Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ยุทธศาสตร์ชาติ ที่เกี่ยวข้องกับ สำนักงาน กศน

ยุทธศาสตร์ชาติ ที่เกี่ยวข้องกับ สำนักงาน กศน

Published by E-book Prasamut chedi District Public Library, 2019-06-06 02:43:43

Description: ผลิตโดย สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงศึกษาธิการ
หนังสือ,เอกสาร,บทความนี้นำมาเผยแพร่เพื่อการศึกษาเท่านั้น

Search

Read the Text Version

ยทุ ธศาสตร์ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๘๐ ท่ีเกีย่ วขอ้ งกับสานักงาน กศน.  บทที่ ๑ ยุทธศาสตรช์ าติ พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๘๐  บทท่ี ๒ บทบาทหนา้ ที่ของสานกั งาน กศน.  บทที่ ๓ วิเคราะห์ยทุ ธศาสตร์ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๘๐ ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกับสานกั งาน กศน.

บทท่ี ๑ ยทุ ธศาสตร์ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๘๐ สถานการณแ์ นวโนม้ ในการพัฒนาประเทศ ในปัจจุบันประเทศไทยยังคงมีประเด็นความท้าทายการพัฒนาในหลายมิติในมิติเศรษฐกิจที่โครงสร้าง เศรษฐกิจยังไม่สามารถขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรมอย่างเต็มท่ี ผลิตภาพการผลิตของภาคบริการและภาคเกษตรยังอยู่ ในระดับต่าคุณภาพและของแรงงานที่ยังไม่สอดคล้องกับความต้องการในการขับเคล่ือนการพัฒนาของประเทศ มิติทางสังคมท่ีการยกระดับรายได้ของประชาชน การแก้ปัญหาด้านความยากจนและความเหลื่อมล่้า การพัฒนา คุณภาพการให้บริการและการขยายโอกาสในการเข้าถึงระบบบริการสาธารณะยังคงมีช่องว่างที่สามารถ พัฒนาต่อไปได้ มิติส่ิงแวดล้อมที่การฟ้ืนฟูและรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมยังเป็นประเด็นส่าคัญ ส่าหรับการพฒั นาประเทศอย่างยง่ั ยืน และมติ ขิ องการบรหิ ารจัดการภาครัฐทีย่ ังขาดความต่อเน่ืองและความยืดหยุ่น ในการตอบสนองความต้องการในการแกป้ ัญหาของประชาชนได้อยา่ งเตม็ ประสิทธิภาพ นอกจากนี้ ยังมีสถานการณ์ท่ีก่าลังเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ทั้งการเปล่ียนแปลงโครงสร้างประชากรที่มี สัดส่วนประชากรวัยแรงงานลดลงและประชากรสูงอายุเพิ่มข้ึนอย่างต่อเน่ือง ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีแบบก้าวกระโดด ความท้าทายใหม่ ๆ ซ่ึงมาจากการเปลี่ยนแปลงเชิงโครงสร้างของความสัมพันธ์ระหว่าง ประเทศ ทั้งด้านความม่ันคงและเศรษฐกิจ การเช่ือมโยงกันอย่างซับซ้อนจากการรวมกลุ่มภายในภูมิภาคและการ เปิดเสรีด้านต่าง ๆ ตลอดจนการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและความเส่ือมโทรมของระบบนิเวศ ซึ่งสถานการณ์ ดังกล่าวจะก่อให้เกิดความท้าทายในการพัฒนาประเทศท้ังในมิติความมั่นคง เศรษฐกิจ สังคม และส่ิงแวดล้อม ดังนั้น ประเทศไทยจ่าเป็นต้องมีการวางแผนยุทธศาสตร์ด้านต่าง ๆ ท่ีรอบคอบและครอบคลุ มเพื่อเป็นกรอบ ในการขบั เคลือ่ นการพฒั นาประเทศให้เจรญิ ก้าวหน้าอยา่ งม่นั คง มัง่ คงั่ และยัง่ ยนื วสิ ยั ทัศน์ และเป้าหมาย วสิ ัยทศั น์ของประเทศ “ประเทศไทยมีความม่ันคง ม่ังคั่ง ย่ังยืน เป็นประเทศที่พัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพียง” เป้าหมายการพัฒนาประเทศ “ประเทศชาตมิ นั่ คง ประชาชนมคี วามสุข เศรษฐกิจพฒั นาอย่างตอ่ เนอื่ ง สงั คมเป็นธรรม ฐานทรัพยากรธรรมชาติ ยั่งยืน” โดยยกระดับศักยภาพของประเทศในหลากหลายมิติ พัฒนาคนในทุกมิติและในทุกช่วงวัยให้เป็นคนดี เก่ง และมี คุณภาพ สร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม สร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตท่ีเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และมี ภาครัฐของประชาชนเพื่อประชาชนและประโยชน์ส่วนรวม โดยการประเมินผลการพัฒนาตามยุทธศาสตร์ชาติ ประกอบด้วย ๑) ความอยดู่ ีมีสุขของคนไทยและสังคมไทย ๒) ขดี ความสามารถในการแข่งขนั การพัฒนาเศรษฐกิจและการกระจายรายได้

๓) การพฒั นาทรพั ยากรมนษุ ย์ของประเทศ ๔) ความเท่าเทียมและความเสมอภาคของสงั คม ๕) ความหลากหลายทางชวี ภาพ คุณภาพสง่ิ แวดลอ้ ม และความยั่งยืนของทรัพยากรธรรมชาติ ๖) ประสทิ ธภิ าพการบรหิ ารจัดการและการเข้าถึงการให้บริการของภาครัฐ การพัฒนาประเทศในช่วงระยะเวลาของยุทธศาสตร์ชาติ จะมุ่งเน้นการสร้างสมดุลระหว่างการพัฒนา เศรษฐกิจ สังคม และส่ิงแวดล้อม โดยประกอบด้วย ๖ ยุทธศาสตร์ ได้แก่ ยุทธศาสตร์ชาติด้านความมั่นคง ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน ยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพ ทรัพยากรมนุษย์ ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้าง การเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม และยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบ การบรหิ ารจัดการภาครฐั ยทุ ธศาสตร์ชาตดิ า้ นความมน่ั คง ยทุ ธศาสตร์ชาติด้านความมน่ั คง มีเป้าหมายการพัฒนาทสี่ ่าคัญ คือประเทศชาติมั่นคง ประชาชนมีความสุข เน้นการบริหารจัดการสภาวะแวดล้อมของประเทศให้มีความม่ันคง ปลอดภัย เอกราช อธิปไตย และมีความสงบ เรียบร้อยในทุกระดับ ต้ังแต่ระดับชาติ สังคม ชุมชน มุ่งเน้นการพัฒนาคน เคร่ืองมือ เทคโนโลยี และระบบ ฐานข้อมูลขนาดใหญ่ให้มีความพร้อมสามารถรับมือกับภัยคุกคามและภัยพิบัติได้ทุกรูปแบบ และทุกระดับความ รุนแรง ควบคู่ไปกับการป้องกันและแก้ไขปัญหาด้านความม่ันคงที่มีอยู่ในปัจจุบัน และที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต ใช้กลไกการแก้ไขปัญหาแบบบูรณาการทั้งกับส่วนราชการ ภาคเอกชน ประชาสังคม และองค์กรที่ไม่ใช่รัฐ รวมถึง ประเทศเพอ่ื นบ้านและมติ รประเทศท่ัวโลกบนพื้นฐานของหลกั ธรรมาภิบาล ตัวชีว้ ัด ประกอบดว้ ย (๑) ความสุขของประชากรไทย (๒) ความม่ันคงปลอดภัยของประเทศ (๓) ความพร้อมของ กองทัพ หน่วยงานด้านความมั่นคง และการมีส่วนร่วมของภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชนในการป้องกัน และแก้ไขปัญหาความม่ันคง (๔) บทบาทและการยอมรับในด้านความม่ันคงของไทยในประชาคมระหว่างประเทศ และ (๕) ประสิทธิภาพการบริหารจัดการความม่ันคงแบบองค์รวม โดยประเด็นยุทธศาสตร์ชาติด้านความมั่นคง ประกอบด้วย ๕ ประเดน็ ได้แก่ ๑. การรักษาความสงบภายในประเทศ เพื่อสร้างเสริมความสงบเรียบร้อยและสันติสุขให้เกิดข้ึนกับ ประเทศชาติบ้านเมือง โดย (๑) การพัฒนาและเสริมสร้างคนในทุกภาคส่วนให้มีความเข้มแข็ง มีความพร้อม ตระหนักในเรื่องความม่ันคง และมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหา (๒) การพัฒนาและเสริมสร้างความจงรักภักดีต่อ สถาบันหลักของชาติ (๓) การพัฒนาและเสริมสร้างการเมืองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็น ประมุขท่ีมีเสถียรภาพและมีธรรมาภิบาล เห็นแก่ประโยชน์ของประเทศชาติมากกว่าประโยชน์ส่วนตน และ (๔) การพฒั นาและเสริมสรา้ งกลไกทีส่ ามารถปอ้ งกันและขจัดสาเหตุของประเดน็ ปัญหาความม่นั คงท่สี ่าคัญ ๒. การป้องกันและแก้ไขปัญหาที่มีผลกระทบต่อความม่ันคง เพ่ือแก้ไขปัญหาเดิม และป้องกันไม่ให้ปัญหา ใหม่เกิดข้ึน โดย (๑) การแก้ไขปัญหาความมั่นคงในปัจจุบัน (๒) การติดตาม เฝ้าระวัง ป้องกัน และแก้ไขปัญหาที่

อาจอุบัติข้ึนใหม่ (๓) การสร้างความปลอดภัยและความสันติสุขอย่างถาวรในพื้นท่ีจังหวัดชายแดนภาคใต้ และ (๔) การรกั ษาความม่ันคงและผลประโยชน์ทางทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ มทั้งทางบกและทางทะเล ๓. การพัฒนาศกั ยภาพของประเทศให้พร้อมเผชิญภัยคุกคามท่ีกระทบต่อความมั่นคงของชาติเพื่อยกระดับ ขีดความสามารถของกองทัพและหน่วยงานด้านความมั่นคง โดย (๑) การพัฒนาระบบงานข่าวกรองแห่งชาติ แบบบรู ณาการอยา่ งมีประสิทธิภาพ (๒) การพฒั นาและผนึกพลังอ่านาจแห่งชาติ กองทัพและหน่วยงานความม่ันคง รวมทงั้ ภาครฐั และภาคประชาชน ใหพ้ ร้อมป้องกันและรักษาอธิปไตยของประเทศ และเผชิญกับภัยคุกคามได้ทุกมิติ ทุกรูปแบบและทุกระดับ และ (๓) การพัฒนาระบบเตรียมพร้อมแห่งชาติและการบริหารจัดการภัยคุกคามให้มี ประสทิ ธภิ าพ ๔. การบูรณาการความร่วมมือด้านความมั่นคงกับอาเซียนและนานาชาติ รวมถึงองค์กรภาครัฐและที่มิใช่ ภาครฐั เพื่อสร้างเสริมความสงบสขุ สันตสิ ขุ ความมัน่ คง และความเจริญ ก้าวหน้า ให้กับประเทศชาติ ภูมิภาค และ โลก อย่างยงั่ ยนื โดย (๑) การเสริมสรา้ งและรักษาดลุ ยภาพสภาวะแวดลอ้ มระหว่างประเทศ (๒) การเสริมสร้างและ ธ่ารงไว้ซึ่งสันติภาพและความม่ันคงของภูมิภาค และ (๓) การร่วมมือทางการพัฒนากับประเทศเพื่อนบ้าน ภูมิภาค โลก รวมถงึ องคก์ รภาครัฐและทีม่ ใิ ช่ภาครัฐ ๕. การพัฒนากลไกการบริหารจัดการความมั่นคงแบบองค์รวม เพ่ือให้กลไกส่าคัญต่าง ๆ ท่างานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ มีการใช้หลกั ธรรมาภิบาล และการบงั คบั ใช้กฎหมายอยา่ งเครง่ ครัด โดย (๑) การพัฒนากลไกให้พร้อม ส่าหรับการติดตาม เฝ้าระวัง แจ้งเตือน ป้องกัน และแก้ไขปัญหาความม่ันคงแบบองค์รวมอย่างเป็นรูปธรรม (๒) การบริหารจัดการความมั่นคงให้เอ้ืออ่านวยต่อการพัฒนาประเทศในมิติอื่น ๆ และ (๓) การพัฒนากลไกและ องคก์ รขบั เคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติดา้ นความมนั่ คง ยทุ ธศาสตรช์ าติด้านการสร้างความสามารถในการแขง่ ขัน ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน มีเป้าหมายการพัฒนาท่ีมุ่งเน้นการยกระดับ ศักยภาพของประเทศในหลากหลายมิติ บนพ้ืนฐานแนวคิด ๓ ประการ ได้แก่ (๑) “ต่อยอดอดีต” โดยมองกลับไปที่ รากเหงา้ ทางเศรษฐกิจ อัตลักษณ์ วัฒนธรรม ประเพณี วิถีชีวิต และจุดเด่นทางทรัพยากรธรรมชาติท่ีหลากหลาย รวมท้ัง ความได้เปรียบเชิงเปรียบเทียบของประเทศในด้านอ่ืน ๆ น่ามาประยุกต์ผสมผสานกับเทคโนโลยีและนวัตกรรม เพ่ือให้ สอดรับกับบริบทของเศรษฐกิจและสังคมโลกสมัยใหม่ (๒) “ปรับปัจจุบัน” เพื่อปูทางสู่อนาคต ผ่านการพัฒนาโครงสร้าง พื้นฐานของประเทศในมิติต่าง ๆ ท้ังโครงข่ายระบบคมนาคมและขนส่งโครงสร้างพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และดิจิทัล และการปรับสภาพแวดล้อม ให้เอื้อต่อการพัฒนาอุตสาหกรรมและบริการอนาคต และ (๓) “สร้างคุณค่าใหม่ ในอนาคต” ด้วยการเพิ่มศักยภาพของผู้ประกอบการ พัฒนาคนรุ่นใหม่ รวมถึงปรับรูปแบบธุรกิจ เพื่อตอบสนองต่อความ ต้องการของตลาด ผสมผสานกับยุทธศาสตร์ท่ีรองรับอนาคต บนพ้ืนฐานของการต่อยอดอดีตและปรับปัจจุบัน พร้อมท้ัง การส่งเสรมิ และสนับสนุนจากภาครัฐ ให้ประเทศไทยสามารถสร้างฐานรายได้และการจ้างงานใหม่ขยายโอกาสทางการค้า และการลงทุนในเวทีโลก ควบคู่ไปกับการยกระดับรายได้และการกินดีอยู่ดี รวมถึงการเพ่ิมข้ึนของคนช้ันกลางและลด ความเหลื่อมล่้าของคนในประเทศได้ในคราวเดยี วกนั

ตัวช้ีวัด ประกอบด้วย (๑) รายได้ประชาชาติ การขยายตัวของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ และการ กระจายรายได้ (๒) ผลิตภาพการผลิตของประเทศทั้งในปัจจัยการผลิตและแรงงาน (๓) การลงทุนเพื่อการวิจัยและพัฒนา และ (๔) ความสามารถในการแข่งขันของประเทศ โดยประเด็นยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน ประกอบดว้ ย ๕ ประเดน็ ไดแ้ ก่ ๑. การเกษตรสร้างมูลค่า ให้ความส่าคัญกับการเพ่ิมผลิตภาพการผลิตทั้งเชิงปริมาณและมูลค่า และความ หลากหลายของสินค้าเกษตร ประกอบด้วย(๑) เกษตรอัตลักษณ์พ้ืนถิ่น (๒) เกษตรปลอดภัย (๓) เกษตรชีวภาพ (๔) เกษตรแปรรูปและ (๕) เกษตรอัจฉริยะ ๒. อตุ สาหกรรมและบริการแหง่ อนาคต โดยสร้างอุตสาหกรรมและบริการแห่งอนาคตท่ีขับเคลื่อนประเทศ ไทยไปสู่ประเทศที่พัฒนาแล้วด้วยนวัตกรรมและเทคโนโลยีแห่งอนาคต ประกอบด้วย (๑) อุตสาหกรรมชีวภาพ (๒) อุตสาหกรรมและบริการการแพทย์ครบวงจร (๓) อุตสาหกรรมและบริการดิจิทัล ข้อมูล และปัญญาประดิษฐ์ (๔) อตุ สาหกรรมและบริการขนสง่ และโลจสิ ติกส์และ (๕) อุตสาหกรรมความม่นั คงของประเทศ ๓. สร้างความหลากหลายด้านการท่องเท่ียว โดยการรักษาการเป็นจุดหมายปลายทางท่ีส่าคัญของ การท่องเทย่ี วระดับโลกที่ดงึ ดูดนักทอ่ งเท่ยี วทกุ ระดับ และเพ่ิมสัดส่วนของนักท่องเท่ียวที่มีคุณภาพสูง ประกอบด้วย (๑) ท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์และวัฒนธรรม (๒) ท่องเท่ียวเชิงธุรกิจ (๓) ท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ ความงามและแพทย์ แผนไทย (๔) ทอ่ งเทย่ี วสา่ ราญทางน้่า และ (๕) ท่องเท่ียวเชอ่ื มโยงภูมิภาค ๔. โครงสร้างพื้นฐาน เชื่อมไทย เชื่อมโลก ครอบคลุมถึงโครงสร้างพื้นฐานทางกายภาพในด้าน โครงข่ายคมนาคม พื้นท่ีและเมือง รวมถึงเทคโนโลยี ตลอดจนโครงสร้างพ้ืนฐานทางเศรษฐกิจ โดย (๑) เชื่อมโยง โครงข่ายคมนาคมไร้รอยต่อ (๒) สร้างและพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ (๓) เพ่ิมพ้ืนที่และเมืองเศรษฐกิจ (๔) พัฒนา โครงสร้างพืน้ ฐานเทคโนโลยีสมัยใหม่ และ (๕) รกั ษาและเสรมิ สร้างเสถียรภาพทางเศรษฐกิจมหภาค ๕. พัฒนาเศรษฐกิจบนพื้นฐานผู้ประกอบการยุคใหม่ สร้างและพัฒนาผู้ประกอบการยุคใหม่ ที่มีทักษะ และจิตวิญญาณของการเป็นผู้ประกอบการที่มีความสามารถในการแข่งขันและมีอัตลักษณ์ชัดเจน โดย (๑) สร้าง ผู้ประกอบการอัจฉริยะ (๒) สร้างโอกาสเข้าถึงบริการทางการเงิน (๓) สร้างโอกาสเข้าถึงตลาด (๔) สร้างโอกาสเข้าถึง ข้อมูล และ (๕) ปรบั บทบาทและโอกาสการเข้าถึงบริการภาครัฐ ยุทธศาสตร์ชาติด้านการพฒั นาและเสรมิ สร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ยทุ ธศาสตร์ชาติด้านการพฒั นาและเสรมิ สร้างศักยภาพทรัพยากรมนษุ ย์มีเป้าหมายการพัฒนาท่ี ส่าคัญเพื่อพัฒนาคนในทุกมิติและในทุกช่วงวัยให้เป็นคนดี เก่งและมีคุณภาพ โดยคนไทยมีความพร้อมท้ังกาย ใจ สติปัญญา มีพัฒนาการท่ีดีรอบด้านและมีสุขภาวะท่ีดีในทุกช่วงวัย มีจิตสาธารณะ รับผิดชอบต่อสังคมและผู้อื่น มัธยัสถ์ อดออม โอบออ้ มอารี มีวนิ ยั รกั ษาศลี ธรรม และเป็นพลเมืองดีของชาติ มีหลักคิดท่ีถูกต้อง มีทักษะท่ีจ่าเป็น ในศตวรรษท่ี ๒๑ มีทักษะส่ือสารภาษาอังกฤษและภาษาท่ี ๓ และอนุรักษ์ภาษาท้องถ่ิน มีนิสัยรักการเรียนรู้และ การพัฒนาตนเองอย่างต่อเน่ืองตลอดชีวิต สู่การเป็นคนไทยท่ีมีทักษะสูง เป็นนวัตกร นักคิด ผู้ประกอบการ เกษตรกรยคุ ใหม่และอื่น ๆ โดยมสี ัมมาชพี ตามความถนดั ของตนเอง

ตัวช้ีวัด ประกอบด้วย (๑) การพัฒนาคุณภาพชีวิต สุขภาวะ และความเป็นอยู่ท่ีดีของคนไทย (๒) ผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต และ (๓) การพัฒนาสังคมและครอบครัวไทย โดยประเด็น ยทุ ธศาสตรช์ าตดิ ้านการพัฒนาและเสรมิ สรา้ งศกั ยภาพทรพั ยากรมนษุ ย์ ประกอบด้วย ๗ ประเด็น ได้แก่ ๑. การปรับเปล่ียนค่านิยมและวัฒนธรรม มุ่งเน้นให้สถาบันทางสังคมร่วมปลูกฝังค่านิยมและวัฒนธรรมท่ีพึง ประสงค์ โดย (๑) การปลูกฝังค่านิยมและวัฒนธรรมผ่านการเลี้ยงดูในครอบครัว (๒) การบูรณาการเร่ืองความซื่อสัตย์ วินัย คุณธรรมจริยธรรม ในการจัดการเรียนการสอนในสถานศึกษา (๓) การสร้างความเข้มแข็งในสถาบันทางศาสนา (๔) การปลูกฝังค่านิยมและวัฒนธรรมโดยใช้ชุมชนเป็นฐาน (๕) การสร้างค่านิยมและวัฒนธรรมที่พึงประสงค์จากภาค ธุรกิจ (๖) การใช้ส่ือและสื่อสารมวลชนในการปลูกฝังค่านิยมและวัฒนธรรมของคนในสังคม และ (๗) การส่งเสริมให้คน ไทยมจี ิตสาธารณะและมีความรบั ผดิ ชอบต่อส่วนรวม ๒. การพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต มุ่งเน้นการพัฒนาคนเชิงคุณภาพในทุกช่วงวัย ประกอบด้วย (๑) ชว่ งการต้งั ครรภ/์ ปฐมวยั เนน้ การเตรียมความพรอ้ มให้แกพ่ อ่ แมก่ อ่ นการตัง้ ครรภ์ (๒) ชว่ งวยั เรยี น/วยั รนุ่ ปลูกฝังความ เป็นคนดี มีวินัยพัฒนาทักษะการเรียนรู้ท่ีสอดรับกับศตวรรษที่ ๒๑ (๓) ช่วงวัยแรงงาน ยกระดับศักยภาพ ทักษะและ สมรรถนะแรงงานสอดคล้องกับความต้องการของตลาด และ (๔) ช่วงวัยผู้สูงอายุ ส่งเสริมให้ผู้สูงอายุเป็นพลัง ในการขับเคลอื่ นประเทศ ๓. ปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ที่ตอบสนองต่อการเปล่ียนแปลง ในศตวรรษท่ี ๒๑ มุ่งเน้นผู้เรียนให้มีทักษะการ เรียนรู้และมีใจใฝ่เรียนรู้ตลอดเวลา โดย (๑) การปรับเปลี่ยนระบบการเรียนรู้ให้เอื้อต่อการพัฒนาทักษะส่าหรับศตวรรษ ที่ ๒๑ (๒) การเปลยี่ นโฉมบทบาท “ครู” ให้เปน็ ครูยคุ ใหม่ (๓) การเพิ่มประสิทธิภาพระบบบริหารจัดการศึกษาในทุกระดับ ทุกประเภท (๔) การพัฒนาระบบการเรียนรู้ตลอดชีวิต (๕) การสร้างความตื่นตัวให้คนไทยตระหนักถึงบทบาท ความรับผิดชอบ และการวางต่าแหน่งของประเทศไทยในภูมิภาคเอเชียอาคเนย์และประชาคมโลก (๖) การวางพื้นฐาน ระบบรองรับการเรียนรู้โดยใช้ดิจิทัลแพลตฟอร์ม และ (๗) การสร้างระบบการศึกษาเพื่อเป็นเลิศทางวิชาการระดับ นานาชาติ ๔. การตระหนักถึงพหุปัญญาของมนุษย์ที่หลากหลาย โดย (๑) การพัฒนาและส่งเสริมพหุปัญญาผ่าน ครอบครวั ระบบสถานศึกษา สภาพแวดล้อม รวมทั้งสื่อตั้งแต่ระดับปฐมวัย (๒) การสร้างเส้นทางอาชีพ สภาพแวดล้อม การท่างาน และระบบสนับสนุน ท่ีเหมาะสมส่าหรับผู้มีความสามารถพิเศษผ่านกลไกต่าง ๆ และ (๓) การดึงดูดกลุ่ม ผู้เช่ียวชาญต่างชาติและคนไทยท่ีมีความสามารถในต่างประเทศให้มาสร้างและพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม ให้กับประเทศ ๕. การเสริมสร้างให้คนไทยมีสุขภาวะท่ีดี ครอบคลุมทั้งด้านกาย ใจสติปัญญา และสังคม โดย (๑) การสร้างความ รอบรู้ด้านสุขภาวะ (๒) การป้องกันและควบคุมปัจจัยเส่ียงท่ีคุกคามสุขภาวะ (๓) การสร้างสภาพแวดล้อม ท่เี อ้ือตอ่ การมสี ขุ ภาวะทด่ี ี (๔) การพัฒนาระบบบรกิ ารสุขภาพท่ที นั สมัยสนับสนุนการสรา้ งสขุ ภาวะทดี่ ี และ (๕) การส่งเสริม ให้ชุมชนเปน็ ฐานในการสร้างสขุ ภาวะทด่ี ใี นทุกพื้นที่ ๖. การสร้างสภาพแวดล้อมทเ่ี ออ้ื ต่อการพฒั นาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ โดย (๑) การสร้าง ความอยู่ดีมีสุขของครอบครัวไทย (๒) การส่งเสริมบทบาทการมีส่วนร่วมของภาครัฐ ภาคเอกชน องค์กรปกครอง

ส่วนท้องถิ่น ครอบครัวและชุมชนในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ (๓) การปลูกฝังและพัฒนาทักษะนอกห้องเรียน และ (๔) การพฒั นาระบบฐานข้อมลู เพือ่ การพฒั นาทรัพยากรมนุษย์ ๗. การเสริมสร้างศักยภาพการกีฬาในการสร้างคุณค่าทางสังคมและพัฒนาประเทศ โดย (๑) การส่งเสริม การออกก่าลังกาย และกีฬาขั้นพื้นฐานให้กลายเป็นวิถีชีวิต (๒) การส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมออก ก่าลังกาย กีฬาและนนั ทนาการ (๓) การส่งเสริมการกีฬาเพ่ือพัฒนาสู่ระดับอาชีพ และ (๔) การพัฒนาบุคลากรด้าน การกฬี าและนนั ทนาการเพ่อื รองรับการเติบโตของอุตสาหกรรมกฬี า ยทุ ธศาสตร์ชาติดา้ นการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม มีเป้าหมายการพัฒนาท่ีส่าคัญท่ีให้ ความส่าคัญการดึงเอาพลังของภาคส่วนต่าง ๆ ท้ังภาคเอกชน ประชาสังคม ชุมชนท้องถ่ิน มาร่วมขับเคลื่อน โดย การสนับสนุนการรวมตัวของประชาชนในการร่วมคิดร่วมท่าเพ่ือส่วนรวม การกระจายอ่านาจและความรับผิดชอบ ไปสู่กลไกบริหารราชการแผ่นดินในระดับท้องถิ่น การเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนในการจัดการตนเอง และ การเตรียมความพร้อมของประชากรไทยท้ังในมิติสุขภาพ เศรษฐกิจ สังคม และสภาพแวดล้อมให้เป็นประชากรที่มี คุณภาพ สามารถพึ่งตนเอง และท่าประโยชน์แก่ครอบครัว ชุมชน และสังคมให้นานที่สุด โดยรัฐให้หลักประกัน การเข้าถึงบรกิ ารและสวสั ดิการท่ีมคี ณุ ภาพอยา่ งเปน็ ธรรมและทัว่ ถึง ตัวช้ีวัด ประกอบด้วย (๑) ความแตกต่างของรายได้และการเข้าถึงบริการภาครัฐระหว่างกลุ่มประชากร (๒) ความก้าวหน้าของการพัฒนาคน (๓) ความก้าวหน้าในการพัฒนาจังหวัดในการเป็นศูนย์กลางความเจริญทาง เศรษฐกิจ สังคม และเทคโนโลยี และ (๔) คุณภาพชีวิตของประชากรสูงอายุ โดยประเด็นยุทธศาสตร์ชาติด้านการ สรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางสงั คม ประกอบดว้ ย ๔ ประเดน็ ได้แก่ ๑. การลดความเหล่ือมล้า สร้างความเป็นธรรมในทุกมิติ โดย (๑) ปรับโครงสร้างเศรษฐกิจฐานราก (๒) ปฏิรูป ระบบภาษีและการคุ้มครองผู้บริโภค (๓) กระจายการถือครองท่ีดินและการเข้าถึงทรัพยากร (๔) เพิ่มผลิตภาพและ คุ้มครองแรงงานไทยให้เป็นแรงงานฝีมือที่มีคุณภาพและความริเร่ิมสร้างสรรค์ มีความปลอดภัยในการท่างาน (๕) สร้างหลกั ประกนั ทางสงั คมที่ครอบคลุมและเหมาะสมกับคนทุกช่วงวัย ทุกเพศภาวะและทุกกลุ่ม (๖) ลงทุนทางสังคม แบบมุ่งเป้าเพ่ือช่วยเหลือกลุ่มคนยากจนและกลุ่มผู้ด้อยโอกาสโดยตรง (๗) สร้างความเป็นธรรมในการเข้าถึงบริการ สาธารณสุขและการศึกษา โดยเฉพาะส่าหรับผู้มีรายได้น้อยและกลุ่มผู้ด้อยโอกาส และ (๘) สร้างความเป็นธรรม ในการเข้าถึงกระบวนการยตุ ิธรรมอย่างทั่วถึง ๒. การกระจายศูนย์กลางความเจริญทางเศรษฐกิจ สังคมและเทคโนโลยี โดย (๑) พัฒนาศูนย์กลางความ เจริญทางเศรษฐกิจ สังคมและเทคโนโลยีในภูมิภาค (๒) ก่าหนดแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของแต่ละ กลุ่มจังหวัดในมิติต่าง ๆ (๓) จัดระบบเมืองท่ีเอ้ือต่อการสร้างชีวิตและสังคมท่ีมีคุณภาพและปลอดภัย ให้สามารถ ตอบสนองต่อสังคมสูงวัยและแนวโน้มของการขยายตัวของเมืองในอนาคต (๔) ปรับโครงสร้างและแก้ไขกฎหมาย ระเบียบบรหิ ารราชการแผน่ ดิน เพอื่ วางระบบและกลไกการบริหารงานในระดับภาค กลุ่มจังหวัด (๕) สนับสนุนการ พฒั นาพื้นท่ีบนฐานข้อมลู ความรู้ เทคโนโลยีและนวตั กรรม และ (๖) การพัฒนาก่าลังแรงงานในพ้นื ท่ี

๓. การเสริมสร้างพลังทางสังคม โดย (๑) สร้างสังคมเข้มแข็งที่แบ่งปันไม่ทอดท้ิงกัน และมีคุณธรรม โดย สนบั สนนุ การรวมตัวและดึงพลังของภาคส่วนต่าง ๆ (๒) การรองรับสังคมสูงวัยอย่างมีคุณภาพ (๓) สนับสนุนความ ร่วมมือระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชน ภาควิชาการ ภาคประชาสังคมและภาคประชาชน (๔) ส่งเสริมความเสมอภาค ทางเพศและบทบาทของสตรีในการสร้างสรรค์สังคม (๕) สนับสนุนการพัฒนาบนฐานทุนทางสังคมและวัฒนธรรม และ (๖) สนับสนุนการพฒั นาเทคโนโลยีสารสนเทศ สอ่ื สรา้ งสรรค์ เพอ่ื รองรับสงั คมยคุ ดิจทิ ลั ๔. การเพ่ิมขีดความสามารถของชุมชนท้องถ่ินในการพัฒนา การพ่ึงตนเองและการจัดการตนเอง โดย (๑) ส่งเสริมการปรับพฤติกรรมในระดับครัวเรือน ให้มีขีดความสามารถในการจัดการวางแผนชีวิต สุขภาพ ครอบครัว การเงินและอาชีพ (๒) เสริมสร้างศักยภาพของชุมชนในการพ่ึงตนเองและการพ่ึงพากันเอง (๓) สร้างการมีส่วนร่วมของ ภาคส่วนต่าง ๆ เพ่ือสร้างประชาธิปไตยชุมชน และ (๔) สรา้ งภมู ิคุ้มกนั ทางปัญญาใหก้ ับชุมชน ยทุ ธศาสตร์ชาติด้านการสรา้ งการเติบโตบนคณุ ภาพชวี ิตท่ีเป็นมิตรตอ่ ส่ิงแวดล้อม ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตท่ีเป็นมิตร ต่อสิ่งแวดล้อม มีเป้าหมายการพัฒนา ที่ส่าคัญเพื่อน่าไปสู่การบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนในทุกมิติ ท้ังมิติด้านสังคม เศรษฐกิจ ส่ิงแวดล้อม ธรรมาภิบาล และความเป็นหุ้นส่วนความร่วมมือระหว่างกันท้ังภายในและภายนอกประเทศอย่างบูรณาการ ใช้พ้ืนที่เป็นตัวต้ังในการ ก่าหนดกลยุทธ์และแผนงาน และการให้ทุกฝ่ายท่ีเก่ียวข้องได้เข้ามามีส่วนร่วมในแบบทางตรงให้มากที่สุดเท่าที่จะเป็นไป ได้ โดยเป็นการด่าเนินการบนพื้นฐานการเติบโตร่วมกัน ไม่ว่าจะเป็นทางเศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม และคุณภาพชีวิตโดยให้ ความส่าคญั กบั การสร้างสมดลุ ทงั้ ๓ ดา้ น อนั จะน่าไปสู่ความย่ังยนื เพ่ือคนรุ่นต่อไปอย่างแทจ้ ริง ตัวชี้วัด ประกอบด้วย (๑) พื้นที่สีเขียวที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (๒) สภาพแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ ท่ีเสื่อมโทรมได้รับการฟื้นฟู (๓) การเติบโตท่ีเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม และ (๔) ปริมาณก๊าซเรือนกระจก มูลค่าเศรษฐกิจ ฐานชีวภาพโดยประเด็นยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรต่อส่ิงแวดล้อม ประกอบด้วย ๖ ประเด็น ไดแ้ ก่ ๑. สร้างการเติบโตอย่างยั่งยืนบนสังคมเศรษฐกิจสีเขียว โดย (๑) เพ่ิมมูลค่าของเศรษฐกิจฐานชีวภาพให้ สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน (๒) อนุรักษ์และฟื้นฟูความหลากหลายทาง ชวี ภาพในและนอกถนิ่ กา่ เนดิ (๓) อนุรักษ์และฟ้ืนฟูแม่น่้าล่าคลองและแหล่งน่้าธรรมชาติทั่วประเทศ (๔) รักษาและ เพ่ิมพนื้ ทีส่ เี ขียวทเี่ ปน็ มติ รกบั สงิ่ แวดล้อม และ (๕) สง่ เสรมิ การบริโภคและการผลิตท่ียั่งยนื ๒. สร้างการเติบโตอย่างย่ังยืนบนสังคมเศรษฐกิจภาคทะเล โดย (๑) เพิ่มมูลค่าของเศรษฐกิจฐานชีวภาพ ทางทะเล (๒) ปรับปรุง ฟ้ืนฟู และสร้างใหม่ทรัพยากรทางทะเลและชายฝ่ังท้ังระบบ (๓) ฟ้ืนฟูชายหาดท่ีเป็นแหล่ง ท่องเท่ียว ชายฝั่งทะเลได้รับการป้องกันและแก้ไขทั้งระบบ และมีนโยบายการจัดการชายฝั่งแบบบูรณาการอย่าง เปน็ องคร์ วม และ (๔) พฒั นาและเพ่ิมสดั สว่ นกิจกรรมทางทะเลท่ีเป็นมติ รต่อส่ิงแวดล้อม ๓. สร้างการเติบโตอย่างย่ังยืนบนสังคมท่ีเป็นมิตรต่อสภาพภูมิอากาศโดย (๑) ลดการปล่อยก๊าซเรือน กระจก (๒) มีการปรับตัวเพื่อลดความสูญเสียและเสียหายจากภัยธรรมชาติและผลกระทบท่ีเกี่ยวข้องกับการ เปล่ยี นแปลงสภาพภูมิอากาศ (๓) ม่งุ เปา้ สู่การลงทนุ ท่ีเป็นมิตรต่อสภาพภูมอิ ากาศในการพฒั นาโครงสรา้ งพื้นฐาน

ของภาครฐั และภาคเอกชน และ (๔) พฒั นาและสรา้ งระบบรบั มอื ปรบั ตวั ต่อโรคอุบัติใหม่และโรคอบุ ตั ิซ้า่ ท่ีเกดิ จาก การเปลีย่ นแปลงภมู อิ ากาศ ๔. พัฒนาพ้ืนท่ีเมือง ชนบท เกษตรกรรมและอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ มุ่งเน้นความเป็นเมืองท่ีเติบโตอย่าง ต่อเนอื่ ง โดย (๑) จัดท่าแผนผงั ภมู ินิเวศเพื่อการพัฒนาเมือง ชนบท พนื้ ท่ีเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม รวมถึงพื้นท่ี อนุรักษ์ตามศักยภาพและความเหมาะสมทางภูมินิเวศอย่างเป็นเอกภาพ (๒) พัฒนาพ้ืนท่ีเมือง ชนบทเกษตรกรรม และ อตุ สาหกรรมเชิงนิเวศ ทีม่ กี ารบริหารจดั การตามแผนผังภมู ินิเวศอยา่ งยงั่ ยนื (๓) จัดการมลพิษที่มีผลกระทบต่อ สิ่งแวดล้อม และสารเคมีในภาคเกษตรทั้งระบบ ให้เป็นไปตามมาตรฐานสากลและค่ามาตรฐานสากล (๔) สงวน รักษา อนุรักษ์ฟื้นฟู และพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติ มรดกทางสถาปัตยกรรมและศิลปวัฒนธรรมอัตลักษณ์ และวิถี ชีวิตพื้นถ่ินบนฐานธรรมชาติ และฐานวัฒนธรรมอย่างยั่งยืน (๕) พัฒนาเครือข่ายองค์กรพัฒนาเมืองและชุมชน รวมท้ังกลุ่มอาสาสมัคร ด้วยกลไกการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในท้องถิ่น และ (๖) เสริมสร้างระบบสาธารณสุข และอนามัยสิง่ แวดลอ้ มและยกระดับความสามารถในการป้องกนั โรคอุบัติใหมแ่ ละอบุ ตั ิซ่้า ๕. พัฒนาความม่ันคงนา้่ พลงั งาน และเกษตรท่เี ปน็ มิตรตอ่ ส่งิ แวดล้อมโดย (๑) พัฒนาการจัดการน่้าเชิงลุ่ม น่้าท้ังระบบเพ่ือเพิ่มความมั่นคงด้านน่้าของประเทศ (๒) เพ่ิมผลิตภาพของน้่าท้ังระบบในการใช้น่้าอย่างประหยัด รู้คุณค่า และสร้างมูลค่าเพ่ิมจากการใช้น่้าให้ทัดเทียมกับระดับสากล (๓) พัฒนาความม่ันคงพลังงานของประเทศ และส่งเสริมการใช้พลังงานท่ีเป็นมิตรต่อส่ิงแวดล้อม (๔) เพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงานโดยลดความเข้มข้นของ การใช้พลังงาน และ (๕) พัฒนาความม่ันคงด้านการเกษตรและอาหารของประเทศและชุมชน ในมิติปริมาณ คณุ ภาพ ราคาและการเขา้ ถงึ อาหาร ๖. ยกระดับกระบวนทัศน์เพ่ือก่าหนดอนาคตประเทศ โดย (๑) ส่งเสริมคุณลักษณะและพฤติกรรมท่ีพึงประสงค์ ด้านสิ่งแวดล้อมและคุณภาพชีวิตท่ีดีของคนไทย (๒) พัฒนาเครื่องมือ กลไกและระบบยุติธรรม และระบบประชาธิปไตย สิ่งแวดล้อม (๓) จัดโครงสร้างเชิงสถาบันเพ่ือจัดการประเด็นร่วม ด้านการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ ส่ิงแวดล้อมที่ส่าคัญ และ (๔) พัฒนาและด่าเนินโครงการที่ยกระดับกระบวนทัศน์ เพ่ือก่าหนดอนาคตประเทศ ด้านทรัพยากรธรรมชาติ สิง่ แวดลอ้ มและวัฒนธรรม บนหลกั ของการมีสว่ นร่วม และธรรมาภิบาล ยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรบั สมดลุ และพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐมีเป้าหมายการพัฒนา ทสี่ า่ คัญเพอื่ ปรับเปล่ยี นภาครัฐท่ียึดหลัก “ภาครัฐของประชาชนเพ่ือประชาชนและประโยชน์ส่วนรวม” โดยภาครัฐต้องมี ขนาดที่เหมาะสมกับบทบาทภารกิจ แยกแยะบทบาทหน่วยงานของรัฐที่ท่าหน้าที่ในการก่ากับหรือในการให้บริการยึด หลักธรรมาภิบาล ปรับวัฒนธรรมการท่างานให้มุ่งผลสัมฤทธิ์และผลประโยชน์ส่วนรวม มีความทันสมัย และพร้อมที่จะ ปรับตัวให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลกอยู่ตลอดเวลา โดยเฉพาะอย่างยิ่งการน่านวัตกรรม เทคโนโลยีข้อมูลขนาดใหญ่ ระบบการท่างานท่ีเป็นดิจิทัลเข้ามาประยุกต์ใช้อย่างคุ้มค่า และปฏิบัติงานเทียบได้กับมาตรฐานสากล รวมท้ังมีลักษณะ เปิดกว้าง เชื่อมโยงถึงกันและเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมเพ่ือตอบสนองความต้องการของประชาชนได้ อย่างสะดวก รวดเร็วและโปร่งใส โดยทุกภาคส่วนในสังคมต้องร่วมกันปลูกฝังค่านิยมความซ่ือสัตย์สุจริต ความมัธยัสถ์

และสร้างจิตส่านึกในการปฏิเสธไม่ยอมรับการทุจริตประพฤติมิชอบอย่างสิ้นเชิง นอกจากน้ัน กฎหมายต้องมีความ ชดั เจน มีเพยี งเท่าทจ่ี ่าเป็น มคี วามทนั สมัย มีความเปน็ สากล มปี ระสทิ ธิภาพ และน่าไปส่กู ารลดความเหล่ือมล้่าและ เอ้ือตอ่ การพัฒนา โดยกระบวนการยุติธรรมมีการบริหารที่มีประสิทธิภาพ เป็นธรรม ไม่เลือกปฏิบัติและการอ่านวย ความยุติธรรมตามหลักนิติธรรม ตัวช้ีวัด ประกอบด้วย (๑) ระดับความพึงพอใจของประชาชนต่อการให้บริการสาธารณะของภาครัฐ (๒) ประสิทธิภาพของการบรกิ ารภาครัฐ (๓) ระดับความโปรง่ ใส การทุจรติ ประพฤติมิชอบและ (๔) ความเสมอภาค ในกระบวนการยุติธรรม โดยประเดน็ ยทุ ธศาสตรช์ าติด้านการปรับสมดุลและพฒั นาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ประกอบด้วย ๘ ประเดน็ ได้แก่ ๑. ภาครัฐท่ียึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง ตอบสนองความต้องการ และให้บริการอย่างสะดวกรวดเร็ว โปร่งใส โดย (๑) การให้บรกิ ารสาธารณะของภาครฐั ไดม้ าตรฐานสากลและเป็นระดับแนวหน้าของภูมิภาค และ (๒) ภาครัฐมีความ เช่อื มโยงในการให้บริการสาธารณะต่าง ๆ ผา่ นการนา่ เทคโนโลยดี ิจิทัลมาประยุกต์ใช้ ๒. ภาครัฐบริหารงานแบบบูรณาการโดยมียุทธศาสตร์ชาติเป็นเป้าหมายและเช่ือมโยงการพัฒนาในทุก ระดับ ทุกประเด็น ทุกภารกิจ และทุกพ้ืนที่ โดย (๑) ให้ยุทธศาสตร์ชาติเป็นกลไกขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศ (๒) ระบบการเงินการคลังประเทศสนับสนุนการขับเคล่ือนยุทธศาสตร์ชาติ และ (๓) ระบบติดตามประเมินผล ทีส่ ะทอ้ นการบรรลุเป้าหมายยทุ ธศาสตรช์ าติในทกุ ระดบั ๓. ภาครัฐมขี นาดเล็กลง เหมาะสมกบั ภารกิจ ส่งเสริมใหป้ ระชาชนและทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการพัฒนา ประเทศ โดย (๑) ภาครัฐมขี นาดท่ีเหมาะสม (๒) ทกุ ภาคส่วนมีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศ และ (๓) ส่งเสริมการ กระจายอ่านาจ และสนับสนุนบทบาทชุมชนท้องถิ่นให้องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินเป็นหน่วยงานที่มีสมรรถนะสูง ต้งั อยู่บนหลักธรรมาภิบาล ๔. ภาครัฐมีความทันสมัย โดย (๑) องค์กรภาครัฐมีความยืดหยุ่นเหมาะสมกับบริบทการพัฒนาประเทศ และ (๒) พฒั นาและปรบั ระบบวธิ กี ารปฏิบตั ริ าชการให้ทนั สมัย ๕. บุคลากรภาครฐั เป็นคนดีและเกง่ ยึดหลักคณุ ธรรม จรยิ ธรรม มีจิตส่านึกมีความสามารถสงู มุ่งมนั่ และ เป็นมอื อาชีพ โดย (๑) ภาครฐั มกี ารบรหิ ารกา่ ลังคนท่ีมีความคล่องตัว ยึดระบบคุณธรรม และ (๒) บคุ ลากรภาครฐั ยดึ ค่านยิ มในการทา่ งานเพื่อประชาชน มีคุณธรรม และมกี ารพัฒนาตามเส้นทางความกา้ วหนา้ ในอาชพี ๖. ภาครฐั มีความโปรง่ ใส ปลอดการทจุ รติ และประพฤติมิชอบ โดย (๑) ประชาชนและภาคีต่าง ๆ ในสังคม ร่วมมือกันในการป้องกันการทุจริตและประพฤติมิชอบ (๒) บุคลากรภาครัฐยึดมั่นในหลักคุณธรรม จริยธรรมและ ความซ่ือสัตย์สุจริต (๓) การปราบปรามการทุจริตประพฤติมิชอบมีประสิทธิภาพมีความเด็ดขาด เป็นธรรมและ ตรวจสอบได้ และ (๔) การบริหารจัดการการป้องกันและปราบปรามการทุจริตอย่างเปน็ ระบบแบบบรู ณาการ ๗. กฎหมายมีความสอดคล้องเหมาะสมกับบริบทต่าง ๆ และมีเท่าท่ีจ่าเป็นโดย (๑) ภาครัฐจัดให้มีกฎหมาย ท่ีสอดคล้องและเหมาะสมกับบริบทต่าง ๆ ท่ีเปล่ียนแปลง (๒) มีกฎหมายเท่าที่จ่าเป็น และ (๓) การบังคับใช้กฎหมาย อย่างมปี ระสิทธิภาพ เทา่ เทยี ม มกี ารเสริมสร้างประสิทธภิ าพการใช้กฎหมาย ๘. กระบวนการยตุ ธิ รรมเคารพสิทธิมนุษยชนและปฏิบัติต่อประชาชนโดยเสมอภาค โดย (๑) บุคลากรและ หน่วยงานในกระบวนการยุติธรรมเคารพและยึดม่ันในหลักประชาธิปไตย เคารพศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ท่ีพึงได้รับ

การปฏิบัติอย่างเท่าเทียม (๒) ทุกหน่วยงานในกระบวนการยุติธรรม มีบทบาทเชิงรุกร่วมกันในทุกขั้นตอนของ การค้นหาความจริง (๓) หน่วยงานในกระบวนการยุติธรรมทั้งทางแพ่ง อาญาและปกครองมีเป้าหมายและ ยุทธศาสตร์ร่วมกัน (๔) ส่งเสริมระบบยุติธรรมทางเลือกระบบยุติธรรมชุมชน และการมีส่วนร่วมของประชาชนใน กระบวนการยตุ ิธรรม และ (๕) พัฒนามาตรการอ่ืนแทนโทษทางอาญา

































บทที่ ๒ บทบาทหน้าท่ขี องสานกั งาน กศน. สานักงานสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั (สานักงาน กศน.) เป็นหน่วยงานท่ี ก่อตัง้ เพ่ือประโยชน์ในการสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ การศึกษา ใหบ้ คุ คลได้รับการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตาม อธั ยาศัยอย่างทั่วถึงและมีคุณภาพตามกฎหมายวา่ ด้วยการศกึ ษาแหง่ ชาติ และพระราชบัญญัติการศึกษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอธั ยาศัย พ.ศ. 2551 โดยให้บุคคลซึ่งได้รับการศึกษาขัน้ พ้นื ฐานไปแลว้ หรือไม่กต็ ามมสี ิทธไิ ด้รับ การศึกษาในรูปแบบการศึกษานอกระบบหรือการศึกษาตามอัธยาศัยได้ วิสัยทศั น์ คนไทยไดร้ ับโอกาสการศกึ ษาและการเรยี นร้ตู ลอดชีวติ อยา่ งมคี ุณภาพ สามารถดารงชีวติ ทีเ่ หมาะสม กับชว่ งวัย สอดคล้องกบั หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง และมที ักษะทีจ่ าเป็นในโลกศตวรรษที่ ๒๑ บทบาทหนา้ ที่ สานกั งาน กศน. มบี ทบาทหน้าทีต่ ามบทบญั ญัติแห่งพระราชบญั ญตั สิ ง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอธั ยาศัย พ.ศ. ๒๕๕๑ ๑. เป็นหน่วยงานกลางในการดาเนินการ ส่งเสริม สนับสนุน และประสานงานการศึกษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอธั ยาศยั และรบั ผดิ ชอบงานธุรการของคณะกรรมการ* ๒. จัดทาข้อเสนอแนะ นโยบาย ยุทธศาสตร์ แผน และมาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอธั ยาศัยต่อคณะกรรมการส่งเสรมิ สนับสนนุ และประสานความรว่ มมือการศกึ ษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศยั ๓. ส่งเสริม สนับสนุน และดาเนินการพัฒนาคุณภาพทางวิชาการ การวิจัยการพัฒนาหลักสูตรและ นวัตกรรมทางการศึกษา บุคลากร และระบบข้อมูลสารสนเทศที่เก่ียวข้องกับการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอธั ยาศยั ๔. ส่งเสริม สนับสนุน และดาเนินการเทียบโอนผลการเรียน การเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ และการเทียบระดบั การศึกษา ๕. ส่งเสริม สนับสนุน และประสานงานให้บุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และองค์กรอ่ืนรวมตัวกันเป็นภาคี เครอื ขา่ ยเพอื่ เสริมสร้างความเขม้ แข็งในการดาเนินงานการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ๖. จัดทาข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการใช้ประโยชน์เครือข่ายเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร สถานีวิทยุ โทรทัศน์เพื่อการศึกษา วิทยุชุมชน ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา ห้องสมุดประชาชน พิพิธภัณฑ์ ศูนย์การเรียนชุมชน และแหล่งการเรียนรู้อนื่ เพื่อสง่ เสรมิ การเรียนรู้และการพัฒนาคณุ ภาพชวี ิตอยา่ งต่อเน่อื งของประชาชน ๗. ดาเนนิ การเก่ียวกบั การตดิ ตาม ตรวจสอบ และประเมนิ ผลการดาเนินงานการศึกษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอัธยาศัย

๘. ปฏิบตั ิงานอนื่ ใดตามพระราชบัญญตั ินีห้ รือกฎหมายอ่ืนท่ีบญั ญัตใิ ห้เปน็ อานาจหน้าที่ของสานกั งาน หรอื ตามทร่ี ฐั มนตรมี อบหมาย นโยบายและจดุ เน้นการดาเนนิ งาน สานกั งาน กศน. ๑.ยุทธศาสตร์ดา้ นความมั่นคง ๑.๑ สง่ เสริมการจดั การเรียนรูท้ ีป่ ลูกฝงั คณุ ธรรม สร้างวินยั การมจี ติ อาสา และอดุ มการณ์ ความยึดมั่นในสถาบนั หลักของชาติ ๑) เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอั นมี พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีความเป็นพลเมืองดี เคารพความคิดของผู้อื่น ยอมรับความแตกต่างและ หลากหลายทางความคิดและอดุ มการณ์ รวมทง้ั สังคมพหุวัฒนธรรม ๒) ส่งเสรมิ การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ทป่ี ลกู ฝงั คุณธรรม สร้างวินยั จติ สาธารณะ และอุดมการณ์ ความยึดมั่นในสถาบันหลักของชาติ รวมทั้งการมีจิตอาสา ผ่านกิจกรรมลูกเสือ กศน. และกิจกรรมอื่นๆ ตลอดจน สนบั สนนุ ให้มีการจัดกิจกรรมเพ่ือปลูกฝังคณุ ธรรม จริยธรรมใหก้ บั บุคลากรในองคก์ ร ๑.๒ รว่ มขบั เคลอ่ื นการพฒั นาประเทศตามโครงการไทยนยิ ม ยั่งยืน โดยบูรณาการขับเคล่ือนการ ทางานตามแนวทางประชารัฐ ดาเนินโครงการ/กิจกรรมในพื้นที่ทั้งในระดับตาบล หมู่บ้าน โดยใช้ทีมขับเคล่ือนการ พฒั นาประเทศตามโครงการไทยนิยม ยง่ั ยนื ระดับตาบลเป็นแกนหลัก และสนบั สนนุ กลไกการขบั เคลื่อน ในพ้ืนทท่ี ุกระดับต้ังแต่จงั หวัด อาเภอ ตาบล และหมบู่ า้ น ๑.๓ พัฒนาการจดั การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยในเขตพฒั นาพิเศษเฉพาะกจิ จังหวัด ชายแดนภาคใต้ และพนื้ ท่ชี ายแดน ๑) พัฒนารูปแบบการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยให้มีความสอดคล้องกับ บริบทของสงั คม วฒั นธรรม และพ้ืนท่ี เพอ่ื สนบั สนนุ การแก้ไขปัญหาและพัฒนาพ้ืนที่ ๒) เร่งจัดทาแผนและมาตรการด้านความปลอดภัยที่ชัดเจนสาหรับหน่วยงานและสถานศึกษา รวมทั้งบุคลากรที่ปฏิบัติงานในพ้ืนท่ีเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยบูรณาการแผนและ ปฏบิ ตั ิงานร่วมกบั หน่วยงานความมน่ั คงในพนื้ ท่ี ๓) ส่งเสริมและสนบั สนุนการจดั กระบวนการเรยี นรู้ในสถาบนั ศกึ ษาปอเนาะ ในรปู แบบตา่ งๆ ทห่ี ลากหลายตรงกบั ความต้องการของผู้เรยี น อาทิ การเพิ่มพนู ประสบการณ์ การเปดิ โลกทศั น์ การยึดมน่ั ในหลักคุณธรรมและสถาบนั หลักของชาติ ๔) สนบั สนุนให้มีการพัฒนาบุคลากรทุกระดับทกุ ประเภทใหม้ สี มรรถนะท่ีสงู ขนึ้ เพ่อื ให้สามารถ ปฏิบัติงานได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ ๑.๔ ส่งเสรมิ การจดั กระบวนการเรยี นรทู้ ่ีตอบสนองกบั การเปลยี่ นแปลงบริบทดา้ นสงั คม การเมือง รวมทั้งความต้องการของประชาชน และชุมชนในรูปแบบท่หี ลากหลาย ให้ประชาชนคดิ เป็น วิเคราะหไ์ ด้ ตดั สนิ ใจภายใตข้ ้อมูลทถี่ ูกต้อง เชน่ ความรู้เร่ืองการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเปน็ ประมขุ /การเลอื กตง้ั

๒. ยทุ ธศาสตรด์ า้ นการพัฒนากาลังคน การวิจัย และนวัตกรรมเพ่ือสร้างขีดความสามารถในการ แข่งขันของประเทศ ๒.๑ ขับเคล่อื นการดาเนนิ งานภายใต้แผนพัฒนาการศกึ ษาระดับภาค ๑) สร้างความรคู้ วามเข้าใจให้กบั บคุ ลากรของสานักงาน กศน. เกยี่ วกับการดาเนินงานภายใต้ แผนพฒั นาการศกึ ษาระดบั ภาค เพ่ือร่วมขบั เคลื่อนยุทธศาสตรก์ ารพัฒนาภาค ๒) เรง่ จดั ทายุทธศาสตร์และแผนพฒั นาการศึกษาระดบั ภาค ของสานักงาน กศน. ให้สอดคล้อง กบั แผนพฒั นาการศึกษาระดับภาค ๒.๒ พฒั นากาลังคนให้มีทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจทิ ัล (Digital Literacy) ๑) พัฒนาความร้แู ละทักษะเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั ของครูและบุคลากรทางการศึกษา เพ่ือให้สามารถ ใช้ Social Media และ Application ตา่ งๆ ในการพัฒนารปู แบบการจัดการเรยี นการสอน ๒) ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ด้านเทคโนโลยีดิจิทัล เพ่ือให้ประชาชนมีทักษะความเข้าใจและใช้ เทคโนโลยีดจิ ทิ ลั ทสี่ ามารถนาไปใช้ประโยชนใ์ นชวี ติ ประจาวนั รวมทั้งสร้างรายได้ใหก้ บั ตนเองได้ ๓) พัฒนาทักษะและส่งเสริมให้ประชาชนประกอบธุรกิจการค้าออนไลน์ (พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์) มีการใชค้ วามคิดสร้างสรรคเ์ ชงิ นวัตกรรมในการประกอบอาชพี สรา้ งทกั ษะอาชพี ทีส่ งู ข้ึนใหก้ ับประชาชน เพือ่ ร่วมขบั เคลือ่ นเศรษฐกจิ ดิจทิ ัล ๒.๓ พัฒนาทักษะภาษาองั กฤษเพอื่ การสื่อสารใหก้ บั ประชาชนเพ่ือรองรับการพฒั นาประเทศ ๑) พฒั นาทักษะภาษาอังกฤษเพอื่ การสอ่ื สารของประชาชนในรูปแบบต่างๆ อยา่ งเปน็ รูปธรรม โดยเนน้ ทกั ษะภาษาเพ่อื อาชพี ท้ังในภาคธรุ กิจ การบรกิ าร และการทอ่ งเที่ยว ๒) พฒั นาความรแู้ ละทกั ษะเทคโนโลยีดจิ ิทลั การใช้ Social Media และ Application ตา่ งๆ เพ่ือพัฒนารปู แบบการจดั การเรยี นการสอนภาษาอังกฤษ ของครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา ๓) พฒั นาสื่อการเรียนการสอนภาษาองั กฤษ เพือ่ ส่งเสรมิ การใชภ้ าษาเพ่อื การส่อื สารและ การพฒั นาอาชพี ๓. ยุทธศาสตรด์ ้านการพัฒนาและเสริมสรา้ งศกั ยภาพคนใหม้ คี ุณภาพ ๓.๑ เรง่ รัดดาเนินการจัดการศึกษาอาชพี เพื่อยกระดับทกั ษะอาชีพของประชาชนสู่ฝีมือแรงงาน ๑) จดั การศึกษาอาชีพเพ่ือการมีงานทาท่ีสอดคล้องกับศักยภาพของชุมชน และความต้องการของ ตลาด ให้ประชาชนสามารถนาไปประกอบอาชีพได้จริง โดยให้เน้นหลักสูตรการศึกษาอาชีพช่างพ้ืนฐาน โดย ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในการจัดการเรียนการสอนด้านอาชีพ เช่น การเรียนผ่าน Youtube การเรียนผ่าน Facebook Live ระบบการเรียนรู้ในระบบเปิดสาหรับมหาชน (Massive Open Online Courses : MOOCs) คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer Assisted Instruction : CAI) เป็นต้น รวมถึงสนับสนุนให้เกิดระบบการผลิตท่ี ครบวงจร และเปดิ พ้ืนท่สี ว่ นราชการเปน็ ที่แสดงสินค้าของชุมชนเพื่อเป็นการสร้างรายได้ใหก้ ับชมุ ชน ๒) บรู ณาการความรว่ มมือในการพัฒนาฝมี ือแรงงานกบั สานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา ผา่ นศูนย์ประสานงานการผลติ และพัฒนากาลงั คนอาชีวศึกษาภาคท่ัวประเทศ เพอ่ื มุง่ พัฒนาทกั ษะของประชาชน โดยใชป้ ระโยชน์จากศกั ยภาพและภูมิสังคมเฉพาะของพ้นื ท่ี และดาเนินการเชิงรุกเพ่ือเสริมจดุ เด่นในระดบั ภาคใน

การเป็นฐานการผลติ และการบริการทส่ี าคญั รวมถงึ มุง่ เน้นสร้างโอกาสในการสร้างรายได้ เพ่ือตอบสนองตอ่ ความ ตอ้ งการของตลาดแรงงานท้งั ภาคอตุ สาหกรรมและการบริการ ๓) พฒั นากล่มุ อาชีพพ้นื ฐานท่ีรองรับพ้นื ทร่ี ะเบยี งเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวนั ออก (EEC) ท่ีสามารถ พัฒนาศักยภาพไปส่รู ะดบั ฝีมือแรงงาน โดยศึกษาต่อในสถาบนั การอาชีวศึกษา ๓.๒ สง่ เสรมิ ใหป้ ระชาชนใช้เทคโนโลยใี นการสรา้ งมูลคา่ เพ่ิมให้กับสินค้า การทาชอ่ งทางเผยแพร่ และจาหน่ายผลติ ภัณฑ์ของวิสาหกิจชมุ ชนใหเ้ ปน็ ระบบครบวงจร และสนับสนนุ การจาหนา่ ยสินคา้ และผลิตภณั ฑ์ ผ่านศูนย์จาหน่ายสนิ คา้ และผลิตภณั ฑอ์ อนไลน์ กศน. (ONIE Online Commerce Center : OOCC) เพอื่ จาหนา่ ย สินค้าออนไลนร์ ะดบั ตาบล ๓.๓ ส่งเสริมการพัฒนาสุขภาวะของประชาชนทุกวัย โดยการสร้างความรู้ความเข้าใจ การ สนับสนุนกิจกรรมสุขภาวะ และสร้างเครือข่ายภาคประชาชน ในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรค ให้กับ ประชาชนทุกช่วงวัย โดยเฉพาะในพื้นท่ีห่างไกล พ้ืนท่ีชายแดน และชายแดนภาคใต้ โดยประสานงานร่วมกับ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล และเจ้าหน้าท่ี อสม. ในการให้ความรู้เก่ียวกับการดูแลสุขภาวะอนามัยให้กับ ประชาชน รวมท้ังผลิตชุดความรู้เกี่ยวกับสุขภาวะ สุขอนามัย เพ่ือใช้ประกอบการเรียนรู้ในหลักสูตรการศึกษา ของ กศน. ๓.๔ เพิ่มอัตราการอ่านของประชาชน โดยการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านในรูปแบบต่างๆ เช่น อาสาสมคั รส่งเสรมิ การอา่ น หอ้ งสมดุ ประชาชน บา้ นหนังสอื ชุมชน หอ้ งสมดุ เคลื่อนที่ ผลกั ดันให้เกิดห้องสมดุ สู่การเป็นห้องสมุดเสมือนจริงต้นแบบ เพ่ือพัฒนาให้ประชาชนมีความสามารถในระดับอ่านคล่อง เข้าใจ ความคิด วิเคราะห์พ้ืนฐาน และสามารถรับรขู้ ้อมูลขา่ วสารทีถ่ ูกต้องและทนั เหตุการณ์ รวมทงั้ นาความรู้ที่ได้รับไปใช้ปฏิบัติจริง ในชีวิตประจาวนั ๓.๕ เตรยี มความพร้อมการเข้าสู่สงั คมผู้สูงอายุท่ีเหมาะสมและมคี ณุ ภาพ ๑) สง่ เสริมการจัดกิจกรรมให้กับประชาชนเพื่อสร้างความตระหนักถึงการเตรียมพร้อมเข้าสู่สังคม ผู้สงู อายุ (Aging Society) มีความเขา้ ใจในพฒั นาการของช่วงวัย รวมทั้งเรียนรู้และมีส่วนร่วมในการดูแลรับผิดชอบ ผสู้ งู อายใุ นครอบครวั และชมุ ชน ๒) พัฒนาการจดั บริการการศกึ ษาและการเรียนรู้สาหรบั ประชาชนในการเตรยี มความพร้อม เขา้ สู่วัยสงู อายทุ เ่ี หมาะสมและมีคณุ ภาพ ๓) จัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิตสาหรับผู้สูงอายุภายใต้แนวคิด “Active Aging” การศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต และพัฒนาทักษะชีวิต ให้สามารถดูแลตนเองท้ังสุขภาพกายและสุขภาพจิต และ รจู้ กั ใชป้ ระโยชนจ์ ากเทคโนโลยี ๔) สร้างความตระหนักถึงคุณค่าและศักดิ์ศรีของผู้สูงอายุ เปิดโอกาสให้มีการเผยแพร่ภูมิปัญญา ของผสู้ งู อายุ และใหม้ ีส่วนรว่ มในกิจกรรมด้านตา่ งๆ ในชุมชน เช่น ด้านอาชีพ กีฬา ศาสนาและวฒั นธรรม ๕) จัดการศึกษาอาชีพเพื่อรองรับสังคมผู้สูงอายุ โดยบูรณาการความร่วมมือกับหน่วยงานที่ เก่ียวข้อง ในทกุ ระดับ

๓.๖ พัฒนาหลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน โดยใช้กระบวนการ “สะเต็ม ศกึ ษา” (STEM Education) ๔. ยุทธศาสตรด์ า้ นการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา ๔.๑ สง่ เสริมการรู้ภาษาไทย เพ่มิ อตั ราการรูห้ นงั สอื และยกระดับการรหู้ นงั สอื ของประชาชน ๑) สง่ เสริมการรภู้ าษาไทยให้กับประชาชนในรูปแบบต่างๆ โดยเฉพาะประชาชนในเขตพัฒนา พิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ ให้สามารถฟัง พูด อ่าน และเขียนภาษาไทย เพ่ือประโยชน์ในการใช้ ชีวิตประจาวนั ได้ ๒) เร่งจัดการศึกษาเพื่อเพ่ิมอัตราการรู้หนังสือ และคงสภาพการรู้หนังสือ ให้ประชาชนสามารถ อ่านออก เขียนได้ และคิดเลขเป็น โดยมีการวัดระดับการรู้หนังสือ การใช้ส่ือ กระบวนการ และกิจกรรมพัฒนา ทักษะในรปู แบบต่างๆ ที่เหมาะสม และสอดคลอ้ งกบั สภาพพ้ืนที่และกลุ่มเป้าหมาย ๓) ยกระดับการรหู้ นงั สอื ของประชาชน โดยจัดกิจกรรมพัฒนาทักษะการรู้หนังสือในรูปแบบต่างๆ รวมท้งั พฒั นาให้ประชาชนมีทักษะท่ีจาเปน็ ในศตวรรษที่ ๒๑ เพอ่ื เป็นเครอ่ื งมอื ในการเรยี นรตู้ ลอดชวี ติ ของประชาชน ๔.๒ เพ่มิ โอกาสทางการศกึ ษาให้กบั ประชากรวัยเรียนท่ีอยนู่ อกระบบการศกึ ษา ๑) เร่งดาเนินการหาตัวตนของประชากรวัยเรียนท่ีอยู่นอกระบบการศึกษา ให้กลับเข้าสู่ระบบ การศึกษา โดยใช้กลวิธี “เคาะประตูบ้าน รุกถึงท่ี ลุยถึงถ่ิน” โดยประสานกับสานักงานศึกษาธิการจังหวัด เพื่อ ดาเนินการตรวจสอบข้อมูลทะเบียนราษฎร์เทียบกับข้อมูลการลงทะเบียนเรียนของทุกหน่วยงาน ค้นหาผู้ท่ีไม่ได้อยู่ ในระบบการศึกษาเป็นรายบุคคล และรวบรวมจัดทาเป็นฐานข้อมูล และลงพ้ืนท่ีติดตามหาตัวตนของกลุ่มเป้าหมาย หาสาเหตุของการไม่เข้าเรียน และสอบถามความต้องการในการศึกษาต่อ พร้อมทั้งจาแนกข้อมูลตามประเภทของ สาเหตุ และประเภทความต้องการในการศึกษาต่อ และส่งต่อกลุ่มเป้าหมายเพื่อให้รับการศึกษาต่อตามความ ตอ้ งการของกลุ่มเป้าหมายไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ ๒) ตดิ ตามผลของกลุ่มเปา้ หมายประชากรวยั เรยี นที่อยู่นอกระบบการศึกษาท่ีได้รับการจัดหาที่เรียน และ ทั้งจัดทาฐานข้อมูลผู้สาเร็จการศึกษาของกลุ่มเป้าหมาย รวมทั้งพัฒนาระบบเพ่ือการติดตามกลุ่มเป้าหมายท่ีได้รับการ ชว่ ยเหลือใหก้ ลบั เขา้ ส่รู ะบบการศกึ ษาแบบครบวงจร โดยติดตามต้ังแต่การเข้าศึกษาต่อจนจบการศกึ ษา ๔.๓ สง่ เสรมิ และพัฒนาระบบการสะสมและเทียบโอนหน่วยการเรียน (Credit Bank System) ของสถานศึกษา ให้มีคุณภาพ มาตรฐาน และสามารถตอบสนองความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย เพ่ือประโยชน์ใน การดาเนนิ การเทียบโอนความรู้และประสบการณไ์ ด้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ ๔.๔ ส่งเสริมและสนับสนนุ ใหเ้ กิดต้นแบบเมืองแห่งการเรียนรู้ เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้อย่างต่อเน่ือง ใหก้ บั ประชาชนในชุมชน โดยกาหนดพนื้ ทน่ี าร่องท่ีผ่านมาตรฐานเทยี บวดั (Benchmark) ของสานกั งาน กศน. ๔.๕ พัฒนาหลักสูตรการจัดการศึกษาอาชีพระยะสั้น ให้มีความหลากหลาย ทันสมัย เหมาะสมกับ บรบิ ทของพืน้ ที่ และตอบสนองความต้องการของประชาชนผ้รู บั บริการ ๔.๖ พัฒนารูปแบบการจัดการศึกษาทางไกล ใหม้ ีความทันสมยั มหี ลกั สตู รและสาระการเรียนรู้ ทีห่ ลากหลาย และสถานศกึ ษา กศน. สามารถนาไปใช้ในการจัดการเรียนร้ใู ห้กบั กลมุ่ เป้าหมายได้อยา่ งเหมาะสม

๔.๗ สร้างกระบวนการเรียนรู้ในรูปแบบ E-learning ที่ใช้ระบบเทคโนโลยีเข้ามาบริหารจัดการ เรียนรู้ เพอ่ื เปน็ การสร้างและขยายโอกาสในการเรยี นรู้ให้กบั กลุ่มเปา้ หมายไดส้ ะดวก รวดเร็ว ตรงตามความต้องการ ของประชาชนผู้รับบริการ เช่น ระบบการเรียนรู้ในระบบเปิดสาหรับมหาชน (Massive Open Online Courses : MOOCs) คอมพวิ เตอร์ชว่ ยสอน (Computer Assisted Instruction : CAI) ๔.๘ ยกระดับการศกึ ษาให้กับกลุ่มเปา้ หมายทหารกองประจาการ รวมทัง้ กลุ่มเปา้ หมายพิเศษอื่นๆ เช่น ผู้ต้องขงั คนพกิ าร เดก็ ออกกลางคัน ใหจ้ บการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน สามารถนาความรู้ท่ี ไดร้ ับไปพัฒนาตนเองได้อยา่ งตอ่ เนื่อง ๕. ยทุ ธศาสตรด์ า้ นสง่ เสรมิ และจัดการศกึ ษาเพื่อเสริมสรา้ งคุณภาพชวี ติ ท่ีเป็นมิตรกบั ส่งิ แวดลอ้ ม ๕.๑ ส่งเสริมให้มีการให้ความรู้กับประชาชนเกี่ยวกับการป้องกันผลกระทบและปรับตัวต่อการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมอิ ากาศและภยั พิบัตธิ รรมชาติ ๕.๒ สรา้ งความตระหนักถึงความสาคัญของการสร้างสังคมสีเขียว ส่งเสริมความรู้ให้กับประชาชน เกย่ี วกบั การคัดแยก การแปรรูป และการกาจดั ขยะ รวมทงั้ การจัดการมลพษิ ในชุมชน ๕.๓ ส่งเสริมให้หน่วยงานและสถานศึกษาใช้พลังงานที่เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม รวมทั้งลดการใช้ ทรพั ยากรทสี่ ง่ ผลกระทบต่อส่ิงแวดล้อม ๖. ยุทธศาสตรด์ ้านการพัฒนาประสิทธภิ าพระบบบริหารจัดการ ๖.๑ พัฒนาระบบฐานขอ้ มลู สารสนเทศด้านการศึกษาเพื่อการบริหารจัดการอย่างเป็นระบบ และ เชื่อมโยงกับระบบฐานข้อมูลกลางของกระทรวงศึกษาธิการ เพื่อการบริหารจัดการและบูรณาการข้อมูลของ ประชาชนอย่างเปน็ ระบบ ๖.๒ ส่งเสริมการพัฒนาบุคลากรทุกระดับอย่างต่อเน่ือง ให้มีความรู้และทักษะตามมาตรฐาน ตาแหน่ง ใหต้ รงกบั สายงาน ความชานาญ และความต้องการของบคุ ลากร ๖.๓ ส่งเสริมความเข้าใจเกี่ยวกับหลักเกณฑ์และวิธีการให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการ ศกึ ษา ตาแหน่งครู มวี ทิ ยฐานะและเล่ือนวิทยฐานะ (ว๒๑/๒๕๖๐)

ยทุ ธศาสตรช์ าติ แผน แผ แผน “อน

นการปฏิรปู ประเทศ ผนยทุ ธศาสตร์ชาติ 20 ปี นการปฏริ ูปประเทศ 11 ดา้ น นาคตประเทศไทย” ในมอื เรา -Strong ONIE-





ความเชือ่ มโยงยุทธศาสตร์ชาติ กบั น นโยบาย กศน. ุยทธศาสตร์ชาติ ดา้ นความมนั่ คง ด้านการสร ก • การรกั ษาความสงบ ภายในประเทศ • การเกษตร • การปอ้ งกนั และแก้ไข • สร้างความ ปัญหาที่มีผลกระทบต่อ การทอ่ งเที่ย ความม่ันคง • โครงสรา้ งพ เชอ่ื มโลก • ส่งเสรมิ การจัดการเรยี นรูท้ ีป่ ลกู ฝัง • พฒั นาเศร คณุ ธรรม สร้างวินัย จติ อาสา ผู้ประกอบก ยดึ ม่นั ในสถาบนั หลกั ของชาติ • จัดและพัฒนาหลักสตู รทสี่ ง่ เสริม • ใหค้ วามรูด้ ความตอ้ งการกลมุ่ เปา้ หมาย เกษตรกรให อัตลักษณ์ และพหุวัฒนธรรม • พฒั นาทักษ • จดั กระบวนการเรยี นรู้ ภาษาองั กฤษ ตอบสนองบริบทการเปลยี่ นแปลง • พฒั นาอาชีพ ด้านสงั คม การเมอื ง เศรษฐกจิ • ส่งเสรมิ การ มลู คา่ ผลิตผล • สร้างศกั ยภ ประชาชน

นโยบายและจดุ เนน้ สานกั งาน กศน. รา้ งความสามารถใน ด้านการพฒั นาและเสรมิ สรา้ ง การแข่งขัน ศกั ยภาพทรัพยากรมนษุ ย์ รสรา้ งมลู คา่ • การปรับเปลยี่ นค่านิยมและวัฒนธรรม มหลากหลายดา้ น • การพัฒนาศกั ยภาพคนตลอดช่วงชีวติ ยว • ปฏริ ูปกระบวนการเรียนรู้ พื้นฐานเชื่อมไทย ท่ีตอบสนองตอ่ การเปลย่ี นแปลง ในศตวรรษที่ ๒๑ รษฐกิจบนพน้ื ฐาน • การเสริมสร้างใหค้ นไทยมีสขุ ภาวะที่ดี การยคุ ใหม่ • จัดการเรียนรู้ท่ปี ลกู ฝังคุณธรรม ด้านการเกษตรเพ่อื พัฒนา จริยธรรม ความซอ่ื สตั ย์ จิตอาสา หเ้ ป็น Smart Farmer • ใหค้ วามรคู้ วามเขา้ ใจ จัดการศกึ ษา ษะการสอื่ สารดา้ น ตอ่ เน่ืองทเี่ หมาะกับชว่ งวัย ษสาหรบั ประชาชน • ปฏริ ปู หลกั สตู รใหส้ อดคล้องทศิ พรองรบั การขับเคลอ่ื น ทางการพฒั นาประเทศ • พฒั นาครู สู่ครูยุคใหม่ Good Teacher รใช้เทคโนโลยเี พ่อื สรา้ ง • ใชเ้ ทคโนโลยีในการจัดการเรยี นรู้ ล ผลิตภัณฑ์ • ส่งเสริมการพัฒนาสุขภาวะของ ภาพด้านดิจทิ ลั ให้กบั ประชาชนทุกวยั

ความเช่อื มโยงยุทธศาสตร์ชาติ กับ น นโยบาย กศน. ุยทธศาสตร์ชาติ ดา้ นการสร้างโอกาสและความ ด้านการส เสมอภาคทางสงั คม ที่เป็น • ลดความเหลือ่ มลา้ สรา้ งความ • ยกระด เป็นธรรมในทุกมติ ิ เพือ่ กาห • การกระจายศูนยก์ ลางความเจรญิ ทางเศรษฐกิจ สงั คม และเทคโนโลยี • ส่งเสริมให • การเพิ่มขีดความสามารถของ เก่ียวกับผล ชมุ ชนในการพัฒนา การพง่ึ ตนเอง • สรา้ งควา และการจดั การตนเอง สังคมสีเขีย • ให้ความร • จดั การศึกษาใหก้ ับ เป็นมติ รกับ กลมุ่ เป้าหมาย ผูด้ ้อย พลาด และ การเปลยี่ น ขาดโอกาสทางการศกึ ษา • พัฒนาระบบเทคโนโลยีดิจิทัล เพอ่ื ประโยชน์ทางการศกึ ษา • ยกระดับการรู้หนงั สือของประชาชน • จดั การศกึ ษาเพื่อพฒั นาสงั คม และชมุ ชนให้เขม้ แข็ง

นโยบายและจุดเนน้ สานกั งาน กศน. สรา้ งการเจริญเตบิ โตฯ ดา้ นการปรบั สมดลุ และพฒั นา นมติ รกบั สิง่ แวดลอ้ ม ระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ดับกระบวนทศั น์ • ยึดประชาชนเป็นศนู ยก์ ลาง หนดอนาคตประเทศ • บรหิ ารงานแบบบรู ณาการ • ภาครัฐมขี นาดเล็กลง ให้ประชาชนมคี วามรู้ • ภาครัฐมีความทันสมยั ลกระทบจากสงิ่ แวดล้อม • บคุ ลากรเป็นคนดแี ละเกง่ ามตระหนกั ของการสรา้ ง • รว่ มมือกันป้องกันการทุจริต ยว • กฎหมายมคี วามสอดคล้องเหมาะสม รูเ้ กย่ี วกับการใชพ้ ลงั งานที่ บสิง่ แวดล้อมเพ่ือให้เกิด • พฒั นาระบบฐานข้อมลู นแปลงในครวั เรือน สังคม สารสนเทศเพื่อการบริหารจดั การ • สง่ เสริมการพฒั นาบคุ ลากรทุก ระดับอยา่ งตอ่ เนือ่ ง • สร้างความรว่ มมอื ทกุ ภาคสว่ น ในการจดั การศึกษา กศน. • สร้างความตระหนกั ในการ ปอ้ งกนั การทุจรติ • วเิ คราะห์ ปรบั ปรงุ กฎ ระเบียบ ใหส้ อดคล้องกับงาน กศน.

กจิ กรรม/โครงการเรง่ ดว่ นทตี่ ้องเร่ง “Quick Win” 1 จัดอบรมส เข้าใจยุทธศ จัดทาเนื้อหายุทธศาสตร์ชาติ ให้กับประช บรรจุในหลักสูตรการศึกษา ของ กศน. โดยให้ความรู้ สร้างจิตสานึก ปรับหลักคิด Mindset สอดแทรกในการ เรียนการสอน

งดาเนินการ (ภายใน 3 – 6 เดือน) 2 3 สร้างความ ส ร้ า ง ก า ร รั บ รู้ ศาสตร์ชาติ ยุทธศาสตร์ชาติให้แก่ ชาชน ข้าราชการ บุคลากร กศน. นักศึกษา กศน. และผปู้ กครอง -Strong ONIE-

“กศน.รว่ มขับเคลือ่ นยุทธศาสตรช์ าต”ิ - พฒั นาระบบฐานขอ้ มูลสารสนเทศ - ส่งเสรมิ ระบบ E-office - ปรบั ปรุงกฎ ระเบยี บ - เสริมสร้างศกั ยภาพบคุ ลากร - สร้างความตระหนักถงึ การ - ส่งเสริมใหป้ ระชาชนมคี วามรเู้ ก่ียวกับ ป้องกันการทจุ ริต ผลกระทบจากส่ิงแวดลอ้ ม บริหารจดั การ ภาครัฐ - สร้างความตระหนกั ของการสรา้ งสงั คม สเี ขยี ว - ใหค้ วามรู้เก่ยี วกบั การใชพ้ ลังงานท่เี ปน็ มติ รกบั สิ่งแวดลอ้ มเพื่อใหเ้ กดิ การ สงิ่ แวดลอ้ ม เปลย่ี นแปลงในครวั เรือน สังคม ความเท่าเทียม - จดั การศกึ ษาใหก้ ลมุ่ ผูด้ ้อย พลาด และขาดโอกาสทางการศกึ ษา - พัฒนาระบบเทคโนโลยเี พ่ือการศึกษา - เน้นการจดั การศึกษาแบบบรู ณาการระดบั พื้นทภี่ าค - จัดการศกึ ษาท่สี อดคลอ้ งกับบรบิ ทของพ้ืนที่

- ส่งเสริมการเรยี นรู้ทปี่ ลกู ฝงั คณุ ธรรม สร้างวินยั จติ อาสา อุดมการณ์ ความยดึ มั่นในสถาบัน - จัดและพฒั นาหลกั สูตรทีส่ ง่ เสริม ความต้องการกลุ่มเป้าหมาย ร ม่ันคงอัตลักษณ์ และพหวุ ัฒนธรรม - ใหค้ วามรู้กับเกษตรเพือ่ สร้าง Smart Farmer - พฒั นาทกั ษะการสอ่ื สารดา้ นภาษาอังกฤษ สาหรับประชาชน ความสามารถ - พัฒนาอาชีพรองรบั การขบั เคลือ่ นเศรษฐกิจ ในการแข่งขัน - ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีเพือ่ สร้างมลู ค่า ผลิตผล ผลิตภณั ฑ์ - สรา้ งศกั ยภาพดา้ นดิจิทัลใหก้ บั ประชาชน ศักยภาพคน - จดั การเรยี นรทู้ ปี่ ลูกฝงั คณุ ธรรม จรยิ ธรรม ความซื่อสตั ย์ จิตอาสา - จดั การศึกษาทีใ่ ช้ชมุ ชนเป็นฐาน สรา้ งความ เข้มแข็งให้ชมุ ชน - ใหค้ วามร้คู วามเขา้ ใจ จดั การศึกษาตอ่ เนื่องทเี่ หมาะกับช่วงวยั - ปฏิรปู หลกั สตู รใหส้ อดคลอ้ งทศิ ทางการพฒั นาประเทศ - พฒั นาครู ส่คู รูยุคใหม่ - ใช้เทคโนโลยีในการจดั การเรียนรู้ - พัฒนาสอื่ รปู แบบการศกึ ษา สื่อ การวดั ผลประเมินผล

บทท วเิ คราะหย์ ุทธศาสตรช์ าต ท่เี ก่ยี วข้องกับส ---------------------------- Quick Win : ๑. จัดทาเนื้อหายุทธศาสตร์ชาตบิ รรจุในหลักสตู รการศ ปรบั หลกั คดิ Mindset สอดแทรกในการเรยี นการส ๒. จดั อบรมสร้างความเข้าใจยทุ ธศาสตร์ชาติให้กับปร ๓. สร้างการรับรู้ยทุ ธศาสตรช์ าติให้แก่ข้าราชการ บคุ ล ประเด็น ประเดน็ ทีเ่ ก่ยี วข้องกบั ภารกจิ ท่ีจะดาเนนิ การ ยทุ ธศาสตร์ชาติ สานักงาน กศน. ของสานักงาน กศน. ยุทธศาสตร์ดา้ นความม่นั คง การรักษาความสงบ การพัฒนาและเสริมสร้างคนในทุก ๑. ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ที่ปลูกฝัง ภายในประเทศ ภาคส่วนใหม้ ีความเข้มแข็ง มีความ คุณธรรม สร้างวินัย การมีจิตอาสา และ พร้อมตระหนักในเรื่องความม่ันคง อดุ มการณ์ ความยึดมนั่ ในสถาบันหลักของ และมีสว่ นร่วมในการแก้ไขปัญหา ชาติ ดังนี้ การพัฒนาและเสริมสรา้ งความ ๑) เสรมิ สร้างความรู้ความเข้าใจท่ีถูกต้อง จงรกั ภกั ดีตอ่ สถาบนั หลกั ในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันม ของชาติ พระมหากษัตริย์ ทรงเป็นประมุข มีความ การพฒั นาและเสรมิ สรา้ งการเมือง เป็นพลเมืองดี เคารพความคิดของผู้อ่ืน ในระบอบประชาธปิ ไตยอันมี ยอมรับความแตกต่างและหลากหลายทาง

ที่ ๓ ติ พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๘๐ สานกั งาน กศน. ----------------------------- ดำเนนิ กำรใน ๓ เดอื น ศึกษาของ กศน. โดยให้ความรู้ สรา้ งจิตสานึก สอน ระชาชน ลากร กศน. นักศึกษา กศน. และผปู้ กครอง เปา้ หมายการดาเนินการ ชว่ งระยะเวลาดาเนินการ การดาเนนิ งานตามแผน ระยะ (กาหนด ๔ ระยะ) เรง่ ดว่ น ๒๕๖๑-๒๕๖๕ ๒๕๖๖-๒๕๗๐ ๒๕๗๑-๒๕๗๕ ๒๕๗๖-๒๕๘๐ ๒๕๖๑-๒๕๖๒ ง ๑. คนไทยมคี วามรักในสถาบนั หลัก √ √ √ √ √ ะ ของชาติ ยดึ ม่ันในการปกครอง ง ระบอบประชาธปิ ไตยอนั มี พระมหากษตั รยิ ์เปน็ ประมุข ง ๒. คนไทยไดร้ บั การปลกู ฝงั ความ มี เปน็ พลเมืองดี มคี ุณธรรมจริยธรรม ม จติ อาสา น ๓. คนไทยไดร้ บั การพฒั นาสมรรถนะ ง และทักษะในการดารงชวี ิตที่

ประเดน็ ประเด็นทเี่ ก่ียวขอ้ งกบั ภารกจิ ทจ่ี ะดาเนินการ ยทุ ธศาสตรช์ าติ สานกั งาน กศน. ของสานักงาน กศน. พระมหากษตั รยิ ท์ รงเป็นประมุข ความคิดและอุดมการณ์ รวมท้ังสังคมพห ที่มเี สถยี รภาพและมีธรรมาภบิ าล วัฒนธรรม เห็นแกป่ ระโยชนข์ องประเทศชาติ ๒) ส่งเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท มากกวา่ ประโยชนส์ ว่ นตน ปลูกฝังคุณธรรม สร้างวินัย จิตสาธารณะ - ปลกู ฝงั ใหป้ ระชาชนมีความรู้ และอุดมการณ์ความยึดมั่นในสถาบันหลัก ความเขา้ ใจ และมสี ่วนร่วมอย่าง ของชาติ รวมท้งั การมจี ิตอาสา ผา่ นกจิ กรรม ถกู ตอ้ งในการปกครองระบอบ ลูกเสือ กศน. และกิจกรรมอื่นๆ ตลอดจน ประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั รยิ ์ สนับสนุนให้มีการจัดกิจกรรมเพ่ือปลูกฝัง คุณธรรม จริยธรรมใหก้ ับบุคลากรในองค์กร ๒. ส่งเสริมการจัดกระบวนการเรียนรู้ท ตอบสนองกับการเปลี่ยนแปลงบริบทด้าน สังคม การเมื อง เพ่ื อให้ประชาชน คิดเปน็ วเิ คราะห์ได้ ๓. การด าเนินการโครงการอบรม ประวัติศาสตร์ชาติไทยและบุญคุณของ พระมหากษตั รยิ ์ไทย ๔. ให้ความรปู้ ระชาชนผา่ นของศูนย์เรียนร หลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งและเกษตร ทฤษฎีใหม่ประจาตาบล ๕. ขบั เคลอื่ นการพัฒนาประเทศตาม โครงการไทยนิยม ยง่ั ยนื การป้องกนั และแก้ไข การสร้างความปลอดภัยและความ จัดและพัฒนาหลักสูตร และกิจกรรม ปัญหาท่ีมผี ลกระทบ สันติสขุ อยา่ งถาวรในพน้ื ทจี่ ังหวดั ส่งเสริมการศึกษาและการเรียนรู้ท

เป้าหมายการดาเนนิ การ ระยะ ช่วงระยะเวลาดาเนนิ การ เร่งด่วน การดาเนินงานตามแผน หุ เหมาะสมพรอ้ มรับกับการ (กาหนด ๔ ระยะ) เปล่ยี นแปลงของโลก ๒๕๖๑-๒๕๖๒ ๒๕๖๑-๒๕๖๕ ๒๕๖๖-๒๕๗๐ ๒๕๗๑-๒๕๗๕ ๒๕๗๖-๒๕๘๐ ที่ ะ √√√ √ √ ก √√ ม √√ น ง ที่ น น ม ง รู้ √√ ม ผู้เรยี นในพนื้ ทจ่ี งั หวดั ชายแดนภาคใต้ √ √ √ √ √ ท่ี ได้รับการพัฒนาศักยภาพ ทกั ษะด้าน