38 5. ความถขี่ องการฝึก โดยทวั่ ไปจะฝกึ 1-3 ครัง้ ต่อสัปดาห์ 6. ลาดับข้นั ของความหนัก ความหนกั ของการฝึกขึน้ อยู่กบั วงจรเหยียด-สั้น ซ่ึงเป็นผลมาจาก ความสูงของจุดศูนย์ถ่วงของรา่ งกาย ความเรว็ พน้ื ราบ นา้ หนกั ตวั ความพยายามของแต่ละบุคคลและ ความสามารถของกลา้ มเน้อื ที่จะเอาชนะความต้านทาน ในขณะท่คี วามหนกั ของการฝกึ เพ่ิมข้ึน 7. ลาดับขั้นของปริมาณ ตามปกติแล้วปริมาณของการฝึกจะนับจากจานวนครั้ง ที่ส้นเท้า สัมผัสพื้น และระยะทางทั้งหมดในการฝึก ในขณะที่ความหนักของการฝึกเพ่ิมข้ึน ปริมาณของการฝึก ตอ้ งลดลง 8. เวลาพัก เนื่องจากการฝึกพลัยโอเมตรกิ นัน้ จะใช้ความพยายามสูงสดุ ในแตล่ ะครั้งจึงต้องมี เวลาพักระหว่างการปฏิบัติแต่ละคร้ัง เวลาพักระหว่างชุดให้เหมาะสม เช่น การฝึกท่า เด็พธ์จัมพ์ (Depth jumps) อาจจะตอ้ งพกั ระหว่างการปฏิบตั ิแต่ละครัง้ 15-30 วนิ าที และระหว่างชดุ 3-4 นาที 9. ความเมื่อยล้า จะเป็นสาเหตทุ ี่ทาให้เทคนิค และคุณภาพของการฝึกลดลง อาจเป็นสาเหตุ ให้เกิดการบาดเจ็บได้ ความเมื่อยล้านี้อาจเป็นผลมาจากการฝึกพลัยโอเมตริกท่ียาวนานหรือรวมกัน ระหว่างโปรแกรมการฝึกแบบอื่น ๆ เช่น การว่ิง หรือการฝึกด้วยน้าหนักการวางแผนการฝึกซ้อม พลยั โอเมตริกในแตล่ ะครง้ั จากการศึกษาสรุปไดว้ ่า การสร้างโปรแกรมการฝึกพลยั โอเมตริกทผี่ ลต่อการกระโดดเข่าลอย นั้น จะต้องคานึงถึง กิจกรรมการออกกาลังกาย ระยะเวลาในการฝึกแต่ละวัน เวลาการฝึกแต่ละ สัปดาห์ ความหนักเบาของกิจกรรม ระยะเวลาของการฝึกท้ังโปรแกรม และระดับสมรรถภาพของ ร่างกายขณะฝึก นอกจากน้ี การสร้างควรจะต้องมีความรู้อย่างลึกซึ้ง ในเร่ืองต่อไปนี้ หลักการและ ทฤษฎีการฝึกซ้อม ข้ันตอนที่สาคัญของการฝึกซ้อมประเภทของการฝึกซ้อมท่ีสาคัญ, หลักการฝึก ทักษะ ขั้นตอนการใช้โปรแกรมการฝึกกับนักกีฬา หลักการเบ้ืองต้นของการสร้างโปรแกรมการฝึก และประโยชนข์ องการฝึกกฬี า หลักและทฤษฎีแบบทดสอบ ความหมายของแบบทดสอบ สมนึก ภัททิยธนี (2537, 25 อ้างถึงใน สาราญ สุขแสวง, 2560, 52) ได้ให้ความหมายของ แบบทดสอบ หมายถึง แบบทดสอบหรือประเมินค่าเปน็ เครื่องมอื สาคัญยิ่งและใช้มากท่ีสุดในโรงเรยี น โดยแบบประเมินค่าและแบบทดสอบที่ดีจะช่วยให้ครูทราบสถานภาพของนักเรียนและครูว่าเป็น อยา่ งไรมีด้านใดดหี รือด้านใดด้อยควรจะปรับปรุงแก้ไขอย่างไร ซง่ึ จะเปน็ ชุดของคาถาม (items) หรอื ชุดใด ๆ ท่ีสร้างขึ้น เพ่ือนาไปเร้าหรือชักนาให้บุคคลแสดงพฤติกรรมตอบสนองออกมาและสามารถ สงั เกตหรอื วัดได้
39 ความสาคญั ของแบบทดสอบ ในการทดสอบเพื่อให้ได้ผลตรงตามจุดมุ่งหมายเอาไว้แล้วก็ต้องวางหลักเกณฑ์ และข้อ ดุลยพนิ จิ ในการเลือกแบบทดสอบดว้ ยจะต้องตระหนักอย่างแน่นอนว่า การที่จะได้ข้อสอบแตล่ ะอย่าง ทีเ่ ปน็ ประโยชน์มากท่สี ดุ นน้ั ควรจะประเมนิ คา่ แบบทดสอบเท่าทีจ่ ะหาไดต้ ามเหตุผลทางวิทยาศาสตร์ หรืออาจจะกล่าวอีกอย่างหน่ึงก็ได้ว่าผลการทดสอบสามารถตอบปัญหาตามจุดมุ่งหมายที่ต้ังไว้อย่าง ถูกตอ้ ง ซงึ่ การทดสอบทักษะกฬี าน้ัน ผานิต บิลมาศ (2530, 35 อ้างถึงใน สาราญ สุขแสวง, 2560, 52-53) กล่าวว่า กระทาได้ 2 วิธีคอื 1. บุคคลประเมิน หรือแบบอัตนัย (subjective method) ในกรณีที่ทักษะจะเป็นทักษะท่ี ซับซ้อนซึ่งส่วนมากในวิธีการประเมินค่า (rating scale) โดยให้บุคคลหรือครูประเมินระดับ ความสามารถของนักเรียน แบบนก้ี ารได้คะแนนของนกั เรียนจะข้ึนอยูก่ บั ครผู ้ปู ระเมนิ ด้วย 2. แบบอัตนัย (objective method) วิธีนี้จะวิเคราะห์ทักษะการเล่นกีฬาออกเป็นส่วน ๆ โดยให้ข้อกระทาในแบบวัดเป็นส่วนประกอบที่สาคัญในทักษะน้ัน ๆ บางครั้งทักษะหนึ่ง ๆ เป็น เครอื่ งมอื วัดทักษะท่ดี ี และเปน็ มาตรฐานเหมือนกับข้อกระทาในแบบวดั ทั้งชุดข้อกระทาท่ีใชว้ ัดทักษะ จะต้องมีคุณสมบัติต่าง ๆ เช่น ความเท่ียงตรง ความเชื่อม่ัน ความเป็นปรนัย ถูกต้องตามหลักสถิติ และ คล้ายการเล่นจริงมากที่สุด แบบน้ีคะแนนท่ีนักเรียนจะได้ขึ้นอยู่กับความสามารถของนักเรียน โดยตรงไม่ข้ึนอยู่กับความรู้สึกหรือตามความคิดเห็นของผู้อื่น นักวิชาการในแบบต่าง ๆ ได้พยายาม คิดค้นศึกษาและหารูปแบบพฤติกรรม ทักษะ ตลอดจนความสามารถด้านต่าง ๆ ของผู้เรียนมากขึ้น เป็นลาดับ ท้ังน้ีเพ่ือให้แบบทดสอบที่มีความหลากหลายสามารถวัดในพฤติกรรมหรือความสามารถที่ ต้องการวัดได้อย่างแม่นยา มีความเชื่อถือได้ซึ่งในการสร้างแบบทดสอบโดยทั่ว ๆ ไปน้ัน ผู้สร้างต้อง วางเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ให้ชัดเจนเสียก่อนว่าต้องการทดสอบอะไร ทดสอบกับใคร มีรายการ ทดสอบอยา่ งไรบา้ ง จะมวี ธิ กี ารทดสอบอยา่ งไรบ้าง และจะได้ประโยชน์อะไรจากผลการทดสอบนั้น ๆ หากผู้สร้างแบบทดสอบมีกรอบความคิดเห็นชัดเจนแล้วก็จะทาให้การดาเนินงานในการสร้าง แบบทดสอบตลอดจนการนาแบบทดสอบไปใช้จะมีประสิทธภิ าพมากยง่ิ ขนึ้ ประเภทของแบบทดสอบทักษะทางกีฬา มอรโ์ ร, อายเอ็น, แจ็คสนั , ดิส และ ดาเล่ (Morrow, Aiien, Jacson, Disch, & Dale, 2000, 87 อ้างถึงใน สาราญ สุขแสวง, 2560, 53) ได้แบ่งแบบทดสอบทักษะทางกีฬาออกเป็น 4 ประเภท ดงั นี้ คือ 1. แบบทดสอบความแม่นยา (accuracy-based skill test) นิยมใช้ในการวัดผลจากการ เสิร์ฟ เช่น วอลเลย์บอล เทนนิส แบดมินตัน การขว้างลูกบอล การยิงลูกโทษ และการยิงประเภท
40 ต่าง ๆ ในกฬี าบาสเกตบอล เปน็ ตน้ สงิ่ ทคี่ วรคานงึ ในการใช้ แบบทดสอบประเภทนี้คือการสร้างระบบ การให้ คะแนนให้ มีความเชอ่ื ถอื ได้ และความเท่ียงตรงให้ มากที่สุด 2. แบบทดสอบวัดการปฏบิ ัติซ้า ๆ (repetitive-performance test) โดยปกติเรยี กว่า การตี บอลกระทบฝาผนัง หรือการตีข้ึนไปบนอากาศ (wall volleys or self-volleys) สามารถใช้วัดการตี ในทักษะกีฬาประเภทท่ีต้องใช้ไม้ (racquet sports) เช่น การตีลูกหน้ามือหลังมือและการส่งบอลใน กีฬาวอลเลย์บอล เป็นต้น แบบทดสอบประเภทนี้นับว่ามีความน่าเช่ือถือได้สูง แต่ถ้ากระบวนการใน การสร้างไม่ดีก็อาจเกิดความไม่เหมาะสม เพราะสามารถใช้ทักษะได้เพียงท่าเดียวซ่ึงไม่ครอบคลุม ทกั ษะอืน่ ๆ เทา่ ไรนักทาให้ความเทย่ี งตรงลดลงไป 3. แบบทดสอบการเคลื่อนไหวของร่างกายทั้งหมด (total body movement tests) มัก เรียกว่าแบบทดสอบวัดความเร็ว (speed test) นิยมใช้ กับการทดสอบการเลี้ยงบาสเกตบอลหรือ ฟุตบอล การวิ่งในกีฬาเบสบอลและซอฟท์บอล แบบทดสอบประเภทนี้นับว่ามีความน่าเชื่อถือได้สูง มาก เพราะมีตัวแปรหลายตัวรวมทง้ั การดเู วลาที่ได้จากการปฏิบัติดว้ ย 4. แบบทดสอบวัดระยะในการปฏิบัติหรือการวัดพลัง (distance or power performance tests) ใช้ในการเสิร์ฟแบดมินตันและเร็กเก็ตบอล การขว้างลูกซอฟท์บอลและเบสบอล เป็นต้น ซึ่ง แบบทดสอบประเภทนม้ี ีปัญหาตรงทว่ี า่ ในการทดสอบจะต้องคิดเรื่องความแมน่ ยาด้วยหรือไม่ อย่างไร กต็ ามอาจแก้ปญั หาดังกล่าวได้ ดว้ ยการกาหนดระยะทางใหส้ ั้นเข้า นอกจากนี้ บลูกาเทอ และ แจคสันต์ (Baumgarther & Jackson, 1999, 45 อ้างถึงใน สาราญ สุขแสวง, 2560, 54) ยังมคี วามสอดคลอ้ งกันและไดแ้ บ่งแบบทดสอบเพ่ือใช้ ในการประเมนิ ผล การเรียนออกเปน็ 5 กลุ่ม คอื 1. แบบทดสอบความแม่นยา (accuracy test) 2. แบบทดสอบสง่ บอลกระทบฝาผนงั (wall volley test) 3. แบบทดสอบการเคลอ่ื นไหวของร่างกาย (test of total bodily movement) 4. แบบทดสอบการโยน การเตะหรือ การตี (throws kicks or strokes for power or distance test) 5. แบบทดสอบทีร่ วมหลาย ๆ แบบทดสอบเข้าด้วยกนั (combination test) คุณลกั ษณะของแบบทดสอบทกั ษะกีฬาที่ดี การพิจารณาว่าจะเลือกแบบทดสอบใดท่ีถือว่าเหมาะสมหรือมีลักษณะของแบบทดสอบท่ีดี เพ่อื เป็นเกณฑใ์ นการสรา้ ง หรอื ปรับปรงุ แบบทดสอบทกั ษะกีฬาน้ัน ไดม้ ีผู้เสนอแนะไว้ ดงั เช่น วาสนา คณุ อภสิ ิทธิ์ (2536, 26 อา้ งถึงใน สาราญ สุขแสวง, 2560, 54) กลา่ วถึง แบบทดสอบ ทีด่ ไี ว้ ดังนี้
41 1. ตอ้ งมีความเทย่ี งตรง (validity) เปน็ แบบทดสอบทีใ่ ชว้ ดั นักเรยี นกลุ่มใดก็ไดผ้ ลเหมือนกนั 2. มีความเชื่อถอื ได้ (reliablity) เป็นแบบทดสอบทว่ี ัดสงิ่ ทตี่ ้องการวัดจริงได้ 3. มคี วามเปน็ ปรนัย (objectivity) เป็นแบบทดสอบทมี่ ีความยตุ ิธรรมในการให้ ะแนนใครจะ ให้กไ็ ด้ 4. ความง่าย (simplicity) เป็นแบบทดสอบทไี่ มม่ ีความยุ่งยากซับซ้อน ง่ายต่อการบรกิ าร 5. ความเป็นมาตรฐาน (uniformity) เป็นแบบทดสอบที่มีเกณฑ์มาตรฐานที่แน่นอนไว้ เปรียบเทยี บอย่แู ล้ว 6. การใช้เวลา (time) เป็นแบบทดสอบที่ไม่ใช้เวลามากเกินไปในการทดสอบ มีความ ประหยัด(economics) และใช้ประโยชน์ได้ดีท่ีสด มีคุณลักษณะครบถ้วนเป็นมาตรฐาน (standardized test) ประโยชนข์ องการทดสอบ แบบทดสอบที่ใชใ้ นการวัดผลและประเมนิ ผลนกั เรียนโดยทว่ั ๆ ไป มี 2 แบบ คอื แบบทดสอบ ท่ีเป็นมาตรฐาน และแบบทดสอบที่ครูสร้างข้ึนอง ซึ่งแบบทดสอบทักษะที่ครูสร้างขึ้นเองน้ันสามารถ สร้างให้เหมาะสมกับประเภทกีฬา อายุ เพศ และความสามารถของนักเรียน เมย์เยอร์ แลขเบซ (Meyers & Blesh อ้างถึงใน สาราญ สุขแสวง, 2560, 54-55) ไค้กล่าวถึงประโยชน์การสร้าง แบบทดสอบทักษะกฬี าไว้ ด้งนี้ 1. เป็นเครอ่ื งมอื พจิ ารณาถึงความบกพร่องทักษะกีฬานนั้ ๆ 2. เป็นเครอ่ื งมอื เปรยี บเทยี บความสามารถในการเขียนและนาไปใช้ หรอื การแข่งขัน 3. เป็นสิ่งช่วยปรบั ปรุงการเรยี นการสอนทักษะ 4. เปน็ แนวทางในการใหค้ ะแนน และวธิ ีการประเมินผลของครู 5. เป็นส่งิ ทชี่ วยกระตนุ้ ใหน้ กั เรียนเกดิ ความสนใจในการซ้อมมากขึ้น นอกจากน้ี สแตรนด์ และวลิ สนั (Stand & Wilson, 1993 อ้างถงึ ใน สาราญ สขุ แสวง, 2560, 55) ไดก้ ลา่ วถึงประโยชนข์ องแบบทดสอบทักษะทางกีฬาไว้ ดังน้ี 1. เป็นแรงจูงใจ (motivation) ให้ผู้เรียนทราบถึงความก้าวหนา้ ในการพัฒนาทักษะทางกีฬา ของตนเองและกาหนดเป้าหมายทจี่ ะปรบั ปรงุ ตนให้มที ักษะมากขึ้น 2. ให้คะแนนผู้เรียน (grading) ว่ามีความสามารถทางทักษะกีฬาอยู่ในระดับใด ให้ผู้ปกครอง ของผู้เรียนทราบถึงความก้าวหน้าและความสัมฤทธิ์ผลในการเรียน และเป็นแนวทางให้กับผู้สอนใน การทจ่ี ะช่วยยกระดบั ทักษะให้แก่กลมุ่ ผเู้ รยี นที่มคี ะแนนอยู่ในระดับต่า 3. วินิจฉัย (diagnosis) จากการสังเกตทักษะการเล่นกีฬาและประเมินจุดอ่อนจุดแข็งและ ความก้าวหน้าในทักษะของผู้เรียนมีมากน้อยเพียงไร ครูจะต้องกลับไปทบทวนวัตถุประสงค์ของการ
42 สอนที่ได้ตรงใจไว้ จะต้องปรับปรุงใหม่หรือไม่ และจะต้องปรับปรุงวิธีการสอนเพื่อท่ีจะให้การสอน นักเรียนสามารถบรรลุตามวัตถุประสงค์ท่ไี ด้กาหนดไว้หรือไม่ 4. ทานาย (prediction) ศักยภาพของผู้เรียนจากทักษะท่ีสามารถปฏิบัติได้ ในปัจจุบันใน กรณีท่ีผู้เรียนมีความเชื่อมั่นในทักษะของตนสามารถที่จะพัฒนาไปสู่การเป็นผู้มีทักษะทางกีฬาท่ีดีใน อนาคต 5. จัดอันดับ (placemen) ผู้เรียนมีความสามารถทางด้านทักษะกีฬาอยู่ในกลุ่มใด ผู้เรียนที่ ถูกจัดให้อยู่ในกลุ่มท่ีมีความสามารถระดับปานกลางสามารถก้าวไปสู่การลงทะเบียนเรียนในกลุ่มท่ีมี ทักษะชั้นสูงได้ ส่วนผู้เรียนท่ีมีความสามารถจัดอยู่ในกลมุ่ ท่ีมีทักษะพ้ืนฐานครูจะต้องจัดการสอนซ่อม เสรมิ เพื่อยกระดบั ผเู้ รยี นใหม้ ีความสามารถมากขึ้น 6. ประเมินโปรแกรม (program evaluation) เป็นงานส่วนหนึ่งที่ ทุก ๆ โรงเรียนจะต้องทา เพื่อคงไว้ การมีโปรแกรมการสอนทนกับการเปล่ียนแปลงของสังคม ทางโรงเรียนใดปราศจากการ ประเมินโปรแกรม โรงเรียนน้ันจะไม่ทราบว่าจะเปลี่ยนแปลงวิธีการสอนอย่างไร จะปรับปรุง เนื้อหาวิชาสว่ นไหนและควรจะดาเนนิ การเปลี่ยนแปลงเมื่อใด 7. ประเมินการสอน (instruction evaluation) จากตัวแปรที่ครูสามารถควบคุมได้ ได้แก่ การปฏิบัติทักษะของผู้เรียน และการบรรลุผลตามวัตถุประสงค์ของการสอนที่ได้ต้ังไว้ หากผลการ ความสัมฤทธิ์ผลในการเรียน ครูควรจะเปล่ียนแปลงเทคนิคและประเมินปรากฏว่าผู้เรียนไม่ประสบ ความสัมฤทธ์ิชผี้ ลในการเรียน ครคู วรจะเปลย่ี นแปลงเทคนิคและวธิ ีการสอนตลอดจนแก้ไขปัญหาของ การมีอุปกรณก์ ารสอนไม่เพยี งพอกบั จานวนผู้เรยี น 8. ประชาสัมพันธ์ (public relations) ให้คนเข้าใจถึงความจาเป็นที่นักเรียนทุกคนจะต้อง เรียนวิชาพลศึกษา และช่วยลดความเชื่อที่ผิด ๆ เกี่ยวกับพลศึกษา เช่น พลศึกษาก็คือกีฬาหรือการ เรยี นพลศกึ ษากค็ อื การเล่นเกมต่าง ๆ 9. วิจัย (research) เพ่ือค้นหาความรู้ใหม่ ๆ เก่ียวกับเทคนิคท่ีใช้ ในการจัดทักษะกีฬาความ ถูกต้องในเน้ือหาท่ีสอน รู้จักเลือกแบบทดสอบที่เหมาะสม และปัญหาท่ีเกี่ยวข้องในห้องเรียน นอกจากการเปลยี่ นแปลงหลักสตู รมักจะเกิดหลงั จากท่ีได้ ทราบผลการวิจยั แล้ว จากการศึกษาทฤษฎีของแบบทดสอบทาให้พอสรุปได้ว่า แบบทดสอบเป็นเครื่องมือใน ประเมินค่าใช้มากที่สุดในโรงเรียนโดยแบบประเมินค่าและแบบทดสอบท่ีดีจะช่วยให้ครูทราบ สถานภาพของนักเรยี นและครูหรอื ส่งิ ต่าง ๆ ท่ตี ้องการวัดผลเชน่ เดียวกบั แบบทดสอบการกระโดดเข่า ลอย เป็นเคร่ืองมือที่ใช้เพื่อการวัดผลหรือวัดทักษะกีฬา เป็นการวัดความสามารถทางกีฬาและการ สรา้ งแบบทดสอบการกระโดดเข่าลอยจะตอ้ งคานึงถึง ความเทยี่ งตรง ความเชอื่ มนั่ ให้เหมาะสมกับสิ่ง ทีจ่ ะวดั
43 หลักในการสรา้ งแบบทดสอบทกั ษะ สุพิตร สมาหโิ ต (2530, 273-276 อ้างถึงใน เอกพจน์ คงสมนกึ , 2559, 31-32) ได้เสนอหลัก ในการสรา้ งแบบทดสอบทกั ษะซงึ่ พอสรปุ ได้ดังน้ี 1. ควรจะเลอื กทักษะทเ่ี ปน็ พนื้ ฐานกีฬาที่ต้องการจะวดั และกอ่ นท่ีจะกาหนดเกณฑใ์ นการวัด ลงไป ควรจะต้องพจิ ารณาใหร้ อบคอบ มีการสงั เกตพฤตกิ รรมและทดลองนาไปใชก้ ่อน 2. แบบทดสอบทกั ษะท่ีสร้างขึ้นมาน้ัน ควรจะเป็นแบบทดสอบท่ีใกล้เคียงสภาพว่าเปน็ จริงให้ มากทีส่ ุดที่จะมากได้ 3. แบบทดสอบนั้น ควรจะแบ่งแยกความสามารถของนกั เรยี นอย่างเห็นไดช้ ัดเจน 4. แบบทดสอบทักษะน้ันจะต้องมีจานวนคร้ังที่ใช้ในการทดสอบอย่างเพียงพอ มิฉะน้ันผลที่ ตามมากค็ ือ ทาให้ค่าของความเชอ่ื ถือต่าลง 5. แบบทดสอบทักษะนั้น จะใช้เวลาในการดาเนินการน้อย ไม่เสียเวลามากเกินไป และไม่ ควรใช้อปุ กรณ์ตา่ ง ๆ มากเกินความจาเป็น โดยคานึงถึงอุปกรณ์ท่มี ีอยู่แลว้ ในโรงเรียน 6. แบบทดสอบทักษะที่สร้างข้ึนมานั้น ไม่ควรประกอบด้วยหลาย ๆ ทักษะจนเกินไป เพราะ นอกจากจะทาให้นกั เรียนเกิดความสับสนแลว้ วธิ ดี าเนินการกข็ าดประสทิ ธภิ าพไปด้วย 7. แบบทดสอบทักษะท่ีมีความต่อเน่ือง ครูหรือผู้ทาการทดสอบควรจะให้นักเรียนทดสอบ ต่อเนอ่ื งกนั ไปจนเสร็จ 8. พิจารณาใหค้ ะแนนอย่างงา่ ย ๆ และสือ่ ความหมายทช่ี ดั เจนและเขา้ ใจไดอ้ ย่างดี 9. แบบทดสอบทักษะทุกชนิดจะต้องมีคาแนะนาในการทดลองไว้อย่างชัดเจน ทั้งน้ี เพื่อให้ เกิดความม่ันใจว่าเป็นการนาแบบทดสอบน้ันไปใช้กับนักเรียนทุกห้องก็จะมีวิธีการใช้ที่เหมือน ๆ กัน นอกจากการเขียนข้อแนะนาวิธีการทดสอบแล้ว ก็ควรจะรวบรวมเอารายละเอียดของอุปกรณ์ เครอื่ งมอื วิธีการจัดตงั้ เคร่ืองมือลาดบั ข้นั ของรายการในการทดสอบ ตลอดท้งั ระยะเวลาในการทดสอบ ขน้ั ตอนในการทาการทดสอบลักษณะน้ีจาเป็นจะต้องมีการพิถีพิถันเป็นอันมาก เพราะจะทาใหผ้ ลของ การทดสอบท่ีได้น้ันมีความแม่นตรงมากขน้ึ 10. เคร่ืองมือหรือแบบทดสอบที่นามาใช้จะมีค่าความแม่นตรงมากข้ึน หากผู้ทาการทดสอบ จะทดลองนาเอาแบบทดสอบน้ัน ไปใช้กับกลุ่มตัวอย่างที่จัดไว้ว่าเป็นตัวแทนของประชากร โดยมี ระดับของอายุ เพศ ความสามารถท่ีจะต้องเหมือน หรือใกล้เคียงกันกับกลุ่มตัวอย่างท่ีเราจะทดสอบ จริง 11. จะต้องหาระดับ ความเชื่อถือ และระดับความแม่นตรงของเคร่ืองมือ หรือแบบทดสอบ น้ัน ๆ เสียกอ่ นท่จี ะนาไปใช้
44 12. เคร่ืองมอื หรอื แบบทดสอบบางชดุ ซ่ึงมรี ายการของการทดสอบท่ีตอ้ งการวัดทักษะเหมือน หรอื คล้ายคลึงกนั มากกอ็ าจจะนามาหาค่าสหสมั พันธ์ระหวา่ งรายการน้นั ๆ หากมคี า่ สหสมั พนั ธส์ ูง เรา อาจจะตัดรายการใดรายการหนึง่ ออกไป แลว้ ใช้รายการอ่ืนแทน ในทางตรงกันข้ามหากพบว่า รายการ ทดสอบท่ีนามาเปรยี บเทียบกันนั้น มคี ่าสหสมั พนั ธ์ตา่ เราอาจจะต้องนาเอาแบบทดสอบรายการนั้น ๆ ไว้ในแบบทดสอบต่อไปกไ็ ด้ 13. ควรสร้างคะแนนมาตรฐาน (standard scores) ของเครื่องมือหรือแบบทดสอบเมื่อ นามาใชใ้ นระยะหน่งึ แลว้ ผทู้ าการทดสอบจะต้องหาคะแนนมาตรฐานของแต่ละรายการเอาไว้ดว้ ย นอกจากนี้ สแตรนด์ และ วิลสัน (Strand & Wilson, 1993, 9-22) ได้เสนอถึงหลักในการ สรา้ งแบบทดสอบทกั ษะกีฬาไว้ 10 ข้ันตอนดงั นี้ ขัน้ ท่ี 1 ตรวจสอบเกณฑ์ของแบบทดสอบท่ดี ี (review criteria of good test) ได้แก่ 1. ความเท่ยี งตรง (validity) 2. ความน่าเชื่อถือได้ (reliability) 3. ความเป็นปรนยั (objectivity) 4. เกณฑป์ กติ (norms) 5. อุปกรณ์ (equipment) 6. บคุ ลากร (personnel) 7. พื้นที่ใชใ้ นการทดสอบ (space requirement) 8. การเตรียมพรอ้ มและการจัดเวลา (preparation and administration time) 9. ความสะดวกในการดาเนนิ การ (ease of administration) 10. ความเหมาะสมของอายุและเพศ (age and sex appropriateness) 11. คณุ ค่าทางการศึกษา (education value) 12. อานาจจาแนก (discrimination) 13. ความปลอดภยั (safety) 14. ชนดิ ของแบบทดสอบ (types of tests) ข้นั ที่ 2 วิเคราะห์กฬี า (analize the sport) เป็นการวิเคราะห์กีฬาหรือกิจกรรมทีท่ ดสอบโดยวเิ คราะหถ์ ึงองค์ประกอบที่สาคัญของทักษะ กีฬาหรือกิจกรรมน้ันว่าต้องการวดั ทักษะและความสามารถอะไรบา้ ง อย่างเช่น ถ้าจะวัดทักษะในการ ปฏิบัติการใช้แบบทดสอบทักษะ (skill test) หากจะวัดความสามารถในการเล่นควรใช้แบบทดสอบ ความสามารถทางกลไก
45 ขั้นท่ี 3 การตรวจเอกสาร (review the literature) หลังจากการได้เลือกทักษะที่เหมาะสม แล้วจึงทาการตรวจเอกสารที่เก่ียวข้องกับทักษะกฬี าทตี่ ้องการทดสอบโดยอาจศึกษาจากแบบทดสอบ ท่ีมีอยู่เดิม ขั้นที่ 4 คัดเลอื กหรือสรา้ งข้อทดสอบ (select or construct test items) โดยข้อสอบจะต้อง เป็นตัวแทนของการแสดงออกที่จะวิเคราะห์มีความสะดวกที่จะนา ไปใช้ได้จริงรวมท้ังต้องรู้ ว่ าข้อ ทดสอบแต่ละข้อใช้ในสถานการณ์อยางไร จึงไม่ควรมีข้อทดสอบมากมายเพ่ือใช้วัดเพียงทักษะหรือ ความสามารถเพียงอย่างเดยี ว ขั้นที่ 5 การกาหนดวิธีการปฏิบัติ (establish procedures) เป็นการกาหนดแบบแผน ขอบเขตของการใหค้ ะแนนและวิธีการดาเนนิ การ ข้ันที่ 6 จับคู่ช่วยทาการตรวจสอบ (arrange peer review) เป็นการสรรหาผู้เช่ียวชาญหรือ ผู้ร้ใู นทกั ษะกฬี านนั้ เพื่อทาการตรวจสอบขอ้ บกพร่องของแบบทดสอบทส่ี ร้างขน้ึ ซึ่งผสู้ ร้างอาจจะมอง ไมเ่ ห็นระหว่างการสรา้ งแบบทดสอบนั้น ข้ันที่ 7 นาไปทดลองใช้ (conduct pilot study) นาแบบทดสอบไปทดลองใช้เพื่อตรวจสอบ วิธีการดาเนนิ การการเตรียมการการให้คะแนนและปัญหาท่ีอาจเกิดข้ึน เพื่อนาไปสู่การปรับปรุงแก้ให้ เหมาะสมย่ิงขนึ้ ข้ันที่ 8 หาความเที่ยงตรง ความเช่ือถือได้และความเป็นปรนัย (determine validity reliability and objectivity) ขั้นท่ี 9 สร้างเกณฑ์ปกติ (develop norms) ถ้าแบบทดสอบที่สร้างข้ึนมีค่าความเท่ียงตรง และค่าความเชื่อถือได้สงู ก็สามารถสร้างเกณฑ์ปกติ เพอ่ื นาไปใชก้ บั โรงเรยี นท้องถิ่นเขตหรือประเทศ ขั้นที่ 10 สร้างคู่มือการใช้แบบทดสอบ (construct test manual) เป็นข้ันสุดท้ายของการ สรา้ งแบบทดสอบ คอื การจัดทาคูม่ ือการใช้ จากการศึกษาสามารถสรุปได้ว่า การสร้างแบบทดสอบทักษะทางกีฬาควรเลือกทักษะท่ี สาคัญ มีวัตถุประสงค์ของการทดสอบและมีการวัดทักษะต่าง ๆ ที่มีความง่ายต่อการทดสอบทักษะมี การให้คะแนนที่แม่นยาและเที่ยงตรงต่อการวัดทักษะและการเก็บข้อมูลตลอดจนสามารถที่จะนา คะแนนมาตัดสิน โดยใช้ค่าสถิติโดยการวิจัยครั้งนี้ผวู้ ิจัยได้ดาเนินการสร้างแบบทดสอบทักษะเข่าลอย โดยยึดแบบทดสอบทักษะขั้นพื้นฐาน มีการกาหนดรูปแบบ กาหนดเกณฑ์ ทิศทางในการทดสอบและ การเกบ็ ข้อมูลทไ่ี มย่ งุ่ ยากต่อการดาเนนิ การ หาความเทีย่ งตรงค่าความเชอ่ื ถอื ได้ และสร้างเกณฑ์ปกติ
46 งานวจิ ยั ทเี่ กี่ยวขอ้ ง 1. งานวิจยั ในประเทศ กษิดิ์เดช เกตุมณี (2553, บทคัดย่อ) ได้ศึกษาผลการฝึกพลัยโอเมตริกที่มีต่อความสามารถใน การเตะเฉยี งของนกั กีฬามวยไทย กล่มุ ตวั อย่างท่ใี ชใ้ นการวิจัยครงั้ น้ีคือ นักกฬี ามวยไทย เพศชาย ของ ค่ายมวยเดชรัตน์ ได้โดยใช้วิธีการเลือกแบบเจาะจง จานวน 20 คน จัดแบ่งกลุ่มตัวอย่างออกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มละ 10 คน คือ กลุ่มทดลอง ทาการฝึกมวยไทยตามปกติควบคู่กับการฝึกด้วยวิธีพลัยโอ เมตรกิ และกลุม่ ควบคุม ทาการฝกึ มวยไทยตามปกติ โดยใชร้ ะยะเวลาในการฝึก 8 สปั ดาห์ ฝกึ สปั ดาห์ ละ 3 วัน คือ วันจันทร์ วันพุธ และวันศุกร์ โดยทาการทดสอบความสามารถในการเตะเฉียงบริเวณ ลาตัวก่อนการฝึก หลังการฝึกในสัปดาห์ที่ 2 สัปดาห์ที่ 4 สัปดาห์ท่ี 6 และสัปดาห์ท่ี 8 แล้วนาผลท่ี ได้มาทาการวิเคราะห์ทางสถิติ โดยการหาค่าเฉลี่ย และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน แล้วทดสอบความ แตกตา่ งของคา่ เฉลย่ี โดยใชส้ ถิตทิ ี ผลการวิจัยพบวา่ 1. ค่าเฉลี่ยและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานของคะแนนท่ีได้จากการทดสอบการเตะเฉียงบริเวณ ลาตัวของกลุ่มทดลอง และกลุ่มควบคุม ก่อนการฝึก และหลังการฝึกสัปดาห์ที่ 2, 4, 6 และ 8 มี ดงั นคี้ อื 1.1 ค่าเฉล่ียและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานของคะแนนที่ได้จากการทดสอบการเตะเฉียง บริเวณลาตัวของกลุ่มทดลอง ก่อนการฝึก และหลังการฝึกสัปดาห์ที่ 2, 4, 6 และ 8 มีค่าเฉลี่ย 41.50 42.30, 43.50, 44.70 และ 45.70 ตามลาดับ ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน 1.58, 1.49, 1.58, 1.49 และ 1.34 ตามลาดบั 1.2 ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนท่ีได้จากการทดสอบการเตะเฉียง บริเวณลาตัวของกลุ่มควบคุม ก่อนการฝึก และหลังการฝึกสปั ดาห์ที่ 2, 4, 6 และ 8 มีค่าเฉลี่ย 41.20 41.80, 42.70, 43.40 และ 44.00 ตามลาดับ ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน 1.62, 1.32, 1.06, 1.50 และ 1.33 ตามลาดบั 2. ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉล่ียคะแนนท่ีได้จากการทดสอบการเตะเฉียง บริเวณลาตัวระหว่างกลุ่มทดลอง และกลุ่มควบคุม ก่อนการฝึก และหลังการฝึกสัปดาห์ที่ 2, 4 ไม่ แตกต่างกัน แต่เมื่อเปรียบเทียบผลหลังการฝึกสัปดาห์ท่ี 6 ปรากฏว่าแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทาง สถิติที่ระดับ .05 และเมื่อเปรียบเทียบผลหลังการฝึกสัปดาห์ที่ 8 ปรากฏว่าแตกต่างกันอย่างมี นัยสาคญั ทางสถิตทิ ร่ี ะดบั .01 3. ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยของคะแนนที่ได้จากการทดสอบการเตะ เฉียงบริเวณลาตัวภายในกลุ่มทดลอง และกลุ่มควบคุม โดยใช้คะแนนก่อนการฝึกกับหลังการฝึก สัปดาห์ท่ี 2, 4, 6 และ 8
47 3.1 ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยของคะแนนที่ได้จากการทดสอบการ เตะเฉียงบริเวณลาตัวภายในกลุ่มทดลอง โดยใช้คะแนนก่อนการฝึกกับหลังการฝึกสัปดาห์ที่ 2, 4, 6 และ 8 แตกต่างกันอย่างมีนยั สาคญั ทางสถิตทิ ีร่ ะดบั .05 3.2 ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉล่ียของคะแนนท่ีได้จากการทดสอบการ เตะเฉียงบริเวณลาตัวภายในกลุ่มควบคุม โดยใช้คะแนนก่อนการฝึกกับหลังการฝึกสัปดาห์ที่ 2, 4, 6 และ 8 แตกตา่ งกันอย่างมีนยั สาคัญทางสถติ ิที่ระดบั .05 จักรพงษ์ ขาวถิ่น และ นภารินทร์ ชยั งาม (2553, บทคัดยอ่ ) ไดศ้ ึกษาผลของรปู แบบการฝกึ พลัยโอเมตริกระยะเวลา 6 สัปดาห์ที่มีต่อความเร็วในการวิ่งและสมรรถภาพการกระโดดของนักกีฬา ฟุตบอลเพศชาย กลุ่มตัวอย่างของการศึกษาวิจัยครั้งน้ีเป็นอาสาสมัครนักกีฬาฟุตบอลเพศชาย ความเร็วการเคลื่อนไหวในลักษณะต่าง ๆ ที่ไม่มีการฝึกซ้อมจากทีมวิทยาศาสตร์การกีฬา คณะ วิทยาศาสตร์การกฬี า มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ ผลของการศกึ ษาวจิ ยั แสดงว่า มีความแตกต่างอย่าง มีนัยสาคัญทางด้านสถิติระหว่างกลุ่มท่ีได้รับ การฝึกและกลุ่มควบคุมของความเร็วในการวิ่งและ สมรรถภาพการกระโดด ในกลุ่มที่ได้รับการฝกึ ความเร็วในการวง่ิ สาหรับระยะทาง 10-20 และ 0-30 เมตรเพิ่มขึ้น แต่ไม่มีผลในระยะทาง 10-20 และ 20-30 เมตร สมรรถภาพการกระโดดของกลุ่มท่ี ได้รับการฝึกเพิ่มข้ึน (p<0.05) แต่ไม่พบว่ามีการเปล่ียนแปลงในแต่ละความเร็วในการว่ิงหรือ สมรรถภาพการกระโดดสาหรับกลุ่มควบคุม ในบทสรุปรูปแบบการฝึกพลัยโอเมตริกระยะเวลา 6 สัปดาหส์ ามารถสง่ ผลเพ่ิมความเรว็ ในการวิ่ง และสมรรถภาพการกระโดดในนักกีฬาฟตุ บอลชายท่ีไม่มี การฝกึ ซอ้ ม สิทธิศักดิ์ บุญหาญงาม (2555, บทคัดย่อ) การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาผลการฝึก พลัยโอเมตริกควบคู่กับการฝึกแบบ เอส เอ คิว ที่มี ต่อความเร็วในการวิ่ง 50 เมตร กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ ในการศกึ ษาคร้ังน้ี เปน็ นักกรีฑา โรงเรียนกีฬาองค์การบรหิ าร ส่วนจังหวัดยโสธร จังหวดั ยโสธร ซึ่งได้ โดยการเลือกแบบเจาะจง (purposive sampling) จานวน 15 คน เก็บ ข้อมูลโดยการทดสอบ ความเร็วในการว่ิง 50 เมตร ก่อนการฝึก หลังการฝึกสัปดาห์ที่ 2, 4, 6 และหลังการฝึก สัปดาห์ท่ี 8 วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าเฉล่ีย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที วิเคราะห์ความแปรปรวน ทางเดียวแบบวัด และทดสอบความแตกต่างของค่าเฉล่ียเป็นรายคู่โดยวิธีของบอนเฟอร์โรน่ี (Bonferroni) ผลการวิจัยพบว่า ผลของการฝึกพลัยโอเมตริกควบคู่กับ เอส เอ คิว มีต่อความเร็วใน การวง่ิ 50 เมตร กอ่ นการฝึกและ หลงั การฝึก สัปดาห์ที่ 2, 4, 6 และหลังการฝึกสปั ดาห์ที่ 8 แตกต่าง กนั อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดบั .05 หริต หัตถา, บรรจบ ภิรมย์คา, และ วัลลีย์ ภัทโรภาส (2557, บทคัดย่อ) ศึกษาผลของการ ฝึกพลัยโอเมตริกท่ีมีต่อความคล่องแคล่วว่องไวของนักกีฬาฟุตซอลฝึกซ้อมโปรแกรมการฝึกกีฬา ฟุตซอลตามปกติเพียงอย่างเดียวฝึกเสริมพลัยโอเมตริกท่ากระโดดไปข้างหน้าในแนวราบร่วมกับการ
48 ฝึกซ้อมโปรแกรมการฝึกกีฬาฟุตซอลตามปกติและฝึกเสริมพลัยโอเมตริกท่ากระโด ดไปด้านข้างใน แนวราบร่วมกบัการฝึกซ้อมโปรแกรมการฝึกกีฬาฟุตซอลตามปกติ ฝึกซ้อม 8 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 3 วัน ผลการวิจัยพบว่า การฝึกด้วยพลัยโอเมตริกสามารถพัฒนาความคล่องแคล่วว่องไวของนักกีฬา ฟุตซอลได้ ยทุ ธนา เรยี นสร้อย (2559, บทคัดย่อ) ศกึ ษาผลของการฝึกพลยั โอเมตริกควบคู่กบัการฝึกยืด เหยียดกล้ามเน้ือแบบกระตุ้นการรับรู้ของระบบประสาทกล้ามเน้ือที่มีต่อพลังกล้ามเนื้อขา แบ่งกลุ่ม ตัวอย่างเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มทดลองท่ี 1 ฝึกด้วยโปรแกรมการฝึกพลัยโอเมตริกอย่างเดียวกลุ่มทดลองที่ 2 ฝึกด้วยโปรแกรมการฝึกพลัยโอเมตริกควบคู่โปรแกรมการฝึกยืดเหยียดกล้ามเน้ือแบบกระตุ้นการ รับรู้ของระบบประสาทกล้ามเน้ือและทดสอบพลังกล้ามเน้ือขาด้วยการทดสอบยืนย่อขากระโดดสูง (Counter movement jump : CMJ) ผลการศึกษาพบว่าการฝึกพลัยโอเมตริกควบคู่กบัการฝึกยืด เหยดี กล้ามเนอ้ื แบบกระตุ้นการรับรู้ของระบบประสาทกล้ามเน้ือมผี ลต่อพลังกลา้ มเน้ือขามากกว่าการ ฝึกพลัยโอเมตริกเพยี งอย่างเดียว ฟาวเซีย อัสวิน อะหมัด (2559, บทคัดย่อ) การศึกษาครั้งน้ีทาการศึกษา ผลการฝึกพลัยโอ เมตริกควบคู่กับการฝึกแรงต้านด้วยยางยืดท่ีมีต่อความสามารถในการยืดกระโดดไกล กลุ่มตัวอย่างท่ี ในการศึกษาครั้งนี้ เป็นนักเรียนชายชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนบีคอนเฮาส์แย้มสะอาดลาดพร้าว จานวน 26 คน แบ่งกลมุ่ ตัวอย่างออกเป็น 2 กลุ่ม คอื กลุ่มควบคมุ จานวน 13 คน กลมุ่ ทดลองจานวน 13 คน ทาการฝึกตามโปรแกรมโดยใช้ระยะเวลาในการฝึกเวลา 8 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 3 วัน กลุ่มท่ี ได้รับการฝึกพลัยโอเมตรกิ ควบคู่กบั การฝกึ แรงตา้ นดว้ ยยางยดื ได้ฝกึ วันจนั ทร์ พุธ ศกุ ร์ เวลาในการฝึก แต่ละคร้ังประมาณ 60 นาที ทาการวัดโดยการทดสอบความสามารถในการยืนกระโดดไกล ก่อนการ ฝึก หลังการฝึกสัปดาห์ที่ 4 และหลังการฝึกสัปดาห์ที่ 8 การเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้วิธีการหา ค่าเฉล่ีย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบหาค่าที และวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบวัดซา้ แล้วทาการ หาค่าความแตกต่างเปน็ รายคูโ่ ดยใชว้ ิธกี ารของแอล เอส ดี (LSD) ผลการวจิ ยั พบวา่ 1. กอ่ นการฝึกก่อนและหลังการฝึกสปั ดาห์ที่ 8 กลุ่มควบคมุ และกลุ่มทดลองมีค่าเฉล่ียในการ ทดสอบความสามารถในการยืดกระโดดไกลแตกต่างกนั อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติทรี่ ะดบั .05 2. ผลการเปรียบเทียบค่าเฉล่ียในการทดสอบความสามารถในการยืนกระโดดไกลของกลุ่ม ควบคุมและกลุ่มทดลอง พบว่า หลังการฝึกสัปดาห์ท่ี 8 สัปดาห์ ค่าเฉล่ียเวลาของทั้ง 2 กลุ่มแตกต่าง กนั อยา่ งมนี ยั สาคญั ทางสถติ ทิ ี่ระดับ .05 3. ผลการเปรียบเทียบค่าเฉล่ียของความสามารถในการยืนกระโดดไกล กลุ่มควบคุม และ กลุม่ ทดลองดังนี้
49 3.1 ค่าเฉล่ียในการทดสอบความสามารถในการยืนกระโดดไกล ภายในกลุ่ม ก่อนการฝึก หลังการฝึก 4 สัปดาห์ และหลังการฝึก 8 สัปดาห์ของกลุ่มควบคุม มีความสามารถในการยืนกระโดด ไกล แตกต่างกนั อยา่ งมีนยั สาคญั ทางสถติ ทิ ่รี ะดับ .05 3.2 ก่อนการฝึกกลับหลังหลังสัปดาห์ที่ 8 และหลังการฝึกสัปดาห์ท่ี 4 กับหลังการฝึก สปั ดาหท์ ่ี 8 มีคา่ เฉล่ียแตกตา่ งกันอย่างมนี ยั สาคญั ทางสถิตทิ ร่ี ะดบั .05 3.3 ค่าเฉลยี่ ของการทดสอบความสามารถในการยนื กระโดดไกล ภายในกลุ่ม ก่อนการฝึก หลังการฝึก 4 สัปดาห์ และหลังการฝึก 8 สัปดาห์ของกลุ่มทดลอง มีความสามารถในยืนกระโดดไกล แตกตา่ งกนั อย่างมีนยั สาคญั ทางสถติ ทิ ีร่ ะดับ .05 3.4 ก่อนการฝึก หลังการฝึกสัปดาห์ที่ 4 กับหลังการฝึกสัปดาห์ท่ี 8 และหลังการฝึก สปั ดาห์ท่ี 4 กับหลังการฝึกสัปดาหท์ ่ี 8 มีค่าเฉลยี่ แตกต่างกันอยา่ งมีนัยสาคัญทางสถิติทร่ี ะดบั .05 ธนาคาร เสถียรพูนสุข (2560, บทคัดย่อ) การวิจัยคร้ังนี้มีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษา ผลการฝึก พลัยโอเมตริกแบบวงจรด้วยยางรถ ที่มี ต่อความเร็วและความคล่องแคล่วในนักกีฬาฟุตบอลโรงเรยี น เพศชาย อายุระหว่าง 16-18 ปี จานวน 30 คน และทาการสุ่มเข้ากลุ่มแบบสมบูรณ์ (Random assignment) เพอ่ื แบง่ เปน็ 2 กล่มุ คอื กลมุ่ ทดลอง 15 คน และกลุ่มควบคมุ 15 คน โดยกลุ่มทดลอง ทาการฝึกโปรแกรมพลัยโอเมตริกแบบวงจร ด้วยยางรถ 8 สัปดาห์ เกบ็ ข้อมูลก่อนและหลงั การฝึก ทา การทดสอบความเรว็ ด้วยวธิ กี ารว่งิ 50 เมตร (50 meter sprint) และทาการทดสอบความคล่องแคล่ว ด้วยวิธีการทดสอบแบบ อิลลินอยส์ (Illinois agility run test) นาข้อมูลท่ีได้มาวิเคราะหเ์ ปรียบเทียบ ความแตกตา่ งด้วยคา่ เฉลย่ี ของตวั แปรที่ศึกษา กอ่ นและหลังการฝึกสปั ดาหท์ ี่ 8 ดว้ ยสถติ ิ dependent sample t-test และ independent sample t-test กาหนดนยั สาคญั ทางสถติ ทิ ่ีระดับ .05 ผลการวิจัยพบว่าหลังการฝึก 8 สัปดาห์ ค่าเฉล่ียเวลาความเร็วของกลุ่มทดลอง (6.390 % 0.206 วินาที) และกลุ่มควบคุม (6.929 + 0.155 วินาที) มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 และค่าเวลาเฉลี่ยการทดสอบความคล่องแคล่วของกลมุ่ ทดลอง (16,738 +0.399 วินาที) และกล่มุ ควบคมุ (17.744 +0.287 วินาท)ี มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคญั ทางสถิติท่รี ะดบั .05 จากข้อมูลที่ปรากฏสามารถสรุปได้ว่า โปรแกรมการฝึกพลัยโอเมตริกแบบวงจรด้วยยางรถ สามารถ ชว่ ยเพิม่ ความเร็วและความคล่องแคลว่ ของนกั กีฬาฟุตบอลได้ สาธิต ระวิงทอง (2561, บทคัดย่อ) การวิจัยคร้ังน้ีมีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาและเปรียบเทียบ ผลของการฝึกพลัยโอเมตริกควบคู่กับการฝึกด้วยน้าหนัก การฝึกพลัยโอเมตริก และการฝึกด้วย น้าหนัก ท่ีมีต่อความสามารถในการกระโดดพลังของกล้ามเนื้อขา และความแข็งแรงของกล้ามเนื้อขา ของนักกีฬาบาสเกตบอล กลุ่มตัวอย่างเป็นนักกีฬาบาสเกตบอลหญิง มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ จานวน 30 คน แบง่ เปน็ 3 กลุ่ม กล่มุ ละ 10 คน คือ กลุ่มการฝกึ พลยั โอเมตรกิ ค่กู บั การฝกึ ดว้ ยน้าหนัก กลุ่มการฝึกพลัยโอเมตริก และกลุ่มการฝึกด้วยน้าหนัก โดยทาการทดสอบความสามารถในการ
50 กระโดด ดว้ ยอุปกรณ์วัดความสามารถในการกระโดด (smart jump) เรียงลาดบั คะแนนความสามารถ ในการกระโดดจากมากไปหาน้อย แลว้ แบง่ แบบเปน็ ระบบ โดยใหค้ ะแนนความสามารถในการกระโดด ลาดับแรกอยู่กลุ่มที่ 1 ลาดับต่อไปอยู่กลุ่มที่ 2 ลาดับต่อไปอยู่กลุ่มที่ 3 ทาซ้าไปเรื่อย จนถึงลาดับ สุดท้าย กลุ่มตัวอย่างทาการฝึกตามโปรแกรมท่ีกาหนดไว้ 2 วันต่อสัปดาห์ เป็นระยะเวลา 6 สัปดาห์ ทดสอบความสามารถในการกระโดด และพลังของกล้ามเนื้อขาด้วยอุปกรณ์วัดความสามารถในการ กระโดด (smart jump) ทดสอบความแข็งแรงของกล้ามเน้ือด้วยอุปกรณ์วัดความแข็งแรงของ กล้ามเน้ือขา (leg dynamometer) โดยทาการทดสอบก่อนการฝึก หลังการฝึกสัปดาห์ที่ 3 และหลัง การฝกึ สปั ดาห์ที่ 6 วเิ คราะห์ข้อมูลโดยหาคา่ เฉลีย่ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบความแตกต่าง ระหว่างกลุ่มและภายในกลุ่ม ด้วยสถิติเอฟ ที่ระดับนัยสาคัญ .05 ผลการวิจัยพบว่า 1) ไม่พบความ แตกต่างระหว่างกลุม่ การฝกึ ทั้ง 3 กลุ่ม ในการทดสอบความสามารถในการกระโดด พลงั ของกล้ามเนื้อ ขา และความแขง็ แรงของกลา้ มเนอื้ ขา กอ่ นการฝึกหลงั การฝึกสัปดาหท์ ่ี 3 และหลังการฝกึ สัปดาห์ที่ 6 2) กลุ่มการฝึกพลัยโอเมตริกควบคู่กับการฝึกด้วยน้าหนัก กลุ่มการฝึกพลัยโอเมตริก และกลุ่มการฝึก ด้วยน้าหนัก มีความสามารถในการกระโดดเพ่ิมขึ้นหลังการฝึกสัปดาห์ท่ี 6 กลุ่มการฝึกพลัยโอเมตริก ควบคู่การฝึกด้วยน้าหนัก และกลุ่มพลัยโอเมตริก มีพลังของกล้ามเน้ือขาเพ่ิมขึ้นหลังการฝึกสัปดาห์ท่ี 6 แต่ไม่พบความแตกต่างในกลุ่มการฝึกด้วยน้าหนัก และผลการทดสอบความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ ขา ไมพ่ บความแตกต่างทั้ง 3 กลุ่ม 2. งานวจิ ยั ในตา่ งประเทศ แชลลี่, เฮอร์มาสซิ, ออร์ดิ, และเชฟฮาร์ด (Chelly, Hermassi, Aouadi, & Shephard, 2014) ศกึ ษาผลการฝกึ พลัยโอเมตริกส่วนบนและส่วนล่างในนักกฬี าแฮนด์บอลอาชพี แปดสปั ดาห์ โดย การฝกึ ฝนการฝึกด้วยพลยั โอเมตรกิ ส่วนบนเป็นเวลา 8 สัปดาหโ์ ดยใชล้ ูกเมดิซนิ บอลในการฝึก 45 ผล การศึกษาพบว่า การฝึกพลัยโอเมตริกส่วนบนและส่วนล่างในนกักีฬาแฮนด์บอลหญิงอาชีพเป็นส่ิง สาคัญสาหรับกีฬาแฮนดบ์ อลทาให้ประสิทธิภาพในการกระโดดพลังระเบิดและความเรว็ ในการส่งบอล ดีขน้ึ วาลาเดส, พาโล, ฟเี มยี ร์ และยเู รนา (Valades, Palao, Femia, & Ureña, 2017, บทคดั ย่อ) ศึกษาผลการฝกึ พลยั โอเมตรกิ สว่ นบนในนักกฬี าวอลเลย์บอลหญิงอาชีพในช่วงการแข่งขนั แปดสัปดาห์ ฝึกโดยการใชล้ ูกเมดิซินบอล และมกี ารเพิ่มนา้ หนักจาก 1-5 กิโลกรัม ผลการศึกษาพบวา่ การฝึกพลัย โอเมตริกสว่ นบนในกีฬาหญิงอาชีพในชว่ งการแข่งขันแปดสัปดาห์สามารถเพิ่มความแข็งแรงสูงสุดและ พลังไดส้ ง่ ผลทาใหค้ วามเรว็ ในการตบดขี นึ้ รามิเรสแคมพิโล, แอนดาร์ด และไอคิรโด (Ramí rez-Campillo, Andrade, & Izquierd, 2013, บทคัดย่อ) ศึกษาผลการฝึกพลัยโอเมตริกที่ส่งผลต่อความแข็งแรงแบบระเบิด โดยการกระโดด
51 ท่ีความสูง 20 40 และ 60 เซนติเมตรและการฝึกท่าสคอต ซ่ึงในการศึกษานั้นพบว่า การฝึกพลัยโอ เมตริกที่ส่งผลต่อความแข็งแรงแบบระเบิด สามารถเพ่ิมความแข็งแรงแบบระเบิดได้ข้ึนอยู่กับปริมาณ ของการฝึก คันนาสและคณะ (Kannas et al, 2011, บทคัดย่อ) ศึกษาผลของการฝึกพลัยโอเมตริกแนว พ้ืนลาดเอียงต่อความสามารถในการกระโดด โดยศึกษากับกลุ่มตัวอย่าง เพศชายจานวน 20 คน แบ่งเปน็ 2 กลุ่ม กลุ่มแรกฝึกพลัยโอเมตริกแนวพ้ืนลาดเอียง 15 องศา จานวน 10 คน และกลุม่ ที่สอง ฝึกพลัยโอเมตริกในแนวราบ จานวน 10 คน ทาการฝึก 4 ครงั้ ตอ่ สัปดาห์ ทาการฝกึ 4 สปั ดาห์ พบว่า กลุ่มฝึกพลัยโอเมตริกแนวพื้นลาดเอียง มีสมรรถนะทางด้านการกระโดดมากกว่า กลุ่มควบคุมอย่างมี นยั สาคัญทางสถติ ิ โบเน็ท (Bonetto, 1997 อ้างถึงใน ธนาคาร เสถียรพูนสุข, 2560, 20-21) ได้ทาการศึกษา วิจัยในเรื่อง การเปรียบเทียบโปรแกรมการฝึกแบบพลัยโอเมตริกในการพัฒนาความเร็วและการยืน กระโดดสูง โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษา และเปรียบเทียบผลของการฝึกพลัยโอเมตริกแบบก้าวหน้า และการฝึกพลัยโอเมตริกแบบดั้งเดิม ในการพัฒนาความเร็วและการยืนกระโดดสูง กลุ่มตัวอย่าง นักกีฬาของวิทยาลัยผลการวิจัย พบว่า กลุ่มที่ฝึกด้วยพลัยโอเมตริกแบบก้าวหน้า ความเร็วลดลงและ การยืนกระโดดสูงเพ่ิมข้ึนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ภายหลังการฝึกสัปดาห์ท่ี 10 และยัง พบวา่ กลมุ่ ที่ฝกึ ดว้ ยพลยั โอเมตริกแบบก้าวหนา้ มีความเรว็ ดีขึ้น ซ่งึ แตกตา่ งตา่ งกับกล่มุ ควบคุมอย่างมี นัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 ภายหลังการฝึกสัปดาห์ท่ี 5 และ 10 ส่วนกลุ่มที่ฝึกพลัยโอเมตริกแบบ ด้ังเดิมการยืนกระโดดสูงเพิ่มข้ึนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ภายหลังสัปดาห์ท่ี 10 และผล วิจัยน้ีทาให้ทราบว่า โปรแกรมการฝกึ พลัยโอเมตริกแบบก้าวหน้ารว่ มกับโปรแกรมการฝึกดว้ ยแรงต้าน สามารถลดเวลาในการวง่ิ และเพมิ่ ระยะในการยนื กระโดดไกลในแนวดง่ิ ได้ แอสแมน (Ashman, 1998 อ้างถึงใน ธนาคาร เสถียรพูนสุข, 2560, 21) ได้ศึกษา เปรียบเทียบโปรแกรมการฝึกแบบพลัยโอเมตริกของการเร่งความเร็วและการกระโดดสูง โดยมี จุดมุ่งหมายของการศึกษาครั้งนี้คือต้องการเปรียบเทียบผลของความก้าวหน้าของโปรแกรมการฝึก พลัยโอเมตรกิ (L) และความเช่ือทไ่ี ม่ก้าวหน้าของโปรแกรม (P) ของการเรง่ ความเร็ว และการกระโดด สงู โดยใช้นักศกึ ษาชายที่เปน็ นักกฬี าวิทยาลยั มาแบ่งแบบเท่ากันเป็น 3 กล่มุ L, P และ C กล่มุ ควบคุม เป็นกลุ่ม L และ P ฝึก 3 วันต่อสัปดาห์ ด้วยการฝึกโดยใช้แรงต้านและ 2 ครั้งต่อสัปดาห์ด้วยพลัยโอ เมตริก เป็นเวลา 10 สัปดาห์ กลุ่ม L จะฝึกพลัยโอเมตริกโดยการใช้ Ladder ข้ันบันได โดยออกแบบ เครือ่ งมือใหม้ ขี นาดใหญ่พอ และสามารถปรับเปล่ยี นสาหรับใชก้ ระโดดสงู กลุ่ม P จะฝึกพลยั โอเมตริก โดยเจาะจงไปที่ความสูง ทั้งสองกลุ่มทดสอบว่ิงเร็ว 30 เมตร และกระโดดสูงแตะฝาผนัง ก่อนการฝึก หลังการฝึกไปแล้ว 5 สัปดาห์ โดยเป็นการฝึกครบสมบูรณ์ตามเวลาท่ีกาหนด ผลการวิเคราะห์ข้อมูล พบว่า กลุ่ม L มีเวลาในการวิ่งลดลงอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ี 0.5 และความสูงในการกระโดด
52 เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.5 เมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่ม C กลุ่ม P มีความสามารถใน การกระโดดสูงเพิ่มข้ึนหลังการฝึกอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.5 แสดงให้เห็นว่าการฝึกแบบพ ลัยโอเมตริก ร่วมกับการฝึกแบบมีแรงต้านสามารถลดเวลาในการว่ิงและเพิ่มความสามารถในการ กระโดดของนักกีฬาชายในวิทยาลัย จากการศึกษาเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการฝึกพลัยโอเมตริกทาให้พอสรุปได้ว่า ระบบ กล้ามเน้ือเป็นระบบท่ีมีสาคัญที่ทาให้เกิดแรงเพื่อทาให้เกิดการเคลื่อนไหวในร่างกายและยังช่วยให้ ร่างกายเป็นรูปร่างข้ึนมา กล้ามเน้ือลาย (Striated or Skeletal Muscle) กล้ามเน้ือเป็นกล้ามเนื้อท่ี เห็นอยู่ทั่วไปในร่างกายมีจานวนทั้งหมด 792 มัด ทางานภายใต้อานาจจิตใจ ควบคุมการทางานโดย ระบบประสาทส่วนกลาง กล้ามเนื้อลายมักเป็นกล้ามเน้ือที่ติดอยู่กับกระดูกเพื่อทาให้เกิดการ เคล่อื นไหว กลา้ มเนือ้ จงึ มีความสาคัญกบั การทากิจกรรมต่าง ๆ หรอื การเล่นกีฬา โดยเฉพาะกีฬามวย ไทย นอกจากกล้ามเน้ือลายจะมีหน้าท่ีในการปกป้องอวัยวะภายในแล้ว กล้ามเนื้อลายถือว่าเป็นส่ิงท่ี สาคัญที่จะทาให้นักมวยไทยมีชยั ชนะต่อคู่ต่อสู้ เพราะกล้ามเนื้อลายมผี ลต่อการออกอาวธุ มวยไทยอกี ดว้ ย การฝึกแบบพลัยโอเมตริกเป็นการออกกาลังกายเพื่อสร้างความแข็งแรงและพลังของ กลา้ มเน้ือ เป็นการเหยียดตวั ออกอย่างรวดเรว็ ของกล้ามเน้ือก่อนการหดตัว การฝึกแบบพลยั โอเมตริก นั้นแบ่งได้ 2 ลักษณะ 1) การฝึกลาตัวส่วนล่าง และ 2) การฝึกลาตัวส่วนบน โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อ เชือ่ มระหว่างความแข็งแรงของกล้ามเน้ือกบั ความเรว็ ของการเคลื่อนไหวทร่ี วดเร็วให้มากท่ีสดุ ซง่ึ ก็คือ พลังของกล้ามเน้ือ พลงั ของกล้ามเน้ือเปน็ องค์ประกอบหนึ่งของสมรรถภาพทางกายที่มสี าคัญอย่างยิ่ง สาหรับกีฬามวยไทยเพราะในการออกอาวุธของกีฬามวยไทย นอกจากที่จะต้องมีทักษะที่ถูกต้องแล้ว นักกีฬามวยไทยก็มีความจาเป็นท่ีจะต้องมีพลังของกล้ามเนื้อท่ีมากเช่นกัน เพราะพลังของกล้ามเนื้อ จะทาให้นักกีฬามวยไทยสามารถออกอาวุธได้รวดเร็วและหนักหน่วง กิจกรรมการฝึกแบบพลัยโอ เมตริก ได้แก่ การฝึกกระโดด (jump training) และเขย่ง (hopping) ในรูปแบบต่าง ๆ เพ่ือพัฒนา ลาตัวส่วนล่าง (lower extremities) และการบริหารลาตัวส่วนบน (upper extremities) โดยใช้เมด ดิซีนบอล (medicine ball) ดังน้ันการฝึกแบบพลัยโอเมตริกท่ีมีผลต่อความสามารถในการกระโดด เข่าลอยในกีฬามวยไทยจึงเป็นการฝึกลาตัวส่วนล่าง ได้แก่ การกระโดดหรือเขย่ง เป็นต้น และการ สร้างโปรแกรมการฝกึ พลยั โอเมตริกทผ่ี ลต่อการกระโดดเขา่ ลอยน้ัน จะต้องคานึงถงึ วตั ถุประสงค์ของ การฝกึ กจิ กรรมในการฝึก ความหนกั ของการฝกึ ความถข่ี องการฝกึ และระยะเวลาของการฝกึ จานวน ครั้งในการฝึก ความยาวนานของโปรแกรม และมุ่งพัฒนาเฉพาะมัดกล้ามเน้ือที่มีความจาเป็นต่อการ เคล่อื นไหวหรอื กล้ามเนื้อท่มี ีความสาคัญกับการกระโดดเข่าลอย จงึ ควรมกี ารฝึกกล้ามแบบเนื้อเฉพาะ ส่วน ดังน้ันโปรแกรมการฝึกซ้อมจะต้องมีความสอดคล้องกันในแต่ละเร่ือง เพื่อที่จะให้เกิดการพัฒนา อยา่ งต่อเนือ่ ง ลดโอกาสของภาวะการซ้อมหนักเกินไป (overtraining)
บทที่ 3 วธิ ดี ำเนินกำรวจิ ยั ในการวิจัยคร้ังน้ี เป็นการวิจัยเชิงทดลอง เพื่อศึกษาผลการฝึกพลัยโอเมตริกท่ีมีต่อความ แข็งแรง ความเรว็ และความสามารถในการกระโดดเข่าลอยของกีฬามวยไทย และเพ่ือเปรยี บเทยี บผล การฝึกด้วยโปรแกรมพลัยโอเมตริกกับโปรแกรมการฝึกซ้อมมวยตามปกติ ท่ีมีต่อความแข็งแรง ความเรว็ และความสามารถในการกระโดดเข่าลอยของกีฬามวยไทย โดยมแี บบขั้นตอนการวจิ ัย ดังน้ี 1. ประชากรและกล่มุ ตัวอยา่ ง 2. ตัวแปรท่ศี ึกษา 3. เคร่ืองมอื ที่ใชใ้ นการวิจัย 4. การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล 5. การวิเคราะห์ขอ้ มูลและสถิตทิ ใ่ี ชใ้ นการวจิ ยั ประชำกรและกลมุ่ ตวั อยำ่ ง ประชำกร ประชากรท่ีใช้ในการวิจัยคร้ังนี้ คือ นักศึกษาชายสาขามวยไทยศึกษาและพลศึกษาช้ันปีท่ี 1-5 ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2563 ของมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏหม่บู ้านจอมบงึ จานวน 54 คน ซ่งึ ผา่ น การเรยี นการสอน ในรายวชิ าทกั ษะและเทคนคิ มวยไทย รหสั วิชา ME 62607 กล่มุ ตวั อย่ำง กลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ในการวิจัยคร้ังนี้ คือ นักศึกษาชายสาขามวยไทยศึกษาและพลศึกษาของ มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง จานวน 30 คน ซึ่งได้กลุ่มตัวอย่างมาจากการสุ่มอย่างง่าย (simple random sampling) โดยวิธีการจับฉลากและทาการทดสอบความสามารถในการกระโดด เข่าลอย แบ่งกลุ่มตัวอย่างออกเป็น 2 กลุ่ม ประกอบด้วย กลุ่มควบคุม จานวน 15 คน กลุ่มทดลอง จานวน 15 คน ได้มาโดยการใชว้ ิธกี ารจับคู่ (matching) มขี ้ันตอนการแบ่งกลุ่มดงั ตอ่ ไปนี้ 1. ใหน้ ักศกึ ษาสาขามวยไทยศกึ ษาและพลศึกษาของมหาวทิ ยาลัยราชภัฎหม่บู า้ นจอมบึง เพศ ชาย จานวน 30 คน ทาการทดสอบการกระโดดเข่าลอย ไปยงั เปา้ หมายทผ่ี ู้วิจยั กาหนด ให้สูงท่สี ดุ ทา การทดสอบคนละ 2 ครั้ง แล้วบันทกึ ผล 2. นาผลการกระโดดเข่าลอยทบ่ี นั ทึกมาทาการจดั อันดับจากผู้ท่ีกระโดดเข่าลอย มากที่สุดไป หานอ้ ยทส่ี ุดตามลาดับ
54 3. จัดการแบ่งกลุ่มตัวอย่างออกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มละ 15 คน โดยเฉลี่ยความสามารถในการ กระโดดเข่าลอย ของผู้เข้ารับการทดสอบให้อยู่ในระดับเดียวกัน (matching) และจับฉลากเพ่ือ กาหนดกล่มุ ตัวอยา่ งดังน้ี 3.1 กลุ่มควบคมุ ทาการฝึกมวยไทยตามปกติ จานวน 15 คน กลุ่มทดลองทาการฝึกพลยั โอเมตรกิ จานวน 15 คน แบบการจับคู่ (matching) 1 ------------------ 2 4 ------------------ 3 5 ------------------ 6 8 ------------------ 7 9 ------------------ 10 12 ---------------- 11 13 ---------------- 14 16 ---------------- 15 17 ---------------- 18 20 ---------------- 19 21 ---------------- 22 24 ---------------- 23 25 ---------------- 26 28 ---------------- 27 29 ---------------- 30 เกณฑใ์ นกำรคัดเขำ้ กำรทดลอง 1. ผู้เข้าร่วมการทดลองจะตอ้ งเปน็ เพศชาย อายรุ ะหว่าง 18-24 ปี 2. ผู้เข้าร่วมการทดลองจะต้องเป็นผู้ที่มีการฝึกซ้อมมวยไทยเป็นประจาและเป็นผู้มีทักษะ มวยไทย 3. ผู้เข้าร่วมการทดลองจะต้องไม่มีอาการบาดเจ็บรุนแรงที่กระดูก ข้อต่อและกล้ามเนื้อ ใน รยางคส์ ว่ นลา่ ง เกณฑใ์ นกำรคัดออกจำกกำรทดลอง 1. ผเู้ ขา้ รว่ มการทดลองไมส่ ามารถเขา้ ร่วมปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง ผู้วจิ ัยสามารถตดั ออกจากการ ทดลองไดท้ ันที 2. ผู้เข้าร่วมทดลองอาการบาดเจ็บรุนแรงที่กระดูก ข้อต่อและกล้ามเนื้อในขณะทาการ ทดลองผู้ผ้วู จิ ัยสามารถตดั ออกจากการทดลองได้ทนั ที
55 ตวั แปรที่ศกึ ษำ 1. ตวั แปรต้น คอื โปรแกรมการฝึกพลยั โอเมตริก แบบ 6 สถานี 2. ตัวแปรตาม คือ ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อขา ความเร็วของการเคลื่อนที่ และ ความสามารถในการกระโดดเข่าลอย เคร่ืองมอื ที่ใชใ้ นกำรวจิ ัย 1. โปรแกรมการฝึกพลัยโอเมตรกิ แบบสถานี 6 สถานี ประกอบดว้ ย สปั ดาหท์ ี่ 1-2 สถานีที่ 1 คาล์ฟ เรส (calf raise) สถานีที่ 2 สควอท (squat) สถานที ี่ 3 กู๊ด มอรน์ ิ่ง (good morning) สถานีท่ี 4 ลัช (lunge) สถานที ี่ 5 วอล์คกิง้ ลชั ส์ (walking lunges) สถานที ี่ 6 รเี วิร์ส ลชั นี อัพ (reverse lunge knee up) สปั ดาหท์ ี่ 2-4 สถานีท่ี 1 โปโก จัมพ์ (pogo jump) สถานีที่ 2 จัมพป์ ้งิ แจค็ (jumping jack) สถานที ่ี 3 สปลทิ จัมพ์ (split jump) สถานที ี่ 4 ซิสเซอรส์ จัมพ์ (scissors jump) สถานีที่ 5 สควอท จมั พ์ (squat jump) สถานีที่ 6 ทคั จมั พ์ (tuck jump) สัปดาห์ที่ 5-6 สถานที ี่ 1 โปโก จัมพ์ ฟอรเ์ วริ ์ด (pogo jump forward ) สถานีท่ี 2 ฟรอนท์ เฮอร์เดลิ้ ฮอบ (front hurdle hops) สถานีที่ 3 เลทเทอรอล จัมพ์ โอเวอร์ แบร์ริเออร์ (lateral jump over Barrier) สถานที ่ี 4 ไดแอกโกนอล โคน ฮอบ (diagonal cone hops) สถานีที่ 5 ฟอร์เวิร์ด แอนด์ เลทเทอรัล เฮอร์เด้ิล จั๊มพ์ ซีเควนซ์ (forward and lateral hurdle jump sequence) สถานที ี่ 6 สแตนดด์ ้งิ บรอด จ๊มั พ์ แอนด์ สควอท จม๊ั พ์ ซเี ควนซ์ (standing broad jump and squat jump sequence) สปั ดาห์ที่ 7-8 สถานที ี่ 1 ซงิ เกลิ เลก เวอร์ตคิ อล จัมพ์ (single leg vertical jump) สถานที ่ี 2 ซงิ เกลิ เลก ทคั จัมพ์ (single leg tuck jump)
56 สถานีที่ 3 ซิงเกิล เลก ไดแอกโกนอล โคน ฮอบ (single leg diagonal cone hops) สถานีท่ี 4 รเี วริ ส์ ฮอป (reverse hop) สถานที ี่ 5 ซิสเซอรส์ ฮอป (scissors hop) สถานที ่ี 6 ออเทอรเ์ นท-เลก บาวดด์ ิง้ (alternate-leg bouding) 2. แบบทดสอบการกระโดดเขา่ ลอยของนกั ศึกษามวยไทยศกึ ษาและพลศึกษาที่ผ้วู ิจยั สร้างข้นึ 3. แบบทดสอบความแข็งแรงของกล้ามเนื้อขา ของการทดสอบสมรรถภาพทางกายประชาชน ไทย การกีฬาแห่งประเทศไทย 2545 4. แบบทดสอบความเร็วของการเคลื่อนท่ี ของการทดสอบสมรรถภาพทางกายมาตรฐาน กรมพลศกึ ษา 2541 กำรสรำ้ งเคร่อื งมือทใี่ ช้ในกำรวิจัย 1. โปรแกรมกำรฝึกพลยั โอเมตรกิ 1.1 ศึกษาหลักการทางทฤษฎี เอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ียวข้อง เพื่อเป็นแนวทางในการ สรา้ งโปรแกรม โดยพิจารณาถึงองคป์ ระกอบตา่ ง ๆ ดงั ตอ่ ไปน้ี 1.1.1 ระยะเวลาในการฝกึ 1.1.2 จานวนคร้งั ในการฝึก 1.1.3 จานวนชุดในการฝกึ 1.2 โปรแกรมการฝึกพลัยโอเมตริก แบบสถานี 6 สถานี 1.2.1 ศึกษาทฤษฎี เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องทางด้านโปแกรมการฝึกพลัยโอ เมตรกิ 1.2.2 นาโปรแกรมการฝึกพลัยโอเมตริก เสนอต่อประธานและกรรมการควบคุม วิทยานพิ นธ์ เพ่อื พจิ ารณา ตรวจสอบ แก้ไข และปรับปรุง 1.2.3 นาโปรแกรมการฝึกพลัยโอเมตริก ไปให้ผู้เช่ียวชาญตรวจสอบ จานวน 3 ท่าน เพื่อพิจารณาความสอดคล้องในการหาค่าดัชนีความสอดคล้อง ( index of item objective congruence: IOC) ไดค้ า่ IOC = 1.00 ทกุ ประเดน็ 1.2.4 นาโปรแกรมการฝกึ พลัยโอเมตริก ไปทดลองใช้ (tryout) กับนักศึกษาชายสาขา พลศึกษาและสาขามวยไทยศึกษาและพลศึกษา จานวน 30 คน ท่ีไม่ใช่กลุ่มตัวอย่าง เพื่อพิจารณา ตรวจสอบ แก้ไข และปรบั ปรงุ
57 1.2.5 นาโปรแกรมการฝึกพลัยโอเมตริก ที่ได้จากการ (tryout) ปรึกษาประธาน ควบคุมวิทยานิพนธ์นิพนธ์ เพ่ือพิจารณา ตรวจสอบ แก้ไข ปรับปรุงและนาไปใช้กับกลุ่มตัวอย่างท่ีจะ ทาการศกึ ษา เพือ่ เกบ็ รวบรวมข้อมลู นามาวิเคราะหใ์ นการวิจัยต่อไป 2. แบบทดสอบกำรกระโดดเข่ำลอยทผ่ี ู้วิจัยสร้ำงข้ึน 2.1 ศึกษาทฤษฎี เอกสารและงานวิจัยทเี่ ก่ียวขอ้ ง 2.1.1 ชือ่ แบบทดสอบ 2.1.2 วิธีการทดสอบ 2.1.3 อปุ กรณ์ทดสอบ 2.1.4 เกณฑ์การให้คะแนน 2.2 เสนอแบบทดสอบการกระโดดเข่าลอยท่ีผู้วิจัยสร้างขึ้น ต่อประธานและกรรมการ ควบคมุ วิทยานิพนธ์ เพือ่ พจิ ารณา ตรวจสอบ แกไ้ ข และปรับปรุง 2.3 นาแบบทดสอบการกระโดดเข่าลอยที่ผู้วิจัยสร้างข้ึน ไปให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบ จานวน 3 ท่านเพื่อพิจารณาความสอดคล้องในการหาค่าดัชนีความสอดคล้อง (index of item objective congruence: IOC) ได้คา่ IOC = 1.00 ทุกประเด็น 2.4 นาแบบทดสอบการกระโดดเข่าลอยที่ผู้วิจัยสร้างข้ึน ไปทดลองใช้ (tryout) กับ นักศึกษาชายสาขาพลศึกษาและสาขามวยไทยศึกษาและพลศึกษา จานวน 30 คน ท่ีไม่ใช่กลุ่ม ตัวอย่าง เพอ่ื พิจารณา ตรวจสอบ แก้ไข และปรับปรุง 2.5 นาแบบทดสอบการกระโดดเข่าลอยที่ผู้วิจัยสร้างข้ึน ที่ได้จากการ (tryout) ปรึกษา ประธานควบคุมวิทยานิพนธ์นิพนธ์ เพ่ือพิจารณา ตรวจสอบ แก้ไข ปรับปรุงและนาไปใช้กับกลุ่ม ตวั อย่างทจ่ี ะทาการศกึ ษา เพ่ือเกบ็ รวบรวมข้อมูลนามาวเิ คราะหใ์ นการวจิ ยั ตอ่ ไป 3. แบบทดสอบควำมแขง็ แรงของกลำ้ มเนอ้ื ขำ ทดสอบความแข็งแรงของกล้ามเน้ือขา วัดแรงเหยียดขา leg dynamometer โดยใช้ แบบทดสอบสมรรถภาพทางกายประชาชนไทย (การกีฬาแหง่ ประเทศไทย, 2545) 4. แบบทดสอบควำมเรว็ ของกำรเคล่อื นที่ ทดสอบว่ิงเรว็ speed 50 เมตร โดยแบบทดสอบสมรรถภาพทางกายมาตรฐานกรมพลศึกษา (สานักพัฒนาการพลศึกษา สขุ ภาพ, และ นันทนาการ กรมพลศกึ ษา กระทรวงศึกษาธิการ, 2541)
58 กำรเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู 1. ขอหนังสือจากบัณฑิตวิทยาลัย เพื่อขอความอนุเคราะห์ถึงค่ายมวย ม.ราชภัฏหมู่บ้าน จอมบึง 2. จัดเตรยี มอปุ กรณ์ และสถานทท่ี ่ใี ช้ในการทดลอง 2.1 อปุ กรณท์ ่ีใชใ้ นการฝึก ได้แก่ 2.1.1 นาฬิกาจบั เวลา 2.1.2 กรวย 2.1.2 กระสอบทราย 2.1.2 รว้ั 2.2 สถานทที่ ี่ใชใ้ นการฝึก ไดแ้ ก่ 2.2.1 โรงยิมสาหรับฝึกมวยไทยของมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏหมบู่ ้านจอมบึง 3. ทดลองใช้เครอื่ งมอื (tryout) เพื่อทดสอบโปรแกรมการฝึกรวมไปถึงเตรยี มการป้องกันและ แก้ไขปญั หาทีอ่ าจเกดิ ขึ้นในขณะการเกบ็ ข้อมูลจริง กับนักศกึ ษามวยไทยศึกษาและพลศึกษา 4. ขั้นตอนการทาการทดลอง 4.1 จัดเตรยี มสถานท่ี อปุ กรณ์ แบบบันทึกผลการทดลอง และเอกสารอธิบายรายละเอียด ใหช้ ดั เจน 4.2 ชี้แจงรายละเอียดเก่ียวกับขั้นตอนการทดลองรวมถึงความเส่ียงและประโยชน์ต่าง ๆ ทก่ี ลุ่มตวั อย่างอาจไดร้ บั จากการเข้ารว่ มการทดลอง 4.3 เมื่อกลุ่มตัวอย่างรับทราบรายละเอียดและยินดีเข้าร่วมการวิจัย จึงให้กลุ่มตัวอย่าง ลงนามยนิ ยอม 4.4 ทาการทดสอบก่อนการฝึก (Pre-test) โดยให้ผู้เข้ารับการทดสอบความแข็งแรงของ กล้ามเนื้อขา ทดสอบความเร็วของการเคลื่อนที่ และทาการทดสอบความสามารถในการกระโดดเข่า ลอย โดยทาการทดสอบ 2 ครง้ั แล้วเอาค่าทด่ี ีทส่ี ุด 4.5 ทาการฝกึ กลุ่มทดลองตามโปรแกรมเป็นระยะเวลา 8 สัปดาห์ โดยกลมุ่ ทดลองทาการ ฝึกสปั ดาหล์ ะ 3 วัน ในวนั จนั ทร์ วนั พุธ และวนั ศกุ ร์ เวลา 15.30 -17.30 น. 4.6 ทาการทดสอบหลังการฝึก (post-test) โดยให้ผู้เข้ารับการทดสอบทาการทดสอบ ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อขา ทดสอบความเร็วของการเคล่ือนที่ และทดสอบความสามารถในการ กระโดดเข่าลอย ในสัปดาห์ที่ 8 ทั้งกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม ในวันอาทิตย์ จากนั้นนาผลมา วเิ คราะห์ทางสถิติและนาเสนอในรูปแบบตารางและความเรยี ง
59 กำรวิเครำะหข์ ้อมลู และสถิติท่ีใชใ้ นกำรวิจัย การวิจัยคร้ังน้ี ใช้การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สาเร็จรูปเพ่ือหาค่าสถิติและ ใช้สถติ ิในการวิเคราะหข์ อ้ มลู เพอ่ื หาค่าตา่ ง ๆ ดังนี้ 1. หาค่าเฉลยี่ ( x ) และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.) จากคะแนนทไี่ ดจ้ ากการทดสอบความ แข็งแรง ความเร็วและความสามารถในการกระโดดเขา่ ลอยของกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม 2. เปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉล่ียของคะแนนท่ีได้จากทดสอบความแข็งแรง ความเร็วและความสามารถในการกระโดดเข่าลอย ภายใน กลุ่มทดลอง และกลุ่มควบคุม ก่อนและ หลงั การฝกึ สัปดาห์ที่ 8 สปั ดาห์โดยใช้สถิติที (dependent t-test) 3. เปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉล่ียของคะแนนท่ีได้จากการทดสอบความแข็งแรง ความเร็วและความสามารถในการกระโดดเข่าลอย ระหว่าง กลุ่มทดลอง และกลุ่มควบคุม ก่อนและ หลงั การฝึกสปั ดาห์ท่ี 8 สัปดาห์โดยใช้สถิตทิ ี (independent t-test) 4. การวิเคราะห์ข้อมูลครงั้ นี้ผูว้ จิ ัยทดสอบนัยสาคญั ทางสถิตทิ ี่ระดบั .05
บทท่ี 4 ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูล ในการวจิ ัยคร้ังนี้ เปน็ การวิจยั เชิงทดลอง เพือ่ ศึกษาและเปรยี บเทียบผลการฝึกพลยั โอเมตริก ท่ีมีต่อความแข็งแรง ความเร็ว และความสามารถในการกระโดดเข่าลอยของกีฬามวยไทย ผู้วิจัยได้ กาหนดสญั ลักษณ์ตา่ ง ๆ ทใ่ี ชใ้ นการวเิ คราะห์ขอ้ มูล ดงั น้ี สญั ลกั ษณท์ ใี่ ช้ในการวเิ คราะห์ขอ้ มลู x แทน คา่ เฉล่ียของคะแนน S.D. แทน คา่ ส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน t แทน คา่ สถิติที่ใชพ้ ิจารณาความแตกต่าง * แทน มีนยั สาคัญทางสถติ ิทรี่ ะดับ .05 การวเิ คราะหข์ อ้ มูล การวจิ ยั ในครัง้ นี้ผู้วจิ ัยได้เก็บรวบรวมข้อมูลและนาเสนอข้อมลู ผลการฝกึ พลัยโอเมตริกท่ีมีต่อ ความแข็งแรง ความเร็ว และความสามารถในการกระโดดเข่าลอยของกีฬามวยไทย ก่อนฝึกและหลัง การฝึกสัปดาห์ท่ี 8 ของกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม โดยเสนอข้อมูลในรูปแบบตารางข้อมูล และ ความเรียงตามขั้นตอนการวิจัยดังนี้ 1) วิเคราะห์หาค่าเฉล่ียและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานจากผลการ ฝกึ พลยั โอเมตรกิ ท่ีมตี อ่ ความแข็งแรง ความเร็ว และความสามารถในการกระโดดเข่าลอยของกีฬามวย ไทย 2) วิเคราะห์และเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉล่ียของการทดสอบความแข็งแรงของ กล้ามเนื้อขา ความเร็วของการเคล่ือนที่และความสามารถในการกระโดดเข่าลอยภายในกลุ่มและ ระหวา่ งกลุ่ม ของกลุ่มทดลอง และกลมุ่ ควบคมุ กอ่ นและหลงั การฝกึ ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มลู 1. วิเคราะห์หาค่าเฉล่ียและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานจากผลการฝึกพลัยโอเมตริกที่มีต่อความ แขง็ แรง ความเรว็ และความสามารถในการกระโดดเข่าลอยของกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม
61 ตารางท่ี 1 วิเคราะห์หาค่าเฉล่ียและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานจากผลการฝกึ พลัยโอเมตริกท่ีมีต่อความ แขง็ แรง ความเรว็ และความสามารถในการกระโดดเขา่ ลอยของกีฬามวยไทย รายการ กอ่ นการฝกึ กล่มุ ทดลอง กลมุ่ ควบคมุ ความแข็งแรงของกลา้ มเน้อื ขา หลังการฝึก x S.D. x S.D. ความเรว็ ของการเคลื่อนที่ ก่อนการฝกึ หลังการฝกึ 2.53 0.35 2.51 0.32 ความสามารถในการกระโดดเขา่ ลอย 3.04 0.28 2.65 0.27 กอ่ นการฝึก หลังการฝึก 8.59 0.57 8.48 0.65 7.21 0.48 8.23 0.59 41.53 9.53 40.93 8.07 54.93 13.06 43.86 7.92 จากตารางที่ 1 แสดงค่าเฉลี่ยและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานของคะแนนการทดสอบความ แข็งแรงของกล้ามเน้ือขา กลมุ่ ทดลอง ก่อนการฝกึ มีค่าเฉล่ียเท่ากับ 2.53 และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 0.35 หลังการฝึกสปั ดาห์ท่ี 8 มีค่าเฉล่ียเท่ากับ 3.04 และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.28 กลุม่ ควบคมุ กอ่ นการฝกึ มคี า่ เฉล่ียเท่ากับ 2.51 และสว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.32 หลงั การฝึก สปั ดาหท์ ่ี 8 มีค่าเฉล่ียเท่ากบั 2.65 และส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐานเทา่ กบั 0.27 ค่าเฉล่ียและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานของคะแนนการทดสอบความเร็วของการเคล่ือนท่ี กลุ่ม ทดลอง ก่อนการฝึกมีค่าเฉล่ียเท่ากับ 8.59 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.57 หลังการฝึก สปั ดาห์ที่ 8 มคี ่าเฉล่ยี เท่ากบั 7.21 และสว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐานเทา่ กับ 0.48 กลุ่มควบคมุ ก่อนการฝึก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 8.48 และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.65 หลังการฝึกสัปดาห์ท่ี 8 มีค่าเฉลี่ย เทา่ กับ 8.23 และสว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.59 ค่าเฉลี่ยและส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐานของคะแนนการทดสอบความสามารถในการกระโดดเขา่ ลอยกลุ่มทดลอง ก่อนการฝึกมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 41.53 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 9.53 หลัง การฝึกสัปดาห์ที่ 8 มีค่าเฉล่ียเท่ากับ 54.93 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 13.06 กลุ่มควบคุม ก่อนการฝึกมีค่าเฉล่ียเท่ากับ 40.93 และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ 8.07 หลังการฝึกสัปดาห์ที่ 8 มีค่าเฉลีย่ เท่ากับ 43.86 และส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐานเท่ากับ 7.92
62 2. วิเคราะห์และเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยของการทดสอบความแข็งแรงของ กล้ามเนื้อขา ความเร็วของการเคลื่อนท่ีและความสามารถในการกระโดดเข่าลอยภายในกลุ่มและ ระหว่างกลุ่ม ของกลุม่ ทดลอง และกลมุ่ ควบคมุ กอ่ นและหลงั การฝกึ ตารางที่ 2 เปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยของการทดสอบความแข็งแรงของกล้ามเน้ือขา ความเรว็ ของการเคล่ือนทแ่ี ละความสามารถในการกระโดดเข่าลอย ภายในกลมุ่ รายการ กลุ่มทดลอง กลมุ่ ควบคุม x S.D. t Sig x S.D. t Sig ความแขง็ แรงของ กล้ามเนือ้ ขา กอ่ นการฝึก 2.53 0.35 -10.06* .000 2.51 0.32 -4.81* .000 หลงั การฝึก 3.04 0.28 2.65 0.27 ความเร็วของ การเคลอ่ื นที่ ก่อนการฝกึ 8.59 0.57 10.58* .000 8.48 0.65 2.74* .016 หลังการฝึก 7.21 0.48 8.23 0.59 ความสามารถในการ กระโดดเขา่ ลอย กอ่ นการฝกึ 41.53 9.53 -10.18* .000 40.93 8.07 -6.34* .000 หลงั การฝึก 54.93 13.06 43.86 7.92 * มนี ัยสาคญั ทางสถิติทรี่ ะดับ .05 จากตารางที่ 2 แสดงว่า ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉล่ียของคะแนนการ ทดสอบความแข็งแรงของกล้ามเน้ือขา ภายในกลุ่มทดลอง ก่อนการฝึกมีค่าเฉล่ียเท่ากับ 2.53 และ ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.35 หลังการฝกึ สปั ดาห์ที่ 8 มคี ่าเฉล่ยี เท่ากับ 3.04 และส่วนเบ่ยี งเบน มาตรฐานเทา่ กับ 0.28 พบว่ามคี วามแตกตา่ งกันอย่างมนี ยั สาคัญทางสถิติทีร่ ะดบั .05 (t = -10.06) ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉล่ียของคะแนนการทดสอบความแข็งแรงของ กล้ามเนื้อขา ภายในกลุ่มควบคุม ก่อนการฝึกมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.51 และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน
63 เท่ากับ 0.32 หลังการฝึกสัปดาห์ท่ี 8 มีค่าเฉล่ียเท่ากับ 2.65 และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.27 พบวา่ มคี วามแตกต่างกนั อย่างมีนยั สาคญั ทางสถิติท่ีระดบั .05 (t = -4.81) ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยของคะแนนการทดสอบความเร็วของการ เคล่ือนท่ี ภายใน กลุ่มทดลอง ก่อนการฝึกมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 8.59 และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.57 หลงั การฝึกสัปดาห์ท่ี 8 มีค่าเฉลี่ยเทา่ กับ 7.21 และสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.48 พบวา่ มี ความแตกต่างกนั อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 (t =-10.58) ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉล่ียของคะแนนการทดสอบความเร็วของการ เคลื่อนท่ี ภายใน กลุ่มควบคุม ก่อนการฝึกมีค่าเฉล่ียเท่ากับ 8.48 และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.65 หลงั การฝึกสปั ดาหท์ ี่ 8 มคี า่ เฉลย่ี เทา่ กบั 8.23 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทา่ กับ 0.59 พบว่ามี ความแตกตา่ งกันอยา่ งมนี ยั สาคญั ทางสถิติท่รี ะดับ .05 (t = 2.74) ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉล่ียของคะแนนการทดสอบ ความสามารถในการ กระโดดเข่าลอย ภายใน กลุ่มทดลอง กอ่ นการฝึกมีค่าเฉล่ียเทา่ กบั 41.53 และส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน เท่ากับ 9.53 หลังการฝึกสัปดาห์ที่ 8 มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 54.93 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 13.06 พบว่ามคี วามแตกตา่ งกันอยา่ งมนี ัยสาคญั ทางสถิติทีร่ ะดับ .05 (t =-10.18) ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉล่ียของคะแนนการทดสอบความสามารถในการ กระโดดเข่าลอย ภายใน กล่มุ ควบคุม ก่อนการฝึกมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 40.93 และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 8.07 หลังการฝึกสัปดาห์ท่ี 8 มีค่าเฉล่ียเท่ากับ 43.86 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 7.92 พบวา่ มคี วามแตกต่างกนั อยา่ งมีนยั สาคัญทางสถิตทิ รี่ ะดบั .05 (t = -6.34)
64 ตารางที่ 3 เปรยี บเทียบความแตกต่างของคา่ เฉลีย่ ของการทดสอบความแขง็ แรงของกล้ามเน้อื ขา ความเรว็ ของการเคลื่อนทแี่ ละความสามารถในการกระโดดเข่าลอย ระหวา่ งกล่มุ รายการ กลมุ่ ทดลอง กลมุ่ ควบคุม t Sig x S.D. x S.D. ความแขง็ แรงของ กลา้ มเน้อื ขา กอ่ นการฝึก 2.53 0.35 2.51 0.32 1.36 .893 ความเร็วของการ หลงั การฝึก 3.04 0.28 2.65 0.27 3.80* .001 เคล่ือนท่ี ก่อนการฝึก 8.59 0.57 8.48 0.65 0.41 .634 หลงั การฝกึ 7.21 0.48 8.23 0.59 -5.15* .000 ความสามารถในการ กระโดดเขา่ ลอย ก่อนการฝึก 41.53 9.53 40.93 8.07 0.18 .854 หลงั การฝกึ 54.93 13.06 43.86 7.92 2.80* .009 * มีนัยสาคัญทางสถิติท่รี ะดับ .05 จากตารางที่ 3 แสดงวา่ ผลการเปรยี บเทียบความแตกตา่ งของค่าเฉล่ียของการทดสอบความ แข็งแรงของกล้ามเน้ือขา ระหว่าง กลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม ก่อนการฝึกกลุ่มทดลองมีค่าเฉล่ีย เท่ากับ 2.53 และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.35 กลุ่มควบคุมมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.51 และส่วน เบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.32 พบว่าท้ังสองกลุ่มไม่มีความแตกต่างกัน แต่เม่ือเปรียบเทียบความ แตกต่างของค่าเฉลี่ยของคะแนนของการทดสอบความแข็งแรง ระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม หลังการฝึกสัปดาห์ที่ 8 กลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.04 และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.28 กลุ่มควบคุมมคี ่าเฉลี่ยเท่ากบั 2.65 และสว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.27 พบวา่ มีความแตกต่างกัน อยา่ งมนี ัยสาคญั ทางสถติ ทิ รี่ ะดบั .05 (t = 3.80) ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉล่ียของคะแนนของการทดสอบความเร็วของการ เคลื่อนท่ี ระหว่าง กลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม ก่อนการฝึกกลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 8.59 และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.57 กลุ่มควบคุมมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 8.48 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 0.65 พบว่าไม่แตกต่างกัน แต่เม่ือเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยของคะแนนของการ ทดสอบความเร็วของการเคลอ่ื นที่ ระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม หลังการฝึกสัปดาห์ท่ี 8 กลุ่ม ทดลองมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 7.21 และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.48 กลุ่มควบคุมมีค่าเฉลี่ยเทา่ กบั
65 8.23 และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.59 พบว่ามีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ี ระดับ .05 (t = -5.15) ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉล่ียของคะแนนท่ีได้จากการทดสอบความสามารถ ในการกระโดดเข่าลอย ระหว่าง กลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม ก่อนการฝึกกลุ่มทดลองมีค่าเฉล่ีย เท่ากับ 41.53 และสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากบั 9.53 กลุม่ ควบคุมมคี า่ เฉลย่ี เท่ากับ 40.93 และสว่ น เบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ 8.07 พบว่าไม่แตกต่างกัน แต่เมื่อเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉล่ีย ของคะแนนของการทดสอบความสามารถในการกระโดดเข่าลอย ระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่ม ควบคุม หลังการฝึกสัปดาห์ท่ี 8 กลุ่มทดลองมีค่าเฉล่ียเท่ากับ 54.93 และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 13.06 กลุ่มควบคุมมีค่าเฉล่ียเท่ากับ 43.86 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 7.92 พบว่ามี ความแตกต่างกันอยา่ งมีนยั สาคัญทางสถิติทรี่ ะดับ .05 (t = 2.80) 3.50 ิกโลก ัรม / น้าหนัก ัตว 3.00 2.50 2.00 1.50 1.00 หลงั การฝึกสัปดาห์ที่ 8 ก่อนการฝึ ก กลุ่มทดลอง กลุ่มควบคุม ภาพประกอบที่ 30 เปรียบเทียบความแข็งแรงของกล้ามเน้ือขาท่ีได้จากการทดสอบ ระหว่างกลุ่ม ทดลองและกลุ่มควบคุม จากภาพประกอบท่ี 30 แสดงว่าก่อนการฝึก กลุ่มทดลองมีค่าเฉล่ียความแข็งแรงของ กล้ามเน้ือขาสูงกว่ากลุ่มควบคุมเล็กน้อย โดยกลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยความแข็งแรงของกล้ามเนื้อขา เท่ากับ 2.53 และกลุ่มควบคุมมีค่าเฉลี่ยความแข็งแรงของกล้ามเนื้อขาเท่ากับ 2.51 พบว่าก่อนการ ฝึกท้ังสองกลุ่มไม่มีความแตกต่างกัน แต่หลังการฝึกสัปดาห์ท่ี 8 พบว่ากลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยความ แข็งแรงของกล้ามเน้ือขาสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างเห็นได้ชัด โดยกลุ่มทดลองมีค่าเฉล่ียความแข็งแรง
66 ของ กลา้ มเนอ้ื ขาเท่ากับ 3.04 และกลุ่มควบคุมมีคา่ เฉลี่ยความแขง็ แรงของกลา้ มเน้ือขาเทา่ กับ 2.65 พบว่าหลังการฝกึ มคี วามแตกตา่ งกันอย่างมนี ยั สาคัญทางสถิติทรี่ ะดับ .05 ิวนาที 10 9.5 หลงั การฝึกสัปดาห์ที่ 8 9 8.5 8 7.5 7 6.5 6 5.5 5 ก่อนการฝึ ก กลุ่มทดลอง กลุ่มควบคุม ภาพประกอบที่ 31 เปรียบเทียบความเร็วของการเคล่ือนที่ท่ีได้จากการทดสอบ ระหว่างกลุ่มทดลอง และกลมุ่ ควบคุม จากภาพประกอบท่ี 31 แสดงวา่ กอ่ นการฝึก กลมุ่ ทดลองมคี ่าเฉลยี่ ความเรว็ ของการเคล่ือนที่ ช้ากว่ากลุ่มควบคุมอยู่เล็กน้อย โดยกลุ่มทดลองมีค่าเฉล่ียความเร็วของการเคลื่อนไหวเท่ากับ 8.59 และกลุ่มควบคุมมีค่าเฉล่ียความเร็วของการเคลื่อนที่เท่ากับ 8.48 พบว่าก่อนการฝึกทั้งสองกลุ่มไม่มี ความแตกตา่ งกัน หลังการฝกึ สปั ดาห์ที่ 8 พบวา่ กลุ่มทดลองมีค่าเฉล่ียความความเรว็ ของการเคลื่อนที่ ดีกว่ากลุ่มควบคุมอย่างเห็นได้ชัด โดยกลุ่มทดลองมีค่าเฉล่ียความเร็วของการเคลื่อนที่เท่ากับ 7.21 และกล่มุ ควบคมุ มคี ่าเฉล่ยี ความเร็วเท่ากับ 8.23 พบวา่ หลังการฝกึ มีความแตกต่างกนั อย่างมนี ัยสาคัญ ทางสถติ ทิ ร่ี ะดบั .05
67 60 50 40 เซนติเมตร 30 20 10 0 หลงั การฝึ กสปั ดาห์ท่ี 8 ก่อนฝึ ก กลุ่มทดลอง กลุ่มควบคุม ภาพประกอบท่ี 32 เปรียบเทียบความสามารถในการกระโดดเข่าลอยท่ีได้จากการทดสอบ ระหว่าง กล่มุ ทดลองและกลุ่มควบคุม จากภาพประกอบท่ี 32 แสดงว่าก่อนการฝึกซ้อมกลุ่มทดลองมีค่าเฉล่ียความสามารถในการ กระโดดเข่าลอยที่ดีกว่ากลุ่มควบคุมอยู่เล็กน้อย โดยกลุ่มทดลองมีค่าเฉล่ียความสามารถในการ กระโดดเข่าลอยเท่ากับ 41.53 และกลุ่มควบคุมมีคา่ เฉล่ียความสามารถในการกระโดดเข่าลอยเท่ากับ 40.93 พบว่ากอ่ นการฝึกทั้งสองกล่มุ ไมม่ ีความแตกต่างกัน หลงั การฝกึ สปั ดาห์ที่ 8 พบวา่ กลมุ่ ทดลองมี ค่าเฉลี่ยความสามารถในการกระโดดเข่าลอยดีกว่ากลุ่มควบคุมอย่างเห็นได้ชัด โดยกลุ่มทดลองมี ค่าเฉล่ียความสามารถในการกระโดดเข่าลอยเท่ากับ 54.93 และกลุ่มควบคุมมีค่าเฉล่ียความสามารถ ในการกระโดดเข่าลอยเท่ากับ 43.86 พบว่าหลังการฝึกมีความแตกต่างกันอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติท่ี ระดบั .05
บทที่ 5 สรปุ อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ การวิจัยเรื่อง ผลการฝึกพลัยโอเมตริกที่มีต่อความแข็งแรง ความเร็ว และความสามารถในการ กระโดดเข่าลอยของกีฬามวยไทย มีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาผลการฝึกพลัยโอเมตริกที่มีต่อความ แขง็ แรง ความเร็ว และความสามารถในการกระโดดเขา่ ลอยของกีฬามวยไทย และเพื่อเปรียบเทียบผล การฝึกด้วยโปรแกรมพลัยโอเมตริกกับโปรแกรมการฝึกซ้อมมวยตามปกติ ที่มีต่อความแข็งแรง ความเร็ว และความสามารถในการกระโดดเข่าลอยของกีฬามวยไทย ผวู้ จิ ยั ไดส้ รุปผล อภปิ รายผลดงั น้ี สรุปผลการวิจัย จากผลการวิจัยผลการฝึกพลัยโอเมตริกที่มีต่อความแข็งแรง ความเร็ว และความสามารถใน การกระโดดเข่าลอยของกีฬามวย สามารถสรปุ ตามวัตถปุ ระสงค์ของการวิจยั ได้ ดังตอ่ ไปน้ี 1. เพอ่ื ศึกษาผลการฝึกพลยั โอเมตริกที่มีต่อความแข็งแรง ความเรว็ และความสามารถในการ กระโดดเข่าลอยของกีฬามวยไทย 1.1 ผลการฝึกโปรแกรมพลัยโอเมตริก (กลุ่มทดลอง) และโปรแกรมฝึกซ้อมมวยไทย ตามปกติ (กลุ่มควบคุม) ที่มีต่อความแข็งแรง ความเร็ว และความสามารถในการกระโดดเข่าลอย มี ค่าเฉล่ียและส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐานท่ีได้จากการทดสอบความแข็งแรงของกลา้ มเน้ือขา ความเร็วของ การเคลื่อนทแ่ี ละความสามารถในการกระโดดเขา่ ลอย ก่อนการฝึก และหลงั การฝึกสัปดาหท์ ี่ 8 มดี งั น้ี - ค่าเฉล่ียและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนการทดสอบความแข็งแรงของ กล้ามเน้ือขา ของกลุ่มทดลอง ก่อนการฝึกมีค่าเฉล่ียเท่ากับ 2.53 และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.35 หลงั การฝึกสปั ดาห์ท่ี 8 มีค่าเฉลี่ยเทา่ กับ 3.04 และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานเทา่ กบั 0.28 - ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนการทดสอบความแข็งแรงของ กลา้ มเนอื้ ขา ของกลมุ่ ควบคุม กอ่ นการฝกึ เทา่ กบั 2.51 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.32 หลัง การฝึกสัปดาหท์ ี่ 8 มีค่าเฉล่ยี เท่ากับ 2.65 และสว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.27 - ค่าเฉลี่ยและสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนการทดสอบความเร็วของการเคล่ือนที่ ของกลมุ่ ทดลอง ก่อนการฝึกมคี ่าเฉลย่ี เท่ากับ 8.59 และสว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากบั 0.57 หลงั การ ฝึกสัปดาห์ที่ 8 มคี ่าเฉลย่ี เท่ากบั 7.21 และสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐานเทา่ กบั 0.48 - คา่ เฉลีย่ และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนการทดสอบความเรว็ ของการเคล่ือนที่ ของกล่มุ ควบคุม ก่อนการฝึกมีคา่ เฉลีย่ เท่ากับ 8.48 และส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐานเทา่ กับ 0.65 หลงั การ ฝึกสปั ดาห์ที่ 8 มีคา่ เฉลยี่ เท่ากบั 8.23 และส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐานเทา่ กับ 0.59
69 - ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนนการทดสอบความสามารถในการ กระโดดเข่าลอย ของกลุ่มทดลอง ก่อนการฝึกมีค่าเฉล่ียเท่ากับ 41.53 และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 9.53 หลังการฝึกสัปดาห์ที่ 8 มีค่าเฉล่ียเท่ากับ 54.93 และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ 13.06 - ค่าเฉลี่ยและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานของคะแนนการทดสอบความสามารถในการ กระโดดเข่าลอย ของกลุ่มควบคุม ก่อนการฝึกมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 40.93 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 8.07 หลังการฝึกสัปดาห์ที่ 8 มีค่าเฉล่ียเท่ากับ 43.86 และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ 7.92 1.2 ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉล่ียของคะแนนของการทดสอบความ แข็งแรงของกล้ามเน้ือขา ความเร็วของการเคล่ือนที่และความสามารถในการกระโดดเข่าลอยภายใน ของกลุม่ ทดลองและกลมุ่ ควบคมุ ก่อนและหลงั การฝกึ สัปดาหท์ ี่ 8 สปั ดาห์ - ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉล่ียคะแนนการทดสอบความแข็งแรงของ กล้ามเน้ือขา ภายในกลุ่มทดลอง โดยใชค้ ะแนนก่อนการฝกึ และหลงั การฝกึ 8 สปั ดาห์ พบว่า กอ่ นการ ฝึกไม่มีความแตกต่างกัน และหลังการฝึก 8 สัปดาห์ พบว่ามีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทาง สถติ ิทร่ี ะดับ .05 - ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยคะแนนการทดสอบความเร็วของการ เคล่อื นท่ี ภายในกลุม่ ทดลอง โดยใช้คะแนนก่อนการฝึกและหลังการฝึก 8 สปั ดาห์ พบวา่ กอ่ นการฝึก ไมม่ ีความแตกต่างกัน และหลงั การฝึก 8 สปั ดาห์ พบว่ามีความแตกต่างกนั อย่างมีนยั สาคญั ทางสถิติท่ี ระดับ .05 - ผลการเปรียบเทียบความแตกตา่ งของคา่ เฉลี่ยคะแนนการทดสอบความสามารถในการ กระโดดเข่าลอย ภายในกลุ่มทดลอง โดยใช้คะแนนก่อนการฝึกและหลังการฝึก 8 สัปดาห์ พบว่า พบว่า ก่อนการฝึกไม่มีความแตกต่างกัน และหลังการฝึก 8 สัปดาห์ พบว่ามีความแตกต่างกันอย่างมี นัยสาคัญทางสถิตทิ ร่ี ะดับ .05 - ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยคะแนนการทดสอบความแข็งแรงของ กล้ามเน้ือขา ภายในกลุ่มควบคุม โดยใช้คะแนนก่อนการฝึกและหลังการฝึก 8 สัปดาห์ พบว่า ก่อน การฝึกไม่มคี วามแตกต่างกนั และหลังการฝึก 8 สัปดาห์ พบว่ามีความแตกตา่ งกันอยา่ งมีนัยสาคัญทาง สถติ ทิ ่ีระดับ .05 - ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยคะแนนการทดสอบความเร็วของการ เคลื่อนที่ ภายในกลุ่มควบคุม โดยใช้คะแนนก่อนการฝึกและหลงั การฝกึ 8 สปั ดาห์ พบวา่ กอ่ นการฝึก ไม่มคี วามแตกต่างกัน และหลงั การฝึก 8 สปั ดาห์ พบวา่ มคี วามแตกต่างกันอย่างมีนยั สาคญั ทางสถิติท่ี ระดับ .05
70 - ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยคะแนนที่ได้จากการทดสอบ ความสามารถในการกระโดดเข่าลอย ภายในกลุม่ ควบคุม โดยใช้คะแนนกอ่ นการฝึกและหลังการฝึก 8 สปั ดาห์ พบว่า กอ่ นการฝึกไมม่ ีความแตกต่างกัน และหลังการฝกึ 8 สปั ดาห์ พบวา่ มีความแตกต่างกัน อยา่ งมนี ยั สาคญั ทางสถิติทีร่ ะดบั .05 2. เพ่ือเปรียบเทียบผลการฝึกด้วยโปรแกรมพลัยโอเมตริกกับโปรแกรมการฝึกซ้อมมวย ตามปกติที่มตี อ่ ความแข็งแรง ความเรว็ และความสามารถในการกระโดดเข่าลอยของกีฬามวยไทย 2.1 ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉล่ียของคะแนนของการทดสอบความ แข็งแรงของกล้ามเนื้อขา ความเร็วของการเคล่ือนทแี่ ละความสามารถในการกระโดดเข่าลอยระหวา่ ง กลุ่ม ของกล่มุ ทดลองและกลุม่ ควบคุม ก่อนและหลังการฝึกสัปดาห์ท่ี 8 สัปดาห์ - ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยคะแนนที่ได้จากการทดสอบความ แข็งแรงของกล้ามเน้ือขา ระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม ก่อนการฝึกกลุ่มทดลองมีค่าเฉล่ีย เท่ากับ 2.53 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.35 กลุ่มควบคุมมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.51 และส่วน เบ่ียงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.32 พบว่าทั้งสองกลุ่มไม่มีความแตกต่างกัน และหลังการฝึก 8 สัปดาห์ กลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.04 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.28 กลุ่มควบคุมมีค่าเฉล่ีย เท่ากับ 2.65 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.27 พบว่ามีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทาง สถิตทิ รี่ ะดับ .05 - ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยคะแนนการทดสอบความเร็วของการ เคลื่อนที่ ระหว่างกลุ่มทดลอง และกลุ่มควบคุม ก่อนการฝึกกลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 8.59 และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.57 กลุ่มควบคุมมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 8.48 และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน เทา่ กับ 0.65 พบว่าไม่แตกต่างกัน และหลังการฝกึ 8 สปั ดาห์ กลุ่มทดลองมีคา่ เฉล่ียเท่ากับ 7.21 และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.48 กลุ่มควบคุมมีค่าเฉล่ียเท่ากับ 8.23 และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน เทา่ กบั 0.59 พบวา่ แตกต่างกันอย่างมนี ยั สาคัญทางสถติ ิท่รี ะดับ .05 - ผลการเปรยี บเทียบความแตกตา่ งของค่าเฉลย่ี คะแนนการทดสอบความสามารถในการ กระโดดเข่าลอย ระหว่างกลุ่มทดลอง และกลุ่มควบคุม ก่อนการฝึกกลุ่มทดลองมีค่าเฉล่ียเท่ากับ 41.53 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 9.53 กลุ่มควบคุมมีค่าเฉล่ียเท่ากับ 40.93 และส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 8.07 พบว่าไม่แตกต่างกัน และหลังการฝึก 8 สัปดาห์ กลุ่มทดลองมี ค่าเฉลีย่ เท่ากับ 54.93 และสว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐานเทา่ กบั 13.06 กล่มุ ควบคุมมคี ่าเฉล่ยี เท่ากบั 43.86 และสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐานเทา่ กบั 7.92 พบว่าแตกต่างกันอยา่ งมีนัยสาคญั ทางสถิติท่ีระดับ .05
71 อภปิ รายผลการวิจยั จากการศึกษาวิจัยเร่ืองผลการฝึกพลัยโอเมตริกท่ีมีต่อความแข็งแรง ความเร็ว และ ความสามารถในการกระโดดเข่าลอยของกีฬามวยไทย เป็นระยะเวลา 8 สัปดาห์ และทาการทดสอบ ความแข็งแรงของกล้ามเน้ือขา ความเร็วในการเคล่ือนท่ี และความสามารถในการกระโดดเข่าลอย ก่อนและหลังการฝึกสัปดาห์ที่ 8 ในภาพรวมพบว่าความแข็งแรงของกล้ามเน้ือขา ความเร็วของการ เคล่อื นไหวและความสามารถในการกระโดดเข่าลอยมีพัฒนาการทเี่ พม่ิ มากขึน้ ทั้งนเี้ พราะว่าโปรแกรม การฝึกพลัยโอเมตรกิ แบบ 6 สถานี ในระยะเวลาการฝึก 8 สัปดาห์ มีความเหมาะสม และนานพอท่ีจะ ทาให้เกิดความแข็งแรงของกล้ามเน้ือขา ความเร็วของการเคล่ือนท่ี ความสามารถในการกระโดดเข่า ลอยและยังเป็นการการพัฒนาพลังของกล้ามเน้ืออีกด้วย ซ่ึงสอดคล้องกับ ศิริรัตน์ หิรัญรัตน์ (2539, 153 อ้างถึงใน เอกพจน์ คงสมนึก, 2559, 32) ได้กล่าวไว้ว่า ระยะเวลาของการฝึกท้ังโปรแกรม ต้อง คานึงถึงความสามารถของบุคคลซ่ึงข้ึนกับธรรมชาติของคน ๆ น้ัน ผู้ฝึกสอนไม่ควรจะเร่งเร้า ให้ นักกีฬาทาสถิติให้ดีข้ึนเร็วเกินไป และจะต้องคานึงเสมอว่าความสามารถของการฝึกแต่ละด้านแต่ละ คนใช้ระยะเวลาไม่เท่ากัน โดยทว่ั ไปแล้วการฝึกอย่างน้อยในช่วงระยะเวลา 4 - 6 สัปดาห์ ๆ ละ 3 วนั ก็ทาให้มีการเปล่ียนแปลงและพัฒนาในเร่ืองของความแข็งแรงและกาลังเพิ่มข้ึน และสอดคล้องกับ หลักการฝึกซ้อมแบบพลัยโอเมตริก ดังท่ี ชู และพลัมเมอร์ (Chu & Plummer, 1984, 30-31 อ้างถึง ใน กษดิ ิ์เดช เกตมุ ณี, 2553, 12 - 13) ไดก้ ลา่ ววา่ พลัยโอเมตรกิ เป็นการออกกาลังกายทม่ี จี ุดมุ่งหมาย ในการนาเอาความแข็งแรง (Strength) กับความเร็วของการเคล่ือนท่ี (speed) เพ่ือทาให้เกิดการ เคล่ือนไหวที่รวดเรว็ ให้มากทส่ี ดุ นอกจากน้แี ล้วการฝกึ แบบพลัยโอเมตริกยังเป็นการฝึกที่สามารถช่วย ให้กล้ามเน้ือเข้าสู่จุดสูงสุดของความแข็งแรงในระยะเวลาอันสั้นเท่าที่จะกระทาได้ และยังเป็นหนึ่งใน วิธที ่ดี ที สี่ ดุ ต่อการท่จี ะพฒั นาใหเ้ กดิ พลงั ระเบิด (explosive power) เมือ่ เปรยี บเทยี บภายในกลมุ่ ของกลุ่มทดลองและกล่มุ ควบคุม ก่อนการฝกึ และหลงั การฝึก 8 สัปดาห์ พบว่า ความแข็งแรงของกล้ามเน้ือขา ความเร็วในการเคล่ือนไหวและความสามารถในการ กระโดดเข่าลอยของกลุ่มทดลอง และกลุ่มควบคุม มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางส ถิติที่ ระดับ .05 แต่เม่ือพิจารณาเปรียบเทียบความแตกต่างโปรแกรมการฝึกพลัยโอเมตริกกับโปรแกรม การฝึกซ้อมมวยไทยตามปกติระหว่างกลุ่มทดลอง และกลุ่มควบคุม หลังการฝึก 8 สัปดาห์ พบว่า ความแขง็ แรงของกลา้ มเน้ือขา ความเร็วในการเคล่ือนทแ่ี ละความสามารถในการกระโดดเข่าลอยของ กลุ่มทดลอง และกลุ่มควบคุม มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 แต่เม่ือ พิจารณาความแตกต่างของค่าเฉลี่ยคะแนนจากการทดสอบความแข็งแรงของกล้ามเน้ือขา ความเร็ว ของการเคลื่อนท่ี และความสามารถในการกระโดดเข่าลอยแลว้ พบว่า ความแตกตา่ งของค่าเฉล่ียของ คะแนนจากการทดสอบความแข็งแรงของกล้ามเนื้อขา ความเร็วในการเคลื่อนท่ีและความสามารถใน การกระโดดเข่าลอย ภายในกลุ่มทดลองดีขึ้นมากกว่ากลุ่มควบคุม ทั้งนี้เป็นเพราะกลุ่มทดลองได้รับ
72 การฝึกแบบพลัยโอเมตริกเป็นระยะเวลา 8 สัปดาห์ โดยมีการเพิ่มความหนักของโปรแกรมพลัยโอ เมตริกทุก 2 สัปดาห์ ตามหลักการใช้ความหนักมากกว่าปกติ (principle of overload) เพ่ือให้ กลา้ มเนือ้ ให้ทางานมากกว่าระดับปกติที่กล้ามเนื้อเคยทางานได้ และเพ่มิ ประสิทธิภาพการทางานของ กล้ามเนื้อ งานวิจัยน้ีมุ่งเน้นการฝึกลาตัวส่วนล่าง ซึ่งเป็นกลุ่มกล้ามเน้ือท่ีเกี่ยวข้องกับการกระโดดเข่า ลอย เพื่อที่จะพัฒนาความสามารถในการกระโดดเข่าลอยให้มีประสิทธิภาพจากการฝึกพลัยโอเมตริก ซึ่งสอดคล้องกับ เจริญ กระบวนรัตน์ (2538, 120 อ้างถึงใน กษิด์ิเดช เกตุมณี, 2553, 14) กล่าวว่า การฝึกแบบพลัยโอเมตริกในการเสริมสร้างสมรรถภาพทางกายให้กับนักกีฬา จาเป็นอย่างยิ่งท่ีจะต้อง มุ่งพฒั นาเสรมิ สรา้ งในสว่ นทเ่ี กี่ยวข้อง และมีความจาเปน็ ต่อชนิดกีฬานัน้ เพื่อประโยชน์ในการนาไปใช้ ในการแขง่ ขนั ซึง่ เป็นการฝกึ ทม่ี ุ่งพฒั นาเฉพาะมัดกล้ามเน้ือที่มคี วามจาเปน็ ต่อการเคล่ือนไหวจึงควรมี การฝึกกล้ามเน้ือเฉพาะส่วน ทั้งน้ีโปรแกรมการฝึกพลัยโอเมตริกได้มีการกาหนดองค์ประกอบ ท่ี ประกอบไปด้วย กิจกรรมการฝึก ความหนัก ระยะเวลาในการฝึก ความถ่ี การพักฟื้น จึงทาให้ นักศึกษามวยไทยศึกษาและพลศึกษาที่ฝึกโปรแกรมพลัยโอเมตริกแบบ 6 สถานี มีความแข็งแรงของ กล้ามเนื้อขา ความเร็วของการเคลื่อนไหว และความสามารถในการกระโดดเข่าลอยดีข้ึน มากกว่า กลุ่มท่ีฝึกมวยไทยตามปกติ เพราะการฝึกมวยไทยตามปกติ มุ่งเน้นการฝึกซ้อมในเร่ืองของทักษะ เทคนคิ และความอดทนเปน็ ส่วนใหญ่ จากผลการวิจัยครงั้ น้ี สรปุ ได้วา่ ผลการฝึกพลยั โอเมตรกิ ที่มตี ่อความแข็งแรง ความเร็ว และ ความสามารถในการกระโดดเข่าลอยของกีฬามวยไทย ของกลุ่มทดลองมีค่าเฉล่ียของคะแนน การ ทดสอบความแข็งแรงของกล้ามเน้ือขา ความเร็วของการเคล่ือนที่ และความสามารถในการกระโดด เข่าลอย หลังการฝึก 8 สัปดาห์ แตกต่างจากกลุ่มควบคุม ซึ่งเป็นไปตามสมมุติฐานที่ต้ังไว้ว่า ผลการ ฝึกพลัยโอเมตรกิ ท่ีมตี ่อความแข็งแรง ความเร็ว และความสามารถในการกระโดดเข่าลอยของกีฬามวย ไทย กอ่ นและหลังการฝกึ พลยั โอเมตริกเปน็ เวลา 8 สัปดาหน์ กั ศึกษาสาขามวยไทยศึกษาและพลศึกษา มคี วามแขง็ แรงของกล้ามเนือ้ ขา ความเรว็ ของการเคล่ือนทแ่ี ละความสามารถในการกระโดดเข่าลอยที่ แตกต่างกัน ท่ีเป็นเช่นนี้เพราะว่า การฝึกพลัยโอเมตริก แบบ 6 สถานีท่ีผู้วิจัยได้สร้างขึ้นนั้น เป็นการ ฝึกท่ีมุ่งเน้นในการพัฒนาพลังของกล้ามเน้ือส่วนล่าง ซึ่งการฝึกรูปแบบของพลัยโอเมตริกน้ัน เป็นการ ฝึกเพ่ือเพิ่มพลังของกล้ามเนื้อและเม่ือพลังเพ่ิมขึ้นย่อมหมายถึงความแข็งแรงของกล้ามเนื้อขา ความเร็วของการเคลื่อนท่ี และความสามารถในการกระโดดเข่าลอยเพิ่มข้นึ ด้วย ซง่ึ พลังของกลา้ มเน้ือ ประกอบด้วยความแข็งแรงและความเร็ว โดยโปรแกรมการฝึกพลัยโอเมตริกมีส่วนทาให้การกระโดด เข่าลอยของกีฬามวยไทยมีประสิทธิภาพมากขึ้น แข็งแรงข้ึน เร็วข้ึน สูงขึ้น เพราะพลังของกล้ามเน้ือ เป็นสว่ นสาคัญในการกระโดดเข่าลอย ซึ่งสอดคล้องกบั เจริญ กระบวนรตั น์ (2561, 336) การฝกึ พลัย โอเมตริก คือการฝึกที่ซึ่งรวมไว้ซ่ึงกาลังความแข็งแรง และความรวดเร็วในการหดตัวของกล้ามเน้ือ เพ่อื กอ่ ให้เกิดปฏิกริ ิยาการเคล่ือนไหวทีร่ วดเร็วฉับไว (Dintimin & Ward, 1998 ; Jacoby & Fraley,
73 1995 อ้างถึงใน เจริญ กระบวนรัตน์, 2561, 336 ) ซ่ึงการปฏิบัติทักษะและการเคล่ือนไหวของ นักกีฬาหลายประเภท จะสามารถเคล่ือนไหวและปฏิบัติเทคนิคทักษะกีฬาได้สมบูรณ์แบบยิ่งขึ้น (more skill fully) ตอ่ เมอื่ นกั กฬี าเหลา่ นั้นตอ้ งไดร้ ับการฝึกกาลัง (power) ซึ่งมีองคป์ ระกอบคอื ความ แข็งแรง (strength) และความรวดเร็ว (speed) ด้วยเหตุนี้พลัยโอเมตริก (plyometrics) จึงเป็นหนึ่ง ในวิธีการท่ีได้รบั การยอมรบั ว่าดีท่ีสุดในการพัฒนากาลังระเบดิ (explosive power) ให้กับกีฬาหลาย ประเภท อาทิเช่น วอลเลย์บอล บาสเกตบอล ฟุตบอล แฮนด์บอล เซปักตะกร้อ ฮอกกี้ เทนนิส แบดมินตัน เทเบลิ เทนนิส กระโดดน้า วา่ ยนา้ ยโู ด โบว์ล่งิ กอล์ฟ ยกน้าหนัก ดาบสากล มวย มวยปลา้ เทควนั โด วิ่งระยะส้ัน และยิมนาสติก เปน็ ตน้ และ ธนาคาร เสถียรพนู สขุ (2560, 49) ไดศ้ ึกษาผลการ ฝึกพลัยโอเมตริกแบบวงจรด้วยยางรถ ท่ีมีต่อความเร็วและความคล่องแคล่วในนักกีฬาฟุตบอล โรงเรียน พบว่ากลุม่ ทดลองมีเวลาเฉลี่ย ลดลงมากกว่า ท้ังนอ้ี าจเนือ่ งมาจากการฝึกพลยั โอเมตริกแบบ วงจรด้วยยางรถ 3 วันต่อสัปดาห์ เป็น ระยะเวลา 8 สัปดาห์ เข้ารับโปรแกรมการฝึก 6 สถานี ซ่ึงการ ฝึกจะประกอบไปด้วยการกระโดด ท่าทางต่าง ๆ จึงอาจจะช่วยเพ่ิมความแข็งแรงของกล้ามเน้ือและ พลังของขาได้ ซ่ึงการท่ีกล้ามเน้ือขา มีความแข็งแรงเพ่ิมข้ึนก็จะส่งผลให้มีความคล่องแคล่วเพ่ิมข้ึน ไปด้วย นอกจากนี้ วรเชษฐ์ จันติยะ (2561, 1) ได้กล่าวไว้ว่าพลัยโอเมตริก (plyometric) เป็น วธิ กี ารฝกึ เพอื่ พัฒนาพลังระเบดิ (explosive power) ซ่งึ เป็นองค์ประกอบของการฝึกซ้อมของนักกีฬา การนาเอาโปรแกรมฝึกพลัยโอเมตริก มาเป็นส่วนหน่ึงของการฝึกซ้อมกีฬา สามารถพัฒนาสมรรถนะ ด้านความเร็ว ความแข็งแรง การเร่งความเร็วและพลังระเบิดอย่างมีนัยสาคัญ และจัดให้การฝึก รูปแบบน้ีควบคู่ในแผนการพัฒนาการฝึกซ้อมของนักกีฬา ซ่ึงพลังระเบิดเป็นส่วนสาคัญกับทักษะการ กระโดดเข่าลอยของกีฬามวยไทยเป็นอย่างมาก ดังนั้นจึงมีความจาเป็นท่ีจะต้องมีการฝึกพลังของ กล้ามเนื้อขาในรปู แบบของโปรแกรมการฝึกพลัยโอเมตริก ข้อเสนอแนะ ขอ้ เสนอแนะในการนาผลการวิจัยไปใช้ 1. การฝึกพลัยโอเมตริกให้เกิดประสิทธิภาพ ควรฝึกให้ตรงกับมัดกล้ามเน้ือที่เกี่ยวข้องท่ีใช้ ในกจิ กรรมนน้ั ๆ และจาเปน็ ต้องมที ักษะในท่าฝกึ ท่ีถูกต้องเพื่อไม่ใหเ้ สยี่ งตอ่ การบาดเจบ็ 2. สาหรับผู้ฝึกสอนกีฬา นักกีฬาหรือผู้ท่ีสนใจที่จะนาโปรแกรมการฝึกพลัยโอเมตริก แบบ 6 สถานีน้ีไปใช้ ควรฝึกกับนักกีฬาที่มีร่างกายพร้อมสาหรับการฝึกหนักและต่อเน่ืองได้ เพราะ โปรแกรมการฝึกนี้จะมีการเพ่ิมความหนักและใช้เวลาอย่างน้อย 8 สัปดาห์ จึงจะส่งผลให้นักกีฬามี ความแข็งแรง ความเร็ว และความสามารถในการกระโดดเข่าลอย
74 ขอ้ เสนอแนะในการวจิ ยั ครั้งตอ่ ไป 1. ควรทาการศึกษาวิจัย ในลักษณะการติดตามผลของโปรแกรม โดยมีการทดสอบความ แข็งแรง ความเร็ว และความสามารถในการกระโดดเข่าลอยทั้งก่อนการฝึก หลังการฝึก และทุก ๆ 2 สัปดาห์ ระหวา่ งการฝึกคอื สัปดาห์ท่ี 2, 4, 6 และ 8 เพ่ือดูการเปล่ียนแปลงระหว่างการฝกึ 2. ควรมกี ารฝกึ พลังของกล้ามเนื้อดว้ ยวธิ พี ลยั โอเมตรกิ ในทักษะอื่นของกฬี าประเภทอ่นื
บรรณานกุ รม
76 บรรณานกุ รม กรมพลศกึ ษา. (2543). กจิ กรรมการทดสอบและสรา้ งเสริมสมรรถภาพทางกาย. กรุงเทพฯ : ผ้แู ต่ง. กษดิ ิ์เดช เกตุมณี. (2553). ผลการฝึกพลยั โอเมตริกที่มีตอ่ ความสามารถในการเตะเฉยี งของ นักกฬี ามวยไทย. ปรญิ ญานพิ นธ์การศกึ ษามหาบัณฑิต สาขาวิชาพลศกึ ษา บัณฑิต วทิ ยาลัย มหาวิทยาลยั ศรนี ครินทรวิโรฒ. การกีฬาแหง่ ประเทศไทย. (2545). คมู่ ือการทดสอบสมรรถภาพทางกายประชาชนไทย. กรงุ เทพฯ : ผแู้ ต่ง. จกั รพงษ์ ขาวถน่ิ , และ นภารินทร์ ชยั งาม. (2553). ผลของรปู แบบการฝกึ พลัยโอเมตริก ระยะเวลา 6 สัปดาห์ทมี่ ีต่อความเรว็ ในการวงิ่ และสมรรถภาพการกระโดดของนักกีฬา ฟตุ บอลเพศชาย. วารสารวิทยาศาสตร์การออกกาลงั กายและกฬี า คณะวทิ ยาศาสตร์การกีฬา มหาวทิ ยาลัยบูรพา, 7(1), 48-61. จตั วา อรจุล. (2555). สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ม.6. คน้ เมื่อ มีนาคม 22, 2563, จาก http://pptv-physicaleducation.blogspot.com. เจริญ กระบวนรัตน์. (2561). วทิ ยาศาสตร์การฝึกสอนกีฬา (พมิ พ์ครงั้ ที่ 2). กรุงเทพฯ : สนิ ธนาก๊อปปี้. ชาญชัย ยมดษิ ฐ์, และ วันใหม่ ประพนั ธ์บณั ฑิต. (2555). วิทยาศาสตร์การกฬี ากับการฝึก มวยไทย. ราชบุรี : วทิ ยาลยั มวยไทยศกึ ษาและการแพทย์แผนไทย มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง. ชาญชยั ยมดิษฐ์, และ สจั จา ไกรศร. (2560). ศกึ ษาแนวทางการใชศ้ ลิ ปะการต่อสู้มวยไทย ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงกีฬาในเขตภูมิภาคตะวนั ตก. กรงุ เทพฯ : เครือชาติ. คอบช. ถนอม โพธ์ิมี. (2552). ผลของการฝกึ พลยั โอเมตรกิ ท่ีมีต่อความเร็ว และกาลังกลา้ มเน้ือขา ของนกั ศึกษาชาย สถาบนั การพลศกึ ษาวทิ ยาเขตลาปาง. ปริญญานพิ นธ์การศกึ ษา มหาบัณฑติ สาขาวิชาพลศึกษา บณั ฑิตวทิ ยาลัย มหาวิทยาลยั ศรีนครนิ ทรวโิ รฒ. ทรูปลกู ปัญญา. (2559). ระบบกล้ามเน้อื . ค้นเมือ่ มีนาคม 24, 2563, จาก https://www.trueplookpanya.com/blog/content/63988 ธนาคาร เสถียรพูนสขุ . (2560). ผลการฝกึ พลัยโอเมตริกแบบวงจรดว้ ยยางรถ ทีม่ ตี ่อ ความเร็วและความคล่องแคลว่ ในนกั กีฬาฟตุ บอลโรงเรยี น. ปรญิ ญานพิ นธ์ การศกึ ษามหาบัณฑติ สาขาวชิ าวิทยาศาสตรก์ ารออกกาลังกายและการกีฬา คณะวทิ ยาศาสตรก์ ารกีฬา มหาวทิ ยาลัยบรู พา.
77 บรรณานกุ รม (ตอ่ ) ธรี ะศักดิ์ อาภาวัฒนาสกลุ . (2552). หลักวทิ ยาศาสตร์ในการฝึกกฬี า. กรุงเทพฯ : จฬุ าลงกรณ์ มหาวทิ ยาลยั . ประดิษฐ์ เหลา่ เนตร์, และ ณัฐภัสสร เหล่าเนตร.์ (2554). หนังสอื เรยี น ชีววิทยาเพ่มิ เติม ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 4-6. กรงุ เทพฯ : แมค็ . พิชติ ภตู ิจันทร์. (2547). วิทยาศาสตรก์ ารกฬี า. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์. ฟาวเซยี อศั วิน อะหมัด. (2559). ผลของการฝึกพลัยโอเมตรกิ ควบคู่กับการฝกึ แรงตา้ นดว้ ย ยางยืดที่มตี ่อความสามารถในการยืนกระโดดไกล. ปริญญานพิ นธ์การศึกษา มหาบัณฑิต สาขาวิชาพลศึกษา บัณฑติ วิทยาลัย มหาวทิ ยาลัยศรีนครินทรวโิ รฒ. ยทุ ธนา เรียนสร้อย. (2559). ผลของการฝึกพลัยโอเมตริกควบคกู่ ับการฝึกยืดเหยดี กล้ามเนอ้ื แบบกระตนุ้ การรับรูข้ องระบบประสาทกลา้ มเนื้อท่ีมีต่อพลังกล้ามเน้ือขา. วารสาร วิทยาศาสตร์การกฬี าและสุขภาพ, 17(2), 42-55. ยโู สบ ดาเตะ๊ , คมกฤช ไกรนรา, และ นฤดม แก้วประดิษฐ.์ (2560). ผลของการฝึกพลัยโอ เมตรกิ และการฝกึ สมอลไซด์เกมท่ีมตี ่อความคล่องตวั ในนักกฬี าฟุตบอล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลศรวี ชิ ัย. สงขลา : มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลศรีวชิ ัย. รุ่งนภา สงิ ห์สถติ , บารมี ชูชัย, และ นัฏกร สุขเสริม. (2562). การพัฒนาการท่องเทยี่ วเชิงกฬี า โดยใชศ้ ลิ ปะมวยไทยแบบบรู ณาการวถิ ไี ทย ภมู ิปัญญา ศิลปวัฒนธรรมท้องถนิ่ . กรุงเทพฯ : สานกั งานคณะกรรมการสง่ เสริมวทิ ยาศาสตร์ วิจัยและนวตั กรรม (สกสว). ลุมพินี มวยไทย. (2562). อที เี ข่าลอยสองชัน้ ตีโต้หลับทัง้ ยืน Beautiful Double Flying Knees KO!!! 7/9/62. ค้นเม่ือ มีนาคม 21, 2563, จาก https://www.youtube.com/watch?v= jJEpQ7PaaFE&t=227s วรเชษฐ์ จนั ติยะ. (2561). ผลของการฝกึ พลยั โอเมตรกิ แนวพน้ื ลาดเอียงแนวพื้นราบและ แบบผสมผสานท่ีมีต่อตัวแปรเชิงแอนแอโรบิกการเร่งความเรว็ และความสามารถ ในการกระโดด. ปริญญานิพนธ์ปรชั ญาดษุ ฎบี ัณฑติ สาขาวิชาวทิ ยาศาสตรก์ ารออก กาลงั กายและการกีฬา คณะวทิ ยาศาสตร์การกฬี า มหาวทิ ยาลัยบูรพา. วชั ระ สอนด.ี (2551). ผลของการฝึกดว้ ยวธิ ีพลัยโอเมตริกควบคกู่ ับการฝึกด้วยน้าหนักท่มี ี ตอ่ พลังกล้ามเน้อื ขาของนกั กรีฑาชาย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวโิ รฒ. ปรญิ ญา นิพนธ์การศึกษามหาบณั ฑิต สาขาวชิ าพลศกึ ษา บัณฑติ วิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวโิ รฒ.
78 บรรณานุกรม (ต่อ) ปฏิยุทธ์ิ ศริ สิ ขุ โภคา. (2558). ระบบกล้ามเนือ้ . คน้ เมื่อ มีนาคม 22, 2563, จาก https://sites.google. com/site/muscularsys/rabb-klam-neux. สนธยา สลี ะมาด. (2551). หลักการฝกึ กีฬาสาหรับผฝู้ ึกสอนกีฬา (พิมพ์คร้งั ที่ 3 ฉบบั ปรับปรุง). กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สาธติ ระวงิ ทอง. (2561). ผลการฝกึ พลยั โอเมตรกิ ควบคกู่ ับการฝึกด้วยน้าหนกั การฝกึ พลัย โอเมตริกและการฝึกดว้ ยน้าหนักที่มีต่อความสามารถในการกระโดดของนักกฬี า บาสเกตบอลหญิง. ปรญิ ญานิพนธก์ ารศึกษามหาบณั ฑติ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การ ออกกาลังกายและการกฬี า บัณฑิตวิทยาลัย มหาวทิ ยาลยั ศรีนครนิ ทรวิโรฒ. สานกั งานคณะกรรมการการกฬี ามวย ฝา่ ยกีฬาอาชพี และกีฬามวย การกีฬาแหง่ ประเทศไทย กระทรวงการท่องเท่ียวและกีฬา. (2563). คมู่ อื ผู้ตดั สินกีฬามวยไทยอาชีพ ระดับ C License. กรงุ เทพฯ : ผแู้ ต่ง. . (2554). เอกสารประกอบหลักสูตรสมรรถนะครมู วยไทย ระดับครผู ชู้ ่วย C License. กรุงเทพฯ : ผู้แต่ง. สานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแหง่ ชาติ. (2540). ศลิ ปะมวยไทย. กรงุ เทพฯ : ผูแ้ ต่ง. สานักพัฒนาการพลศึกษา สุขภาพ และนนั ทนาการ กรมพลศึกษา กระทรวงศึกษาธกิ าร. (2541). การศกึ ษาสมรรถภาพทางกายของนักเรยี นประถมศกึ ษา ระดบั อายุ 7-9 ปี. กรุงเทพฯ : ผแู้ ต่ง. สานักวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร. (2553). 100 ปี วรรณคดสี โมสร. กรงุ เทพฯ : ผ้แู ตง่ . สานักวฒั นธรรม กีฬา และการท่องเทีย่ ว กรุงเทพมหานคร. (2555). มวยไทยกระบวนยุทธ์ แห่งสยาม. กรุงเทพฯ : ผู้แตง่ . สาราญ สขุ แสวง. (2560). ศาสตรแ์ ละศิลปะมวยไทย. ราชบุรี : มหาวิทยาลยั ราชภัฏหมบู่ า้ น จอมบงึ . สิทธิศกั ด์ิ บญุ หาญงาม. (2555). ผลของการฝกึ พลัยโอเมตริก ควบค่กู ับการฝึกเอสเอ คิวท่ีมี ต่อความเร็วในการว่ิง 50 เมตร. ปริญญานิพนธ์การศึกษามหาบณั ฑติ สาขาวชิ า พลศึกษา บัณฑติ วทิ ยาลัย มหาวิทยาลัยศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ.
79 บรรณานกุ รม (ต่อ) สรุ วฒุ ิ กาพยเ์ กิด. (2551). ผลของการฝกึ พลัยโอเมตริกที่มีตอ่ ความสามารถในการกระโดด เท้าคู่. ปริญญานิพนธ์วทิ ยาศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาวทิ ยาศาสตร์การกีฬา บณั ฑิต วิทยาลัย มหาวิทยาลยั ศรีนครินทรวิโรฒ. หรติ หตั ถา, บรรจบ ภิรมยค์ า, และ วัลลยี ์ ภทั โรภาส. (2557). ผลการศึกษาผลของการฝึก พลัยโอเมตริกที่มตี ่อความคล่องแคล่วว่องไวของนักกฬี าฟตุ ซอล. วารสาร วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยีการกีฬา, 14(2), 53-63. อนุวัฒน์ ถืออยู่. (2546). การใช้ทกั ษะมวยไทยสมัครเลน่ ในการแข่งขนั กฬี าวทิ ยาลัยพล ศึกษาแหง่ ประเทศไทย ครงั้ ท่ี 28. ปรญิ ญานพิ นธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชา พลศกึ ษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวทิ ยาลัยศรนี ครินทรวิโรฒ. อะไลฟ์. (2559). คูเ่ อกคมชดั ลึกมวยไทย \"รุง่ เกียรติ\" ชนะนอ็ ค \"ฉลามทอง\". คน้ เมื่อ มีนาคม 21, 2563, จาก https://www.youtube.com/watch?v=xUObOkeOPaw. เอกพจน์ คงสมนึก. (2559). การสรา้ งเกณฑ์ทดสอบทกั ษะกีฬาฟตุ ซอลสาหรบั นักเรียนชาย ช่วงชนั้ ที่ 1 โรงเรียนเซนต์โยเซฟนครสวรรค์ จ.นครสวรรค.์ วิทยานิพนธค์ รุศาสตร มหาบณั ฑิต สาขาวิชาพลศึกษา บัณฑิตวทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครสวรรค.์ Bompa, O. (1993). Perriodization of strength: The new wave in strength training. Toronto: Veritas. Chelly, M. S., Hermassi, S., Aouadi, R., & Shephard, R. J. (2014). Effects of 8-week in-season plyometric training on upper and lower limb performance of elite adolescent handball players. The Journal of Strength and Conditioning, 28(5), 1401-1410. Kannas, T. M., Kellis, E., & Amiridis, I. G. (2011). Biomechanical differences between incline and plane hopping. Journal of Strength and Conditioning Research, 25(12), 3334-3341. Kisner, C., & Colby L. A. (2002). Therapeutic exercise: foundations and techniques. Philadelphia: FA Davis. Ramírez, C. R., Andrade D. C., & Izquierdo, M. (2013). Effects of plyometric training volume and training surface on explosive strength. The Journal of Strength and Conditioning, 27(10), 14-22.
80 บรรณานกุ รม (ต่อ) Strand, B. N., & Wilson, R. (1993). Assessing sport skills. Illinois: Human Kinetics. Valades, D., Palao, J. M., Femia, P. & Ureña. (2017). Effect of eight weeks of upper-body plyometric training during the competitive season on professional female volleyball players. The Journal of Sports Medicine and Physical Fitness, 57(7), 942-952.
ภาคผนวก
82 ภาคผนวก ก รายช่อื ผู้เช่ยี วชาญตรวจสอบเคร่ืองมอื ในการวิจยั
83 รายชื่อผ้เู ช่ยี วชาญตรวจสอบเครอื่ งมือในการวิจยั 1. ผชู้ ่วยศาสตราจารยส์ ุรัตน์ เสียงหลอ่ ผ้ฝู ึกสอนมวยไทยอาชีพและมวยไทยสมัครเล่น ทมี ชาตไิ ทย มีความเช่ียวชาญทางดา้ นมวยไทย 2. ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ราชันย์ เฉลียวศลิ ป์ อาจารยป์ ระจาคณะวทิ ยาศาสตรก์ ารกฬี าและ สขุ ภาพ มหาวทิ ยาลัยการกฬี าแหง่ ชาติ วทิ ยาเขตสุพรรณบรุ ี มีความเชย่ี วชาญวทิ ยาศาสตร์การกฬี า 3. ว่าทีร่ ้อยตรี ตระกลู กาชยั นกั วิทยาศาสตรก์ ารกฬี า 6 การกีฬาแหง่ ประเทศไทย มคี วามเชี่ยวชาญทางดา้ นการทดสอบ สมรรถภาพทางกาย
84 ภาคผนวก ข ผลการวเิ คราะค่าดัชนคี วามสอดคลอ้ งของโปรแกรม 1. ค่า IOC โปรแกรมการฝึกพลยั โอเมตรกิ แบบสถานี 6 สถานี 2. ค่า IOC แบบทดสอบความสามารถในการกระโดดเข่าลอยของนกั ศกึ ษา มวยไทยศกึ ษาและพลศกึ ษา
85 ตารางที่ 4 คา่ IOC โปรแกรมการฝึกพลยั โอเมตริก แบบสถานี 6 สถานี ความเห็นของ เนอ้ื หา ผู้ทรงคุณวุฒิ ∑ ������ IOC 123 สปั ดาห์ท่ี 1-2 สถานีที่ 1 คาล์ฟ เรส (calf raise) ให้ผู้ฝึกอยู่ในท่าเริ่มต้น ยืนตัวตรงเท้าชิด ออกแรงเกร็งกล้ามเน้ือน่องและยกส้นเท้า +1 +1 +1 3 1.00 ข้ึนจนสุด ค่อย ๆ ลดส้นเท้าลงจนแตะพ้ืน กลับสู่ท่าเริ่มต้น นับเป็น 1 ครั้ง ทา 3 เซต เซตละ 12 คร้ัง พักระหว่างเซต 2 นาที สถานีท่ี 2 สควอท (squat) ให้ผู้ฝึกอยู่ในท่าเริ่มต้น ยืนแยก ขาเท่าช่วงไหล่ ย่อเข่าลงโดยให้เข่าหน้าและสะโพกทามุม +1 +1 +1 3 1.00 90º ลาตัวโน้มไปข้างหน้าเล็กน้อย ยืดขาทั้งสองข้างขึ้น พร้อมกัน กลับไปสู่ท่าเริ่มต้น ทาติดต่อกันจนครบ 3 เซต เซตละ 12 คร้งั พักระหวา่ งเซต 2 นาที สถานีที่ 3 กู๊ด มอร์น่ิง (good morning) ให้ผู้ฝึกอยู่ในท่า เรมิ่ ตน้ ยืนโดยแยกเท้าห่างจากกนั หน่ึงช่วงไหล่และวางมือไว้ +1 +1 +1 3 1.00 ที่ด้านหลังศีรษะ ผลักสะโพกไปด้านหลังและก้มตัวลงไป เกือบขนานพ้ืน เข่างอได้เล็กน้อย กลับไปสู่ท่าเริ่มต้น ทาติดต่อกันจนครบ 3 เซต เซตละ 12 ครั้ง พักระหว่างเซต 2 นาที สถานีที่ 4 ลัช (lunge) ให้ผู้ฝึกอยู่ในท่าเร่ิมต้น ยืนแยกขา เท่าช่วงไล่ กา้ วเท้าขวาไปด้านหน้าหนงึ่ กา้ ว ย่อเข่าลงโดยให้ +1 +1 +1 3 1.00 เขา่ หน้าและสะโพกทามุม 90º สว่ นเขา่ หลังต้องอยู่หลังแนว กึ่งกลางลาตวั แขนขนานกบั ลาตวั กลับสู่ท่าเร่มิ ต้น ทา ติดต่อกันจนครบ 3 เซต เซตละ 12 ครั้ง พักระหว่างเซต 2 นาที
86 ตารางที่ 4 (ต่อ) ความเหน็ ของ เน้อื หา ผู้ทรงคณุ วุฒิ ∑ ������ IOC 123 สถานีที่ 5 วอล์คก้งิ ลัชส์ (walking lunges) เรมิ่ ต้น ยนื แยก ขาเท่าช่วงไล่ ก้าวเท้าขวาไปด้านหน้า ย่อเข่าลงโดยให้เข่า +1 +1 +1 3 1.00 หนา้ และสะโพกทามมุ 90º ส่วนเข่าหลงั อยู่หลังแนวก่งึ กลาง ลาตัว กลับสู่ท่าเร่ิมต้น ก้าวเท้าซ้ายไปด้านหน้าหน่ึงก้าว ย่อ เข่าลงโดยให้เข่าหน้าและสะโพกทามุม 90º ส่วนเข่าหลังอยู่ หลังแนวกง่ึ กลางลาตัว กลบั สู่ทา่ เร่ิมต้น ทาตดิ ตอ่ กันจนครบ 3 เซต เซตละ 12 ครั้ง พักระหว่างเซต 2 นาที ท่าวอล์คก้ิง ลัชส์ (walking lunges) จะเปน็ ลักษณะการเดินไปดา้ นหน้า สถานีที่ 6 รีเวิร์ส ลัช นี อัพ (reverse lunge knee up) เริ่มต้น ยืนแยกขาหน้าหลัง ย่อเข่าลงโดยให้เข่าหน้าและ +1 +1 +1 3 1.00 สะโพกทามุม 90º ส่วนเข่าหลังอยู่หลังแนวก่ึงกลางลาตัว ยืดขาท่ีอยู่ด้านหน้าขึ้นพร้อมยกขาด้านหลังไปด้านหน้าข้ึน ให้สะโพกทามุม 90º กลับลงสู่พ้ืนด้วยท่าเริ่มต้น และทา ติดต่อกันจนครบ 12 ครั้ง และสลับข้างฝึก นับเป็น 1 เซต ทา 3 เซต เซตละ 12 ครั้ง พกั ระหวา่ งเซต 2 นาที สัปดาห์ที่ 3-4 สถานีที่ 1 โปโก จัมพ์ (pogo jump) ให้ผฝู้ กึ อยใู่ นท่าเร่ิมต้น เท้าออกชิด แยกเท้าออกเล็กน้อย แขนขนานกับลาตัว +1 +1 +1 3 1.00 กระโดดขึ้นไป เข่าตึง อยู่กับที่ ลงสู่พื้นด้วยจมูกเท้าท้ังสอง ข้างพร้อมกัน และกระโดดขึ้นอีกทันทีท่ีลงสู่พื้น กระโดด ติดต่อกันจนครบ 3 เซต เซตละ 10 ครั้ง พักระหว่างเซต 2 นาที
87 ตารางที่ 4 (ตอ่ ) ความเห็นของ เนอ้ื หา ผู้ทรงคุณวฒุ ิ ∑ ������ IOC 123 สถานีท่ี 2 จัมพป์ ้งิ แจ็ค (jumping jack) ใหผ้ ู้ฝกึ อยู่ในท่ายนื โดยให้เท้าชิดกันและวางมือไว้ท่ีด้านข้างลาตัว การกระโดด +1 +1 +1 3 1.00 ข้นึ พร้อมกลางขาออกและยกแขนทงั้ สองขา้ งเหนอื ศีรษะ ลง พ้ืนโดยให้เท้าทั้งสองข้างกลางออก การกระโดดขึ้นพร้อม หุบขาเข้าหากันและวางมือไว้ที่ด้านข้างลาตัว กระโดด ติดต่อกันจนครบ 3 เซต เซตละ 10 ครั้ง พักระหว่างเซต 2 นาที สถานีที่ 3 สปลิท จัมพ์ (split jump) ให้ผู้ฝึกอยู่ในท่า เร่ิมต้น ยืนแยกขาหน้าหลัง ย่อเข่าลงโดยให้เข่าหน้าและ +1 +1 +1 3 1.00 สะโพกทามุม 120º ส่วนเข่าหลังต้องอยู่หลังแนวกึ่งกลาง ลาตัว แขนขนานกับลาตัว กระโดดข้ึนให้สุดกาลัง โดย เหว่ียงแขนข้ึนพร้อมกันเหนือศีรษะ กลับลงสู่พ้ืนด้วยท่า เริ่มต้นเริ่มต้น และกระโดดขึ้นอีกทันทีที่ลงสู่พื้นสมบูรณ์ กระโดดตดิ ตอ่ กนั จนครบ 12 ครง้ั และสลบั ขา้ งใชอ้ กี ขาหน่ึง นับเปน็ 1 เซต ทา 3 เซต เซตละ 10 ครั้ง พกั ระหวา่ งเซต 2 นาที สถานีท่ี 4 ซิสเซอร์ส จัมพ์ (scissors jump) ให้ผู้ฝึกอยู่ใน ท่าเร่ิมต้น ยืนแยกขาหน้าหลัง ย่อเข่าลงโดยให้เข่าหน้าและ +1 +1 +1 3 1.00 สะโพกทามุม 90º ส่วนเข่าหลังต้องอยู่หลังแนวกึ่งกลาง ลาตัว แขนขนานกับลาตัว กระโดดข้ึนให้สุดกาลัง โดย เหวี่ยงแขนข้ึนพร้อมกับสลับขากลับลงสู่พ้ืนด้วยท่าเร่ิมต้น เริ่มต้น และกระโดดข้ึนอีกทันทีที่ลงสู่พ้ืน กระโดดติดต่อกัน จนครบ 3 เซต เซตละ 10 ครั้ง พักระหว่างเซต 2 นาที
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193