Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนบูรณา ประถม

แผนบูรณา ประถม

Published by nanthintungtong06, 2019-11-04 00:59:28

Description: แผนบูรณา ประถม

Search

Read the Text Version

แผนการจดั กิจกรรมการเรยี นรรู ายภาค กศน. แบบบูรณาการ ตามรปู แบบ ONIE MODEL หนว ยการเรียนรทู ่ี 5 หัวเร่ือง เศรษฐกจิ กาวไกลเพ่ือไทยยั่งยนื หลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ระดบั ประถมศึกษา ศูนยก ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอําเภอเมืองกาญจนบรุ ี สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยจังหวัดกาญจนบุรี สํานกั งานสง เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั สํานกั งานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ กระทรวงศกึ ษาธิการ

คํานาํ สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดกาญจนบุรี ได ดาํ เนินการจดั ทาํ แผนกิจกรรมการเรยี นรู กศน.แบบบูรณาการ หนว ยการเรียนรทู ่ี 5 หัวเรื่อง เศรษฐกิจกาวไกล เพ่ือไทยย่ังยืน เพื่อใชเปนคูมือในการจัดกิจกรรมการเรียนรูตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา ขัน้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ระดับประถมศึกษา ภาคเรยี นที่ 2 ปการศกึ ษา 2562 เพอื่ ใหค รูผูสอนนําไปใชใน การจัดกิจกรรมการเรียนรูใหกับผเู รยี นไดเกดิ การเรียนรอู ยางมคี ุณภาพ แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู กศน.แบบบูรณาการ หนวยการเรียนรูท่ี 5 หวั เรื่อง เศรษฐกิจ กาวไกลเพื่อไทยยั่งยืน เพ่ือใหครูผูสอนใชเปนคูมือในการจัดกิจกรรมการเรียนรูตามหลักสูตรการศึกษานอก ระบบระดับการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2562 ประกอบดวย แผนผังการจัดกิจกรรมการเรียนรู กศน. แบบ ONIE MODEL แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู กศน.แบบ บรู ณาการ หนวยการเรียนรทู ี่ 2 หัวเร่ือง เศรษฐกิจกาวไกลเพ่ือไทยย่ังยืน ใบความรู แบบประเมนิ การจัดกิจกรรม การเรยี นรู แนวตอบและแบบบันทกึ หลังการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู การดําเนินการจัดทําแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู กศน.แบบบูรณาการ หนวยการเรียนรูท่ี 5 หัวเร่ือง เศรษฐกิจกาวไกลเพื่อไทยย่ังยืน เพ่ือใชเปนคูมือในการจัดกิจกรรมการเรียนรูตามหลักสูตรการศึกษา นอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2562 ใน ครั้งน้ีประสบความสําเร็จ ไดดวยดีตองขอขอบพระคุณ นายศกั ด์ิชัย นาคเอี่ยม ผูอํานวยการ กศน.อําเภอเมือง กาญจนบุรี นางสาวชมพู จันทนะ ครู คศ.2 กศน.อําเภอเมืองกาญจนบุรี และนางสาวสุภาภรณ หวังเลิศพาณิชย บรรณารักษปฏิบตั ิการ เปน อยา งสงู ทเี่ ปนผูใ หค ําปรึกษาในการดําเนินการจัดทําแผนการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู กศน.แบบบูรณาการ หนวยการเรียนรูท่ี 5 หัวเร่ือง เศรษฐกิจกาวไกลเพื่อไทยยั่งยืน หลักสูตรการศึกษานอก ระบบระดับการศึกษา ขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ระดับประถมศึกษา ภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2562 มาโดย ตลอดและขอขอบคุณบุคลากร กศน.อําเภอเมืองกาญจนบุรี ท่ีขับเคล่ือนโครงการทําใหการดําเนินการจัด กจิ กรรมตาง ๆ บรรลตุ ามวตั ถปุ ระสงคทกุ ประการ กศน.อาํ เภอเมืองกาญจนบุรี

สารบัญ หนา ก เร่อื ง ข คํานาํ 1 สารบัญ 2 7 แผนผังการจดั หนวยการเรยี นรู กศน.แบบบรู ณาการ 9 แผนการจัดกิจกรรมการเรยี นรู กศน.แบบบรู ณาการตามรปู แบบ ONIE MODEL 12 15 ใบความรทู ี่ 1 เรอื่ งสถติ ิการเกดิ ภัยธรรมชาติ 18 ใบความรทู ี่ 2 เรอื่ งความรเู กี่ยวกบั การทาํ บัญชีครวั เรอื น 20 ใบความรูที่ 3 เรอ่ื งความรูเรื่องการตลาดและการจาํ หนาย 23 ใบความรูที่ 4 เรื่องการนาํ เทคโนโลยีมาใชใ นการผลติ 24 ใบความรทู ี่ 5 เร่ืองการนําเศรษฐกิจพอเพียงมาใชใ นชวี ิตประจําวนั 26 ใบความรทู ี่ 6 เร่อื งคานยิ มการบรโิ ภคสนิ คา ฟมุ เฟอ ย 29 ใบความรูท ่ี 7 เรอ่ื งความหมายภมู ปิ ญญาทองถิน่ และการใชแหลงเรยี นรู แบบประเมนิ การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู แนวตอบแบบประเมนิ การจัดกจิ กรรมการเรียนรู บันทกึ หลังการจัดกิจกรรมการเรยี นรู บรรณานุกรม คณะทาํ งาน

แผนผังหนวยการจดั กิจกรรมการเรียนรู กศน. แบบบูรณากา หลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดับ รายวิชา การเรียนรสู ภู ัยธรรมชาติ สค 12022 ระดับประถมศกึ ษา ภาค หวั เรอื่ ง สถานการณภ ัยแลง (วเิ คราะห) เนอ้ื หา รายวชิ า ศลิ ปศึกษา ทช 110 - สถานการณภ ยั แลงในประเทศไทย หัวเร่ือง ดนตรพี ื้นบาน (ประเม - สถติ ิการเกิดภัยแลงในประเทศไทย เนอ้ื หา - แนวทางการปอ งกันและการแกไขปญหา คุณคา ความรัก หว งแหนและ ผลกระทบทเ่ี กิดจากภัยแลง ถา ยทอดของภูมปิ ญ ญาทางดน รายวชิ า พัฒนาอาชีพใหม ีอยูม กี นิ อช 11003 หัวเร่ือง เศรษฐกิจกา วไกลเพื่อไท หัวเร่ือง การจัดทาํ แผนพัฒนาการตลาด (นําไปใช) สภาพปญ หา เนอ้ื หา 1. ผเู รยี นขาดความรูเก่ียวกบั การ - การกําหนดทิศทางการตลาด - การกําหนดเปาหมายการตลาด การเกษตร - การวเิ คราะหกลยุทธ 2. ผูเรยี นขาดความรใู นการทําบัญ - กิจกรรมและแผนการพฒั นาการตลาด 3. ผูเ รียนขาดความรเู รอ่ื งการตล 4. ผเู รยี นขาดการนาํ เทคโนโลยมี รายวชิ า คณิตศาสตร พค 11001 หัวเร่ือง การเงนิ (สอนเสรมิ ) เนอ้ื หา - การอานและการบันทึกรายรับ/รายจา ย

าร หนว ยการเรียนรทู ี่ 5 หวั เร่ือง เศรษฐกิจกาวไกลเพ่ือไทยยง่ั ยนื บการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 คเรยี นที่ 2 ปก ารศึกษา 2562 เน้อื หาเสริม (ภาษาองั กฤษพ้ืนฐาน ) เนื้อหา 003 - เรยี นรเู กีย่ วกบั คําศัพททางการเกษตร - Farm (ไร) มินคา ) - farmer (ชาวนา) ะตัวอยา งภมู ปิ ญญา ตลอดจนการรวมกจิ กรรม - Tree (ตนไม) นตรีและเพลงพนื้ บา น - Rice (ขาว) - Vegetable (ผัก) - Garden (สวน) หนว ยท่ี 2 เน้อื หาเสริม (ทักษะการเรยี นรู ) ทยย่ังยืน เน้ือหา - ใชแ หลง เรียนร รเปล่ยี นแปลงมีผลกระทบตอผลผลติ ทาง เน้อื หาเสริม (ภาษาไทย ) ญชคี รวั เรอื น เนอ้ื หา ลาดและการจําหนายสนิ คา - การเขยี น มาใชในการผลติ ทางการเกษตร - การจัดบอรด - การนําเสนอ การสรป

5. ผูเรยี นไมนาํ หลักปรชั ญาข 6. ผเู รยี นมีคา นิยมการบรโิ ภค 7. ผูเรียนขาดการศึกษาจากแ สอื่ อิเลก็ ทรอนกิ ส ประเดน็ /ปญหา/สง่ิ จําเปนที่ตองเรียนรู การจัดก 1. ผเู รยี นขาดการตดิ ตามขอมูลดานสถิติทางดา นสภาพแวดลอมที่มผี ลกระทบ 1. ใหผ เู ตอผลผลติ ทางการเกษตร ทางก 2. ผเู รียนขาดความรเู ก่ยี วกับการทาํ บัญชคี รัวเรือนทําใหเกิดปญหาดานหนีส้ นิ 3. ผเู รียนขาดความรเู รื่องการตลาดและการจําหนายสินคา 2. ใหผ ูเ 4. ผเู รียนขาดความรูท างดานการนําเทคโนโลยีมาใชป ระโยชนในการผลิตทาง บนั ทึก 3. ใหผูเ การเกษตร 4. ใหผ เู 5. ผเู รยี นไมน าํ หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งมาใชในการดาํ เนินชวี ติ นาํ เส 6. ผเู รียนมีคานิยมบรโิ ภคสินคา ฟุม เฟอย 5. ใหผ เู 7. ผูเรียนขาดการศึกษาจากแหลงเรยี นรู เชน ภูมปิ ญญาทองถ่นิ แหลงเรยี นรู เกยี่ ว หองสมุด สอื่ อิเล็กทรอนิกส 6. ใหผเู กลุมท 7. ใหผูเ นาํ ขอ

ของเศรษฐกิจพอเพียงมาใชในการดาํ เนนิ ชวี ิต คสินคาฟุมเฟอย แหลงเรียนรู เชน ภูมิปญญาทอ งถ่นิ หองสมดุ กิจกรรมการเรียนรู เรียนศึกษาคนควา สถิติทเี่ กดิ จากภัยธรรมชาติและสิ่งแวดลอมทม่ี ผี ลกระทบตอ ผลผลติ การเกษตร 1 ป ยอนหลงั จากสื่อออนไลน พรอ มนําเสนอในวนั พบกลุม ที่ กศน.ตําบล เรยี นศึกษาวธิ ีการทาํ บัญชคี รัวเรือน (รายรบั -รายจา ย) จากสื่อออนไลนหรือผรู ูและจด กรายรับ-รายจา ยของตนเอง เปน จาํ นวน 5 วันและวิเคราะหร ายรบั -รายจา ยของตนเอง เรียนศกึ ษาหาความหมาย เรอ่ื งการตลาดและการขายสนิ คาและนําเสนอท่ี กศน.ตําบล เรียนหาความหมายเรอ่ื งเทคโนโลยเี บือ้ งตนในการผลติ สินคา ทางการเกษตร และ สนอหนา ช้นั เรยี น เรียนแบงกลมุ 5 คน สมั ภาษณ บันทกึ พรอมถา ยภาพบคุ คล ท่ปี ระสบความสําเร็จ วกับการดําเนินชวี ิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง พรอ มนาํ เสนอท่ี กศน.ตาํ บล เรียนยกตวั อยางสนิ คาฟมุ เฟอยในชีวติ ประจําวันมา 5 ชนิด พรอมนาํ เสนอในการพบ ท่ี กศน.ตาํ บล เรียนคน ควาขอ มูลจากแหลงเรียนรหู รือส่ือออนไลน ดานศลิ ปะดนตรีทอ งถิน่ พรอ ม อมูลท่ไี ดมาจัดบอรด เพอื่ นาํ เสนอ ในวันพบกลมุ ที่กศน.ตาํ บล

แผนการจัดกิจกรรมการเรยี นรู กศน. แ หนวยการเรยี นรูท ี่ 5 หวั เรื่อง หลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดับ ระดบั ป ภาคเรียนท่ี 2 ครงั้ ที่ วนั /เดอื น/ป ตัวชว้ี ัด เนือ้ หาสาระการเรยี นรู หัว รายวิชา การเรียนรสู ภู ัย หนวยกา ธรรมชาติ (สค12022) หัวเรื่อง หัวเรื่อง สถานการณภยั กา วไกลเ แลง ย่ังยืน เน้ือหา 1. สภาพ 1. บอกสถานการณภ ยั 1. สถานการณภัยแลง เปลยี่ นแป แลงในประเทศไทย 2. บอกสถติ ิการเกดิ ภยั ในประเทศไทย ผลกระท แลง ในประเทศไทย ดาํ เนินชีวติ (วเิ คราะห) 2. สถติ กิ ารเกดิ ภัยแลง ทางการเ ในประเทศไทย 2. ประชา 3. แนวทางการปองกนั ความรใู น และการแกไ ขปญ หา ครวั เรอื น

แบบบรู ณการ ตามรปู แบบ ONIE MODEL ง เศรษฐกิจกาวไกลเพ่ือไทยยง่ั ยนื บการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐานพทุ ธศกั ราช 2551 ประถมศกึ ษา ปการศึกษา 2562 วเร่ือง ประเดน็ /ปญหา/ กิจกรรมการเรียนรู หมายเหตุ สง่ิ จําเปน ทตี่ องเรยี นรู การจัดกิจกรรมการเรียนรู ารเรียนรทู ี่ 2 1. ผเู รยี นขาดการติดตาม ขั้นที่ 1 กาํ หนดสภาพปญหา การเรยี นรู เศรษฐกจิ ขอมูลดานสถิติทางดา น 1. ครูซักถามผูเรยี นเกย่ี วกบั สภาพปญหา สถานการณ เพือ่ ไทย สภาพแวดลอ มที่มี เศรษฐกจิ ในปจ จบุ นั และมี แหลง เรยี นรอู ะไรในตาํ บล ผลกระทบตอผลติ ทาง 2. ทบทวน/ติดตามผลการ เรียนรูดวยตนเอง พแวดลอมท่ี การเกษตร 3. สอบถามความพรอมในการ เขารว มกิจกรรม ปลงมี 2. ผเู รยี นขาดความรู ทบตอผลผลติ เกยี่ วกับการทาํ บัญชี เกษตร ครวั เรอื นทาํ ใหเ กิดปญ หา าชนขาด ดานหน้สี นิ นการทาํ บัญชี 3. ผเู รียนขาดความรูเรอ่ื ง น การตลาดและการจําหนาย สินคา

คร้งั ท่ี วนั /เดอื น/ป ตัวช้ีวัด เนอื้ หาสาระการเรียนรู หวั ผลกระทบที่เกดิ จากภัย 3. ประชา แลง ความรเู ร และการจ รายวชิ า คณิตศาสตร สนิ คา (พค11001) 4. ประชา หัวเรื่อง การเงิน นําเทคโน 1. อานและเขียนบันทึก เน้ือหา การผลิตท รายรบั -รายจาย การอา นและบนั ทึกรับ- การเกษต (นาํ ไปใช) รายจา ย 5. ประชา รายวชิ า พฒั นาอาชีพ หลกั ปรัช ใหมอี ยมู ีกนิ (อช11001) เศรษฐกิจ หัวเรอ่ื ง การจดั ทํา ใชในการ แผนพฒั นาการตลาด 6. ประชา 1. บอกความหมายของ เนอ้ื หา คา นิยมก แผนการ พฒั นาการ 1. กาํ หนดทิศทางการ สนิ คา ฟุม ตลาด เพื่อพัฒนา อาชพี ตลาด 7. ประชา ใหม อี ยูมีกนิ ได (ร-ู จาํ ) 2. กําหนดเปาหมาย การศึกษา การตลาด เรยี นรู เช 3. การวเิ คราะหกลยทุ ธ

วเรื่อง ประเด็น/ปญ หา/ กจิ กรรมการเรียนรู หมายเหตุ สงิ่ จาํ เปนท่ตี องเรยี นรู าชนขาด 4. ผเู รียนขาดความรดู าน ขน้ั ท่ี 2 แสวงหาขอ มูลและ ร่อื งการตลาด การนาํ เทคโนโลยีมาใช จําหนาย ประโยชนในการผลิตทาง จดั กจิ กรรมการเรียนรู ครูอธบิ าย การเกษตร แบงผูเรียนเปน 7 กลุม เพ่ิมเติม าชนขาดการ 5. ผเู รียนไมน ําหลักปรัชญา เพื่อศึกษาเรอ่ื งตอไปนี้ รายวชิ า การ นโลยีมาใชใ น ของเศรษฐกจิ พอเพียงมาใช กจิ กรรมที่ 1 เรียนรสู ภู ัย ทาง ในการดําเนินชีวิต ใหผูเรียนศึกษาคน ควา สถิติที่ ตร 6. ผูเรียนมคี านยิ มบรโิ ภค เกิดจากภัยธรรมชาติและ ธรรมชาติ าชนไมนาํ สนิ คา ฟมุ เฟอย ชญาของ 7. ผูเรยี นขาดการศึกษาจาก สิ่งแวดลอมทม่ี ผี ลกระทบตอ (ทช11001) จพอเพยี งมา แหลง เรียนรู เชน ภมู ิปญ ญา หัวเรอ่ื ง รดําเนินชวี ติ ทองถ่นิ แหลง เรยี นรู ผลิตทางการเกษตร 1 ป สถานการณภัย าชนมี ยอ นหลัง จากส่อื ออนไลน การบริโภค แลง มเฟอย พรอมนําเสนอในวนั พบกลมุ ท่ี เนอ้ื หา าชนขาด แนวทางการ าจากแหลง กศน.ตาํ บล ชน กิจกรรมที่ 2 ปอ งกันและการ ใหผูเรียนศึกษาวิธีการทาํ บญั ชี แกไ ขปญหา ครวั เรอื น (รายรับ-รายจาย) จากส่อื ออนไลนหรอื ผูรูแ ละ ผลกระทบท่เี กดิ จดบันทกึ รายรับ-รายจา ยของ จากภัยแลง ครอู ธบิ าย ตนเอง เปนจํานวน 5 วนั และ เพิ่มเตมิ

คร้งั ที่ วนั /เดอื น/ป ตวั ชี้วดั เนื้อหาสาระการเรยี นรู หัว 2. บอกความสําคญั ของ 4. กจิ กรรมและแผนการ ภูมปิ ญ ญ การกําหนด ทิศทาง พัฒนาการตลาด หองสมุด การตลาดได (เขาใจ) สอ่ื เล็กทร 3. ระบุกระบวนการของ รายวิชา ศิลปศกึ ษา อาชีพท่ีมี การกําหนด (ทช11003) ทิศทางการตลาดได หัวเรือ่ ง ดนตรีพ้ืนบาน (นาํ ไปใช) เน้อื หา 4. บอกข้ันตอนการ คุณคา ความรัก กําหนดเปา หมาย หว งแหนและตัวอยา ง การตลาดได(เขา ใจ) ภูมปิ ญ ญาตลอดจนการ 5. ระบุความแตกตา ง รวมกจิ กรรมถายทอด ของอาชพี ทม่ี ี การ ของภูมปิ ญ ญาทางดนตรี กําหนดกลยทุ ธสู ละเพลงพืน้ บา น เปา หมายได(นําไปใช) 6. วิเคราะหก ลยุทธเพื่อ การมอี ยูมีกินได (ประเมนิ )

วเร่อื ง ประเดน็ /ปญหา/ กิจกรรมการเรยี นรู หมายเหตุ สิง่ จาํ เปน ท่ตี องเรยี นรู ญาทองถนิ่ ด วิเคราะหรายรบั -รายจายของ รายวิชา รอนกิ ส ตนเอง คณติ ศาสตร กิจกรรมที่ 3 (พค11001) ใหผ ูเรยี นศกึ ษาความหมาย หวั เรอ่ื ง การเงนิ เรอ่ื งการตลาดและการขาย สินคา และนําเสนอท่ี กศน. เนือ้ หา ตําบล การอา นและ กจิ กรรมท่ี 4 บันทึกรบั - ใหผ เู รยี นหาความหมายเร่ือง รายจาย เทคโนโลยเี บอ้ื งตน ในการผลิต ครูอธิบาย สนิ คา ทางการเกษตรและ เพิม่ เติม นําเสนอหนาช้ันเรยี น รายวิชา พัฒนา กิจกรรมท่ี 5 อาชพี ใหมีอยูม ี ใหผูเ รียนแบง กลุม 5 คน กนิ (อช11003) สัมภาษณ บนั ทกึ พรอม หวั เร่ือง การงาน ถายภาพบคุ คล ทีป่ ระสบ อาชพี ความสําเร็จเกีย่ วกับการ เน้อื หา ดาํ เนนิ ชีวิตตามหลักปรชั ญา ระบุความ ของเศรษฐกิจพอเพียง แตกตางของ

ครั้งท่ี วัน/เดือน/ป ตัวชี้วัด เนอ้ื หาสาระการเรียนรู หวั 1. ยกตัวอยา งในการหวง เนอ้ื หาเสรมิ แหนและเนน คุณคา ของ (ภาษาไทย) ภูมิปญ ญาทางดนตรีและ - การเขยี น เพลงพ้ืนบาน - การจดั บอรด (ประเมินคา) - การนําเสนอ - การสรุป เนือ้ หาเสริม (ทักษะ การเรยี นร)ู 1. อธิบายความหมาย - ใชแหลง เรยี นรู ความสาํ คญั ประเภท เนือ้ หาเสรมิ แหลง เรยี นรู การใช (ภาษาอังกฤษพ้ืนฐาน) หองสมดุ และแหลง -เรียนรูเกี่ยวกบั คาํ ศัพท เรยี นรอู ่ืนๆ ทสี่ าํ คญั รว ม ทางการเกษตร เชน ทง้ั การใชส อ่ื ออนไลน Farm (ไร) เพ่ือการเรียนรขู อง Farmer (ชาวนา) ตนเอง Tree (ตนไม) Vegetable (ผัก) Garden (สวน)

วเร่อื ง ประเด็น/ปญหา/ กิจกรรมการเรียนรู หมายเหตุ ส่ิงจาํ เปนทต่ี อ งเรยี นรู พรอ มนําเสนอที่ กศน.ตาํ บล อาชีพที่มี การ กจิ กรรมท่ี 6 กาํ หนดกลยทุ ธสู ใหผ ูเ รยี นยกตัวอยา งสนิ คา เปาหมายได ฟุมเฟอยในชวี ติ ประจาํ วนั มา 5 ชนดิ พรอมนําเสนอในการ พบกลมุ ที่ กศน.ตาํ บล ครอู ธิบาย กิจกรรมท่ี 7 เพ่มิ เติม ใหผเู รยี นคนควา ขอมลู จาก รายวชิ า ศิลปศึกษา (ทช แหลง เรยี นรหู รอื สอ่ื ออนไลน ดา นศิลปะดนตรีทองถน่ิ 11003) หัวเรอื่ ง ดนตรี พรอมนําขอมูลท่ีไดม าจัด พืน้ บาน บอรด เพ่ือนาํ เสนอในวนั พบ เนื้อหา กลุม ที่ กศน.ตําบล คุณคา ความรัก ขนั้ ที่ 3 การปฏิบตั ิและการ นาํ ไปใช หวงแหนและ 1.ครแู ละผูเรียนสรปุ ตวั อยา งภูมิ สาระสาํ คญั และนําความรูที่ ปญญาตลอดจน สอดคลอ งกบั วถิ ชี วี ไิ ปเปน แนวทางในการดําเนินชวี ิต การรวมกิจกรรม ถา ยทอดของภูมิ

คร้งั ที่ วนั /เดอื น/ป ตวั ช้วี ัด เน้อื หาสาระการเรยี นรู หวั

วเร่อื ง ประเด็น/ปญหา/ กจิ กรรมการเรียนรู หมายเหตุ ส่ิงจาํ เปนทต่ี อ งเรียนรู 2. จดั ทําเปน รปู เลม รายงาน ปญญาทาง และรวบรวมไวในแฟม สะสม ดนตรลี ะเพลง งาน พ้ืนบาน ขัน้ ที่ 4 การประเมนิ ผลการ เรียนรู 1.ครแู ละผเู รยี นสรุป สาระสําคญั ตามมาตรฐานการ เรียนรู 2.ประเมนิ ผลการการจัด กจิ กรรมการเรียนรู ขัน้ ท่ี 5 ขั้นมอบหมายงานใน ครัง้ ตอไป 1. ครมู อบหมายงานตาม แผนการจัดกจิ กรรมการ เรยี นรูดวยตนเอง (กรต.) ให ผเู รยี นไปศกึ ษาคน ควา เพ่มิ เติม 2. ใหผ ูเรียนนําผลการเรยี นรทู ี่ ไดร ับไปสรุปองคความรใู น

คร้งั ที่ วนั /เดอื น/ป ตวั ช้วี ัด เน้อื หาสาระการเรยี นรู หวั

วเร่อื ง ประเด็น/ปญหา/ กจิ กรรมการเรียนรู หมายเหตุ ส่ิงจําเปนที่ตอ งเรียนรู แบบบันทกึ การเรียนรขู อง ผูเรียน 3. ครูบันทกึ การเรียนรูในแบบ บนั ทกึ หลงั การจัดกจิ กรรม การเรียนรู

ใบความรูที่ 1 เรอ่ื ง สถิติการเกดิ ภยั ธรรมชาติ ภยั ธรรมชาติ หมายถึง ภัยอันตรายตา งๆ ทเ่ี กิดขน้ึ ตามธรรมชาตไิ มวาจะเปนแผนดินไหว ภยั รอน ภัยหนาว และอ่ืนๆ ซึ่งการเกิดแตละครั้งนํามาซึ่งความสูญเสียท้ังชีวิตและทรัพยสินของมนุษยเปนอยาง มาก มนุษยไดพยายามท่ีจะเรียนรูและศึกษาถึงปรากฏการณธรรมชาติและคนพบวาภัยธรรมชาติน้ันมีความ ยิ่งใหญสุดที่มนุษยจะสามารถควบคุมได หนทางเดียวท่ีดีที่สุดที่พึงกระทําตอนนี้คือความพยายามเรียนรู ธรรมชาติของภยั ตา งๆ แลวหาทางปอ งกันและลดความเสยี หายทจี่ ะเกิดจากภยั ธรรมชาติเหลาน้ันใหม ากทส่ี ุด ภัยธรรมชาติ สามารถแบงเปน 8 ประเภทใหญ ๆ ไดด ังน้ี 1. วาตภยั 2. อทุ กภยั 3. ความแหง แลง 4. พายฝุ นฟาคะนอง 5. คลนื่ พายซุ ดั ฝง 6. แผนดินไหว 7. แผน ดนิ ถลม 8. ไฟปา

จาํ นวนพื้นที่ท่ปี ระสบภัยพิบัติทางธรรมชาติ พื้นที่ทป่ี ระสบภัยพบิ ตั ิทางธรรมชาติ ประกอบดวยพ้ืนทที่ ่ีประสบภัยแลง พ้ืนท่ที ่ีประสบ อุทกภัยและพ้นื ทด่ี ินโคลนถลม พื้นทที่ ีป่ ระสบภัยพบิ ัติทางธรรมชาติ: จาํ นวนพืน้ ทที่ ่ีประสบภยั แลง ป (พ.ศ.) พน้ื ท่ปี ระสบภัยแลง ราษฎร ความเสยี หายท่สี าํ รวจพบ จงั หวดั อาํ เภอ ตําบล หมูบา น ประสบภยั พืน้ ที่การเกษตร มูลคา ความสียหาย แลง (คน) (ไร) (บาท) 2550 66 669 4,344 34,874 16,754,980 1,350,118 198,304,732 2551 61 660 4,306 38,170 13,298,895 524,999 103,900,841 2552 58 668 4,829 37,488 17,353,358 594,434 108,346,716 2553 64 684 4,842 45,958 15,740,824 17,168,530 1,415,223,466 2554 55 550 3,919 40,503 16,560,561 811,680 131,864,730 2555 53 575 4,117 40,723 15,235,830 1,486,512 399,178,544 2556 58 591 3,932 37,118 9,066,185 2,406,665 2,914,986,854 2557 49 380 2,403 23,104 5,787,735 1,499,854 68,983,841 2558 40 382 2,174 12,972 4,823,715 2,395,513 736,515,428 2559 41 267 1,444 11,840 3,015,391 2,598,402 145,396,739 ทม่ี า: ขอมูลจากกรมทรัพยากรน้ํา(2560)

ใบความรูที่ 3 เร่อื ง ความรเู ร่อื งการตลาดและจําหนา ย ลักษณะของการขาย งานขายมีลักษณะเก่ียวกับความสามารถในการชักจูงใจและโนมนาว หรือใชศิลปะการขายเปนสําคัญ การขายเกดิ จากพฤตกิ รรมภายใน ไดแก ความรสู ึกนึกคิด ความนิยมความชอบ ความพึงพอใจ ความเตม็ ใจของ ผซู อื้ ฯลฯ ดังนัน้ นักขายจึงมคี ุณสมบัตแิ ละความรอบรูหลายประการ เชน ดานพืน้ ฐานการปฏิบัตหิ นา ที่เก่ียวขอ ง กับการขายโดยตรง ดานจิตวิทยาในการปรับตัวเขาหาลูกคา การเตรียมตัวกอนปฏิบัติงานขาย และการปฏิบัติ ภายหลังสิ้นสุดการขาย ดังน้ันผูประกอบการตองใหความสําคัญของการขายเปนหลัก นอกจากกิจการจะมี สินคาพรอมเพื่อขาย มีลูกคามุงหวังเปนเปาหมายสําคัญในการขาย มีบุคลากรปฏิบัติงานขายยังไมเพียงพอ สําหรับการสรางเสริมการขายใหมีประสิทธิภาพตองอาศัยศิลปะการขายท่ีนักขายเหลานั้นนํามาใชในระหวาง การปฏบิ ัตงิ านขายดวย จึงจะบรรลุเปา หมายตามที่กําหนดไว ความหมายของสินคา และบริการ สนิ คา หมายถึง ผลิตภณั ฑท่ีมีตัวตน สามารถมองเห็นได จับตอ งหรือสัมผัสได เชน เคร่ืองคอมพิวเตอร สบู ตเู ย็น เสือ้ ผา กระเปา บาน รถยนต ฯลฯ บริการ หมายถึง ผลิตภัณฑท่ีไมมีตัวตน ไมสามารถมองเห็นไดจับตองหรือสัมผัสไมได หรือหมายถึง กิจกรรมท่ีจัดทําขึ้นเพ่ือตอบสนองความตองการของบุคคลอื่นเก่ียวกับความอํานวยความสะดวก ไมสามารถ มองเห็นได แตสามารถสรางความพอใจใหกับผูรบั บริการได สรุป การขายก็คือ กระบวนการเสนอสินคาและบริการ เพื่อใหสอดคลองกับความตองการของผูช้ือ และผซู ือ้ ตดั สินใจซื้อดวยความพงึ พอใจ โดยมีพนักงานขาย คอื ผูท่ีใหคาํ แนะนํา ใหคําปรึกษาเกย่ี วกับสินคาหรือ บริการ เพ่ือใหผูซื้อเห็นคุณคา หรือประโยชน ที่จะไดรับจากการซื้อสินคาหรือบริการแลวตัดสินใจ ดวยความ พอใจ ความสําคญั ของการขาย วชิ าการขายเปน ทัง้ ศาสตร และศลิ ป ดังนน้ั ศลิ ปะการขาย จึงหมายถึง การมีศลิ ปะในการเกลี้ยกลอม จงู ใจใหคนอนื่ เหน็ ดวยกบั ความคิดของเรา โดยเขาไดร บั ความพึงพอใจหรือประโยชนจากการกระทาํ นัน้ และเราไดกาํ ไรเปนการตอบแทน การขายนนั้ เปน อาชีพท่ีมีความสําคัญหลายปะการ คือ 1. มคี วามสาํ คญั ตอการดาํ เนินชวี ิตประจาํ วนั ของมนุษย ทุกคนลวนมีบทบาทเปนทั้งผูซื้อและผูขายในขณะเดียวกัน กลาวคือ เมื่อมนุษยทํางานเปน พนักงานเทากับเปนการขายความคิด ขายแรงงานแกเจาของกิจการ ขณะเดียวกันเมื่อกลับมาบาน จะตองซ้ือ สินคาหรือบริการจากกิจการอื้นๆ ท่ีผลิตออกมาเพื่อนําอุปโภคบริโภค เชนอาหาร เส้ือผา ใชบริการ รา นเสริมสวย บริการจากธนาคาร เปนตน

2. มีความสาํ คญั ตอกิจกรรมทางดา นธรุ กิจการคา การขายเปนกิจกรรมสําคัญของกิจการ ระบบการผลิตขยายตัว สินคาและบริการหลากหลาย มากขึ้นเพราะมีกิจการขายเพ่ือสนองความตองการของผูบริโภค เมื่อมีการผลิตสินคาและการขายสินคานั้น ออกไปแลวจะสงผลใหกิจการนั้นขยายตัว และยงั สงผลถึงการขยายตัวดานการคาทั้งในและตางประเทศ สงผล ดานการพัฒนาความเจริญกาวหนาดานการส่ือสาร การผลิตและการอุตสาหกรรม มีความสําคัญตอเศรษฐกิจ โดยรวมของประเทศโลกการคาแบบเสรี คือแนวคิดทางเศรษฐศาสตรที่หมายถึงการซ้ือขายสินคาและบริการ ระหวางประเทศโดยไมมีการเก็บภาษศี ลุ กากร และการกดี กนั ทางการคาอน่ื ๆ รวมไปถงึ การเคล่ือนยายแรงงาน และทุนขามเขตแดนระหวางประเทศโดยอสิ ระ การคา เสรีคือสภาวะทไ่ี มม ีการกีดกันใด ๆ โดยรฐั บาลกบั การคา ระหวางปจเจกบุคคลหรือบริษัท ที่อยูคนละประเทศ โดยทั่วไปแลว การคาระหวางประเทศมักถูกจํากัดดวย ภาษีคาธรรมเนียมในการนําเขาและสงออกสินคา และกฎเกณฑที่ไมเกี่ยวกับภาษีอากร ในการนําเขา ทาง ทฤษฎีแลวการคาเสรีน้ันตองการยกเลิกขอจํากัดเหลาน้ีท้ังหมด ความสําคัญตอเศรษฐกิจและสังคม คือ ทําให ประเทศมเี ศรษฐกจิ ทีเ่ จรญิ เตบิ โตมากขึ้น เนื่องจากตลาดทําใหเกิดธุรกิจ เกิดการผลิต เกิดการลงทุน เกิดการจางงาน ซึ่งสงผลตอการกระจาย รายไดและทําใหมีรายไดเพิ่มข้ึนแกบุคคล โดยไมม ปี ญหาเรอื่ งการจางงาน ทําใหบ ุคคลมีทรัพยสินมากข้ึน สงผล ไปยังการเพ่ิมอํานาจในการซ้ือของ ยังชวยยกมาตรฐานระดับคาครองชีพของสังคมใหสูงข้ึน ทําใหประชาชนมี ความเปน อยทู ่ีดีข้นึ สงผลยอนกลบั มาทาํ ใหเศรษฐกจิ และสงั คมดีขน้ึ 3. มคี วามสาํ คัญตอ การพฒั นาคุณภาพชวี ิตและสงั คมของประเทศ การตลาดเปนเรือ่ งของการแลกเปลี่ยนดวยการสรางสมดุลระหวา งแรงดงึ และแรงดัน กลาวคือ ความตองการซ้ือและความตองการขาย นอกจากน้ีการตลาดสรางความปรารถนาดวยการสรางอารมณ ความหวัง ความกลัว และความฝนอยางใดอยางหน่ึง หรือหลายอยางอันสงผลใหเกิดการบริโภคอันเปนการ สรางอุปสงคน่ันเอง กลาวคือการตลาดเอื้ออํานวยเศรษฐกิจ หรือการตลาดมีสวนชวยในการพัฒนาเศรษฐกิจ สรางรายไดใหกับประเทศ เพราะการตลาดกอ ใหเกิดการซอ้ื -ขายสนิ คา ท้ังภายในประเทศ และตา งประเทศ ทํา ใหมีการลงทุนและมีการจางงานเพิ่มขึ้น ซ่ึงทําใหประชาชนมีงานทํา และสงผลทําใหเพ่ิมอํานาจซื้อใหกับ ประชาชน จากการมีงานทํา ชว ยในการยกระดับการครองชพี ของประชาชน ซงึ่ มีผลตอ การอยดู ีกนิ ดี มี คุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ทาํ ใหเกิดการหมุนเวยี นของปจ จัยการผลิต มีการนาํ ทรัพยากรธรรมชาติท่มี ีอยูมาแปรรูปซึ่ง สามารถสรางคุณคาใหกับสินคาทําใหสินคามีมูลคาเพิ่มขึ้นมีการคิดคนผลิตภัณฑใหม ๆ และปรับปรุงใหได มาตรฐานเพอื่ สนองความตอ งการของตลาดโลก หลักพ้นื ฐานของการขาย 1. การขายคือการชักจูงใจลูกคา พนักงานขายตองใหลูกคาตัดสินใจซ้ือสินคาดวยความพึงพอใจใน ภาพพจนข องสนิ คา 2. การขายคือการใหความชวยเหลือลูกคา พนักงานขายตองรูวา ลูกคาตองการอะไร และเสนอขายใน ส่ิงทลี่ ูกคาตอ งการ

3. การขายคือการติดตอสื่อสาร พนักงานขายตองถายทอดคุณภาพ คุณลักษณะ ของสินคาและ ผลประโยชนท ลี่ กู คาจะไดร ับไดเ ปน อยา งดี 4. การขายคือการใหความรูแ กลกู คา พนักงานขายตองรูจกั สนิ คา เปน อยา งดี และสามารถอธิบาย ให ความกระจางแกล ูกคาได อยา งชัดเจน และเขาใจ 5. การขายคือการแกป ญหาใหก บั ลกู คา พนกั งานขายตองชวยใหลูกคาไดส นิ คา ตรงความตอ งการ ความสาํ คัญทางการตลาด คือกระบวนการของการสื่อสารคุณคาของผลิตภัณฑหรือบริการไปยังลูกคา การตลาดอาจถูกมองวา เปนศลิ ปะแหงการขายสินคาในบางคร้ัง แตการขายน้นั เปน เพียงสวนเล็ก ๆ สวนหนึ่งของการตลาดอาจถกู มอง วาเปนหนาที่ขององคการและกลุมกระบวนการเพ่ือการผลิต การสงสินคาและการสื่อสารคุณคาไปยังลูกคา และการจดั การความสัมพนั ธต อ ลูกคา ในทางท่ีเปน ประโยชนแกองคการและผูถือหุนการจัดการการตลาดเปน ศลิ ปะของการเลือกตลาดเปาหมาย ตลอดจนการไดมาและการรักษาลูกคา ผานทางการจัดหาคุณคาของลูกคา ท่ีเหนือกวามีมโนทัศน 5 อยางหลัก ๆ ที่องคการสามารถเลือกเพื่อนําไปดําเนินการธุรกิจไดแก มโนทัศนเนน การผลิต เนนผลิตภัณฑ เนนการขาย เนนการตลาด และเนนการตลาดองครวม ซ่ึงองคประกอบสี่อยางของ การตลาดองครวมคือ การตลาดความสัมพันธ การตลาดภายใน การตลาดครบวงจร และการตลาดรับผิดชอบ ตอสังคม กลุมของภาระหนาที่ที่สําคัญตอการจัดการการตลาดที่ประสบผลสําเร็จประกอบไปดวย การมอง การตลาดเชงิ ลึก การตดิ ตอเชือ่ มโยงกับลูกคา การสรางตราสินคาที่มั่นคง การสรางผลิตภัณฑที่ตอบสนองลูกคา การสงสินคา และการสื่อสารคณุ คา การสรางความเจริญเตบิ โตในระยะยาว และการพฒั นากลยุทธแ ละแผนการ ตลาดการตลาดมีบทบาทสาํ คญั ตอการพัฒนาคณุ ภาพชีวิต และยกระดับความเปน อยูของมนษุ ย ในสังคม ทําให เกิดการพ่ึงพาอาศัยกันอยา งเปนระบบในสังคมมนุษยแตละคน สามารถประกอบ อาชีพที่ ตนเองถนัดและไดใช ความรูความสามารถของแตละบุคคลได อยางเต็มกําลังความสามารถ และการตลาดมบี ทบาทอยางใหญหลวง ตอความเจริญเติบโต และพัฒนาการทางเศรษฐกิจของ ประเทศ เน่ืองจากการตลาดเปนตัวกระตุนใหเกิดการ วิจัย และพัฒนาหาสิ่งแปลกใหม มาสนองความ ตองการของตลาดและสังคม ทําใหผูบริโภคมีโอกาส เลือกใช ผลิตภัณฑท่ีตองการไดหลายทางและผลิตภัณฑที่สามารถตอบสนองความตองการ สรางความพึงพอใจใหแกผู อปุ โภคและบรโิ ภค จงึ มีผลทําใหเกิด การจา งงาน เกดิ รายไดก บั แรงงาน และธรุ กจิ ทําใหประชาชน มกี าํ ลงั การ ซื้อ และสามารถสนอง ความตองการในการบริโภค ซึ่งทําให มาตรฐาน การครองชีพของบุคคล ในสังคมมี ระดบั สงู ข้นึ และมคี ุณภาพชีวิตท่ดี ีขึ้น

ใบความรูท ่ี 4 เรอ่ื ง การนําเทคโนโลยมี าใชใ นการผลติ เทคโนโลยีทางการผลิต เทคโนโลยเี พื่อการผลิต หมายถงึ การนาํ ความรูดา นเทคโนโลยี และประสบการณตา ง ๆ มาประยุกตใ ช เพ่อื ชว ยในการผลติ สินคาและบริการรวมท้งั การคดิ คนหาวิธกี ารนาํ เอาทรัพยากรท่ีมีอยูในปจ จบุ นั มาใชในดา น ตา ง ๆ ประเทศไทยเรามวี ัตถดุ ิบในการผลิตสินคาเปน จํานวนมากเน่ืองจากปจ จบุ นั ประเทศไทยของเรามีความ อุดมสมบรู ณดวยพืชพรรณธัญญาหาร ปาไม และแรธาตุ หากเราใชท รพั ยากรไมร ะมัดระวัง ทรพั ยากรอาจหมด สิ้นหรือเส่ือมคาได ผูผลิตจึงจําเปนที่จะใชเทคโนโลยีใหไดประโยชนสูงสดุ ตลอดจนการผลติ สินคาแตละชนิดมี การแขง ขันสงู ผผู ลิตจําเปน ตองใชเทคโนโลยตี าง ๆ เขามาชวยในการผลิตเพ่อื ใหมีคุณภาพและตรงตามตองการ ของผบู ริโภคใหมากทสี่ ดุ สาเหตุท่ตี อ งใชเ ทคโนโลยีในการผลติ และบริการ มดี งั นี้ 1. เพ่ิมผลผลติ ใหม มี ากข้ึน ลดความส้นิ เปลืองจากการสูญเสีย วตั ถดุ ิบในกระบวนการผลิตลง 2. เพอ่ื ลดตน ทนุ การผลติ เพราะการผลิตสินคาจํานวนมากจะทําใหลดตนทุนการผลิต ผูผลติ ไดก าํ ไร มากขึ้นและอาจทําใหสินคามีราคาถกู ลง 3. เพื่อใหผ ลผลติ มคี ณุ ภาพไดม าตรฐาน เปนการเพ่ิมคณุ คาและคุณภาพของผลติ ภัณฑ มีแบบใหเลือก หลากหลายผลิตภัณฑม คี ุณภาพข้นึ 4. เพอ่ื ลดแรงงานหรือกาํ ลังคนทาํ งานไดนอยลง

การใชเ ทคโนโลยีในการผลติ และบริการ ไดแ ก 1. การใชเครื่องจักรท่ีทันสมัยชวยในการผลติ สนิ คา ทาํ ใหผลิตสินคาและบรกิ ารจํานวนมากข้ึน ในเวลา รวดเร็ว มีปริมาณเพียงพอตอการบริโภค และลดตน ทุนการผลิต เพราะเทคโนโลยีชวยลดแรงงานหรือกําลังคน และลดเวลาการผลิต แตไ ดปริมาณสินคา และบรกิ ารมาก 2. การใชเทคโนโลยีชวยในการออกแบบสินคา ชวยใหมีการคิดคนหรือประดิษฐรูปแบบของสินคา ทําใหไดสินคาและบริการที่มีรูปแบบใหม ๆ หลากหลาย เพื่อใหผูบริโภคมีโอกาสเลือกซ้ือไดตามความตองการ และพงึ พอใจมากท่ีสดุ 3. การใชเทคโนโลยีชวยในการโฆษณาสินคาและการใหบริการ เชน การใชคอมพิวเตอรเขามาชวยใน การขายสนิ คาและสง่ั ซื้อสินคาตา ง ๆ โดยผานทางเครือขายอินเทอรเน็ต การโฆษณาทางวิทยุ โทรทัศน ส่งิ พิมพ ตางๆ ทําใหผ บู ริโภคสามารถศึกษารายละเอียดของสนิ คาไดม ากข้ึนหรือสามารถส่งั ซอื้ สนิ คา ไดส ะดวกรวดเรว็ 4. การใชเทคโนโลยีชวยในการจัดการ เพื่อใหเกิดการทํางานท่ีมีประสิทธิภาพ เปน ระบบ รวดเร็ว เชน การนาํ คอมพวิ เตอรมาใชใ นสาํ นกั งานเพื่อจดั เกบ็ เอกสารหรือคนหาขอมูล เปนตน 5. การใชเทคโนโลยีชวยในการขนสง เพื่อใหกระบวนการขนสงวัตถุดิบในการผลิตรวดเร็วขึ้น หรือ ขนสง สนิ คาและบรกิ ารไปถึงผบู รโิ ภคไดส ะดวกรวดเรว็ ขึน้ ประโยชนจ ากการนําเทคโนโลยมี าใชเพื่อการเพิม่ ผลผลติ มดี งั น้ี 1. การนาํ เทคโนโลยีมาใชเพ่ือการผลติ สินคาและบรกิ ารชวยใหส ินคาและบริการมคี ุณภาพไดมาตรฐาน ตามแบบสากล กลา วคอื มีการกาํ หนดระดบั คุณภาพ จัดทํามาตรฐาน ควบคุมกระบวนการผลติ ตง้ั แต การ ตรวจสอบคุณภาพ การควบคุมคณุ ภาพ และการประกันคุณภาพการใชง านของสินคา 2. การนําเทคโนโลยีมาใชเพ่ือการผลิตสินคาและบริการชวยใหเกิดความปลอดภัยในกระบวนการ ทาํ งาน ทาํ ใหพ นกั งานไดผลงานทมี่ ีคณุ ภาพ มีประสทิ ธิภาพในการทํางานทสี่ ูง 3. การนาํ เทคโนโลยีมาใชเ พอื่ การผลิตสินคา และบรกิ ารชวยใหหนวยธรุ กจิ หรอื รฐั บาลมีผลกาํ ไรเพ่มิ ข้ึน จากการประกอบการ ทําใหภาคการผลิตเกิดความม่ันคง ท้ังในระดับจุลภาคและมหภาค กลาวคือ ถาหนวย ธุรกิจมีผลกําไรเพ่ิมขึ้น เกิดความมั่นคง สงผลใหพนักงานมีรายไดเพ่ิมขึ้น เกิดความมั่นคงในการทํางาน อัตราการวา งงานลดลง รัฐบาลมีรายไดจากการเก็บภาษีอากรเพ่มิ ขนึ้ ผลกระทบทเ่ี กดิ จากการใชเ ทคโนโลยี มดี ังนี้ 1. เกิดผลกระทบตอสง่ิ แวดลอม กลา วคือ การขยายตัวอยางรวดเร็วของกาํ ลังการผลิตเพ่ือสนองความ ตองการของผูบริโภค ทําใหเกิดกากหรือของเสียจากการผลิต พรอม ๆ กับการลดลงของทรัพยากรธรรมชาติ สงผลตอปริมาณน้ําฝนที่ตกในเขตตางๆ การเผาไหมของเช้ือเพลิงออกมาเปนคารบอนไดออกไซด เกิดปญหา ภาวะเรอื นกระจก กระทบตอระบบนิเวศของมนุษย หรือปญ หาการกําจดั กากสารนิวเคลียร ปญหาการผลติ จาก โรงงานอุตสาหกรรมท่ีปลอยน้ําท้ิง หรือมลพิษทางอากาศของซัลเฟอรไดออกไซดซ่ึงละลายปนมากับฝน กลายเปนฝนกรด สง ผลเสียหายตอกิจกรรมทางเศรษฐกิจของมนษุ ย

2. เกดิ ผลกระทบตอดุลการคา กลาวคือ ในยุคของการแขงขันเพ่ือแยงชงิ ตลาด ผูผลิตแตละรายตา งเรง เพ่ิมผลผลิตโดยการนําเทคโนโลยีเขามาใช ประเทศกําลังพัฒนาตองพึ่งพา เทคโนโลยี หรือเครื่องจักรกล เครื่องมอื และอุปกรณก ารผลติ จากประเทศทพี่ ัฒนาแลว กอ ใหเกิดผลกระทบตอ การขาดดุลการคา 3. เกิดผลกระทบตอการบริโภคนิยม กลาวคือ การนําเทคโนโลยีมาใชในการผลิต ผูบริโภคจะไดรับ ประโยชนในดานสินคาและบริการมีคุณภาพสงู ราคาถูก มีสินคาใหเ ลือกมากข้ึน แตในขณะเดียวกัน จะเกิดผล กระทบตอการใชจายท่ีฟุมเฟอยของผูบริโภค ท่ีใชสอยเกินพอดี เพื่อใหทันตอรุนหรือแบบท่ีเปลี่ยนแปลงไป เกดิ ความไมรจู กั พอของผูบริโภค มกี ารบริโภคนยิ มมากข้ึ

ใบความรทู ี่ 5 เรือ่ ง การนาํ เศรษฐกิจพอเพยี งมาใชใ นชวี ติ ประจาํ วัน เศรษฐกจิ พอเพียง ประกอบดวยคณุ ลักษณะ 3 ประการ และเง่ือนไข 2 ประการ หรือทเ่ี รียกวา 3 หวง 2 เงอ่ื นไข คือความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีตอ ความจาํ เปน และเหมาะสมกับฐานะของตนเอง สังคม สิง่ แวดลอม รวมทงั้ วัฒนธรรมในแตล ะทองถ่นิ ไมมากเกนิ ไป ไมนอยเกินไป และตองไมเบยี ดเบยี น ตนเองและผอู น่ื ความมเี หตผุ ล หมายถงึ การตดั สินใจดําเนนิ การเร่ืองตาง ๆ อยางมเี หตุผลตามหลักวชิ าการ หลัก กฎหมาย หลักศลี ธรรมจริยธรรม และวฒั นธรรมทีด่ ีงาม โดยพจิ ารณาจากเหตปุ จจัยทเ่ี ก่ียวของ ตลอดจน คาํ นงึ ถึงผลท่ีคาดวาจะเกดิ ขึน้ จากการกระทํานน้ั ๆ อยา งรอบรูและรอบ ระบบภูมิคมุ กนั ในตัวทดี่ ี หมายถึง การเตรยี มตวั ใหพ รอมรบั ตอผลกระทบและการเปล่ียนแปลงใน ดา นตาง ๆ ไมวาจะเปน ดานเศรษฐกจิ สงั คม สิ่งแวดลอ ม และวัฒนธรรม เพอ่ื ใหส ามารถปรับตวั และรับมือได อยางทนั ทวงที เง่อื นไขสาํ คญั ท่จี ะทาํ ใหก ารตัดสินใจ และการกระทาํ เปน ไปพอเพียง จะตองอาศัยท้ังคุณธรรมและ ความรู ดังน้ี เงื่อนไขคุณธรรม ทจี่ ะตองสรา งเสริมใหเ ปน พ้นื ฐานจิตใจของคนในชาติ ประกอบดว ย ดา นจติ ใจ คอื การตระหนักในคุณธรรม รูผ ดิ ชอบชัว่ ดี ซอ่ื สัตยส จุ ริต ใชสติปญญาอยา งถูกตอ งและเหมาะสมในการดาํ เนนิ ชีวิต และดา นการกระทาํ คือมคี วามขยันหมนั่ เพียร อดทน ไมโลภ ไมตระหน้ี รูจกั แบงปน และรบั ผดิ ชอบใน การอยรู วมกับผอู นื่ ในสงั คม เงอ่ื นไขความรู ประกอบดวยการฝก ตนใหม ีความรอบรูเก่ยี วกบั วิชาการตาง ๆ ท่เี กยี่ วของอยางรอบ ดาน มีความรอบคอบ และความระมดั ระวังทจี่ ะนําความรูตาง ๆ เหลา นัน้ มาพิจารณาใหเ ชื่อมโยงกนั เพื่อ ประกอบการวางแผน และในข้นั ปฏิบตั ิ

การนาํ เศรษฐกิจพอเพียงไปประยกุ ตใ ช ตองคาํ นึงถงึ 4 มิติ ดังน้ี ดา นเศรษฐกิจ ลดรายจาย / เพ่ิมรายได / ใชชวี ิตอยางพอควร / คดิ และวางแผนอยางรอบคอบ / มภี มู คิ ุมกนั / ไมเสี่ยง ดา นสังคม เกนิ ไป / การเผื่อทางเลือกสํารอง ดานทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอม ดา นวัฒนธรรม ชว ยเหลือเก้ือกูล / รูรักสามัคคี / สรา งความเขมแข็ง ใหครอบครัวและชุมชน รูจกั ใชแ ละจัดการอยา งฉลาดและรอบคอบ / เลอื กใชทรัพยากรทีม่ ีอยอู ยางรคู า และเกิดประโยชน สูงสดุ / ฟน ฟทู รัพยากรเพือ่ ใหเกดิ ความยงั่ ยนื สูงสุด รกั และเห็นคุณคาในความเปนไทย เอกลกั ษณไ ทย / เห็นประโยชนและคุมคา ของภูมปิ ญญาไทย ภมู ิ ปญ ญาทองถ่นิ / รูจ กั แยกแยะและเลือกรับ วฒั นธรรมอนื่ ๆ

ใบความรูที่ 6 เร่ือง คานยิ มการบรโิ ภคสนิ คาฟุมเฟอ ย ความหมายของการบริโภค การบริโภคในทางเศรษฐศาสตร หมายถึง การใชประโยชนจ ากสินคาและบริการ เพื่อสนองความตองการ ของผบู รโิ ภค มคี วามหมายรวมทง้ั การกินและการใชสนิ คา หรอื บริการ พฤติกรรมการบริโภค หมายถึง พฤติกรรมของผูบริโภคในการตัดสินใจ และแสดงออกในการเลือกซื้อ สินคาและบรกิ ารตาง ๆ มาบรโิ ภคเพอ่ื ใหไดร บั ความพอใจสงู สดุ การบรโิ ภคท่ีมีประสิทธิภาพ คือ การใชป ระโยชนจากสนิ คาและบริการ โดยคํานงึ ถงึ หลกั การบริโภค ที่ดี ไดแก ความจําเปน ประโยชนท่ีไดรับความปลอดภัยและความประหยัด ใชสินคาและบริการอยางคุมคามาก ทส่ี ุด ความสําคญั ของการบรโิ ภค การบริโภค เปนกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่มีความสําคัญ เนื่องจากมนุษยทุกคนตองบริโภค เพ่ือการ ดาํ รงชีวิต และการบริโภคยังเปนส่ิงกระตุนใหเกิดการลงทนุ การจางงาน ทําใหมีรายไดทั้งผูผลิต และเจาของ ปจจยั การผลติ มสี นิ คาและบรกิ ารบริโภคเพิ่มขึ้น ทาํ ใหเ ศรษฐกจิ ขยายตวั ขึน้ หลกั การบริโภคทดี่ คี วรคาํ นึงถงึ ดงั น้ี 1. ความจําเปน หมายถึง ส่ิงที่จําเปนตองบริโภค มิฉะน้ันจะทําใหเกิดอันตรายตอตนเองหรือ ครอบครัว สว นใหญส ง่ิ ทีจ่ ําเปน ในการครองชีพคือ ปจ จยั สี่ มี อาหาร ท่ีอยูอาศยั เครอ่ื งนงุ หม ยารักษาโรค 2. ความมีประโยชน หมายถงึ บริโภคในสงิ่ ที่เปน ประโยชนตอตนเองและครอบครวั โดยไมทําใหผ ูอ ืน่ หรือ สงั คมเดือดรอน 3. ความปลอดภัย หมายถึง เมื่อบริโภคสินคาหรือบริการนั้นแลว ไมเกิดอันตรายตอตนเอง และ ส่ิงแวดลอม โดยการอา นฉลากสินคา พิจารณาสวนประกอบ วันผลติ และวนั หมดอายุ หรือการรับรองคุณภาพ สนิ คาจากหนว ยงานที่ถกู ตองตามกฎหมายและนาเชอ่ื ถอื 4. ความประหยัด หมายถึง ประมาณการบริโภค ไมมากหรือนอยเกินไป โดยคํานึงถึงคุณภาพ ราคาท่ี เหมาะสม ใชจายตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง พอประมาณ มีเหตุผล ไมเลียนแบบ การบริโภค ทําใหใช ประโยชนจากสนิ คา และบรกิ ารอยา งคุม คา ปจจยั ที่มีอิทธพิ ลตอพฤติกรรมการบริโภค การตัดสินใจเลือกซื้อสินคาและบริการตาง ๆ มาบริโภค ข้ึนอยูกับปจจัยท่ีมีอิทธิพลตอพฤติกรรมการ บริโภค ดังนี้ 1. รายไดของผบู ริโภค การบริโภคจะมากหรือนอยข้ึนอยกู ับรายไดข องผูบริโภค กลาวคือถา มีรายไดมาก ขึ้นกจ็ ะเพม่ิ การบรโิ ภค แตถา รายไดลดลงกจ็ ะลดการบรโิ ภคลง

2. ราคาของสินคาและบริการ ปริมาณการบริโภคขึ้นอยูกับราคาสินคาหรือบริการชนิดนั้น กลาวคือ ถาราคาสินคาเพ่ิมสงู ขึ้น ปริมาณการบรโิ ภคจะลดลง แตถา ราคาสินคา ลดลง ปริมาณการบริโภคจะเพ่มิ ข้ึน 3. รสนิยมหรือคานิยมในการบริโภค ซึ่งมีผลตอพฤติกรรมการบริโภคและแตกตางกันตามบุคคล อายุ เพศ ระดบั การศกึ ษา รายได อาชพี สังคมและสภาพแวดลอ ม เปนตน 4. ฤดูกาลหรือปริมาณการบริโภคสินคาบางชนิดแตกตางกันไปตามฤดูกาล เชน ความตองการใชเส้ือ กันหนาวจะมากขน้ึ ในฤดูหนาว สว นในฤดรู อ นปรมิ าณการบริโภคนาํ้ แข็งจะเพม่ิ ขน้ึ เปนตน 5. การคาดคะเนเกี่ยวกับราคา เปนการคาดการณถึงการเปลี่ยนแปลงราคาสินคาในอนาคต ซึ่งสงผล ตอปริมาณการบริโภค เชน ถาคาดการณวา ราคานํ้ามันจะเพิม่ ข้นึ ผูบริโภคก็จะเตมิ น้าํ มันไวกอนที่ราคานาํ้ มัน จะปรับตัวสูงข้ึน เปน ตน 6. เทคนิคการขาย การใหสินเช่ือ ทําใหผูบริโภคมีอํานาจซ้ือสินคาและบริการมาสนองความตองการ ของตนเองไดมากขน้ึ 7. การโฆษณา เปน แรงจงู ใจใหผบู ริโภคมคี วามตองการบรโิ ภคสนิ คาหรือบริการชนดิ นน้ั เพม่ิ มากข้ึน คานยิ มกับพฤตกิ รรมการบรโิ ภคทสี่ ง ผลตอ เศรษฐกจิ ของชุมชน และประเทศ คานยิ ม หมายถึง ความรสู กึ สนใจ พอใจ ของมนษุ ย เปน แนวทางท่ีมนษุ ยย ึดถือ เพื่อประพฤตปิ ฏบิ ัติ มกี ารยอมรับอยางแพรหลายจากสมาชิกของสังคม บคุ คลในสังคมจะถูกกระตุนใหม ีสวนรวมใหแสดงพฤติกรรม เพื่อใหบรรลุคานยิ ม ซึง่ แตล ะสงั คมจะมีลกั ษณะของคา นิยมและพฤติกรรมในการบริโภคแตกตางกนั ไป 1. คา นิยมความร่ํารวย และนยิ มใชสนิ คาจากตา งประเทศ พฤติกรรมการบริโภค บุคคลท่ีมคี านิยมนี้ จะซื้อหรือใชสินคาทมี่ ีราคาสูง โดยเฉพาะสินคาท่ีมี ช่อื เสยี งและมีราคาแพงจากตา งประเทศ นบั ถือคนท่ีร่าํ รวยหรือคนในสงั คมช้ันสูง ผลที่มีตอเศรษฐกิจ ทําใหเปนคนฟุมเฟอย นําไปสูปญหาหนี้สิน และการพ่ึงพาสินคาจาก ตางประเทศมากเกินไปโดยไมจําเปนทําใหขาดดุลการคา ควรปรับเปล่ียนคานิยม โดยการปลูกฝง เร่ืองความ ประหยัด 2. คา นิยมรกั ษาสขุ ภาพ พฤตกิ รรมการบรโิ ภค บคุ ลทม่ี ีคานยิ มนี้ จะคาํ นงึ ถึงสุขภาพเปนหลักเลือกรับประทานอาหาร ทีม่ ีประโยชนตอรางกาย ออกกําลังกายไดอยางสมาํ่ เสมอ รักษาความสะอาดพักผอนอยางเพียงพอไปพบแพทย เปน ประจํา เพ่อื ทาํ ใหส ุขภาพแข็งแรงตองการมีชีวติ ทีย่ นื ยาวรวมทงั้ ดูแลสขุ ภาพคนในครอบครวั ดวย ผลท่ีมีตอเศรษฐกิจ ไมตองเสียคาใชจายในการรักษาพยาบาลทั้งของตนเองและของ รฐั บาล มีชีวติ และความเปนอยูทด่ี ี เปน กําลังสําคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจของชมุ ชนและประเทศ 3. คา นยิ มการบริโภคนยิ ม พฤติกรรมการบริโภค บุคคลท่ีมีคานิยมนี้ จะฟุมเฟอย บริโภคตามกระแสนิยม บริโภคโดย ไมไดค าํ นึงถงึ เรื่องใด ๆ ไมวา จะราคา สุขภาพ รายได หรอื ความจาํ เปน นอกจากความพึงพอใจของตน

ผลท่ีมีตอเศรษฐกิจ ทําใหตองพยายาม ดิ้นรน หาส่ิงที่ตองการ ไมมีวินัยทางการเงิน เสียเงิน โดยไมจาํ เปน ใชส ินคาและบรกิ ารสิน้ เปลือง และไมคมุ คา ทาํ ใหมปี ญ หาหนส้ี ิน นาํ ไปสปู ญหาทางเศรษฐกิจและ ปญหาสังคมอื่น ๆ ตามมา 4. คานิยมรักความสนกุ พฤติกรรมการบริโภค บุคคลท่ีมีคานยิ มน้ี เปนคนที่ชอบความสนุกสนาน รื่นเริง ชอบสังสรรค กับเพ่อื น ๆ ญาติพน่ี องในทุกโอกาสทุกเทศกาล ผลท่ีมีตอเศรษฐกิจ ทําใหเกิดปญหาหนี้สินอาจเปนอันตรายตอชีวิต หรือทรัพยสินที่เกิดจาก การทะเลาะวิวาท แตก็ทําใหมีการกระจายรายไดไปยังสถานท่ีทองเท่ียวตาง ๆ ภายในประเทศเปนการสราง งาน สรา งรายไดไปใหสถานที่ทอ งเท่ียวตาง ๆ เปนการกระตุน เศรษฐกิจของชมุ ชนและประเทศใหดีข้นึ 5. คานิยมการดาํ รงชีวิตเรยี บงายและประหยดั พฤติกรรมการบริโภค บุคคลที่มีคานยิ มน้ี จะเปนคนเรยี บงาย ใชจายในส่งิ ท่ีจําเปน พิจารณา อยางรอบคอบกอนตัดสินใจซ้ือวาจะคุมคาหรือไม สามารถออมเงินไดดี ไมนิยมกอหน้ีสินใหกับตนเองหรือ ครอบครัว ผลที่มีตอเศรษฐกิจ คานิยมน้ีเปนคานิยมท่ีดี เพราะเปนผูที่ดํารงชีวิตอยางมีความสุข อยู อยางพอเพียงตามฐานะ ไมสรางปญหาใหกับตนเอง ครอบครัวและสังคม และเงินออมยังเปน ผลดีตอ การลงทุน ในชุมชนและประเทศ นอกจากนี้ยังมีคานยิ มอืน่ ๆ ที่มผี ลตอ พฤติกรรมการบริโภคของคนไทย ท้ังท่ีเปนคานิยม สวนตัวและคานิยมของสังคม ซึ่งสงผลตอเศรษฐกิจของตนเอง ชุมชน และประเทศชาติ เชน คานิยมการ ทาํ บุญ การเชือ่ โชคลางของขลงั เปน ตน

ใบความรทู ่ี 7 เรื่อง ความหมายภมู ิปญ ญาทองถิ่น และการใชแ หลง เรียนรู ความหมายของภูมิปญ ญาทองถิ่น ความหมายของภูมิปญญาทองถ่ินออกมาเปนคําพูดหรือตัวอักษรคงเปนไปไดยาก ท่ีจะสามารถสะทอน ภาพใหเห็นเปนความจริง ในเมื่อของจริงมีอยูแลวในรากฐานจิตใจมนุษยแตละคนมาโดยกําเนิด นอกจากน้ัน การจะเกดิ ความรูความเขาใจเรอ่ื งนี้ หาใชอานจากหนังสือหรอื ฟงจากคนพดู ไม หากกลาวถึงผลการเรียนรูเก่ียวกับภูมิปญญาทองถิ่น กอนอื่นควรกลาวฝากไววา เรื่องน้ีรูไดเฉพาะตัว ถาผูสนใจสามารถเปดรางกาย จิตใจ ใหเปน อิสรภาพ การท่ีจะรูความหมายของภูมิปญญาทองถิ่นไดอยางลึกซ้ึงแตละคนควรมีวิญญาณความรักพนื้ ดิน เร่ิมตน เนนความสําคัญพ้ืนดินถ่ินเกิดของคน จากพื้นฐานภายในจิตใจดังกลาว หากนํามาใชในการมุงม่ันทํางานทุกส่ิง ทุกอยาง โดยคํานงึ ถงึ ความสุขของตนรว มกบั เพ่ือนมนษุ ยท ุกคนอันพึงไดรบั ประโยชน จากรากฐานจิตใจท่ีเขมแข็งหลังจากพบปญหาอยางหลากหลายมีความแกรงกลาในการตอสูกับ ความรสู ึกท่อี ยใู นใจตนเองใหมน่ั คงอยไู ด แทนท่ีจะรูสกึ ทอแทสิน้ หวงั วิถีทางดังกลาวยอมมผี ลสั่งสมความรูความเขา ใจเก่ียวกับภูมปิ ญญาทองถ่ินลึกซึ้งยิ่งขึ้น แมการนําเรื่องนี้ มาพูดมาเขียน แทจรงิ แลวเปนเพียงสิ่งสมมติเทานน้ั สวนที่เปนของจริงนาจะเกิดจากใจอีกทั้งมีการสง่ั สมเอาไว ในใจ ยอ มมผี ลชวยใหเ กิดการรคู วามจรงิ ไดลึกซงึ้ ยงิ่ ขึน้ ความหมายของแหลง เรียนรู แหลง เรยี นรู หมายถึง แหลง ขอมลู ขา วสาร สารสนเทศ และประสบการณ ท่สี นับสนุนสงเสริมใหผ ูเ รียน ใฝเ รียน ใฝร ู แสวงหาความรูแ ละเรียนรดู ว ยตนเองตามอัธยาศยั อยา งกวา งขวางและตอเนอ่ื ง เพื่อเสรมิ สรา งใหผ เู รียน เกดิ กระบวนการเรียนรู และเปน บคุ คลแหงการเรียนรู ความสาํ คัญของแหลงเรยี นรู 1. แหลง การศึกษาตามอัธยาศัย 2. แหลงการเรยี นรตู ลอดชวี ติ 3. แหลงปลกู ฝง นิสัยรักการอาน การศึกษาคนควา แสวงหาความรดู วยตนเอง

4. แหลงสรางเสรมิ ประสบการณภาคปฏิบัติ 5. แหลง สรา งเสริมความรู ความคดิ วทิ ยาการและประสบการณ ประเภทของแหลง เรียนรู แหลงเรียนรู จําแนกตามลักษณะท่ีตง้ั ได ดงั นี้ 1. แหลง เรยี นรใู นโรงเรียน 2. แหลงเรยี นรใู นทอ งถ่นิ วตั ถุประสงคข องการจดั แหลงเรยี นรใู นโรงเรยี น 1. เพ่ือพฒั นาโรงเรยี นใหเ ปนสังคมแหงการเรียนรู มีแหลงขอมลู ขาวสาร ความรู วทิ ยาการ และสรางเสรมิ ประสบการณ ทก่ี วางขวางหลากหลาย 2. เพื่อเสริมสรา งบรรยากาศการเรียนรูในโรงเรยี น โดยเนน ผเู รียนเปนสําคัญ 3. เพื่อจดั ระบบและพฒั นาเครือขา ยสารสนเทศ และแหลง การเรยี นรใู นโรงเรยี น 4. เพอ่ื สง เสริมใหผ เู รียนมที ักษะการเรยี นรู เปน ผใู ฝรู ใฝเรยี น และเรียนรดู วยตนเองอยางตอเน่อื ง

วตั ถุประสงคข องการจดั แหลงเรยี นรูในทอ งถนิ่ 1. เปน แหลง การศกึ ษาตลอดชีวิตที่ประชาชนสามารถหาความรูตา งๆไดด ว ยตนเองตลอดเวลา 2 .เพื่อสง เสรมิ ใหช มุ ชนและสงั คม มีแหลง การเรียนรเู พอื่ การศึกษาทหี่ ลากหลาย สามารถเรยี นรไู ดตามอธั ยาศัย 3. เปน เครอ่ื งมือทีส่ าํ คัญของบคุ คลแหง การเรียนรู ในการแสวงหาความรูเพ่ือพฒั นาตนเอง แหลง เรยี นรูในทอ งถิ่น ไดแ ก หองสมดุ ประชาชน พพิ ิธภัณฑ พิพธิ ภณั ฑวทิ ยาศาสตร หอศลิ ป สวนสัตว สวนสาธารณะ สวนพฤกษศาสตร อุทยานวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี ศูนยก ารกีฬา สถานประกอบการ วัด ครอบครัว ชุมชน องคก ารภาครัฐและภาคเอกชน แหลง ขอมูล ภมู ิปญ ญาทอ งถน่ิ แหลง การเรียนรอู ่ืนๆ เปนตน พระทนี่ ั่งอนันตสมาคม วดพระเชตพุ นวมิ ลมังคลาราม ราชวรมหาวหิ าร พิพธิ ภณั ฑส ยาม

แบบประเมินการจัดกิจกรรมการเรียนรู หนวยท่ี 5 หัวเรอ่ื ง เศรษฐกจิ กา วไกลเพ่อื ไทยยง่ั ยืน 1. ใหผูเรียนศกึ ษาคนควา สถิติการเกิดภัยธรรมชาติและสิง่ แวดลอมที่มีผลกระทบตอการประกอบอาชีพ การเกษตร .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 2. ใหผเู รียนทําบัญชรี ายรับ-รายจา ยของตนเอง จาํ นวน 5 วันและสรุปประโยชนท ่ไี ดรบั จากการทําบญั ชี ครวั เรือน .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 3. ใหผ เู รียนหาแผนพับทเี่ กีย่ วกบั การขายสินคา และบรกิ าร พรอ มทง้ั สรปุ ประโยชนของแผน พับ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 4. จงบอกขอดแี ละขอเสียของการนําเทคโนโลยมี าใชใ นการเพม่ิ ผลผลิต .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 5. ใหผ เู รียนไปสมั ภาษณบ ุคคลทีป่ ระสบความสาํ เรจ็ เก่ยี วกับการดําเนนิ ชีวติ ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................

6. ใหผเู รียนยกตัวอยา งสินคา ฟุมเฟอยในชีวติ ประจําวนั มา 5 ชนดิ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 7. ใหผเู รียนจัดบอรดเกีย่ วกบั ศลิ ปะดนตรที องถน่ิ มานําเสนอท่ี กศน.ตําบล .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................

แนวตอบแบบประเมินการจดั กิจกรรมการเรยี นรู หนว ยท่ี 5 หัวเรอ่ื ง เศรษฐกจิ กา วไกลเพ่ือไทยยง่ั ยนื 1. ใหผเู รยี นศึกษาการเกดิ ภัยธรรมชาติและส่ิงแวดลอมทม่ี ีผลกระทบตอการประกอบอาชพี การเกษตร ตอบ 1. ทําใหผ ลิตทางการเกษตรเสยี หาย 2. เกษตรกรไมส ามารถทําการเกษตรไดต ามฤดกู าล 3. เกดิ ภาวะหนี้สิน 2. ใหผ ูเรยี นทาํ บัญชีรายรับ-รายจา ยของตนเอง จํานวน 5 วนั และสรุปประโยชนท ีไ่ ดรับจากการทําบญั ชี ครวั เรอื น ตอบ 3. ใหผเู รยี นหาแผนพบั ทเ่ี ก่ยี วกบั การขายสนิ คา และบริการ พรอ มทั้งอธิบายสวนประกอบของแผนพับ ตอบ 1. หนาแรก เปนหนาปกแผนพับท่ีจะตองสะดุดตา ดวยสีสันหรือขอความดึงดูดใหคนท่ีไดรับแผน พับ สนใจท่ีจะเปดอานหนา ถัดไป ดังน้ัน การเลอื กรูปภาพจะตองดึงดูดสายตา ชัดเจน สสี ันสวยงามสอดคลอง กับงาน สําหรับขอความตองสั้น กระชับ ไดใจความท่ีสมบูรณ เชน ขอความท่ีสรางประเด็นคําถามตองการ คาํ ตอบ ขอความกระแสตาง ๆ ในสังคม ขอความท่ีสอดคลองกับงานท่ีนําเสนอ รวมถึงตองพิจารณาตัวอักษร และขนาดท่ีจะตองเลอื กใหเ หมาะสม 2. การกําหนดเน้ือหา เน้ือหาที่จะนําเสนอในแตละหนาของสวนท่ีถูกพับ จะตองสรุปใหกระชับ ชัดเจน ไดใจความที่สมบูรณเชนกัน หากเปนประโยคเรียงติดกันก็ไมควรที่จะแนนเต็มหนา การยอหนา เวน วรรค จะตองนํามาพิจารณาประกอบดวย และใสรูปภาพเล็ก ๆ หรือโคดขอความประเด็นสาํ คัญประกอบ เพ่ือ เปนการเบรกสายตาผอู า น

3.การแบงเน้ือหาเปนหัวขอยอย จะตองจบเร่ืองในหนานั้น ๆ ไมตอขอความไปหนาอื่น หัวขอยอ ใหแตกตางหรอื เดน จากรายละเอียด โดยใชข นาดของตัวอักษรหรอื สีตัวอักษรท่ีตางออกไป และการแบงหัวขอ ยอ ย จะตอ งมเี น้ือหารายละเอยี ดครอบคลุมหวั ขอที่กาํ หนด การใชสัญลักษณ ลําดับเลขแสดงหัวขอยอยและตาราง เปนอีกวิธีการหนึ่ง ท่ีชวยใหเน้ือหาของแผนพับนาอาน จากขอความสั้น ๆ เขาใจงายและนาสนใจ ดังนั้น การสรุปเนื้อหาท่ีจะกําหนดเรียงลําดับเปนขอ ๆ หรือการนํา ขอมูลใสกรอบไวในตาราง เปนเร่ืองสําคัญเชนกัน อานแลวรูวาตองการส่ือสาร และตอบคําถามเหลานี้ ไดแก what when where why who how 4. สถานที่ติดตอ สําหรับสวนน้ี อาจจะพิมพไวทายสุดหรือหนาสุดของแผนพับ แตสิ่งที่ตองระบุให ชัดเจนไดแก ชื่อสถานที่ เลขท่ี ท่ีตั้ง หมายเลขโทรศัพทสํานักงาน โทรศัพทมือถือ ปจจุบันที่ขาดไมไดคือ อีเมล เว็บไซตที่สามารถหาขอมูลเพิ่มเติมภายหลังได4. จงบอกขอดีและขอเสียของการนําเทคโนโลยีมาใชใน การเพม่ิ ผลผลติ 4. จงบอกขอดแี ละขอเสียของการนาํ เทคโนโลยีมาใชใ นการเพิ่มผลผลติ ตอบ ขอดี 1. ทําใหส นิ คาและบรกิ ารมีคุณภาพและไดมาตรฐานสามารถควบคุมกระบวนการผลิตและไดผลงาน ทีม่ คี ุณภาพ 2. ทาํ ใหก ระบวนการผลติ สนิ คา และบริการเกดิ ความปลอดภยั ในกระบวนการทํางาน 3. มกี ําไรเพิม่ ขึ้น สงผลใหพนักงานมีรายไดเพิ่มขึ้น ขอเสยี 1. เกดิ ผลกระทบตอส่งิ แวดลอม การขยายตัวอยางรวดเรว็ ของกําลังการผลติ ทําใหเกดิ กากหรือของ เสียจากการผลติ ทรัพยากรธรรมชาติลดลง สงผลตอปรมิ าณนาํ้ ฝนที่ตกในเขตตา งๆการเผาไหมของเชอ้ื เพลิง กอ ใหเ กดิ กาชคารบอนไดออกไซด เกิดปญ หาภาวะเรอื นกระจก กระทบตอระบบนเิ วศของมนุษย 5. ใหผ เู รียนไปสมั ภาษณบุคคลทปี่ ระสบความสาํ เรจ็ เก่ยี วกับการดาํ เนินชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ตอบ 1. ช่ือบคุ คลท่ีประสบผลสาํ เรจ็ 2. เร่ืองทีป่ ระสบความสาํ เร็จ 3. หลกั การดาํ เนินชวี ิตตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง 4. ประโยชนที่ไดร บั จากการสัมภาษณ 6. ใหผ ูเรยี นยกตัวอยา งสนิ คา ฟมุ เฟอยในชวี ติ ประจําวนั มา 5 ชนดิ ตอบ 1. เคร่ืองสําอาง 2. เสอ้ื ผา 3. รองเทา 4. เคร่อื งประดับ 5. โทรศัพท

7. ใหผเู รียนจดั บอรด เก่ียวกับศลิ ปะดนตรีทองถิ่น มานําเสนอท่ี กศน.ตําบล ตอบ 1. รูปแบบ 2. เนือ้ หา 3. ขนาดของนทิ รรศการ 4. การออกแบบการจดั 5. คา ใชจาย 6. ระยะเวลา 7. ศลิ ปะการจดั 8. คําบรรยายอักษรทีใ่ ช 9. เทคนคิ การเสริมความนา สนใจ

บนั ทึกหลงั การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู หนวยที่ 5 หวั เร่ืองเศรษฐกจิ กา วไกลเพือ่ ไทยยัง่ ยืน พบกลุมครงั้ ท่ี...................วันท่.ี ...................เดอื น.........................................พ.ศ........................... กศน.ตําบล..................................................อําเภอ...........................................จงั หวดั กาญจนบุรี 1. จํานวนนักศกึ ษาทม่ี าพบกลมุ ในครง้ั น้ี จาํ นวน.................คน 2. สรุปผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 3. สภาพปญหาทพ่ี บ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 4. วิธีแกปญหา .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 5. ขอ เสนอแนะ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชอ่ื ............................................................ครผู สู อน (......................................................) ความคดิ เห็นผูบรหิ ารสถานศึกษา .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชอ่ื ............................................................ผบู ริหาร (นายศกั ดช์ิ ัย นาคเอ่ยี ม)

บรรณานุกรม http://www.onep.go.th/env_data/2016/01_77/ https://ac127.wordpress.com/2011/02/18/%E0%B8%9A%E0%B8%B1%E0%B8%8D%E0%B8%8 A%E0%B8%B5%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%A7%E0%B9%80%E0%B8%A3 %E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%99/ https://www.1belief.com/article/marketing/ https://sites.google.com/site/sersthsastrthikhwrru/thekhnoloyi-ni-kar-phlit-sinkha-laea-brikar https://www.krungsri.com/bank/th/plearn-plearn/practical-self-sufficient-economy- philosophy.html https://www.thaipost.net/main/detail/5766 http://nmk.ac.th/maliwan2/page/4_2librarysource.html

คณะผจู ดั ทํา แผนการจดั กิจกรรมการเรียนรู กศน.แบบบรู ณาการ ตามรูปแบบ ONIE MODEL หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551 ระดบั ประถมศึกษา ภาคเรียนท่ี 2 ปการศกึ ษา 2562 ท่ปี รึกษา ผอู ํานวยการ กศน.อําเภอเมืองกาญจนบรุ ี 1. นายศักด์ิชยั นาคเอ่ยี ม ครู คศ.2 บรรณารักษณป ฏิบัตกิ าร 2. นางสาวชมพู จนั ทนะ 3. นางสาวสภุ าภรณ หวงั เลิศพาณิชย คณะผูจ ัดทาํ หนว ยการเรยี นรู หนวยการเรยี นรูที่ 1 หวั เร่ือง เศรษฐกจิ กาวไกลเพอ่ื ไทยยั่งยืน 1. นางสนุ ีย ทันไกร ครอู าสาสมัครการศึกษานอกโรงเรยี น กศน.อาํ เภอเมืองกาญจนบรุ ี 2. นายสชุ าติ สกุ ใส ครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียน กศน.อาํ เภอเมืองกาญจนบุรี 3. นางสาวอารยี  โพธ์นิ าคร ครู กศน.ตําบลบา นเหนือ กศน.อําเภอเมืองกาญจนบุรี 4. นางกชกร ชา งงา ครู กศน.ตําบลเกาะสําโรง กศน.อําเภอเมืองกาญจนบุรี 5. นางจินตนา กระดังงา ครู กศน.ตาํ บลวังเย็น กศน.อาํ เภอเมืองกาญจนบุรี 6. นางอําพรรัตน แดงกูล ครู กศน.ตาํ บลชองสะเดา กศน.อําเภอเมืองกาญจนบุรี 7. นางสาวดรณุ ี สมคิด ครู กศน.ตาํ บลแกงเส้ยี น กศน.อาํ เภอเมืองกาญจนบุรี 8. นางสาวนิตยา ถ่ินทุงทอง ครู ศรช.ตําบลเกาะสาํ โรง กศน.อาํ เภอเมืองกาญจนบุรี 9. นางสาวจารุณี สาํ ราญวงศ ครู ศรช.ตาํ บลหนองบวั กศน.อาํ เภอเมืองกาญจนบุรี 10.นางสาวอนงคนาฏ บษุ บงก ครู ศรช.ตําบลบานใต กศน.อําเภอเมืองกาญจนบุรี 11.นางสาวองั คษิญาร มนั่ คง ครู ศรฃ.ตาํ บลบา นเกา กศน.อําเภอเมืองกาญจนบุรี 12.นางดารนิ ทร ราคา ครู ศรฃ.ตําบลลาดหญา กศน.อําเภอเมืองกาญจนบุรี คณะทาํ งานจัดทําและรวบรวมเอกสาร ครอู าสาสมัครการศึกษานอกโรงเรยี น กศน.อําเภอเมอื งกาญจนบรุ ี 1. นางสนุ ยี  ทันไกร 2. นายสุชาติ สุกใส ครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรยี น กศน.อําเภอเมืองกาญจนบรุ ี 3. นางสาวอารีย โพธน์ิ าคร 4. นางกชกร ชา งงา ครู กศน.ตาํ บลบา นเหนือ กศน.อําเภอเมืองกาญจนบุรี 5. นางจินตนา กระดังงา 6. นางอาํ พรรัตน แดงกลู ครู กศน.ตาํ บลเกาะสาํ โรง กศน.อําเภอเมืองกาญจนบุรี 7. นางสาวดรณุ ี สมคิด ครู กศน.ตาํ บลวังเย็น กศน.อาํ เภอเมืองกาญจนบุรี ครู กศน.ตําบลชอ งสะเดา กศน.อําเภอเมืองกาญจนบุรี ครู กศน.ตาํ บลแกงเสย้ี น กศน.อาํ เภอเมืองกาญจนบุรี

8. นางสาวนติ ยา ถ่นิ ทุงทอง ครู ศรช.ตาํ บลเกาะสาํ โรง กศน.อําเภอเมืองกาญจนบุรี 9. นางสาวจารุณี สาํ ราญวงศ ครู ศรช.ตําบลหนองบวั กศน.อําเภอเมืองกาญจนบุรี 10.นางสาวอนงคน าฏ บษุ บงก ครู ศรช.ตําบลบานใต กศน.อาํ เภอเมืองกาญจนบุรี 11.นางสาวอังคษิญาร ม่ันคง ครู ศรฃ.ตาํ บลบานเกา กศน.อาํ เภอเมืองกาญจนบุรี 12.นางดารนิ ทร ราคา ครู ศรฃ.ตาํ บลลาดหญา กศน.อาํ เภอเมืองกาญจนบุรี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook