Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรประถม

หลักสูตรประถม

Published by Thirasak Kanjanarak, 2021-01-19 06:32:17

Description: หลักสูตรประถม

Search

Read the Text Version

๑ ความสาคัญ สุขภาพมีความสาคัญย่ิงต่อชีวิตความเป็นอยู่ท่ีดี (Well Being) ของคนแต่ละคนและสังคม สุขภาพจึงหมายรวมทั้งมิติด้านความเจริญเติบโตและพัฒนาการของบุคคลทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สงั คม และจิตวญิ ญาณ ซง่ึ ส่งผลต่อคุณภาพชวี ิตโดยรวมของตน สุขศึกษาและพลศึกษา มีบทบาทสาคัญย่ิงต่อการพัฒนาสุขภาพและสมรรถภาพของมนุษย์ ให้มีความสมบูรณ์ ความสมดุล และมีคุณภาพ ให้ผู้เรียนมีความสามารถเรียนรู้ และเกิดการพัฒนา เกี่ยวกับความม่ันใจในตนเอง ตระหนักในคุณค่า คิดอย่างมีจิตวิญญาณ มีความรับผิดชอบสามารถ ตัดสินใจ และเลือกวิธีปฏิบัติในการดูแลสุขภาพของตนเอง และผู้อ่ืนตลอดจนการมีส่วนร่วมในการ สร้างความม่ันใจในชีวติ ความเป็นอยู่ท่ดี ี และความปลอดภยั ของผ้อู น่ื บนพื้นฐานของความเปน็ ไทย ธรรมชาติและลกั ษณะเฉพาะ สถานการณเ์ ป็นปัญหาสขุ ภาพและสาธารณสุขในปัจจุบัน เปล่ียนแปลงไปตามความก้าวหน้า ทางเทคโนโลยี จากเดิมทม่ี ีปญั หาโรคติดเชื้อ เช่น โรคไข้ทรพิษ อหิวาตกโรค โปลิโอ เท้าช้าง ฯลฯ มา เป็นปัญหาโรคไข้เชื้อเรื้อรังท่ีสามารถปูองกันได้ เช่น โรคหัวใจและหลอดเลือดเบาหวาน มะเร็ง ฯลฯ โดยมีสาเหตุสาคัญมาจากการมีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ถูกต้องของบุคคล ตลอดจนปัญหา สภาพแวดล้อมทั้งทางกายภาพและทางสังคมท่ีนับวันแนวโน้มของปัญหาจะทวีความรุนแรงมากข้ึน การรักษาพยาบาลจึงเปน็ การแก้ไขปัญหาท่ีปลายเหตุ ดังนั้น เพื่อให้สอดคล้องกับแนวคิดตามรัฐธรรมนูญ พุทธศักราช ๒๕๔๐ ที่ว่า สุขภาพเป็น สิทธพิ ื้นฐานของมนษุ ยชน การจดั การเรียนการสอนสขุ ศึกษาและพลศกึ ษา จงึ เปน็ การสร้างโอกาสเพ่ือ การเรียนรู้ทางปัญญาและเป็นการวางรากฐานด้านสุขภาพให้เข้มแข็ง มุ่งสู่การเตรียมความพร้อมเพ่ือ ปูองกันปญั หาสขุ ภาพตัง้ แตเ่ ร่ิม ใหส้ ามารถเผชิญปญั หาและสภาวการณ์ท่ีคุกคามสุขภาพไดต้ ลอดไป กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา มุ่งเน้นการพัฒนาการเรียนรู้ด้านปัญญา พัฒนา ระบบความคิดอย่างมีวิจารณญาณ การตัดสินใจและการแก้ปัญหา โดยการให้ผู้เรียนเรียนรู้เกี่ยวกับ ตนเอง เข้าใจธรรมชาติและชีวิต รู้จักและเข้าใจตนเอง เห็นคุณค่าของตนเองและผู้อื่น รักการออก กาลังกาย และเล่นกีฬา รวมท้ังมีคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่ดี เพื่อให้สามารถปฏิบัติตนได้ ถูกต้องเหมาะสม ทั้งในด้านการปูองกัน การส่งเสริม และดารงไว้ซ่ึงสุขภาพท่ีดีอย่างถาวรท้ังตนเอง ครอบครวั และชุมชน

๒ วิสยั ทัศน์ สุขศึกษาและพลศึกษาเป็นการศึกษาด้านสุขภาพท่ีมีเปูาหมาย เพื่อการดารงการส่งเสริม สุขภาพและการพฒั นาคณุ ภาพชีวติ ของบุคคล ครอบครัว และชมุ ชนใหย้ ั่งยนื สุขศึกษา มุ่งเน้นให้ผู้เรียนเกิดการพัฒนาพฤติกรรมด้านความรู้ เจตคติ คุณธรรม ค่านิยม และการปฏบิ ัติเกี่ยวกับสขุ ภาพควบคดู่ ว้ ยกัน พลศึกษา มุ่งเน้นให้ผู้เรียนเกิดการพัฒนาโดยรวมท้ังด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สติปัญญา และสงั คม ด้วยการเข้าร่วมในกิจกกรมการออกกาลังกายและกีฬา และกิจกรรมเหล่านั้นได้รับการคัด สรรมาเปน็ อยา่ งดแี ลว้ สุขศึกษาและพลศึกษาจึงมุ่งเน้นให้ผู้เรียนเกิดความสามารถในการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ จนมีวิถีชีวิตที่มีสุขภาพดี โดยให้มีท้ังความรู้ ความเข้าใจ ทักษะหรือกระบวนการ และคุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ มตามแนวการจดั การศึกษาในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ คณุ ภาพของผู้เรยี น จบช้ันประถมศกึ ษาปีที่ ๓ - มีความรู้และเข้าใจในเรื่องการเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์ ปัจจัยที่มีผลต่อการ เจริญเตบิ โตและพฒั นาการ วธิ กี ารสร้างความสมั พนั ธภาพในครอบครัวและกลมุ่ เพือ่ น - มีสุขนิสัยท่ีดีในการกิน การพักผ่อนนอนหลับ การรักษาความสะอาดอวัยวะทุกส่วนของ รา่ งกาย การเล่นและการออกกาลงั กาย - ปูองกันตนเองจากพฤติกรรมท่ีอาจนาไปสู่การใช้สารเสพติด การถูกล่วงละเมิดทางเพศ และ รจู้ ักปฏิเสธในเรอ่ื งทีไ่ มเ่ หมาะสม - ควบคุมการเคลื่อนไหวของตนเองได้ตามพัฒนาการในแต่ละช่วงอายุ มีทักษะการเคล่ือนไหว ข้ันพื้นฐาน และมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางกาย กิจกรรมสร้างเสริมสมรรถภาพทางกายเพื่อ สุขภาพและเกมไดอ้ ย่างสนุกสนานและปลอดภยั - ปฏิบตั ิตนได้อย่างถกู ต้องเหมาะสมเม่ือมีปญั หาทางอารมณ์ และปัญหาสุขภาพ - ปฏิบัติตนตามกฎระเบียบ ข้อตกลง คาแนะนา และขั้นตอนต่างๆ และให้ความร่วมมือกับ ผู้อนื่ ด้วยความเตม็ ใจจนงานประสบความสาเร็จ - ปฏบิ ัตติ ามสิทธิของตนเองและเคารพสิทธิของผู้อืน่ ในการเล่นเป็นกลุ่ม

๓ สมรรถนะสาคญั ของผ้เู รียนและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ สมรรถนะสาคัญของผ้เู รยี น หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ มุ่งให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะ ๕ ประการดังน้ี 1. ความสามารถในการส่ือสาร เป็นความสามารถในการรับและการส่งสาร มี วัฒนธรรมในการใช้ภาษาถ่ายทอดทางความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และ ทัศนะของตนเอง เพื่อแลกเปล่ียนข้อมูลข่าวสารและประสบการณ์ อันจะเป็นประโยชน์ ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาต่อรองเพ่ือขจัดและลดปัญหาความ ขัดแย้งต่างๆ การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลละความถูกต้อง ตลอดจนการเลอื กใชว้ ธิ ีการสอื่ สารท่มี ีประสิทธิภาพ โดยคานึงถึงผลกระทบท่ีมีต่อตนเอง และสงั คม 2. ความสามารถในการคิด เป็นความสารถในการคิกวิเคราะห์ การคิด สังเคราะห์ การคิกอย่างสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพ่ือนาไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือสารสนเทศเพ่ือการตัดสินใจเก่ียวกับตนเอง และ สังคมไดอ้ ย่างเหมาะสม 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสารถในการแก้ปัญหาและ อปุ สรรคตา่ งๆ ท่ีเผชิญไดอ้ ย่างถกู ต้องเหมาะสมบนพ้นื ฐานของหลักเหตผุ ล คุณธรรมและ ข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์และการเปล่ียนแปลงของเหตุการณ์ต่างๆในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการปูองกันและแก้ไขปัญหา และมีการตัดสินใจ ท่มี ปี ระสทิ ธภิ าพ โดยคานึงถึงผลกระทบท่ีเกิดข้นึ กบั ตนเอง สงั คม และสงิ่ แวดลอ้ ม 4. ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวติ เปน็ ความสามารถในการนากระบวนการ ต่างๆไปใช้ในการดาเนินชีวิตประจาวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเน่ือง การทางานและการอยู่ร่วมกันในสังคมด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่าง บุคคล การจัดการปัญหา และความขัดแย้งต่างๆอย่างเหมาะสม การปรับตัวให้ทันกับ การเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และรู้จักการหลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่พึง ประสงคท์ สี่ ง่ ผลกระทบต่อตนเองและผ้อู ื่น 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยีดา้ นตา่ งๆและมีทกั ษะกระบวนการเทคโนโลยี เพ่ือการพฒั นาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร การทางาน การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ถูกต้อง เหมาะสม และมีคุณธรรม คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ หลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ เพื่อใหส้ ามารถอยรู่ ่วมกับผอู้ นื่ ในสงั คมไดอ้ ย่างมคี วามสขุ ในฐานเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ดงั นี้

๔ 1. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ 5. อยู่อย่างพอเพียง 2. ซือ่ สัตยส์ จุ ริต 6. มุ่งมน่ั ในการทางาน 3. มีวนิ ยั 7. มีจิตสาธารณะ 4. ใฝเุ รียนรู้ สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา สาระ มาตรฐาน สาระท่ี ๑ มาตรฐาน พ๑.๑ เขา้ ใจธรรมชาตขิ องการเจรญิ เติบโตและ พฒั นาการของมนุษย์ การเจรญิ เตบิ โตและพฒั นาการของ มนษุ ย์ สาระที่ ๒ มาตรฐาน พ๒.๑ เข้าใจและเหน็ คณุ คา่ ของตนเอง ชวี ติ และครอบครวั ครอบครวั เพศศึกษา และมีทักษะในการดาเนนิ ชีวิต สาระที่ ๓ มาตรฐาน พ๓.๑ เข้าใจ มที ักษะในการเคล่ือนไหว การเคลอ่ื นไหว การออกกาลงั กาย กจิ กรรมทางกาย การเลน่ เกม และกีฬา การเลน่ เกมกฬี าไทย และกีฬาสากล มาตรฐาน พ๓.๒ รักการออกกาลงั กาย การเลน่ เกม และ การกีฬา ปฏบิ ัตเิ ปน็ ประจาอย่างสม่าเสมอ มีวินยั เคารพ สทิ ธิ กฎ กติกา มีนา้ ใจนักกีฬา มีจติ วญิ ญาณในการ แข่งขัน และช่นื ชมในสนุ ทรภี าพของการกฬี า สาระท่ี ๔ มาตรฐาน พ๔.๑ เห็นคุณค่าและมที ักษะในการสรา้ งเสริม สขุ ภาพ การดารงสุขภาพ การปูองกนั โรค และการสรา้ ง การสร้างเสริมสุขภาพ สมรรถภาพ เสรมิ สมรรถภาพเพ่ือสุขภาพ และการป้องกันโรค สาระที่ ๕ มาตรฐาน พ๕.๑ ปอู งกันและหลีกเลีย่ งปจั จัยเสีย่ ง ความปลอดภัยในชีวิต พฤติกรรมเส่ยี งต่อสขุ ภาพ อุบัติเหตุ การใช้ยาสารเสพติด และความรนุ แรง

ตัวชว้ี ดั สาระการเรียนรแู้ กนกล ชน้ั ประถมศึก สาระ มาตรฐาน/ตัวช้ีวดั สาระ สาระที่ ๑ การเจริญเตบิ โตและ การพัฒนาการของมนุษย์ พ๑.๑ เข้าใจธรรมชาติของกาเจริญเติบโต - ลักษณะแล สาระที่ ๒ ชีวิตและครอบครัว และพฒั นาการของมนษุ ยต์ วั ชีว้ ัด การเจริญเติบโ 1. อธิบายลักษณะและหน้าท่ีของอวัยวะ ตา หู คอ จม ภายนอก อวัยวะในชอ่ งป 2. อธบิ ายวธิ ดี แู ลรักษาอวัยวะภายนอก - การดแู ลรักษ  ตา ห เท้า เล็บ ผิวหน  อวยั พ ๒.๑ เข้าใจและเห็นคุณค่าของตนเอง - สมาชิกในคร ครอบครัว เพศศึกษา และมีทักษะในการ - ความรักควา ดาเนินชวี ิต - สิง่ ที่ช่ืนชอบแ ตัวช้วี ดั (จุดเดน่ จดุ ด้อย 1. ระบุสมาชิกในครอบครัวและความ - ลักษณะความ รกั ความผูกพนของสมาชิกทมี่ ตี ่อกัน  ร่างก 2. บอกสิ่งท่ีชื่นชอบและภาคภูมิใจใน ตนเอง 3. บอกลักษณะความแตกต่างระหว่างเพศ ชาย เพศหญงิ 4.

๕ ลางและสาระการเรียนรทู้ ้องถนิ่ กษาปีที่ ๑ ะการเรียนรแู้ กนกลาง สาระการเรยี นรู้ท้องถ่นิ ต้องรู้ ควรรู้ ละหน้าท่ีของอวัยวะภายนอกที่มี การใช้สมุนไพรพ้ืนบ้านในการดูแลรักษา  โตและพัฒนาการไปตามวัย เช่น สุขภาพ เช่น ขม้ินบารุงผิวพรรณ ข่ารักษา มูก ผม มือ เท้า เล็บ ผิวหนัง เกล้อื น ขีเ้ หลก็ ใช้เปน็ ยาระบาย ฯลฯ ปาก ลน้ิ ฟัน เหงอื ก ษาอวัยวะภายนอก หู คอ จมูก ปาก ล้ิน ฟัน ผม มือ นัง ยวะในช่องปาก ล้นิ ฟัน เหงอื ก รอบครวั  ามผูกพนั ของสมาชิกในครอบครวั และความภาคภูมใิ จในตนเอง ยของตนเอง) มแตกตา่ งของเพศชาย เพศหญิง กาย อารมณ์ ลกั ษณะนสิ ัย

สาระ มาตรฐาน/ตวั ช้ีวดั สาระ สาระที่ ๓ การเคล่ือนไหว การ พ ๓.๑ เข้าใจ มีทักษะในการเคลื่อนไหว - ธรรมชาติข ออกกาลังกาย การเลน่ เกม กจิ กรรมทางกาย การเลน่ เกมและกฬี า ชีวติ ประจาวนั กฬี าไทย และกีฬาสากล ตวั ชีว้ ัด  แบบอยู่ก เคลอื่ นไหวร่างกายขณะอยู่กบั ท่ี เคลอ่ื นท่ี ซา้ ย-ขวา เคล่ือ 1. เล่นเกมเบ็ดเตล็ดและเข้าร่วมกิจกรรม  แบบเคล่ือ ทางกายทใี่ ช้ การเคลอ่ื นไหวตามธรรมชาติ ตวั  แบบใช้อุป เคาะ -กิจกรรมทา ธรรมชาติ  การเลน่ เก พ ๓.๒ รักการออกกาลังกาย การเล่นเกม - การออกกาล และการเล่นกีฬา ปฏิบัติเป็นประจาอย่าง - กฎ กติกา ข สม่าเสมอ มีวินัย เคารพสิทธ์ิ กฎ กติกา มี น้าใจนักกีฬา มีจิตวิญญาณในการแข่งขัน และช่นื ชมในสุนทรภี าพของการกฬี า ตวั ชวี้ ดั 1. ออกกาลังกายและเล่นเกมตามคาแนะนา อยา่ งสนกุ สนาน ปฏิบัติตามกฎ กติกา ข้อตกลงในการเล่น เกมตามคาแนะนา

๖ ะการเรียนรูแ้ กนกลาง สาระการเรียนรู้ท้องถ่นิ ต้องรู้ ควรรู้ ของการเคล่ือนไหวร่างกายใน เกม/การละเล่นพื้นเมืองท่ีนิยมเล่นใน  ท้องถิ่น กับที่ เช่น นั่ง ยืน ก้ม เงย เอียง อนไหวขอ้ มือ ข้อเท้า แขน ขา อนท่ี เช่น เดิน ว่ิง กระโดด กล้ิง ปกรณ์ประกอบ เช่นจับ โยนเตะ างกายท่ีใช้การเคล่ือนไหวตาม กมเบด็ เตล็ด  ลังกายและการเล่นเกมเบ็ดเตล็ด- เกม/การละเล่น/กีฬาพ้ืนเมืองท่ีนิยมเล่นใน ข้อตกลงในการเล่นเกมเบ็ดเตล็ด ทอ้ งถ่นิ

สาระ มาตรฐาน/ตัวชี้วัด สาระ สาระท่ี ๔ การสร้างเสรมิ พ ๔.๑ เห็นคุณค่าและมีทักษะในการสร้าง - การปฏิบัตติ สขุ ภาพ สมรรถภาพ และ เสริมสุขภาพ การดารงสุขภาพ การ - ลกั ษณะอาก การปอู งกนั โรค ปอ้ งกนั โรค และการสรา้ งเสริมสมรรถภาพ  ปวดศ เพ่อื สุขภาพ  ปวดท - วิธปี ฏิบัติตน ตัวชีว้ ัด ขนึ้ กับตนเอง 1. ปฏิบัติตนตามหลักสุขบัญญัติแห่งชาติ ตามคาแนะนา 2. บอกอาการเจ็บปุวยท่เี กิดข้นึ กับตนเอง ป ฏิ บั ติ ต น ต า ม ค า แ น ะ น า เ ม่ื อ มี อ า ก า ร เจ็บปุวย สาระที่ ๕ ความปลอดภยั ใน พ ๕.๑ ป้องกันและหลีกเล่ียงปัจจัยเส่ียง - สิ่งท่ที าให้เก ชีวติ พฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ อุบัติเหตุ การ โรงเรียน - การปอู งกนั อ ใช้ยา สารเสพติด และความรุนแรง โรงเรยี น ตวั ชีว้ ดั - อนั ตรายจาก 1. ระบุส่ิงที่ทาให้เกิดอันตรายท่ีบ้าน โรงเรียน และการปูองกนั  สาเหต  การปอู 2. บอกสาเหตุและการปูองกันอันตรายที่เกิด จากการเลน่ แสดงคาพดู หรอื ท่าทางขอความช่วยเหลอื

๗ ะการเรยี นรู้แกนกลาง สาระการเรยี นรูท้ อ้ งถิ่น ต้องรู้ ควรรู้ ตนตามหลักสุขบัญญัติแหง่ ชาติ  การเจ็บปวุ ยทีเ่ กิดข้ึนกับตนเอง การใช้สมุนไพรในท้องถ่ินในการดูแลรักษา  ศีรษะ ตวั ร้อน มนี ้ามูก สุขภาพของตนเอง ทอ้ ง ผน่ื คนั ฟกชา้ นเมื่อมีอาการเจบ็ ปวุ ยทเี่ กดิ กดิ อันตรายภายในบา้ นและ  อันตรายภายในบา้ นและ กการเลน่ ตทุ ่ีทาใหเ้ กิดอนั ตรายจากการเล่น องกนั อนั ตรายจาการเล่น

ตวั ชว้ี ัด สาระการเรียนรูแ้ กนกล ชั้นประถมศึก สาระ มาตรฐาน/ตวั ชี้วดั สา ร ะ ที่ สส า ร ะ ท่ี ๑ ก า ร พ ๑.๑ เข้าใจธรรมชาติของการเจริญเติบโต และ ลักษณ เจริญเติบโตและพัฒนาการของ พัฒนาการของมนษุ ย์ตัวชีว้ ัด เจรญิ เต มนษุ ย์ 1. อธิบายลักษณะและหน้าท่ีของอวัยวะ ตับ ปอด ภายใน การดูแล 2. อธบิ ายวธิ ีดแู ลรักษาอวัยวะภายใน - การร 3. อธิบายธรรมชาตขิ องชวี ิตมนุษย์ - การอ - การก  สาระที่ ๒ สาระที่ ๒ พ ๒.๑ เข้าใจและเห็นคุณค่าของตนเอง ครอบครัว - บทบ ชีวติ และครอบครัว เพศศึกษาและทกั ษะในการดารงชีวติ  ตวั ช้วี ัด 1. ระบุบทบาทหน้าท่ีของตนเองและสมาชิกใน  ครอบครวั  2. บอกความสาคญั ของเพือ่ น 3. ระบพุ ฤตกิ รรมท่เี หมาะสมกบั เพศ  - อธิบายความภาคภูมิใจในความเป็นเพศหญิงหรือ - เพศชาย

๘ ลางและสาระการเรียนร้ทู ้องถิน่ สาระการเรยี นรทู้ ้องถิ่น ตอ้ งรู้ ควรรู้ กษาปีที่ ๒  สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง  ะและหน้าที่ของอวัยวะภายในที่มีการ ติบโตและพฒั นาการไปตามวัย (สมอง หัวใจ ด กระเพาะอาหาร ลาไส้ ฯลฯ) ลรกั ษาอวัยวะภายใน ระมดั ระวงั การกระแทก ออกกาลงั กาย กนิ อาหาร ธรรมชาติของชวี ติ มนุษยต์ ัง้ แต่เกิดจนตาย บาทหนา้ ท่ีของสมาชกิ ในครอบครวั ตนเอง พ่อ แม่ พ่ี นอ้ ง ญาติ ความสาคัญของเพื่อน (เช่น พูดคุย ปรึกษา เล่น ฯลฯ) พฤติกรรมทเ่ี หมาะสมกบั เพศ  ความเป็นสุภาพบรุ ุษ  ความเปน็ สุภาพสตรี  ความภาคภูมิใจในเพศหญิงหรือ เพศชาย

สาระ มาตรฐาน/ตัวช้ีวดั - สาระที่ ๓ การเคล่ือนไหว พ ๓.๑ เข้าใจ มีทักษะในการเคล่ือนไหวกิจกรรม การออกกาลังกาย การเล่น ทางกาย การเลน่ เกมและกฬี า - เกม กฬี าไทย กีฬาสากล ตวั ช้ีวดั - 1. ควบคุมการเคล่ือนไหวร่างกายขณะอยู่กับ - ที่ เคลื่อนท่ี และใช้อุปกรณป์ ระกอบ - 2. เลน่ เกมเบ็ดเตล็ดและเข้าร่วมกิจกรรมทาง กายที่วิธีเล่นอาศัยการเคลื่อนไหวเบ้ืองต้น ทั้งแบบอยู่กับท่ี เคลื่อนท่ี และใช้อุปกรณ์ ประกอบ พ ๓.๒ รักการออกกาลังกาย การเล่นเกม และการ เล่นกีฬา ปฏิบัติเป็นประจาอย่างสม่าเสมอ มีวินัย เคารพสิทธิ กฎ กติกา มีจิตวิญญาณในการแข่งขัน และช่นื ชมในสนุ ทรียภาพของการกฬี า ตัวชว้ี ดั 1. ออกกาลังกายและเล่นเกมได้ด้วยตนเองอย่าง สนกุ สนาน 2. ปฏิบัติตามกฎ กติกา และข้อตกลงในการเล่น เกมเป็นกล่มุ

๙ สาระการเรียนรแู้ กนกลาง สาระการเรยี นร้ทู อ้ งถนิ่ ต้องรู้ ควรรู้  ลักษณะและวธิ ีการของการเคลื่อนไหว เกม/การละเล่นพ้ืนเมือง ท่ีนิยม รา่ งกายแบบอยกู่ บั ท่ี เช่น กระโดด บิด เล่นในท้องถิ่น เช่น เตย ขว้าง  ตัว ดึง ผลัก แบบเคล่ือนท่ี เช่น ราว โตก๊ ฯลฯ กระโดดเขย่ง ก้าวชิดก้าว วิ่งตาม ทิศทางที่กาหนด และแบบใช้อุปกรณ์ ประกอบ เชน่ คีบ ขวา้ ง ตี การเล่นเกมเบ็ดเตล็ดและเข้าร่วม กิจกรรมทางกายท่ีวิธีเล่นอาศัยการ เคล่ือนไหวเบื้องต้นท้ังแบบอยู่กับที่ เคล่ือนที่ และใช้อปุ กรณ์ประกอบ กา ร อ อก ก า ลัง ก า ยแ ล ะ เล่ น เ ก ม เกม/การละเล่น/กีฬาพ้ืนเมืองท่ี  นิยมเลน่ ในทอ้ งถ่นิ เบ็ดเตล็ด ประโยชน์ของการออกกาลังกายและ การเลน่ เกม กฎ กติกา ข้อตกลงในการเล่นเกมเป็น กลุ่ม

สาระ มาตรฐาน/ตวั ชี้วัด - สาระที่ ๔ การสร้างเสริม พ ๔.๑ เห็นคุณค่าและมีทักษะในการสร้างเสริม - สขุ ภาพ สมรรถภาพ และ สุขภาพ การดารงสุขภาพ การปูองกันโรคและการ - การปูองกันโรค สร้างสมรรถภาพเพือ่ สุขภาพ - ตวั ชวี้ ดั - 1. บอกลกั ษณะของการมสี ขุ ภาพดี 2. เลอื กกนิ อาหารทม่ี ีประโยชน์ 3. ระบุของใช้และของเล่นท่ีมี ผลเสียต่อสุขภาพ 4. อธิบายอาการและวิธีปูองกันการ เจ็บปุวย การบาดเจ็บท่ีอาจ เกิดขน้ึ ปฏิบัติตามคาแนะนาเมื่อมีอาการเจ็บปุวยและ บาดเจ็บ -

๑๐ สาระการเรียนรแู้ กนกลาง สาระการเรยี นร้ทู อ้ งถน่ิ ตอ้ งรู้ ควรรู้ ลักษณะของการมสี ุขภาพดี การใช้สมุนไพรในท้องถิ่นในการ  ร่างกายแข็งแรง ดแู ลรักษาสุขภาพของตนเอง   จติ ใจร่างเรงิ แจ่มใส  มคี วามสขุ  มคี วามปลอดภัย อาหารท่มี ีประโยชน์และไมม่ ปี ระโยชน์ ข อ ง ใ ช้ แ ล ะ ข อ ง เ ล่ น ท่ี มี ผ ล เ สี ย ต่ อ สขุ ภาพ อาการและวธิ ปี ูองกนั การเจ็บปุวย  ต า แ ด ง ท้ อ ง เ สี ย ฯลฯ อาการและวธิ ปี อู งกนั การบาดเจ็บ  ถูกของมีคม แมลง สัตวก์ ัดต่อย หกลม้ ฯลฯ วิธีปฏิบตั ิตนเมอ่ื เจ็บปุวยและบาดเจ็บ

สาระ มาตรฐาน/ตวั ช้ีวดั สาระท่ี ๕ ความปลอดภยั ใน พ ๕.๑ ปูองกันและหลีกเล่ียงพฤติกรรมเสี่ยงต่อ - ชวี ติ สุขภาพ อุบัติเหตุ การใช้ยา สารเสพติด และความ รุนแรง ตวั ช้วี ดั 1. ปฏิบัติตนในการปูองกันอุบัติเหตุที่อาจ เกดิ ข้ึนทางนา้ และทางบก  ยาสา ชื่อยา 2. บคาอแกนชะือ่ นยาาสามญั ประจาบา้ นและใช้ยาตาม 3.  ระบุโทษของสารเสพติด สารอันตรายใกล้ - สารเส ตัวละวธิ ีการปูองกนั 4. ปฏิบัติตนตามสัญลักษณ์และปูายเตือน   5. ขออธิบงสางิ่ยขสอางเหหตรอืุ อสันถตารนาทย่ีทวเ่ี ปิธปีน็ อูองนั กตันรอายัคคีภัย- และแสดงการหนีไฟ สญั ลกั ษ อันตราย ส อ ก

๑๑ สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง สาระการเรยี นร้ทู อ้ งถ่นิ ต้องรู้ ควรรู้  อุบัตเิ หตทุ างน้าและทางบก  สาเหตขุ องอุบัตเิ หตุทางนา้ และทางบก  วธิ ีการปอู งกันอุบัตเิ หตุทาง นา้ และทางบก ามญั ประจาบ้าน าสามญั ประจาบ้าน การใชย้ าตามความจาเปน็ และลกั ษณะอาการ สพติดและสารอันตรายใกล้ตวั โทษของสารเสพติดและสารอันตรายใกล้ตัว วิธปี อู งกนั ษณแ์ ละปูายเตือนของส่ิงของหรือสถานที่ท่เี ป็น ย  ความหมายของสัญญา ลักษณ์และปาู ยเตือนอัคคีภัย สาเหตุของการเกิดอัคคภี ยั อนั ตรายซ่ึงไดร้ บั จากการเกิดอคั คีภัย การปอู งกันอัคคภี ยั และการหนีไฟ

ตวั ชว้ี ดั สาระการเรยี นรู้แกนกล ชนั้ ประถมศกึ สาระ มาตรฐาน/ตวั ชี้วัด สาระที่ ๑ การเจรญิ เตบิ โต พ ๑.๑ เข้าใจธรรมชาติของการเจริญเติบโตและ- ลักษณะ และพัฒนาการของมนุษย์ พฒั นาการของมนุษย์ตัวชี้วัด ความแต 1. อธิบายลักษณะการเจริญเติบโตของร่างกายมนุษย์  2. เปรียบเทียบการเจริญเติบโตของตนเองกับเกณฑ์  มาตรฐาน ระบปุ จั จัยท่ีมผี ลต่อการเจรญิ เตบิ โต  - เกณฑ์มา - ปัจจัยท่มี   

๑๒ ลางและสาระการเรียนรูท้ ้องถ่ิน สาระการเรยี นรู้ทอ้ งถ่นิ ต้องรู้ ควรรู้ กษาปีที่ ๓  สาระการเรียนรู้แกนกลาง ะการเจริญเติบโตของร่างกายมนุษย์ที่มี ตกตา่ งกันในแตล่ ะบุคคล ลักษณะรปู ร่าง นา้ หนัก สว่ นสูง าตรฐานการเจริญเตบิ โตของเดก็ ไทย มีผลต่อการเจรญิ เติบโต อาหาร การออกกาลงั กาย การพกั ผ่อน

สาระ มาตรฐาน/ตวั ช้ีวัด สาระท่ี ๒ ชีวิตและ พ ๒.๑ เข้าและเห็นคุณค่าของตนเอง ครอบครัว ความ ครอบครัว เพศศกึ ษา และทกั ษะในการดาเนนิ ชวี ติ ของแ - เศ ตัวชว้ี ัด 1. อธิบายความสาคัญและความแตกต่างของ ครอบครัวทม่ี ีต่อตนเอง 2. อธิบายวิธีสร้างสัมพันธภาพในครอบครัวและ กลมุ่ เพื่อน 3. บอกวิธีหลีกเลี่ยงพฤติกรรมท่ีนาไปสู่การถูก ล่วงละเมิดทางเพศ

๑๓ สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียนรทู้ อ้ งถนิ่ ต้องรู้ ควรรู้  มสาคัญของครอบครัว ความแตกต่าง แตล่ ะบคุ คล ศรษฐกจิ - สังคมการศึกษา วิธีการสร้าง สัมพันธภาพในครอบครัวและ กลุ่มเพื่อน - พฤติกรรมที่นาไปสู่การล่วง ละเมิดทางเพศ (การแต่งกาย การเท่ียวกลางคืน การคบเพ่ือน การเสพสารเสพติด ฯลฯ) - วิธีหลีกเลี่ยงพฤติกรรมท่ีนาไปสู่ ก า ร ถู ก ล่ ว ง ล ะ เ มิ ด ท า ง เ พ ศ (ทกั ษะปฏเิ สธและอน่ื ๆ)

สาระ มาตรฐาน/ตัวชี้วัด สาระท่ี ๓ การเคล่ือนไหว พ ๓.๑ เข้าใจมีทกั ษะการเคลื่อนไหว กิจกรรมทางกาย การออกกาลังกาย การเล่น การเล่นเกมและกฬี า เกม กีฬาไทย และกฬี า สากล ตวั ชวี้ ัด 1. ควบคุมการเคล่ือนไหวร่างกายขณะอยู่กับที่ และใชอ้ ปุ กรณ์ประกอบอย่างมที ิศทาง เคลื่อนไหวร่างกายท่ีใช้ทักษะการเคล่ือนไหวแบบ บงั คับทิศทางในการเล่นเกมเบด็ เตล็ด พ ๓.๒ รกั การออกกาลังกาย การเล่นเกม และการเล่น- แน กีฬา ปฏิบัติเป็นประจาอย่างสม่าเสมอ มีวินัย เคารพ พื้นเ สิทธิ กฎ กติกา มีน้าใจนักกีฬา มีจิตวิญญาณในการ จุดด - การ แขง่ ขนั และชน่ื ชมในสุนทรยี ภาพของการกีฬา พื้นเม ตัวชี้วดั - กฎ ก 1. เลอื กออกกาลงั กาย การละเล่นพ้ืนเมอื ง และเล่นเกมที่ การเ เหมาะสมกับจุดเด่น จดุ ดอ้ ย และขอ้ จากัดของตนเอง 2. ปฏิบัติตามกฎ กติกา และข้อตกลงของการออกกาลัง

๑๔ สาระการเรียนรแู้ กนกลาง สาระการเรยี นรูท้ ้องถ่นิ ต้องรู้ ควรรู้ - การเคลื่อนไหวร่างกายแบบอยู่กับท่ี การใชว้ ัสดใุ นทอ้ งถิน่ ประกอบการ   เช่น ย่อยืด เขย่ง พับตัว เคลื่อนไหว เคลื่อนไหวทั้งอยู่กบั ที่ และเคล่ือนท่ี ลาตัว การเคลื่อนไหวแบบเคล่ือนที่ เช่นเดนิ กะลา ขว้างราว ฯลฯ เช่น เดินต่อเท้า เดินถอยหลัง ก ร ะ โ จ น แ ล ะ แ บ บ ใ ช้ อุ ป ก ร ณ์ - กฬี าพ้ืนเมืองทน่ี ิยมเล่นในท้องถิ่น ประกอบโดยมีการบังคับทิศทาง เชน่ เมด็ ลอ เช่น ดีด ขวา้ ง โยน และรบั - วิธีการคว บคุมการเคล่ือนไหว หมากเกบ็ กาฟกั ไข่ ฯลฯ ร่างกายแบบต่างๆ อย่างมีทศิ ทาง - กิจกรรมทางกายที่ใช้ทักษะการ เคล่อื นไหวแบบบงั คับทศิ ทาง นวทางการเลือกออกกาลังกาย การละเล่น การใช้วสั ดใุ นทอ้ งถน่ิ ประกอบการ  เมือง และเล่นเกม ท่ีเหมาะสมกับจุดเด่น เคลือ่ นไหวทั้งอยู่กบั ท่ี และเคลื่อนที่ ด้อย และข้อจากดั ของแต่ละบคุ คล เช่นเดนิ กะลา ขว้างราว ฯลฯ รออกกาลังกาย เกม และการละเล่น มือง - กีฬาพื้นเมืองท่ีนิยมเล่นในท้องถ่ิน กติกา และข้อตกลงในการออกกาลังกาย เชน่ เรอื บินเตยหลกั ฯลฯ เลน่ เกม และการละเลน่ พืน้ เมือง

กาย การเล่นเกม การละเลน่ พน้ื เมืองไดด้ ว้ ยตนเอง สาระ มาตรฐาน/ตัวชี้วดั สาระท่ี ๔ การสรา้ งเสรมิ พ ๔.๑ เห็นคุณค่าและมีทักษะในการสร้างเสริม- การต สุขภาพ สมรรถภาพ และ การปอู งกันโรค สุขภาพ การดารงสุขภาพ การปูองกันโรค และการ โรค - อาห สง่ เสรมิ สมรรถภาพเพื่อสุขภาพ - การเ ตวั ช้ีวดั  1. อ ธิ บ า ย ก า ร ติ ด ต่ อ แ ล ะ วิ ธี ก า ร ปู อ ง กั น ก า ร แพรก่ ระจายของโรค  ธงโภ 2. จาแนกอาหารหลัก ๕ หมู่ การ 3. เลือกกินอาหารที่หลากหลาย ครบ ๕ หมู่ ใน- (ครอ สดั ส่วนที่เหมาะสม การ 4. แสดงการแปรงฟนั หะอาดอยา่ งถูกวธิ ี - สขุ ภ สรา้ งเสริมสมรรถภาพทางกายไดต้ ามคาแนะนา   สุขภ และ

๑๕ สาระการเรียนรแู้ กนกลาง สาระการเรยี นรทู้ ้องถนิ่ ต้องรู้ ควรรู้ ตดิ ตอ่ และวิธีการปูองกนั การแพร่กระจาย การสร้างเสริมสมรรถภาพทางกาย   หารหลัก ๕ หมู่ ใ ห้ แ ข็ ง แ ร ง โ ด ย ก า ร เ ล่ น เ ก ม เลือกกนิ อาหารท่เี หมาะสม การละเล่นและกฬี าพ้ืนเมือง  ความหลากหลายของชนิดอาหารใน แต่ละหมู่  สดั ส่วนและปริมาณของอาหาร (ตาม ภชนาการ) ร แ ป ร ง ฟั น ใ ห้ ส ะ อ า ด อ ย่ า ง ถู ก วิ ธี อบคลุมบริเวณของเหงอื กและคอ ฟัน) ร ส ร้ า ง เ ส ริ ม ส ม ร ร ถ ภ า พ ท า ง ก า ย เ พ่ื อ ภาพ  วิธกี ารทดสอบสมรรถภาพทางกาย  วิธีการเสริมสร้างสมรรถภาพเพ่ือ ภาพ โดยการออกกาลังกาย การพักผ่อน ะกจิ กรรมนนั ทนาการ

สาระ มาตรฐาน/ตัวชี้วัด สาระที่ ๕ ความปลอดภัยใน พ ๕.๑ ปูองกันและหลีกเล่ียงปัจจัยเส่ียง พฤตกรรม- วิธีป ชีวิต เส่ียงต่อสุขภาพ อุบัติเหตุ การใช้ยาสารเสพติด และ ในบ - การ ความรุนแรง ตา่ งๆ ตัวชี้วัด - การบ 1. ปฏิบัติตนเพ่ือความปลอดภัยจากอุบัติเหตุในบ้าน  โรงเรียน และการเดนิ ทาง 2. แสดงวิธีขอความช่วยเหลือจากบุคคลและแหล่งต่างๆ  เมื่อเกิดเหตุร้ายหรืออุบัติเหตุ แสดงวิธีปฐมพยาบาล ฯลฯ เมอื่ เจ็บจาการเล่น

๑๖ สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรยี นร้ทู ้องถน่ิ ต้องรู้ ควรรู้  ปฏิบัติตนเพ่ือความปลอดภัยจากอุบัติเหตุ การใชส้ มนุ ไพรพ้ืนบ้านในการหา้ ม บา้ น โรงเรยี น และการเดินทาง เลอื ด การบาดเจบ็ เล็กนอ้ ย หรอื ขอความช่วยเหลือจากบุคคลและแหล่ง การฟกช้า ๆ เมือ่ เกิดเหตุร้ายหรืออุบัติเหตุ บาดเจบ็ จากการเลน่  ลักษณะของการบาดเจ็บ  วธิ ีปฐมพยาบาล (บาดเจ็บ ห้ามเลือด ฯ)

ตัวชว้ี ัด สาระการเรียนร้แู กนกล ชัน้ ประถมศกึ สาระ มาตรฐาน/ตวั ช้ีวัด สาระที่ ๑ การ พ๑.๑ ป ๔/๑ เข้าใจธรรมชาติของการเจรญิ เตบิ โตของมนุษย์ - เจรญิ เตบิ โต ตัวชว้ี ัด ร่า และการ 1. อธิบายการเจริญเติบโตและพัฒนาของร่างกายและ ๑ พัฒนาการ จติ ใจตามวยั - ของมนษุ ย์ 2. อธิบายความสาคัญของกล้ามเนื้อกระดูก และข้อที่มีผล ข ตอ่ สุขภาพการเจรญิ เตบิ โตและพฒั นาการ ก อธิบายวิธีดูแลกล้ามเนื้อกระดูก และข้อให้ทางานอย่างมี - ประสิทธิภาพ ให สาระท่ี ๒ ชีวติ และ พ๒.๑ เข้าใจและเห็นคุณค่าของตนเอง ครอบครัว เพศศึกษา - ครอบครัว และมีทกั ษะในการดารงชีวติ ส ตวั ชี้วดั ต - 1. อธิบายคุณลักษณะของความเป็นเพื่อนและสมาชิกที่ดี - ของครอบครัว อ 2. แสดงพฤติกรรมที่เหมาะสมกับเพศของตนตาม วฒั นธรรมไทย ยกตัวอย่างวิธีการปฏิเสธการกระทาท่ีเป็นอันตรายและไม่ เหมาะสมในเร่อื งเพศ

๑๗ ลางและสาระการเรียนรทู้ ้องถน่ิ กษาปที ี่ ๔ สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง สาระการเรยี นรู้ท้องถน่ิ ต้องรู้ ควรรู้ การเจริญเติบโตและการพัฒนากาของ สมุนไพรพ้ืนบ้านท่ีมีผลต่อการดูแล   างกายแบะจิตใจตามวัย (ในช่วงอายุ ๙- รักษากระดูก ข้อต่อ กล้ามเน้ือ ๑๒ ปี) เช่น ลูกประคบ ใบพลู ใบพลับพลึง ความสาคญั ของกล้ามเนื้อกระดูก และ ข้อท่ีมีผลต่อสุขภาพ การเจริญเติบโตและ ฯลฯ การพัฒนาการ วิธีดูแลรักษากล้ามเนื้อกระดูกและข้อ หท้ างานอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ คุณลักษณะของความเป็นเพ่ือนและ  สมาชกิ ที่ดีของครอบครวั พฤติกรรมท่ีเหมาะสมกับเพศของตน ตามวัฒนธรรมไทย วิธีการป ฏิเสธ ก ารกระ ทาที่เป็ น อนั ตราย และไม่เหมาะสมในเรื่องเพศ

สาระ มาตรฐาน/ตวั ชี้วัด สาระที่ ๓ การเคลื่อนไหว พ๓.๑ เข้าใจ มีทักษะในการเคล่อื นไหว กจิ กรรมทางกาย การออกกาลงั กาย การเลน่ เกมและกีฬา การเลน่ เกม กฬี า ไทย และกีฬา ตัวชีว้ ัด สากล 1. ควบคุมตนเองเมื่อใช้ทักษะ การเคลื่อนไหวใน ลักษณะผสมผสานได้ทั้งแบบอยู่กับที่ เคล่ือนท่ี และใช้ อปุ กรณ์ประกอบ 2. ฝึกกายบริหารทา่ มือเปลา่ ประกอบจงั หวะ 3. เล่นเกมเลียนแบบและกิจกรรมแบบผลัดเล่นกีฬา พ้ืนฐานอย่างนอ้ ย ๑ ชนดิ พ๓.๒ รกั การออกกาลงั กาย การเลน่ เกม และการเล่นกีฬา ปฏิบัติเป็นประจาอย่างสม่าเสมอ มีวินัย เคารพสิทธิ กฎ กตกิ า มนี า้ ใจเป็นนกั กฬี า มีจิตวิญญาณในการแข่งขันและ ช่ืนชมในสนุ ทรียภาพของการกีฬา ตัวชี้วดั 1. ออกกาลังกาย เล่นเกม และกีฬาที่ตนเองชอบ และ มีความสามารถในการวิเคราะห์ผลพัฒนาการของตนเอง ตามตัวอย่างและแบบปฏิบตั ขิ องผู้อ่นื 2. ปฏิบัติตามกฎ กติกาการเล่นกีฬาพ้ืนฐานตามชนิด กฬี าทเี่ ลน่ 3. วิเคราะห์ข้อมูลบนฉลากอาหารและผลิตภัณฑ์ สขุ ภาพ เพ่ือการเลอื กบรโิ ภค

๑๘ สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียนรทู้ อ้ งถิ่น ต้องรู้ ควรรู้ - การเคลื่อนไหวร่างกายแบบผสมผสาน การใชว้ สั ดใุ นท้องถ่นิ  ทั้งแบบอยู่กับที่ เช่น กระโดหมุนตัว กระ ประกอบการเคลอ่ื นไหวทงั้ อยู่กบั โดเหยียดตัว แบบเคลื่อนที่ เช่น ซิกแซ็ก ที่ และเคล่ือนท่ี เช่นเดนิ กะลา ว่ิงเปล่ียนทิศทาง ควบม้า และแบบใช้ อุปกรณป์ ระกอบ เชน่ บอล เชอื ก ขวา้ งราว ฯลฯ - การบริหารทา่ มอื เปล่าประกอบจงั หวะ - กฬี าพน้ื เมอื งท่ีนิยมเลน่ ใน - เกมเลียนแบบและกิจกรรมแบบผลัด ท้องถน่ิ เช่น เมด็ ลอ หมากเก็บ - กีฬาพ้นื ฐาน เชน่ แชร์บอล แฮนด์บอล กาฟักไข่ ฯลฯ ห่วงขา้ มตาข่าย - การออกกาลังกาย เล่นเกมตาม เกม/การละเล่นพ้ืนเมืองที่นิยม   ความชอบของตนเอง และเล่นกีฬา เล่นในท้องถน่ิ พืน้ ฐานรว่ มกับผอู้ ่นื - การวิเคราะห์ผลพัฒนาการของตนเอง ในการออกกาลังกาย เล่นเกม และเล่น กีฬาตามตัวอย่างและแบบปฏบิ ัตขิ องผอู้ ่ืน - คุณค่าของการออกกาลังกาย เล่นเกม และเล่นกฬี าที่ดีต่อสขุ ภาพ - การปฏิบัติตามกฎ กติกาการเล่นกีฬา พ้นื ฐานตามชนดิ กฬี าทีเ่ ลน่

สาระ มาตรฐาน/ตวั ช้ีวัด สาระท่ี ๔ การสร้างเสริม พ๔.๑ เห็นคุณค่าและมีทักษะในการสร้างเสริมสุขภาพ สุขภาพและการ การดารงสุขภาพ การป้องกันโรค และการสร้างเสริม ปอ้ งกันโรค สมรรถภาพเพอื่ สขุ ภาพ ตัวชวี้ ัด ทดสอบและปรับปรุงสมรรถภาพทางกายตามผลการ ทดสอบสมรรถภาพทางกาย

๑๙ สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง สาระการเรยี นรู้ท้องถ่นิ ต้องรู้ ควรรู้ - ความสัมพันธ์ระหว่างส่ิงแวดล้อมกับ การสร้างเสริมสมรรถภาพทาง  กายให้แข็งแรงโดยการเล่นเกม สขุ ภาพ - การจัดสิ่งแวดล้อมที่ถูกสุขลักษณะ การละเลน่ และกีฬาพน้ื เมอื ง และเออ้ื ต่อสุขภาพ - สภาวะอารมณ์และความรู้สึก เช่น โกรธ หงุดหงิด เครียด เกลียด เสียใจ เศร้าใจ วิตกกังวล กลัว ก้าวร้าว อิจฉา ริษยา เบื่อหน่าย ท้อแท้ ดีใจ ชอบใจ รัก ชน่ื ชอบ สนกุ สุขสบาย - ผลที่มตี อ่ สุขภาพ ทางบวก : สดช่ืน ย้ิมแย้ม แจ่มใส ร่า เรงิ ฯลฯ ทางลบ : ปวดศีรษะ ปวดท้อง เบ่ือ อาหาร ออ่ นเพลยี ฯลฯ - การวิเคราะห์ข้อมูลบนฉลากอาหาร และผลิตภณั ฑ์สขุ ภาพ - การทดสอบสมรรถภาพทางกาย - การปรับปรุงสมรรถภาพทางการตาม ผลการทดสอบสมรรถภาพทางกาย

สาระ มาตรฐาน/ตัวชี้วดั สาระท่ี ๕ ความปลอดภยั ใน พ๕.๑ ป้องกันและหลีกเล่ียงปัจจัยเสี่ยง พฤติกรรมเสี่ยง ชวี ิต ต่อสุขภาพ อุบัติเหตุ การใช้ยาสารเสพติด และความ รุนแรง ตัวช้ีวดั 1. อธิบายความสาคัญของการใช้ยาและใช้ยาอย่างถูก วธิ ี 2. แสดงวิธีปฐมพยาบาลเมื่อได้รับอันตรายจากการใช้ ยาผิด สารเคมี แมลงสัตว์กัดต่อย และการบาดเจ็บจาก การเลน่ กฬี า 3. วิเคราะห์ผลเสียจากการสูบบุหรี่และการด่ืมสุราท่ีมี ผลตอ่ สขุ ภาพและการปอ้ งกัน

๒๐ สาระการเรียนรแู้ กนกลาง สาระการเรียนรูท้ อ้ งถิ่น ต้องรู้ ควรรู้  - ความสาคัญของการใช้ยา การใช้สมนุ ไพรพื้นบ้านในการ - หลักการใชย้ า ห้ามเลือด การบาดเจ็บเล็กน้อย - วิธปี ฐมพยาบาล หรือการฟกช้า  การใชย้ าผดิ  สารเคมี  แมลงสตั ว์กดั ตอ่ ย  การบาดเจ็บจากการเลน่ กีฬา - ผลเสียของการสูบบุหร่ี การด่ืมสุรา และปอ้ งกนั

ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรู้แกนกล ชน้ั ประถมศกึ สาระ มาตรฐาน/ตัวชี้วดั สา สาระท่ี ๑ การเจริญเตบิ โตและ พ ๑.๑ เข้าใจธรรมชาติของการเจริญเติบโต - ความส พัฒนาการของมนุษย์ และพฒั นาการของมนุษย์ตวั ชว้ี ัด ร ะ บ บ ขั บ 1. อธิบายความสาคัญของระบบย่อยอาหาร เจริญเติบ สาระที่ ๒ ชวี ติ และครอบครัว และระบบขับถ่ายท่ีมีผลต่อสุขภาพ การ - วิธีดูแ เจรญิ เติบโต และพฒั นาการ ระบบขับถ 2. อธบิ ายวิธีดูแลระบบย่อยอาหาร และระบบ ขบั ถา่ ยใหท้ างานตามปกติ - การเป พ ๒.๑ เข้าใจและเห็นคุณค่าของตนเอง ตนเอง - การว ครอบครัว เพศศึกษา และทักษะในการดาเนิน วัฒนธรรม - ลักษณ ชีวติ วัฒนธรร ถือญาติ) ตวั ช้วี ัด - พฤติก 1. อธิบายการเปล่ียนแปลงทางเพศ และ ประสงค์ใ ปฏบิ ัตติ นได้เหมาะสม ในครอบค 2. อธิบายความสาคัญของการมีครอบครัวท่ี อบอุ่นตามวัฒนธรรมไทย ระบุพฤติกรรมท่ีพึงประสงค์และไม่พุงประสงค์ ในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในครอบรัว และกลุ่มเพอื่ น

๒๑ ลางและสาระการเรยี นรทู้ ้องถนิ่ สาระการเรยี นรทู้ ้องถน่ิ ต้องรู้ ควรรู้ กษาปที ่ี ๕ าระการเรยี นรู้แกนกลาง สาคัญของระบบย่อยอาหารและ อาหาร พืช ผัก และผลไม้พื้นบ้านตาม  บถ่ายท่ีมีผลต่อสุขภาพ การ ฤดูกาลที่มีผลต่อระบบย่อยอาหาร เช่น บโต และพฒั นาการ กล้วย มะละกอ ขเ้ี หล็ก มะขาม ส้มแขก(ส้ม ควาย)ฯลฯ แลรักษาระบบย่อยอาหาร และ ถ่ายให้ทางานตามปกติ ปลี่ยนแปลงทางเพศ การดูแล  ว า ง ตั ว ท่ี เ ห ม า ะ ส ม กั บ เ พ ศ ต า ม มไทย ณะของครอบครัวที่อบอุ่น ตาม รมไทย (ครอบครัวขยายการนับ กรรมที่พึงประสงค์และไม่พึง ในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง ครวั

สาระ มาตรฐาน/ตวั ช้ีวดั สา สาระที่ ๓ การเคลื่อนไหว การ พ๓.๑ เข้าใจ มีทักษะในการเคล่ือนไหว - การจัด ออกกาลังกาย การเล่น กิจกรรมทางกาย การเลน่ เกม และกฬี า เกม กีฬาไทย และกีฬา ตวั ช้วี ดั แบบผสม ทางกายท 1. จัดรูปแบบการเคลื่อนไหวแบบผสมผสาน อุปกรณ์ป สากล และควบคุมตนเองเม่ือใช้ทักษะการเคลื่อนไหว การฝึกก ตามแบบที่กาหนด เป็นต้น 2. เล่นเกมนาไปส่กู ฬี าท่ีเลือกและกิจกรรมการ - เกมนา เคลอ่ื นไหวแบบผลัด ทม่ี กี ารตี 3. ควบคุมการเคลื่อนไหวในเรื่อง การรับแรง - การเค การใช้แรง และความสมดุล ใช้แรง แล แสดงทกั ษะกลไกในการปฏิบัติกิจกรรมทางกาย - ทักษะ และเล่นกฬี า กิจกรรมท - การเล ธง และก แบดมินต ว่ายน้า - หลกั ก

๒๒ าระการเรียนร้แู กนกลาง สาระการเรียนร้ทู ้องถ่นิ ต้องรู้ ควรรู้ ดรูปแบบการเคล่ือนไหวร่างกาย - เกม การละเล่นพื้นเมืองที่นาไปสู่กีฬา  มผสานและการปฏิบัติกิจกรรม สากล เช่น ว่ิงเป้ียว เตยหลกั ราวเดอร์ฯลฯ ท้ังแบบอยู่กับท่ี เคลื่อนท่ี และใช้ ประกอบตามแบบที่กาหนด เช่น กายบริหาร ยืดหยุ่นข้ันพ้ืนฐาน าไปสู่กีฬาและกิจกรรมแบบผลัด เขยี่ รบั -ส่งสง่ิ ของ ขวา้ ง และว่งิ คลอื่ นไหวในเร่ืองการรับแรง การ ละความสมดุล ะ ก ล ไ ก ที่ ส่ ง ผ ล ต่ อ ก า ร ป ฏิ บั ติ ทางกาย และเล่นกฬี า ลน่ กีฬาไทย เชน่ ตะกร้อวง วิ่งชัก กีฬาสากล เช่น กรีฑาประเภทลู่ ตนั เปตอง ฟตุ บอล เทเบิลเทนนิส การและกิจกรรมนนั ทนาการ

สาระ มาตรฐาน/ตวั ชี้วดั พ๓.๒ รักการออกกาลังกาย การเล่นเกม และ - หลกั การเล่นกีฬา ปฏิบัติเป็นประจาอย่างสม่าเสมอ - การ มีวนิ ัย เคารพสิทธิ กฎ กติกา มีน้าใจนักกีฬา มี เกมเบ็ด จิตวิญญาณในการแข่งขัน และชื่นชมใน การละเล่น สนุ ทรียภาพของการกฬี า - การ ตัวช้ีวดั บุคคล และ 1. ออกกาลังกายอยา่ งมรี ูปแบบ เล่นเกมท่ีใช้ - การ ทักษะการคดิ และตัดสนิ ใจ กีฬาอย่าง 2. เลน่ กีฬาท่ีตนเองชอบอย่างสม่าเสมอ โดย - กฎ สร้างทางเลือกในวิธีปฏิบัติของตนเองอย่าง สากลตาม หลากหลาย และมนี า้ ใจนักกีฬา 3. ปฏิบัติตามกฎ กติกาการเล่นเกมกีฬาไทย - วิธกี และกีฬาสากลตามชนดิ กฬี าทีเ่ ลน่ และกีฬาส 4. ปฏิบัติตนตามสิทธิของตนเองไม่ละเมิด - สิทธ สทิ ธิผอู้ นื่ และยอมรับในความแตกต่างระหว่าง บคุ คลในการเลน่ เกม และกีฬาไทย กฬี าสากล และกฬี า 5. ทดสอบและปรับปรุงสมรรถภาพทางกาย ตามผลการทดสอบสมรรถภาพทางกาย - ความแต - การท - การ การทดสอ

๒๓ สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง สาระการเรยี นรูท้ อ้ งถ่นิ ต้องรู้ ควรรู้ กการและรูปแบบการออกกาลงั กาย  รออกกาลังกายและการเล่นเกม เช่น เตล็ด เกมเลียนแบบ เกมนา และ นพนื้ เมือง รเล่นกีฬาไทยและกีฬาวสากลประเภท ะทีมทเ่ี หมาะสมกับวัยอย่างสมา่ เสมอ รสร้างทางเลือกในวิธีปฏิบัติในการเล่น งหลากหลาย และมนี า้ ใจนักกฬี า กติกาในการเล่นเกมกีฬาไทย และกีฬา มชนิดกฬี าทีเ่ ล่น การรุกและวิธีป้องกันในการเล่นกีฬาไทย สากลท่เี ล่น ธิของตนเองและผู้อื่นในการเล่นเกม ตกจ่างระหวา่ งบุคคลในการเล่นเกมและกฬี า ทดสอบสมรรถภาพทางกาย รปรับปรุงสมรรถภาพทางกายตามผล อบสมรรถภาพทางกาย

สาระ มาตรฐาน/ตัวชี้วัด สาระท่ี ๔ การสรา้ งเสริม พ ๔.๑ เห็นคุณคา่ และมีทักษะในการสร้างเสริม - ควา สขุ ภาพ สมรรถภาพ และ สุขภาพ การดารงสุขภาพ การป้องกันโรค และ แหง่ ชาติ - แหล การป้องกันโรค การสรา้ งเสรมิ สมรรถภาพเพื่อสุขภาพ สุขภาพ ตัวชวี้ ัด - การใ 1. แสดงพฤติกรรมท่ีเห็นความสาคัญของ สขุ ภาพ การปฏิบตั ติ นตามสขุ บัญญัตแิ ห่งชาติ - การ 2. ค้นหาข้อมูลข่าวสารเพื่อใช้สร้างเสริม สุขภาพ ( สขุ ภาพ สุขภาพใน 3. วิเคราะห์ส่ือโฆษณาในการตัดสินใจเลือก - การป ซอ้ื อาหารและผลิตภณั ฑ์สุขภาพอยา่ งมเี หตผุ ล ในชีวติ ปร ปฏิบัติตนในการป้องกันโรคที่พบบ่อยใน  ไ ชีวิตประจาวนั ไ โ ฟ

๒๔ สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียนรู้ทอ้ งถ่นิ ต้องรู้ ควรรู้ ามสาคัญของการปฏบิ ัตติ ามสขุ บญั ญตั ิ การสร้างเสริมสมรรถภาพทางกาย   ล่งและวิธีค้นหาข้อมูลข่าวสารทาง ใ ห้ แ ข็ ง แ ร ง โ ด ย ก า ร เ ล่ น เ ก ม การละเล่นและกีฬาพืน้ เมอื ง ใชข้ ้อมลู ข่าวสารในการสร้างเสรมิ รตัดสินใจเลือกซื้ออาหารและผลิตภัณฑ์ (อาหาร เคร่ืองสาอาง ผลิตภัณฑ์ดูแล นช่องปาก ฯลฯ) ปฏิบัตติ นในการปอ้ งกันโรคท่พี บบ่อย ระจาวนั ไข้หวัด ไขเ้ ลือดออก โรคผวิ หนัง ฟนั ผุและโรคปรทิ ันต์

สาระ มาตรฐาน/ตวั ชี้วดั สาระท่ี ๕ ความปลอดภยั ใน พ ๕.๑ ป้องกันและหลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยงต่อ - ปัจจ ชีวติ สุขภาพ อุบัติเหตุ การใช้ยา สารเสพติด และ บหุ ร่ี ยาบ ความรนุ แรง ค ตวั ช้ีวดั ค 1. วิเคราะห์ปัจจัยท่ีมีอิทธิพลต่อการใช้สาร เสพติด ป 2. วิเคราะห์ผลกระทบของการใช้ยาและสาร เสพติดท่ีมีผลต่อร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม ส และสตปิ ญั ญา - ผลก 3. ปฏิบัติตนเพื่อความปลอดภัยจากการใช้ ตอ่ รา่ งกา ยา และหลกี เล่ียงสารเสพตดิ - การป 4. วิเคราะห์อิทธิพลของส่ือที่มีต่อพฤติกรรม ยา - การห - อิทฺธ สขุ ภาพ (อนิ เตอร์เ ปฏิบตั ติ นเพือ่ ป้องกันอนั ตรายจากการเล่นกฬี า - การป กีฬา

สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง สาระการเรยี นร้ทู อ้ งถ่นิ ๒๕ จัยที่มอี ทิ ธพิ ลต่อการใช้สารเสพติด (สุรา บา้ สารระเหย ฯลฯ) ต้องรู้ ควรรู้ ครอบครวั สงั คม เพอ่ื น  คา่ นิยม ความเชอ่ื ปญั หาสุขภาพ ส่อื ฯลฯ กระทบของการใช้ยาและสารเสพติดท่ีมี าย จิตใจ อารมณ์ สงั คม และสตปิ ัญญา ปฏบิ ัติตนเพ่อื ความปลอดภัยจากการใช้ หลกี เลีย่ งสารเสพตดิ ธิพลของส่ือที่มีต่อพฤติกรรมสุขภาพ เน็ต เกม ฯลฯ) ปฏิบัติเพ่ือป้องกันอันตรายจากการเล่น

ตัวช้วี ัด สาระการเรียนรแู้ กนกล ชน้ั ประถมศกึ สาระ มาตรฐาน/ตัวชี้วดั สาระที่ ๑ การเจรญิ เติบโต พ๑.๑ เข้าใจธรรมชาติของการเจริญเติบโตและ - ควา และพัฒนาการของ พัฒนาการของมนุษย์ตัวช้ีวดั เวียนโลห มนษุ ย์ 1. อธิบายความสาคัญของระบบสืบพันธุ์ การเจริญ ระบบไหวเวียนโลหิต และระบบหายใจ ท่ีมีผล - วิธีด ตอ่ สุขภาพ การเจริญเติบโต และพฒั นาการ โลหติ แล 2. อธิบายวิธีดูแลรักษาระบบสืบพันธ์ุ ระบบ ไหวเวียนโลหิต และระบบหายใจให้ทางาน ตามปกติ สาระท่ี ๒ ชีวติ และครอบครวั พ๒.๑ เข้าใจและเห็นคุณค่าของตนเอง - ควา ครอบครัว เพศศึกษา และทักษะในการดาเนิน สัมพันธภ ชีวติ - ปัจจ ความสาเร ตัวชี้วัด  ค 1. อธิบายความสาคัญของการสร้างและ รกั ษาสัมพันธภาพกบั ผู้อนื่ บ 2. วิเคราะห์พฤติกรรมเสี่ยงที่อาจนาไปสู่การ มีเพศสัมพันธ์ การติดเชื้อเอดส์ และการ ก ตง้ั ครรภ์ก่อนวัยอันควร แตกตา่ งระ ค พ เ ต

๒๖ ลางและสาระการเรยี นรู้ท้องถิน่ กษาปที ่ี ๖ สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง สาระการเรียนรทู้ ้องถ่นิ ตอ้ งรู้ ควรรู้ ามสาคัญของระบบสืบพันธ์ุ ระบบไหว อาหาร พืช ผัก และผลไมพ้ ื้นบา้ น   หิต และระบบหายใจ ท่ีมีผลต่อสุขภาพ ตามฤดูกาลท่ีมีผลต่อระบบไหลเวียน ญเตบิ โตและพัฒนาการ โลหิต และระบบหายใจ เช่น หอม ดูแลรักษาระบบสืบพันธ์ุ ระบบไหวเวียน ละระบบหายใจใหท้ างานตามปกติ กระเทียม ไพล ขิง มะตมู ใบเตย เครอ่ื งเทศ ฯลฯ า ม ส า คั ญ ข อ ง ก า ร ส ร้ า ง แ ล ะ รั ก ษ า ภาพกับผู้อ่ืน จัยที่ช่วยในการทางานกลุ่มประสบ ร็จ ความสามารถสว่ นบุคคล บทบาทหน้าทขี่ องสมาชิกในกลุม่ ก า ร ย อ ม รั บ ค ว า ม คิ ด เ ห็ น แ ล ะ ค ว า ม ะหวา่ งบุคคล ความรับผิดชอบ พ ฤ ติ ก ร ร ม เ สี่ ย ง ท่ี น า ไ ป สู่ ก า ร มี เพศสัมพันธ์ การติดเช้ือเอดส์ และการ ตงั้ ครรภ์กอ่ นวยั อนั ควร

สาระ มาตรฐาน/ตัวชี้วัด - การ สาระที่ ๓ การเคล่ือนไหว ลักษณะผ พ ๓.๑ เข้าใจ มีทักษะในการเคล่ือนไหว เช่น กิจก การออกกาลงั กาย กจิ กรรมทางกาย การเลน่ เกม และกีฬา เพลง ยืด การเลน่ เกม กฬี า ตัวชีว้ ดั การต่อตัว ไทย และกีฬา 1. แสดงทักษะการเคล่ือนไหวร่วมกับผู้อ่ืนใน - การ สากล ลั ก ษ ณ ะ แ บ บ ผ ลั ด แ ล ะ แ บ บ ผ ส ม ผ ส า น ไ ด้ และควา ตามลาดับท้ังแบบอยู่กับท่ี เคลื่อนท่ี และใช้ เคลอ่ื นไห อุปกรณ์ประกอบ และการเคล่ือนไหวประกอบ - การเ เพลง และประเ 2. จาแนกหลักการเคล่ือนไหวในเรื่องการรับ เปตอง ว แรง การใช้แรง และความสมดุลในการ ฟุตบอล ต เคล่ือนไหวร่างกาย ในการเล่นเกม เล่นกีฬา - การ และนาผลมาปรับปรุง เพ่ิมพูนวิธีปฏิบัติของ และเพ่ิมพ ตนเองและผ้อู ืน่ ทางกาย แ 3. เล่นกีฬาไทย กีฬาสากล ประเภทบุคคล - การ และประเภททมี อย่างละ ๑ ชนดิ นนั ทนาก 4. ใช้ทักษะกลไกเพื่อปรับปรุงเพ่ิมพูน ความสามารถของตนและผอู้ ื่นในการเล่นกฬี า ร่วมกิจกรรมนันทนาการอย่างน้อย ๑ กิจกรรม ล้วนนาความรู้และหลักการที่ได้ไปใช้เป็นฐาน การศึกษาหาความรู้เรอ่ื งอ่นื ๆ

๒๗ สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรยี นรทู้ อ้ งถนิ่ ต้องรู้ ควรรู้ รเคล่ือนไหวร่วมกับอื่นแบบผลัดใน - เกมพื้นเมือง การละเล่นพ้ืนเมือง   ผสมผสานในการร่วมกิจกรรมทางกาย ฯลฯ กรรมแบบผลัด กายบริหารประกอบ ดหยุ่นข้ันพ้ืนฐานท่ีใช้ท่าต่อเน่ือง และ วทางา่ ยๆ รเคลื่อนไหวในเร่ืองรับแรง การใช้แรง า ม ส ม ดุ ล กั บ ก า ร พั ฒ น า ทั ก ษ ะ ก า ร หว ในการเล่นเกมและกีฬา เลน่ กฬี าไทย กีฬาสากล ประเภทบุคคล เภททีม เช่น กรีฑา ประเภทลู่และลาน ว่ายน้า เทเบิลเทนนิส วอลเลย์บอล ตะกร้อวง รใช้ข้อมูลด้านทักษะกลไกเพื่อปรับปรุง พูนความสามารถในการปฏิบัติกิจกรรม และเล่นกีฬา รนาความรู้และหลักการของกิจกรรม การไปใชเ้ ปน็ ฐานการศึกษาหาความรู้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook