Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แมลง สัตว์ และพืชที่มีพิษและเป็นอันตราย 1

แมลง สัตว์ และพืชที่มีพิษและเป็นอันตราย 1

Published by E-book Prasamut chedi District Public Library, 2019-08-02 10:04:34

Description: กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
หนังสือ,เอกสาร,บทความนี้นำมาเผยแพร่เพื่อการศึกษา

Search

Read the Text Version

แมงมุม (Spiders, Tarantula spp., Latrodectus mactans, Latrodectus geometricus) ลักษณะ แมงมมุ เปน็ สัตวท์ ีพ่ บไดท้ ั่วโลก มมี ากมายหลายชนิด มสี ีและ ขนาดแตกต่างกันไปขึ้นกับชนิดของแมงมุม โดยมีขนาดได้ ต้งั แต่ 0.3 ซม. จนถึง 24 ซม. ลำ�ตัวของแมงมมุ แบง่ ออกได้ เปน็ 2 สว่ น ส่วนแรกคือส่วนหัวท่มี ีเขีย้ วพิษซ่ึงรวมอกไว้ด้วย ส่วนทส่ี องคอื สว่ นทอ้ ง แมงมมุ จะมเี ขย้ี วพษิ 1 คู่ และมขี า 4 คู่ แหลง่ ทีพ่ บ แมงมุมจะชอบหลบซ่อนตัวอยู่ตามที่มืด ตามรูใต้พ้ืนดินหรือ ตามกอ้ นหนิ ในเวลากลางวนั จะเคลอื่ นตวั ไดช้ า้ และออกหากนิ ในเวลากลางคืน โดยจะพรางตัวอยู่ในความมืด ใต้โต๊ะเก้าอี้ หรือตามซอกมุมของบ้าน ส่วนท่ีเปน็ พษิ แมงมมุ ทกุ ชนดิ จะมพี ษิ ใชส้ �ำ หรบั จบั เหยอ่ื โดยจะปลอ่ ยน�ำ้ พษิ ออกทางเขย้ี วพษิ เมอ่ื แมงมมุ กดั เหยอ่ื แมงมมุ บางชนดิ จะมขี น อยบู่ นดา้ นบนของสว่ นท้องที่ทำ�ใหผ้ ูท้ ่สี มั ผัสถูกเกิดอาการแพ้ อาการ ความรุนแรงจากการได้รับพิษของแมงมุมจะขึ้นกับสภาพ รา่ งกาย อายุ และตำ�แหนง่ ของรา่ งกายทถี่ กู แมงมมุ กดั โดยถา้ ถกู กดั บรเิ วณใบหนา้ ทใ่ี กลก้ บั ระบบประสาท อาการจะรนุ แรง กว่าการถูกกัดที่ส่วนอ่ืนของร่างกาย โดยผู้ที่ได้รับพิษของ แมงมุมจะมอี าการเจ็บปวด คลืน่ ไส้ อาเจียน เหงอื่ ออก เปน็ ตะครวิ และหายใจล�ำ บาก แมงมมุ ทพ่ี บในประเทศไทยบางชนดิ เช่นชนิดทาแรนทูล่า (Tarantula) นอกจากจะกัดด้วย เขยี้ วพษิ แล้ว ขนท่อี ย่บู นดา้ นบนของส่วนท้อง ถา้ สมั ผสั ถกู จะ แมลงและสัตวข์ าขอ้ ที่มพี ิษและเปน็ อนั ตราย 39

แมงมมุ แม่มา่ ยดำ� แมงมมุ แมม่ า่ ยน�ำ้ ตาล แมงมมุ ทาแรนทลู า่ 40 แมลง สตั ว์ และพชื ท่มี พี ิษและเป็นอันตราย

ท�ำ ใหเ้ กดิ อาการแพอ้ ยา่ งรนุ แรงโดยจะมอี าการคนั เปน็ ตมุ่ นาน หลายสปั ดาห์ หรือถา้ เข้าตาจะทำ�ใหต้ าอักเสบอยา่ งรุนแรงได้ ส่วนแมงมุมแม่ม่ายดำ� แม่ม่ายนำ้�ตาล มีแหล่งกำ�เนิดใน ประเทศอื่นแต่อาจมีโอกาสพบในประเทศไทยได้จากการ เดินทางขนส่ง ผู้ถูกแมงมุมแม่ม่ายกัดจะมีอาการแพ้อย่าง รนุ แรง มแี ผลเปน็ ผน่ื บวมแดง เจบ็ ปวดมหี นอง แผลจะหายชา้ มาก และจะเกิดเป็นเน้ือตาย ส่วนพิษจะทำ�ลายระบบภูมิคุ้มกัน และระบบน้ำ�เหลือง รวมท้ังทำ�ลายเม็ดเลือดขาว ขณะนี้ ยังไมม่ ีเซรมุ่ แก้พษิ แตจ่ ะใช้วิธรี ักษาตามอาการ การปอ้ งกนั หลีกเลยี่ งจากแมงมมุ และคอยระมดั ระวังตวั เองเมอื่ ตอ้ งอยู่ และรกั ษา ในท่ีมืด แต่ถ้าถูกแมงมุมกัดให้รีบล้างแผลให้สะอาด ไม่ขยับ แขนขาท่ีถูกกัดและใช้ผ้าพันแผลเพื่อลดการกระจายของพิษ และประคบแผลด้วยน�ำ้ แขง็ รับประทานยาระงับปวด ทายา ฆ่าเชื้อบริเวณท่ีแมงมุมกัดเพ่ือป้องกันการติดเช้ือแบคทีเรีย ท่ีทำ�ให้เกิดหนองแทรกซ้อน ถ้ามีอาการแพ้พิษอย่างรุนแรง ให้รบี ไปพบแพทย์ แมลงและสตั ว์ขาข้อที่มพี ิษและเปน็ อันตราย 41

แมงป่อง 42 แมลง สตั ว์ และพชื ท่มี พี ิษและเป็นอนั ตราย

แมงป่อง (Scorpions, Pandinus spp.) ลกั ษณะ แมงป่อง มีอยู่ด้วยกันหลายชนิด ทั้งชนิดตัวขนาดใหญ่และ ตวั ขนาดเลก็ โดยมคี วามยาว 2-10 ซม. ล�ำ ตวั ของแมงปอ่ งแบง่ ออกไดเ้ ปน็ 2 สว่ นคอื สว่ นหวั ซง่ึ รวมอกไว้ด้วย กับส่วนทอ้ งซ่ึง แบ่งเป็นปล้องๆ ส่วนปากมีลักษณะเป็นก้ามขนาดใหญ่ไว้ ส�ำ หรบั จับเหยื่อ สว่ นหางมี 5 ปล้องมีต่อมพษิ ตดิ อยู่ แหล่งทีพ่ บ แมงปอ่ งออกหากนิ ในเวลากลางคนื โดยกนิ พวก แมลง แมงมมุ กงิ้ กอื สว่ นกลางวนั จะซอ่ นตวั อยตู่ ามกองไม้ กองหนิ และในดนิ โดยชอบอยใู่ นบรเิ วณทเี่ ยน็ ๆ บางครง้ั อาจพบหลงเขา้ มาหากนิ อยู่ภายในบรเิ วณบา้ นได้ สว่ นท่เี ปน็ พษิ แมงป่องจะชอบยกปลายหางขน้ึ โดยปลายหางปลอ้ งสุดทา้ ย มอี วยั วะส�ำ หรบั ตอ่ ยยน่ื ออกมาและมตี อ่ มพิษอยู่ภายใน อาการ พิษของแมลงป่องมีทั้งแบบออกฤทธ์ิเฉพาะท่ี ออกฤทธิ์ ต่อระบบประสาท และชนิดทำ�ลายเม็ดเลือด ผู้ที่ไม่แพ้พิษ แมงป่องจะไม่มีอาการใดๆ แต่ผู้ที่แพ้มากจะมีอัตราการตาย ค่อนข้างสูงโดยเฉพาะอย่างยิ่งในเด็ก ฤทธ์ิเฉพาะท่ีเมื่อถูก แมงป่องต่อยคือจะมีอาการปวดบวมแดง ปวดแสบปวดร้อน เป็นรอยไหม้ คัน ชา สว่ นฤทธิ์ต่อระบบประสาท และท�ำ ลาย เม็ดเลือดคือ ผู้ป่วยจะมีไข้ คลื่นไส้ อาเจียน ความดันโลหิต สูงข้ึน ต่อมนำ้�ตาและต่อมนำ้�ลายทำ�งานสูงข้ึนทำ�ให้น้ำ�ตา น�ำ้ มกู ไหล และน�ำ้ ลายไหลมาก และเมอ่ื พษิ เขา้ สกู่ ระแสโลหติ แลว้ แมลงและสัตว์ขาข้อที่มีพษิ และเป็นอันตราย 43

จะทำ�ให้มีผลต่างๆ มากย่ิงข้ึน เช่น ง่วงซึม อัมพาตบางส่วน เกดิ การกระตกุ ของกลา้ มเนอื้ กลา้ มเนอ้ื เกรง็ ชกั หวั ใจเตน้ เรว็ และเสียชีวิตในที่สดุ เนอ่ื งจากหายใจไมอ่ อก การปอ้ งกัน เมอื่ ถกู แมงปอ่ งตอ่ ยใหล้ า้ งแผลใหส้ ะอาด และประคบแผลดว้ ย และรักษา นำ้�แข็ง ทายาฆ่าเช้ือบริเวณท่ีถูกต่อยเพ่ือป้องกันการติดเชื้อ แบคทีเรียที่ทำ�ให้เกิดหนองแทรกซ้อน รับประทานยาแก้แพ้ แกป้ วด ถ้ามอี าการรุนแรงหรือถกู ตอ่ ยบรเิ วณใบหนา้ รวมทัง้ เกดิ ความผิดปกตกิ ับระบบหายใจ ให้รีบไปพบแพทยท์ นั ที 44 แมลง สตั ว์ และพชื ทีม่ พี ิษและเปน็ อันตราย

ตะขาบ (Centipedes) ลกั ษณะ ตะขาบเปน็ สตั วข์ าขอ้ ทพี่ บไดท้ ว่ั ไปในเขตรอ้ นชนื้ ตะขาบมที ง้ั ขนาดเล็กและขนาดใหญ่ โดยตะขาบยิ่งมีขนาดใหญ่จะย่ิง มพี ษิ มาก ลำ�ตัวของตะขาบมีลกั ษณะแบนราบจากด้านบนลง มาดา้ นลา่ ง มสี นี ำ�้ ตาลเหลืองจนถึงสีดำ� ปลอ้ งลำ�ตวั มจี �ำ นวน ต้ังแต่ 15-100 ปลอ้ ง แตล่ ะปลอ้ งมีขา 1 คู่ โดยขาคู่แรกจะ ดัดแปลงไปเป็นตะขอซ่ึงประกอบดว้ ยตอ่ มพษิ แหล่งท่ีพบ ตะขาบชอบอยตู่ ามทชี่ น้ื เวลากลางวนั จะซอ่ นตวั อยใู่ นทเ่ี ยน็ ๆ เชน่ ตามกองไม้ กองหนิ ออกลา่ เหยอ่ื ในเวลากลางคนื บางครงั้ อาจพบหลงเข้ามาอยู่ในบ้าน โดยหลบซอ่ นตวั อย่ตู ามหอ้ งน�้ำ ส่วนทีเ่ ปน็ พิษ ตะขาบจะมีเข้ียวพิษเช่ือมต่อกับต่อมพิษ ทำ�อันตรายคนโดย การกัดและปล่อยนำ�้ พษิ เขา้ ไปในรอยท่กี ดั อาการ เมอื่ ถกู ตะขาบกดั จะพบรอยเขยี้ วสองรอย ลกั ษณะเปน็ จดุ เลอื ด ออกบริเวณท่ีถูกกัด พิษของตะขาบจะทำ�ให้มีอาการปวด อยา่ งรนุ แรงและปวดเปน็ เวลานานหลายชวั่ โมง รวมทงั้ จะมไี ข้ บริเวณที่ถูกกัดจะบวมแดง ปวดแสบปวดร้อนหรือชา ในผู้ท่ี แพ้พิษจะมีอาการกระวนกระวาย คล่ืนไส้ อาเจียน มึนงง ปวดศีรษะ และหัวใจเต้นเร็ว ตะขาบพวกท่ีมีขนาดใหญ่และ มพี ษิ มากเมื่อกัดแลว้ สามารถท�ำ ใหค้ นและสตั วต์ ายได้ แมลงและสัตว์ขาขอ้ ทม่ี พี ิษและเป็นอนั ตราย 45

ตะขาบ อาการบวมแดงเน่อื งจากตะขาบกดั 46 แมลง สัตว์ และพืช ทมี่ พี ษิ และเปน็ อันตราย

การปอ้ งกนั เมอ่ื ถกู ตะขาบกดั ใหล้ า้ งแผลใหส้ ะอาด และประคบแผลดว้ ย และรกั ษา นำ้�แข็งเพ่ือบรรเทาอาการปวด ทายาฆ่าเช้ือบริเวณที่ถูกกัด เพื่อป้องกันการติดเช้ือแบคทีเรียท่ีทำ�ให้เกิดหนองแทรกซ้อน ถ้าปวดมากให้รับประทานยาระงับอาการปวด ถ้ามีอาการรุนแรง โดยเกิดความผิดปกตกิ ับระบบหายใจ ให้รบี ไปพบแพทย์ แมลงและสตั ว์ขาข้อท่มี ีพิษและเปน็ อนั ตราย 47

กงิ้ กือ 48 แมลง สตั ว์ และพชื ท่มี พี ิษและเป็นอนั ตราย

ก้ิงกอื ( Milipedes) ลักษณะ กิ้งกือเป็นสัตว์ท่ีพบแพร่กระจายอยู่ทั่วโลก รูปร่างมีลักษณะ กลมยาว ผิวลำ�ตัวภายนอกแข็งและมีสีส้มแดง ลำ�ตัวมีปล้อง หลายปลอ้ ง แตล่ ะปล้องมีขา 2 คู่ บางครง้ั พบชอบขดตัวอยู่ กับท่ี โดยปกติกิ้งกือจะไม่ทำ�ร้ายคนโดยการกัดหรือกัดกิน สัตวอ์ ื่น เน่อื งจากอาหารของกง้ิ กือคอื พืช แหล่งทพ่ี บ กิ้งกือชอบอยู่ตามท่ีชื้นเย็นๆ โดยมักพบอยู่ตามใต้กองหิน ในดนิ รวมทัง้ กองใบไม้ทีร่ ่วงทบั ถมกนั จะพบชุกชมุ ในฤดฝู น ออกหากินในเวลากลางคืน บางคร้ังอาจพบหลงเข้ามาอยู่ใน บริเวณบ้าน โดยหลบซ่อนตัวอยู่ตามห้องน้ำ�ซ่ึงมีความช้ืน และเย็น ส่วนท่เี ป็นพิษ กิ้งกือจะมีต่อมพิษอยู่ตลอดสองข้างของลำ�ตัวทางด้านท้อง โดยต่อมดังกล่าวจะปล่อยสารที่หล่ังออกมาผ่านทางรูเล็กๆ สารนก้ี งิ้ กอื มไี วป้ อ้ งกนั ตวั เองจากศตั รู กงิ้ กอื บางชนดิ สามารถ ฉดี สารพษิ พ่งุ ออกไปไดใ้ นระยะใกล้ๆ พิษของกิ้งกอื มีลักษณะ เปน็ ของเหลวใส ไมม่ ีสี มฤี ทธ์ทิ �ำ ให้ผิวหนงั ไหม้ อาการ แผลไหม้จากกิ้งกือจะมีอาการปวดอยู่ 2-3 วัน รวมท้ังจะมี อาการระคายเคืองร่วมด้วย อาการจะรุนแรงย่ิงข้ึนถ้าถูกพิษ บริเวณใบหน้า แต่ท่ีอันตรายมากคือถ้าถูกพิษของก้ิงกือเข้า บริเวณลูกนัยน์ตา จะทำ�ให้เกิดการระคายเคืองอย่างรุนแรง แมลงและสตั ว์ขาขอ้ ท่มี ีพษิ และเปน็ อนั ตราย 49

เกดิ เป็นตาอักเสบ มีนำ�้ ตาไหลมาก รวมทั้งเกิดอาการเยอื่ บตุ า อักเสบ และเกิดแผลที่หลุมตา ซ่ึงถ้าไม่รีบรักษาอาจทำ�ให้ ตาบอดได้ การป้องกนั การรกั ษาการเปน็ พษิ เมอื่ ถกู พษิ ของกง้ิ กอื ใหล้ า้ งแผลใหส้ ะอาด และรักษา ด้วยน�้ำ และสบู่ แล้วเช็ดบรเิ วณท่ีถูกพิษด้วยแอลกอฮอล์ หรือ น�ำ้ ยาฆา่ เช้อื โรคเพอ่ื ล้างพษิ ออก อาจรับประทานยาปฏชิ ีวนะ เพอ่ื ปอ้ งกนั การตดิ เชอ้ื หากพษิ เขา้ ตาใหร้ บี ลา้ งดว้ ยน�้ำ อนุ่ หรอื น้�ำ สะอาดธรรมดาแล้วรบี ไปพบจกั ษุแพทย์ทนั ที 50 แมลง สัตว์ และพืช ทม่ี ีพษิ และเปน็ อนั ตราย

บรรณานุกรม 1. เกรกิ รตั อาภา วนั ชยั สทุ ธทิ ศธรรม ประคอง พนั ธอ์ ไุ ร. เอกสารประชมุ วชิ าการ กรมวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ ครงั้ ท่ี 3 เรือ่ ง “ ด้วงนำ้�มนั ” . วนั ที่ 3-4 ธันวาคม 2533. นนทบรุ ี : สถาบนั วิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข กรมวทิ ยาศาสตร์การแพทย์ ; 2533 2. การพน่ พษิ ของแมลงตด [รูปภาพ] ; [สืบค้น 16 พ.ค. 2557] ; เข้าถงึ ได้ท่ี http://www.flipside.theiet.org. 3. ณัฐ มาลยั นวล สภุ ัทรา เตียวเจริญ. แมลงและสัตวข์ าข้อทางการแพทย์ : โรงพมิ พ์เรอื นแก้วการพมิ พ์ ; 2545 .166 หน้า. 4. ด้วงกน้ กระดก. [รูปภาพ : 6719 : Paederus fuscipes]; [สบื คน้ 24 ม.ค. 2550 ] ; เข้าถึงไดท้ ี่ http://www.hlasek.com/paederus_fuscipes_6719.html. 5. ตวั เรอื ด. [รปู ภาพ] ; [สบื ค้น 16 พ.ค. 2557] ; เขา้ ถงึ ไดท้ ี่ http://www.bed-bug.net 6. ผเี สอ้ื กลางคืน. [รูปภาพ] ; [สืบค้น 14 ม.ค. 2550] ; เขา้ ถงึ ไดท้ ี่ http://www.invasivespecies.nbii.gov/report.html. 7. ผึ้ง. [รปู ภาพ] ; [สืบค้น 5 ม.ค. 2550] ; เข้าถงึ ไดท้ ่ี http://www.peoplegardens.co.uk. 8. ผึ้ง. [รปู ภาพ] ; [สบื คน้ 19 ม.ค. 2550] ; เข้าถงึ ไดท้ ่ี http://www.floridanature.org/species.asp?species=Apis mellifera. 9. ผ้ึง. [รูปภาพ] ; [สืบคน้ 22 ม.ค. 2550] ; เข้าถงึ ได้ที่ http://www.maqqiesseeret.com.au/bites-stings.aspx. 10. แมงมุมแม่ม่ายดำ�. [รปู ภาพ] ; [สืบค้น 16 พ.ค. 2557] ; เขา้ ถึงไดท้ ่ี http://www.ag.arizona.edu. แมลงและสัตว์ขาข้อทมี่ พี ษิ และเป็นอนั ตราย 51

11. แมงมมุ แมม่ ่ายน�ำ้ ตาล. [รูปภาพ] ; [สืบค้น 16 พ.ค. 2557] ; เขา้ ถึงไดท้ ี่ http://www.cirrusimage.com. 12. แมลงมีพษิ . [สบื คน้ 18 ม.ค. 2550] ; เขา้ ถึงไดท้ ี่ http://www.thaitrip4u.com/Healthy/ STH12.asp?QID=1092. 13. รอยแผลทเ่ี กดิ จากการถกู ตวั เรอื ดดดู กนิ เลอื ด. [รปู ภาพ] ; [สบื คน้ 17 ม.ค. 2550] ; เข้าถงึ ได้ท่ี http://www.worldtrip.co.uk/gallery/australia/melbourne/ bedbugbites2.jpg. 14. รอยแผลจากอาการถูกตะขาบกดั . [รูปภาพ] ; [สบื คน้ 16 พ.ค. 2557] ; เขา้ ถงึ ได้ที่ http://www.reytas.blogspot.com. 15. รอยแผลจากอาการถกู ไรชิกเกอร์กดั . [รปู ภาพ] ; [สืบค้น 16 พ.ค. 2557] ; เขา้ ถงึ ไดท้ ่ี http://www.firstaid.about.com. 16. รังตอ่ หัวเสือ. [รปู ภาพ] ; [สบื คน้ 26 ม.ค. 2550] ; เข้าถงึ ไดท้ ่ี http://www.vespa-crabro.de/vespa- affinis.html. 17. รงั ผึง้ . [รูปภาพ] ; [สืบค้น 6 ม.ค. 2550] ; เข้าถงึ ได้ท่ี http://www.wikipedia.org/wiki/bal_ar. 18. ไรชกิ เกอร.์ [รปู ภาพ : CHIGGER.gif] ; [สบื คน้ 16 พ.ค. 2557] ; เขา้ ถงึ ไดท้ ่ี http://wwwt.macromite.wordpress.com. 19. ไรฝนุ่ บ้าน. [รปู ภาพ] ; [สบื ค้น 16 พ.ค. 2557] ; เข้าถงึ ได้ http://www.bugsandmitesoff.com. 20. ไรฝนุ่ บ้าน. [รปู ภาพ] ; [สืบคน้ 16 พ.ค. 2557] ; เขา้ ถึงได้ http://www.wayword.blogging.com. 21. ศิริณี พูนไชยศร.ี อนุกรมวิธานและชวี วิทยาของตอ่ หวั เสือ Vespa affinis (Linneaus) ใน : ชาญ โพชนกุ ูล, บรรณาธกิ าร. พิษจากพชื สัตว์ และ จลุ ชีพ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพจ์ ฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย ; 2531. หนา้ 127-54. 52 แมลง สตั ว์ และพืช ท่มี พี ิษและเปน็ อันตราย

22. สมหมาย ชนื่ ราม. เอกสารประกอบการประชมุ วชิ าการ กรมวชิ าการเกษตร ครัง้ ท่ี 7 เรอ่ื ง “ แมลงและสัตว์ ศตั รูพชื ”. วันที่ 20-22 มิถนุ ายน 2533. กรงุ เทพฯ : กรมวิชาการเกษตร บางเขน ; 2533. 23. สธุ รรม อารกี ลุ . บทปฏบิ ตั กิ ารกฏี วทิ ยาเบอื้ งตน้ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ บางเขน ; 2510. 424 หนา้ . 24. สุธรรม อารีกุล. แมลงมีพิษในประเทศไทย. สารศิริราช 2539;48(6) : 101-04. 25. สภุ ทั ร สจุ รติ . กฏี วทิ ยาทางสตั วแพทย.์ กรงุ เทพฯ : พศิ ษิ ฐก์ ารพมิ พ์ ; 2531. หน้า 555-8. 26. หนอนบุ้ง. [รปู ภาพ] ; [สบื ค้น 19 ม.ค. 2550] ; เขา้ ถงึ ไดท้ ี่ http://www.nature.org. 27. อาคม สังขว์ รานนท์. กฏี วทิ ยาทางสัตวแพทย์. กรุงเทพฯ : ภาควิชาพยาธิ วิทยา คณะสตั วแพทย์ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ ; 2538. 28. Dreisbach RH, Robertson WO. Handbook of poisoning : preven- tion, diagnosis & treatment. 12th ed. Los Altos (CA) : Appleton & Lange California ; 1987. P. 429-430. แมลงและสตั วข์ าข้อทมี่ ีพิษและเปน็ อันตราย 53



สตั วท์ ะเลทีม่ ีพษิ และเป็นอนั ตราย สนุ ันท์ จำ�รญู ส�ำ นกั วชิ าการวทิ ยาศาสตร์การแพทย์ กรมวทิ ยาศาสตร์การแพทย์



สตั วท์ ะเลท่ีมีพิษและเปน็ อนั ตราย สตั วท์ ะเลที่ทำ�ใหเ้ กดิ อันตรายกบั มนุษย์ แบ่งเป็น 3 กลุ่ม 1. อันตรายจากพษิ (venomous animals) ทเ่ี กิดจากการกัด สัมผสั หรือต่อย แล้วปล่อยสารพิษเข้าสู่ร่างกายตรงบริเวณบาดแผลน้ัน พิษของสัตว์ ทะเลอยูท่ ี่เง่ยี ง ครบี เข้ยี ว ท่ีเรยี กว่า เข็มพิษ หรือนมี าโตซิส (nematocyst) ที่ สรา้ งสารพษิ ได้แก่ ดอกไม้ทะเล แมงกะพรนุ เปน็ ต้น 2. อันตรายจากการบริโภคเน้ือหรืออวัยวะท่ีมีสารพิษ (poisonous animals) เม่ือสารพิษนั้นเข้าสู่ร่างกาย อาจเป็นอันตรายถึงชีวิต ได้แก่ ปลา ปักเปา้ แมงดาทะเลเป็นต้น 3. อนั ตรายจากการท�ำ ใหเ้ กดิ บาดแผล (injurious animals) เนอื่ งจาก ถกู อวยั วะทแ่ี หลมคมของสตั วท์ ะเลชนดิ นนั้ ไดแ้ ก่ ฟนั หนาม กา้ นครบี และเงย่ี ง เป็นตน้ สัตวท์ ะเลทีม่ พี ิษและเป็นอนั ตราย 57

ดอกไม้ทะเล 58 แมลง สตั ว์ และพชื ท่มี พี ิษและเป็นอนั ตราย

ดอกไม้ทะเล (Sea anemone) ลักษณะ ดอกไม้ทะเลเป็นสัตว์ทะเลที่มีลำ�ตัวอ่อนนุ่มคล้ายหนวดยาว มีเมอื กห่อหมุ้ จะไหวพล้วิ ไปตามแรงของกระแสนำ้� ด้านลา่ ง เปน็ ฐานเพอ่ื ยดึ เกาะอยกู่ บั พนื้ ทะเล ดนิ ทราย และกบั กอ้ นหนิ หรอื ก้อนปะการัง แหลง่ พบ พบใตท้ ะเลอันดามนั และอ่าวไทย ส่วนท่เี ป็นพษิ ปลายหนวดมเี ข็มพษิ เม่อื ถูกรบกวนจะปลอ่ ยสารพษิ ออกมา อาการ ผวิ หนงั บรเิ วณทสี่ มั ผสั กบั ดอกไมท้ ะเลจะมผี น่ื แดง มอี าการคนั บางรายมีอาการรนุ แรงคือบวมแดง คล่ืนไส้ อาเจียน การรักษา ลา้ งแผลใหส้ ะอาดลา้ งเมอื กออก น�ำ เศษของหนวดดอกไมท้ ะเล ท่ีติดค้างในแผลออกให้หมดแล้วล้างด้วยนำ้�ส้มสายชู หากอาการไมท่ เุ ลาใหร้ ีบไปพบแพทย์ สตั วท์ ะเลที่มีพษิ และเป็นอนั ตราย 59

ปลากระเบน 60 แมลง สตั ว์ และพชื ท่มี พี ิษและเป็นอันตราย

ปลากระเบน (Ray) ลกั ษณะ ปลากระเบนเป็นปลากระดูกออ่ น ลักษณะคอ่ นขา้ งกลมกว้าง ประมาณ 25 นว้ิ บางชนดิ มขี นาดใหญม่ าก ล�ำ ตวั แบนทงั้ ดา้ นบน และด้านลา่ ง มีหางยาว ที่โคนหางมีหนามแหลมคม หรือเรยี กวา่ “เงย่ี ง” ด้านข้างมลี กั ษณะเปน็ หยักคลา้ ยฟนั เล่อื ยท่โี คนเงย่ี ง มตี อ่ มพษิ ทลี่ �ำ ตวั มเี มอื กสเี หลอื งทอง มจี ดุ สฟี า้ อยทู่ างดา้ นบน ปากอยู่ด้านลา่ ง สว่ นดา้ นล่างของลำ�ตวั มสี ขี าว แหล่งที่พบ พบได้ริมฝั่งทะเลและในทะเลลึก พบมากในน่านนำ้�ของไทย โดยอาศัยตามแขนงปะการังบริเวณริมฝั่งทะเลที่เป็นโคลน หรือทราย สว่ นทเ่ี ป็นพษิ โคนเงี่ยงท่ีมีต่อมพิษและส่วนท่ีเป็นหนามแหลมคมท�ำ ให้เกิด บาดแผล อาการ เม่ือถูกเงี่ยงต�ำ และได้รับสารพษิ จะมอี าการปวดมาก บางคน ทแ่ี พส้ ารพิษอาจมีอาการอักเสบ มไี ขส้ งู การรักษา เมอ่ื ถกู เงย่ี งต�ำ เกดิ บาดแผลมเี ลอื ดออกมากใหใ้ ชผ้ า้ พนั เพอ่ื หา้ ม เลือดที่บาดแผลน้ัน เอาเศษของเงี่ยงออกให้หมด และแช่ บาดแผลในน้ำ�ร้อนนานประมาณ 30 – 60 นาที จะทำ�ให้ อาการปวดทุเลาเน่ืองจากสารพิษจะถูกย่อยสลายด้วย ความรอ้ น หากมอี าการมากใหน้ �ำ ส่งแพทย์ สตั ว์ทะเลที่มพี ิษและเปน็ อันตราย 61

ปลากระเบนไฟฟา้ 62 แมลง สตั ว์ และพชื ที่มพี ษิ และเป็นอันตราย

ปลากระเบนไฟฟ้า (Electric ray) ลกั ษณะ ล�ำ ตวั คอ่ นขา้ งกลม แบนดา้ นบนและดา้ นลา่ ง ชว่ งดา้ นขา้ งของตา ถงึ ล�ำ ตวั มอี วยั วะทป่ี ระกอบดว้ ยเซลลร์ ปู หกเหลย่ี มเรยี งซอ้ นกนั เป็นกลุ่มภายในมีสารเป็นเมือกคล้ายวุ้น ซึ่งทำ�หน้าที่ผลิต กระแสไฟฟ้า บางครง้ั เรียกปลากระเบนไฟฟ้าวา่ “ทอรป์ โิ ด” แหล่งพบ ใต้ทอ้ งทะเล อา่ วไทย สว่ นทเ่ีปน็ อนั ตราย กระแสไฟท่ีผลิตออกมาจากเซลล์รูปหกเหล่ียม มีกำ�ลังไฟฟ้า ประมาณ 80 – 220 โวลตข์ นึ้ กับชนิดของปลากระเบน อาการ เม่ือสัมผัสปลากระเบนไฟฟ้าและได้รับกระแสไฟฟ้าที่ปล่อย ออกมาทำ�ใหม้ อี าการชา บางรายอาจหมดสตเิ มอื่ อยใู่ ตท้ อ้ งทะเล ชว่ ยเหลอื ไมท่ นั ทำ�ให้เสียชีวิต การรกั ษา หากหมดสติพยายามช่วยให้ผู้ป่วยหายใจ แล้วรีบนำ�ส่ง โรงพยาบาล สตั ว์ทะเลท่ีมพี ษิ และเปน็ อันตราย 63

ปลาปักเปา้ หนามทเุ รียน ปลาปักเปา้ หนามทุเรียนขณะพองตวั 64 แมลง สัตว์ และพืช ทม่ี ีพิษและเปน็ อันตราย

ปลาปกั เป้า (Globe iffish, Puffer iff ish หรอื Fugu) ลกั ษณะ ปลาปกั เปา้ มปี ระมาณ 100 ชนดิ แตท่ ที่ �ำ ใหเ้ กดิ พษิ มปี ระมาณ แหลง่ พบ 50 ชนดิ แบ่งเปน็ 2 ตระกลู คอื Tetraodonidae มฟี ัน 4 ซ่ี ผวิ คอ่ นข้างเรียบ และตระกลู Diodontidae มฟี ัน 2 ซ่ี คลา้ ย จงอยปากนกแกว้ มีหนามรอบตวั โดยปกตมิ ีลกั ษณะเหมอื น ปลาทว่ั ไป อาจพบหนามสน้ั หรอื ยาวแลว้ แตช่ นดิ เมอ่ื ถกู รบกวน หรอื อยใู่ นภาวะปอ้ งกนั ตวั จะพองตวั โตคลา้ ยลกู กลมๆ มหี นามสน้ั หรอื ยาวออกมาเพอื่ ปอ้ งกันอนั ตรายต่อศตั รูท่ีอาจมาทำ�รา้ ย หพนบอในงปครละอเทงศบทึงมี่ แอี ลาะกแาศมร่นอ้ ำ�้ นสแ�ำ ลหะรอับบใอนนุ่ นพ�ำ้ เบคไม็ ดพท้ บงั้ ใไนดนท้ �ำ้่อี จ่าดืวไเทชน่ย ส่วนท่ีเปน็ พษิ พลำ�บไสสา้ถรุพงนิษำ้�มดาีกทแลี่สุดะใกนรไะขเ่ พรอางะลงเมปา็นทตี่ต้นับแสลาะพรพบิษไดเ้ทป่ีผ็นิวชหนนิดัง Tetrodotoxin ท่ีมีปริมาณเพยี ง 2 มิลลกิ รมั กส็ ามารถท�ำ ให้ เสยี ชวี ติ ได้ สารพิษนท้ี นความร้อนสูงถึง 220 องศาเซลเซียส ดังนั้น หากนำ�ไปปรุงอาหารให้สุกก็ไม่สามารถทำ�ลายพิษได้ จงึ ไม่ควรนำ�ปลาชนดิ นีม้ ารับประทาน อาการ จะพบอาการภายหลงั จากรบั ประทานสว่ นทเี่ ปน็ พษิ ประมาณ 10 – 30 นาที บางรายพบอาการภายหลงั 1 ช่ัวโมง อาการที่ พบเปน็ ระยะตามล�ำ ดบั คอื ระยะแรกจะมอี าการชาทรี่ มิ ฝปี าก ลน้ิ ใบหน้า ปลายนิว้ มือ มีคลื่นไสอ้ าเจียน ตามมาด้วยอาการ อ่อนเพลีย อาการชามีมากขึ้น แขนขาไม่มีแรง ต่อมาพบว่า คล้ายเนื้อกระตุกพูดไม่ได้ และสุดท้ายกล้ามเน้ือเป็นอัมพาต หายใจไมอ่ อก และถึงแกค่ วามตาย การรักษา ปัจจบุ นั ยังไมม่ ียาแกพ้ ษิ (antidote) วธิ ปี ้องกนั คอื หลีกเลย่ี ง การบรโิ ภคปลาปกั เปา้ ทกุ ชนดิ ถงึ แมว้ า่ จะปรงุ ใหส้ กุ ดว้ ยความรอ้ น แล้วพษิ ก็ยงั ไมส่ ลายไป สตั ว์ทะเลทีม่ พี ิษและเปน็ อันตราย 65

ปะการงั 66 แมลง สตั ว์ และพชื ท่มี พี ิษและเป็นอนั ตราย

ปะการงั (Corals) ลกั ษณะ ปะการงั เปน็ สตั ว์ทะเล มมี ากกวา่ 700 ชนิด สว่ นใหญอ่ าศยั อยแู่ บบเดยี่ ว โดยมฐี านรองรบั โพลปิ บางชนดิ มหี นิ ปนู มหี นาม หรอื เหลยี่ มแหลมคมยื่นออกมา ปะการังบางชนิดในสว่ นของ แหลมคมที่มีเข็มพษิ ซงึ่ จะผลติ สารพษิ ออกมาด้วย แหลง่ พบ ใต้ทะเลบรเิ วณเกาะสรุ นิ ทร์ เกาะสิมลิ นั และเกาะบตู งั ฯลฯ สว่ นทเ่ีปน็ อนั ตราย เมอื่ ไปเหยยี บย�่ำ สมั ผสั หรอื ด�ำ น�้ำ ผา่ นแนวประการงั อาจสมั ผสั กบั หนาม หนิ ปนู หรอื เหลยี่ มแหลมคม ท�ำ ใหเ้ กดิ บาดแผล และ สารพษิ จะเข้าสู่บาดแผล อาการ เมอื่ สมั ผสั ปะการงั ชนดิ ทส่ี รา้ งสารพษิ จะทำ�ใหเ้ กดิ อาการบวม แดง ปวดแสบปวดรอ้ นหรอื มีผื่นเกดิ ข้นึ บาดแผลทถี่ กู หนาม แหลมคมท�ำ ให้มเี ลอื ดออกได้ การรักษา ใช้น้ำ�สะอาดล้างบาดแผล นำ�เศษปะการังที่ติดค้างออกจาก บาดแผลให้หมด เช็ดด้วยแอลกอฮอล์ ใส่ยาฆ่าเชื้อ หากบาดแผลมขี นาดใหญ่ใหร้ บี ไปพบแพทย์ สัตวท์ ะเลที่มพี ิษและเป็นอันตราย 67

ปะการังไฟ 68 แมลง สตั ว์ และพชื ท่มี พี ิษและเป็นอันตราย

ปะการังไฟ (Fire corals) ลกั ษณะ ปะการงั ไฟไมใ่ ชป่ ะการงั ทแ่ี ทจ้ รงิ แตเ่ ปน็ สตั วท์ ะเลทมี่ ลี กั ษณะ เปน็ โพลปิ ขนาดเลก็ คลา้ ยเขากวาง มสี นี �ำ้ ตาลหรอื เหลอื งออ่ น อยู่รวมกันโดยมีหินปูนเป็นฐานรองรับจึงมีลักษณะเป็น ปะการัง โดยทวั่ ไปพบได้ 3 ลกั ษณะคือ แบบแขนง แบบก้อน และแบบแผ่น แหลง่ พบ พบในท้องทะเล ในหมู่เกาะสุรินทร์และเกาะอาดัง โดยอยู่ ปะปนกบั สตั วอ์ ่ืนตามแนวปะการงั ส่วนท่เี ป็นพิษ โพลิป จะสรา้ งพษิ อาการ บรเิ วณผวิ หนงั ทส่ี มั ผสั ถกู ปะการงั ไฟจะเกดิ รอยไหม้ ปวดแสบ บวมแดง หากมอื ไปสัมผัสปะการังไฟ หา้ มน�ำ ไปขยต้ี า เพราะ น้ำ�พิษของปะการังไฟเข้าตาจะทำ�ให้เกิดการระคายเคืองและ อกั เสบ การรักษา ล้างแผลให้สะอาดแล้วล้างด้วยน้ำ�ส้มสายชู ใช้ครีมท่ีมียา ปฏิชีวนะทาบริเวณบาดแผล เพื่อป้องกันการติดเช้ือ หากมี อาการมากใหร้ บี ไปพบแพทย์ สัตวท์ ะเลท่มี พี ษิ และเป็นอนั ตราย 69

แมงกะพรนุ ไฟ 70 แมลง สตั ว์ และพชื ที่มพี ษิ และเปน็ อันตราย

แมงกะพรนุ ไฟ (Sea nettles, Portuguese man-of-war) ลกั ษณะ แมงกะพรนุ ไฟเปน็ สตั วท์ ะเลประเภทหนงึ่ ทไ่ี มม่ กี ระดกู สนั หลงั มีรูปร่างลักษณะคล้ายร่ม หรือกระด่ิง ตัวสีแดงปนน้ำ�ตาล มลี ักษณะเปน็ วุน้ ด้านบนมจี ุดขาวกระจายทว่ั มีปากอยู่ดา้ นล่าง มหี นวดเปน็ สายยาวย่นื ออกมา แหลง่ พบ อยแู่ ถบชายฝงั่ และทะเลลกึ บางครงั้ พบตามชายหาดเนอื่ งจาก ถกู คล่นื ซัดเขา้ หาฝ่งั ส่วนท่เี ปน็ พษิ ทหี่ นวดมเี ขม็ พษิ ขนาดเลก็ ภายในมเี หลก็ ในแฝงอยเู่ ปน็ จ�ำ นวนมาก ซงึ่ ไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า อาการ เมื่อสัมผัสถูกเข็มพิษจะมีอาการปวดมาก เป็นแผลบวมแดง ปวดแสบปวดร้อน เป็นรอยไหม้ หากปวดรุนแรง อาจถึงขั้น หมดสติได้ อาการรุนแรงท่ีเกิดข้ึนอยู่กับชนิดของแมงกะพรุนไฟ ชนดิ ทร่ี นุ แรงท�ำ ใหเ้ กดิ แผลเรอ้ื รงั นาน หากพษิ เขา้ สรู่ ะบบประสาท และระบบทางเดินหายใจ จะมีอาการแน่นหน้าอก ร่างกาย เขียวคล้ำ�เลอื ดไปเล้ียงสมองน้อยและถึงแกค่ วามตายได้ การรกั ษา ล้างด้วยน้ำ�ส้มสายชู หรือแอมโมเนีย หรือนำ�ใบผักบุ้งทะเล มาบดแล้วพอกบริเวณทีเ่ ปน็ แผล หากมอี าการปวดให้ทานยา แกป้ วด ถา้ ปวดมากอาจตอ้ งใหม้ อรฟ์ นี หากแผลมกี ารอกั เสบ มากใหไ้ ปพบแพทยโ์ ดยเร็ว สตั วท์ ะเลท่มี พี ษิ และเปน็ อนั ตราย 71

แมงดาถว้ ย (Carcinoscorpiues rotundicauda) ลักษณะหางแมงดาถ้วย สันหางเรียบ หนา้ ตัดกลมมน 72 แมลง สตั ว์ และพืช ท่ีมพี ิษและเป็นอันตราย

แมงดาถ้วย (Round-tail horse-shoe crab) ลักษณะ แมงดาถ้วย หรอื แมงดาหางกลม หรอื แมงดาไฟ หรอื เห-รา เปน็ แมงดาทะเลชนดิ หนงึ่ ล�ำ ตวั แขง็ เหมอื นกระดองปู มขี นาด ใหญป่ ระมาณ 6 น้วิ หางแขง็ กลมสัน้ สันหางเรยี บ หน้าตัด กลมมน มีเหงือกใชส้ �ำ หรับหายใจ มขี า 5 คู่ แหล่งพบ พบได้ที่พ้ืนทะเลน้ำ�ต้ืนท่ีเป็นดินโคลน และตามลำ�คลองใน ป่าชายเลน ส่วนที่เป็นพิษ เนอื้ และไขแ่ มงดาถว้ ยมสี ารพษิ เนอื่ งจากแมงดาถว้ ยจบั กนิ หอย หนอน แพลงตอน ชนดิ ที่สร้างสารพษิ ดังนนั้ สารพิษจงึ เข้าไป สะสมอยใู่ นเน้อื และไข่ สารพิษในแมงดาถว้ ยพบมากระหวา่ ง เดอื นกมุ ภาพนั ธถ์ งึ เดอื นกนั ยายน เนอ่ื งจากอยใู่ นชว่ งทแี่ พลงตอน เจรญิ เติบโตได้รวดเร็วมาก อาการ ภายหลังจากรับประทานเน้ือหรือไข่แมงดาถ้วยท่ีมีสารพิษ ประมาณคร่ึงชั่วโมง จะมีอาการชาที่ปาก ปวดศีรษะ มึนงง คลนื่ ไส้ อาเจยี น หวั ใจเตน้ เรว็ หายใจไมอ่ อก มอี าการชาทแ่ี ขนขา ไมม่ แี รง หากไดร้ บั สารพษิ มากอาจหมดความรสู้ กึ จนเสยี ชวี ติ การรกั ษา สารพษิ จากแมงดาถว้ ย เปน็ อนั ตรายมากเมอื่ มอี าการดงั กลา่ ว ให้รบี สง่ แพทย์โดยเร็ว สัตวท์ ะเลท่ีมีพษิ และเป็นอันตราย 73

แมงดาจาน (Tachyleus gigas) ลักษณะหางแมงดาจาน สนั หางคมมหี นาม หน้าตดั สามเหล่ยี ม 74 แมลง สตั ว์ และพืช ที่มีพิษและเปน็ อันตราย

แมงดาจาน (Triangle-tail horse-shoe crab) ลักษณะ แมงดาจานหรือแมงดาเหล่ียม เป็นแมงดาทะเลชนิดหนึ่งที่มี ล�ำ ตวั แขง็ เหมอื นกระดองปู มหี างแขง็ ยาว หนา้ ตดั สามเหลย่ี ม สันหางคมมีหนาม มีขา 5 คู่ แหลง่ พบ พบไดท้ ใ่ี ตท้ อ้ งทะเลน�ำ้ ตนื้ และวางไขต่ ามรมิ ชายฝงั่ ทเ่ี ปน็ ทราย สว่ นทเ่ีปน็ อนั ตราย สว่ นหางทม่ี สี นั คมและมหี นามเมอ่ื สมั ผสั ถกู ท�ำ ใหเ้ กดิ บาดแผล (เนอื้ แมงดาจานรับประทานไดไ้ ม่มีอนั ตราย) อาการ บรเิ วณผวิ หนงั ทถ่ี กู ตำ�ของสว่ นทคี่ มจากแมงดาจาน ทำ�ใหเ้ กดิ บาดแผล การรักษา ล้างแผลให้สะอาด นำ�เศษหนามที่ติดมาในแผลออกให้หมด เช็ดดว้ ยแอลกอฮอล์ ใส่ยาฆ่าเชื้อ ถ้าแผลมีขนาดใหญม่ เี ลอื ด ออกมากใหร้ บี ไปพบแพทย์ สตั ว์ทะเลทม่ี ีพิษและเป็นอันตราย 75

บรรณานกุ รม 1. กระเบนไฟฟ้า; [รปู ภาพ] [สืบคน้ 28 พ.ค. 2557]; เขา้ ถึงไดท้ ่ี URL:http://animal-of-the-world.blogspot.com/2009/09/ blog-post_01.html 2. จรี ศกั ดิ์ กาญจนาพงศก์ ลุ . การศกึ ษาผปู้ ว่ ย 125 รายในโรงพยาบาลชลบรุ .ี [รปู ภาพ] วารสารวชิ าการสาธารณสขุ 2547 ; 10 : 396. 3. ดอกไม้ทะเล; [รูปภาพ] [สบื คน้ 28 พ.ค. 2557]; เข้าถึงไดท้ ี่ URL:http://sea-world.exteen.com/20100919/anemone 4. ปลาปักเป้า มีพิษร้ายแรง; [สืบค้น 21 พ.ย. 2549]; [5 หน้า] เข้าถึง URL:http://www.moph.go.th/ssj/moules.php?name=Forums& file=viewtopic&t=58. 5. ปลาปักเปา้ หนามทเุ รียน; [รูปภาพ] [สบื คน้ 28 พ.ค. 2557]; เขา้ ถึงไดท้ ่ี URL:http://www.maestropescador.com/Colaboradores/ patzner_robert_a/patzner_robert_a3.html 6. ปะการัง ; [รปู ภาพ] [สบื คน้ 28 พ.ค. 2557]; เข้าถงึ ไดท้ ี่ URL: http://www.laserworldaquarium.com/default.asp?content=sp agedetail&cid=3490 7. ผอ่ งศรี ทิพวงั โกศล. ไขแ่ มงดาทะเลมีพิษถึงตาย. ภาควชิ าปรสติ วยิ าคณะ แพทย์ศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ [สืบค้น 19 ธ.ค. 2549]; [3 หน้า] เข้าถึงได้ท่ี URL:http://www.medicine.cmu.ac.th/dept/parasite/ WEBTHAI/Mangdataley.htm 8. พิษภัยจากสารตามธรรมชาติ. งานโครงการความปลอดภัยในการใช้ เคมีวัตถ;ุ นนทบุรี : กองวชิ าการ สำ�นกั งานคณะกรรมการอาหารและยา; 2531. หน้า 28, 35. 76 แมลง สัตว์ และพืช ทมี่ ีพษิ และเปน็ อันตราย

9. แมงกะพรุน : รปู ภาพ [สืบค้น 28 พ.ค. 2557]; เข้าถงึ ไดท้ ี่ URL: http://www.manager.co.th/QOL/ViewNews. aspx?NewsID=9510000043358 10. แมงดาทะเล : รปู ภาพ [สืบค้น 28 พ.ค. 2557]; เขา้ ถึงได้ที่ URL:http://chm-thai.onep.go.th/chm/MarineBio/WEBPAGE_ USED/MANGROVE.html 11. ศุภชัย รัตนมณีฉัตร วิทูร อัตนโถ ชุษณะ มะกรสาร. ปลาปักเป้าหรือ Puffer fish ใน : มุกดา ตฤษณานนท์ บรรณาธกิ าร. สตั ว์มีพิษและการ รักษาพิษสตั ว์ : โรงพมิ พ์พิฆเนศ. กรุงเทพฯ; 2522. หนา้ 179-89. 12. สถาบนั วิทยาศาสตร์ทางทะเล บางแสน มหาวิทยาลัยบูรพา. [สบื คน้ 22 พ.ย. 2549] ; [3 หน้า] เข้าถงึ ได้ที่ URL:http://www.bims. buu.ac.th/th/department/aquarium/pugpou.asp. 13. สรุ ศกั ด์ิ พุ่มมณ.ี สัตว์นำ้�มพี ษิ . ใน. ความรเู้ กี่ยวกับสง่ิ เปน็ พษิ ตอนท่ี 3. นนทบรุ ี : กองพษิ วิทยา กรมวทิ ยาศาสตร์การแพทย์, หนา้ 2. 14. อดิสรณ์ มนต์วิเศษ. สัตว์ทะเลท่มี ีพษิ และเปน็ อนั ตราย ใน. ศนู ย์ข้อมูลพษิ วทิ ยา [สบื คน้ 19 ธ.ค. 2549] [11 หนา้ ] เข้าถงึ ได้ที่ URL:http://webdb. dmsc.moph.go.th/ifc-toxic/a_tx_. 15. อลัน อิษวาส. ปลาปักเป้ามีพิษ. วารสารกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ 2514; 13(4) : 36-43 16. Nicholson T. Photograph of Fire Coral. [Picture]; [cited 2007 Feb 2]; Available at : URL:http://scubatravel.co.uk/firecoral. html. 17. Talaythai. [สบื คน้ 29 ธันวาคม 2549] [3 หน้า] เขา้ ถงึ ได้ท่ี URL:http://www.talaythai.com/marine-animal/coral/index.php 3. สตั ว์ทะเลที่มพี ิษและเปน็ อันตราย 77



พชื ที่มีพิษ และเปน็ อนั ตราย สุธิดา ไชยราช สถาบันวจิ ัยสมนุ ไพร กรมวทิ ยาศาสตร์การแพทย์



พืชทีม่ พี ษิ และเปน็ อนั ตราย พืชท่ีมพี ษิ และเปน็ อันตรายกบั มนุษย์ แบ่งออกเปน็ 2 กลมุ่ ได้แก่ 1. กลุ่มที่ทำ�ให้เกิดพิษจากการสมั ผัส พชื กลุ่มนจ้ี ะทำ�ใหค้ นหรอื สัตว์ท่ี สมั ผสั เกดิ อาการคนั ผวิ หนงั อกั เสบเปน็ ผน่ื แดง หรอื บวม อาจเปน็ ตมุ่ หรอื พพุ อง เป็นแผลหรือเกิดอาการปวดแสบปวดร้อนได้ ท้ังนี้อาการรุนแรงมากหรือ นอ้ ยขนึ้ อยกู่ บั ชนดิ ของสารและภมู ติ า้ นทานของแตล่ ะคน สารทที่ ำ�ใหเ้ กดิ อาการ ดงั กล่าว เช่น สารกล่มุ Phenolic compound, Diterpene esters. Essential oils. Organic aicds, Amines และเอนไซมบ์ างชนดิ พชื บางชนดิ มนี �้ำ ยางสขี าว หรอื น�้ำ ยางใส บางชนดิ มเี สน้ ใยทท่ี �ำ ใหเ้ กดิ อาการระคายเคอื งได้ เชน่ สลดั ไดปา่ พญาไร้ใบ เปน็ ต้น 2. กลมุ่ ทท่ี �ำ ใหเ้ กดิ พษิ จากการบรโิ ภค พชื ทท่ี �ำ ใหเ้ กดิ อาการพษิ ทรี่ นุ แรง ผู้ที่ได้รับพิษส่วนใหญ่มักเข้าใจผิด บริโภคโดยรู้เท่าไม่ถึงการณ์ อาการพิษท่ี เกดิ ขน้ึ ไดแ้ ก่ การระคายเคอื งในระบบทางเดนิ อาหาร คลน่ื ไส้ อาเจยี น แสบรอ้ น ในคอ ปวดท้อง ท้องเสีย ถ่ายเหลว ส่วนของพืชที่ท�ำ ให้เกิดอาการพิษเหล่านี้ ได้แก่ เมล็ดสบู่ด�ำ ผลหรือเมลด็ สบู่แดง บางชนดิ ท�ำ ใหเ้ กิดอาการพษิ ต่อระบบ หวั ใจ และหลอดเลอื ด และระบบประสาท เชน่ ผกากรอง ล�ำ โพงกาสลกั เปน็ ตน้ พืชทมี่ ีพษิ และเปน็ อนั ตราย 81

กระบอก กระบอก (Trumpet Flower.; Thevetia peruviana Schum.) ช่อื ท้องถิน่ กะทอก บานบรุ ี ยโ่ี ถฝรง่ั (กรงุ เทพฯ); แซนาวา่ แซะศาลา (ภาค เหนอื ); รำ�พน รำ�เพย (ภาคกลาง) ลกั ษณะของพชื ไมพ้ มุ่ ถงึ ไมย้ นื ตน้ ขนาดเลก็ ใบยาวเรยี วเปน็ มนั ดอกเปน็ หลอด ตอนโคน ตอนปลายกลบี แผอ่ อกเปน็ 5 กลบี กลบี ซอ้ นเหลอ่ื มกนั ปลูกในกรุงเทพฯ มีสเี หลอื ง แสด และขาว ผลคอ่ นข้างกลม มสี ันสีเขยี วเปน็ มัน ปลูกเปน็ ไม้ประดับตามบ้านทั่วๆ ไป ส่วนทีเ่ ป็นพษิ น้ำ�ยางขาว เมล็ด ใบ (สารกลุ่ม cardiac glycosides เช่น thevetin และสารกลุ่ม thevetoxin มีฤทธ์ิคล้ายกับ digitalis แต่ออกฤทธชิ์ ้ากวา่ ) อาการ น�ำ้ ยางเมอ่ื ถกู ผวิ หนงั จะมอี าการแพเ้ ปน็ ผน่ื แดง แสบคนั หากเคย้ี ว เมลด็ จะรสู้ กึ ชาทลี่ น้ิ และปาก ท�ำ ใหม้ อี าการปวดแสบปวดรอ้ น 82 แมลง สัตว์ และพืช ทม่ี พี ษิ และเป็นอันตราย

การรกั ษา คลน่ื ไส้ อาเจียน ปวดศีรษะ ท้องเสยี งว่ งนอน ม่านตาขยาย ความดนั โลหติ ลด การเตน้ ของหวั ใจผดิ ปกติ ชพี จรเตน้ ชา้ และ ถงึ ตายได้ เมลด็ มพี ิษมาก หากเดก็ กินเพียง 1 – 2 เมล็ด และ ผใู้ หญป่ ระมาณ 4 – 10 เมลด็ กจ็ ะทำ�ใหถ้ งึ ตายได้ 1. กำ�จัดเศษพืชพิษที่ไม่ถูกดูดซึมออกจากร่างกายโดยทำ�ให้ อาเจยี น อาจลดการดดู ซึมของสารพิษ โดยให้ activated charcoal ตรวจคลืน่ หวั ใจควบคมุ อัตราความเร็วของการ บบี ตัวของหัวใจ (transvenous cardiac pacing) 2. เช็คระดับโพแทสเซียมและแมกนีเซียมในเลือดทุกชั่วโมง ไมค่ วรให้ epinephrine หรอื สารกระตนุ้ อนื่ ๆ เพราะอาจ เร่งให้เกิด venticular fibrillation 3. ถา้ มี hypokalemia และไตปกติ ใหผ้ ปู้ ว่ ยดมื่ potassium chloride 5 g ละลายในน้ำ�ผลไม้ หรือให้ 20 meq ใน 5% dextrose จ�ำ นวน 500 มล. อยา่ งชา้ ๆ ในอตั ราเรว็ ไม่เกิน 0.4 meq/L แต่ถา้ มี complete heart block หา้ มใหโ้ พแทสเซยี ม 4. ถา้ hyperkalemia ใหก้ ิน kayexalate 20 กรัม แลว้ ให้ Insulin 10 unit ในนำ้� 5% dextrose อาจต้องทำ� hemodialysis 5. ให้ phenytoin เพ่ิมการ metabolism และ lidocain เพ่อื ควบคุมอัตราเต้นของหัวใจ 6. ให้ cholestyramine เพ่ือลดการดูดซึมของสารพิษ 7. ฉดี atropine 0.01 มก./กก. เพมิ่ อัตราการเต้นของหวั ใจ เมื่อมี digitalis heart block พชื ทีม่ พี ิษและเปน็ อันตราย 83

กะทกรก 84 แมลง สตั ว์ และพืช ท่มี ีพษิ และเปน็ อนั ตราย

กะทกรก (Passiffora foetida Linn.) ชื่ออนื่ รก (ภาคกลาง); กระโปรงทอง (Peninsular); ต�ำ ลงึ ฝรง่ั (ชลบรุ )ี ; เถาเงาะ เถาสิงโต (ชัยนาท); ผักขี้หิด (เลย); ผักแคบฝร่ัง (ภาคเหนอื ); เยย่ี วววั (อดุ รธาน)ี ; ละพบุ าบี (มลาย-ู นาราธวิ าส ปัตตานี); หญ้าถลกบาต (พิษณุโลก อุตรดิตถ์); หญ้ารกช้าง (พังงา) ลกั ษณะของพชื เป็นไม้เล้ือย ลำ�ต้นมีขนปกคลุมทั้งต้น มีกล่ินเหม็นเขียว ใบเดย่ี วเรียงเวียน ลกั ษณะของใบรปู ไข่ หรอื รูปไขข่ อบขนาน ขอบใบหยกั เวา้ 3 หยกั ปลายใบแหลม โคนใบมนหรอื เวา้ ดอก ออกเดยี่ วหรอื ออกเปน็ คตู่ ามซอกใบ แตล่ ะดอกจะมใี บประดบั 3 ใบรองรับ ใบประดับรูปไข่ ขอบใบเป็นเส้นใยตาข่ายฝอย สีเขียว อยู่คงทนจนกระท่ังติดผล กลีบเลี้ยงรูปขอบขนาน มีต่ิงยื่นแหลมตรงปลายกลีบ ด้านในมีสีขาวด้านนอกสีเขียว กลีบดอก 3 – 5 กลบี รูปขอบขนานสีขาว มขี นาดใกลเ้ คยี ง กบั กลบี เลย้ี ง ลกั ษณะของผลคอ่ นขา้ งกลม สเี ขยี ว เมอื่ แกส่ สี ม้ มใี บประดบั หมุ้ อยู่ สว่ นทเ่ีปน็ พษิ ผลดิบ (cyanogenetic glycoside) อาการ ถา้ กนิ ผลดบิ ในปรมิ าณมาก ทำ�ใหอ้ าเจยี น เกดิ cyanosis และ ถงึ ตายได้ พชื ที่มพี ิษและเป็นอันตราย 85

ครสิ ต์มาส 86 แมลง สตั ว์ และพชื ท่มี พี ิษและเป็นอนั ตราย

ครสิ ตม์ าส (Poinsettia.; Euphorbia pulcherrima Wild.) ช่ืออน่ื คริสต์มาส (ราชบุรี); บานใน (ภาคเหนือ); โพผัน สองระดู (กรุงเทพฯ) ลักษณะของพชื ไมพ้ มุ่ ขนาดเลก็ มยี างขาว ล�ำ ตน้ เรยี บ ใบเดย่ี วรปู ไขแ่ กมรปู หอก เรียงสลบั เวยี นรอบตน้ มักอยู่เปน็ กลุ่มท่ียอด ขอบใบเวา้ ตื้นๆ 3 – 5 แหง่ ปลายใบแหลม โคนใบเปน็ ครบี เนอ้ื ใบบาง ทอ้ งใบสี ออ่ นกวา่ หลงั ใบ ดา้ นลา่ งมขี นสน้ั ปกคลมุ กา้ นใบยาว หใู บเปน็ ตมุ่ ดอกเปน็ ชอ่ อยรู่ วมกนั เปน็ ชอ่ ใหญ่ รอบชอ่ ดอกมใี บประดบั สแี ดง รูปหอก หรือรูปไขป่ ลายแหลม ขอบเรียบ ดอกยอ่ ยมสี ีเหลือง ส่วนที่เปน็ พษิ น้�ำ ยางขาว (diterpene ester) อาการ ยางขาวมีฤทธิ์กัดเมื่อสัมผัสจะรู้สึกปวดและระคายเคืองมาก และผิวหนังอักเสบเป็นป้ืนแดง ต่อมาปวดพอง เป็นตุ่มน้ำ� ภายใน 2 – 8 ช่ัวโมง หากสัมผัสตาจะทำ�ให้เกิดการ ระคายเคือง แสบตาเย่อื บุตาอกั เสบท�ำ ให้ตาบอดได้ การรักษา ถา้ น�ำ้ ยางเขา้ ตาใหล้ า้ งดว้ ยน�้ำ สะอาดหลายครง้ั ทนั ที หากสมั ผสั โดนนำ้�ยางให้ล้างด้วยแอลกอฮอล์ การรักษาเช่นเดียวกับพิษ จาก phenol คือ ทายาสเตียรอยด์ หรือรับประทานยา สเตียรอยด์ตามแต่อาการ พชื ทม่ี ีพษิ และเปน็ อันตราย 87

โปย๊ เซียน 88 แมลง สตั ว์ และพชื ท่มี พี ิษและเป็นอนั ตราย