให้เกิดความเขา้ ใจผดิ ได้ ผล ท่เี กิดขน้ึ คือบางคนพยายามทำใหค้ นอ่ืนเข้าใจตนเองให้มากข้นึ และป้องกันไม่ใหค้ นอ่นื เข้าใจผดิ แตส่ งิ่ ทเี่ ราต้องทำอันดับแรกไมใ่ ช่การทำใหค้ นอืน่ ๆ เข้าใจตัวเราหรือความต้องการของเรา แต่เปน็ การทำ ความเข้าใจความต้องการของคนอนื่ ๆ และถ้าต้ังใจฟังอย่างดี กจ็ ะทำใหต้ อบสนองได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ การรบั ฟังความเห็นหรอื คำวิจารณจ์ ากลกู คา้ เป็นทักษะทสี่ ำคัญสำหรับการขายหรือการตลาด เริม่ ตน้ จาก การทำความเข้าใจความต้องการ ความกังวลและสถานการณท์ ลี่ ูกค้ากำลงั ประสบ จะทำใหส้ ามารถนำเอาสนิ ค้า และบริการไปใชต้ อบสนองความจำเปน็ หรือใชแ้ ก้ปญั หาของลกู ค้าได้ การรับฟังและเข้าใจลกู ค้าทำให้ส่อื สารและสามารถนำเอาสินค้าและบริการไปตอบสนองความต้องการได้ ตรงใจของลูกคา้ 39

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบง6.Synergize สามคั คีคือพลัง ฟังดูเปน็ แค่คำเชยๆ Synergy คือรว่ มแรงรว่ มใจกนั ทำงานเป็นทีม สองหวั ดกี ว่าหวั เดียว นำเอาความแตกตา่ งมารวมกันไม่ใช่หักลา้ งกนั Synergy คอื การเปดิ ใจยอมรับความแตกตา่ งทางความคิด มุมมองและแนวทางการแก้ไขปัญหา รวมใจ เป็นหน่งึ เดียวและทำงานรว่ มกนั เปน็ ทมี ทมี่ ปี ระสิทธภิ าพ เชอื่ ว่าผลรวมของพลังจากทุกคนจะทำใหเ้ กิดผลท่ดี ีกวา่ แยกกนั การรว่ มแรงรว่ มใจกัน ต้องอาศัยความสามารถในการเข้าใจผูอ้ ่นื และนกึ ถึงประโยชน์รว่ มกนั จะเกดิ ขึ้นได้ เมื่อทุกคนเห็นคณุ ค่าของความแตกตา่ ง ความสามารถเฉพาะดา้ นของแตล่ ะคน เมอ่ื ยอมรับความแตกต่างได้ ก็จะ ทำให้มีจดุ ร่วมเดยี วกนั และเป็นฝ่ายเดยี วกันได้ ช่วยเสริมสร้างความสัมพนั ธ์และทำให้ทุกคนไดร้ บั ประโยชนร์ ว่ มกัน 7.Sharpen the Saw หากงานที่ได้รบั มอบหมายคอื การตัดต้นไม้ 50 ตน้ หลายคนก็คงเริ่มต้นจากการลงมือตัดต้นไม้ทลี ะตน้ วัน แรกๆ อาจตัดได้เยอะหน่อย แต่หลังจากเลื่อยเร่ิมทื่อลง ก็จะทำงานได้ชา้ ลงตามไปดว้ ย “Give me six hours to chop down a tree and I will spend the first four sharpening the axe.Abraham Lincoln” 40

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบงเครอ่ื งมือในการตดั ตน้ ไม้ ไม่ว่าจะเปน็ เลือ่ ยหรือขวานก็เปรียบได้ดั่งทักษะที่มี คนที่ฝึกฝน คนท่ีลบั คม เคร่อื งมือก่อนทำงาน อาจเร่ิมงานไดช้ า้ แตจ่ ะทำผลงานไดม้ ีประสิทธิภาพมากกว่า และสุดท้ายทำงานเสร็จเรว็ กวา่ เรียนรูแ้ ละไมห่ ยุดทจี่ ะฝึกฝนตนเอง พัฒนาตนเองอยู่เสมอ เม่อื เรามีทกั ษะที่จำเป็น ก็จะนำไปใชห้ ารายได้ พัฒนาคุณภาพชวี ติ ความสามารถที่มีมันจะนำพาเราไปพบโอกาสใหมๆ่ ทำให้เหน็ หนทางที่จะเดินหนา้ ตอ่ ไป อย่าเร่ิมต้นลงมอื ทำงานทนั ที แต่ให้เริม่ จากการฝึกฝนตนเองให้พร้อม ยกระดับตัวเองขึ้นไป มันจะทำให้ ทำงานไดร้ าบรน่ื และมีประสทิ ธภิ าพ กา้ วขา้ มระดับที่คนทั่วไปทำอยู่ ในหนังสือผ้เู ขยี นได้กลา่ วถึงการพฒั นาตนเองทท่ี ำได้ 4 ทาง ไดแ้ ก่ ร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และจติ วญิ ญาณ แนวคิดคลา้ ยๆ กนั กับ การบรหิ ารพลังงานในตนเอง ในดา้ นร่างกาย ให้คำนงึ ถงึ เร่ืองการกนิ อาหารทมี่ ปี ระโยชน์ ออกกำลังกายเพ่ือทำใหร้ ่างกายฟติ เพิ่ม ความสามารถในการฟื้นฟู นอนหลบั ใหเ้ พียงพอ และรู้จกั พักระหวา่ งการทำงาน ในดา้ นอารมณ์ ใหค้ ำนึงถึงการสร้างและรกั ษาความสัมพนั ธ์กับคนอน่ื ๆ ฝึกฝนให้เปน็ คนมีความฉลาดทาง อารมณ์ ในด้านจติ ใจ ใหค้ ำนึงถึงการฝึกฝนจติ ใจ ฝกึ จติ ใหแ้ ข็ง ฝึกใจใหแ้ กรง่ จติ ใจท่ีเขม้ แขง็ จะทำใหฟ้ ันฝ่า อุปสรรคและไม่ทอ้ แทง้ า่ ยๆ ในด้านจติ วิญญาณ ใช้เวลาอยู่กบั ธรรมชาติ ซึมซับรับรู้ความงามและความยงิ่ ใหญ่ของธรรมชาติ ฝึกฝน เรยี นรหู้ รือชื่นชมศิลปะ สรุป การสร้างลกั ษณะการคิดด้านบวกเป็นกระบวนการทางความคดิ ของบุคคลอันเกดิ จากการที่คนเรา น้ัน มีรปู แบบการรบั รูแ้ ละการรู้คดิ ไปในทิศทางทด่ี ีมองและรับร้สู ิง่ ต่างๆ ตามสภาพความเป็นจริง เป็นเหตุเป็นผล ด้วย อารมณ์ที่ผ่องใส ความสำเร็จขององค์กรขึ้นอยู่กับความสามารถของแต่ละคน ไม่ใช่แค่ระดับบริหาร แต่จะต้อง อาศัยคนทำงานที่มีประสิทธิภาพสูงในทุกระดับ ทุกคนทุกทีม จะต้องมีลักษณะนิสัย มีพฤติกรรมการทำงาน มีจุด รว่ มเดียวกัน คณุ ค่าของแตล่ ะคนสอดคล้องกบั แนวทางขององค์กร ผ้นู ำควรจะแชร์ความรู้เก่ียวกับลักษณะนิสัยท้ัง 7 อย่าง ทำให้คนทั้งองค์กรได้รู้จักและเปิดโอกาสให้แต่ละคนได้ใช้เวลาในการพัฒนาตนเองให้กลายเป็นคนที่มี ประสิทธิภาพสูงเช่นกัน ประการที่ 1 การมีความเชื่อมั่นในตัวเอง ประการที่ 2 การประเมินศักยภาพตัวเอง ประการที่ 3 การยอมรับตนเอง และการให้เกียรติตัวเอง ประการที่ 4 การมีความคดิ ริเริ่มสร้างสรรค์ ประการที่ 5 การประเมนิ และความคาดหวังต่อศักยภาพของคนอ่นื ประการที่ 6 ทศั นคติดา้ นตรรกะ ในการแก้ปัญหา การสร้าง 41

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบงวัฒนธรรมการทำงาน ด้วยทัศนคติเชิงบวก เป็นเรื่องง่ายๆ และมีประสิทธิผลสูงกับเป้าหมายขององค์กรต่างๆ องค์กรใดที่สามารถสร้างให้บุคลากรมีทัศนคติเชิงบวกต่อการทำงานของตัวเองได้แลว้ ก็จะทำให้เกิดผลลัพธ์ที่ดี มี บรรยากาศการทำงานอย่างมคี วามสุข ลดข้อขัดแย้งในการทำงานได้เป็นอย่างดี กรอบแนวคิดแบบตายตัว (Fixed Mindset) และ กรอบแนวคิดแบบพัฒนาได้ (Growth Mindset) ซึ่ง Fixed Mindset เป็นทัศนคติของคนที่คิดว่า เราไม่สามารถพัฒนาตนเองได้แล้ว ส่วน Growth Mindset เป็นกรอบแนวคิดของคนที่คิดบวก คิดว่าตัวเอง สามารถพัฒนาได้ตลอดเวลา แนวคดิ ดา้ นลักษณะการคิดด้านบวก 1.หลักการคิดบวกออกแบบชวี ติ ให้มีความสุข ก็ จะแบ่งเป็นเลือกมองอะไรในมุมกว้าง ปล่อยวางได้ก่อนแล้วใจจะเป็นสุข ชีวิตมันสั้นอยากทำอะไรต้องรีบทำ กล้าปฎิเสธหัดเกรงใจคนให้นอ้ ยลง มองโลกในมุมบวกงดคิดแบบติดลบ 2.ทัศนคติ “ทำได้” คนที่สามารถทำส่งิ ที่ ยากและท้าทายได้สำเรจ็ จะต้องมีทัศนคติ “ทำได้” หรือ “Can-do Attitude” เกิดขึ้นในใจก่อนลงมือทำเสมอ 3. ลักษณะนิสัยทางบวก 7 อย่าง ของการเป็นคนท่ีมีประสิทธิภาพสูง เป็นแนวคิดของ สตีเวน อาร์ โควีย์ ( Stephen R. Covey ) เจ้าของแนวคิด อุปนิสัย 7 ประการของผู้มีประสิทธิผลสูง ( The 7 Habits of Highly Effective People ) ซึ่งลักษณะนิสัย 7 อย่างได้แก่ Be Proactive / Begin with the End in Mind / Put First Things First / Think Win-Win / Seek First to Understand, Then to Be Understood / Synergize / Sharpen the Saw ไมว่ า่ จะเป็นการใชช้ วี อตหรอื การทำงานการคดิ ด้านบวกกจ็ ะทำให้ชีวิตง่ายข้ึน และสง่ ผลต่อสขุ ภาพจิตใจ รวมถงึ สุขภาพท่ดี ีขน้ึ อกี ด้วย 42

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบงคำถามทา้ ยบท 1. จงอธบิ ายความเข้าใจของลักษณะการคิดบวก 2. จงอธิบายวา่ ลักษณะการคดิ บวกมีความสำคัญกบั การทำงานอย่างไร 3. จงอธิบายขน้ั ตอนการพัฒนาลักษณะการคิดดา้ นบวก 4. จงอธบิ ายกรอบแนวคดิ แบบตายตวั (Fixed Mindset) และ กรอบแนวคดิ แบบพฒั นาได้ (Growth Mindset) ตามท่นี ักศึกษาเข้าใจ 5. จงยกตัวอยา่ งหลักการคิดบวกออกแบบชีวิตให้มีความสุขมาอย่างน้อย 3 ข้อ 6. ลักษณะนสิ ัยทางบวก 7 อยา่ ง ของสตเี วน อาร์ โควยี ์ มอี ะไรบ้าง 7. จงอธิบาย คำว่า “Seek First to Understand, Then to Be Understood” 8. จงอธิบาย คำว่า “Put First Things First” 9. จงอธบิ ายเปา้ หมายในอนาคต และแนวทางการพัฒนาของตนเองเพอื่ ไปสเู่ ป้าหมายอย่างน้อย 3 ข้อ 10. Proactive เปน็ บุคคลท่ีมีนิสยั แบบใด เอกสารอ้างองิ กรอบแนวคิด 2 แบบที่คุณเลือก [ออนไลน]์ ,https://blog.ourgreenfish.com/digicup/fixed- mindset- growth-mindset-กรอบแนวคิด-2-แบบทคี่ ุณเลอื กได้,[Digicub the digital academy] การสรา้ งวฒั นธรรมการทำงานด้วยทศั นคติ พทิ กั ษ์ สพุ รรโณภาพ,การคดิ เชงิ บวก : ตัวแปรในการพัฒนาชีวติ ,[ออนไลน์] แหล่งที่มา: วารสารวิชาการ ฉบบั ภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สงั คมศาสตร์ และศิลปะปที ี่ 11 ฉบับท่ี 3 เดือนกันยายน – ธนั วาคม 2561 (สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษา แห่งชาติ, 2546: online) หลกั การคดิ บวกออกแบบชวี ิตใหม้ คี วามสขุ [ออนไลน]์ ,https://m-academy.in.th/ข่าวสารและ กจิ กรรม/หลกั การคิดบวกออกแบบชีว/,[26 มิ.ย.2560] เชงิ บวก[ออนไลน์],https://www.entraining.net/article/ โดย ทมี งานเอน็ เทรนนิง่ (14 พฤศจิกายน 2561) ทศั นคติ “ทำได้” [ออนไลน์],http://www.dgtrans.co.th/contentdetail.php?content_id=131 ณฐั นวิ าตา นนท์ บรษิ ทั ด.ี จ.ี ทรานส์ อินเตอรเ์ นชนั่ แนล จำกดั ,(23 กรกฎาคม 2561) นสิ ัยคนมีประสทิ ธิภาพ [ออนไลน์],https://www.nicetofit.com/ ,[18 สงิ หาคม 2561] 43

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบงแผนบริหารการสอนประจำบทที่ 3 หวั ข้อเนื้อหา 1. ความหมายของหลักการบริหารคนและเรยี นรูร้ ่วมกนั 2. การมีส่วนร่วมในแบบจรงิ จงั 3. การจดั การการเรียนรู้แบบรว่ มมือกนั 4. แนวทางการสรา้ งและสนบั สนุนการมีสว่ นร่วม วัตถปุ ระสงค์เชิงพฤติกรรม 1. เมื่อนักศึกษาเรียนจบบทเรียนนี้ แล้วสามารถอธบิ ายและทำความเข้าใจความหวาย ความสำคัญของ หลกั การบริหารคนและเรยี นรู้รว่ มกันได้ 2. เมอ่ื นกั ศึกษาเรียนจบบทเรียนนแ้ี ลว้ สามารถเขียนอธิบายลกั ษณะของการบริหารแบบมสี ว่ นรว่ มได้ 3. เมื่อนักศกึ ษาเรยี นจบบทเรยี นนี้แลว้ สามารถเขียนอธิบายถึงรปู แบบการจัดการรยี นแบบรว่ มมือในแต่ ละแบบได้ 4. เมอื่ นักศึกษาเรียนจบบทเรียนนีแ้ ล้วสามารถเขยี นหลักการ CLUSTER s ได้ 5. เมื่อนักศึกษาเรยี นจบบทเรียนนี้แล้วสามารถยกตัวอย่างแนวทางในการสร้างและสนับสนุนให้องค์กร เกดิ การมีสว่ นร่วมไดอ้ ยา่ งน้อย 1 หวั ข้อ วธิ ีสอนและกิจกรรมการเรยี นการสอน 1. วิธีสอน 1.1 อภิปรายเก่ยี วกบั คำวา่ การบรหิ ารและการเรียนรรู้ ่วมกันได้ 1.2 ให้นักศกึ ษาเขยี นสรุปความเขา้ ใจและขนั้ ตอนการบรหิ ารและการเรียนร้รู ว่ มกันได้ 1.3 สรุปทฤษฎี ความเช่อื มโยงของบรหิ ารและการเรยี นรรู้ ่วมกันได้โดยผเู้ รียนคนอื่น ๆ มสี ว่ นร่วม 1.4 ให้นกั ศึกษาเขียนคุณสมบัติเพ่อื การมสี ว่ นร่วมและอธิบายหน้าชั้น 1.5 ผูส้ อนสรปุ เสรมิ ให้สมบูรณท์ ้ังบท 1.6 นกั ศึกษาแบ่งกลุ่มจัดทำ workshop เพอ่ื นสร้างเทคนิคทำให้เกิดการมีส่วนร่วมให้กับเพ่ือนๆใน ชัน้ 1.7 คน้ คว้าข้อมลู 1.8 นักศึกษาทำแบบฝึกหัดท้ายบทและอา่ นเอกสารประกอบการสอนเตรียมไว้ในการเรยี นสปั ดาห์ 2. กจิ กรรมการเรียนการสอน 2.1 มกี ารบรรยายในชัน้ เรยี นและการถาม-ตอบ 2.2 มีการอภิปลายเปน็ กลุ่มและเด่ียว 44

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบง2.3 คน้ คว้าขอ้ มลู เพิ่มเติมเกี่ยวกับการทำให้องค์กรเกิดการมกี ารเรียนร้รู ว่ มกนั และนำเสนอหน้าชน้ั ส่ือการเรยี นการสอน 1. เอกสารประกอบการสอน Power Point 2. เอกสารและตำราอื่น ๆ ท่ีเก่ียวข้อง 3. วดี ที ศั น์เกยี่ วกบั รูปแบบการมีส่วนร่วมในลักษณะต่าง ๆ การวัดและประเมินผล 1. ซักถามความเขา้ ใจของนักศกึ ษาเก่ยี วกับบทเรยี นท่ีเรียนไป 2. ประเมนิ ผลจากแบบฝึกหัดท้ายบทเรยี น 3. ตรวจผลงานของนกั ศกึ ษาและการมีส่วนร่วมกับกจิ กรรมในชนั้ เรยี น 45

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบงบทที่ 3 หลกั การบริหารคนและเรียนร้รู ว่ มกนั 3.1 ความหมายของหลกั การบริหารคนและเรียนรู้รว่ มกนั การบรหิ ารคนแบบเรียนร้รู ่วมกนั (Participative Management) หมายถงึ การบริหารโดยให้บุคคล ใน องค์กรหรือบุคคลที่มีส่วนเกี่ยวข้องในกระบวนการ การตัดสินใจใช้ความคิดสร้างสรรค์ ความเชี่ยวชาญ ในการ บริหารให้บรรลุวัตถุประสงค์ หรือแก้ไขปัญหาต่างๆ ที่เกิดจากการบริหารงานมีความสำคัญของการ บริหารงาน แบบมีส่วนร่วมก่อให้เกิดความเข้าใจร่วมกันในการปฏิบัติงานที่มุ่งหวัง และกระบวนการการ ตัดสินใจสามรถ รองรับพฤติกรรมของบุคคลในองค์กรได้กว้างขวางและเกิดการยอมรับได้เป็นหลักการของ การบริหารงานที่ผล ต่อการดำเนินการเชิงวิเคราะห์ ซึ่งนำไปสู่การตัดสินใจได้ ลดช่องว่างของระบบการ สื่อสารในองค์กรและขจัด ปัญหาความขัดแย้ง การบริหารแบบมีส่วนร่วมเป็นการบริหารที่เปิดโอกาสให้บุคคลผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการจัด การศึกษา ได้เข้ามามีส่วนร่วมคิดตัดสินใจ ร่วมวางแผน ร่วมทำงาน จึงก่อให้เกิดความรู้สึกผูกพัน ผูกมัดและตก ลงใจ รว่ มกันในการบรหิ ารโรงเรยี น เพือ่ ให้บรรลเุ ปา้ หมายการบรหิ ารแบบมีสว่ นรว่ ม จงึ ทำให้เกิดประโยชน์ได้แก่ 1. การมีส่วนรว่ มกอ่ ใหเ้ กดิ ระดมความความคดิ ทำใหเ้ กิดความคดิ เห็นทห่ี ลากหลาย ซง่ึ ดีกว่า การคิดและ ตดั สินใจเพียงบคุ คลคนเดยี ว 2. การมีส่วนร่วมในการบริหารเป็นการลดการต่อต้านและก่อให้เกิดการยอมรับมากขึ้น 3. การมีส่วนรว่ มเปิดโอกาสใหม้ ีการสือ่ สารท่ีดี สามารถแลกเปลีย่ นประสบการณ์ในการทำงาน ร่วมกัน เสริมสร้างความสัมพนั ธ์ท่ดี ีต่อกนั 4. การมีส่วนรว่ มทำใหเ้ กิดการตัดสินใจมคี ุณภาพและทำใหเ้ กิดความพึงพอใจในการปฏิบตั ิงาน มากขึ้น ด้วย2 การบริหารแบบมีส่วนร่วม หมายถึง การที่บุคคลผู้บริหารใช้การจูงใจให้บุคคลผู้ปฏิบัติงานหรือบุคคล ผู้ท่ี เกี่ยวข้องได้มีโอกาสมีส่วนร่วมในการคิด ร่วมตัดสินใจ ร่วมปฏิบัติงาน ร่วมรับผิดชอบ เพื่อการพัฒนา งานที่ ปฏบิ ตั ิให้มีคุณภาพสงู สดุ ซึ่งเปน็ การเปิดโอกาสใหบ้ ุคคลหรือกลุ่มบุคคลไดม้ ีสว่ นเกยี่ วข้องในการ ปฏิบัติงานไม่ว่า จะเปน็ ทางตรงหรือทางอ้อมในลักษณะของการรบั รู้ ร่วมคดิ รว่ มทำ รว่ มตัดสนิ ใจตลอดจน การประเมินผลให้ทุก ฝา่ ยไดส้ ำนกึ ในหนา้ ทแ่ี ละความรับผดิ ชอบรว่ มกนั อนั จะนำไปส่เู ป้าหมายขององคก์ ร 3.1.1 พื้นฐานของการบริหารแบบมสี ่วนรว่ ม นกั ทฤษฎอี งค์การมีแนวคดิ เรื่องทฤษฎีการจูงใจท่ีคล้ายคลงึ กัน คอื ทฤษฎกี ารจูงใจของมาสโลว์ (Maslow’s Motivation Theory) มคี วามเช่อื ว่ามนุษย์ทุกคนมคี วามต้องการเหมือนกนั ตราบใดท่ยี งั ไม่สามารถ ตอบสนองความต้องการได้ ก็จะเกิดปัญหาความต้องการอยรู่ ่าไป แต่ถา้ ความต้องการได้รับการตอบสนอง กจ็ ะ 46

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบงเลิกสนใจมนุษย์ตอบสนองความตอ้ งการแตกตา่ งกัน ทางด้านปริมาณความตอ้ งการระดับตำ่ คอ่ นข้างมีขอบเขต จำกัด แต่ความตอ้ งการระดับสูงมักจะมขี อบเขตไมจ่ ำกดั ทฤษฎีการจูงใจของเฮอร์เบิร์ก (Herberg’s Motivation Hygine Theory ) มคี วามเช่ือวา่ ปัจจัยที่จะจงู ใจให้คนทำงานประกอบด้วย 1. ความสาเรจ็ ในงานทที่ ำ 2. การได้รับการยอมรับยกย่องและนับถือ 3. ความกา้ วหน้าในหนา้ ท่ีการงานทนี่ าไปสู่ความสาเร็จ 4. ลกั ษณะของงานท่ีทำ 5. ความรบั ผิดชอบในงานที่ได้รบั มอบหมาย 6. ความเจรญิ เตบิ โตสว่ นบคุ คล จากการศึกษาถงึ พฤติกรรมของมนุษย์ อากรี ิส (Argyris) พบว่าบคุ คลจะมวี ฒุ ิภาวะและบุคลิกภาพเป็น ของตนเอง การบรหิ ารแบบมีสว่ นรว่ มจะช่วยใหบ้ คุ คลไดพ้ ัฒนาบคุ ลิกภาพของตนเองในด้านการตัดสนิ ใจ การ ควบคุมการทำงาน การแสดงออก ทศั นคตแิ ละการใชค้ วามสามารถทจี่ ะประสบความสำเรจ็ 3.1.2 ลักษณะของการบริหารแบบมสี ่วนร่วม ลักษณะของการบริหารแบบมีสว่ นร่วมเน้นความสำคัญท่บี ุคลากรและกลุ่มงานให้มีสว่ นเก่ียวขอ้ ง ในการ บรหิ ารที่มีประสทิ ธิภาพในบรรยากาศที่เป็นประชาธปิ ไตย บุคคลผูบ้ รหิ ารนยิ มมอบหมาย และกระจายอำนาจ ของตนสู่บุคคลผปู้ ฏบิ ตั ดิ ว้ ยความเต็มใจ จงึ เป็นการชว่ ยลดภาระหนา้ ทข่ี องบคุ คล ผู้บรหิ ารลง และสามารถใช้ เวลาในเร่อื งสำคญั อื่นๆ ไดม้ ากขึ้น ขณะเดียวกันก็ชว่ ยใหง้ านในระดบั ล่าง มีความหมายและทา้ ทายมากข้นึ เน่ืองจากบุคคลระดับปฏบิ ัติสามารถตัดสินใจไดด้ ว้ ยตนเอง ลกั ษณะของการบรหิ ารแบบมี สว่ นร่วมนั้นเกดิ จาก บุคคลผ้นู ำแบบประชาธิปไตยท่บี ริหารงานด้วยโครงสร้างการบรหิ ารท่เี อ้ือตอ่ การมี ส่วนร่วมเปดิ โอกาสใหบ้ ุคคลมี สว่ นรว่ มไม่วา่ จะใหค้ วามร่วมมอื ในการตัดสนิ ใจหรือ มีสว่ นร่วมในการแสดง ความคดิ เห็นให้ขอ้ เสนอแนะในการ ปฏบิ ตั ิงานในข้ันตอนใดขั้นตอนหนึ่งหรือทกุ ขั้นตอนในกระบวนการ บรหิ าร อนั ไดแ้ ก่ การวางแผน การสัง่ การ และการควบคุม ย่อมสร้างความภาคภมู ิใจในความมีสว่ นรว่ ม แก่บุคคล จะนำมาซึ่งความผกู พนั และความยนิ ยอม รับผลการปฏบิ ตั ิงานอันเกดิ จากการมสี ว่ นร่วมนนั้ ๆ โดยปราศจากข้อโต้แยง้ ซึ่งนักวิชาการ นภิ า อินทะวงศ์ ได้ เสนอแนะในการแบง่ ขัน้ ตอนการมสี ว่ นร่วม ๔ ข้นั ตอน คือ 1. การมสี ว่ นร่วมในการตดั สิน (Decision Making) ประกอบดว้ ย ๓ ขั้นตอน คอื ริเร่มิ ตัดสนิ ใจ และ ปฏบิ ัตกิ าร 2. การมีส่วนรว่ มในการปฏิบัติ (Implementation) ประกอบดว้ ย ๓ ขนั้ ตอน คือ ดา้ นทรพั ยากร การ บรหิ าร และประสานความร่วมมอื 3. การมสี ว่ นรว่ มในผลประโยชน์ (Benefits) 47

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบง4. การมีสว่ นรว่ มในการประเมนิ (Evaluation) ระบบการบริหารแบบมีส่วนร่วมท่ีใช้อยูใ่ นปัจจุบนั และเป็นยอมรบั วา่ ได้ผลในเชงิ ปฏบิ ตั ิมาก อทุ ัย บุญ ประเสริฐ แบ่งออกเปน็ 4 ระบบ คือ 1. การปรกึ ษาหารือ (Consulting Management) เปน็ การบรหิ ารแบบเปดิ โอกาสใหบ้ ุคคล ผปู้ ฏิบัติงานหรือผู้เกีย่ วข้องได้มีสว่ นร่วมในการปฏิบตั ิงานในรูปแบบคณะกรรมการ (Committee) เชน่ คณะกรรมการเฉพาะกิจ หรอื คณะกรรมการที่เรียกช่ืออยา่ งอื่น รปู แบบอย่างน้เี ปน็ กรกระจายอำนาจการบริหารและการตัดสนิ ใจให้ผมู้ สี ว่ นเกย่ี วข้องกับงาน มสี ว่ นร่วม รับผดิ ชอบในการดำเนนิ การด้วย ระบบการปรึกษาหารอื น้ีเหมาะสมสำหรบั ใช้กับบุคคลผู้บรหิ าร ระดับต้นขึ้นไป โดยการมอบหมายทำหน้าทีเ่ ปน็ หัวหน้าคณะทำงาน ประธานโครงการ ประธานคณะ กรรมการหรอื กรรมการ เปน็ ตน้ 2. กล่มุ คุณภาพ (QC Circles) เป็นการบรหิ ารแบบเปิดโอกาสใหบ้ คุ คลผบู้ รหิ ารได้มีส่วนร่วม ในการ ปฏบิ ตั ิงานแบบของกลุ่มบคุ คล 3-10 คน ที่อยใู่ นหนว่ ยงานเดยี วกัน รปู แบบกลมุ่ คุณภาพน้ี เหมาะสำหรับใชก้ ับ บคุ คลผปู้ ฏิบตั งิ าน หรอื ระดบั หวั หน้างาน เพราะเปน็ การฝกึ ฝนและเปิดโอกาสใหบ้ คุ คล ผู้ปฏิบตั ิงานได้มีโอกาส ทำงานรว่ มกนั เพือ่ คน้ ปัญหาสาเหตุของปัญหาตลอดจนแนวทางแก้ปัญหา ดว้ ยตนเอง ซ่ึงมกี ระบวนการในการ บรหิ ารกลมุ่ สร้างคุณภาพ 4 ข้ันตอน คือ P (Plan) การวางแผน, D (DO) การปฏบิ ัติ, C (Cheek) การตรวจสอบ, และ A (Act) การปรบั ปรุงแก้ไข หรอื P D C A น่นั เอง อย่างไรก็ตาม ระบบกลุ่มคุณภาพจะใช้ได้ผลดกี ็ต่อเมื่อมกี ารฝกึ อบรมเก่ียวกับเทคนิค QC และ การใช้ กระบวนการกลุ่มให้แกผ่ เู้ กีย่ วข้องและท่สี ำคัญ คือ ความพงึ พอใจในการปฏิบัตงิ านของบุคคล ผรู้ ว่ มงานตอ้ งอยู่ ในเกณฑ์สงู จงึ จะสามารถนำระบบกลุ่มคุณภาพน้มี าใช้ให้เกิดประโยชน์สงู สุด 3. ระบบขอ้ เสนอแนะ (Suggestion System) เปน็ รูปแบบหนึ่งของการบรหิ ารแบบมีสว่ นรว่ ม ท่ไี ด้ผล มากในทางปฏิบตั ิ โดยมลี ักษณะแตกตา่ งจากข้อเสนอแนะทมี่ กั พบเหน็ ทว่ั ๆ ไปที่มีลักษณะเปน็ กลุ่ม หรือผรู้ บั ฟังความคดิ เห็นเท่านนั้ กล่าวคอื รูปแบบนจ้ี ะมแี บบฟอร์มข้อเสนอแนะให้บุคคลผ้ปู ฏิบัติงาน หรือ ผุเ้ ก่ียวข้องกรอกตามแบบท่ีกำหนด เช่น ปัญหาท่ีพบคืออะไร สาเหตุของปัญหามาจากอะไร วิธีการ แก้ปญั หามีอะไรบ้าง และผลที่คาดหวังจะได้รบั นี้เปน็ อย่างไร สำหรบั แบบฟอร์มที่กำหนดนอี้ าจแตกตา่ ง กนั ไป ตามความต้องการของแตล่ ะหนว่ ยงาน แตม่ ีหลกั การปฏบิ ตั เิ ดยี วกนั คอื จะมีคณะกรรมการพจิ ารณา ขอ้ เสนอแนะมีหนา้ ที่ในการประเมนิ ข้อเสนอแนะจากแบบฟอรม์ ตา่ งๆ นั้นวา่ เป็นความคิดริเรม่ิ สร้างสรรค์ เพยี งใด ความเปน็ ไปได้ทางปฏิบัตมิ ากน้อยแค่ไหนและสมควรดำเนินการตามข้อเสนอแนะหรอื ไม่ แจง้ นำเสนอ บุคคลผูม้ อี ำนาจพจิ ารณาดำเนนิ การตอ่ ไป 4. ระบบสง่ เสรมิ ให้บคุ คลผ้ปู ฏิบัติงานมสี ว่ นร่วมเป็นเจ้าของของกิจการ รปู แบบนีพ้ บมาก ในการบริหาร กิจการของบริษัทหน่วยงานเอกชน หรือรฐั วสิ าหกจิ โดยการสง่ เสริมให้บคุ คลผ้ปู ฏบิ ตั งิ าน ทุกระดับมีส่วนร่วมการ 48

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบงเปน็ เจ้าของกิจการด้วยการลงทนุ ซอื้ หนุ้ ของบริษทั หรือบริษัทอาจจา่ ยเปน็ สว่ นหนึง่ เปน็ ทนุ เรอื นห้นุ ในแต่ละปีจะ ช่วยให้บุคคลผู้ปฏบิ ัตงิ านมีความรสู้ กึ เปน็ เจ้าของกจิ การเองและมคี วามรสู้ ึก ผูกพันในการปฏบิ ัติงานเพื่อ ผลประโยชนร์ ว่ มกัน ดงั นั้น ในรูปแบบนบ้ี คุ คลผู้บริหารอาจนำมาประยุกต์ โดยการสรา้ งบรรยากาศให้เกิด ความร้สู ึกการเป็นเจา้ ของหน่วยงาน เพอื่ ใหบ้ ุคคลผมู้ สี ว่ นเกีย่ วขอ้ งทุกฝา่ ย พึงพอใจที่จะมสี ่วนรว่ มใหม้ ากที่สุด 3.1.3 ความสำคญั ของการบริหารคนแบบเรยี นรู้ร่วมกนั เหตผุ ลท่จี ำเป็นตอ่ การบรหิ ารหรือการจดั การองค์กร คือ 1) ก่อให้เกิดความเข้าใจร่วมกนั ในการปฏิบตั ิงานท่ีมงุ่ หวงั 2) กระบวนการตัดสินใจสามารถรองรับพฤติกรรมของบุคคลในองค์กรได้กวา้ งขวางและเกดิ การยอมรบั ได้ 3) เปน็ หลกั การของการบรหิ ารทเ่ี ปน็ ผลตอ่ การดำเนนิ การเชิงวิเคราะหด์ ้วยเหตุผลวิวฒั นาการเพอ่ื ความคิด (การเปิดกวา้ ง) การระดมความคดิ (ระดมสมอง) ซ่ึงนำไปสู่ การตัดสินใจได้ 4) ลดชอ่ งวา่ งของระบบการสอ่ื สารในองค์กรและขจดั ปัญหาความขัดแยง้ ได้ การปฏิบตั ิงานขององค์กรโดยทั่วไปจะเปน็ ไปโดยการแบง่ แยกหนา้ ทีม่ ีการงานแตล่ ะแผนก ฝ่าย กอง หรือ หน่วยงานตามคำสงั่ มอบหมายหนา้ ท่ีการงาน หรอื แผนภมู ริ ปู แบบการจดั องค์กรของแตล่ ะหนว่ ยงาน ซง่ึ มแี ยกต่างกันท้ังราชการหรือเอกชน การปฏิบัติงานเชิงคำส่งั หรือแผนภูมเิ หล่านั้นเป็นลกั ษณะของการสง่ั การ จะเป็นทั้งรปู แบบประสานจากเบือ้ งบนลงลา่ ง หรือจากเบือ้ งลา่ งส่บู น หรือในระดับเดยี วกันไดเ้ สมอ พฤติกรรมการปฏบิ ัติลักษณะแนวส่ังการน้เี ปน็ เร่อื งปกติ โดยมีพน้ื ฐานจากหลกั องคก์ รท่ีได้วางไว้ การพัฒนา หรือการประสบความล้มเหลวหรือการประสบความสำเร็จของงานในองค์กรเปน็ สงิ่ ท่ีสามารถมองออกและมองได้ โดยการทำงานเชงิ บุคคลเป็นสำคัญ แนวเปลี่ยนผา่ นซง่ึ ความสำเรจ็ ใด ๆ ทีเ่ กิดข้ึนโดยการเสนอความคิด และ ร่วมกระทำ กระทำไดแ้ ต่ไม่สอดรับเท่าที่ควร การจดั กระทำเพอื่ องค์กรให้มีการพฒั นาและเร่งรัดจะต้อง กอ่ ให้เกดิ กระบวนการมีสว่ นรว่ ม 3.2 การมีสว่ นรว่ มในแบบจริงจงั (High – involvement) เป็นการบรหิ ารให้สมาชิกทุกคนในองค์กร มีสว่ นรว่ มในการกำหนดภารกจิ ในการปฏิบัตงิ านในการ แกป้ ัญหาและการสรา้ งความสำเรจ็ ให้แก่องคก์ ร ซึ่งตอ้ งอาศยั การกระจายอำนาจ (Decentralization) สู่ ระดับกลางขององค์กรอย่างท่ัวถงึ ในสง่ิ ท่ตี ่อไปน้ี 49

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบง3.2.1 สารสนเทศ (Information) ได้แก่ ข้อมลู ข่าวสารทีท่ ำให้พนักงานมสี ่วนร่วม และมีอำนาจ ใน การตดั สนิ ใจ ได้มคี วามรู้ ความเข้าใจเก่ยี วกับส่ิงแวดลอ้ ม กลยทุ ธ์ ระบบงาน ระดบั และชนดิ ของผลงาน ท่ี ต้องการ 3.2.2 ความรู้และทักษะ (Knowledge and Skills) ไดแ้ ก่ ความรู้และทักษะในการบริหารและการ ปฏบิ ัตงิ านที่เปน็ สิง่ จำเปน็ สำหรบั การก่อให้เกดิ ประสทิ ธผิ ลของงานและความสำเร็จขององค์กร 3.2.3 อำนาจ (Power) ไดแ้ ก่ อำนาจบงั คับบัญชาทเ่ี ก่ียวขอ้ งกับการตัดสนิ ใจในกระบวนการกำหนด นโยบายและกลยทุ ธ์การปฏิบัติงานและการประเมินผล 3.2.4 รางวลั (Rewards) ได้แก่ ส่ิงทก่ี ่อให้พนกั งานเกดิ แรงจงู ใจท่จี ะมีส่วนรว่ มทำใหอ้ งคก์ รประสบ ความสำเร็จ 3.2.5 ข้อจำกัดและอปุ สรรคของการบริหารแบบมีส่วนร่วม ถงึ แมว้ ่าการบริหารแบบมีสว่ นร่วมจะมีประโยชน์ แต่การท่ผี บู้ ริหารจะนำการบรหิ ารรปู แบบนี้มาใชค้ วร คำนึงถึงข้อจำกดั และอปุ สรรคของการบรหิ ารแบบมสี ่วนรว่ ม ซึ่งจนั ทรานี สงวนนาม (2545 : 71) ได้สรปุ วา่ การทีผ่ ูบ้ ริหารจะนำการบรหิ ารในรปู แบบนี้มาใชค้ วรจะระมัดระวงั ถึงข้อจำกดั ของการให้กล่มุ มสี ว่ นร่วมในการ แสดงความคดิ เหน็ และตัดสนิ ใจ เพราะอาจทำใหเ้ กิดกลุ่มอิทธพิ ลขึ้นได้ และก่อใหเ้ กดิ ความขัดแย้งกนั ความ รบั ผิดชอบและการกระทำของกล่มุ ไม่มหี ลกั ประกัน แน่ชดั เพราะทกุ อยา่ งข้นึ อยู่กับการตดั สนิ ใจของกลมุ่ ผบู้ ริหารจงึ ควรคำนึงถงึ ผลได้ผลเสยี เชน่ ค่าใชจ้ ่าย เวลา ปญั หา และสถานการณ์ การกำหนดนโยบายและ วตั ถปุ ระสงค์ขององค์การควรได้รับการพจิ ารณาอย่างรอบคอบก่อนจะให้กลมุ่ มีส่วนรว่ มในการตัดสนิ ใจ ใน ทำนองเดยี วกนั สมยศ นาวีการ (2545ข : 25 – 36) ได้กลา่ วถงึ อปุ สรรคของการใช้การบรหิ ารแบบมสี ว่ นร่วม อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพวา่ อปุ สรรคเหลา่ นีอ้ าจเกิดขึ้นกบั หลาย ๆ ปัจจยั ดังนี้ อปุ สรรคทางดา้ นองค์การซง่ึ จะยึด ตดิ กบั ประเพณี ปรชั ญาและคา่ นิยมขององค์การ คุณภาพของนโยบายและระเบยี บวิธปี ฏิบัตงิ าน คณุ ภาพของ เจา้ หนา้ ท่ี โครงสร้างขององค์การ การขาดบรรยากาศสนับสนนุ การขาดระบบการใหร้ างวลั ในการมสี ่วนร่วม นอกจากอุปสรรคทางด้านองค์การแล้ว อปุ สรรคบางอยา่ งอาจเกิดขนึ้ จากตัวผู้บรหิ ารเองทีข่ ัดขวางการใช้การ บริหารแบบมสี ่วนร่วม เชน่ ความไมเ่ ข้าใจ การขาดความมนั่ คงหรือความกลวั ทสี่ ญู เสยี อำนาจการบรหิ ารไป เป็นตน้ สว่ นอุปสรรคทางดา้ นผใู้ ตบ้ ังคบั บญั ชานัน้ อาจเกิดข้ึนจากการขาดความสามารถ ขาดความต้องการ การไม่รับรูว้ า่ ถกู คาดหวังให้มีสว่ นรว่ มและความกลัว นอกจากนี้ยงั มีอุปสรรคทางด้านสถานการณ์ทีข่ ้นึ อยกู่ ับ ขอ้ จำกัดดา้ นเวลา งานและอิทธพิ ลทางด้านสภาพแวดลอ้ ม 50

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบง3.3 การจัดการเรยี นรแู้ บบรว่ มมอื (Co-operative learning) การจัดการเรียนรู้แบบรว่ มมือ (Cooperative Learning ) มีนักการศกึ ษาในต่างประเทศใหค้ วามหมาย ไวห้ ลายท่าน อาทิเช่น Balkcom (1992), Slavin, Robert E. (1995) และ Abuseileek (2007) ซง่ึ ท่าน ทั้งหลายใหค้ วามหมายของการเรยี นแบบรว่ มมอื ไวว้ า่ เป็นการเรยี นท่เี หมาะกบั สมาชิกกลุ่มเลก็ ๆ แลว้ รว่ มกัน แก้ปญั หาหรือทำงานท่ไี ด้รับมอบหมายให้สำเรจ็ สมาชกิ ในกลุม่ ทุกคนเปน็ ส่วนสำคัญของกลมุ่ ท่จี ะตอ้ งมสี ่วนรว่ ม ในการช่วยเหลือซ่ึงกันและกนั ในการทำงาน ความสำเรจ็ หรือความลม้ เหลวของกลุ่มลว้ นเป็นของทุกคนในกลมุ่ 3.3.1 รูปแบบการจัดการเรียนแบบรว่ มมือ การเรียนแบบรว่ มมือมีทัง้ เทคนิคทีน่ ำมาใชไ้ ด้ไมต่ ้องปรับ และเทคนิคที่ต้องปรบั เพ่อื ใหเ้ หมาะสมกบั ผเู้ รยี นและเนื้อหาของงาน ดังท่ีกลา่ วไว้ในหัวข้อประเภทกลุม่ การเรียนรแู้ บบรว่ มมือ อยา่ งไรกต็ ามการเรียนแบบ ร่วมมอื จัดเป็นวิธีการสอนอย่างหนงึ่ ที่ชว่ ยส่งเสริมใหผ้ เู้ รียนเรยี นรูด้ ว้ ยตนเองได้เปน็ อย่างดี ซ่งึ รปู แบบการเรยี น แบบรว่ มมือมหี ลากหลายวิธี ซ่ึงไสว ฟักขาว ( 2544) กลา่ วถึง รปู แบบการเรยี นรู้แบบรว่ มมือท่ีนยิ มใช้ในปจั จบุ ัน มี 7 รูปแบบ ดงั น้ี 1. รูปแบบ Jigsaw เป็นการสอนที่อาศยั แนวคิดการต่อภาพ ซ่ึงบางคร้ังเรยี กรูปแบบนว้ี า่ การ เรยี นแบบต่อชิน้ สว่ น หรอื การศึกษาเฉพาะสว่ น วธิ ีการเรียนรู้ด้วยรปู แบบน้ี ผูส้ อนจะแบ่งกลมุ่ ผูเ้ รียนโดยการคละ ตามความสามารถ พร้อมกบั มอบหมายให้ทกุ กลุม่ ทากิจกรรมในหัวข้อเดียวกนั หลังจากน้ันในกลุ่มหลกั (Home Groups) ทีแ่ บง่ ไว้ใหแ้ บง่ สมาชกิ ภายในกลุ่มศึกษาเพียงสว่ นหนึง่ หรอื หวั ข้อย่อยของเน้ือหาท้งั หมด โดยขณะ ศึกษาหัวข้อย่อยน้ัน ผู้เรียนจะทำงานเป็นกลุ่มกบั เพื่อนกลุ่มอน่ื ที่ได้รบั มอบหมายให้ศกึ ษาหัวขอ้ ยอ่ ยเดยี วกันเรียก กลุ่มน้วี ่า กลุม่ ผเู้ ชย่ี วชาญ (Expert Group) และเตรยี มพร้อมที่จะกลับไปอธบิ ายหรอื สอนเพอื่ นสมาชกิ ในกลุ่ม หลักของตนเอง 2. รปู แบบ STAD (Student Teams – Achievement Division) เปน็ การเรียนแบบ ร่วมมอื ทีใชร่วมกับกจิ กรรมการเรยี นการสอนรปู แบบอื่นๆ หรอื หลงั จากทีผ่ ู้สอนได้สอนผู้เรียนทัง้ ชน้ั ไปแล้ว และ ต้องการใหผ้ ู้เรียนได้ศึกษาค้นควา้ ร่วมกนั ภายในกลมุ่ สบื เน่ืองจากสิ่งที่ผู้สอนไดส้ อนไป ซ่ึงใช้ไดก้ ับทุกวชิ าที่ ต้องการใหผ้ เู้ รียนมคี วามรู้ ความเขา้ ใจในสง่ิ ทเ่ี ปน็ ข้อเทจ็ จริง เกิดความคิดรวบยอด คน้ หาสิง่ ทีม่ คี าตอบ ชดั เจน แน่นอน ซงึ่ สลาวนิ (Slavin : 1980) ได้เสนอรปู แบบการเรียนแบบเป็นทีม (Student Teams Learning Method) ไว้ 4 รปู แบบ คือ 1) student Teams – Achievement Divisions (STAD) 2) Teams – Games – Toumaments (TGT) ซงึ่ เป็นรูปแบบทีส่ ามารถปรับใชก้ บั ทุกวิชาและระดับชั้น 3) Team Assisted Individualization (TAI) เป็นรูปแบบท่ีเหมาะกบั การสอนวิชาคณติ ศาสตร์ และ 4) Cooperative Integrated Reading and Composition (CIRC) เปน็ รปู แบบในการสอนอ่านและการเขียน 3. รูปแบบ LT (Learning Together) รปู แบบนผ้ี ้สู อนกำหนดสถานการณห์ รือโครงงาน พรอ้ ม กำหนดเง่ือนไข รายละเอยี ดของงาน เพอ่ื ให้ผู้เรยี นมีความคดิ สร้างสรรค์ผลงานเอง หลังจากนน้ั ผู้สอน แบง่ กลุ่มผู้เรียนโดยคละกนั ตามความสามารถ แล้วใหผ้ ้เู รยี นทำผลงานเปน็ กล่มุ ซงึ่ สมาชกิ กลมุ่ รบั ผิดชอบในงาน 51

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบงสว่ นของตนเอง เมื่องานในส่วนของตนเองแลว้ เสรจ็ จะนำงานของทุกคนมารวมเปน็ งานของกล่มุ ดังนน้ั ความสา เร็จของกลุ่มเกิดจากความร่วมมอื ของสมาชิกกลมุ่ ทกุ คนใหน้ ักเรียนแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและแบ่งปันเอกสาร การแบ่งงานทเี่ หมาะสม พร้อมนำเสนอผลงาน โดยมผี สู้ อนเปน็ ผปู้ ระเมินผลการทำงานของกลุ่ม เน้นผลงานและ กระบวนการทำงาน 4. รปู แบบ TAI (Team Assisted Individualization) คือ วิธีการสอนท่ีผสมผสานระหวา่ ง การเรียนแบบร่วมมือ (Cooperative Learning) และการสอนรายบคุ คล (Individualization Instruction) เขา้ ดว้ ยกนั โดยให้ผูเ้ รยี นไดล้ งมอื ทำกิจกรรมในการเรยี นไดด้ ว้ ยตนเองตามความสามารถของตนและสง่ เสรมิ ความ รว่ มมอื ภายในกลุ่ม มกี ารแลกเปล่ียนประสบการณ์การเรียนรู้และปฏิสัมพนั ธท์ างสงั คม 5. รปู แบบ TGT (Teams-Games-Tournaments) เป็นการเรียนแบบร่วมมือกันแข่งขันทำ กิจกรรม กลา่ วคือเป็นการเรียนทมี่ กี ารแขง่ ขันกนั ระหว่างกลมุ่ ด้วยเกม ซ่งึ เป็นการจดั การเรยี นการสอนที่ให้ ผ้เู รียนไดเ้ รยี นในกล่มุ เล็กๆ คละความสามารถเช่นเดยี วกับรปู แบบการเรยี นการสอนแบบกลมุ่ แข่งขนั แบบแบ่ง ตามผลสัมฤทธ์ิ (STAD) โดยมคี วามแตกต่างกันท่ีการเข้าร่วมกลมุ่ จะมีลกั ษณะถาวรกวา่ โดยสมาชิกแตล่ ะคนของ กลุม่ หนึ่งๆ ตอ้ งแข่งขนั ตอบคาถามกับสมาชิกของกลมุ่ อื่นที่โต๊ะแขง่ (Tournament Tables) เปน็ รายสปั ดาห์ โดยนักเรยี นท่ีมรี ะดับผลสัมฤทธิ์เดียวกันจะแข่งขนั กนั เพ่ือทาคะแนนให้กลุ่มของตน 6. รูปแบบ GI (Group Investigation) เปน็ การเรยี นแบบสืบสวนสอบสวน เน้นการสร้าง บรรยากาศการทางานร่วมกนั เพอื่ ส่งเสรมิ ความคิดสร้างสรรค์ การสอนแบบสบื สวนสอบสวนเปน็ กลุม่ น้ี เป็น โครงสรา้ งการเรียนรู้ทเี่ นน้ ความสำคัญของทกั ษะการคดิ ระดับสงู เชน่ การวิเคราะหแ์ ละการประเมินผล ผเู้ รยี น ทำงานเป็นกลุ่มเล็กๆ โดยใช้การสืบคน้ แบบรว่ มมือกนั เพอ่ื การอภปิ รายเป็นกลุ่ม รวมท้ังวางแผนเพื่อผลิต โครงการของกลุม่ 7. โปรแกรม CIRC (Cooperative Integrated Reading and Composition) เป็น โปรแกรมสำหรบั สอนการอ่าน การเขียนและทกั ษะทางภาษา (Language arts) นบั ว่าเปน็ โปรแกรมที่ใหม่ท่ีสุด ของวิธกี ารเรียนรูเ้ ป็นทมี และน่าสนใจ เนือ่ งจากเปน็ โปรแกรมการเรยี นการสอนทนี่ ำการเรยี นแบบรว่ มมอื มาใช้ กับการอา่ นและการเขยี นโครงการเหมาะกบั นักเรียนระดับประถมศึกษาตอนปลาย โดยเนน้ ทห่ี ลกั สูตรและ วธิ ีการสอนในการพยายามนาการเรียนรแู้ บบร่วมมือมาใช้ 3.3.2 ( Learning Organization : LO) องคก์ รแหง่ การเรยี นรู้ “องคก์ รแห่งการเรยี นร”ู้ เป็นองค์กรทม่ี ีการสร้างชอ่ งทางให้เกิดการถ่ายทอดความรูซ้ ึ่งกันและ กัน ภายในระหว่างบุคลากร ควบคู่ไปกับการรับความรู้จากภายนอก เป้ าประสงคส์ าคญั คือเอื้อใหเ้ กิด โอกาสใน การหาแนวปฏิบตั ิท่ีดที ีส่ ดุ (Best Practices) เพอ่ื น าไปสกู่ ารพฒั นาและสรา้ งเป็ นฐานความรู้ ทีเ่ ขม้ แขง็ (Core competence) ขององค์กร เพือ่ ให้ทันต่อการเปลย่ี นแปลงของสงั คมโลกท่ีเกิดข้นึ อยู่ ตลอดเวลา 52

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบงองค์ประกอบขององค์การแห่งการเรียนรู้ มี 5 องค์ประกอบ ดังนี้ 1. การเรยี นรู้ (Learning) หรือพลวตั การเรยี นรู้ (Learning Dynamics) ประกอบด้วย 3 องคป์ ระกอบ ไดแ้ ก่ 1) ระดับการเรยี นรู้ได้แก่ การเรยี นรรู้ ะดบั บคุ คล การเรียนรู้ระดบั กลมุ่ และการเรียนรู้ ระดบั องค์การ 2) ประเภทของการเรียนรู้ ได้แก่ การเรยี นรู้ จากการปรบั ตัว การเรยี นรู้ จากการ คาดการณ์ การเรียนรู้เพื่อเรียนรู้ และการเรยี นรจู้ ากการปฏิบัติ 3) ทกั ษะการเรียนรู้ ประกอบดว้ ย 6 องค์ประกอบ 3.1) บคุ คลรอบรู้ (Personal Mastery) 3.2) แบบแผนทางความคิด (Mental Model) 3.3) การมีวสิ ัยทัศนร์ ่วม (Shared Vision) 3.4) การเรยี นรรู้ ่วมกันเป็ นทีม (Team Learning) 3.5) การคดิ อยา่ งเป็ นระบบ (System Thinking) 3.6) การสนทนาแบบมีแบบแผน (Dialogue) 2. องคก์ าร (Organization) หรอื การปรบั เปลี่ยนองคก์ าร (Organization Transformation) ประกอบด้วย 4 องคป์ ระกอบ ได้แก่ 1) วิสัยทัศน์ 2) วัฒนธรรมองค์การ 3) กลยทุ ธ์ 4) โครงสรา้ ง 3. สมาชิกในองคก์ าร (People) หรือการเสริมความรู้ แก่บคุ คล (People Empowerment) ประกอบดว้ ย 6 องคป์ ระกอบ ได้แก่ 1) บุคลากร 2) ผู้บรหิ าร / ผนู้ ำา 3) ผู้รบั บรกิ าร / ลกู ค้า 4) คู่คา้ 5) พันธมติ ร / หนุ้ สว่ น 6) ชมุ ชน 4. ความรู้ (Knowledge) หรอื การจดั การความรู้ (Knowledge Management) ประกอบด้วย 1) การแสวงหาความรู้ 53

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบง2) การสรา้ งความรู้ 3) การจดั เกบ็ ความรู้ 4) การถ่ายโอนความรู้และการใชป้ ระโยชน์ 5. เทคโนโลย(ี Technology) หรือการนำเทคโนโลยีไปใช้ (Technology Application) ประกอบดว้ ย 1) เทคโนโลยสี ารสนเทศ 2) เทคโนโลยีพ้นื ฐานของการเรยี นรู้ 3) ระบบอเิ ล็กทรอนิกส์ทส่ี นบั สนุนการปฏบิ ัตงิ าน แนวทางในการสร้างองคก์ รแหง่ การเรยี นรู้ 1. บุคคลรอบรู้ (Personal Mastery) หมายถงึ การเรยี นรขู้ องบคุ ลากรจะเป็นจดุ เริ่มตน้ คนใน องค์กรจะต้องให้ความสำคญั กบั การเรียนรู้ ฝกึ ฝน ปฏิบตั แิ ละเรยี นรู้ อยา่ งต่อเน่ืองไปตลอดชวี ิต (Lifelong Learning) เพื่อเพ่ิมศักยภาพของตนเองอยูเ่ สมอ 2. แบบแผนทางความคดิ (Mental Model) หมายถงึ แบบแผนทางความคดิ ความเชื่อ ทัศนคติแสดงถึงวุฒภิ าวะ(Emotional Quotient, EQ) ท่ไี ด้จากการสัง่ สมประสบการณ์กลายเป็ น กรอบ ความคิดที่ท าให้บคุ คลนั้นๆ มคี วามสามารถในการท าความเข้าใจ วนิ ิจฉยั ตัดสนิ ใจในเรื่องต่างๆ ได้อย่าง เหมาะสม 3. การมีวิสัยทศั น์ร่วม (Shared Vision) หมายถงึ การสรา้ งทัศนคตริ ว่ มของคนในองค์กร ให้ สามารถมองเหน็ ภาพและมีความตอ้ งการท่ีจะมงุ่ ไปในทศิ ทางเดยี วกัน 4. การเรยี นรู้รว่ มกนั เป็ นทีม (Team Learning) หมายถงึ การเรยี นรรู้ ่วมกนั ของสมาชิกใน ลักษณะกลุ่มหรือทมี งานเป็ นเป้ าหมายส าคัญทจ่ี ะตอ้ งท าใหเ้ กดิ ขึ้นเพื่อใหม้ ีการถา่ ยทอดความรู้ และ ประสบการณ์กนั อย่างสมำ่ เสมอ 5. การคดิ อย่างเป็นระบบ (System Thinking) หมายถึง การทค่ี นในองค์กรมีความสามารถท่ี จะเชอ่ื มโยงส่ิงตา่ งๆ โดยมองเหน็ ภาพความสมั พนั ธ์กันเป็ นระบบโดยรวม(Total System) ได้อย่าง เข้าใจ แล้ว สามารถมองเหน็ ระบบย่อย(Subsystem) ทจ่ี ะน าไปวางแผนและด าเนินการท าส่วนยอ่ ยๆ น้นั ให้เสร็จทลี ะส่วน 3.3.4 อุปสรรคตอ่ การเรยี นรู้ขององคก์ าร 1. สมาชิกในองคก์ ารรู้แต่หน้าทขี่ องตนเองแตไ่ มร่ เู้ ป้ าหมายขององค์การ (I'm my position) 2. สมาชิกรู้ วา่ ปัญหาขององค์การอยทู่ ่ีใด แต่ไม่รู้ วา่ ตัวเองมสี ว่ นเกีย่ วขอ้ งอยา่ งไร (The enemy is out there) 3. ทำตามแบบท่เี คยทำ เห็นแตภ่ าพลวงตา ไม่ได้ แกป้ ัญหาทสี่ าเหตุทแ่ี ท้ จรงิ (The Illustration of taking change) 54

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบง4. ยึดตดิ อยกู่ ับเหตุการณ์มากเกนิ ไป (A fixation on events) 5. ความเขา้ ใจผดิ วา่ การเรียนรมู้ าจากประสบการณ์เทา่ นั้นแต่ไมเ่ ขา้ ใจในความแตกตา่ งของ อดตี กบั ปจั จบุ นั (The delusion of learning from experience) 6. มผี ู้บรหิ ารท่ดี แี ตไ่ มไ่ ด้สืบทอดความรใู้ หผ้ บู้ ริหารรุ่นต่อไป (The myth of management team) 7. ขาดสตไิ ม่รู้ตัวกับความเปล่ียนแปลงท่คี ่อยเป็ นค่อยไป (The boiled frog syndrome) 3.4 แนวทางการสร้างและสนบั สนุนการมสี ว่ นรว่ ม 3.4.1 ปัจจัยทจ่ี ะสง่ ผลส่คู วามสำเร็จของเปา้ หมาย ในการบรหิ ารงานขององคก์ รใด ๆ น้ัน มีรูปแบบอยู่หลายสถานะ สงิ่ ท่จี ะสง่ ผลตอ่ การเกิด บรรยากาศเพอื่ ทกุ คนและยงั ไปสู่ความสำเร็จของเปา้ หมายที่ต้องการนนั้ มคี วามจำเปน็ ในทศิ ทางของการสร้าง และสนับสนนุ คอื การพฒั นาความรู้สกึ รบั ผดิ ชอบ ซงึ่ เปน็ การท่ีบุคคลในฐานะต่าง ๆ ต้องก่อความรู้สึกและ สรา้ งแรงกระตุ้นต่อบุคคลอน่ื ๆ ให้มคี วามคิดริเริ่ม สรา้ งสรรค์ บนพนื้ ฐานแห่งความท่ีบคุ คลมีความมน่ั ใจวา่ เหตุและผลทางความคดิ จะได้รบั การสนบั สนุน การรเิ รม่ิ ลกั ษณะแหง่ พฤตกิ รรมบุคคล เป็นขอ้ คิดแหง่ การสรา้ งรูปลักษณ์ของการแสดงออก ของบุคคล ลดและขจัดปมความคิดแยง้ หรือความขลาดกลัวจากพฤติกรรมบุคคลใหล้ ดน้อย สรา้ งความกล้าต่อ การแสดงออก การเปิดโอกาสเพือ่ การแลกเปลีย่ น ย่อมเป็นผลดีต่อกลุ่มและบุคคลได้ในระดับกระทำ เพราะโอกาสเพ่ือการแลกเปล่ียนความคิดเหน็ ใด ๆ หรอื ประสบการณ์มักถูกปิดก้นั ดว้ ยคำสัง่ หรือความคดิ เบอ้ื ง บน การเปดิ โอกาสใหท้ ุกคนไดแ้ ลกเปล่ยี นยอ่ มส่งผลตอ่ เหตแุ ละผลในการพัฒนาความคิดตา่ ง ๆ ได้ การสนับสนนุ แนวความคิดท่ีสามารถเปน็ แบบอยา่ งได้ ซ่ึงการสนับสนนุ แนวคดิ เหล่านั้น สามารถดำเนินการในทิศทางของงบประมาณหรืออื่นใดเป็นสง่ิ ที่ก่อใหเ้ กิดผลแหง่ การสร้างสถานะบุคคลให้ ไว้วางใจองค์กรให้ความรว่ มมือต่อองค์กรได้มาก สถานการณ์เพอ่ื การบรหิ ารหรอื จดั การ ผู้บริหารตอ้ งคำนึงถึงสถานการณ์ในการจดั การงาน ด้วยเสมอ เพอื่ ผลสูงสุด การเลือกแบบการบริหารใด ๆ ย่อมสง่ ผลต่อการมีส่วนรว่ มได้ ปัจจบุ ันการบริหาร ส่วนใหญ่ มุ่งแบบการมีสว่ นร่วมเพราะเปน็ การเปดิ โอกาสแหง่ บรรยากาศการริเรมิ่ สร้างสรรค์ 55

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบงการมองหาความคดิ เฉพาะในส่วนท่ดี ี เปน็ มมุ มองของการบรหิ ารทต่ี ้องการผลสัมฤทธ์ิวา่ เมื่อบคุ คลใดเสนอแนวคดิ เพ่ืองานแล้วควรได้เหน็ ความเหมาะสมและทศิ ทางการเสนอของบคุ คลอ่ืน ๆ ดว้ ยดี มิใชม่ งุ่ แนวทางเพ่ือความขัดแยง้ หรือสรา้ งฐานการไมย่ อมรับให้เกิดขึ้น จูงใจให้เกิดการสรา้ งกระบวนการความคดิ ให้เกิดในทกุ กลุ่มงาน การสร้างแรงจูงใจย่อมเปน็ ผลตอ่ บคุ คลที่ก้าวมาสู่การตอ้ งการมสี ่วนร่วมเสมอหากผลตอบแทนเหล่าน้ีมคี ุณค่าและประโยชน์ต่อตน ท้งั นี้ ย่อมข้นึ กบั ปฏกิ ริ ยิ าของบุคคลโดยรวมขององค์กรดว้ ยว่าจะทำให้ได้เพยี งใด 3.4.2 คณุ สมบัติของบุคคลเพื่อการมสี ่วนรว่ ม 1. หาแนวคดิ และวิธกี ารในการทำสง่ิ ตา่ ง ๆ ใหด้ ขี ึน้ เสมอตลอดเวลา 2. แสดงความคิดเห็นเพ่อื ปรับปรงุ สิง่ ต่าง ๆ ข้ึนมาเอง 3. รู้จักใช้เวลาอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ 4. วางแผนไวล้ ว่ งหนา้ โดยมรี ะยะเวลา 5. มีทัศนคติทด่ี ีต่องานท่ีทำ 6. เป็นสมาชกิ ท่ดี ีและเปน็ ผู้นำทีด่ ดี ว้ ย 7. สร้างแรงกระตุน้ ต่อตนเองและรู้วา่ อะไรคือแรงจงู ใจ 8. รงู้ านทุกส่วนและหน้าท่ีอย่างดี 9. มมี นุษยสมั พันธด์ ี 10. สำนึกถึงการสูญเปล่าและร้ตู ้นทนุ 11. แสวงหาแรงจงู ใจท่ีไมม่ ีเงินเกีย่ วขอ้ ง 12. ปรบั และรบั ฟังความคิดเหน็ ไดใ้ นทุกระดับ 13. สนใจงานทีท่ ำแทนการพยายามหางานทำทีส่ นใจ 14. มคี วามสม่ำเสมอ 15. เช่ือว่าการทำงานเป็นผลให้ฉลาดและไมเ่ ป็นเร่ืองหนกั งาน 16. ไม่บน่ 17. ทำงานได้ดกี วา่ มาตรฐาน 18. นสิ ยั ในการทำงานที่ดี 19. เรียนร้สู ่งิ ตา่ ง ๆ ได้เรว็ และทันสมัย 20. มปี ระวัติดแี ละก่อผลงานสมำ่ เสมอ 3.4.3 ปจั จยั ที่ส่งผลให้เกิดการมีสว่ นรว่ มของบคุ คลในองค์กร สง่ิ ท่ีมีผลตอ่ การกอ่ ให้เกดิ การมสี ว่ นรว่ มทสี่ ำคญั ทสี่ ดุ คือ แรงจงู ใจ และภาวะของบุคคล (ผู้นำ) 56

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบงแรงจูงใจ คอื สิง่ ทเ่ี ป็นตวั กระตนุ้ เพื่อก่อให้เกิดการกระทำของพลงั ในบุคคลส่งผลต่อการ แสดง ซึง่ พฤตกิ รรมและวธิ กี ารในการทำงานเพ่ือบรรลเุ ปา้ หมายหลักที่ต้องการ เพราะแรงจูงใจมผี ลต่อกระบวนการ ทำงานของคนในทิศทางแห่งประสทิ ธภิ าพและสัมฤทธ์ตามเปา้ หมายทต่ี ้องการ ภาวะผ้นู ำ มผี ลตอ่ การมสี ว่ นร่วมขององค์กรหรอื บุคคลในองค์กร ในทิศทางของกระบวนการ ตดั สนิ ใจ เพราะการมีแรงจงู ใจใหป้ ฏบิ ตั ิหรอื การมีส่วนรว่ มใหป้ ฏิบตั ใิ ด ๆ หากกระบวนการตัดสนิ ใจไม่ เป็นผลแลว้ ยังสง่ ผลตอ่ การทไี่ มบ่ รรลุความสำเรจ็ ได้ การตดั สินใจในระดับผนู้ ำข้นึ อยู่กับ - ความเช่ียวชาญ คอื การย่อมรับและให้ความร่วมมอื - ความดึงดดู ใจ คอื เหตผุ ลทางอารมณ์และอิทธิพลซงึ่ เปน็ พรสวรรค์เฉพาะตวั ปัญหาและข้อจำกดั ของการบริหารแบบมีสว่ นร่วม สิ่งท่ีไมเ่ ปน็ ผลตอ่ ความสำเร็จของการบริหารงานการมีส่วนร่วม คอื 1) ลักษณะการสื่อสารในองค์การและระหว่างบุคคลไมเ่ หมาะสม 2) พฤติกรรมหรอื แรงจงู ใจต่อบุคคลไม่เอื้อต่อการมสี ว่ นรว่ ม 3) ผนู้ ำมีปญั หา 3.4.4 มติ ิในการดงึ ดดู ใจให้คนเกง่ ยังคงอยากรว่ มงานอยู่กับองค์กร มิตกิ ารเรยี นรแู้ ละพัฒนา (Learning and Development Dimension) : คนเกง่ ชอบ เรยี นรู้และพัฒนาตัวเองอย่เู สมอ หากทำงานแลว้ ไมไ่ ดร้ ับตรงนีก้ ็อาจทำให้อยู่ยาก เช่นเดียวกบั องค์กรท่ีไม่มีแผน เรื่องนี้อย่างจริงจงั ก็จะไมด่ ึงดดู ใจสำหรับคนทีม่ ีความเก่งเช่นกัน มติ ิส่งิ แวดลอ้ มในการทำงาน (Work Environment Dimension) : สง่ิ แวดลอ้ มในการ ทำงานยุคนีจ้ ำเปน็ อย่างมาก องค์กรใหญ่หลายองค์กร รวมถึงองค์กรของคนรุ่นใหม่ ต่างใช้มิติน้เี ปน็ กลยทุ ธใ์ นการ ดึงคนเกง่ ไปรว่ มงาน ตั้งแตก่ ารสรา้ งออฟฟิศใหน้ า่ อยู่ นา่ ทำงาน มีการสนบั สนนุ Work-Life Balance ท่ดี ี คุณภาพงานกจ็ ะดีด้วย นอกจากนีส้ ิง่ แวดลอ้ มยังอาจหมายถงึ เร่อื งของคนไปจนถึงระบบการทำงาน หาก สงิ่ แวดล้อมเหล่านี้น่าทำงาน คนเก่งก็อยากจะมาร่วมงานด้วย และดงึ คนเก่งอน่ื ๆ ให้มาร่วมงานเพิ่มขึน้ อีก ซ่ึงการ ใส่ใจน้ีอาจต้องเริ่มต้ังแต่กระบวนการสรรหาเลยทีเดยี ว มติ ิรางวัลและผลตอบแทน (Reward and Compensation Dimension) : อัตราจ้างเป็น สิง่ สำคัญ ฝ่าย HR ตอ้ งทำการเจรจาใหด้ ี ให้อยู่ในจุดท่พี อใจทง้ั สองฝา่ ย ส่วนเรื่องรางวัลก็เปน็ สง่ิ การันตที ่ีสำคัญ เช่นกนั รางวัลนอี้ าจมาในรปู แบบรางวัลโดยตรงอยา่ งเช่น พนกั งานดเี ด่น เปน็ ตน้ หรือแม้แตร่ างวัลของหนว่ ยงาน บางทรี างวลั ก็ไม่จำเป็นจะตอ้ งเป็นวตั ถุเสมอไป การใหค้ ำชมเชย การยกยอ่ ง หรือส่งเสริมใหเ้ ปน็ หวั หนา้ งาน กถ็ ือ เปน็ รางวัลท่ดี ไี ดเ้ ช่นกนั 57

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบงสรุป ประโยชน์ของการบริหารคนแบบทำใหเ้ กดิ การเรียนรู้ร่วมกันสามารถให้การบรหิ ารองค์กรดำเนินไปด้วย ความราบรื่น บุคคลมีความรักความผูกพันต่อองค์กร การเกิดความรู้สึกที่ดีต่อภารกิจที่รับผิดชอบมีการวางแผน ทำงาน รว่ มกนั เป็นทมี สง่ ผลประสิทธิภาพขององค์กรทำงานและทำใหเ้ กดิ การเรียนรู้รว่ มกนั ในระหว่างปฏิบัติงาน ซงึ่ พนื้ ฐานสำคัญจะต้องมปี ัจจยั ทท่ี ำให้เกิดการจงู ใจในการปฏบิ ัติ โดยลกั ษณะของการบริหารแบบมีส่วนร่วมเน้น ความสำคัญที่บคุ ลากรและกลมุ่ งานให้มสี ่วนเกยี่ วขอ้ ง บุคคลผบู้ รหิ ารนยิ มมอบหมาย และกระจายอำนาจของตน สู่บุคคลผู้ปฏิบัติด้วยความเต็มใจ ซึ่งการมีส่วนร่วมในแบบจริงจัง (High – involvement) ก็เป็นอีกหนึ่งการ บรหิ ารใหส้ มาชกิ ทกุ คนในองค์กร มีสว่ นรว่ มในการกำหนดภารกิจในการปฏิบัติงานในการแก้ปัญหาและการสร้าง ความสำเร็จให้แก่องค์กร ซึ่งจะเน้นไปที่การกระจายอำนาจสู่ระดับกลางขององค์กรโดยคำนึงถึงสิ่งต่อไปน้ี สารสนเทศ ความรู้และทักษะ อำนาจ รางวัลและข้อจำกัดและอุปสรรคของการบริหารแบบมีส่วนร่วม การ จัดการเรียนรู้แบบร่วมมือกัน (Cooperative Learning ) ก็เป็นอีกหนึ่งของการบริหาร เหมาะกับสมาชิกกลุ่ม เล็กๆ แลว้ ร่วมกันแก้ปญั หาหรือทำงานทีไ่ ดร้ ับมอบหมายใหส้ ำเรจ็ สมาชกิ ในกลุม่ ทกุ คนเป็นสว่ นสำคัญของกลุ่มท่ี จะต้องมีส่วนร่วมในการช่วยเหลือซึ่งกันและกันในการทำงาน ซึ่งรูปแบบก็จะมีทั้งหมด 7 รูปแบบดังนี้ รูปแบบ Jigsaw รูปแบบ STAD รปู แบบ LT รปู แบบ TAI รปู แบบ TGT รปู แบบ GI และ โปรแกรม CIRC และในท่ีนี้เราก็ จะยกตัวอย่างแนวทางการสร้างและสนับสนุนการมีส่วมร่วม 4 หัวข้อ หัวข้อแรก คือปัจจัยที่จะทำให้เกิด ความสำเร็จของเป้าหมายจะอธิบายถึงความจำเป็นในการสร้างและสนับสนุนการมีส่วนร่วม หัวข้อที่ 2 คือ คุณสมบัติของบุคคลที่จะทำให้เกิดการเรียนรู้ร่วมกัน หัวข้อที่ 3 คือปัจจัยที่ส่งผงให้เกิดการมีส่วมร่วมกันของ บุคคลในองค์กร ซึ่งสิ่งสำคัญนี้คือแรงจูงใจและภาวะผู้นำ ส่วนหัวข้อมสุดท้ายคือมิติในการดึงดูดใจให้คนเก่งยัง อยากรว่ มการอยกู่ บั องคก์ ร 58

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบงคำถามทา้ ยบท 1. จงอธบิ ายความหมายของ Participative Management 2. ปัจจยั ท่ที ำให้เกดิ การจงู ใจใหค้ นทำงานของเฮอร์เบิร์กมีก่ีปัจจัย อะไรบ้าง 3. การมสี ว่ นรว่ มในการตัดสินมีกี่ขั้นตอน อะไรบ้าง 4. จงอธบิ ายความสำคัญของการบริหารคนแบบเรยี นรูร้ ว่ มกัน 5. ขอ้ จำกดั ของการบริหารคนแบบมสี ว่ นรว่ มคอื อะไร 6. รปู แบบการเรียนรู้แบบรว่ มมือในปัจจบุ นั ท่ยี นิ มใช้มีกแี่ บบ อะไรบา้ ง 7. จงอธิบายองค์ประกอบขององค์การแห่งการเรียนรู้ท้ัง 5 องค์ประกอบ 8. อปุ สรรคต่อการเรียนรขู้ ององค์กรมีกีข่ ้ออะไรบ้าง 9. ยกตัวอย่างคุณสมบตั ิของบุคคลที่ทำใหเ้ กิดการมสี ่วนร่วมมา 5 อย่าง 10. ปัจจัยใด ทที่ ำให้เกิดการมสั ว่ นรว่ มของบุคคลในองค์กรทีส่ ำคญั ท่ีสดุ อา้ งอิง จิราภรณ์ ศรคี ำ. (2547). การมสี ว่ นร่วมของผู้ปกครองในการพฒั นาการจัดการศึกษาของโรงเรยี น เฉลยี ว บุรภี กั ดี และคนอน่ื ๆ. (2545). ชดุ วชิ าการวจิ ัยชมุ ชน ชุดการเรียนรดู้ ้วยตนเอง. วชริ วทิ ย์ ระดับประถมศกึ ษา จังหวัดเชยี งใหม่. เชียงใหม่: มหาวิทยาลยั เชียงใหม่. นภิ า อนิ ทะวงศ,์ การบรหิ ารแบบมีส่วนร่วมในโรงเรยี นมัธยมศกึ ษา, สังกัดสำนักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาลำพูน เขต ๑, วทิ ยานพิ นธค์ รุศาสตร์มหาบณั ฑติ , (สาขาการบรหิ ารการศกึ ษา บณั ฑิตวทิ ยาลัย มหาวิทยาลัย ราชภฏั ลำปาง, 2548), ไสว ฟักขาว. (2544). การจดั การเรยี นการสอนทเ่ี น้นผู้เรียนเปน็ ศนู ย์กลาง. กรุงเทพฯ : เอมพันธ์. “องค์กรแหง่ การเรยี นรู้” ( Learning Organization : LO) http://hm.npru.ac.th › pdf › news AbuSeileek, A. F. (2007). Cooperative vs. individual learning of oral skills in a CALL environment. Computer Assisted Language Learning, 20(5). The Journal of Boromarjonani College of Nursing Suphanburi Vol.2 No. 1 January – June 2019 59

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบงแผนบริหารการสอนประจำบทที่ 4 หวั ขอ้ เน้อื หา 1. ความหมายของแรงบันดาลใจ 2. ปจั จัยท่สี ่งผลตอ่ แรงบนั ดาลใจ 3. ความคดิ สรา้ งสรรค์ 4. แนวคิดและทฤษฎที เ่ี กยี่ วข้องกับแรงบันดาลใจ 5. เทคนคิ การสรา้ งแรงบันดาลใจเชิงสร้างสรรค์ วตั ถปุ ระสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม 1. เมื่อนักศึกษาเรียนจบบทเรียนนี้ แลว้ สามารถอธบิ ายความหมายและกระบวนการของแรงบันดาลใจได้ 2. เมื่อนักศึกษาเรียนจบบทเรยี นน้ีแลว้ สามารถเขียนถงึ ปจั จยั ท่สี ่งผลต่อแรงบันดาลใจได้ 3. เมอ่ื นกั ศึกษาเรยี นจบบทเรียนนี้แล้วสามารถอธบิ ายทฤษฎีของความคิดสรา้ งสรรค์ได้ 4. เมื่อนักศกึ ษาเรียนจบบทเรียนนี้แล้วสามารถเขา้ ใจแนวคดิ และทฤษฎีที่เก่ยี วข้องกบั แรงบนั ดาลใจ 5. เม่อื นกั ศึกษาเรียนจบบทเรยี นนี้แล้วสามารถยกตัวอย่างและเขยี นถึงเทคนคิ การสร้างแรงบันดาลใจเชิง สรา้ งสรรคไ์ ด้ วธิ ีสอนและกจิ กรรมการเรียนการสอน 1. วิธสี อน 1.1 อภปิ รายเกย่ี วกับความหมาย กระบวนการ และรูปแบบของแรงบันดาลใจ 1.2 ใหน้ กั ศกึ ษาเขียนสรปุ ความเขา้ ใจเกี่ยวกับแรงบนั ดาลใจ 1.3 สรุปทฤษฎี แรงบันดาลใจเชิงสรา้ งสรรค์ โดยท่ีคนอืน่ ๆ มีสว่ นร่วม 1.4 ใหน้ กั ศกึ ษาเขียนจำแนกปัจจยั ทำใหเ้ กิดแรงบันดาลใจ 1.5 ผูส้ อนสรปุ เสริมใหส้ มบรู ณท์ ้ังบท 1.6 นักศกึ ษาแบ่งกลมุ่ จัดทำกิจกรรม เพือ่ สร้างสรา้ งแรงบันดาลใจใหก้ บั เพือ่ นๆในชั้น 1.7 ค้นควา้ ข้อมูล 1.8 นกั ศึกษาทำแบบฝึกหัดท้ายบทและอา่ นเอกสารประกอบการสอนเตรยี มไว้ในการเรียนสปั ดาห์ 2. กจิ กรรมการเรยี นการสอน 2.1 มกี ารบรรยายในชนั้ เรยี นและการถาม-ตอบ 2.2 มกี ารอภปิ ลายเปน็ กลุ่มและเด่ียว 2.3 ค้นคว้าขอ้ มูลเพม่ิ เตมิ เกี่ยวกบั ทฤษฎีการสร้างแรงบันดาลใจ และนำเสนอหนา้ ช้ัน 60

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบงสื่อการเรยี นการสอน 1. เอกสารประกอบการสอน Power Point 2. เอกสารและตำราอ่ืน ๆ ท่ีเกี่ยวขอ้ ง 3. วีดีโอ และภาพเกี่ยวกับรปู แบบการสร้างแรงบนั ดาลใจในลักษณะตา่ ง ๆ การวดั และประเมนิ ผล 1. ซักถามความเขา้ ใจของนักศกึ ษาเกี่ยวกบั บทเรียนทีเ่ รียนไป 2. ประเมินผลจากแบบฝึกหดั ทา้ ยบทเรียน 3. ตรวจผลงานของนกั ศึกษาและการมีสว่ นร่วมกบั กจิ กรรมในช้ันเรยี น 61

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบงบทที่ 4 การสร้างแรงบันดาลใจเชิงสร้างสรรค์ 4.1 ความหมายของแรงบนั ดาลใจ แรงบันดาลใจ (Inspiration) หมายถงึ พลังอำนาจในตนเองชนดิ หนง่ึ ทใี่ ช้ในการขับเคล่ือนการคิดและ การกระทำใด ๆ ทพ่ี ึงประสงค์ เพือ่ ใหบ้ รรลผุ ลสำเรจ็ ได้ตามตอ้ งการ โดยไม่ต้องอาศัยแรงจงู ใจ (Motivation)ภายนอกก่อให้เกดิ แรงจงู ใจข้นึ ภายในจิตใจเสยี กอ่ น เพื่อที่จะกระตุน้ ให้เกิดการคิดและการกระทำใน สง่ิ ทีพ่ งึ ประสงคเ์ หมือนเชน่ ปกติวสิ ยั ของมนุษย์ส่วนใหญ่ ไม่วา่ ส่งิ ท่ตี นกระทำน้นั จะยากสักเพียงใด ตนก็พร้อมทจี่ ะ ฝ่าฟนั อปุ สรรคทั้งหลายสูค่ วามสำเรจ็ ทต่ี อ้ งการใหจ้ งได้ แม้จะตอ้ งเสยี สละบางสงิ่ ของตนเองไปบ้าง ก็พร้อมท่ีจะ เสียสละได้เสมอ ถา้ จะชว่ ยนำมาซง่ึ ผลสำเร็จท่ตี ้องการน้นั ได้จริง ๆ ด้วยเหตนุ จ้ี งึ พอจะบง่ ช้ใี ห้เหน็ ความแตกต่างของท่ีมาของคำสองคำไดอ้ ย่างชดั เจน ระหวา่ งคำว่า “แรงจงู ใจ” (Motivation) กับคำวา่ “แรงบนั ดาลใจ” (Inspiration) โดยด้านของแรงจงู ใจ (Motivation) คือ อำนาจรบั รู้ สง่ิ เร้าท่ีเปน็ เงอ่ื นไข อารมณท์ ่ีเกดิ ขึ้นนั้นจะเป็นตวั บงการให้เกิดพฤตกิ รรมภายนอกต่อไป สว่ นแรงบันดาลใจ คือ อำนาจอนั เกิดจากจติ วญิ ญาณซง่ึ เปน็ แก่นแทข้ องตนเอง โดยใช้เง่ือนไข ภายในจิตใจของตนด้วยตัวเอง ซ่งึ เรยี กว่า “การสำนึกรู้” (Conscious) ส่ิงนเ้ี ป็นตัวกำหนดการกระทำ ออกมา คิดดีจึงทำส่งิ ดี คดิ ไมด่ ผี ลการกระทำจึงออกไม่ดีตามความคดิ เราสามารถรู้จักตน้ ไม้ โดยดูจาก ผลของมัน \"แรงบนั ดาลใจ\" เป็นส่งิ สำคัญ เพราะแรงบนั ดาลใจทำให้เรามีแรงขบั เคลือ่ น แรงบนั ดาลใจเป็น ขมุ พลงั ทัง้ ในการจุดระเบิดแรกเรมิ่ และยงั คงเป็นเครอื่ งหล่อเลี้ยงประคับประคองให้เราทำส่ิงน้ันจนสำเรจ็ ลุล่วงไปได้ 4.1.1 กระบวนการเกิดแรงบันดาลใจ แรงบันดาลใจน้นั มีอยทู่ ุกท่รี อบๆตวั เรา การมองหาแรงบนั ดาลใจที่ดีน้ันจริงๆแล้ว ตอ้ งเร่ิมตน้ มาจากตัว ของเราเองเสียกอ่ น เร่มิ จากการสงั เกตตัวเองถงึ ความช่นื ชอบและเปา้ หมายท่ีเราต้องการ จากนน้ั มองหา องคป์ ระกอบภายนอกเพือ่ เป็นสว่ นช่วยในการส่งเสริมให้แรงบนั ดาลใจไปส่เู ปา้ หมายได้สำเร็จ สง่ิ แวดลอ้ มกับแรงบนั ดาลใจ เปน็ ส่งิ สำคญั เพราะคนเราจะซึมซบั และดึงดูดส่ิงที่ได้พบเห็นเขา้ มาภายใน ตัวของเราและจะนำสงิ่ น้นั มาเปน็ ตัวกระตุ้นความคดิ เพ่ือนำมาใชใ้ นการออกแบบ การอยู่ในส่งิ แวดล้อมทเ่ี ออื้ กบั การสร้างแรงบนั ดาลใจ การคิด การทำงานจงึ เป็นอีกประเด็นท่ีมีความสำคัญ จึงเปน็ เร่ืองท่ีไม่ง่ายและไม่ยาก สำหรับตัวเราเอง เหมอื นเวลาเราตอ้ งการรู้เรอื่ งอะไรสกั อย่าง เรากจ็ ะไปทหี่ ้องสมดุ หรือรา้ นหนงั สือเพ่ือคน้ หาในสงิ่ ทีเ่ ราต้องการจะรู้ การสร้างสภาพแวดลอ้ มใหเ้ อื้อกบั การทำงานก็มีความสำคญั ในการสรา้ งแรงบันดาลใจ เรา 62

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบงสามารถสร้างสภาพแวดล้อมได้จากส่งิ เลก็ ๆน้อยๆ อย่างเช่น ปากกาและสมุดบันทึกในแบบท่ีคณุ อยากจะใชม้ ันจด บันทึกในส่งิ ที่ได้พบเหน็ รวมไปถงึ การจดั ห้องหรือบ้านของคณุ ให้เปลย่ี นไปตามแรงจงู ใจหรือรูปแบบของลกั ษณะ งานทีค่ ุณกำลงั ทำอยู่ ส่ิงแวดล้อมจึงเปน็ จุดเร่ิมตน้ แรกทจ่ี ะช่วยกระตนุ้ แรงบันดาลใจให้กบั เรา (เตชิต เฉยพ่วง. 2560) 1) การต้ังเปา้ หมาย มีการตง้ั เป้าหมายของชวี ติ และส่ิงท่ตี วั เองตอ้ งการ 2) ตัวตน ถามถึงตวั ตนทีช่ ัดเจน เพอื่ ท่ีเราจะกา้ วไปอย่างถูกต้องและไม่หลงทาง 3) ตดั สินใจ ตัดสินใจในเป้าหมายของตัวเองใหช้ ัดเจน 4) คิด วิเคราะห์ แยกแยะ ถึงท่มี าและเหตุผลของเป้าหมายเพ่ือการนำไปสคู่ วามสำเรจ็ ในเป้าหมายนน้ั 5) เชือ่ เช่ือในสงิ่ ท่ีคิด เชอื่ ในความสำเรจ็ ท่กี ำลงั จะเกิดขน้ึ 6) จนิ ตนาการภาพแหง่ ความสำเรจ็ มองใหเ้ หน็ ถึงความสำเร็จในอนาคตที่เราไดต้ ั้งเป้าหมายไวด้ ้วย ความสวยงามอย่างท่เี ราฝนั อยากให้เป็น 7) ลงมือทำ ลงมือทำอย่างจริงจัง ตามแผนทวี่ างไวด้ ว้ ยความตัง้ ใจ 63

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบง8) อดทน อดทนในการลงมือทำ อดทนในการรอคอยผลสำเรจ็ ดังน้ัน กระบวนการเกิดแรงบันดาลใจจงึ มีองค์ประกอบทห่ี ลากหลายและเป็นส่วนในการชว่ ยเหลือและ สนับสนนุ ให้เกิดแรงบนั ดาลใจ เพอ่ื ให้แรงบันดาลใจของเราน้นั นำไปสู่ความสำเรจ็ ซง่ึ เป้าหมายของความสำเร็จน้ัน กข็ ึ้นอยู่กบั แต่ละคนวา่ มีความต้องการในสง่ิ ไหนในชวี อตของตวั เอง เหมือนกับการที่เราจุดไฟเราก็ต้องพยายาม ประคบั ประคองให้แสงสว่างน้ันคงทแี่ ละไม่ดับลง แมใ้ นบางคร้งั ที่อาจมีเหตุท่ีทำให้ไฟดับลงเราก็ต้องพยายาม หาทางจดุ ไฟขึ้นมาใหม่ใหไ้ ด้ เพื่อใหเ้ ราสามารถเดินไปจนกว่าเราจะเดนิ ไปถึงจุดหมายท่ีเราต้ังใจไว้ 4.1.2 รปู แบบของแรงบนั ดาลใจ รปู แบบของแรงบันดาลใจนัน้ อาจจะเหมอื นหรือแตกตา่ งกันในแตล่ ะคนแต่โดยรวมแลว้ รปู แบบของแรง บันดาลใจ จำแนกได้เปน็ แรงบันดาลใจทเี่ กดิ จากภายใน 1.รปู แบบที่เกดิ จากภายใน คำวา่ ภายในกบ็ อกไวใ้ นตวั ของมนั อยู่แล้วว่าหมายถึงภายในร่างกาย เรา ก็คือ ความฝนั จินตนาการ ความคิด เปน็ ต้น แตเ่ ม่ือใดก็ตามทีเ่ ราสามารถเขา้ ใจจติ ใจตวั เราเอง รู้จกั ตวั เราเองไดด้ ี เรากจ็ ะสามารถควบคุมและใช้ ประโยชน์จากสิ่งทอ่ี ยู่ในตัวได้ 2.รูปแบบทเี่ กดิ จากภายนอก แน่นอนว่ายอ่ มเกิดจากสิ่งที่อย่ภู ายนอกรา่ งกายของเรา เกิดโดยสิง่ ทอ่ี ย่รู อบตวั เรา สภาพแวดล้อม สังคมรอบตัวเรา เช่น สถานท่ี หนงั สอื เพลง เปน็ ต้น ปัจจยั ภายนอกถือวา่ มีบทบาทสำคญั อย่างมาก เพราะสภาพแวดลอ้ มสิ่งทีอ่ ยู่ต่างๆรอบๆตัวเรามกั เปน็ ตวั กำหนดความเคยชินทีแ่ ปนสภาพเป็นความชน่ื ชอบอย่างไม่ร้ตู วั หรอื อาจเป็นส่วนใดส่วนหนึง่ ทสี่ ง่ ผลกับจติ ใจเรา ทำให้สิ่งเหลา่ นน้ั สง่ ผลกับทุกความคิดและความต้องการ 64

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบง4.2 ปจั จยั ทส่ี ่งผลตอ่ แรงบนั ดาลใจ ปัจจยั ที่สง่ ผลตอ่ แรงบันดาลใจ มีความสำคญั เปน็ อย่างมากเพราะเป็นสิง่ ทีจ่ ะช่วยเสรมิ ให้แรงบันดาลใจนน้ั เป็นจริงและประสบความสำเรจ็ ข้ึนมาได้ ดนั น้ันการนำพาตัวเข้าไปอยู่ในปัจจยั เหล่านั้นจึ้งสำคัญ เราจึงต้องรูว้ า่ มี ปัจจัยใดบ้าง แหล่งที่มาของแรงบนั ดาลใจ มีหลายสถานท่ีซงึ่ เป็นแหล่งเรียนรู้ทม่ี ีสภาพแวดลอ้ มและบรรยากาศทเี่ ราสามารถเขา้ ไปค้นหาแรงบนั ดาล ใจในการทำงานได้ เช่น (เตชติ เฉยพว่ ง.2560) 4.2.1 แรงบันดาลใจจากภายใน เป็นสง่ิ มาผลกั ดันจากภายในตวั ของตวั เราซึ่งอาจจะเป็นเจตคติ ความ ต้ังใจ ความคิด ความสนใจ การมองเหน็ คณุ ค่าความพงึ พอใจ และความต้องการ เป็นต้น - แรงขับ เป็นแรงผลกั ดันทเี่ กิดจากความต้องการทางกายและสง่ิ เรา้ ท่มี าจากภายในตัวของเรา เองความต้องการและแรงขับก็มักเกดิ ควบคู่กนั เมื่อเกดิ ความต้องการแลว้ ความต้องการน้นั ไปผลกั ดนั ให้เกดิ พฤตกิ รรมที่เรยี กวา่ เป็นแรงขับ 4.2.2 แรงบนั ดาลใจทม่ี าจากภายนอก เป็นสิ่งผลักดนั ภายนอกของตัวบุคคลท่ีเข้ามากระตุน้ ให้เกิด พฤติกรรมและความคิดของเรา เพ่ือกระตนุ้ ตวั เราใหเ้ กิดแรงบันดาลใจขึน้ สงิ่ แวดล้อมหรือสถานทท่ี ่ีมีความน่าสนใจ ทจี่ ะนำตวั เราเข้าไปคน้ หาแรงบนั ดาลใจน้ัน ได้แก่ 1) พิพธิ ภณั ฑ์ (Museums) เป็นแหลง่ เรียนร้ขู ้อมลู ทีด่ ี เปน็ ทร่ี วบรวมข้อมลู แทบจะทุกเรื่องราว ของโลกใบนี้ ไมว่ า่ จะเปน็ โบราณคดี ประวตั ิศาสตร์ ธรรมชาติ ศิลปะ วทิ ยาศาสตร์ เป็นต้น 2 ) ห้องสมดุ (Library) ห้องสมดุ ไดท้ ำการคดั เลือก จัดหารวบรวม และวิเคราะห์ เพ่ือจัดเกบ็ สารนเิ ทศในรูปแบบตา่ งๆทั้งในรปู แบบของวัสดุ สิง่ พิมพ์ วสั ดโุ สตทศั นแ์ ละวัสดุอิเลก็ ทรอนิกส์ มีการจัดองค์กรใน การบรหิ ารในระบบสากล อีกท้งั ยงั เปน็ สถาบนั ที่สำคญั ทสี่ รา้ งสมและสืบทอดมรดกทางความคิด ภูมิปัญญา ประสบการณ์ กิจกรรม การคิดค้นตลอดจนวชิ าการใหมๆ่ 3 ) หอศลิ ป์ (Art Galleries) คอื สภานทีจ่ ัดแสดงผลงานทางศลิ ปะ ทัง้ ภาพวาด งานปติมากรรม งานภาพถา่ ย งานแฟชน่ั เส้อื ผ้าเครอื่ งแต่งกาย เป็นต้น 4 ) ห้างสรรพสินค้า (Department Store) น้นั เปรยี บเสมอื นห้องสมุดใหญส่ ำหรับผคู้ น เพราะ เป็นแหล่งรวบรวมสินคา้ ข้ามของเคร่ืองใช้แทบทุกสิ่งท่ีจำเป็นของคนเรา เป็นแหล่งรวมเทคโนโลยที่สร้างสรรคข์ น้ึ เพ่อื ให้ชีวติ ของคนเราดีข้นึ สามารถหาความรู้ได้ไมจ่ ำกัดในสถานทีแ่ ห่งน้ี 65

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบง5 ) โรงภาพยนต์ และภาพยนต์ (Theatre and Cinema) ภาพยนตเ์ ป็นสงิ่ ที่ช่วยยอ่ โลก และ เรอื่ งราวบางเรื่องใหส้ ้ันและกระชับลง ท้ังเนอ้ื หา ภาพ ดนตรี ภาษา คือส่งิ ทีเ่ ราจะไดจ้ ากการดูภาพยนต์สกั เร่ือง ภาพยนตย์ งั เป็นแหลง่ ข้อมลู ประวัติศาสตร์ท่ีไดถ้ ูกบันทึกไว้ใหเ้ ราไดศ้ ึกษาความเป็นมาที่ผา่ นมาอีกด้วย 6 ) การท่องเท่ยี ว (Travel) การกา้ วออกไปนอกบ้าน ออกไปจากสภาพแวดล้อมเดมิ หรือการได้ ออกไปทอ่ งเทยี่ วกช็ ว่ ยเปิดโลกทศั น์ของเราให้กวา้ งมากข้ึน ได้เหน็ วฒั นธรรมประเพณี การดำเนนิ ชีวิต อาคาร บ้านเรือน การแตง่ กาย และอื่นๆอีกมากมายจากคนท่คี ุณไม่เคยพบเหน็ สงิ่ เหลา่ น้ีลว้ นสรา้ งความต่ืนเต้นและสร้าง สสี ันเป็นประสบการณ์ให้กบั ชีวติ ของเรา สรุปไดว้ า่ นอกจากสถานท่ที ่ไี ด้กลา่ วมาแลว้ นั้น ยังมสี ถานที่อีกมากมายท่เี ราสามารถเขา้ ไปศกึ ษาและ เรยี นรู้ไปพร้อมกับจินตนาการของเราได้ เรียกไดแ้ ทบจะทกุ ที่ทีเ่ ราไป ไมว่ ่าจะเป็นห้างสรรพสนิ คา้ โรงภาพยนต์ หรอื แม้แต่คอมพิวเตอร์และโทรศพั ทม์ ือถือของเราเอง ถา้ เราเปน็ คนเปิดรบั การรยั นรตู้ ลอดเวลากเ็ ช่ือว่าเราจะ เรียนรู้ในทกุ ๆที่ ทเ่ี ราได้ไปอย่างแน่นอน 4.3 ความคดิ สร้างสรรค์ (Creativity) ความคดิ สรา้ งสรรค์ (Creativity) เป็นส่ิงทีม่ อี ย่ใู นตัวของมนุษย์เอง ซ่งึ บางคนก็มมี ากบาง คนกม็ นี ้อยหรือ ท่ีเข้าใจว่าความคดิ สรา้ งสรรค์อยู่ในความถนัด ( Aptitude ) หรอื ความสามารถ ( Ability)ความคิดสรา้ งสรรค์ นอกจากจะเกิดมาเฉพาะตัวบุคคลแล้วยงั สามารถเกดิ ข้ึนได้ จากการสะสมประสบการณ์และการแกป้ ญั หา (เกษรธิ ตะจารี, 2550) 4.3.1 ลักษณะของความคดิ สรา้ งสรรค์ อารี พนั ธม์ ณี (2537:26) ไดอ้ ธิบายความคดิ สร้างสรรค์ใน 3 ลักษณะดังน้ี 1. ลกั ษณะทางกระบวนการ หมายถงึ ความรูส้ กึ ไวต่อปญั หาและสามารถแก้ไขปัญหาได้ อยา่ งมี ขั้นตอนและเปน็ ระบบ และนำผลไปใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชน์ในสงิ่ ใหมต่ ่อไป 2. ลกั ษณะของบคุ คล หมายถึง บุคคลท่ีมีความอยากรู้อยากเห็น กระตือรือร้น กลา้ คิด กล้าแสดง มีความคิดริเริ่มสรา้ งสรรคม์ ีอารมณ์ขนั มจี นิ ตนาการและมีความยืดหยุน่ ทั้งความคดิ และการกระท าและเป็น บคุ คลที่มีความสุขกบั การทำงานหรอื สงิ่ ทต่ี นพอใจและยงั ไม่หวังผลจาก การประเมนิ ภายนอก 3. ลกั ษณะทางผลิตผล หมายถึงคณุ ภาพของผลงานท่เี กิดข้ึน มตี ้งั แต่ขัน้ ต่ำทแ่ี สดงผลทเ่ี กิด จาก ความพอใจของตนท่จี ะแสดงซ่ึงความคิดและการกระทำ จนกระทั่งพฒั นาขึน้ เปน็ การฝึกทักษะ และค่อยคิดได้เอง ถึงระดบั การคิดค้นพบทฤษฎหี ลกั การและการประดษิ ฐค์ ิดค้นต่าง ๆ 4.3.2 องคป์ ระกอบของความคิดสรา้ งสรรค์ 66

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบงองคป์ ระกอบของความคิดสร้างสรรค์มี ดังนี้ 1. ความคดิ คลอ่ งแคลว่ (Fluency) หมายถงึ ความสามารถของบุคคลในการคิดหา คำตอบได้อยา่ ง คล่องแคล่ว รวดเรว็ และมีคำตอบท่มี าในเวลาจำกดั แบ่งเป็น 4 ดา้ นดงั นี้ 1.1 ความคลอ่ งแคลว่ ดา้ นถ้อยค า (Word Fluency) เป็นความสามารถในการใช้ถ้อยคำอยา่ ง คล่องแคล่ว 1.2 ความคล่องแคล่วดา้ นการโยงความสัมพันธ์ (Association Fluency) เป็นความสามารถที่จะ คดิ หาถ้อยคำที่เหมอื นหรือคล้ายกันใหไ้ ด้มากท่ีสุดเทา่ ทีจ่ ะมากได้ในเวลา ทก่ี ำหนด 1.3 ความคลอ่ งแคล่วดา้ นการแสดงออก (Expressional Fluency) เป็นความสามารถในการใช้ วลหี รอื ประโยค โดยการนำถ้อยคำมาเรยี งกันอยา่ งรวดเร็วเพื่อให้ได้ ประโยคท่ีต้องการ 1.4 ความคลอ่ งแคล่วด้านการคดิ (Ideational Fluency) เป็นความสามารถทจี่ ะคิด สิ่งที่ ตอ้ งการไดภ้ ายในเวลาที่กำหนด โดยการคิดหลายๆ วธิ ี แลว้ เลือกวิธีทีด่ ีและเหมาะสมทส่ี ุด 2. ความคดิ ยืดหยนุ่ (Flexibility) หมายถงึ ความสามารถในการหาค าตอบได้ หลายประเภท หลาย ทศิ ทาง แบง่ เปน็ 2 ดา้ น ดังนี้ 2.1 ความคิดยดื หยุน่ ท่ีเกดิ ขน้ึ ทนั ที (Spontaneous Flexibility) เป็นความสามารถ ท่จี ะ พยายามคิดให้หลายทางอสิ ระ 2.2 ความคิดยดื หยนุ่ ทางด้านการดดั แปลง (Adaptive Flexibility) ซง่ึ มีประโยชนต์ อ่ การ แกป้ ญั หา คนที่มคี วามคิดยืดหยุ่นจะคดิ ไดไ้ ม่ซ้ำกนั 3. ความคิดริเร่มิ (Originality) หมายถึง ลักษณะความคิดแปลกใหม่แตกตา่ งไป จากความคิดธรรมดา หรอื ความคิดงา่ ยๆ และแนวคิดน้นั จะแตกต่างไปจากบุคคลอนื่ อาจเกดิ จาก การนำเอาความรู้เดมิ มาดดั แปลงหรอื ประยกุ ต์สิ่งใหมข่ น้ึ 4. ความคิดละเอียดลออ (Elaboration) เปน็ คุณลักษณะทจี่ ำเปน็ ในการสร้างผลงาน ที่มองเหน็ รายละเอียดของส่ิงตา่ งๆ เป็นรายละเอียดท่นี ำมาเพม่ิ เติมเสริมแต่งความคิดคร้ังแรก ให้ได้ความหมายสมบูรณ์ ยิง่ ข้นึ 4.4 แนวคิดและทฤษฎที เี่ ก่ียวข้องกับแรงบนั ดาลใจ การรคู้ ดิ การเรยี นรู้การรู้คดิ (cognitive learning) หมายถึง กระบวนการเรยี นรู้ที่เกี่ยวข้องกับ กลไกทางสมอง อันประกอบด้วย การรับรู้ การคิด การเข้าใจ การใช้เหตุผล การตัดสินใจ การวางแผน การจำ จนิ ตนาการ เป็นตน้ การเรยี นรกู้ ารร้คู ิดเป็นการเรยี นรู้ทีค่ รอบคลมุ การเรยี นรเู้ กี่ยวกบั กระบวนการรู้คิด (learning about cognition or thinking) การเรยี นรโู้ ดยใช้กระบวนการคิด (learning through thinking) และการคดิ 67

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบงเก่ียวกบั การคดิ ของตน (Thinking about thinking) หรืออภิปัญญา (metacognition) การเรียนรู้เก่ียวกับการรู้คิดเป็นการศกึ ษาเกย่ี วกบั กระบวนการทางสมองของบุคคลในการคดิ และ เรียนรู้เรื่องตา่ งๆ เชน่ การใชเ้ หตผุ ล การตัดสินใจ การแก้ปัญหา ซึ่งมกั ได้รบั อทิ ธพิ ลจากส่ิงแวดลอ้ มท้งั ภายในและ ภายนอกตวั บคุ คล การเรยี นรู้โดยใช้กระบวนการคิดเปน็ การเรยี นรทู้ เ่ี น้นการใชก้ ระบวนการคดิ ของผู้เรียน โดยนำ ความร้เู กี่ยวกบั การรู้คดิ มาใช้ในการส่งเสรมิ การเรียนรู้ของผู้เรียน และยงั มคี วามรู้เกย่ี วกบั ทกั ษะการคิดอีกจำนวน มากท่ผี ้สู อนสามารถนำมาสอนและฝกึ ฝนผู้เรยี นเชน่ ทกั ษะการคดิ วเิ คราะห์ การคดิ สังเคราะห์ การคดิ เชงิ มโนทศั น์ การคดิ เชิงระบบ การคิดไตร่ตรอง ทัง้ น้ีกระบวนการคดิ ตา่ งๆดังกลา่ วล้วนเป็นทักษะทจ่ี ำเปน็ ต่อการเรยี นรู้ทั้งสิน้ ทฤษฎีรคู้ ดิ สามารถจำแนกตามแนวคดิ ของ Cognition และ Meta Cognition ดงั นี้ (ลักขณา สรวิ ฒั น.์ 2558) 4.4.1 ทฤษฎีการรู้คิดตามแนวคดิ ของ Cognition 1) ทฤษฎีกลุ่มพุทธปิ ัญญานิยม (Cognitivism) พุทธิปัญญา ให้ความสำคัญในการศึกษาการ ปฏิสัมพันธ์ระหว่างส่ิงเร้าภายนอก คือส่ิงตา่ งๆรอบตวั กับสิ่งเรา้ ภายใน คอื ความรูค้ วามเข้าใจหรือกระบวนการรู้คิด ทชี่ ว่ ยส่งเสรมิ การเรียนรู้ ขอบเขตทม่ี ี่ความเกี่ยวข้องกบั ขบวนการคิด ได้แก่ ความใส่ใจ การรับรู้ การจำได้ การคดิ อยา่ งมเี หตผุ ล จินตนาการ หรือการวาดภาพในใจ การคาดการณล์ ว่ งหน้าหรือมีแผนการรองรับ การตดั สนิ ใจ 2 ) ทฤษฎีพัฒนาปัญญาของ Piaget เช่อื ว่าคนเราตงั้ แต่เกิดทกุ คนนนั้ มคี วามพรอ้ มทีจ่ ะ ปฏิสัมพันธก์ ับส่ิงแวดลอ้ ม และโดยธรรมชาติของคนเรานน้ั มีความพร้อมในการเริ่มกระทำก่อน และถือวา่ มีพ้ืนฐาน ติดตวั มาตงั้ แตเ่ กดิ 2 ชนดิ คือ 1.การจดั และรวบรวม คอื การจัดและรวบรวมขบวนการตา่ งๆภายในอย่างเป็นระบบ ต่อเน่ือง เป็นระเบียบ และมีการปรับปรุงเปลีย่ นแปลงอยตู่ ลอดเวลาตราบทย่ี งั มีปฎิสมั พันธก์ บั สิ่งแวดลอ้ ม 2.การ ปรับตวั คือการปรับตัวใหเ้ ขา้ กบั สิง่ แวดล้อม เพ่ือใหอ้ ยู่ในสภาพที่มีความสมดลุ การปรบั ตัวนน้ั ประกอบไปดว้ ย 2 ลกั ษณะคือ การซึมซับหรอื ดูดซึม และการปรับโครงสรา้ งทางปญั ญา 3 ) ทฤษฎกี ารเรียนรโู้ ดยการพบของ Bruner ไดเ้ น้นการพัฒนาเก่ยี วกบั ความสามารถในการรบั รู้ และเขา้ ใจ บุคคลแตล่ ะคนมกี ารพฒั นาความรู้ความเข้าใจหรือการรูค้ ิกโดยการผา่ นขบวนการทเี่ กิดขึน้ ตลอดช่วง ชีวติ ของคนเรา 4 ) ทฤษฎีการเรียนรู้อย่างมีความหมายของ Ausubel เป็นทฤษฎีพุทธิปัญญานยิ มท่ีเน้น ความสำคัญในการจัดเรยี บเรียงความรอู้ ยา่ งมรี ะบบ และเกิดความคดิ รวบยอดใหม่ 5 ) ทฤษฎกี ารประมวลสารสนเทศ เปน็ ทฤษฎกี ารเรียนรทู้ ่ีใหมแ่ ละกำลังไดร้ ับความนยิ มอย่าง กวา้ งขวาง เน่ืองจากเป็นทฤษฎที มี่ ่งุ เน้นลกั ษณะเฉพาะตวั ของบคุ คลกบั ข้อมลู และส่งิ ท่ีอยใู่ นกระบวนการเรยี นรู้ 68

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบงโดยเน้นทกี่ ระบวนการการคิด ความจำระยะยาว และการเรียกข้อมูล ทไ่ี ดเ้ รยี นรู้แลว้ และเกบ็ อยู่ในความทรงจำ ระยะยาวและสามารถนำกลบั มาใช้ได้อย่างมีประสิทธภิ าพ ทฤษฎีการรู้คิดตามแนวคดิ ของตนเอง หรือทฤษฎีรคู้ ิดของ Meta Cognition เป็นทฤษฎที ่สี ืบเน่ืองมาจากนักจิตวทิ ยากลุ่มพุทธปญั ญา นิยม และบคุ คลสำคัญท่านหนึง่ คอื Flavall ทเ่ี ช่ือว่าผู้เรยี นมีความสำคัญตอ่ การเรียนรู้ คอื เปน็ ผ้คู วบคุมกิจกรรม การเรียนรู้ของตนเอง ดังน้ี 1 ) อภิปัญญา คือ การควบคุมและประเมนิ ความคดิ ตนเอง ความสามารถของบุคคลที่ได้รบั การ พัฒนาเพ่ือควบคุมกำกบั กระบวนการทางปญั ญาและกระบวนการคดิ มีความตระหนักในงานและสามารถใชย้ ุทธวิธี การทำงานจนสำเรจ็ ไดอ้ ย่างสมบูรณ์ 2 ) องค์ประกอบของอภปิ ญั ญาแบง่ ออกเปน็ 2 แบบ คือ การตระหนักรู้ และความสามารถใน การควบคุมตนเอง 3 ) ความรูใ้ นเชงิ อภิปัญญา ประกอบดว้ ยความร้เู หยี่ วกบั บุคคล ความรู้เกยี่ วกับงาน และความรู้ เก่ียวกับกลวิธี 4 ) กระบวนการในอภิปัญญา ประกอบด้วยการวางแผน ตรวจสอบ และการประเมนิ 4.2.2 ทฤษฎสี ังคมเชิงการรู้คดิ ของอัตเบริ ์ต แบนดรู า ทฤษฎกี ารเรียนรู้ทางสงั คมเชิงพุทธิปัญญา (Social Cognitive Learning Theory) ทฤษฎกี าร เรยี นรูท้ างสังคมเชิงพุทธิปญั ญา หรอื บางครั้งเรยี กว่าทฤษฎีการเรยี นรู้ทางปัญญาและ สังคม พัฒนาขึน้ โดย นักจติ วทิ ยาชาวแคนาดา ศาสตราจารยอ์ ัลเบิร์ต แบนดรู ่า (Albert Bandura) ซึ่งแบน ดูร่า เชอื่ ว่าการเรยี นร้เู กิด จากการมีปฏิสัมพนั ธ์ระหวา่ งผเู้ รยี นกบั สิง่ แวดลอ้ มรอบตัว ท่ตี ่างก็มอี ิทธิพลต่อ กันและกัน วิธกี ารท่ีคนเราใชใ้ นการ เรยี นรพู้ ฤติกรรมทางสงั คม คือการสังเกตหรอื การเลยี นแบบจากตวั แบบ (Model) ทั้งน้ีการสังเกตการกระทำของ ผูอ้ น่ื เพ่ือดูว่าผอู้ ่นื ทำพฤติกรรมอย่างไรและไดร้ ับผลตอบแทนเช่น ไร ซ่งึ ความสำเรจ็ หรอื ความล้มเหลวของการ กระทำพฤตกิ รรมของผูอ้ น่ื ถือเป็นต้นแบบ ทมี่ ีอทิ ธพิ ลอย่าง มากต่อการตัดสนิ ใจทำพฤติกรรมต่าง ๆ ของบุคคล ทฤษฎีการเรยี นรทู้ างสงั คมคืออะไร? Albert Bandura เปน็ นกั จติ วิทยาทมี่ ีช่ือเสยี งที่ Stanford University งานน้ำเช้อื ของเขาถูกสรุปใน สง่ิ พมิ พป์ ี 1963 ของเขาเรื่อง การเรียนรูท้ างสังคมและการพัฒนาบุคลกิ ภาพ เขากำหนดทฤษฎีท่ีการเรยี นรู้ทงั้ หมด เปน็ ผลมาจากการสังเกตและจำลองพฤติกรรมของผู้อืน่ กระบวนการน้ซี บั ซ้อนมาก เราไดร้ บั ข้อมลู เก่ียวกบั โลกโดยการสงั เกตส่ิงทผ่ี คู้ นรอบตวั เรากำลังทำ เราดวู า่ พ่อแมข่ องเราพดู กบั คนอ่นื 69

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบงหรือเรา เราสงั เกตพฤติกรรมของตวั ละครในทีวีทเ่ี ราชน่ื ชอบในบางสถานการณ์ นอกจากนเ้ี รายงั สงั เกตเหน็ ผลท่ี ตามมาไม่วา่ จะเป็นพฤตกิ รรมเชิงบวกหรือเชิงลบ ณ จดุ นก้ี ระบวนการทางปัญญาของเราสรา้ งความหมายจากการ สงั เกตของเราและใหข้ ้อมูลว่าเราจะทำตัวอย่างไรในสถานการณ์ทค่ี ล้ายคลึงกนั ในรูปแบบน้เี ราไมไ่ ด้ดำเนนิ การอย่างเฉยเมยต่อสภาพแวดลอ้ มของเราเช่นเดียวกบั ในทฤษฎีพฤติกรรม นยิ ม แต่เราก็ไม่ได้แยกออกจากมันอย่างสิน้ เชิงเชน่ เดยี วกับในทฤษฎีการเรยี นรู้ทางปัญญาบางอย่าง แตก่ ารเรยี นรู้ เป็นกระบวนการที่เรามปี ฏิสมั พันธ์กับโลกรอบตัวเราสรา้ งความหมายและความร้อู นั เป็นผลมาจากส่ิงท่ีเราสงั เกต และประสบการณ์ ด้วยเหตุน้ีเราจึงไดร้ ับผลกระทบจากสภาพแวดล้อมของเราและเรากส็ ่งผลกระทบต่อมันเชน่ กนั การพฒั นา บคุ ลิกภาพของเราเป็นถนนสองทางที่สร้างขนึ้ จากทง้ั ธรรมชาติและการเล้ียงดู การเรยี นรเู้ กิดขน้ึ ไดอ้ ยา่ งไร Bandura ระบวุ ่าการเรียนรู้ไม่ไดเ้ ปน็ ไปโดยอตั โนมตั ิ มีหลายขัน้ ตอนและปัจจยั ทีซ่ ับซอ้ นบางอยา่ งท่ี กำหนดว่าจะเรยี นรู้พฤติกรรมหรอื ไม่ น่ีคือข้นั ตอนการเรยี นรู้ตามทฤษฎีการเรยี นรูท้ างสังคม 1. ความสนใจ เราไมเ่ รยี นรทู้ ่ีจะเลยี นแบบพฤติกรรมทกุ อย่างที่เราเผชิญ การกระทำของผู้อื่น เพยี งไม่ก่ีอย่างเท่านน้ั ท่สี รา้ งความประทบั ใจให้พอทีจ่ ะเป็นแบบอย่างของเรา เพื่อให้การกระทำกลายเป็นสว่ นหนงึ่ ของการเรียนรูข้ องเราอันดบั แรกเราตอ้ งสงั เกต 2.การเก็บรกั ษา และแนน่ อนเราไมจ่ ำการกระทำทุกอย่างที่เราใสใ่ จ หนว่ ยความจำของเราไม่ สามารถเกบ็ ขอ้ มลู จำนวนมากได้ กระบวนการตา่ ง ๆ เชน่ การเข้ารหสั สัญลกั ษณภ์ าพจติ องค์กรการคดิ การฝึกซ้อม เชิงสญั ลักษณแ์ ละการฝึกซอ้ มมอเตอร์ชว่ ยใหเ้ ราจดจำข้อมูลได้ 3.การทำสำเนา เพอื่ ใหข้ น้ั ตอนนเ้ี กิดข้ึนเราต้องมคี วามสามารถในการดำเนนิ การหรือพฤตกิ รรม เดียวกนั กับทีเ่ ราสงั เกต ตัวอย่างเช่นหากคุณกำลังเรยี นภาษาฝร่ังเศสและมีคนเริ่มพูดกับคุณอยา่ งรวดเรว็ คุณอาจจำ ได้ว่าเธอพูดกับคุณอย่างรวดเร็วเป็นภาษาฝรั่งเศส แตค่ ณุ จะไมส่ ามารถสรา้ งเสียงท่แี นน่ อนเหลา่ น้นั ได้ทันที อย่างไรก็ตามถา้ คนคนเดียวกันพูดช้าๆโดยใชค้ ำและวลสี ัน้ ๆ และเรยี บงา่ ยคุณอาจสามารถทำซำ้ การกระทำน้นั และข้ันตอนของกระบวนการเรยี นรนู้ ีจ้ ะสำเร็จ ทฤษฎีเปน็ สว่ นสำคญั ในการจัดระเบยี บทางความคิดเพื่อให้แรงบนั ดาลใจนัง้ ประสบผลสำเร็จ ทฤษฎที ีต่ ้อง เรียนรู้ คือ ทฤษฎีสงั คมเชงิ การรู้คดิ ของอัตเบิร์ต แบนดรู า อธิบายว่าบคุ ลิกภาพเป็นผลของการปฏสิ มั พันธ์ระหว่าง ตวั บุคคลสิง่ แวกล้อม และพฤติกรรม เขาเนน้ ว่าตัวแบบเป็นตวั ท่สี ่งเสริมแรงท่ีมีอทิ ธิพลมากต่อการทำให้บุคคลเกดิ ความตงั้ ใจในการรบั รู้ การคิด การทบทวนตวั แบบแลว้ จงึ ตามดว้ ยพฤติกรรมการตอบสนองหรอื การแสดงออก ซง่ึ 70

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบงสง่ิ ที่เรียนรแู้ ล้ว แสดงออกหรือไม่แสดงออกก็ได้ อาจจะมีแนวโนม้ ในการแสดงออกซ้ำเมื่อผลของการกระทำนน้ั เปน็ ดา้ นบวก และไมม่ ีการแสดงออกอกี เมือ่ ผลของการกระทำเปน็ ดา้ นลบ 4.5 เทคนิคการสรา้ งแรงบนั ดาลใจเชงิ สร้างสรรค์ 4.5.1 7 เทคนคิ งา่ ยๆ สร้างแรงบนั ดาลใจให้ เอสเอ็มอี มีความคิดสรา้ งสรรค์เพอ่ื เร่มิ ทำธุรกิจ 1.ค้นพบส่ิงที่มอี ยู่แลว้ ศ.ชมุ พเี ทอร์ บนโลกนีม้ ีการแยกความแตกต่างระหว่าง ”ประดิษฐกรรม” และ “นวัตกรรม”เอาไวแ้ ลว้ เราไมจ่ ำเป็นต้องสรา้ งอะไรข้ึนมาใหม่ เช่น ในทศวรรษท่ี 40 ตอนนนั้ มเี ครอื่ งโทรสารอยู่แล้ว แต่ไม่มใี ครกล้าท่ีจะ ซอื้ เพราะไมม่ ใี ครคาดคดิ ว่าเครอื่ งนจ้ี ะประสบความสำเรจ็ แต่พอมาถึงทศวรรษท่ี 70 คนญีป่ ุ่นได้นำเครือ่ งโทรสาร มาพฒั นา และเสนอขายในตลาดอีกครั้ง จนสดุ ท้ายประสบความสำเร็จ โดยไมต่ ้องคดิ อะไรข้ึนมาใหมแ่ ต่อยา่ งใด หรอื จะเปน็ เร่ืองที่ใกลต้ วั เราข้ึนมาอีก เช่น มีชาวบราซลิ เขา้ มาทำธรุ กิจในประเทศไทยและจนี ซงึ่ ท่นี ี่ทำให้ เขาค้นพบว่าผคู้ นนิยมรบั ประทานตนี ไก่ กลบั กนั ในบราซลิ แมจ้ ะเปน็ ประเทศทม่ี ีการผลิตไกร่ ายใหญ่ของโลก แต่ ผู้คนกลบั ไม่นยิ มรบั ประทานตีนไก่ ดงั นัน้ เม่ือสถานการณเ์ ปน็ อยา่ งนจ้ี งึ เปน็ โอกาสทองทางธรุ กจิ ที่จะนำตีนไก่เขา้ มาขายในประเทศไทยและจนี เหลา่ นจี้ ึงสรปุ ได้วา่ หนึ่งในการหาไอเดียทำธรุ กิจ คือการต่อยอดจากส่ิงเดิมทมี่ ีอยู่ แล้วนนั่ เอง 2.คดิ ตา่ งจากแผนเดมิ ศ.ดร.กุนเธอร์ ฟาลตนิ สงั เกตวา่ การขายชาแบบเดิมๆ จะเป็นลักษณะถุงขนาดเลก็ 100 กรัม, 50 กรัม และ 25 กรัม ซงึ่ ต้องขายในรา้ นทมี่ กี ารตกแต่งแบบเดิม อย่างไรกต็ าม หากเราคิดต่างจากแบบแผนน้ี แลว้ มองเรอ่ื ง ต้นทุนด้วยการเปลีย่ นกลยุทธ์จากการขายถุงเล็กเปลยี่ นมาเปน็ ถุงใหญ่ จะชว่ ยประหยดั ในเรอ่ื งคา่ ฉลากและหบี ห่อ เป็นอย่างมาก หากเราไม่ขายชาเยอะจนเกินไป 3.เอาสงิ่ ต่างๆ มารวมกันในวถิ ีทางใหม่ๆ ในประเทศแอฟริกาใต้มีศิลปินเครื่องป้ันดนิ เผา เกิดความแปลกใจขึ้นมาวา่ ทำไมบ้านทีท่ ำด้วยดนิ เหนียว ผสมกบั กิ่งไม้ ถึงมีอายุใชง้ านได้แค่ 2 ฤดฝู นแลว้ ก็พงั ดังน้ัน เขาจึงทดลองดว้ ยการนำถ้วยมาคว่ำ แลว้ จินตนาการ ใหม้ นั ใหญข่ น้ึ โดยเจาะรูมันก็ไม่เป็นถ้วยแตจ่ ะเปน็ บ้าน แล้วเอาเทคนิคการทำเคร่ืองปนั้ ดนิ เผามาประยุกต์ เขา สามารถสร้างอาคารตามความคดิ ตวั เองแลว้ ชวนคนท้งั หมู่บ้านก่อไฟขนาดมหึมา ทำใหเ้ ครอ่ื งปั้นดนิ เผาเป็นบ้าน เทคนคิ นี้อาจจะเกา่ แก่แต่สามารถนำมาใช้ในรปู แนวคดิ ใหม่ๆได้ 71

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบง4.บรู ณาการเข้าดว้ ยกัน อปุ กรณ์เครื่องมือแตล่ ะอยา่ งลว้ นมีหน้าทีเ่ ป็นของตัวเอง แต่หากเราสามารถบูรณาการนำเอาเครื่องมือ เหล่านัน้ มาใชป้ ระโยชนใ์ นวัตถุประสงค์อนื่ ๆ กจ็ ะทำให้ประหยดั เงนิ ไดม้ ากเลยทเี ดียว เน่ืองจากธรรมชาติสรา้ งอะไร กต็ ามแต่ข้ึนมาบนโลกไม่ได้มเี พียงแคจ่ ุดประสงคเ์ ดยี ว 5.นำปัญญาเปลี่ยนเปน็ โอกาสทางธรุ กจิ ดร.กุนเธอร์ ประสบความสำเรจ็ จากธรุ กจิ ชา แตม่ องเห็นปัญหาของผักตบชวา จงึ หนั มาทำธุรกิจเครอื่ ง เรือนท่ที ำมาจากผักตบชวา จนประสบความสำเรจ็ ได้ในที่สุด และน่คี ือตวั อย่างนำปัญญามาเปลี่ยนเป็นความรูใ้ น การเกิดธุรกจิ ใหม่ 6.จัดระบบงานใหเ้ ปน็ เร่ืองสนุก ทอม เซอร์เยอร์ เคยทำความผดิ และถูกลงโทษใหท้ าสรี ว้ั แต่ทอมได้ออกอุบายชวนเพื่อนๆ มาทาสี ด้วย การแบ่งงานคนละนดิ สรา้ งใหง้ านนี้กลายเป็นเรือ่ งที่นา่ ต่ืนเตน้ เพือ่ ใหง้ านแลว้ เสรจ็ ทส่ี ำคัญกลายเปน็ ทอมท่ยี ัง เกบ็ เงนิ เพอื่ นที่อยากจะมาทาสีอกี ด้วย 7. ทำวสิ ยั ทัศนใ์ หเ้ ป็นจรงิ ดร.กุนเธอร์ ยกเร่ืองเล่าข้ึนมาวา่ มีคนๆ หนึง่ เกดิ วสิ ัยทัศนเ์ กย่ี วกบั การระเบิดของแก๊ส นำไปขับเคลื่อนรถ ม้า ซงึ่ จะทำให้คนยอมรับไดก้ ็ต้องทำขนึ้ มาใหเ้ ปน็ เรือ่ งจริง อยา่ งไรก็ตาม การทดลองดังกลา่ วไม่ประสบความสำเร็จ เพราะแรงระเบิดของแก๊สทำให้รถมา้ เคลื่อนทไี่ ด้ แตป่ ระตโู รงรถเล็กเกินไปรถม้าออกไปไมไ่ ด้ สรปุ ทุกคนจงึ กลา่ วหา วา่ “เขาโง่” กระทั่งวันหนงึ่ คนท่ีถูกกล่าวหาวา่ โง่ ไปแขง่ รถ และรถของเขาเปน็ คนั เดยี วที่เข้าเสน้ ชยั ซ่ึงชายคนน้คี ือ ” เฮนรี่ ฟอรด์ ” โดยเรอื่ งนี้แสดงใหเ้ ห็นถึงว่า แม้จะลม้ เหลว กไ็ ม่ละพยายาม เพราะเขามีวิสยั ทศั น์ทีจ่ ะทำใหเ้ ปน็ จริง ได้ 4.5.2 10 วิธสี รา้ งแรงบนั ดาลใจใหต้ ัวเองด้วยคำคมโดนๆ 1. เราทกุ คนมีบางสงิ่ ในตวั เองทีน่ า่ ภมู ใิ จเสมอ เราไม่จำเป็นต้องเกง่ ทสี่ ุด แต่เราตอ้ งเชอ่ื ในศักยภาพของตวั เอง ลองนึกดสู ิคะวา่ มีอะไรทีเ่ ราภมู ใิ จในตัวเอง บา้ ง ลิสต์ออกมาให้ไดเ้ ยอะที่สุด แลว้ ใชเ้ ปน็ แรงบนั ดาลใจ เพมิ่ พลังในการทำงานของสัปดาห์นก้ี ันค่ะ 2. ไมต่ ้องเพอร์เฟกต์ทุกอย่าง แคต่ ัง้ ใจทำใหด้ ีทส่ี ดุ กพ็ อ เคยเป็นไหม เมอ่ื บางเรอื่ งท่ไี ม่ไดด้ ั่งใจ อาจจะทำให้เราเสียความม่นั ใจไปบา้ ง ใครกำลงั รสู้ ึกแบบน้อี ยู่ ลอง ถามตวั เองว่าเราทำดีทีส่ ุดหรือยัง ถ้าทำดีแล้ว แม้จะผิดพลาดไปบ้าง ก็ไม่เปน็ ไร ลองหาทางแก้ไขใหมใ่ นครงั้ หน้า สุดท้าย เราจะเจอกบั ทางออกท่ีดีที่สุดสำหรับทกุ ปญั หาอย่างแนน่ อน 72

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบง3. อยากไดอ้ ะไรต้องวางแผนและลงมือทำ ใครทรี่ ู้สึกว่าปนี ี้หนักหน่อย อยา่ เพ่ิงถอดใจ คำแนะนำจากผู้หญงิ เก่งๆ ทเี่ ราสมั ภาษณ์ในคอลัมน์ MIRROR my SUCCESS หลายๆ คนบอกวา่ เราทุกคนเป็น workingwomen ทีเ่ ก่งได้ ถ้าเราเชือ่ ในตวั เอง วางแผนการ ทำงานทุกวนั และลงมือทำให้เต็มที่ ถงึ จะเหนือ่ ยหน่อย แต่จะได้ผลลพั ธ์ที่เราตอ้ งการอย่างแน่นอน 4. อยา่ กลัวทีจ่ ะขอความชว่ ยเหลอื เม่ือต้องการ การขอความชว่ ยเหลอื ในเรื่องงานไม่ได้แปลวา่ เราทำงานไม่เกง่ ตรงกันข้าม ผู้หญิงเก่งหลายๆ คนท่ีเคย สมั ภาษณม์ า ลว้ นพดู ตรงกนั ว่า เมอื่ ถึงเวลาท่รี ้สู กึ ว่าไม่ไหว กต็ ้องขอความชว่ ยเหลือจากคนอน่ื บ้าง ไม่วา่ จะเป็นขอ ความรู้ หรอื ว่าขอความรว่ มมือ หรือขอความช่วยเหลือในด้านอื่นๆ เพราะคนเราไมไ่ ดเ้ กง่ หรือเชยี่ วชาญไปหมดทุก เรอื่ ง การขอความชว่ ยเหลือจากคนที่ชำนาญหรือคนที่มปี ระสบการณ์มาก่อน จะทำให้เราทำงานง่ายข้นึ ทำงาน เสรจ็ เร็วข้นึ และไดผ้ ลงานท่ีมีประสิทธภิ าพมากขึ้น 5. เราสร้างความเปลย่ี นแปลงได้ จากการลงมือทำ มากระตุ้นตวั เองดว้ ยการเขียนเปา้ หมายเลก็ ๆ ที่อยากทำให้ได้หรอื สำเรจ็ ในสปั ดาหน์ ้ีกันดีกว่า อาจจะเป็น เรื่องเล็กๆ เชน่ ลดอาหารประเภทแปง้ และนำ้ ตาลลง ทำงานใหเ้ สรจ็ กอ่ นกำหนด หรือแต่งตวั ในแบบทยี่ งั ไม่กลา้ ใส่ ดบู า้ ง การมีเปา้ หมายเล็กๆ จะทำใหเ้ รามแี รงบนั ดาลใจในการทำสง่ิ ตา่ งๆ มากขนึ้ ยง่ิ ได้ลงมือทำแลว้ เหน็ ผล คุณจะ มีกำลงั ใจในการทำสงิ่ ใหญ่ๆ ตอ่ ไป 6. ทกุ ความสำเร็จเริ่มตน้ ท่ีการวางแผนอยา่ งละเอยี ดและเป็นขน้ั ตอน การตงั้ เปา้ หมายการทำงานในสปั ดาหน์ ้ี เชน่ การวางแผนอย่างละเอยี ด จดั ลำดับความสำคญั และลงมอื ทำทลี ะข้ันตอน จะชว่ ยให้คุณทำเป้าหมายให้สำเรจ็ ได้ไมย่ าก อันนรี้ วมถงึ เป้าหมายสว่ นตัว เชน่ ออกกำลังกาย หรอื ความสัมพนั ธ์ด้วย อยากเห็นอะไรเกิดข้นึ กบั เรื่องนน้ั ๆ บ้าง ลองเขียนออกมาแลว้ ทำตามแผนดู คณุ จะพบกับ ผลทแี่ ตกตา่ งอยา่ งไมน่ า่ เช่ือ 7. วนั ใหม่ สปั ดาห์ใหม่ วางเป้าหมายใหม่ เพอ่ื ความสำเรจ็ คร้ังใหม่ ลองใช้เวลาสัก 15 นาที ตั้งเป้าหมายที่อยากทำให้เกิดขึ้นภายในอาทิตย์น้ีกันดูนะคะ เร่ิมจากเปา้ หมาย รายวนั กอ่ นก็ได้ เช่น จะเลิกทานของทอดก่วี นั ตอ่ สปั ดาห์ หรอื จะทำงานท่ียากโดยใชเ้ วลาให้นอ้ ยลง การ ต้งั เป้าหมายเล็กๆ จะชว่ ยฝึกใหเ้ ราสามารถบริหารจัดการเวลาได้มากข้ึน รวมถึงชว่ ยใหท้ ุกคนสัมผัสถึงความสำเรจ็ ในแต่ละวนั ได้มากขึน้ ด้วย ถา้ ทำได้แลว้ เป้าหมายใหญ่ๆ ในชีวติ ท่วี างไว้ ก็จะทำสำเรจ็ ไดเ้ ชน่ กัน 8. ฝนั ใหไ้ กลและไปให้ถึง ดว้ ยการลงมอื ทำอยา่ งเต็มท่ี อยา่ ปล่อยให้ความฝันเปน็ เพียงจนิ ตนาการ การลงมือทำความฝันให้เปน็ จริงคือการตั้งเป้าหมาย วางแผน และทำตามขน้ั ตอนทีว่ างไว้ โดยสามารถปรบั จนู ใหเ้ ข้ากบั สถานการณ์ทเ่ี กดิ ข้ึนได้ และไม่ล้มเลิกกลางคนั แม้วา่ จะ 73

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบงเจออุปสรรคใหญ่ขวางทาง เราก็จะมีหลักให้เกาะและทำให้เรากา้ วไปข้างหนา้ อย่างมั่นคงค่ะ 9. ความสำเร็จทว่ี ดั ผลได้ คอื การไปทำงานอย่างมีความสขุ การทำงานอย่างมคี วามสขุ ถอื เป็นหนึ่งในความสำเรจ็ ท่เี ราสร้างเองได้ ดว้ ยการเลอื กมองหาแงม่ ุมท่ดี ีของ งานที่ทำ และทำในสิง่ น้ันๆ ใหด้ ีขน้ึ ๆ ไปอกี วิธนี นี้ อกจากจะทำให้คุณทำงานอย่างมีความสุขแลว้ ยังช่วยใหง้ าน ออกมามีประสิทธิภาพมากขน้ึ อกี ด้วย เพราะถ้าเราทำทุกอย่างจากความสุข แนน่ อนว่าผลลัพธ์ย่อมดีเสมอ อย่าง นอ้ ยก็ดีต่อใจเราน่ันเอง 10. โฟกสั ในส่งิ ท่เี ราควบคุมได้ ใครทกี่ ำลังเครียดหรือกังวลกับส่งิ ทเ่ี กิดข้ึนรอบตัว แนะนำวา่ ใหเ้ ปลี่ยนโฟกสั คือใหโ้ ฟกสั ในส่งิ ทคี่ วบคมุ ได้ เช่น เวลาทเี่ รากำหนดเอง หรือคณุ ภาพงานที่เราสามารถใช้ความตั้งใจทำให้ดที สี่ ดุ ส่วนในเร่อื งอ่ืนๆ นอกเหนอื จาก การควบคมุ ของเรา เชน่ ความคิดเหน็ ของคนอนื่ สภาพเศรษฐกจิ หรือสงั คมภายใน ให้เราวางใจวา่ เราทำดที ี่สดุ ใน ส่วนทีเ่ ราควบคุมไดแ้ ล้ว วธิ ีนจ้ี ะช่วยให้ ทกุ คนทำงานไดอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพมากข้ึน และยงั มีความสขุ ในทุกการ กระทำของเราด้วย ไมว่ ่าจะเปน็ เร่ืองงานหรือเร่ืองสว่ นตวั 4.5.3 8 ข้อคดิ สรา้ งแรงบันดาลใจในการทำงาน ในโลกของการทำงานแน่นอนว่า ไม่มอี ะไรง่าย คนทป่ี ระสบความสำเร็จในอาชีพหลายคนล้วนผา่ นจุดทท่ี อ้ ทีส่ ดุ ตกต่ำที่สดุ มาแล้วทง้ั น้ัน แต่พวกเขาก็สามารถลุกขน้ึ มาต่อสูใ้ หมไ่ ด้ เหมือนกับ คณุ เอกชยั วรรณแก้ว นักพดู สร้างแรงบนั ดาลใจ หรือทหี่ ลายคนรจู้ ักกนั ในนาม มนุษย์เพนกวิน เคยพูดไว้ว่า “ถ้าเราล้มแลว้ ไม่ลกุ เรากจ็ ะล้มอยู่ อย่างน้ัน” เชน่ กัน หากทำงานแล้วทอ้ ไมล่ ุกขน้ึ ไปหาแรงบันดาลใจ ไมล่ ุกข้นึ มาสู้ คุณก็จะท้ออยู่อยา่ งน้นั 1.“The best way to not feel hopeless is to get up and do something. Don’t wait for good things to happen to you. If you go out and make some good things happen, you will fill the world with hope, you will fill yourself with hope.” / “วธิ ที ี่ดีที่สดุ ในการไม่รสู้ ึกสิ้นหวงั คอื การลุกข้ึนและ ทำอะไร อย่าเพยี งแคร่ อใหส้ ง่ิ ดี ๆ เกิดขนึ้ กับคณุ ถ้าคุณออกไปข้างนอกและทำสง่ิ ดี ๆ คุณจะเติมเต็มโลกดว้ ย ความหวงั คุณจะเติมเต็มตวั คุณเองดว้ ยความหวงั ” : Barack Obama หากเรามัวแตร่ อใหส้ ิ่งดี ๆ เกดิ ขึ้นกบั เราโดยทเ่ี ราไมท่ ำอะไรเลยนน้ั เปน็ เร่อื งยาก ฉะน้นั อยา่ มวั เสียเวลาเลย ออกไปค้นหาอะไรใหม่ ๆ สรา้ งกำลังใจใหต้ ัวเอง ใหค้ นรอบข้าง ปลกุ พลังและไฟในตัวคณุ ขึน้ มาแล้วลุกข้ึนมาสรา้ ง งานเจง๋ ๆ กนั ดีกวา่ 74

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบง2.“Working smarter is learning to prioritize, plan, and focus our energies with meaningful intent.” / “การทำงานอย่างชาญฉลาดคือการเรียนรู้ท่จี ะจัดลำดบั ความสำคญั วางแผนและมงุ่ ม่นั อย่างมีพลัง และ เจตนารมณ์” : Michael Thomas Sunnarborg หากเรารู้จกั จดั ลำดับความสำคัญของงานในแต่ละวนั และมีการวางแผนท่ีดี เชอื่ ไหมว่าชวี ิตการทำงานจะ ง่ายข้นึ มาเลยละ ฉะนนั้ เราต้องเป็นผ้คู วบคุมงาน อยา่ ใหง้ านควบคุมเรา 3.“If you live for money, no amount will ever satisfy you.” / “ถา้ คณุ มีชวี ติ อยู่เพื่อเงนิ น่นั หมายความวา่ คุณจะไม่มีวนั พอใจ” : Richie Norton เราเหน็ หลายคนที่ประสบความสำเร็จและมีความสุขกับชีวติ การทำงานโดยทีพ่ วกเขาเหลา่ นัน้ ไม่ได้คิดถงึ เรอ่ื งเงนิ ความสุขตา่ งหากคือสิ่งทเ่ี ขาต้องการ 4.“Do not worry about who get the credit or praise of the work done. Continue work to give your best.Your reward may come unexpected.” / “อย่ากังวลว่าใครจะไดเ้ ครดิตหรือคำสรรเสรญิ ใน ผลงาน แตจ่ งทำงานต่อไปให้ดที ่ีสดุ เพราะคุณอาจจะได้รบั กลับคนื ในแบบท่คี ุณก็คาดไม่ถึง” : Lailah Gifty Akita คุณคา่ ของเราไมไ่ ด้อยทู่ ่คี ำสรรเสริญเยินยอหรอก แตม่ นั อยู่ท่ีเราตา่ งหาก เราที่รู้ดีว่าเราทำอะไร และเพื่อ อะไร ฉะน้นั ถ้าเราต้ังใจทำงานของเราให้ดีทส่ี ดุ แล้ววนั หนึ่งเราจะประสบความสำเร็จในอาชพี ของเรา และนน่ั แหละคือสิง่ ที่มีค่ามากกวา่ คำสรรเสริญ 5. “Don’t work for appraisal or appreciation, work for your personal growth”/ “อยา่ ทำงาน เพียงเพอ่ื การประเมินหรือแค่คำชน่ื ชมแต่จงทำงานเพื่อให้คุณโตขน้ึ ” : Sivaprakash Sidhu ทุกครง้ั ทเี่ ราลงมือทำงาน มนั จะเป็นการเพ่ิมพูดประสบการณ์ให้เราเป็นคนท่เี กง่ ขนึ้ เสมอ การใสใ่ จในงาน ทกุ กระบวนการจงึ เปน็ ส่ิงจำเปน็ เพราะมันไมใ่ ช่แคจ่ ะทำให้งานของคุณออกมาดีเทา่ นนั้ แต่มนั ทำให้คณุ เป็นคนเก่ง ขนึ้ 6.“Your work is going to fill a large part of your life, and the only way to be truly satisfied is to do what you believe is great work. And the only way to do great work is to love what you do.” / “งานของคุณคือสว่ นสำคญั ในชีวติ และวธิ เี ดียวที่จะทำให้เกิดความพอใจอย่างแท้จรงิ คือการทำส่ิงที่คุณเช่ือ วา่ มนั เป็นผลงานที่ยอดเยีย่ ม และวิธีเดยี วที่จะทำผลงานยอดเยีย่ มได้กค็ ือการที่คุณรักในสิง่ ทค่ี ณุ ทำ “ : Steve Jobs ไม่ทกุ คนหรอกทจี่ ะได้ทำงานในสง่ิ ทร่ี ัก แตเ่ ช่ือไหมว่าเราทุกคนสามารถรักในสิ่งท่เี ราทำได้ ฉะนั้นเร่ิมรกั ใน สิ่งท่ีคุณทำอยูต่ ั้งแต่วันนแี้ ล้ววนั หนงึ่ คณุ อาจจะไดเ้ หน็ ความมหัศจรรยข์ องมนั 7. “I think people who are creative are the luckiest people on earth. I know that there are no shortcuts, but you must keep your faith in something Greater than You, and keep doing 75

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบงwhat you love. Do what you love, and you will find the way to get it out to the world.” / “ฉันคดิ ว่าคนทีม่ ีความคิดสร้างสรรคเ์ ปน็ คนทโี่ ชคดที ี่สดุ ในโลก ฉนั รู้ว่ามนั ไมม่ ีทางลดั เพียงแตค่ ุณตอ้ งรักษาศรัทธาในส่ิงท่ี ย่งิ ใหญ่กว่าคุณ และทำมนั ด้วยความรกั ต่อไปแลว้ คณุ จะพบหนทางทีจ่ ะสามารถประกาศให้โลกรู้ “ : Judy Collins ไม่ใช่ทุกคนท่จี ะเกิดมาพรอ้ มกบั พรสวรรค์ ฉะน้นั จงใชพ้ รแสวงสร้างความสำเร็จ 8.“Never continue in a job you don’t enjoy. If you’re happy in what you’re doing, you’ll like yourself, you’ll have inner peace. And if you have that, along with physical health, you will have had more success than you could possibly have imagined.” / “อย่าทำงานท่ีคณุ ร้สู ึกวา่ ไมส่ นุก เพราะถา้ คุณมคี วามสุขในสิ่งท่ีคุณกำลังทำอยู่คณุ จะชอบตวั เอง คุณจะมีความสงบภายใน แลว้ ถ้าคณุ มีสุขภาพ แข็งแรงคณุ ก็จะประสบความสำเร็จมากกว่าท่ีคณุ คิดไว้” : Johnny Carson หากเรามคี วามสุขกับการทำงานในทกุ ๆ วนั น่นั หมายความว่าคุณมาถกู ทาง เพราะมนั ไม่ใชแ่ คจ่ ะทำให้ คุณมีผลงานที่ดี แต่คุณยงั จะมีสุขภาพจิตทีด่ ี และสุขภาพกายทีด่ ตี ามมาอีกด้วย สรปุ แรงบันดาลใจ (Inspiration) หมายถึง พลงั อำนาจในตนเองชนิดหน่ึง ทใี่ ชใ้ นการขับเคล่ือนการคิดและ การกระทำใด ๆ ที่พึงประสงค์ เพอ่ื ให้บรรลุผลสำเร็จได้ตามตอ้ งการ กระบวนการเกดิ แรงบันดาลใจ ประกอบด้วย การตั้งเป้าหมาย ตัวตน ตดั สนิ ใจ คิด เชื่อ จนิ ตนาการแห่งความสำเรจ็ ลงมือทำและการอดทน รปู แบบของแรง บนั ดาลใจก็จำแนกได้ 2 รูปแบบ คือรปู แบบที่เกิดจากภายในและภายนอก ปัตจัยท่ีสง่ ผลให้เกดิ แรงบันดาลใจก็แบ่ง ไดเ้ ป็น 2 รปู แบบเชน่ กัน แรงขบั กเ็ ปน็ แรงผลักดันทที่ ำให้เกิดแรงบันดาลใจภายใน ส่วน แรงบนั ดาลใจทม่ี าจาก ภายน้องจะเกยี่ วขอ้ งกัยสถานท่ีต่างๆ เช่น พิพธิ ภัณฑ์ โรงภาพยนตห์ อ้ งสมดุ ความคดิ สร้างสรรค์ เป็นสงิ่ ทม่ี ีอยใู่ น ตวั ของมนุษย์เอง จะแบ่งตามความถนัดและความสามารถ อารี พันธ์มณี (2537:26) ไดอ้ ธิบายความคดิ สรา้ งสรรค์ ใน 3 ลกั ษณะ 1. ลกั ษณะทางกระบวนการ 2. ลกั ษณะของบุคคล 3. ลกั ษณะทางผลิตผล องค์ประกอบของ ความคดิ สรา้ งสรรค์จะประกอบด้วย ความคิดคล่องแคล่ว ความคดิ ยืดหยุน่ ความคดิ รเิ รม่ิ ความคิดละเอยี ดลออ แนวคดิ และทฤษฎที ่ีเกยี่ วข้องกบั แรงบันดาลใจ การรคู้ ิด การเรยี นรกู้ ารรคู้ ิด (cognitive learning) หมายถงึ กระบวนการเรยี นรู้ทเี่ กี่ยวข้องกบั กลไกทางสมอง ทฤษฎกี ารรคู้ ิดตามแนวคิดของ Cognition ทฤษฎีพัฒนาปญั ญา ของ Piaget ทฤษฎีการเรียนรู้โดยการพบของ Bruner ทฤษฎกี ารเรยี นรอู้ ย่างมีความหมายของ Ausubel และ ทฤษฎีการประมวลสารสนเทศ ทฤษฎรี ้คู ดิ ของ Meta Cognition เปน็ ทฤษฎีทสี่ บื เนื่องมาจากนักจิตวิทยากลุ่มพทุ ธ ปัญญานิยม และบุคคลสำคัญทา่ นหนงึ่ 2 ทฤษฎสี งั คมเชิงการรคู้ ิดของอตั เบริ ์ต แบนดูรา ทฤษฎกี ารเรยี นรู้ทาง สังคม คือ Albert Bandura เปน็ นักจิตวิทยาทีม่ ชี ื่อเสยี งที่ Stanford University งานนำ้ เช้ือของเขาถูกสรปุ ใน 76

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบงสง่ิ พมิ พ์ปี 1963 ของเขาเรื่อง การเรยี นรทู้ างสังคมและการพัฒนาบคุ ลกิ ภาพ เขากำหนดทฤษฎที ่ีการเรียนรทู้ ัง้ หมด เป็นผลมาจากการสังเกตและจำลองพฤติกรรมของผูอ้ ื่น กระบวนการนี้ซบั ซ้อนมาก การเรียนรเู้ กิดข้นึ ไดอ้ ยา่ งไร ข้นั ตอนการเรยี นรู้ตามทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคม ได้แก่ ความสนใจ การเก็บรักษา การทำสำเนา เทคนิคการสรา้ ง แรงบันดาลใจเชิงสรา้ งสรรค์ จะเป็นการยกหัวข้อเทคนิคเพ่ือทำใหเ้ กดิ แรงบันดาลใจ เช่น 7 เทคนคิ ง่ายๆ สร้างแรง บนั ดาลใจให้ เอสเอ็มอี มคี วามคดิ สร้างสรรคเ์ พื่อเร่ิมทำธุรกิจ 10 วธิ สี รา้ งแรงบันดาลใจให้ตัวเองด้วยคำคมโดนๆ 8 ข้อคิดสร้างแรงบันดาลใจในการทำงาน 77

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบงคำถามท้ายบท 1. จงอธิบายความหมายของคำว่า “แรงบันดาลใจ” 2. จงอธิบายกระบวนการท่ีทำให้เกิดแรงบนั ดาลใจ 8 อยา่ ง 3. จงยกตัวอย่างปจั จยั ท่ที ำใหเ้ กิดแรงบนั ดาลใจทง้ั ภายในและภายนอกอย่างละ 2 แบบ 4. ความสามารถในการหาคำตอบได้ หลายประเภท หลายทิศทาง เปน็ ลักษณะขององค์ประกอบใดในความคดิ สรา้ งสรรค์ 5. ลักษณะของความคดิ สรา้ งสรรคม์ ีก่ลี ักษณะ อะไรบ้าง 6. ความคิดคล่องแคล่ว (Fluency) มคี วามหมายว่าอย่างไร 7. ทฤษฎีรูค้ ดิ ของ Meta Cognition เปน็ ของใคร 8. จงบอกแรงบนั ดาลใจของนักศึกษาเกย่ี วกับอาชีพท่ีอยากทำในอนาคต 9. ศาสตราจารย์อัลเบิรต์ แบนดูร่า เปน็ นกั จติ วิทยาของประเทศใด 10. ถา้ นักศึกษาขาดแรงบันดาลใจในการชวี ิต นักศกึ ษามหี ลักวธิ ีในการเสรมิ สรา้ งแรงบนั ดาลใจอย่างไรบ้าง เอกสารอ้างองิ วิธีสร้างแรงบันดาลใจใหต้ ัวเองดว้ ยคำคมโดนๆ 20 ตุลาคม 2020 https://www.thairath.co.th/women/life/motivation/1962076 แรงบันดาลใจในการทำงานวิชาการ (Inspiration you to work?) อินทริ า มีอนิ ทรเ์ กดิ สาขาวิชาการจัดการ คณะ บริหารธุรกิจ มหาวทิ ยาลยั ธนบรุ ี http://www.thonburi-u.ac.th/km/Inspiration.pdf สรุปสาระสำคัญ แรงบันดาลใจแหง่ ชวี ิต Inspiration of life สำนกั งานวชิ าการศกึ ษานวัตกรรมการเรยี นรู้ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ มิถุนายน พ.ศ.2562 https://www.smartsme.co.th/content/217645 7 เทคนคิ ง่ายๆ สรา้ งแรงบันดาลใจให้ เอสเอ็มอี มีความคิด สรา้ งสรรค์เพ่ือเร่ิมทำธุรกิจ โดย Anirut.J 11มีนาคม 2562 ทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคมของ Albert Bandura https://th.lifehackk.com/albert-bandura-s-social- learning-theory 78

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบงแผนบรหิ ารการสอบประจำบทท่ี 5 หัวขอ้ เนื้อหา 1. ความหมายของความสุข 2. ความสขุ ในรูปแบบของการทำงาน 3. คณุ ภาพชวี ติ ในการทำงาน (Quality Of Working Life) 4. เทคนคิ การปฏิบตั ิใหค้ ุณภาพชวี ติ ในการทำงานดีข้นึ วัตถปุ ระสงค์เชิงพฤติกรรม 1. เมื่อนักศึกษาเรียนจบบทเรียนนี้ แล้วสามารถเข้าใจความหมาย วิธีการวัดความสุขและหลัก ความสขุ 8 ประการ 2. เรียนจบบทเรียนน้ีแลว้ สามารถเขยี นองค์ประกอบของความสุขในการทำงานได้ 3. เมื่อนกั ศกึ ษาเรยี นจบบทเรยี นน้ีแล้วเข้าใจองค์ประกอบของคุณภาพชีวิตของ Richard E. Walton 4. เมื่อนักศึกษาเรียนจบบทเรียนนี้แล้วสามารถอธิบายเทคนิคการการปฏิบัติให้คุณภาพชีวิตในการ ทำงานดขี ึน้ วธิ ีสอนและกจิ กรรมการเรยี นการสอน 1. วธิ สี อน 1.1 อภิปรายเกี่ยวกับคำวา่ ความสุขและความสุขในการทำงาน 1.2 ให้นักศกึ ษาเขียนสรุปความเขา้ ใจองคป์ ระกอบของความสุขในการทำงานและคุณภาพชวี ิต 1.3 สรปุ ประโยชน์ของการเสรมิ สรา้ งคณุ ภาพชวี ิตในการทำงาน 1.4 ให้นักศึกษาเขยี นเทคนิคการปฏิบัตใิ ห้คณุ ภาพชวี ติ ในการทำงานดีขึน้ 1.5 ผูส้ อนสรุปเสริมให้สมบรู ณ์ทง้ั บท 1.6 นักศึกษาทำแบบฝึกหัดท้ายบทและอา่ นเอกสารประกอบการสอนเตรยี มไว้ในการเรยี นสัปดาห์ 2. กิจกรรมการเรียนการสอน 2.1 มกี ารบรรยายในชน้ั เรียนและการถาม-ตอบ 2.2 มกี ารอภปิ ลายเปน็ กลุ่มและเดี่ยว 2.3 ค้นคว้าข้อมูลเพ่มิ เตมิ เก่ียวกับเทคนิคในการสร้างความสุขในการทำงาน และนำเสนอหนา้ ช้ัน สอื่ การเรียนการสอน 1. เอกสารประกอบการสอน Power Point 2. เอกสารและตำราอน่ื ๆ ท่ีเกยี่ วขอ้ ง 3. วดี ที ศั น์เกี่ยวกบั เทคนิคการสร้างความสุขในการทำงานตา่ ง ๆ 79

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบงการวัดและประเมินผล 1. ซกั ถามความเขา้ ใจของนักศึกษาเก่ียวกบั บทเรียนทีเ่ รียนไป 2. ประเมินผลจากแบบฝกึ หัดทา้ ยบทเรียน 3. ตรวจผลงานของนกั ศึกษาและการมสี ่วนรว่ มกับกจิ กรรมในช้นั เรยี น 80

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบงบทที่ 5 หลกั การทำงานอย่างมีความสขุ 5.1 ความหมายของความสขุ คำว่า “ความสุข (Happiness)” หมายถึง ภาวะอารมณ์ทางด้านบวกที่มนุษย์กำหนดรู้เมื่อความ ต้องการได้รับการตอบสนองในระดบั ต่างๆ หรอื อาจพบการใช้คำวา่ ความพึงพอใจในชีวติ แทนความสุขโดยการ รับรู้ของบุคคลเกี่ยวข้องกับความสุขนั้นเป็นลักษณะของความรู้สึกแห่งประสบการณ์ ซึ่งจะแตกต่างจากความ เพลิดเพลิน และยังหมายถึงความสามารถในการจัดการกับปัญหาในการดำเนินชีวิตการมีศักยภาพในการ พฒั นาตนเอง ครอบคลุมถึงความดีงามภายในจิตใจท่ามกลางสภาพแวดล้อมท่ีเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว อีก ทั้งได้กล่าวว่าความสุขนั้นสามารถแบ่งได้ 2 ประเภท คือ ความสุขชั่วขณะ(Moment Happiness) หมายถึง ความสขุ ระยะสน้ั ๆ เชน่ การมคี วามสุขกบั การดภู าพยนตร์ การมชี ว่ งเวลาของชวี ิตท่ีดี การยิม้ การหวั เราะ เป็น ต้น และอีกประเภทคือความสุขระยะยาว (Long-Tern Happiness) ซึ่งหมายถึงความพอใจในระยะยาว เช่น การรู้สึกมีส่วนร่วมในความสัมพันธ์ ในหน้าที่การงาน และความพึงพอใจในชีวิต โดยเกิดขึ้นจาก 2 ปัจจัยคือ (1) ปัจจัยด้านการเลี้ยงดูในอดีต ที่พบว่ามีความสัมพันธ์อยู่ในระดับสูงกับอัตราความสุข อย่างมีนัยสาคัญ ซึ่งจะส่งผลถึงการพัฒนาไปสู่ความรู้ความเข้าใจและบุคลิกภาพของแต่ละบุคคล (2) ปัจจัยด้านตัวบคุ คลหรือ สิ่งแวดล้อมที่พบวา่ เป็นการรวมกันของความพยายามในการมี ส่วนร่วมของบุคคล ในทางเปรียบเทียบ ระดับความสุขแต่ละระดับเป็ นผลที่เกิดจากความพึงพอใจใน เหตุการณ์ต่างๆ โดยการเพิ่มขึ้นของความสุขระยะยาวจะประกอบด้วยการก่อตัวและการมุ่งสู่ความสาเร็จของ บุคคล การมีความสัมพนั ธ์ท่ีใกล้ชิด มีเพอื่ นฝงู มจี ุดมุ่งหมายในชีวิต ประพฤตติ ัวดแี ละมองโลกในแงด่ ี 5.1.1 วิธีในการวัดความสุขท่เี กดิ ขึ้นของคนนนั้ สามารถวัดได้ 2 แนวทาง - การวัดความสุขบคุ คลเชิงอตั วสิ ยั (Suective well-being) ทำได้จากการสำรวจข้อมลู ความสุข ใช้วิธีการสัมภาษณ์บุคคลโดยตรงถึงระดับความสุขโดยรวมในชีวิต ซึ่งจะถามถึงระดับความพอใจในชีวิต (Life Satisfaction) ในภาพรวม - การวดั ความอยู่ดีมสี ุข (Wel-being) ทำได้จากการสำรวจขอ้ มลู ความสุข เช่น สุขภาพ ความรู้ หรอื การศึกษา การมปี จั จยั พ้ืนฐานเป็นส่ิงจำเป็ นในการดำรงชวี ิต เช่น ทอี่ ยอู่ าศัย น้า สะอาด อาหารเพียงพอ สภาพแวดล้อมทีด่ ี มีความปลอดภยั ในชีวิตและทรัพยส์ ิน เป็นตน้ เห็นได้วา่ วิธีการในการสรา้ งความสุข จงึ เปรียบเสมอื นกบั การผลิตสินคา้ ที่ต้องรู้แหล่งทีม่ าของวัตถุดิบ ที่มีคุณภาพ รวมทั้งขั้นตอนหรือกระบวนการผลิตท่ีถูกวิธีเพื่อจะได้สินค้าที่มีประสิทธิภาพเพียงพอกับความ ต้องการ และมีจำนวนมากเพยี งพอท่จี ะแบง่ ปันให้ผคู้ นรอบข้างได้อีกดว้ ย 5.1.2 ความสุข 8 ประการ Happy 8 ชาญวทิ ย์ วสนั ตธ์ นารัตน์ (2551) ผจู้ ดั การแผนงานสขุ ภาวะองคก์ รภาคเอกชนสำนกั งาน 81

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบงกองทนุ สนบั สนนุ และเสรมิ สร้างสุขภาพ ได้แบง่ ออกเป็น 8 ด้าน หรอื ความสุข 8 ประการ (Happy 8) 1.Happy body มสี ุขภาพดี สุขภาพทีแ่ ข็งแรงทงั้ กายและใจมาจากการทร่ี จู้ กั ใชช้ ีวิต รจู้ ักกนิ รู้จัก นอน ชีวติ มีความสุข 2.Happy heart มนี ำ้ ใจงาม สิ่งท่ีจำเป็นทส่ี ุดในการที่มนุษย์จะอยู่กับคนอน่ื ได้ต้องมีน้ำใจคดิ ถึงคนอน่ื เอ้ืออาทรต่อกนั เพราะคนเราอยู่ตัวคนเดยี วในโลกนไี้ มไ่ ด้ ต้องรูจ้ กั แบ่งปันอย่างเหมาะสม 3.Happy relax การผ่อนคลาย ต้องรู้จักผอ่ นคลายส่ิงตา่ งๆ ในการดำเนินชีวิต เพ่ือไม่ให้ตนเองรู้สึก กดดนั มากเกนิ ไป หากทำงานเครียดกต็ ้องมีวธิ ผี อ่ นคลายในการทำงาน หรือแม้แตช่ ีวิตส่วนตัวก็ด้วย ตอ้ งรู้จกั ผอ่ นคลายใหเ้ หมาะสม 4.Happy brain การหาความรู้ มนษุ ย์เราอยู่ได้ด้วยการศกึ ษาหาความรู้พัฒนาตนเองตลอดเวลาจาก แหล่งต่างๆ เพื่อนำไปสูก่ ารเป็นมอื อาชพี และเกิดความมนั่ คงก้าวหน้าในการทำงาน หรือพดู งา่ ยๆ คือ เรยี นเพอ่ื รู้ และสอนคนอืน่ ไดใ้ นงานท่ีตนรู้ 5.Happy soul การมคี ุณธรรมอันเปน็ สิ่งจำเปน็ พน้ื ฐานของการอยู่รว่ มกันของมนุษยใ์ นสังคม คือการ มี หริ ิโอตตัปปะ ในการทำงานเป็นทมี หิริโอตตปั ปะ คือ ความละอายและเกรงกลัวต่อการกระทำของตนเอง โดยเฉพาะการกระทำทไี่ มด่ ี คนดีมีคุณธรรมนำมาซ่ึงความสุขขององค์กร เพราะคนมีความศรัทธาในศาสนา และมี ศีลธรรมในการดำเนนิ ชีวิต 6.Happy money รู้จกั ใชเ้ งินใหเ้ ป็น สามารถจดั การรายรับรายจา่ ยของตัวเองได้ มีเงนิ รู้จักเก็บรจู้ ักใช้ เป็นหนีใ้ หพ้ อดี มีชีวติ ที่เหมาะสมกับตัวเอง เพราะวันน้ีคนปฏเิ สธการเป็นหนไี้ มไ่ ด้ แตส่ ามารถจดั การค่าใชจ้ า่ ย ให้เหมาะสมกับตนเองได้ 7.Happy family ครอบครวั ทด่ี ี การให้ความสำคัญกบั ครอบครัวทำให้ครอบครัวมีความอบอนุ่ มนั่ คง เกดิ กำลังใจทด่ี ใี นการทำงาน เหมือนเป็นภมู ิคุ้มกนั ที่ช่วยให้เผชิญกบั อนาคตหรืออุปสรรคในชีวิตได้ 8.Happy society สงั คมดี สงั คมมีสองมติ ิ คอื สังคมในที่ทำงานกบั สังคมนอกท่ีทำงาน มนุษยท์ กุ คน ตอ้ งมีความรักสามัคคเี อ้ือเฟื้อตอ่ สังคมท่ีตนเองอยู่อาศยั เพื่อใหเ้ กดิ สังคมและสภาพแวดล้อมท่ดี ีตามมา 5.2 ความสขุ ในรปู แบบของการทำงาน ความสุข” ของคนเรามีหลายรูปแบบ นับตั้งแต่ตอนเราเป็นเด็ก ความสุขก็คือ ได้เล่น ได้เรียน และ ได้อยู่กับเพื่อน แต่พอโตมาแล้วได้มีงานทำ สิ่งหนึ่งที่หลายคนปรารถนานั่นก็คือ “ความสุขในการทำงาน” หรือที่ภาษาอังกฤษเรียกว่า Happy at work ซึ่งการทำงานอย่างมีความสขุ นั้น เป็นสิ่งที่บุคลากรทกุ คนใองค์ กรนน้ั ปรารถนาหากได้ทำงานในทท่ี ำงานท่ีร้สู ึกว่ามีความสุขจะรู้สึกผูกพัน สนุกสนาน ความรู้สึกที่มาทำงานจะ 82

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบงหมดไปกลายเป็นการร่วมสนุกกับกิจกรรมตา่ งๆ หากองคก์ รใดท่ีสามารถทำให้สมาชิกมคี วามสุขในการทำงาน มากขน้ึ เทา่ ใด โอกาสทอี่ งคก์ รน้ันจะประสบผลสำเรจ็ ไดม้ ากขึ้นเท่าน้ัน มีหลายคนบอกมาว่า “เมื่อโตขึ้นมา ความสุขเริ่มลดน้อยถอยลงไป” อาจจะมาจากสภาวะที่ต้อง รับผิดชอบสูงขึ้น หรือ มีปัจจัยภายนอกมาบีบรัด ไม่ว่าจะเป็นด้านทางเศรษฐกิจ การแข่งขัน ความสัมพันธ์ ระหว่างบุคคลหรืออื่นๆ ทำให้สภาพจิตใจของคนทำงานถดถอยออกไป ส่งผลทำให้ความสุขที่เคยมีมาลด น้อยลง 5.2.1 องคป์ ระกอบของความความสุขในการทำงาน อภิชาต ภู่พานชิ (2551) ได้กลา่ วถึงความสุขในการทำงานนัน้ ว่าเปน็ สว่ นหนง่ึ ในองค์ประกอบของ คณุ ภาพชีวติ ในการทำงาน และความพึงพอใจในการทำงานซ่งึ สงั เคราะห์ได้ 7 องคป์ ระกอบดงั นี้ 1. นโยบายการบริหารองค์กร ได้แก่ การมีส่วนรวมในการกำหนดนโยบายและการบรหิ าร การ ปกครองบงั คบั บัญชา การนเิ ทศงาน นโยบายขององค์การ ธรรมนูญองค์การ 2. การจดั สวสั ดิการดา้ นการเดินทางและทอี่ ยู่อาศัย โดยหน่วยงานเป็นผู้จดั ใหแ้ ก่บคุ ลากร 3. คา่ จ้าง เงินเดอื น คา่ ตอบแทนทตี่ ้องเปน็ ธรรมและเพยี งพอ เหมาะสมกบั งานทที่ ำ 4. ความสัมพนั ธท์ างสงั คมในหน่วยงานทัง้ กับผู้บังคับบญั ชาและกบั เพื่อนรว่ มงาน ได้แก่ ความรสู้ ึกรักใคร่ ปรองดอง ความรู้สึกต่อชุมชนในองค์กร สัมพนั ธ์สนิทสนม ไมแ่ บ่งชน้ั วรรณะใน หน่วยงาน เป็นต้น 5. ลกั ษณะสภาพแวดลอ้ มหรือสภาพการทำงาน ได้แก่ สถานทที่ ำงาน ขนาดขององค์กร สภาพแวดล้อมทางกายภาพ ชื่อเสียง ความรบั ผดิ ชอบต่อสังคมองค์กร บทบาทและหนา้ ทีก่ ารทำงานใน องค์กรทสี่ ัมพันธ์กับความรู้ความสามารถ 6. โอกาสในความกา้ วหนา้ ในการทำงาน ความสาเร็จในการทำงานและการเลอื่ นตำแหน่งที่ สูงขึน้ 7. ความสมดุลระหว่างชวี ิตการทำงานและชีวติ ด้านอืน่ ๆ ได้แก่ การสรา้ งความสมดุลทางชวี ิต ทัง้ ในการทำงานและครอบครัว หรือความเป็นส่วนตัวของบุคคลและการแบ่งเวลาในการทำงาน การเดินทาง 5.2.2 โครงสรา้ งของความสุขในการทำงานจะประกอบด้วย 1. ศักยภาพในการมุ่งสู่ความสำเรจ็ ของพนักงาน (Achieving your potential) ซ่ึงเปรยี บเสมอื น หวั ใจสำคญั ของความสขุ ในการทำงาน 2. ปจั จยั ท่สี ง่ ผลต่อความสุขในการทำงาน 5 ประการ (The 5Cs) ไดแ้ ก่ - ผลงาน (Contribution) เป็นสง่ิ ทเ่ี ก่ียวข้องกบั ความพยายามและความตระหนักรู้ในการทำ งานให้บรรลุผลสำเร็จ - ความมน่ั ใจ (Conviction) เปน็ ส่งิ ทเ่ี ก่ยี วข้องกบั ความม่นั ใจตอ่ สภาวะแวดล้อมที่เป็น แรงจูงใจในการทำงาน 83

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบง- วฒั นธรรมการทำงาน (Culture) หมายถึง การทพ่ี นักงานสามารถรับร้ถู งึ การทา งานที่ดี เหมาะสม - ขอ้ ตกลงร่วมกนั (Commitment) เป็นการตกลงรว่ มกนั เกย่ี วกบั ขอบเขต และการมีส่วรว่ ม ในการทำงาน - ความเชือ่ ม่นั (Confidence) เกย่ี วกบั ความร้สู กึ เช่ือถือ ศรัทธาตอ่ ตนเองและที่ทา งาน 3. ความภาคภูมใิ จ ไวว้ างใจและตระหนักรู้ (Pride Trust and Recognition) ซง่ึ เปน็ ปจั จยั แวดลอ้ มและตัวบง่ ช้ีสำคญั ทีจ่ ะช่วยเรง่ ใหเ้ กดิ ความสขุ ในการทำงานได้อยา่ งรวดเรว็ 5.3 คณุ ภาพชวี ติ ในการทำงาน (Quality Of Working Life) การทำงานมีความสำคัญต่อชวี ติ มนุษย์เป็นอย่างยิ่ง อาจกล่าวได้ว่าการทำงานเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตท่ี ปฏิบตั ิมากกวา่ กิจกรรมใด ๆ โดยเฉพาะอยา่ งย่ิงในสังคมอตุ สาหกรรม คาดกันว่ามนษุ ย์ไดใ้ ช้เวลาถึงหน่ึงในสาม ของชีวิตเป็นอย่างน้อยอยู่ในโรงงานหรือสำนกั งาน และยังเชื่อว่าในอนาคตอันใกลน้ ี้ มนุษย์จำเป็นต้องใช้เวลา ของชีวิตเกี่ยวข้องกับการทำงานเพิ่มขึ้นไปอีก ซึ่งคนวัยแรงงานเป็นกลุ่มคนกลุ่มใหญ่ที่สุดของโครงสร้าง ประชากรไทย เป็นกลุ่มคนที่เป็นกำลังสำคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ จึงเป็นกลุ่มประชากรท่ี ภาครฐั และเอกชนให้ความสำคัญไม่เพยี งในการพฒั นาศักยภาพแตร่ วมถึงคุณภาพชวี ติ ท่ีดีด้วย เมื่อพิจารณาแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560- 2564) ที่มุ่งเน้นผลลพั ธ์ ให้คนทำงานในประเทศมีคุณภาพชีวิตที่ดีและมีความสขุ ในขณะเดียวกันคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of work life) มีความสำคัญอย่างยิ่งในการทำงานปัจจุบัน เพราะคนเป็นทรัพยากรที่สำคัญ เป็นต้นทุนทาง สังคมที่มีคุณค่า ในปัจจุบันคนส่วนใหญ่ต้องเข้าสู่ระบบการทำงาน ต้องทำงานเพื่อให้ชีวิตดำรงอยู่ได้และ ตอบสนองความต้องการพื้นฐาน เมือ่ คนต้องทำงานในทีท่ ำงานเป็นส่วนใหญ่ จึงควรมสี ภาวะทเี่ หมาะสม ทำให้ เกิดความสุขทั้งร่างกายและจติ ใจ มีความรู้สึกมั่นคงทั้งสขุ ภาวะทางกาย สุขภาวะทางอารมณ์ สุขภาวะทางจิต วิญญาณ และสุขภาวะทางสังคม (กองสวัสดิการแรงงาน. 2547 : 18) คุณภาพชีวิตการทำงานมีผลต่อการ ทำงานมาก กลา่ วคือ ทำให้เกดิ ความรสู้ ึกท่ีดีต่อตนเอง ทำให้เกดิ ความรูส้ ึกท่ีดตี ่องาน และทำใหเ้ กิดความรู้สึกที่ ดีตอ่ องคก์ รนอกจากนยี้ งั ชว่ ยส่งเสรมิ ในเรื่องสุขภาพจติ ชว่ ยให้เจรญิ กา้ วหนา้ มีการพฒั นาตนเองใหเ้ ป็นบุคคลที่ มีคุณภาพขององคก์ ร และยังช่วยลดปญั หาการขาด งาน การลาออก ลดอุบตั เิ หตุ และสง่ เสริมใหไ้ ด้ผลผลิตและ การบรกิ ารท่ีดี ท้ังคุณภาพและปรมิ าณ (ทิพวรรณ ศริ ิคณู .2542 ) คุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Working Life) ถือว่าเป็นสิ่งที่สำคัญอย่างยิ่งเพราะคนเป็น ทรัพยากรที่มีค่าและมีความสำคัญต่อองค์กร ดังนั้น สภาพแวดล้อมและบรรยากาศในสถานที่ทำงานต้องมี ความเหมาะสมและเอื้อต่อการทำงาน คือ ทำให้ผู้ปฏิบัติงานมีรู้สึกที่ดีต่องาน มีความมั่งคง ทำให้เกิดความสุข โดยจะสง่ ผลดีทั้งตัวบคุ คลและองคก์ ร 84

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบง5.3.1 องค์ประกอบสำคญั เกย่ี วกบั คุณภาพชีวิต ตามหลกั การของ Richard E. Walton ซึ่งปรากฎในหนังสือ Creteria for Quality of Working life ได้แบง่ ออกองคป์ ระกอบสำคัญเกีย่ วกบั คุณภาพชวี ติ ไว้ 8 ประการ ดงั น้ี 1. คา่ ตอบแทนท่เี ป็นธรรมและเพยี งพอ (Adequate and Fair Compensation) การทีผ่ ปู้ ฏบิ ัตงิ านได้รับคา่ จา้ ง เงินเดอื น ค่าตอบแทน และผลประโยชน์อืน่ ๆ อย่าง เพยี งพอกบั การมี ชวี ิตอยไู่ ดต้ ามมาตรฐานที่ยอมรบั กนั โดยทั่วไป และตอ้ งเป็นธรรม เมือ่ เปรยี บเทยี บกับงานหรือองคก์ ารอ่นื ๆใน ประเภทเดียวกนั ดว้ ย 2. ส่ิงแวดลอ้ มท่ถี ูกลกั ษณะและปลอดภัย (Safe and Healthy Environment) ผูป้ ฏิบัติงานไม่ควรจะอยู่ในสภาพแวดลอ้ มทางด้านร่างกายและสิง่ แวดลอ้ มของการทำงานท่ไี ม่เหมา สะม ซง่ึ จะก่อใหเ้ กิดสุขภาพไม่ดี โดยสิ่งแวดล้อมท้งั ทางกายภาพและทางด้านจิตใจ น่นั คือ สภาพการทำงาน ตอ้ งไมม่ ลี ักษณะท่ตี ้องเส่ียงภัยจนเกินไป และจะต้องช่วยให้ผ้ปู ฏบิ ัตงิ านรู้สึกสะดวกสบาย และไมเ่ ป็นอนั ตราย ตอ่ สขุ ภาพอนามัย 85

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบง3. เปดิ โอกาสใหผ้ ูป้ ฏิบตั งิ านไดพ้ ัฒนาความรู้ความสามารถไดเ้ ปน็ อย่างดี (Development of Human Capacities) งานที่ปฏิบัติอยู่นั้นจะต้องเปิดโอกาสให้ผู้ปฏิบัติงานได้ใช้และพัฒนาทักษะความรู้อย่างแท้จริง และ รวมถึงการมีโอกาสได้ทำงานที่ตนยอมรบั ว่าสำคัญและมีความหมาย การพัฒนาขีดความสามารถของบุคคลใน การทำงานนี้ เป็นกรใหค้ วามสำคัญเก่ยี วกับ การศกึ ษา อบรม การพฒั นาการทำงานและอาชีพของบุคคล เป็น สิ่งที่บ่งบอกถึงคุณภาพชีวิต ซึ่งจะทำให้บุคคลสามารถทำหน้าที่ได้โดยใช้ศักยภาพที่มีอยู่อย่างเต็มที่ มีความ เชื่อมน่ั ในตนเอง 4. ลักษณะงานท่ีส่งเสริมความเจริญเติบโตและความมน่ั คงใหแ้ ก่ผูป้ ฏบิ ัตงิ าน (growth and security) นอกจากงานจะช่วยเพิ่มพูนความรู้ความสามารถของตนเองให้ได้รับความรู้และทักษะใหม่ๆ แล้ว ยัง ช่วยให้ผู้ปฏิบัติงานได้มีโอกาสก้าวหน้า และมีความมั่นคงในอาชีพ มีแนวทางหรือโอกาสในการเลื่อนตำแหน่ง หนา้ ทที่ ่สี ูงขึน้ ตลอดจนเป็นท่ยี อมรบั ทั้งของเพอ่ื นร่วมงานและสมาชิกในครอบครวั ของตน 5. ลักษณะงานมีส่วนส่งเสริมด้านบูรณาการทางสังคมของผู้ปฏิบัติงาน (social integration) การทำงานรว่ มกันเปน็ การทีผ่ ู้ปฏิบัติงานเห้นว่าตนเองมีคุณคา่ สามารถปฏบิ ัติงานใหส้ ำเร็จลุล่วงได้ มี การยอมรบั และร่วมมือทำงานด้วยดี และงานนัน้ ช่วยให้ผู้ปฏิบตั งิ านได้มโี อกาสสร้างสัมพันธภาพกับบุคคลอื่นๆ รวมถึงโอกาสทีเ่ ทา่ เทียมกันในความกา้ วหนา้ ที่ตง้ั อยบู่ นฐานของระบบคุณธรรม 6. ลักษณะงานที่ตั้งอยู่บนฐานของกฎหมายหรือกระบวนการยุติธรรม (Constitutionalism) หมายถึง การบริหารจัดการที่ให้เจ้าหน้าที่/พนักงาน ได้รับสิทธิในการปฏิบัติตามขอบเขตที่ได้รับ มอบหมายและแสดงออกในสทิ ธซิ ่ึงกันและกัน หรอื เปน็ การกำหนดแนวทางในการทำงานรว่ มกัน ซึ่งวฒั นธรรม ในองค์การหรือหน่วยงานจะส่งเสริมให้เกิดการเคารพสิทธิส่วนบุคคลมีความเป็นธรรมในการพิจารณาให้ ผลตอบแทนและรางวัล รวมทั้งโอกาสที่แต่ละคนจะได้แสดงความคิดเหน็ อย่างเปิดเผย มีเสรีภาพในการพูด มี ความเสมอภาค 7. ค ว า ม ส ม ด ุ ล ร ะ ห ว ่ า ง ช ี ว ิ ต ก ั บ ก า ร ท ำ ง า น โ ด ย ส ่ ว น ร ว ม ( the total life space) เป็นเรื่องของการเปิดโอกาสให้ผู้ปฏิบัติงานได้ใช้ชีวิตในการทำงานและชีวิตส่วนตัวนอกองค์กรอย่าง สมดุล นั่นคือต้องไม่ปล่อยให้ผู้ปฏิบัติงานได้รับความกดดันจากการปฏิบัติงานมากเกินไป สามารถทำได้ด้วย การกำหนดช่ัวโมงการทำงานที่เหมาะสม เพอ่ื หลีกเลี่ยงการท่ีต้องคร่ำเคร่งอยู่กับงานจนไม่มีเวลาพักผ่อน หรือ ไดใ้ ช้ชีวิตสว่ นตวั อยา่ งเพียงพอ 8. ล ั ก ษ ณ ะ ง า น ม ี ส ่ ว น เ ก ี ่ย ว ข ้ อ ง แ ล ะ ส ัม พ ั น ธ ์ ก ั บ สั ง ค ม โ ด ย ต รง ( social relevance) กจิ กรรมการทำงานท่ดี ำเนนิ ไปในลกั ษณะท่ไี ดร้ บั ผดิ ชอบต่อสังคม ซ่ึงนับเป็นเร่อื งท่ีสำคญั ประการหนึ่ง 86

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบงทีผ่ ู้ปฏบิ ตั งิ านจะรู้สกึ และยอมรบั วา่ องค์กรทต่ี นปฏิบัติงานอยู่นัน้ มีความรบั ผดิ ชอบต่อสงั คมในดา้ นต่างๆ ท้ังใน ด้านผลผลิต การจำกัดของเสีย การรักษาสภาพแวดล้อม การปฏิบัติเกี่ยวกับการจ้างงาน และเทคนิคด้าน การตลาด 5.3.2 ประโยชนข์ องการเสริมสรา้ งคุณภาพชีวติ การทำงาน เม่ือแตล่ ะบุคคลได้ใช้ชีวติ ในการทำงานอยู่กับส่ิงท่ีตนพอใจ จะทำให้มสี ภาพจิตใจและอารมณท์ ่ีดี ซึง่ มี ผลให้งานดีตามไปด้วย ดงั น้ัน จงึ เป็นส่ิงจำเปน็ ท่ีองค์การต้องเสริมสรา้ งหรือแสวงหาหนทางใหเ้ กิดความ สอดคลอ้ งต้องกันระหว่างพนักงานและองค์การเพื่อใหอ้ งค์การสามารถบรรลุเปา้ หมายสูงสุด สโกรแวน สรปุ ถึง ประโยชน์ของคุณภาพชวี ิตการทำงานไว้ดังนี้ 1. เพ่ิมความพงึ พอใจในการทำงานสงู สุด เสริมสรา้ งขวัญและกำลงั ใจให้พนักงาน 2. ทำให้ผลผลติ เพ่มิ ข้ึนอยา่ งนอ้ ยทส่ี ุด เกิดจากอตั ราการขาดงานทน่ี ้อยลง 3. ประสิทธิภาพในการทำงานสงู ข้ึน จากการทพ่ี นักงานมีส่วนร่วม และสนใจงานมากขึ้น 4. ลดความเครยี ด อุบตั เิ หตุและความเจ็บป่ วยจากการทำงาน ซ่งึ จะสง่ ผลตอ่ การลดต้นทุน ค่า รักษาพยาบาล รวมถงึ ต้นทนุ ค่าประกันดา้ นสขุ ภาพ และการลดอตั ราและการจ่ายผลตอบแทนคนงาน 5. ความยดื หยุ่นของกำลังคนมมี ากและความสามารถในการสลับเปลี่ยนพนกั งานมีมากข้ึน ซงึ่ เปน็ ผลมา จากความรู้สกึ ในการเป็นเจา้ ขององคก์ าร และการมสี ว่ นรว่ มในการทำงานที่เพม่ิ ขึ้น 6. อัตราการสรรหาและคดั เลอื กพนกั งานทด่ี ีข้ึน เนื่องจากความน่าสนใจที่เพิ่มข้ึนขององคก์ ารจากความ เช่ือถือเร่อื งคณุ ภาพชวี ิตการทำงานท่ดี ขี ององคก์ าร 7. ลดอัตราการขาดงานและการเปล่ียนพนักงาน โดยเฉพาะพนกั งานทีด่ ี 8. ทำให้พนกั งานรสู้ กึ สนใจงานมากขน้ึ จากการให้พนกั งานมีส่วนร่วมในการตดั สินใจ การใหส้ ทิ ธิออก เสยี งการรบั ฟังความคดิ เห็นของพนกั งานและเคารพสิทธขิ องพนักงาน 9. ทำใหเ้ กดิ มาตรฐานคุณภาพชีวิตท่ีดีตามมาตรฐานความเป็นอยทู่ ี่ดี 5.4 เทคนคิ การปฏิบตั ใิ หค้ ุณภาพชวี ติ ในการทำงานใหด้ ขี ้นึ การทอี่ งค์กรจะสรา้ งคุณภาพชวี ติ ท่ีดีในสถานทท่ี ำงานน้นั ไมไ่ ด้เป็นเรื่องของหน่วยงานเพียงอยา่ งเดยี ว หากแต่เปน็ เรื่องของความร่วมมอื ทัง้ สองฝ่าย คอื ในสว่ นของนายจ้างหรือฝ่ายองคก์ ร และฝ่ายลูกจา้ งหรอื พนักงาน โดยที่ทั้งสองฝา่ ยตอ้ งมแี นวทางในการดำเนนิ งานเพ่อื มุ่งสู่เปา้ หมายของการมีคุณภาพชีวิตในการ ทำงานท่ีดรี ่วมกัน และเกดิ ความพึงพอใจท้ังสองฝ่าย 5.4.1 ทำงานอยา่ งมีความสุขดว้ ย 6 วิธงี า่ ยๆ ที่ทำให้ชวี ิตดขี ึน้ 1.รู้เป้าหมาย รู้วา่ เสน้ ชัยของเราอยู่ตรงไหน การทำอะไรตามคนอื่นไปเร่ือย ๆ มนั ไม่สามารถสร้างความสขุ ใหก้ ับเราได้ เพราะถา้ เราเหน็ คนอ่ืนมี อะไรใหม่ก็ตอ้ งทำตามเขาไปตลอด ลองถามตัวเองดูว่าจรงิ ๆ แลว้ เป้าหมายในการทำงานของเราคืออะไร 87

มหา ิวทยา ัลยราช ัภฎห ู่ม ้บานจอม ึบงอยากท่จี ะไปใหส้ ดุ ในสายงานน้ีไหม? 2.แยกใหอ้ อกวา่ อะไรสำคัญ และอะไรไมส่ ำคัญ พอเหน็ ถึงเปา้ หมายแลว้ เราก็จะมองออกวา่ อะไรสำคัญ และอะไรไมส่ ำคัญ ซง่ึ อะไรทไ่ี มส่ ำคัญและไม่ ควรทำเราก็ตดั มนั ทงิ้ ไปจากชีวติ หลายครง้ั มนั แสดงออกมาในรูปแบบของความเฉือ่ ยชาในการทำงาน ความ เซง็ ทต่ี ้องทำเรื่องเดิมซำ้ ๆ อยู่อยา่ งนน้ั ถ้าความรู้สึกแบบน้ันเกดิ ข้ึนกบั เราแลว้ คงต้องหาทางแกไ้ ขอะไบางอ ยา่ งแลว้ ซึง่ วธิ กี ารหาทางออกของแต่ละคนไม่เหมอื นกันเรอื่ งนตี้ อ้ งหากนั เองวา่ เราทำสิ่งใดแล้วมคี วามสขุ สามารถทำมันไดโ้ ดยที่ไม่เบื่อ 3.ชวี ติ ไม่ไดเ้ รง่ รบี ตลอดเวลา ชา้ ลงบ้าง ผอ่ นคลายลงบา้ ง หลายครัง้ ความทุกข์ก็ไมไ่ ด้มาจากความผดิ หวังอย่างเดียว มันมาจากความตอ้ งการท่เี มอ่ื ไดส้ ิ่งหน่ึงแลว้ ยงั ตอ้ งวิง่ หาส่ิงต่อไปตลอด ถ้าอยากมคี วามสุขมากขึน้ ต้องผ่อนคลายลงบา้ ง ใช้ชวี ิตให้ยืดหย่นุ กว่าเดมิ ปล่อย คันเร่งแล้วพกั สักนิด เราจะรสู้ ึกคลายกงั วล และไดเ้ หน็ ในมุมท่ีแตกต่างออกไป 4.หยุดงานจรงิ ๆ แล้วสนุกกับชวี ติ บา้ ง บางคนในหัวมีแต่เร่ืองาน แม้กระทั่งวนั หยดุ ก็ยังต้องมานั่งคดิ งาน ซึ่งข้อนี้จะดทษแต่คนทำงานอย่าง เดียวก็ไม่ได้ บางองค์กรก็แยกแยะไม่ค่อยแยกแยะวา่ วนั ไหนเป็นวันหยดุ วันไหนเป็นวนั ทำงาน ด้วยภาระหน้าท่ี ที่ตอ้ งรับผดิ ชอบสง่ ผลใหค้ นทำงานตอ้ งแบกงานกลับมาทำทบี่ า้ น ฉะนนั้ แทนทีเ่ ราจะเอาเวลาทั้งหมดไปทุ่มกบั งานเพยี งอย่างเดยี ว ลองอยูเ่ ฉย ๆ บา้ ง สนุกกบั ชวี ติ แล้ว ไปทำเรื่องที่ตวั เองสนใจ แค่น้ีก็จะช่วยใหก้ ลับมามีพลังและความคดิ สร้างสรรค์มากขึ้นแล้ว 5.กา้ วออกมาจาก Comfort Zone ลองทำสิง่ ใหม่ ถ้าลองหยดุ แล้วยงั ไม่ดีขนึ้ และการอยู่กบั สิ่งเดิมซำ้ ๆ ก็ทำให้เรามีแต่ความทกุ ข์ ลองมีความสขุ กับสงิ่ ใหม่ ๆ ในชีวิตดูบ้าง ปกติคนเราจะชอบคิดว่าส่ิงทตี่ วั เองทำอยู่หรือมีอยนู่ ัน้ ดีท่ีสดุ แลว้ เพราะมันปลอดภัยกวา่ การออกไปลองทำอะไรใหม่ 6.เข้าใจความร้สู กึ ผู้อื่น และแบ่งปนั ความสุขนน้ั ทุกข้อทผ่ี ่านมาเปน็ การทำส่ิงตา่ ง ๆ เพ่ือตวั เอง จะดีกว่าไหม ถา้ เรามีความสขุ แล้วคนรอบตวั เราจะมี ความสขุ ไปพร้อมกันดว้ ย ลองกลับมามองคนใกล้ตัวและเข้าใจพวกเขามากขน้ึ ไม่ว่าจะเปน็ เพื่อนรว่ มงาน หัวหน้า หรือลกู น้อง การรักษาความสัมพันธ์ท่ีดีแบบน้จี ะช่วยใหเ้ ราทำงานไดด้ ีข้นึ แถมยังมปี ระสทิ ธภิ าพมาก ข้ึนดว้ ย 5.4.2 สร้างการทำงานอย่างมีความสุขได้อยา่ งไร 1. อย่าคดิ เล็กคดิ น้อยกบั เรื่องเล็กนอ้ ย พยายามอยา่ เอาคำพดู หรือเหตุการณท์ เ่ี กิดข้ึนในแตล่ ะวันมาเปน็ อารมณ์ ใหค้ ดิ เสยี วา่ มนั ผา่ นมาแลว้ ก็ ผา่ นไป เราควรฝึกคิดแต่สิ่งท่ีจะทำใหต้ นเองประสบความสำเร็จและไดร้ ับการยอมรับในหนา้ ทกี่ ารงานจาก สังคม ดงั นนั้ จงึ ควรใช้เวลาในแต่ละวนั กบั การคิดถึงเป้าหมายและจะทำอยา่ งไรเพ่ือให้เดนิ ทางไปสู่เป้าหมาย ทต่ี ้ังไว้ ความคิดเหลา่ นี้จะส่งผลใหม้ คี วามกระตือรอื รน้ ในการทำงาน สนุกกบั สง่ิ ท่ที ำอยู่ตลอดเวลา 88


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook