Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แมลง สัตว์ และพืชที่มีพิษและเป็นอันตราย 1

แมลง สัตว์ และพืชที่มีพิษและเป็นอันตราย 1

Published by E-book Prasamut chedi District Public Library, 2019-08-02 10:04:34

Description: กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
หนังสือ,เอกสาร,บทความนี้นำมาเผยแพร่เพื่อการศึกษา

Search

Read the Text Version

โป๊ยเซียน (Crown of thorns, Christ plant, Christ thorn.; Euphorbia milii Desmoul.) ช่ืออื่น ระวิงระไว พระเจ้ารอบโลก ว่านเข็มพญาอินทร์ (เชียงใหม่); ไม้รบั แขก (ภาคกลาง); ว่านมุงเมือง (แมฮ่ อ่ งสอน) ลักษณะของพืช ไม้พุ่มขนาดเล็ก มีนำ้�ยางขาว มีหนามแหลมจำ�นวนมาก ใบเด่ยี ว ขอบใบมสี ีมว่ งแดงเล็กน้อย ดอกออกเป็นช่อ ชอ่ ดอก ฝอยมีกลบี ประดบั มีหลายสี แดง ชมพู เหลือง ขาว ดอกแท้ ขนาดเลก็ อยตู่ รงกลาง นยิ มปลกู เปน็ ไมป้ ระดบั ทว่ั ไป สามารถ ขยายพนั ธ์โุ ดยการปกั ช�ำ ส่วนท่เี ปน็ พษิ น�ำ้ ยางสีขาว (diterpene esters) อาการ น�้ำ ยางขาวมฤี ทธก์ิ ดั เมอ่ื สมั ผสั ผวิ หนงั จะรสู้ กึ ปวด และผวิ หนงั อักเสบเปน็ ป้นื แดง การรักษา หากสัมผัสผวิ หนงั ใหล้ า้ งน�ำ้ ยางออกด้วยแอลกอฮอล์ พชื ท่มี ีพิษและเปน็ อนั ตราย 89

พญาไรใ้ บ 90 แมลง สตั ว์ และพชื ท่มี พี ิษและเปน็ อนั ตราย

พญาไร้ใบ (Euphorbia tirucalli Linn.) ชือ่ อื่น เคียะจีน พญาร้อยใบ พญาไร้ใบ (เชียงใหม่); เคียะเทียน (ภาคเหนือ) ลักษณะของพืช ไม้พุ่ม ไม่มีหนาม นำ้�ยางมาก อวบนำ้� ลำ�ต้นแตกก่ิงก้าน มสี ีเขียวมรี อยแตก ก่งิ ทรงกระบอก เขยี ว เกลย้ี ง ตอนบนแตก แขนงมากมาย ดอกเป็นดอกช่อขนาดเล็ก สีขาวอมเหลือง ผลมี 3 พู ปกคลมุ ด้วยขนสนี ้ำ�ตาลเข้ม สว่ นท่เี ป็นพษิ นำ้�ยางจากต้น (สารกลุ่ม diterpene esters ได้แก่ 4-deoxyphorbol) อาการ ยางขาวมฤี ทธก์ิ ดั รนุ แรง ตามตำ�รายาไทยใชเ้ พยี งเลก็ นอ้ ยเพอื่ กดั หดู ถา้ สมั ผสั ถกู ผวิ หนงั ทำ�ใหเ้ ปน็ ผนื่ แดง อาจรสู้ กึ ปวดและ ทำ�ให้ผิวหนังอักเสบเป็นป้ืนแดง ถ้าสัมผัสโดนตาจะทำ�ให้ เยื่อบุตาอักเสบ ตาอาจบอดได้ ถ้ากลืนนำ้�ยางจะทำ�ให้ ช่องปากบวม คล่ืนไส้ อาเจียน ทำ�ให้กระเพาะอาหารและ ลำ�ไส้อกั เสบรนุ แรง อุจจาระเป็นเลือด พชื ทีม่ ีพิษและเปน็ อนั ตราย 91

รัก 92 แมลง สตั ว์ และพืช ท่มี ีพษิ และเปน็ อนั ตราย

รัก (Crown Flower, Giant Indian milkweed.; Calotropis gigantea R. Br.) ชอื่ อ่นื ปอเถื่อน ปา่ นเถ่อื น (ภาคเหนือ); รกั รักดอก (ภาคกลาง) ลักษณะของพชื ไม้พุ่ม ทุกส่วนมีนำ้�ยางขาว กิ่งอ่อนและปลายยอดมีขนปุย ใบเป็นใบเดี่ยว ออกตรงขา้ ม ใบรปู ขอบขนานแกมรปู ไข่กลับ โคนใบเวา้ ปลายใบแหลม กา้ นใบสนั้ ดอกสมี ว่ งหรอื สขี าวออก เป็นช่อค่อนข้างแน่น ตามซอกใบหรือปลายก่ิงกลีบดอก รูปกงลอ้ มี 5 แฉก ตรงกลางอบั เรณูเปน็ แผ่นห้าเหลย่ี มเชอื่ ม ติดกับหลอดเกสรผู้ 5 อัน ผลเป็นฝักโค้ง ส่วนกลางพอง ปลายงอ แตกแนวเดยี วผวิ เปน็ คลนื่ เมลด็ สนี �้ำ ตาล มขี นกระจกุ ส่วนที่เปน็ พิษ น�้ำ ยาง (สารกลมุ่ cardiac glycosiders ได้แก่ calotropin) อาการ น้ำ�ยางเม่ือถูกผิวหนังบริเวณเนื้ออ่อนๆ จะทำ�ให้เกิดอาการ ระคายเคอื ง คัน บวมแดง เปน็ หนอง การรกั ษา ในรายที่มอี าการรุนแรง ให้รบี น�ำ สง่ โรงพยาบาล พชื ท่มี ีพษิ และเป็นอันตราย 93

สบดู่ ำ� 94 แมลง สตั ว์ และพชื ท่มี พี ิษและเป็นอนั ตราย

สบ่ดู �ำ (Physic Nut.; Jatropha curcas Linn.) ชอื่ อืน่ พมักเยา มะเยา มะหวั มะหงุ่ ฮวั้ มะโห่ง หงเทก (ภาคเหนอื ); สบู่ดำ� สะบู่หัวเทศ สลอดดำ� สลอดป่า สลอดใหญ่ สีหลอด (ภาคกลาง) ลักษณะของพชื ไม้พุ่ม ทุกส่วนมีนำ้�ยางสีขาวปนเทา เปลือกเรียบ เกลี้ยง ใบเดย่ี วเรยี งสลบั รปู รา่ งคอ่ นขา้ งกลมหรอื ไขป่ อ้ มๆปลายใบแหลม ขอบใบเรยี บฐานใบเว้าเป็นรปู หวั ใจ ก้านใบยาว ดอกสเี หลือง ออกเปน็ ชอ่ ทย่ี อดและตามงา่ มใบ ผลกลม เมอื่ แกจ่ ดั แตกออก เป็น 3 พู แตล่ ะพูมี 3 กลบี เมลด็ รูปกลมรี สดี �ำ ผิวเกลย้ี ง สว่ นท่เี ป็นพิษ เมลด็ นำ้�มันในเมลด็ นำ้�ยาง (curcin, jatrophin) อาการ ถา้ สมั ผสั น�ำ้ ยางเกดิ อาการระคายเคอื งบวมแดงแสบรอ้ นอยา่ งรนุ แรง หากไดร้ ับพษิ จากการกนิ พชื นี้ เช่น เมล็ดพืช 1 – 20 เมล็ด จะปรากฎอาการพิษภายหลังกินประมาณคร่ึงชั่วโมง ทำ�ให้ คลน่ื ไสอ้ าเจยี นคลา้ ยอาหารเปน็ พษิ ปวดทอ้ ง ทอ้ งเสยี ถา่ ยเหลว แในลระาเยททา้ ่ีมหีอาายกใจารเรรว็ ุนหแรองบอคาวจามมีอดานั กตาำ่�รคเกลรนื่ ง็ หขอวั ใงจกไลฟา้ ฟมา้เนผอ้ืิดทปม่ีกตือิ บางรายอาจถึงตายได้ การรกั ษา กอ่ นน�ำ สง่ โรงพยาบาลควรใหด้ ม่ื นมหรอื ผงถา่ น เพอื่ ลดการดดู ซมึ เtสพrง่isอ่โื รiปlงicอ้พaงยtกาeนับกากาลอ่ รในหหลม้ b้าดงisสกmตรจิuะาtเกพhกาsาะuรbสหcญู รaอืrเสbทยีoำ�นnใ�ำ้aหแt้อeลาะแเจสลยีาะรนmอเิใaลหgค้นnโeต้ำ�เsรกiไuลลmทอื ์ และควรให้อาหารทีค่ ารโ์ บไฮเดรตสูงในระยะ 2 – 3 วนั แรก พืชทม่ี พี ิษและเปน็ อันตราย 95

สบู่แดง 96 แมลง สตั ว์ และพชื ท่มี พี ิษและเป็นอนั ตราย

สบแู่ ดง (Jatropha gossypifolia Linn.) ชือ่ อนื่ ละห่งุ แดง (ภาคกลาง); สบู่เลือด สลอดแดง สสี อด หงษ์เทศ (ปัตตานี) ลกั ษณะของพชื ไมพ้ มุ่ สงู 1 – 2 เมตร ทกุ สว่ นมยี างขาว ใบเปน็ ใบเดย่ี ว ออกสลบั ขอบ ใบหยักลกึ 3 – 5 แฉก ปลายแฉกแหลม ขอบมีขน ทป่ี ลายขน เปน็ ตอ่ มกลมๆ ขนาดเลก็ เสน้ ใบออกจากโคนใบ ใบออ่ นสแี ดง อมมว่ ง เม่อื แก่เป็นสีเขียวอมแดง กา้ นใบสีแดง ดอกสีแดงเข้ม ออกเป็นชอ่ ทย่ี อด ผลกลม ผิวมนั มี 3 พู เมล็ด 3 เมลด็ สว่ นท่เี ปน็ พษิ ในเมล็ดมี curcin (jatrophin), saponin น�้ำ ยางมี phorbol esters อาการ ถา้ น�ำ้ ยางถกู ผวิ หนงั บางคนกจ็ ะเกดิ อาการแพบ้ วมแดง แสบรอ้ น เมลด็ เมอื่ รบั ประทานเขา้ ไปจะท�ำ ใหเ้ กดิ อาการปวดหวั คลนื่ ไส้ อาเจยี น ท้องเสียคลา้ ยอาหารเปน็ พษิ ปวดท้องเน่ืองจากเยอื่ บอุ าหารถกู ท�ำ ลาย พิษคล้ายละห่งุ การรักษา กอ่ นน�ำ สง่ โรงพยาบาลควรใหด้ ม่ื นมหรอื ผงถา่ น เพอ่ื ลดการดดู ซมึ สง่ โรงพยาบาลท�ำ การลา้ งทอ้ ง หรอื ท�ำ ใหอ้ าเจยี น ใหน้ �ำ้ เกลอื เพอ่ื ปอ้ งกนั การหมดสตจิ ากการสญู เสยี น�ำ้ และสารอเิ ลคโตรไลท์ พืชทีม่ พี ิษและเป็นอนั ตราย 97

สลดั ไดปา่ 98 แมลง สตั ว์ และพชื ท่มี พี ิษและเป็นอนั ตราย

สลดั ไดปา่ (Malayan Spurge Tree.; Euphorbia antiquorum L.inn) ช่ืออื่น กะลำ�พัก (นครราชสีมา); เคียะผา (ภาคเหนือ); เคียะเลี่ยม หงอนงู (แม่ฮ่องสอน); ทูดุเกละ (กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน); สลดั ไดปา่ (ภาคกลาง) ลักษณะของพืช เปน็ ไมท้ รงพมุ่ แตกกง่ิ กา้ นสาขามาก ลกั ษณะคลา้ ยตน้ ตะบอง เพชรรูปดาวสามแฉก มหี นามเลก็ ยาวตามเหลย่ี ม ใบเลก็ มาก รปู ชอ้ นสเี ขยี วออกตามเหลย่ี ม รว่ งเรว็ ดอกเลก็ ๆ สเี หลอื งออก ตามหนาม ท้งั ต้น มยี างสีขาว ขึ้นตามโขดหิน ตามป่าเขาและ ชายทะเล ขยายพนั ธด์ุ ว้ ยเมล็ดและปักช�ำ ก่ิง ส่วนที่มพี ษิ น้ำ�ยางสขี าว (diterpene esters) อาการ ยางขาวมีฤทธ์ิกัดเม่ือสัมผัสจะรู้สึกปวดและผิวหนังอักเสบ เปน็ ปน้ื แดง ตอ่ มาบวมพองเปน็ ตุม่ น�้ำ ภายใน 2 – 3 ชวั่ โมง และถา้ กระเดน็ เข้าตาจะทำ�ให้เยือ่ บุตาอกั เสบ ในยางมี resin ซึง่ เป็น ยาถา่ ยอยา่ งรนุ แรงท�ำ ใหอ้ าเจยี น ต�ำ รายาไทยใชย้ างสลดั ไดกดั หดู แต่ตอ้ งระวังอยา่ ให้สัมผสั บริเวณเนอ้ื เย่อื โดยรอบ การรกั ษา รีบทำ�ความสะอาดบริเวณผิวสัมผัสทันทีด้วยแอลกอฮอล์ หากน�ำ้ ยางกระเดน็ เขา้ ตา ใหร้ บี ลา้ งออกดว้ ยน�ำ้ สะอาดหลายครง้ั ทันที ใหก้ ารรกั ษาเช่นเดียวกบั พิษจาก phenol คอื ใชย้ าทา สเตยี รอยด์ หรอื รับประทานสเตียรอยด์ตามแต่อาการ พืชทม่ี พี ิษและเป็นอนั ตราย 99

มะละกอฝร่งั 100 แมลง สตั ว์ และพชื ท่มี พี ิษและเปน็ อนั ตราย

มะละกอฝร่งั (Jatropha multiidf a Linn.) ชอ่ื อน่ื ฝน่ิ ตน้ (กรงุ เทพฯ); มะหงุ่ แดง (ภาคเหนอื ) ลักษณะของพชื ไม้พมุ่ กิ่งกา้ นเรียวยาว ผวิ ล�ำ ต้นคอ่ นขา้ งเรยี บ มรี อยแผลเปน็ เกิดจากใบหลุด ใบเดี่ยว มักอยู่รวมกันบริเวณปลายก่ิง ขอบใบเว้าลึกเป็นแฉก ขอบใบของแต่ละแฉกมักเป็นซ่ีห่างๆ ดอกออกเปน็ ชอ่ กลบี ดอกสแี ดง ผลรปู ไข่ ดา้ นขา้ งแบนเลก็ นอ้ ย เมื่อแก่มสี ีเหลืองมกั ปลูกเปน็ ไมป้ ระดบั สว่ นทเ่ี ปน็ พิษ เมล็ด น้�ำ ยางใส (สารประกอบ phorbol) อาการ ถา้ น�ำ้ ยางถกู ผวิ หนงั บางคนกจ็ ะเกดิ อาการแพ้ บวมแดง แสบรอ้ น เมลด็ เมอ่ื รบั ประทานเขา้ ไปจะท�ำ ใหเ้ กดิ อาการปวดรอ้ น คลน่ื ไส้ อาเจียน ท้องเสีย กล้ามเน้ือชักกระตุก หายใจเร็ว การเต้น ของหวั ใจผิดปกติ ความดันต่ำ� พษิ คล้ายละหุ่ง หากกนิ เมล็ด พชื นีเ้ พียง 3 เมลด็ กจ็ ะเกิดอันตรายได้ การรกั ษา เมื่อได้รับพิษควรให้ด่ืมนมหรือผงถ่าน เพ่ือลดการดูดซึม แล้วรีบน�ำ ส่งโรงพยาบาลเพ่ือล้างท้องทันที แล้วให้การรักษา ตามอาการ อาจใหน้ �้ำ เกลอื ทางเสน้ เลอื ด เพอื่ ปอ้ งกนั การชอ็ ก เนือ่ งจากสญู เสยี นำ้�และเกลอื แร่ พชื ท่ีมีพิษและเปน็ อันตราย 101

กลอย กลอย (Dioscorea hispida Dennst) ช่ืออนื่ มันกลอย (ท่ัวไป); กลอยข้าวเหนยี ว (นครราชสีมา); กอยนก กอย (ภาคเหนือ); คลี้ (กะเหรีย่ ง-แม่ฮอ่ งสอน) ลกั ษณะของพืช ไมเ้ ถา ล�ำ ตน้ กลม มหี นาม มหี วั ใตด้ นิ เกดิ ใกลผ้ วิ ดนิ เปลอื กสฟี าง หรอื เทา เนอ้ื ขาว หรอื เหลอื งออ่ นอมเขยี ว ใบเรยี งสลบั กนั มใี บยอ่ ย 3 ใบ ใบกลางรปู รี ปลายใบเรยี วแหลม ขอบใบเรยี บ โคนใบแหลม เส้นใบเรียงตามยาว 3 – 5 เส้น ด้านล่างตามเส้นใบใหญ่ มีหนาม ใบยอ่ ย 2 ขา้ ง รปู ไข่กลับหรือคอ่ นขา้ งเปน็ หัวใจเบ้ยี ว ปลายแหลมโคนกลม สน้ั และปอ้ มกวา่ ใบกลาง มเี สน้ ใบ 4 – 6 เสน้ 102 แมลง สัตว์ และพชื ทมี่ พี ษิ และเป็นอันตราย

ใบอ่อนด้านบนมีขน ใบแก่เกลี้ยง กา้ นใบแก่ มหี นาม หัวทา้ ย โป่งเล็กน้อย ดอกมขี นาดเล็ก สีเขียว ออกเป็นชอ่ ตามง่ามใบ ผลรปู รา่ งคลา้ ยน�ำ้ เตา้ คอชะลูด ผวิ เกลีย้ งสนี ้�ำ ผ้งึ เมล็ดมีปกี ส่วนที่เป็นพษิ หัวใต้ดิน และน้ำ�สีขาวจากหัว (สารกลุ่ม steroid saponin ไดแ้ ก่ dioscin และสารกลมุ่ piperidine alkaloids ไดแ้ ก่ dioscorine) อาการ ท�ำ ใหเ้ กดิ อาการใจสน่ั วงิ เวยี น คนั คอ คลนื่ ไส้ อาเจยี น เหงอ่ื ออก ซีด ตาพรา่ ชพี จรเตน้ เบาและเร็ว อดึ อัด เปน็ ลม แล้วตัวเย็น บางคนมีอาการประสาทหลอน อาจมีการกระตุกของกล้าม เนื้อชกั และกดประสาทส่วนกลาง การรักษา ในขั้นต้นอาจให้ดื่มไข่ขาว ให้ Phenobarbital เพ่ือป้องกัน หรือระวังอาการชัก อาจให้ diazepam ซึ่งเป็นยาระงับ ประสาท และท�ำ ให้กล้ามเนือ้ คลายตัว (muscle relaxant) จะสามารถลดอตั ราการตายจากกลอยได้ และจะใหผ้ ลดยี ง่ิ ขนึ้ เม่ือให้ร่วมกับ anticholinergic drug คือ atropine แต่ไม่ควรให้ในรายทมี่ อี าการถงึ ข้นั กดประสาทสว่ นกลาง หมายเหตุ หวั กลอยสามารถนำ�มารบั ประทานเปน็ อาหารได้ แตต่ อ้ งผา่ น กรรมวิธีชะล้างพิษออกให้หมด โดยนำ�มาฝานเป็นแผ่นบางๆ แช่ในน�ำ้ ทีม่ นี �้ำ ไหลตลอดเวลาประมาณ 7 วัน หรือจนแน่ใจว่า พิษหมด หรือหมักเกลือ นำ�มาคั้นนำ้�ทิ้ง ทำ� 3 วัน แล้วจึง น�ำ มาปรงุ อาหารรับประทาน พืชทมี่ ีพิษและเปน็ อันตราย 103

ขีก้ าแดง 104 แมลง สตั ว์ และพชื ท่มี พี ิษและเป็นอนั ตราย

ขกี้ าแดง (Trichosanthes integrifolia Kurz., Syn Gymnopeta- lum integrifolium Kurz.) ชอ่ื อน่ื แตงโมป่า (กาญจนบรุ ี); มะกาดิน (เชยี งใหม)่ ลกั ษณะของพชื ไมเ้ ถาล้มลุกเล้ือย หนวดตามล�ำ ต้นปลายแยก 2 แฉก ใบเด่ียว เรียงเวียน ผิวใบด้านหน้าสาก ด้านหลังเส้นใบใหญ่มองเห็น เปน็ ตาข่ายเตม็ หลงั ใบ มีขนสัน้ ๆ จำ�นวนมาก ก้านใบยาวมีขน ดอกสีขาว ผลกลม ผิวเรียบ ผลอ่อนสีเขียว มีริ้วสีขาวจาง เมอ่ื แกส่ สี ม้ แดงภายในมเี มลด็ จ�ำ นวนมาก เมลด็ กลมรมี เี ยอื่ หมุ้ เมลด็ สีเขยี วเข้มเกือบดำ� ส่วนทเี่ ป็นพิษ เมล็ด อาการ หากกนิ เพยี ง 2 – 3 เมลด็ ทำ�ใหเ้ กดิ อาการเมา คลนื่ ไส้ อาเจยี น ท้องเดนิ อยา่ งรนุ แรง ท�ำ ใหถ้ งึ แกช่ วี ติ ได้ การรกั ษา กำ�จัดเศษของพืชออกโดยการทำ�ให้อาเจียน และรีบนำ�ส่ง โรงพยาบาล พชื ท่ีมพี ิษและเป็นอนั ตราย 105

ชวนชม 106 แมลง สตั ว์ และพืช ท่มี ีพษิ และเปน็ อนั ตราย

ชวนชม (Mock Azalea, Desert Rose, Impala Lily, Pink Bignonia.; Adenium obesum Balf.) ชื่ออนื่ ลัน่ ทมแดง ลนั่ ทมยะวา (กรุงเทพฯ); ลักษณะของพชื ไม้พ่มุ ขนาดเลก็ มีน้�ำ ยางขาว ลำ�ตน้ อวบน้�ำ ใบเดี่ยว ดอกช่อ กลีบ ดอกสชี มพแู ดง ผลเป็นฝักคู่ ภายในมเี มลด็ จำ�นวนมาก เมลด็ มีขนเป็นกระจุก สว่ นทเ่ี ปน็ พษิ ตน้ สด เปลอื กของต้น เมลด็ (abobioside, abomonoside, echubioside, echujun, cardiac glycoside) อาการ หลังจากเค้ียวหรือกลืนส่วนของพืชเข้าไป จะระคายเคืองต่อ เยือ่ บุภายในปากและกระเพาะอาหาร ท�ำ ใหค้ ลื่นไส้ อาเจยี น ทอ้ งเสีย ปวดศรี ษะ ตาพร่าและการมองเห็นสผี ิดปกติ มนึ งง ชีพจรเต้นช้าหรือไม่สม่ำ�เสมอ ความดันโลหิตลด และตาย เนือ่ งจาก ventricular fibrillation ในเด็กเลก็ จะเกดิ cardiac arrhythmia และกดการทำ�งานของระบบประสาทส่วนกลาง อย่างรนุ แรง ในผ้ใู หญจ่ ะเกดิ อาการทางจติ ร่วมด้วย การรักษา 1. ท�ำ ใหอ้ าเจยี น โดยใหย้ าพวก ipecac เพอ่ื ก�ำ จดั เศษพชื พษิ ที่ไมถ่ ูกดูดซึมออก แลว้ ให้ activated charcoal เพ่อื ลด การดูดซึมของสารพิษ วัดปริมาณโพแทสเซียม และ แมกนีเซียมในซีรัมทุกชั่วโมง ตรวจคล่ืนหัวใจควบคุม พชื ทีม่ พี ิษและเป็นอันตราย 107

อัตราความเร็วของการบีบตัวของหัวใจ ไม่ควรให้ epinephrine หรือยากระตุ้นอ่ืนๆ เพราะจะทำ�ให้เกิด ventricular fibrillation 2. การลดพษิ 2.1 ถ้ามีอาการ cardiac arrhythmia เนอื่ งจากปริมาณ โพแทสเซยี มลดลง หากผรู้ บั พษิ ไมม่ อี าการผดิ ปกตทิ างไต ให้โพแทสเซียมคลอไรด์ 3 กรัม ละลายในนำ้�ผลไม้ ให้ด่ืมทุกช่ัวโมง หรือให้โพแทสเซียม 20 meq ใน 500 มล. 5% เดก็ ซโตรสทางเสน้ เลือด อัตราเรว็ ไม่เกนิ 0.3 meq/นาที จนกระท่งั ECG ปกติ ถา้ ใน ซีร่ัมมีปริมาณโพแทสเซียม 5 meq/L ควรหยุดให้ โพแทสเซียมทันที และไม่ควรให้โพแทสเซียมใน ผรู้ บั พษิ ที่มอี าการ complete heart block 2.2 ลดปริมาณโพแทสเซียมท่ีเพ่ิมขึ้นโดยให้ sodiurm polystyrene sulfonate เชน่ kayexalate 20 กรมั ทางปาก หรือสวนทุก 4 ชว่ั โมง ใหอ้ นิ ซูลีน 10 ยนู ิต ขณะใหเ้ ด็กซโตรส 5% 2.3 สำ�หรับ atrial and ventricular irregularities ซง่ึ ไมไ่ ดต้ อบสนองตอ่ การใชโ้ พแทสเซยี มให้ phetoin 0.5 มก./กก. ทางเสน้ เลอื ดอยา่ งชา้ ๆ ทกุ 1 – 2 ชว่ั โมง และไมค่ วรเกนิ 10 มก./กก. ใน 24 ชว่ั โมง ให้ indocaine 1 มก./กก. 5 นาที และ 15 – 50 ไมโครกรมั /กก./นาที เพ่ือควบคุมการเต้นของหัวใจให้ปกติ ระวังการใช้ propranolol, quinidine และ procainamide ซึง่ จะเป็นอันตราย 108 แมลง สตั ว์ และพืช ที่มีพิษและเป็นอันตราย

2.4 ให้ cholestyramine เพ่ือช่วยลดการดดู ซึมพษิ 2.5 ให้ atropine ขนาด 0.01 มก./กก. ทางเสน้ เลือด เพอ่ื เพม่ิ อตั ราการเตน้ ของหวั ใจในรายทเ่ี กดิ heartblock 3. ในกรณีไตเสียให้รีบรักษาจนกว่าอาการเต้นผิดปกติของ ventricle ท่ีเกิดจากสารพิษจะหายไปโดยดูจาก ECG ถ้าไตปกติด่ืมสารละลายทุก 24 ช่ัวโมง ไม่ควรให้ยา ขับปสั สาวะในกรณที ่ียังมีฤทธิข์ องสารพษิ อยู่ พืชทีม่ พี ิษและเปน็ อนั ตราย 109

ดองดงึ 110 แมลง สตั ว์ และพืช ท่มี ีพษิ และเปน็ อนั ตราย

ดองดึง (Climbing Lily.; Gloriosa superb Linn.) ชอื่ อื่น ก้ามปู (ชัยนาท); คมขวาน บ้องขวาน หัวขวาน (ชลบุรี); ดองดึง (ทั่วไป); ดองดึงส์ ว่านก้ามปู (ภาคกลาง); พันมหา (นครราชสีมา); มะขาโก้ง (ภาคเหนอื ) ลกั ษณะของพชื ไมล้ ม้ ลกุ ลำ�ตน้ ใตด้ ินรูปร่างคล้ายหวั ขวาน ใบเด่ียวเรียงสลบั ตวั ใบรปู หอก ปลายใบเรยี วแหลมและมว้ นงอเปน็ มอื เกาะดอกเดย่ี ว ออกตามซอกใบ กลบี ดอกสเี หลอื ง ปลายกลบี สแี ดง เมอ่ื แกจ่ ะเปน็ สแี ดงทงั้ ดอก ผลรปู ทรงกระบอกสเี ขยี ว มี 3 พู เมลด็ กลมสสี ม้ ส่วนท่ีเปน็ พิษ หวั ใต้ดิน เมลด็ ดอก (colchicine gloriosine superbine) อาการ ถ้ารับประทานเข้าไปจะเกิดอาการภายใน 2 – ก1ร0ะหชาั่วยโนมำ�้ง เรม่ิ จากปวดแสบปวดรอ้ นบรเิ วณปาก คอ ลำ�คอ รุนแรง คลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง ท้องร่วงรุนแรง อาจถ่าย อถุ้าจสจูญารเสะียเปน็น้ำ�แเลลือะดเกลลือำ�แไรส่ม้บาิดก เกร็ง อาจช็อกและหมดสติ ปัสสาวะน้อยและมีเลือดปน (hematuria) แสดงวา่ ไตถกู ทำ�ลาย บางรายมอี าการกลา้ มเนอื้ แขนขาเกรง็ และมฤี ทธกิ์ ดประสาทสว่ นกลางภายในเวลา 4 ถงึ 12 ชัว่ โมง ก่อนเสียชวี ติ การรกั ษา 1. ควรให้ด่ืมนมหรือผงถ่าน เพ่ือลดการดูดซึม แล้วนำ�ส่ง จใโรหางน้กพ�กำ้ ยเาการลบสอืาูญทลเเาสพงยี เ่อื สนลน้ �ำ้ ้าเงลแทอื ลอ้ดะงสปทาอ้ นั รงทอกีเินั ลกคาโรตหรมไลดทส์ตแแิ ลละะรชกั อ็ ษกาทตเ่ี กามดิ 2. อาการ พชื ทมี่ ีพิษและเปน็ อันตราย 111

บานบุรีเหลอื ง 112 แมลง สตั ว์ และพชื ที่มพี ษิ และเป็นอนั ตราย

บานบรุ เีหลอื ง (Yellow allamanda, Allamanda cathartica Linn.) ชื่ออื่น บานบรุ เี หลือง (ท่วั ไป) ลกั ษณะของพืช ไม้เถา ท้ังต้นมียางสีขาว ใบเดี่ยวออกตรงข้ามหรือออกรอบ ข้อ 3 – 4 ใบ ใบรูปขอบขนาน ปลายใบแหลมโคนใบสอบ ดอกออกเป็นช่อตามปลายกง่ิ กลีบดอกตอนโคนเชือ่ มกนั เป็น หลอด ปลายแยก 5 กลบี กลบี ดอกสเี หลอื งสด ผลรปู ทรงเกอื บ กลมมหี นาม ภายในมีเมลด็ จำ�นวนมาก สว่ นที่เป็นพิษ ยางจากตน้ ใบ (resin) อาการ หากรบั ประทานชนิ้ สว่ นของพชื จะเกดิ อาการระคายเคอื งของ เยื่อบใุ นปากและกระเพาะอาหาร มีอาการอาเจยี น ทอ้ งเดนิ ปวดศีรษะ และท้องเสียรุนแรง และถึงตายได้ เน่ืองจาก สูญเสียนำ�้ และเกลือแรม่ าก การรกั ษา ก�ำ จดั เศษพชื ทเ่ี ปน็ พษิ ออกจากรา่ งกาย โดยท�ำ ใหอ้ าเจยี นแลว้ นำ�ส่งโรงพยาบาลเพ่ือล้างท้อง ให้นำ้�เกลือทางเส้นเลือด เพื่อรกั ษาระดบั นำ�้ และอิเลคโตรไลทใ์ นรา่ งกาย พืชทม่ี ีพษิ และเปน็ อันตราย 113

ปตั ตาเวยี 114 แมลง สตั ว์ และพชื ท่มี พี ิษและเป็นอนั ตราย

ปัตตาเวีย (Jatropha integerrima Jacq.) ชอื่ อื่น ปตั ตาเวยี (กรงุ เทพฯ) ลกั ษณะของพืช ไม้พุ่ม ใบเด่ียวมีหลังใบค่อนข้างแดง ดอกออกเป็นช่อตาม ปลายกิ่ง กลีบดอกสีแดงหรือชมพู ผลมี 3 พู นิยมปลูกเป็น ไม้ประดบั สว่ นท่เี ป็นพิษ น�ำ้ ยาง (phenolic compound) อาการ หากกินพืชน้ีเข้าไปประมาณคร่ึงชั่วโมงจะมีอาการคล่ืนไส้ อาเจียน คล้ายอาหารเป็นพิษ ปวดท้อง เนื่องจากเย่ือบุ ทางเดนิ อาหารถูกทำ�ลาย อาจมีอาการชา อัมพาตทแ่ี ขน ขา นานถึง 24 ชว่ั โมง และจะดีข้นึ ภายใน 1 อาทิตย์ การรักษา ก่อนนำ�ส่งโรงพยาบาลควรให้ด่ืมนมหรือผงถ่าน (activated charcoal) เพอ่ื ลดการดดู ซมึ สง่ โรงพยาบาลเพอื่ ลา้ งทอ้ งทนั ที พชื ทมี่ พี ิษและเปน็ อันตราย 115

ผกากรอง ผกากรอง (Cloth of Gold. Hedge Flower.; Lantana camara Linn., Lantana esculenta Linn.) ชื่ออ่ืน กา้ มกงุ้ เบญจมาศปา่ ขะจาย ตาปู มะจาย (แมฮ่ อ่ งสอน); ขกี้ า (ปราจนี บรุ )ี ; ค�ำ ขไ้ี ก่ (เชยี งใหม)่ ; ดอกไมจ้ นี (ตราด); เบง็ ละมาศ สาบแร้ง (ภาคเหนือ); ไม้จีน (ชุมพร); ย่ีสุ่น (ตรัง); สามสิบ (จนั ทบรุ ี); หญ้าสาบแร้ง (ภาคกลาง ภาคเหนือ) ลกั ษณะของพชื เปน็ ไม้พ่มุ เลื้อย ล�ำ ตน้ เป็นเหลยี่ มมีขน บางชนิดมหี นามชนดิ hooked prickles (เปน็ ขอ) ใบหยาบมกี ลน่ิ แรง ดอกเปน็ ดอก ช่อชนิดอยู่เป็นกระจุก มีหลายสีคือ สีขาว เหลือง เน้ือม่วง ส้มแดง ดอกสเี หลอื งมีสีแดงอยกู่ ลาง ผลออ่ นมสี ีเขียว สว่ นผล แกม่ ีสนี ้ำ�เงินเขม้ ถงึ ดำ� มเี มล็ด 2 เมล็ด 116 แมลง สตั ว์ และพชื ที่มพี ิษและเป็นอนั ตราย

ส่วนท่เี ปน็ พษิ ใบ ผลแก่แตย่ งั ไม่สุก (สาร triterpenoids ช่อื Iantadene A และ B) อาการ มีรายงานวา่ เด็กอายุ 2 – 6 ขวบ ซงึ่ รบั ประทานผลทแี่ ก่แต่ ยังไม่สุกพบว่ามีอาการอ่อนเพลีย กล้ามเนื้อไม่ประสานกัน มนึ งง อาเจยี น หายใจลกึ แตช่ า้ มา่ นตาขยาย ตวั เขยี ว ทอ้ งเดนิ หมดสติและตายได้ในท่ีสุด ผู้ใหญ่หากกินเข้าไปทำ�ให้เกิด อาการผวิ หนงั ไวตอ่ แสง (Photosensitization) ผวิ หนงั มรี อย ฟกชำ�้ ดำ�เขียว (Lesion) และผิวหนังแตกในคน ในสตั วเ์ ล้ียง เช่น วัว ควาย หากกินพืชชนิดนี้เข้าไปจะทำ�ให้ตับอักเสบ จะมกี ารสะสมและขบั ถา่ ย bromosulfophthalein ซง่ึ อาจมี ผลในการก�ำ จดั สารพษิ ออกจากรา่ งกาย ววั ทก่ี นิ พชื นเ้ี ขา้ ไปพบ ว่ามีระดับ serum adenosine diaminase เพิ่มข้ึน และ มีอาการดซี า่ น การรกั ษา เด็กท่ีรับพิษจากผกากรองรีบนำ�ส่งโรงพยาบาลเพื่อทำ�การ ล้างท้อง ถ้าได้รับพิษนานกว่า 3 ช่ัวโมง ควรให้ยาประเภท สเตยี รอยดอ์ ะดนี าลนี และใหอ้ อกซเิ จนเพอื่ ชว่ ยหายใจ ส�ำ หรบั สัตว์เลี้ยงที่ได้รับพิษผกากรองให้แยกจากบริเวณที่มีพืชน้ีอยู่ แลว้ ใหย้ ากระตุน้ การขบั ถา่ ย หมายเหตุ ผกากรองมหี ลายพนั ธุ์ และไมอ่ าจใชส้ ขี องดอกเพอ่ื จ�ำ แนกชนดิ หรือสายพนั ธุข์ องผกากรองได้ พชื ทม่ี ีพิษและเปน็ อันตราย 117

ผักเส้ยี น ผกั เสี้ยน (Wild Spider ofl wer.; Cleome gynandra Linn.) ชอื่ อื่น ผกั สม้ เส้ยี น (ภาคเหนอื ); ผักเสยี้ น ผักเสี้ยนขาว (ภาคกลาง) ลักษณะของพชื ไม้ลม้ ลกุ แตกก่งิ ก้านสาขาที่ไม่ยาวมาก รอบตน้ ตามลำ�ต้นมี ขนอ่อนๆ ปกคลุม เม่อื จบั จะเหนยี วมอื ใบประกอบ 3 – 5 ใบ ใบยอ่ ยรปู ไขง่ ู ปลายเสย้ี มขนาดไมเ่ ทา่ กนั เรยี งกนั คลา้ ยรปู นวิ้ มือดอกเล็กสีขาวหรือขาวปนม่วง ออกเป็นช่อที่ปลายก่ิง ฝกั กลมยาวเมล็ดเหมือนเมลด็ งาสีดำ� ขยายพันธดุ์ ้วยเมลด็ สว่ นท่ีเป็นพษิ ทั้งต้น (cyanogenetic glycosides) 118 แมลง สัตว์ และพืช ท่มี ีพิษและเป็นอันตราย

อาการ มฤี ทธต์ิ อ่ ระบบหวั ใจและทางเดนิ โลหติ เนอ่ื งจากไซยาไนดจ์ บั กบั เอนไซม์ cytochrome oxidase ทำ�ให้ออกซิเจนเข้าสู่เซลล์ การรักษา ลดลงในธรรมชาตสิ ารพวกไซยาไนดท์ อ่ี ยใู่ นพชื เหลา่ นจี้ ะอยใู่ น หมายเหต ุ รูปของสารประกอบ cyanogenic glycosides ถา้ กินพืชทมี่ ี สารน้ีสดๆ โดยมิไดน้ ำ�มาหุงต้มหรือดอง เพอ่ื ให้เอนไซมห์ มด ฤทธ์กิ ็จะท�ำ ใหเ้ กดิ โทษ คล่ืนไส้ อาเจียน หายใจขดั ชักกระตกุ กล้ามเนือ้ ไม่มีแรง หายใจล�ำ บาก อาจหมดสติ โคมา่ ในรายท่ี มอี าการรนุ แรงมากลมหายใจมกี ลนิ่ ไซยาไนด์ ถา้ ในปรมิ าณนอ้ ย ท�ำ ใหม้ นึ งง แตถ่ า้ ในปรมิ าณทม่ี ากพอท�ำ ใหห้ นา้ เขยี วเลบ็ เขยี ว (Cyanosis) เพราะขาดออกซิเจน หายใจขัดและถึงแก่ ความตายได้ ให้ผู้รบั สารพิษสูดดม armyl nitrite ทกุ ๆ 5 นาที แล้วจึงฉดี 3% sodium nitrite 10 มล. หลังจากนน้ั ให้ 50% sodium thiosulphate 50 มล. ระหว่าง 15 – 20 นาที ถ้าหายใจ ไมส่ ะดวกใหอ้ อกซเิ จนเพอ่ื ชว่ ยหายใจ การต้ม ดอง จะทำ�ให้สารพิษสลายตัวและไม่เป็นอันตราย หากรับประทานเขา้ ไป พชื ทีม่ ีพิษและเปน็ อันตราย 119

ผกั หนาม ผกั หนาม (Lasia spinosa Thw.) ช่อื อื่น กะลี (มลายู-นราธิวาส); ผกั หนาม (ท่วั ไป) ลักษณะของพืช พืชลม้ ลุก ล�ำ ตน้ ต้ังตรงหรือทอดไปตามพ้นื ล�ำ ต้นโตเกือบเท่า ข้อมือมีหนาม ใบใหญ่ ใบคล้ายฝ่ามือ เป็นแฉกๆ มีแฉก ประมาณ 11 แฉก แต่ละแฉกมปี ลายเรยี วแหลม ผิวใบทั้งสอง ด้านเรียบ ด้านบนมีสีเขียวเข้มมันวาว ด้านล่างมีสีเขียวปน เหลือง ตามเส้นใบมีหนามกระจายท่ัว ก้านใบยาวประมาณ 15 – 70 ซม. มีหนามกระจายทว่ั ดอกมขี นาดเล็กอดั แน่นบน แกนชอ่ ดอกมฐี านรองดอกหมุ้ ดอกโดยปลายจะบานมว้ นงอ มี ตามท่รี าบ หนองนำ�้ ล�ำ ธาร บงึ และพ้ืนทีว่ ่างเปล่า ขยายพันธุ์ โดยใชก้ ง่ิ แขนงท่ีแตกออกมาใหม่หรือใชเ้ มล็ด 120 แมลง สตั ว์ และพืช ทม่ี ีพษิ และเป็นอนั ตราย

สว่ นทีเ่ ป็นพษิ ใบและต้น (สารกลุ่ม cyanogenic glycosides ได้แก่ cyanide) อาการ มฤี ทธต์ิ อ่ ระบบหวั ใจและทางเดนิ โลหติ เนอ่ื งจากไซยาไนดจ์ บั กบั เอนไซม์ cytochrome oxidase ท�ำ ใหอ้ อกซเิ จนเขา้ สเู่ ซลล์ ลดลงในธรรมชาตสิ ารพวกไซยาไนดท์ อ่ี ยใู่ นพชื เหลา่ นจ้ี ะอยใู่ น รูปของสารประกอบ cyanogenic glycosides ถา้ กินพืชทม่ี ี สารนส้ี ดๆ โดยมิไดน้ ำ�มาหงุ ต้มหรอื ดอง เพื่อให้เอนไซม์หมด ฤทธก์ิ จ็ ะท�ำ ใหเ้ กดิ อาการคลนื่ ไส้ อาเจยี น หายใจขดั ชกั กะตกุ กลา้ มเนื้อไมม่ ีแรง หายใจล�ำ บาก อาจหมดสติ โคมา่ ในรายท่ี มอี าการรนุ แรงมาก ลมหายใจมกี ลน่ิ ไซยาไนด์ ถา้ ในปรมิ าณนอ้ ย ท�ำ ใหม้ นึ งง แตถ่ า้ ในปรมิ าณทม่ี ากพอทำ�ใหห้ นา้ เขยี ว เลบ็ เขยี ว (Cyanosis) เพราะขาดออกซิเจน หายใจขัด และถึงแก่ ความตายได้ การรกั ษา ใหผ้ ูร้ ับพิษสดู ดม armyl nitrite ทกุ ๆ 5 นาที แล้วจงึ ฉีด 3% sodium nitrite 10 มล. หลังจากนั้นให้ 50% sodium thiosulphate 50 มล. ระหวา่ ง 15 – 20 นาที ถ้าหายใจ ไม่สะดวกใหอ้ อกซเิ จนเพอ่ื ช่วยหายใจ หมายเหต ุ การต้ม ดองจะท�ำ ให้สารพษิ สลายตัวและไมเ่ ปน็ อนั ตรายหาก รบั ประทานเข้าไป พชื ท่ีมพี ษิ และเปน็ อนั ตราย 121

ฟองสมุทร (เทยี นหยด) 122 แมลง สัตว์ และพืช ท่มี พี ิษและเป็นอนั ตราย

ฟองสมุทร (เทยี นหยด) (Sky-Flower, Pigeon-berry, Golden Dew-drop.; Duranta repens Linn.) ช่อื อน่ื เครือออน (แพร่); พวงมว่ ง ฟองสมุทร (กรงุ เทพฯ); สาวบอ่ ลด (เชยี งใหม)่ ลักษณะของพชื ไม้พุ่ม แตกก่ิงจำ�นวนมาก อาจมีหนามบ้างเล็กน้อย ใบเป็น ใบเด่ียวรูปไข่ ปลายใบอาจแหลมหรือมน ขอบใบจักเป็นซ่ี คลา้ ยฟนั ใบออกตรงกนั ขา้ ม ดอกออกเปน็ ชอ่ ตามงา่ มใบ และ สว่ นยอดของลำ�ตน้ ดอกมขี นาดเลก็ สมี ว่ งอมฟา้ ขาว ออกดอก ตลอดปี ผลกลมเลก็ เมอ่ื แก่มสี เี หลอื ง สว่ นท่เี ป็นพิษ ใบ ผล เมล็ด (สารประกอบ saponin ในเมลด็ ) อาการ คล่ืนไส้ อาเจียน ปวดท้อง ท้องเสีย หากกินในปริมาณมาก อาจทำ�ใหเ้ สียชีวติ ได้ การรกั ษา รกั ษาตามอาการ หากอาเจียนรุนแรงให้ล้างท้องทนั ที แล้วรีบ น�ำ ส่งโรงพยาบาล พชื ท่ีมพี ิษและเปน็ อนั ตราย 123

มะกล�่ำ ตาหนู 124 แมลง สตั ว์ และพชื ที่มพี ษิ และเป็นอันตราย

มะกล่ำ�ตาหนู (Crabs Eye Vine, American Pea.; Abrus precatorius Linn.) ชือ่ อนื่ กลำ่�เครือ กลำ่�ตาไก่ มะกล่ำ�เครือ มะกล่ำ�แดง มะแค๊ก (เชยี งใหม่); เกมกรอม (สุรนิ ทร์); ชะเอมเทศ ตากล่�ำ มะกล�่ำ ตาหนู (กรุงเทพฯ); มะขามเถา ไมไ้ ฟ (ตรัง) ลกั ษณะของพชื ไม้เถาเลอื้ ยขนาดเล็ก ใบเป็นใบประกอบ มีใบย่อยออกเปน็ คู่ รูปขอบขนาน โคนและปลายมน ขอบใบเรียบ ดอกคล้าย ดอกถวั่ ออกเปน็ ชอ่ ตามงา่ มใบ กลบี รองดอกสเี ขยี ว กลบี ดอก สีชมพูแกมม่วง ผลเปน็ ฝกั เวยี น มีรอยคอดชดั เจน เมือ่ แกฝ่ กั จะแตกออกตามยาวและบิดเพื่อกระจายเมล็ด เมล็ดสีแดงสด มีขว้ั สดี �ำ เห็นชัดเจน ผิวเรียบเป็นมนั แขง็ คอ่ นข้างกลม ส่วนท่เี ป็นพิษ เมล็ด (abrin, abrulin) อาการ ภายหลงั จากรบั ประทานเมลด็ จะมอี าการภายใน 3 ชว่ั โมง ถงึ 2 วนั ภายในเมลด็ มี abrin มฤี ทธร์ิ ะคายเคอื งตอ่ เยอ่ื เมอื ก ท�ำ ใหม้ อี าการ คลน่ื ไสอ้ าเจยี น ทอ้ งเสยี ปวดทอ้ ง กระเพาะล�ำ ไสอ้ กั เสบ ชอ่ งทอ้ งบวม เสน้ เลอื ดฝอยถูกท�ำ ให้มเี ลือดออก เรตนิ า ตับอกั เสบ การรักษา ใหผ้ รู้ บั พษิ ดม่ื นม หรอื activated chacoal เพอ่ื ลดการดดู ซมึ ของสารพษิ กอ่ นน�ำ สง่ โรงพยาบาลเพอื่ ลา้ งทอ้ งทนั ที และรกั ษา ตามอาการ พืชท่มี พี ิษและเป็นอนั ตราย 125

ล�ำ โพงกาสลกั 126 แมลง สตั ว์ และพชื ที่มพี ษิ และเปน็ อนั ตราย

ลำ�โพงกาสลกั (Datura metel Linn. var. fastuosa Safford (Syn D. fastussa)) ชือ่ อน่ื กาสลกั ลำ�โพงกาสลกั (ภาคกลาง สุโขทยั ); มะเขือบ้าดอกด�ำ (ล�ำ ปาง) ลักษณะของพชื เป็นไม้ล้มลุกลักษณะเป็นพุ่ม กิ่งอ่อนมีขน ขอบใบเป็นหยัก ใหญ่ ฐานใบยาวไม่เทา่ กนั ดอกเป็นรูปลำ�โพง กลบี ดอกสีม่วง อยดู่ า้ นนอก และสขี าวอยดู่ า้ นในของกลบี ดอก ผลกลมมหี นาม สนั้ เมลด็ แบน สนี �ำ้ ตาล มรี สหวาน ขนึ้ เอง พบทว่ั ไปในเขตรอ้ น ส่วนทีเ่ ปน็ พษิ ใบ ดอก เมล็ด อาการ ถา้ กนิ เมลด็ และใบเขา้ ไป จะปรากฏอาการภายในเวลา 5 – 10 นาที กระหายน�้ำ รนุ แรง ปากและคอแหง้ ตาพรา่ มา่ นตาขยายสแู้ สง ไม่ได้ นำ้�ลายแหง้ ทำ�ให้กลืนน�ำ้ ลายยาก และพดู ไมช่ ดั ผิวหนัง ร้อนแดงและแห้ง ตัวร้อน ปวดศีรษะ ผู้ป่วยรู้สึกสับสน กลา้ มเนอื้ ท�ำ งานไมป่ ระสานกนั มนึ งง มอี าการประสาทหลอน และอาจมพี ฤตกิ รรมคลา้ ยโรคจติ การหายใจชา้ และขดั ผวิ หนงั เป็นสคี ลำ้�เพราะขาดออกซิเจน ในเด็กบางคนอาจมีอาการชกั ชีพจรเต้นเร็วและอ่อน นอกจากนี้ยังมีอาการปัสสาวะค่ัง ทอ้ งผูก ในรายทรี่ นุ แรงคนไข้หมดสตโิ คมา่ การรักษา ให้กินผงถ่านเพ่ือลดการดูดซึม แล้วรีบนำ�ส่งโรงพยาบาล เพอ่ื ล้างทอ้ ง อาจฉีด physostigmine เข้าเส้นเลอื ดอยา่ งช้าๆ ถ้ามีอาการชกั ให้ diazepam ใหน้ ้ำ�เกลือทางเลอื ดเพื่อรกั ษา สมดุลของน้ำ�และอเิ ลคโตรไลทใ์ นรา่ งกาย พืชที่มีพิษและเปน็ อนั ตราย 127

บรรณานุกรม 1. เตม็ สมติ นิ นั ทน.์ ชอ่ื พรรณไมแ้ หง่ ประเทศไทย (ชอ่ื พฤกษศาสตร-์ ชอ่ื พน้ื เมอื ง) โรงพมิ พฟ์ ันน่พี บั ลชิ ชิง่ . กรงุ เทพฯ; 2523. 2. วันทนา งามวัฒน์. สารพิษในพืชและอาการพิษในสัตว์ทดลอง. กองวจิ ยั ทางแพทย์ กรมวทิ ยาศาสตร์การแพทย์; 2530 3. วุฒิ วุฒิธรรมเวช. สารานุกรมสมุนไพร รวมหลักเภสัชกรรมไทย : โรงพมิ พ์ โอ.เอส.พริน้ ต้ิง เฮ้าส.์ กรุงเทพฯ; 2540, 4. รงุ่ ระวี เตม็ ศริ ฤิ กษก์ ลุ . พชื พษิ และพชื เสพตดิ . ภาควชิ าเภสชั พฤกษศาสตร์ คณะเภสชั ศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล. 5. เสาวณี สรุ ิยาภณานนท.์ พชื พิษ. ภาควิชาเภสชั พฤกษศาสตร์ คณะเภสชั ศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยมหิดล. 6. สมจติ ร พงศพ์ งนั สภุ าพ ภปู่ ระเสรฐิ . พชื กนิ ไดแ้ ละพชื มพี ษิ ในปา่ เมอื งไทย. โรงพมิ พค์ ุรุสภาลาดพรา้ ว. กรงุ เทพฯ; 2514. 7. สมพร ภ. หิรญั รามเดช. ต�ำ ราสมนุ ไพรใกลต้ วั เลม่ 6 ว่าด้วยสมุนไพรที่ เปน็ พิษ โรงพมิ พ์กองโรงพมิ พก์ รมสารบรรณทหารเรอื . กรุงเทพฯ; 2535. 128 แมลง สตั ว์ และพชื ทม่ี ีพษิ และเปน็ อนั ตราย

Index : ดชั นี



Index A Christ thorn. 89 Abrus precatorius Linn. 125 Cimex spp. 25 Adenium obesum Balf. 107 Cleome gynandra Linn. 118 Allemanda cathartica Linn. 113 Climbing Lily. 111 American Pea 125 Cloth of Gold 116 Apis dorsata 15 Cockroaches 31 Apis florea 15 Corals 67 Crabs Eye Vine 125 Apis indica 15 Crown Flower 93 Apis mellifera 15 Crown of thorns 89 Apis spp. 15 Assassin bugs 21 D Datura metel Linn. var. fastuosa Safford 127 B Dermatophagoides farinae 37 Bed bugs 25 Dermatophagoides Bees 15 pteronyssinus 37 Blattella germanica 30 Dermatophagoides spp. 37 Blister beetles 5 Desert Rose 107 Bombardier beetles 11 Diodontidae 65 Dioscorea hispida Dennst 102 C Duranta repens Linn. 123 Calotropis gigantean R. Br. 93 Carcinoscorpiues rotundicauda 72 E Centipedes 45 Electric ray 63 Chigger mite 33 Epicauta hirticornis 5 Christ plant 89 Epicauta maliculi 5 ดชั นี 131

Euphorbia antiquorum Linn. 99 J Euphorbia milii Desmoul. 89 Jatropha curcas Linn. 95 Euphorbia pulcherrima Wild. 87 Jatropha gossypifolig Linn. 97 Euphorbia tirucalli Linn. 91 Jatropha integerrima Jacq. 115 Jatropha multifida Linn. 101 Fire corals F 69 L Fugu 65 Lantana camara Linn. Lantana esculenta Linn. 116 G 93 Lasia spinosa Thw. 116 Giant Indian milkweed 65 Leptotrombidium spp. 120 Globe fish 111 Lymantria dispa 33 Gloriosa superba Linn. 123 27 Golden Dew-drop 27 Gypsy moth M 99 Malayan Spurge Tree 49 H 27 Milipedes 107 Hairy caterpillar 116 Mock Azalea 5 Hedge Flower 37 Mylabris phalerata House dust mites N Neostylopyga rhombifolia 31 I 107 P 11 Impala Lily P. occipitalis 7 Paederus fuscipes 43 Pandinus spp. 85 Passiffora foetida Linn. 132 แมลง สตั ว์ และพชื ที่มีพษิ และเป็นอนั ตราย

Peninsular 85 Tachyleus gigas T 74 Periplaneta americana 31 Tarantula spp. 39 Pherosophus javanus 11 Tetraodonedae 65 Pherosophus spp. 11 Thevetia peruviana Schum. 82 Physic Nut 95 Triangle-tail horse-shoe crab 75 Pigeon-berry 123 Triatoma spp. 21 Pink Bignonia. 107 Trichosanthes integrifolia Kurz. 105 Poinsettia. 87 Trumpet Flower 82 Portuguese man-of-war 71 Puffer fish 65 V 19 Vespa affinis 19 R 61 Vespidae Ray 21 Rhodnius spp. 73 W 19 Round-tail horse-shoe crab 7 Wasps 118 Rove beetles Wild Spider flower Scorpions S 43 Y 113 Yellow allamanda Sea anemone 59 Sea nettles 71 Sky-Flower 123 Spiders 39 Syn D. fastussa 127 Syn Gymnopetalum integrefolium Kurz. 127 ดัชนี 133

ดชั นี ก คลี ้ 102 กระบอก 82 ค�ำ ขี้ไก่ 116 กระโปรงทอง 85 เครือออน 123 กลอย 102 เคียะเทยี น 91 กลอยข้าวเหนียว 102 เคียะผา 99 กกกลลล�ำ่อำ�่ ตเยคานรไกอืก ่ 102 เคยี ะเล่ยี ม 99 กอย 125 107 กะทกรก 125 ช 125 กะลำ�พกั 102 ชวนชม กะลี 85 ชะเอมเทศ 7 กา้ มกงุ้ 99 5 ก้ามป ู 120 ด 116 กาสลัก 116 ดดวว้้ งงนกน้�้ำ มกนัระ ดก 59 ก้ิงกือ 111 111 เกมกรอม 127 ดอกไมจ้ ีน 19 49 ดอกไมท้ ะเล 45 125 ดองดึง 19 25 ขะจาย ข 116 ตอ่ หัวเสอื ต 125 ข้กี า 116 ตะขาบ 85 ขกี้ าแดง 105 ตัวต่อ 105 คมขวาน ค ตตวาั กเรลอื ่ำ�ด ครสิ ต์มาส 111 ต�ำ ลงึ ฝร่ัง 87 แตงโมป่า 134 แมลง สัตว์ และพชื ท่มี พี ษิ และเป็นอันตราย

เถาเงาะ ถ ผกั หนาม 120 เถาสิงโต 85 ผเี สอ้ื กลางคืน 27 85 ผง้ึ 15 ทอร์ปโิ ด ท 15 เทยี นหยด ผ้ึงเลย้ี ง 15 ผง้ึ หลวง 91 บ 63 91 บอ้ งขวาน 123 พ 21 บานบุรี พญาไรใ้ บ 125 บานบรุ ีเหลือง 125 บงุ้ 111 ฟ 125 82 ฟองสมทุ ร 125 113 125 27 ม 101 มมมมะวะะนกกกลลลเพ�ำ่ำ�่�ำ่ ชเแตคฌดารหงฆือ นา ู ต 101 ป 61 102 ปลากระเบน 63 71 ปลากระเบนไฟฟา้ 64 มะขามเถา 75 ปลาปกั เปา้ 67 มะแคก๊ 73 ปะการัง 69 มะละกอฝรั่ง 73 ปะการงั ไฟ 115 มะหงุ่ แดง 73 ปตั ตาเวยี มนั กลอย โปย๊ เซยี น แมงกะพรุนไฟ ผ แมงดาจาน ผกากรอง 116 แมงดาถ้วย ผกั สม้ เส้ยี น 118 แมงดาไฟ ผักเส้ยี น 118 แมงดาหางกลม ดัชนี 135

แมงดาหางเหลีย่ ม 75 ว 111 แมงป่อง 43 วา่ นกา้ มปู 89 แมงมุม 39 วา่ นมงุ เมือง 95 แมลงตด 11 97 แมลงเฟรชช ่ี 8ส 95 แมลงสาบ 31 สบู่ดำ� 97 แมลงสาบผ ี 31 สบแู่ ดง 95 แมลงสาบเยอรมนั 31 สลอดดำ� 95 แมลงสาบอเมรกิ นั 31 สลอดแดง 99 99 ยโ่ี ถฝรั่ง ย สลอดปา่ 27 ย่ีสุน่ สลอดใหญ่ 73 82 สลัดไดปา่ รกั ร 116 ร�ำ เพย ไรชกิ เกอร ์ ห ไรฝุน่ บ้าน หงอนงู ไรฝุ่นยุโรป 93 หนอน ไรฝุ่นอเมริกนั 82 เห-รา 33 ละหุ่งแดง ล 37 ล่ันทมแดง 37 ล�ำ โพงกาสลกั 37 97 107 127 136 แมลง สตั ว์ และพืช ที่มพี ิษและเป็นอันตราย