Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน

บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน

Published by เอกลักษณ์ ราชไรกิจ, 2021-08-08 15:42:38

Description: บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน

Search

Read the Text Version

ก รายงาน เร่อื ง บทเรยี นคอมพิวเตอรช์ ว่ ยสอนผ่านเว็บ สมาชิกในกล่มุ นางสาวกัญญารตั น์ บุพศิริ รหสั นกั ศึกษา 615430033041-1 นายณัฐพงษ์ อนิ ทรกำเหนิด รหสั นักศึกษา 615430033041-1 นางสาวนนั ทภทั ร์ ฉตั รศรี รหสั นักศึกษา 615430033051-0 นางสาวนัฐนนั ท์ ฉัตรศรี รหัสนกั ศึกษา 615430033054-4 นางสาวกมลทิพย์ สุทธสนธ์ิ รหสั นักศกึ ษา 615430033062-7 นายเอกลักษณ์ ราชไรกจิ รหัสนกั ศึกษา 615430033064-3 นกั ศึกษาชนั้ ปที ่ี 4 หมู่ ๒ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ทวั่ ไป เสนอ ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์คมกริช ทองนาค รายงานนเ้ี ป็นส่วนหนง่ึ ของรายวิชาการผลิตและนำเสนอมัลตมิ เี ดียเพ่ือการศึกษา [ED-003-317] ภาคเรียนท่ี ๑ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ คณะศกึ ษาศาสตร์และนวัตกรรมการศึกษา มหาวิทยาลัยกาฬสนิ ธุ์

ข รายงาน เร่อื ง บทเรยี นคอมพิวเตอรช์ ว่ ยสอนผ่านเว็บ สมาชิกในกล่มุ นางสาวกัญญารตั น์ บุพศิริ รหสั นกั ศึกษา 615430033041-1 นายณัฐพงษ์ อนิ ทรกำเหนิด รหสั นักศึกษา 615430033041-1 นางสาวนนั ทภทั ร์ ฉตั รศรี รหสั นักศึกษา 615430033051-0 นางสาวนัฐนนั ท์ ฉัตรศรี รหัสนกั ศกึ ษา 615430033054-4 นางสาวกมลทิพย์ สุทธสนธ์ิ รหสั นักศกึ ษา 615430033062-7 นายเอกลักษณ์ ราชไรกจิ รหัสนกั ศึกษา 615430033064-3 นกั ศึกษาชนั้ ปที ่ี 4 หมู่ ๒ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ทวั่ ไป เสนอ ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์คมกริช ทองนาค รายงานนเ้ี ป็นส่วนหนง่ึ ของรายวิชาการผลิตและนำเสนอมัลตมิ เี ดียเพ่ือการศึกษา [ED-003-317] ภาคเรียนท่ี ๑ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ คณะศกึ ษาศาสตร์และนวัตกรรมการศึกษา มหาวิทยาลัยกาฬสนิ ธุ์

ก ชื่อเร่ือง บทเรียนคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอนผ่านเวบ็ ผู้รายงาน นางสาวกมลทพิ ย์ สทุ ธสนธิ์ อาจารยท์ ี่ปรึกษา นางสาวกญั ญารัตน์ บุพศิริ หน่วยงานท่ีสงั กัด นางสาวนัฐนันท์ ฉตั รศรี ปที ีร่ ายงาน นายณฐั พงษ์ อนิ ทรกำเหนดิ นางสาวนนั ทภัทร์ ฉัตรศรี นายเอกลักษณ์ ราชไรกจิ ผู้ช่วยศาสตราจารย์คมกริช ทองนาค คณะศกึ ษาศาสตรแ์ ละนวัตกรรมการศึกษา มหาวิทยาลยั กาฬสินธ์ุ ๒๕๖๔ บทคดั ยอ่ รายงาน เรื่อง บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเว็บ ตามแผนการสอนฐานสมรรถนะ โดย จะนำเสนอในรายวิชาการผลิตและนำเสนอส่อื มัลตมิ เิ ดยี 1) เพอ่ื ศกึ ษาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ผ่านเว็บ และ2) เพื่อนำเสนอความรู้เรื่องคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเว็บในรายวิชาการผลิตและ นำเสนอ คณะผู้จัดทำรายงานใช้วิธีการผลิตสื่อการเรียนการสอนในรูปแบบวิดีโอ โดยเนื้อหาของ บทเรียนมาจากงานนำเสนอของผู้สอน ซึ่งผู้สอนมีอยู่แล้ว เช่น PowerPoint ภาพนิ่ง หรือเอกสารา ต่าง ๆ สำหรับการผลติ ส่อื วดิ โี อ ประกอบด้วย 2 ขั้นตอน คือ 1) การบนั ทกึ งานนำเสนอเป็นไฟลว์ ิดีโอ โดยใชซ้ อฟต์แวรช์ อ่ื OBS Studio 2) การตดั ตอ่ แกไ้ ขไฟล์วดิ ีโอท่ไี ดท้ ำการบนั ทกึ โดยใชซ้ อฟต์แวร์ชื่อ VLLO ซอฟต์แวร์ทัง้ สองเป็นซอฟตแ์ วร์โอเพนซอรซ์ ซ่งึ เราสามารถใช้งานได้ฟรไี ม่มีค่าใช้จ่ายใด ๆ ทั้ง ไมต่ อ้ งกังวลเร่ืองลิขสิทธิ์การใช้งานซอฟต์แวรอ์ กี ดว้ ย

ข Title Web-based computer tutorials Author Mr. Aekkalak Ratraikit Advisor Ms. Kamonthip Suttason Ms. Kanyarat Bupasiri Ms. Nattanan Chatsri Mr. Nattapong Intaragamnetd Ms. Nantapat Chatsri Asst. Prof. Khomgrit Thongnak Current Institution Faculty of Education and Educational Innovation, Kalasin University Date of Award 2021 Abstract Reports 1) To study computer-aided lessons on the web, and 2) to offer knowledge about computer-assisted teaching through the web in production and presentation subjects. The report's panel uses the method of producing teaching materials in video format. The content of the lesson comes from an instructor presentation, which the instructor already has, such as PowerPoint, still images, or documents for producing video media, consisting of two steps: 1) Saving the presentation as a video file using software called OBS Studio. 2) Editing video files that have been recorded using software called VLLO, both software is open-source software, which we can use for free without worrying about the license of the software.

ค กติ ติกรรมประกาศ รายงานเรื่อง คอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเว็บ สำเร็จลุล่วงไปด้วยความกรุณาและความ อนุเคราะหจ์ าก ผชู้ ่วยศาสตราจารย์คมกรชิ ทองนาค อาจารย์ทป่ี รกึ ษารายวิชาการผลิตและนำเสนอ มัลติมีเดียเพื่อการศึกษา ที่ได้กรุณาและให้คำปรึกษาแนะนำ ตลอดจนช่วยแก้ไขข้อบกพร่องทุก ขัน้ ตอนของการจัดทำรายงาน คณะผู้จดั ทำรายงานขอขอบพระคณุ เป็นอย่างสูง ขอขอบพระคุณ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ ที่อำนวยความสะดวกในการทำรายงานเรื่องนี้ท้ัง สถานทีแ่ ละวัสดุอุปกรณต์ ลอดจนเรื่องตา่ ง ๆ มากมาย สุดท้ายนี้ขอบคุณเพื่อน ๆ สมาชิกในกลุ่ม ทุกคนมีความสามัคคีกัน ช่วยให้คำแนะนำ และ ช่วยเหลอื กนั ทำจนงานเสรจ็ สมบูรณ์และคอยให้กำลงั ใจในการทำรายงานฉบับน้ีเสมอมา

ง Announcements Report subject Web-based computer tutorials Completed with kindness and courtesy of Assistant Professor Komkris Thongnak. Lecturer, Production and Multimedia Presentation for Education We provide advice and advice as well as help correct defects at every stage of the report. The panel that prepared the report would like to thank you very much. Thank you, Kalasin University, for facilitating this work on location and equipment as well as a lot of things. Finally, thanks to friends, members of the group, everyone is in harmony. Help each other complete their tasks and always cheer them up in this report.

จ สารบญั เนอ้ื หา หนา้ บทคัดย่อภาษาไทย .............................................................................................................. ก บทคดั ย่อภาษาอังกฤษ ......................................................................................................... ข กติ ตกิ รรมประกาศภาษาไทย ............................................................................................... ค กติ ติกรรมประกาศภาอังกฤษ ................................................................................................ ง สารบัญเนื้อหา ...................................................................................................................... จ สารบัญภาพ ......................................................................................................................... ช บทที่ 1 บทนำ ..................................................................................................................... 1 ท่ีมาและความสำคัญ .............................................................................................. 1 วตั ถุประสงค์ .......................................................................................................... 2 ประโยชนใ์ นการศึกษา ........................................................................................... 2 ขอบเขตของการศึกษา ........................................................................................... 2 สถานที่ ..................................................................................................... 2 ตัวแปรทีศ่ ึกษา ......................................................................................... 2 นยิ ามศัพทใ์ นการศึกษา .......................................................................................... 3 บทที่ 2 เอกสารทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง .................................................................................................. 4 บทเรียนคอมพวิ เตอรช์ ว่ ยสอน ............................................................................... 4 ประวัตบิ ทเรียน CAI ................................................................................. 4 องคป์ ระกอบของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน .................................... 5 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ช่วยสอน .................................................. 5 ลกั ษณะโครงสร้างของ CAI …………….………………………………………………. 5 การนำเสนอ ............................................................................... 5 การปฏิสมั พันธ์ ........................................................................... 6 การประมวลผล .......................................................................... 6 รูปแบบและประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์ .......................... 7 การสร้างบทเรยี นของคอมพิวเตอรต์ ามแนวคดิ กาเย่ .................. 8 การเรียนร้ฐู านสมรรถนะ ..................................................................................... 15 ความหมายของการเรยี นรู้ฐานสมรรถนะ .............................................. 15 การเรียนร้แู บบผสมผสาน ................................................................................... 20 ความหมายของการเรียนรแู้ บบผสมผสาน ............................................. 31 บทที่ 3 วธิ กี ารดำเนนิ การ ................................................................................................. 36 ขน้ั ตอนการเก็บรวบรวมข้อมลู ............................................................................ 36 ขน้ั ตอนการดำเนนิ การ ........................................................................................ 36 ขน้ั ตอนการบนั ทึกงานนำเสนอเปน็ วดิ ีโอ ............................................................. 39 บทที่ 4 สรุปผลการศึกษาและขอ้ เสนอแนะ ...................................................................... 42

ฉ สารบญั เน้อื หา (ต่อ) หน้า ลกั ษณะทัว่ ไปของการนำเสนองาน ...................................................................... 42 สรุปผล ................................................................................................................ 42 ข้อเสนอแนะ ....................................................................................................... 43 เอกสารอา้ งองิ ................................................................................................................... 44 ประวัตผิ ู้จัดทำ ................................................................................................................... 46

ช สารบญั รูปภาพ หน้า รูปท่ี 1 ศกึ ษาค้นคว้าเนื้อหา ..………………………………………………….. ………………………….. 36 รูปที่ 2 จดั ทำรปู เลม่ รายงานบทที่ 1 ................................................................................. 37 รูปที่ 3 จัดทำรูปเล่มรายงานบทท่ี 2 ................................................................................. 37 รูปที่ 4 จดั ทำรูปเล่มรายงานบทที่ 3 ................................................................................. 38 รูปที่ 5 จดั ทำรูปเล่มรายงานบทท่ี 4 ................................................................................. 38 รูปท่ี 6 โปรแกรม OBS Studio ......................................................................................... 39 รูปที่ ๗ หน้าตา่ ง Sources ................................................................................................. 40 รปู ที่ ๘ หน้าตา่ งนำเสนอไลฟ์สดเฟซบ๊กุ ............................................................................ 41

๑ บทที่ 1 บทนำ คณะผูจ้ ัดทำไดศ้ ึกษาประวตั ิความเปน็ มาและเหตุผลของการทำรายงาน ดังนี้ ๑.1 ที่มาและความสำคญั 1.2 วัตถุประสงค์ 1.3 ประโยชน์ในการศกึ ษา 1.4 ขอบเขตของการศึกษา 1.5 นิยามศัพทใ์ นการศกึ ษา 1.1 ที่มาและความสำคญั พระราชบญั ญัตกิ ารศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพม่ิ เตมิ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 และ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553 ได้กล่าวถึงแนวทางการจัดการศึกษาไว้ ในหมวด 4 มาตรา 22 การจัดการ ศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมี ความสำคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและ เตม็ ตามศักยภาพ นอกจากนี้ในหมวด 9 ว่าด้วยเทคโนโลยีเพ่ือการศึกษา มาตรา 64 รัฐต้องส่งเสริม และสนับสนุนให้มีการผลิต และพัฒนาแบบเรียนตำรา หนังสือทางวิชาการ สื่อสิ่งพิมพ์อื่น วัสดุ อุปกรณ์ และเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาอื่นโดยเรง่ รัดพัฒนา ขีดความสามารถในการผลิต จัดให้มีเงิน สนับสนนุ การผลิตและมีการให้แรงจูงใจแก่ผผู้ ลิต และพัฒนาเทคโนโลยเี พือ่ การศึกษาทั้งน้ี โดยเปิดให้ มกี ารแขง่ ขนั โดยเสรอี ย่างเป็นธรรม และมาตรา 66 ผู้เรียนมสี ิทธิได้รบั การพฒั นาขดี ความสามารถใน การใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาในโอกาสแรกที่ทำได้ เพื่อให้มีความรู้และทักษะ เพียงพอที่จะใช้ เทคโนโลยเี พือ่ การศกึ ษาในการแสวงหาความรดู้ ว้ ยตนเองไดอ้ ยา่ งตอ่ เนอื่ งตลอดชวี ติ ปัจจุบันการจัดการเรียนการสอนในประเทศไทย พบว่ามีหลายประเด็นที่เป็นปัญหาสำคัญ เช่น การเรียนการสอนไม่เอื้อให้ผู้เรียนคิดเป็น ทำเป็นแก้ปัญหาเป็น การเรียนการสอนที่เน้นการ ท่องจำมากกวา่ การเนน้ ให้ผู้เรยี นได้คดิ ไดล้ งมือปฏิบัติ ขาดการแสวงหาความรู้ ขาดการปฏสิ มั พันธ์กบั เพื่อน ครู และชุมชนสิ่งแวดล้อม เพราะการศึกษาเน้นการฟังบรรยายภายใต้กรอบอันจำกั ดของ ห้องเรียนทำให้เป็นตัวขัดขวางการพัฒนาการเรียนรู้ และการเรียนการสอนส่วนใหญ่ใน สถาบันการศึกษาเป็นแบบการเรียนการสอนปกติในห้องคือมีอาจารย์เป็นผู้สอนโดยใช้วิธีบรรยาย (Lecture) ซึง่ ได้รับผลกระทบเป็นอยา่ งมากจากการปฏริ ูปการศกึ ษาทีเ่ นน้ ผู้เรียนเป็นสำคญั การเรียนการสอนผ่านเว็บ (Web-Based Instruction)เป็นการผสมผสานกันระหว่าง เทคโนโลยี ปัจจุบันกับกระบวนการออกแบบการเรยี นการสอน เพื่อเพิ่มประสทิ ธภิ าพทางการเรียนรู้

๒ และแก้ปัญหาในเรื่องขอ้ จำกัดทางด้านสถานทีแ่ ละเวลาโดยการสอนบนเวบ็ จะประยุกต์ใช้คุณสมบัติ และทรัพยากรของเวิลดไ์ วดเ์ ว็บในการจดั สภาพแวดลอ้ มทสี่ ่งเสรมิ และสนบั สนนุ การเรยี นการสอน ซ่งึ การเรียนการสอนท่ีจัดขึน้ ผ่านเว็บน้ี อาจเป็นบางส่วนหรือท้งั หมดของกระบวนการเรียนการสอนก็ได้ เวลิ ดไ์ วดเ์ ว็บเป็นบรกิ ารบนเครือข่ายอนิ เทอร์เน็ตซึ่งได้รับความนยิ มอยา่ งแพรห่ ลายในปัจจุบันเร่ิมเข้า มาเป็นท่รี จู้ ักในวงการศึกษาในประเทศไทยตงั้ แต่ พ.ศ. 2538 ที่ผ่านมาเว็บได้เข้ามามีบทบาทสำคัญ ทางการศึกษาและ กลายเป็นคลังแห่งความรู้ที่ไร้พรมแดน ซึ่งผู้สอนได้ใช้เป็นทางเลือกใหม่ในการ ส่งเสรมิ การเรยี นรู้เพ่ือเปิดประตูการศึกษาจากห้องเรยี นไปสโู่ ลกแห่งการเรียนรู้อนั กว้างใหญ่ รวมทั้ง การนำการศกึ ษาไปสผู่ ทู้ ขี่ าดโอกาสด้วยขอ้ จำกัดทางด้านเวลาและสถานที่ ด้วยเหตุผลทีก่ ล่าวมาข้างตน้ คณะผ้จู ัดทำรายงานจงึ เห็นควรที่จะศกึ ษาบทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอนผ่านเว็บ ตามแผนการสอนฐานสมรรถนะ โดยจะนำเสนอในรายวิชาการผลิตและนำเสนอ สื่อมัลติมิเดียเพื่อการศึกษา มาอธิบายการจัดการเรียนการสอนเพื่อสนับสนุนการเรียนที่เน้นฐาน สมรรถนะ โดยมุ่งหวังให้สามารถนำเสนอบทเรียนคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอนในรายวิชา อีกทั้งยังเปน็ การ ฝกึ ทบทวนใหผ้ เู้ รียนเกิดการเรียนรอู้ ย่างมปี ระสิทธิภาพ ส่งผลให้ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นดีข้นึ รวมท้ัง ยังสามารถนำไปประยุกตใ์ ช้กบั รายวชิ าอน่ื ๆ ได้ 1.2 วัตถุประสงค์ 1.2.1 เพ่ือศึกษาบทเรยี นคอมพิวเตอรช์ ว่ ยสอนผ่านเวบ็ 1.2.2 เพื่อนำเสนอความรู้เรื่องคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเว็บในรายวิชาการผลิตและ นำเสนอสอ่ื มลั ตมิ ิเดียเพ่ือการศกึ ษา 1.3 ประโยชน์ในการศกึ ษา 1.3.1 สามารถศกึ ษาบทเรียนคอมพิวเตอรช์ ว่ ยสอนผ่านเว็บ 1.3.2 สามารถนำเสนอความรู้เรื่องคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเว็บในรายวิชาการผลิตและ นำเสนอสอ่ื มลั ตมิ เิ ดยี เพ่อื การศกึ ษา 1.4 ขอบเขตของการศึกษา 1.4.1 สถานท่ี คณะผู้จัดทำรายงานนำเสนองาน ณ คณะศึกษาศาสตร์และนวัตกรรมการศึกษา มหาวทิ ยาลัยกาฬสนิ ธุ์ 13 หมู่ 14 บา้ นหวั งวั ตำบล สงเปลอื ย อำเภอ นามน กาฬสินธ์ุ 46230 1.4.2 ตวั แปรท่ีศึกษา ตวั แปรทศ่ี ึกษาสาหรับการวิจยั คร้งั นปี้ ระกอบด้วย

๓ ตวั แปรต้น คอื การเรียนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอรช์ ว่ ยสอนผ่านเวบ็ ตวั แปรตาม คือ เนอ้ื หาทีใ่ ชใ้ นการจัดทำรายงาน 1.5 นิยามศพั ท์ในการศึกษา บทเรียนคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอนผ่านเว็บ หมายถึง การเรียนการสอนผ่านเว็บเปน็ การใช้เว็บ ในการเรียนการสอนโดยอาจใช้เว็บเพื่อนาเสนอบทเรียนในลักษณะสื่อหลายมิตขิ องวิชาทั้งหมดตาม หลักสูตร หรือใช้เพียงการเสนอข้อมูลบางอย่างเพื่อประกอบการสอนก็ได้ รวมทั้งใช้ประโยชน์จาก คณุ ลักษณะต่าง ๆ ของการส่อื สารที่มอี ยใู่ นระบบอนิ เทอรเ์ นต็

๔ บทท่ี 2 เอกสารทเ่ี ก่ียวขอ้ ง ในการศึกษา เรื่อง บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ผู้จัดทำได้ค้นคว้าและศึกษาเอกสารท่ี เกี่ยวข้อง ดังนี้ 2.1 บทเรยี นคอมพิวเตอรช์ ่วยสอน 2.2 การเรียนร้ฐู านสมรรถนะ 2.3 การเรยี นรู้แบบผสมผสาน 2.1 บทเรยี นคอมพิวเตอรช์ ่วยสอน จากเว็บ sites ใหค้ วามหมายของบทเรียนคอมพิวเตอรช์ ่วยสอนวา่ บทเรยี นคอมพิวเตอรช์ ว่ ยสอน (CAI) ทกั ษิณา วิไลลกั ษณ์ (2551 : 21-22) ได้อธิบายบทเรยี นคอมพิวเตอรช์ ่วยสอนหรือ CAI ไว้ วา่ มาจากคำว่า Computer Assisted Instruction คือกระบวนการเรยี นการสอนโดยใช้คอมพวิ เตอร์ เป็นสื่อในการนำเสนอเนื้อหาบทเรียนต่าง ๆ ลักษณะการเรียนการสอนเป็นแบบให้ผู้เรียนสามารถ โต้ตอบกับบทเรียน ในลักษณะการถาม–ตอบ หรือลักษณะของการนำเสนอเนื้อหาแต่ละหน่วยการ เรียน โดยผู้สอนจะเปน็ ผู้ออกแบบบทเรยี นคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอนว่าจะจัดเนือ้ หาอย่างไร มีลำดับของ บทเรียนเป็นแบบลำดับหรือแบบขนาน โดยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนทั้ง 2 แบบ จะมีสิ่งเร้า ให้กับผู้เรียน ได้แก่ เนื้อหา ภาพที่เคลื่อนไหวไดแ้ ละมีการตอบคำถาม การตอบสนองของผู้เรียน เม่ือตอบถูกจะมกี ารเสรมิ แรงและเมื่อตอบผดิ จะมกี ารใหก้ ำลังใจ เสริมแรงให้ตอบใหม่หรือให้ตอบให้ ถูก โดยผู้สอนทีจ่ ะสร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนจะต้องทำการระดมสมองเกี่ยวกับเนื้อหา บทเรียนก่อน โดยให้ผู้สอนในวิชาเดียวกันมาช่วย เพื่อเพิ่มมุมมองให้มีความหลากหลาย จากนั้นนำ แผนภูมิระดมสมองที่ได้มาจัดกลุ่ม ที่เรียกว่า แผนภูมิความคิดรวบยอด จากนั้นนำแผนภูมิความคิด รวบยอดที่ได้ไปดูว่า บทเรียนนี้ควรมีการเรียนรู้แบบลำดับ (Linear) หรือแบบขนาน (Parallel) เรียกว่าแผนภูมิโครงข่ายเนื้อหา แล้วลงมือสร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ที่มีลักษณะการ นำเสนอเป็นกรอบ (Frame) เรียงลำดับไปเรื่อย ๆ เพื่อให้ผู้เรียนสามารถโต้ตอบกับคอมพิวเตอร์ บทเรยี นได้ สำหรับการตอบสนองตอ่ การตอบคำถามจะใช้เสียง คำบรรยายหรือภาพกราฟกิ เพื่อสรา้ ง แรงจูงใจ ความมั่นใจในการเรียนรู้ เมื่อผู้เรียนตอบผิดไมค่ วรข้ามเนือ้ หาโดยไม่เฉลย ควรให้ผู้เรียนมี อสิ ระในการเรยี น ไมจ่ ำกดั เวลาและได้เรยี นตามความต้องการของตนเอง บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนคือการนำเสนอบทเรียนโดยอาศัยเครื่องคอมพิวเตอร์เป็น เครื่องมือเพื่อใหผ้ ู้เรียนสามารถเรียนได้ตามความตอ้ งการของผู้เรยี นเองหรือเรียนจนเกิดความเขา้ ใจ ในบทเรยี น ประวตั บิ ทเรยี น CAI บรู ณะ สมชยั (2538 : 24) ได้อธบิ ายประวัตบิ ทเรียน CAI ไวด้ ังนี้

๕ ปี ค.ศ.1958 มหาวิทยาลัยฟลอริดาได้นำคอมพิวเตอร์มาช่วยในการสอนและทบทวน บทเรียนทางด้านวิชาฟิสิกสแ์ ละสถิติในปีเดียวกันมหาวทิ ยาลยั สแตมฟอร์ดได้นำคอมพิวเตอรม์ าชว่ ย ในการสอนระดบั มัธยมศึกษาในวชิ าภาษาองั กฤษและคณติ ศาสตร์ ปี ค.ศ. 1960 มหาวิทยาลยั อิลลินอยส์จะทำ CAI แบบเทอรม์ นิ ัล (Terminal) ทสี่ ามารถ โต้ตอบกบั ผู้เรยี นไดช้ ่ือว่า \"PLATO\" ปี ค.ศ. 1963 มีการสัมมนาให้บุคคลทว่ั ไปไดร้ บั รู้เกย่ี วกบั บทเรยี น CAI ขยายวงกว้างขนึ้ ปี ค.ศ. 1971 มหาวิทยาลัยบริกคัมยังและเทกซัส ได้พัฒนาบทเรียน CAI ใช้กับ มินคิ อมพวิ เตอร์ (Mini computer)ใช้โปรแกรมชื่อ ICCIT : Time Shared Interactive Information Television ตอ่ มาญี่ปนุ่ ไดพ้ ัฒนาบทเรียน CAI จนสามารถใชก้ บั ไมโครคอมพิวเตอร์ และได้มกี ารเผยแพร่ ทวั่ ไปใช้เป็นบทเรยี นชว่ ยสอนต้ังแตร่ ะดบั ประถมศกึ ษา องค์ประกอบของโปรแกรมคอมพิวเตอรช์ ่วยสอน บูรณะ สมชยั (2542 : 24) ไดอ้ ธิบายองคป์ ระกอบของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอนไว้ว่า ประกอบดว้ ย 3 องคป์ ระกอบ คือ 1. HardWare (อุปกรณ)์ 2. SoftWare (โปรแกรม) 3. PropleWare (มนษุ ย)์ องคป์ ระกอบของคอมพิวเตอรช์ ว่ ยสอน ซึ่งสัมพันธ์กันเป็นห่วง Olympic Games ในส่วนของ PropleWare แบ่งออกได้เป็น 3 ระดับ คือ ระดับมืออาชีพ (Professional) หรือโปรแกรมเมอร์ (Programmer) คือ เขียนโปรแกรม ประยุกต์ (Application) ได้ รองลงมาก็ระดับผู้ใช้ (User) คือ ผู้ใช้โปรมแกรมประยุกต์มาสร้างงาน หรือสร้างแอปพลิเคชั่นอีกทีได้เหมือนครูสร้าง CAI ได้เป็นต้น ส่วนระดับที่สามก็คือผู้ใช้ปลายทาง (EndUser) คือ ผู้ใช้งานที่ไม่จำเป็นต้องรู้เรื่องคอมพิวเตอร์เลย ขอเพียงเปิด-ปิดเครื่องได้ กดแป้น หรือพมิ พ์คำตอบไดก้ ็พอ ในที่นี้ คอื ผเู้ รยี นน่ันเอง ลักษณะโครงสรา้ งของ CAI บูรณะ สมชยั (2542 : 23-27) ไดอ้ ธบิ ายลักษณะโครงสร้างของ CAI ไว้ดงั น้ี โครงสร้างของ CAI จะ ประกอบดว้ ย 3 ลักษณะ คอื 1. การนำเสนอ (Presentation) การนำเสนอ (Presentation) คือ การนำข้อมูลหรือเนื้อหาบทเรยี น เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจใน เนื้อหานั้น ๆ ได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ คือ เข้าใจตามวัตถุประสงค์ไมว่ ่าจะเป็นขั้นความรู้ ขั้นความจำ หรือขั้นนำไปใช้ในเวลาจำกัด จึงจะเรียกได้ว่า “มีประสิทธิภาพ” และการที่จะนำเสนอให้มี ประสทิ ธิภาพนน้ั ตอ้ งนำเสนอด้วยระบบมัลตมิ เี ดีย ได้แก่ 1.) สไลด์โชว์ (Slide Show) คือ การพลิกไปทลี ะหนา้ หรือเลื่อนข้ึน-ลง เมื่ออ่านหนงั สอื มีการเชื่อมโยงไปในหน้าอื่นที่ต้องการความหมายหรือคำอธิบายเพิ่มเติม โดยไม่จำเป็นต้องเรียง ตามลำดับหน้าที่เรียกกันว่า ไฮเปอร์เท็กซ์ (Hyper text) และอาจจะมีเสียงบรรยาย (Sound) หรือ เสียงดนตรี (Midi)

๖ 2.) อะนเิ มชัน (Animation) คอื การนำเสนอทีม่ ีภาพเคลื่อนไหวในลักษณะเคลื่อนทั้งภาพ และภาพเคลื่อน เช่น การ์ตูนหรือการทำงานของชิ้นส่วน หรือการทำงานของเคร่ืองยนต์ เป็นต้น ใน ความเป็นจริงเราไม่สามารถมองเห็นลูกสูบทำงานได้ แต่สามารถสร้างสถานการณ์จำลองด้วย โปรแกรมคอมพิวเตอร์ได้ และยิ่งถ้ามีเสียงประกอบให้เหมือนจริงก็ยิ่งดึงดูดความสนใจผู้เรียนไดเ้ ป็น อย่างดี 3.) วิดีโอหรือภาพยนตร์ (Video and Movies) คือการนำเสนอด้วยลักษณะของ ภาพยนตร์โดยจะมีความเหมือนจริงทั้งภาพและเสียง ในบางตอนอาจนำเอาอะนิเมชันมาประกอบ เพ่ือใหเ้ ข้าใจงา่ ย เชน่ การทำสอ่ื โฆษณาทางทวี ี เปน็ ตน้ ถอื ได้ว่าเปน็ การนำเสนอทดี่ ีที่สดุ 2. การปฏสิ ัมพนั ธ์ (Interactive) การปฏิสัมพันธ์ (Interactive) คือ การโต้ตอบกับผู้เรียน ในกระบวนการเรียนการสอนที่มี ประสิทธิภาพท่ีสุดนั้น จะตอ้ งเปน็ แบบสือ่ สาร 2 ทาง เช่น นักเรียนในหอ้ งสามารถถามครผู ้สู อนไดเ้ มื่อ ไม่เข้าใจเนื้อหา หรือครูอาจารย์สามารถซกั ถามนักเรียนเพือ่ ประเมินผลสัมฤทธิ์การเรียนได้ แต่ถ้าดู การสอนอย่างเดยี ว ไมม่ ีการโตต้ อบหรอื สอบถามได้ เชน่ ดทู วี ี เปน็ ตน้ เรียกวา่ สือ่ สารทางเดียว ก็จะมี การเข้าใจในเนือ้ หาบทเรยี นไดร้ ะดับหนึ่ง ขน้ึ อยู่กับ “อายุสมาธ”ิ ของผ้เู รียน การปฏสิ มั พันธจ์ งึ จดั เป็น ส่วนหน่งึ ของ CAI ลักษณะการปฏิสมั พนั ธ์ (Interactive) กับ CAI มดี งั นี้ 1. Mouse-Click คือ ใช้เมาส์คลิกที่ออบเจ็กต์ เช่น พลิกหน้า เลื่อนหน้า ขึ้น-ลง , เลือ่ นซ้ายเล่อื นขวา ,เชือ่ โยงไปหน้าอ่ืน หรือไปส่อื อื่น เป็นต้น 2. Hot-key คอื ใชน้ ิว้ กดแปน้ คบี อร์ดลัด เชน่ แป้นลกู ศร แปน้ อักษร Y=Yes (True) , N=No (False) เป็นตน้ 3. Text-Matching คือ การพมิ พข์ อ้ ความตามเง่ือนไขจะเป็นจรงิ ถา้ ไม่ตรงก็จะเป็น เทจ็ เช่น เตมิ คำในช่องวา่ ง เป็นต้น 4. Time คือ กำหนดเวลาให้กระทำ จะเป็นตัวเร่งให้ผู้เรียนมีความสนใ เนื้อหา บทเรยี น 5. Sound คือ การใช้เสียงเป็นสื่อโต้ตอบกับบทเรียน เช่น ฝึกการอ่านภาษา ถ้า อ่านไมถ่ กู หรอื เสยี งเพ้ยี นก็จะให้ทบทวนใหมห่ รือผา่ นไปหนา้ ต่อไปไม่ได้ 3. การประมวลผล (Evaluation) การประมวลผลการเรียนรู้ของผู้เรียนโดยจะรวบรวมผลของการโต้ตอบที่ต้องการมาเป็น ข้อมูลและคำนวณผลออกมาโดยจะออกมาเป็น “เปอร์เซ็นต์” เป็น “เกณฑ์” หรือเป็น “เกรด” ก็ ได้ โดยปกติแลว้ จะประเมนิ ผลดว้ ยเหตุผล ตอ่ ไปนี้ 1. วัดผลการสอบหรอื วัดผลสมั ฤทธ์ิการเรียนรู้ 2. หาเกณฑ์ตัดสิน ลกั ษณะของบทเรียน CAI บรู ณะ สมชยั (2538 : 26) ได้อธิบายลักษณะของบทเรยี น CAI ไวด้ ังต่อไปน้ี บทเรยี น CAI เป็นบทเรียนทปี่ ระยกุ ต์มาจากบทเรียนโปรแกรมของสกนิ เนอร์โดยใช้ คอมพวิ เตอร์เป็นอุปกรณน์ ำเสนอบทเรียนซ่งึ มีลกั ษณะเป็นโมเดล 2 แบบ คือ

๗ 1. แบบเชิงเสน้ (linear Programming) เป็นบทเรยี นทตี่ ้องเรียนทีละนอ้ ยตามลำดบั จะขา้ ม หนว่ ยไม่ได้ 2.แบบไมเ่ ชิงเส้น (Branching programming) บทเรยี นท่ีโยงระหว่างหนว่ ยถงึ การได้ตาม ความต้องการผ้เู รียนสามารถเลือกเรียนหนว่ ยต่างๆท่จี ัดไว้ตามระดับความสามารถของตนเองได้ รูปแบบและประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์ 1.รปู แบบบทเรยี นคอมพวิ เตอร์ ทักษณิ า วิไลลักษณ์ (2551 : 22-23 ) ได้อธิบายเก่ยี วกับรปู แบบบทเรยี นคอมพวิ เตอร์ไว้ ดังน้ี 1. แบบเสนอเนอื้ หาใหม่ ผู้สรา้ งมีวตั ถปุ ระสงคใ์ ช้บทเรยี นน้ีแทนผู้สอน โดยการสร้างบทเรยี นคอมพิวเตอรช์ ว่ ยสอนใน ลักษณะน้สี ร้างคอ่ นขา้ งยากเพราะผู้สร้างต้องคิดไว้วา่ ผเู้ รียนอาจจะสงสัยในข้อความท่ีปรากฏ เช่น ถ้าเรียนเรือ่ งเส้นตรง 2. แบบฝกึ ฝนและฝึกหดั ผู้สร้างมีวัตถุประสงค์ให้ใช้บทเรียนนี้หลังจากที่เรียนมากับครูในชั้นเรียนแล้ว และมาทำ แบบฝึกหัดเพื่อเป็นการทบทวนความรู้ที่เรียนว่าอยู่ในเกณฑ์ที่ดีหรือไม่ ต้องกลับไปเรียนใหม่หรือไม่ ถา้ ไม่ผ่านเกณฑท์ ก่ี ำหนดจะไดก้ ลับไปศึกษาบทเรียนใหม่ 3. แบบทบทวนความรู้ ผู้สร้างมีวัตถุประสงค์ให้ใช้บทเรียนนี้หลังจากที่เรยี นมากับครูในชั้นเรียนแล้ว เป็นการสอน เสรมิ เพื่อให้ผเู้ รยี นเข้าใจในบทเรียนมากย่งิ ขึ้น 4. แบบสถานการณ์จำลอง ผู้สร้างมีวัตถุประสงค์ให้ใช้บทเรียนนี้หลังจากที่เรียนบทเรียนแล้ว ผู้เรียนสามารถแก้ไข สถานการณ์ได้ ทำตามทโ่ี จทย์กำหนดได้ตรงตามวัตถปุ ระสงคก์ ารเรียนรู้ บทเรยี นคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอนมีหลายรปู แบบ ความยากง่ายในการนำเสนอจึงแตกต่างกันไป ทั้งในด้านของเนื้อหา วตั ถุประสงคแ์ ละตวั ผู้เรียน 2. ประเภทของบทเรียน CAI บรู ณะ สมชัย (2538 : 28) ได้จำแนกบทเรยี น CAI เป็น 7 ประเภท ได้แก่ 1. แบบฝึกทักษะและแบบฝึกหดั (Drill and Practice) เป็นลักษณะบทเรียนโปรแกรมท่ีสามารถเลือกบทเรียนทีจ่ ะเรียนได้ตามระดับความสามารถ ของผ้เู รียนมแี บบฝกึ หัดให้ทำเพื่อทดสอบระดับความรู้และสามารถทบทวนบทเรียนได้เม่ือยังไม่เข้าใจ หรือมคี วามรไู้ ม่เพียงพอ 2. แบบเจรจา (Dialogue) เป็นลักษณะพูดคุยได้โต้ตอบได้ใช้ในการเรียนด้านภาษาหรือกับนักเรียนระดับอนุบาลหรือ ประถมศกึ ษาตอนต้น เปน็ ตน้ 3. แบบจำลองสถานการณ์ (Simulation) ใช้กับการเรียนที่เรียนกบั ของจริงไดย้ ากหรือเสี่ยงอันตรายเช่นจำลองการเรียนการบิน การ เดนิ ทางในอวกาศ เป็นต้น

๘ 4. แบบเกมส์ (Games) เป็นการเรียนรู้จักเกมส์ที่จะทำด้วยคอมพิวเตอร์ เช่น เกมส์ต่อภาพ เกมส์ต่อคำศัพท์ เกมส์ ทางคณติ ศาสตร์ เปน็ ต้น 5. การแก้ปัญหาต่าง ๆ (Proplem Solving) เปน็ การเรยี นท่ี ใช้คอมพวิ เตอร์สุ่มข้อมูลมา แลว้ ให้นักเรยี นวิเคราะห์หรือแก้ปัญหาเช่น วิชา สถติ ิ วชิ าคณิตศาสตร์ เปน็ ต้น 6. การคน้ พบส่ิงใหม่ๆ (Investigation) เปน็ การจดั สถานการณ์ข้นึ แล้วใหน้ ักเรยี นคน้ หาข้อเทจ็ จรงิ เชน่ ผสมพยัญชนะหรือคำสงั่ โดย คอมพิวเตอร์จะบอกความหมาย คำตรงข้าม คำใกล้เคยี ง เปน็ ตน้ 7. การทดสอบ (Testing) เป็นการทดสอบความรู้และความสามารถของผเู้ รียนโดยคอมพวิ เตอร์จะจัดข้อสอบให้และทำ การประมวลผลให้ทราบไดท้ ันที เช่น การทดสอบพื้นฐานความรู้ การทดสอบ IQ เป็นต้น การสรา้ งบทเรียนคอมพิวเตอรต์ ามแนวคดิ ของกาเย่ ทกั ษิณา วิไลลักษณ์ (2551 : 23-27) ไดอ้ ธบิ ายลกั ษณะการสร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ตาม แนวคิดของกาเย่ไว้ว่า เสมือนผู้เรียนอยู่ในห้องเรียนเกดิ ข้อสงสัยก็สามารถทำผูส้ อนได้ การออกแบบ โดยยึดหลักการนำเสนอเนื้อหาและจดั กจิ กรรมการเรยี นรจู้ ากการมปี ฏิสมั พนั ธท์ ม่ี หี ลักการสอนดังน้ี 1. เร่งเรา้ ความสนใจ (Gain Attention) ก่อนที่จะเริ่มการนำเสนอเนื้อหาบทเรียน ควรมีการจูงใจ และเร่งเร้าความสนใจใหผ้ ู้เรียน อยากเรียน การนำเสนอบทนำเรอื่ ง (Title) ของบทเรยี นควรให้สายตาของผูเ้ รียนอยทู่ ี่จอภาพโดยไม่ พะวงอย่ทู แ่ี ปน้ พิมพ์ หรอื ส่วนอื่นๆ การตอบสนองจากผู้เรียนควรเป็นการตอบสนองทีง่ ่าย ๆ เช่น คลกิ เมาส์ หรือกดแป้นพมิ พต์ ัวใดตัวหนง่ึ เพอื่ เรง่ เรา้ ความสนใจของผู้เรยี นมีดงั นี้ 1. ใชภ้ าพกราฟิก ท่มี ีขนาดใหญช่ ัดเจน งา่ ยและไมซ่ ับซ้อน 2. ใช้เทคนคิ การนำเสนอทีป่ รากฏภาพได้รวดเร็ว เพ่อื ไม่ให้ผ้เู รียนเบอ่ื 3. ควรให้ภาพปรากฏบนจอภาพระยะหนึ่ง จนกระทั่งผู้เรียนกดแป้นพิมพ์ใด ๆ ได้จึง เปลย่ี นไปสกู่ รอบอ่ืน ๆ เพื่อสรา้ งความคุ้นเคย ใหก้ ับผเู้ รยี น 4. เลือกใช้ภาพกราฟิกที่เก่ยี วข้องกับเนื้อหา ระดับความรู้ และเหมาะสมกับวัยของผู้เรียน ใชภ้ าพเคล่ือนไหวหรือใช้เทคนคิ การนำเสนอภาพผลพิเศษเขา้ ช่วย เพ่อื แสดงการเคลอื่ นไหวของภาพ แตค่ วรใช้ 2. บอกวัตถุประสงค์ (Specify Object) กระบวนการเรียนรู้ที่ผู้เรียนจะได้ทราบถึงความคาดหวังของบทเรียนจากผู้เรียน นอกจาก ผู้เรียนจะทราบถึงพฤติกรรมขั้นสุดท้ายของตนเองหลังจบบทเรียนแล้ว ยังเป็นการแจ้งให้ทราบ ล่วงหน้าถึงประเด็นสำคัญของเนื้อหารวมทั้งเค้าโครงของเนื้อหาอีกด้วย จะช่วยให้ผู้เรียนสามารถ ผสมผสานแนวความคิดในรายละเอียด หรือส่วนย่อยของเนื้อหาให้สอดคล้องและสัมพันธ์กับเนื้อหา ส่วนใหญ่ได้ ซึ่งมีผลทำให้การเรียนรู้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ผลการวิจัยยังพบด้วยว่าผู้เรียนที่ทราบ วัตถุประสงค์ของการเรียนก่อนเรียนบทเรียน จะสามารถจำและเข้าใจในเนื้อหาได้ดีขึ้นอีกด้วย วัตถุประสงค์บทเรียนจำแนกเป็น 2 ชนิด ได้แก่วัตถุประสงค์ทั่วไปและวัตถุประสงค์เฉพาะ หรือ

๙ วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม การบอกวัตถุประสงค์ คอมพิวเตอรช์ ่วยสอนมักกำหนดเป็นวัตถุประสงค์ เชงิ พฤตกิ รรม เนอื่ งจากเป็นวตั ถปุ ระสงคท์ ่ชี ้เี ฉพาะสามารถวดั ได้และสงั เกตได้ง่าย 3. ทบทวนความรู้เดิม (Activate Prior Knowledge) การทบทวนความรเู้ ดมิ กอ่ นท่ีจะนำเสนอความรู้ใหม่แกผ่ ู้เรยี น มีความจำเปน็ อยา่ งยิ่งท่ีจะต้อง หาวิธีการประเมินความรู้ที่จำเป็นสำหรับบทเรียนใหม่เพื่อไม่ให้ผู้เรียนเกิดปัญหาในการเรียนรู้ วิธี ปฏิบัติโดยทั่วไปสำหรับบทเรียนคอมพิวเตอร์ คือ การทดสอบก่อนบทเรียน (Pre-test) ซึ่งเป็นการ ประเมินความรู้ของผู้เรียนเพ่ือทบทวนเนอ้ื หาเดิมท่ีเคยศึกษาผา่ นมาแล้ว และเพื่อเตรียมความพร้อม ในการรับเน้อื หาใหม่ การทบทวนความรูเ้ ดิมอาจอยูใ่ นรปู แบบของการกระต้นุ ให้ผเู้ รยี นคดิ ยอ้ นหลังถึง ส่งิ ท่ไี ดเ้ รยี นรู้มากอ่ นหน้าน้กี ็ได้ การกระตนุ้ ดงั กล่าวอาจแสดงด้วยคำพดู คำเขียนภาพ หรือผสมผสาน กัน แล้วแต่ความเหมาะสม ปริมาณมากน้อยเพียงใดนั้นข้ึนอยู่กับเนื้อหา สิ่งที่จะต้องพิจารณาในการ ทบทวนความรเู้ ดมิ มีดงั นี้ ควรมีการทดสอบความรูพ้ ื้นฐานหรือนำเสนอเน้ือหาเดิมเร่ืองที่เกี่ยวข้องเพื่อ เตรียมความพร้อมผู้เรียนในการเข้าสู่เนื้อหาใหม่โดยไม่ต้องคาดเดาว่าผู้เรียนกี่พื้นความรู้เท่ากัน แบบทดสอบต้องมีคุณภาพ สามารถแปลผลได้โดยวัดความรพู้ น้ื ฐานท่ีจำเปน็ กบั การศึกษาเน้ือหาใหม่ เท่าน้ัน มิใชแ่ บบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนแต่อยา่ งใด การทบทวนเน้ือหารือการทดสอบคน ใช้เวลาสั้น ๆ กระชับ และตรงตามวัตถุประสงค์ของบทเรียนมากทีส่ ุด ควรเปิดโอกาสให้ผู้เรียนออก จากเนอ้ื หาหรือออกจากการทดสอบ เพอ่ื ไปศกึ ษาทบทวนได้ตลอดเวลา 4. นำเสนอเน้ือหาใหม่ (Present New Information) ในการนำเสนอเนื้อหาของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนควรนำเสนอภาพที่เกี่ยวข้องกับ เน้อื หาประกอบกับคำอธบิ ายส้ัน ๆ แต่ได้ใจความ การใช้ภาพประกอบจะทำใหผ้ เู้ รียนเขา้ ใจเนอ้ื หาง่าย ข้นึ และมคี วามจำไดด้ ีกว่าการใช้คำอธิบายเพียงอย่างเดยี ว โดยหลกั การที่วา่ ภาพช่วยอธิบายสิ่งที่เป็น นามธรรมให้งา่ ยตอ่ การเรียนรู้ แม้ในเนื้อหาบางช่วงจะมคี วามยากในการทีจ่ ะคิดสร้างภาพประกอบแต่ ก็ข้อควรจะพิจารณาวิธีการต่าง ๆ ที่จะนำเสนอด้วยภาพให้ได้มา แม้จะมีจำนวนน้อยแต่ก็ยังดีกว่า คำอธิบายเพียงคำเดียว ภาพทใี่ ชใ้ นบทเรยี นคอมพิวเตอร์ช่วยสอนจำแนกออกเปน็ 2 ส่วนหลัก ๆ คือ ภาพนิ่ง ได้แก่ ภาพลายเส้น ภาพ 2 มิติ ภาพ 3 มิติ ภาพถ่ายของจริง แผนภาพ แผนภูมิ และกราฟ อีกส่วนหนึ่ง ได้แก่ ภาพเคลื่อนไหว เช่น ภาพวีดีทัศน์ และภาพจากโปรแกรมสร้างภาพเคลื่อนไหว เป็นต้น อย่างไรก็ตามการใช้ภาพประกอบเนื้อหาอาจไม่ได้ผลเท่าท่ีควร หากภาพเหล่านั้นมี รายละเอียดมากเกินไป ใช้เวลามากไปในการปรากฏบนจอภาพ ไม่เกี่ยวข้องกับเนื้อหา ซับซ้อน เข้าใจยาก และไม่เหมาะสมในเร่ืองเทคนิคการออกแบบ เชน่ ขาดความสมดุล องคป์ ระกอบภาพไม่ดี เป็นต้น ควรเสนอเฉพาะกราฟิกที่จำเป็นเท่านัน้ ไม่ควรใช้สีพื้นสลับไปสลับมาในแต่ละกรอบเนื้อหา และไม่ควรเปลี่ยนสีไปมาโดยเฉพาะสีหลักของตัวอักษร คำที่ใช้ควรเป็นคำที่ผู้เรียนระดบั นั้นคุ้นเคย และเขา้ ใจความหมายตรงกนั ขณะนำเสนอเนือ้ หาใหม่ควรให้ผู้เรยี นได้มโี อกาสทำอย่างอ่ืนบ้างแทนที่ จะให้กดแป้นพิมพ์หรอื คลิกเมาส์เพียงอย่างเดียวเท่านัน้ เช่น การปฏิสัมพันธ์กบั บทเรียน โดยวิธีการ พิมพ์หรือตอบคำถาม 5.ช้ีแนวทางการเรียนรู้ (Guide earning) ตามหลักการและเง่ือนไขการเรียนรู้ (Condition of Learning) ผู้เรียนจะจำเน้ือหาได้ดหี าก มีการจัดระบบการเสนอเนื้อหาที่ดีและสัมพันธ์กับประสบการณ์เดิมหรือความรู้เดิมของผู้เรียน บาง

๑๐ ทฤษฎกี ลา่ ววา่ การเรียนรู้ทกี่ ระจา่ งชดั (Meaning full Learning) น้นั ทางเดียวท่ีจะเกดิ ขนึ้ ได้ก็คือการ เรียนที่ผู้เรียนวิเคราะห์และตีความในเนื้อหาใหม่ลงบนพื้นฐานของความรู้และประสบการณ์เดิม รวมกันเกดิ เปน็ องคค์ วามรู้ใหม่ ดงั นัน้ หน้าท่ขี องผอู้ อกแบบบทเรียนคอมพวิ เตอรช์ ่วยสอนในข้ันนี้ก็คือ พยายามค้นหาเทคนิคในการที่จะกระตุ้นให้ผู้เรียนนำความรู้เดิมมาใช้ในการศกึ ษาความรู้ใหม่ การใช้ เทคนิคต่าง ๆ เข้าช่วย ได้แก่เทคนิคการให้ตัวอย่าง (Example) และตัวอย่างที่ไม่ใช่ตัวอยา่ ง (Non- example) อาจจะชว่ ยทำให้ผ้เู รียนแยกแยะความแตกตา่ ง และความเขา้ ใจเนื้อหาต่าง ๆ ได้ชัดเจน ข้นึ อาจใชว้ ิธกี ารค้นพบ (Guide Discovery) ซ่งึ หมายถึง การพยายามใหผ้ ้เู รยี นคดิ หาเหตผุ ล ค้นคว้า และวิเคราะห์หาคำตอบด้วยตนเอง โดยบทเรียนจะค่อย ๆ ชี้แนะจากจุดกว้าง ๆ และแคบลง จน ผู้เรียนหาคำตอบได้เอง นอกจากนั้นการใช้คำอธิบายกระตุ้นให้ผู้เรียนได้คิด สรุปแล้วในขั้นตอนน้ี ผ้อู อกแบบจะต้องยดึ หลกั การจัดการเรียนรจู้ ากส่งิ ท่ีมีประสบการณ์เดมิ อยแู่ ล้วไปสู่เนือ้ หาใหม่ จากส่ิง ที่ยากไปสู่สิ่งที่ง่ายกว่าตามลำดับขั้น บทเรียนควรแสดงให้ผู้เรียนได้เห็นถงึ ความสัมพันธ์ของเนือ้ หา ความร้แู ละชว่ ยให้เหน็ ว่าสง่ิ ๆ นนั้ มีความสมั พันธ์กับส่ิงใดอย่างไรควรแสดงใหเ้ หน็ ถึงความสัมพันธ์ของ เนื้อหาความรู้ และช่วยให้เห็นว่าสิ่งย่อยนั้นมีความสัมพันธ์กับสิ่งใหญ่อย่างไร ควรแสดงให้เห็นถึง ความสัมพันธ์ของส่ิงใหม่กบั ส่งิ ท่ีผู้เรียนมีประสบการณ์ผา่ นมาแลว้ นำเสนอตวั อย่างทีแ่ ตกตา่ งกัน เพ่ือ ชว่ ยอธบิ ายความคดิ รวบยอดใหม่ให้ชัดเจนข้นึ 6.กระตุ้นการตอบสนองบทเรียน (Elicit Response) การเรยี นรู้จะมปี ระสิทธภิ าพมากน้อยเพียงใดน้ัน เกี่ยวข้องโดยตรงกบั ระดับและขั้นตอนของ การประมวลผลข้อมูล หากผู้เรียนได้มีโอกาสร่วมคิด ร่วมกิจกรรมในส่วนที่เกี่ยวกับเนื้อหา และร่วม ตอบคำถามจะส่งผลให้มีความจำดีกว่า ผู้เรียนที่ใช้วิธีอ่านหรือคัดลอกข้อความจากผู้อื่นเพียงอย่าง เดียว บทเรียนคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอนช่วยให้ผู้เรียนสามารถมีกิจกรรมร่วมในบทเรยี นได้หลายลักษณะ ไม่ว่าจะเป็นการตอบคำถามแสดงความคิดเห็นเลือกกิจกรรมและปฏิสัมพันธ์กับบทเรียน กิจกรรม เหล่านี้เองที่ไม่ทำให้ผู้เรียนรู้สึกเบื่อหน่าย เมื่อมีส่วนร่วมก็มีส่วนคิดนำ หรือคิดตามบทเรียน ย่อมมี ส่วนผูกประสานใหค้ วามจำดีขึ้น สิ่งที่ต้องพิจารณาเพือ่ ให้การจำของผู้เรียนดีขึ้น ผู้ออกแบบบทเรียน คอมพวิ เตอรช์ ว่ ยสอนจึงควรเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ร่วมทำกิจกรรมในบทเรียนอย่างตอ่ เน่ือง ส่งเสริม ให้ผู้เรียนได้มีโอกาสตอบสนองต่อบทเรียนด้วยวิธีใดวิธีหนึ่งตลอดบทเรียน เช่น ตอบคำถาม ทำ แบบทดสอบ ร่วมทดลองในสถานการณ์จำลอง เป็นต้น ถามคำถามเป็นช่วง ๆ สลับกับการนำเสนอ เนื้อหาตามความเหมาะสมของลักษณะเนื้อหาเร่งเร้าความคิดและจินตนาการด้วยคำถาม เพื่อให้ ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้โดยใช้ความเข้าใจมากกว่าการใช้ความจำ กรอบตอบสนองของผู้เรียน กรอบ คำถามและกรอบการตรวจสอบเนอ้ื หาควรอยบู่ นหน้าจอเดียวกันเพ่อื สะดวกในการอา้ งอิง 7. ให้ขอ้ มลู ยอ้ นกลับ (Provide Feedback) ผลจากการวิจัยพบว่า บทเรียนคอมพวิ เตอรช์ ่วยสอนจะกระตนุ้ ความสนใจจากผู้เรียนได้มาก ขนึ้ ถ้าบทเรยี นน้นั ท้าทาย โดยการบอกเปา้ หมายทชี่ ัดเจน และแจ้งใหผ้ ูเ้ รยี นทราบว่าขณะนั้นผู้เรียน อยู่ท่ีสว่ นใดห่างจากเปา้ หมายเท่าใด การให้ข้อมูลย้อนกลับดงั กลา่ ว ถ้านำเสนอดว้ ยภาพจะชว่ ยเร่งเร้า ความสนใจได้ดียิ่งขึ้น โดยเฉพาะถ้าภาพนั้นเกี่ยวกับเนื้อหาที่เรียน อย่างไรก็ตามการให้ข้อมูล ย้อนกลบั ด้วยภาพหรอื กราฟิก อาจมผี ลเสียอยู่บ้างตรงที่ผู้เรียนอาจต้องการดูผลว่าหากทำผิดแล้วจะ เกิดอะไรขึ้น ถ้าเป็นบทเรียนที่ใช้กับกลุ่มเป้าหมายระดับสูงหรือเนื้อหาที่มีความยาก การให้ข้อมูล

๑๑ ย้อนกลับด้วยคำเขียน สิ่งที่ต้องพิจารณาในการให้ข้อมูลย้อนกลับมีดังนี้ ให้ข้อมูลย้อนกลับทันที หลังจากผู้เรียนโต้ตอบกับบทเรียนควรบอกให้ผู้เรียนทราบว่าตอบถูกหรือตอบผิด โดยแสดงคำถาม คำตอบและการตรวจปรับบนกรอบเดียวกนั ถ้าให้ขอ้ มูลยอ้ นกลับ โดยการใชภ้ าพ ควรเป็นภาพที่ง่าย และเกี่ยวข้องกับเนื้อหา ถ้าไม่สามารถหาภาพที่เกี่ยวข้องได้อาจใช้ภาพกราฟิก ที่ไม่เกี่ยวข้องกับ เนอ้ื หาก็ได้ หลีกเล่ียงการใชผ้ ลทางภาพ (Visual Effects) หรือการให้ข้อมูลย้อนกลับทต่ี น่ื ตาเกินไป 8.ทดสอบความร้ใู หม่ (Assess Performance) การทดสอบความรู้ใหม่หลังจากศึกษาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเรียกว่า การทดสอบ หลังบทเรียน (Post-test) เปน็ การเปดิ โอกาสให้ผู้เรียนได้ทดสอบความรู้ของตน นอกจากน้ีจะยังเป็น การวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวา่ ผ่านเกณฑ์ที่กำหนดหรือไม่ เพื่อที่จะไปศึกษาในบทเรียนตอ่ ไปหรือ ต้องกลับไปศกึ ษาเนื้อหาใหม่ การทดสอบหลังบทเรียนจึงมีความจำเป็นสำหรับบทเรียนคอมพิวเตอร์ ทุกประเภทนอกจากจะเป็นการประเมินผลการเรียนรู้แล้ว การทดสอบยังมีผลต่อความคงทนในการ จดจำเนื้อหาของผู้เรียน ถ้าบทเรียนมีหลายหัวเรื่องย่อยอาจแยกแบบทดสอบว่าเป็นส่วน ๆ ตาม เนื้อหา โดยมีแบบทดสอบรวมหลังบทเรียนอีกชุดหนึ่งก็ได้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับว่าผู้ออกแบบบทเรียน ตอ้ งการแบบใดสิ่งทตี่ ้องพจิ ารณาในการออกแบบทดสอบหลังบทเรยี น มดี งั นี้ ชี้แจงวิธกี ารตอบคำถามให้ผู้เรียนทราบก่อนอย่างแจ่มชดั รวมทง้ั คะแนนรวม คะแนนรายข้อ และรายละเอียดที่เกี่ยวข้องอื่น ๆ เช่น เกณฑ์ในการตัดสินผล แบบทดสอบวัดพฤติกรรมตรงกับ วตั ถุประสงคเ์ ชิงพฤติกรรมของบทเรียนและควรเรยี งลำดับจากง่ายไปยาก ข้อคำถามคำตอบและการ ตรวจปรับคำตอบควรอยู่บนกรอบเดียวกันและนำเสนออย่างต่อเนื่องด้วยความรวดเร็ว หลีกเลี่ยง แบบทดสอบแบบอตั นยั ทใ่ี ห้ผเู้ รียนพมิ พค์ ำยาว ๆ 9. สรุปและนำไปใช้ (Review and Transfer) การสรปุ และนำไปใชจ้ ดั ว่าเป็นส่วนสำคัญในข้ันตอนสุดท้ายที่บทเรียนจะตอ้ งสรปุ มโนคติของ เนือ้ หาเฉพาะประเด็นสำคญั ๆ รวมทัง้ ข้อเสนอแนะต่าง ๆ เพ่อื เปิดโอกาสใหผ้ เู้ รียนได้มีโอกาสทบทวน ความรู้ของตนเองหลังจากศึกษาเนื้อหาผ่านมาแล้ว ในขณะเดียวกันบทเรียนต้องใช้ในเนื้อหาที่ เกี่ยวข้องหรือให้ข้อมูลอ้างอิงเพิ่มเติมเพื่อแนะแนวทางให้ผู้เรียนได้ศึกษาต่อในบทเรียนถัดไป หรือ นำไปประยุกต์ใช้กบั งานอื่นต่อไป จากเวบ็ sites ใหค้ วามหมายของบทเรยี นคอมพวิ เตอร์ช่วยสอนว่า คอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน CAI CAI ย่อมาจากคำว่า COMPUTER-ASSISTED หรือ AIDED INSTRUCTION คอมพิวเตอร์ ช่วยสอน (CAI) หมายถึง สื่อการเรียนการสอนทางคอมพิวเตอร์รูปแบบหนึ่ง ซึ่งใช้ความสามารถของ คอมพิวเตอร์ในการนำเสนอสื่อประสมอันได้แก่ ข้อความ ภาพนิ่ง กราฟฟิก แผนภูมิ กราฟ วิดีทัศน์ ภาพเคล่อื นไหว และเสียง เพื่อถา่ ยทอดเนือ้ หาบทเรยี น หรอื องคค์ วามรู้ในลักษณะที่ ใกลเ้ คยี งกับการ สอนจรงิ ในหอ้ งเรียนมากท่ีสุด โดยมีเป้าหมายที่สำคัญก็คือ สามารถดึงดูดความสนใจของผู้เรียน และกระตุ้นให้เกิดความ ต้องการที่ จะเรียนรู้ คอมพิวเตอร์ช่วยสอนเป็นตัวอย่างที่ดขี องสื่อการศึกษาในลักษณะตัวตอ่ ตัว ซง่ึ

๑๒ ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้จากการมีปฏิสัมพันธ์ หรือการโต้ตอบพร้อมทั้งการได้รับผลป้อนกลับ (FEEDBACK) นอกจากนี้ยังเป็นสื่อ ที่สามารถตอบสนองความแตกต่างระหว่างผู้เรียนได้เป็นอย่างดี รวมทง้ั สามารถทจ่ี ะประเมนิ และตรวจสอบความเขา้ ใจของผูเ้ รียนได้ตลอดเวลา คณุ ลักษณะทเ่ี ป็นองคป์ ระกอบสำคัญของคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน 4 ประการ ไดแ้ ก่ 1. สารสนเทศ (Information) หมายถงึ เนอ้ื หาสาระท่ีได้รบั การเรยี บเรยี ง ทำให้ผ้เู รยี นเกิด การเรยี นรู้ หรอื ไดร้ ับทักษะอยา่ งหน่ึงอยา่ งใดตามท่ีผู้สร้างไดก้ ำหนดวตั ถปุ ระสงคไ์ ว้ การนำเสนออาจ เป็นไปในลักษณะทางตรง หรือทางอ้อมกไ็ ด้ ทางตรงไดแ้ ก่ คอมพิวเตอร์ช่วยสอนประเภทตวิ เตอร์ เช่น การอ่าน จำ ทำความเข้าใจ ฝึกฝน ตัวอย่าง การนำเสนอในทางอ้อมได้แก่ คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ประเภทเกมและการจำลอง 2.ความแตกต่างระหว่างบคุ คล (Individualization) การตอบสนองความแตกตา่ งระหว่างบุคคล คอื ลกั ษณะสำคัญของคอมพิวเตอร์ช่วยสอน บุคคลแต่ละ บุคคลมีความแตกต่างกันทางการเรียนรู้ คอมพิวเตอร์ช่วยสอน เป็นสื่อประเภทหน่ึงจึงต้องได้รับการ ออกแบบใหม้ ีลกั ษณะที่ตอบสนองตอ่ ความแตกตา่ งระหวา่ งบคุ คลให้มากท่สี ุด 3. การโต้ตอบ (Interaction) คือการมปี ฏิสัมพันธ์กนั ระหว่างผู้เรยี นกับคอมพวิ เตอร์ชว่ ยสอนการเรยี น การสอนรูปแบบท่ีดีทีส่ ุดก็คือ เปิดโอกาสให้ผเู้ รยี นไดม้ ีปฏสิ ัมพันธ์กบั ผูส้ อนได้มากท่สี ดุ 4. การให้ผลปอ้ นกลับโดยทันที (Immediate Feedback) ผลปอ้ นกลับหรือการให้คำตอบนี้ถือเป็นการ เสรมิ แรงอยา่ งหนงึ่ การให้ผลปอ้ นกลับแก่ ผู้เรียนในทันทีหมายรวมไปถงึ การที่คอมพวิ เตอรช์ ่วยสอนที่สมบูรณ์จะต้องมีการ ทดสอบหรอื ประเมนิ ความเข้าใจของผู้เรยี นในเนือ้ หาหรอื ทกั ษะตา่ ง ๆ ตามวตั ถปุ ระสงคท์ ่ีกำหนดไว้ ประเภทของบทเรียนคอมพิวเตอร์ (CAI) 1. ประเภทการสอน (Tutorial) เป็นแบบผู้ช่วยสอน คอมพิวเตอร์จะทำหน้าทีส่ อน โดย เสนอเนื้อหาให้ผู้เรียนได้ศึกษา ต่อจากนั้นจะมีการตั้งคำถามให้ผูเ้ รียนตอบ หากตอบไม่ได้ก็จะได้รับ คำแนะนำเน้ือหาน้นั ใหม่ และใหต้ อบคำถามใหม่จนกวา่ จะเข้าใจ โปรแกรมจะเสนอบทเรยี นใหม่และ เน้นให้ผู้เรียนเกิดความรู้ความเข้าใจ ซ่งึ คำตอบอาจตอบได้หลายวิธี เป็นประเภท CAI ท่ีนยิ มใช้กันมาก ที่สุด 2. ประเภทฝกึ หัดและปฏบิ ตั ิ (Drill and Practice) เป็นการให้ผู้เรียนไดท้ ำแบบฝกึ หัด หลังจากท่ไี ด้เรยี นเนอ้ื หานั้น ๆ แลว้ หรือมีการฝึกซ้ำ ๆ เพือ่ ให้เกิดทักษะหรอื เปน็ การแกป้ ญั หาแบบ ท่องจำ เช่นการฝึกทอ่ งจำคำศัพท์ ฝกึ บวก ลบ คูณ หาร เป็นต้น

๑๓ 3. ประเภทสถานการณจ์ ำลอง (Simulation) CAI แบบน้ีออกแบบเพือ่ สอนเน้ือหาใหม่ และทบทวนหรอื เสรมิ ในสง่ิ ทีไ่ ด้เรยี นหรอื ทดลองไปแลว้ โดยใชส้ ถานการณ์จำลองเป็นการเลยี นแบบ หรอื จำลองเหตกุ ารณ์ที่เกดิ ขน้ึ ตามความจรงิ หรือตามธรรมชาติ 4. ประเภทเกม (Game) เป็นการเรยี นรู้จากการเลน่ อาจจะเปน็ ประเภทให้แข่งขันเพอื่ ไปสชู่ ยั ชนะ หรอื เป็นประเภทเกมความรว่ มมือ คือ เล่นเปน็ ทมี เพือ่ ฝกึ การทำงานเป็นทมี อาจใช้เกมใน การสอนคำศพั ท์ เกมการคิดคำนวณ หรอื เกมจับผิด เป็นต้น 5. ประเภทการทดลอง (Tests) เพ่ือทดสอบผู้เรยี นโดยตรงหลังจากทไี่ ด้เรยี นเนือ้ หาหรือ ฝกึ ปฏบิ ัติไดแ้ ล้ว โดยผู้เรยี นจะทำแบบทดสอบผา่ นคอมพวิ เตอร์ ซึ่งเม่อื คอมพิวเตอร์รับคำตอบแล้วก็ จะบนั ทึกผล ประมวลผลตรวจใหค้ ะแนน และเสนอผลให้ผู้เรยี นทราบทนั ทีท่ีทำขอ้ สอบเสร็จ ข้อดี ข้อเสยี ของ CAI ข้อดีของระบบคอมพิวเตอร์ชว่ ยการเรียนการสอน 1. ทำให้ผู้เรียนเรียนได้ในอัตราความเร็วของตนเอง เนื่องจากคอมพิวเตอร์ในฐานะเป็นสื่อ การเรียนการสอนของการเรียนเป็นรายบุคคลที่ดีสามารถจัดกระบวนการเรียนการสอนตาม ความสามารถ ของแตล่ ะบคุ คลท่ีจะเรยี นตามอัตราความเร็วของแต่ละคน โดยทผ่ี ูเ้ รยี นไม่ต้องรอหรือ เรง่ การตอบสนอง (respond) และไมต่ ้องรอขอ้ มลู ยอ้ นกลับ (feed back) จากครู เพราะคอมพิวเตอร์ สามารถให้ข้อมลู กลบั แก่ผเู้ รียนทกุ คนในเวลาเดียวกันโดยใชร้ ะบบการเจียดเวลา (Time Sharing) 2. ผู้เรียนจะเรียนที่ไหนเมื่อใดก็ได้ ด้วยความก้าวหน้าของระบบการสื่อสารทำให้ผู้เรียน สามารถ ใช้คอมพิวเตอร์ติดต่อถ่ายทอดความรู้กับผู้อื่น หรือศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองจากโปรแกรมที่ กำหนดไว้ได้ ทุกเวลาท่ีตอ้ งการจะเรียนในทกุ ๆ แห่ง 3. ผู้เรียนสามารถเรียนได้จากส่ือประสม (Multi media) จากระบบคอมพิวเตอร์ เนื่องจาก ระบบไมโครคอมพิวเตอร์ช่วยการเรยี นการสอนในปัจจุบันได้รับการพัฒนาจนสามารถท่ีจะแสดงภาพ ลายเสน้ ที่เคลื่อนไหวและการเสนอบทเรียนเปน็ ภาษาไทย การตอ่ วงจรระบบคอมพิวเตอร์ควบคุมส่ือ อ่ืน ให้เสนอบทเรยี นในเวลาท่ีเหมาะสมกับการตอบสนองของผู้เรียน จะทำให้ประสิทธิภาพการเรียน การสอนดีขนึ้ มาก 4. ผู้เรียนสามารถทราบผลการเรียนของตนเองในการปฏิบัติกิจกรรมรวดเร็วกว่าสื่ออื่น ๆ เนื่อง จากคอมพิวเตอร์มีลักษณะเดน่ คือการเก็บข้อมูลซ่อนคำตอบของกิจกรรมไว้ในหน่วยความจำ หรือ แผ่นดิสก์ได้ครั้งละมาก ๆ เมื่อผู้เรียนได้ปฏิบัติกิจกรรมแต่ละกิจกรรมแล้วระบบคอมพิวเตอร์ สามารถบอกคำตอบหรอื ผลเฉลีย่ ของกจิ กรรมที่ถกู ตอ้ งได้ทนั ที ข้อจำกดั ของระบบคอมพวิ เตอร์ชว่ ยการเรียนการสอน

๑๔ 1. ขาดบทเรียนสำเร็จรูปท่ีใช้กับระบบคอมพิวเตอร์ช่วยการเรียนการสอน ถึงแม้ว่าจะมีการ พัฒนา บทเรียนสำเร็จรูปเพื่อใช้กับคอมพิวเตอร์ในต่างประเทศเกี่ยวกับการสอนวิชาต่าง ๆ แต่วิชา เหลา่ นีไ้ ม่ ไดจ้ ัดกระบวนการเรยี นการสอนตามหลกั สูตรของประเทศไทย ทำให้ไมส่ ามารถนำมาใช้ได้ โดยตรง จำเป็นต้องมีการนำมาพัฒนาหรอื ปรับปรุงใหเ้ หมาะสมกับหลกั สูตรของประเทศไทย และเป็น ภาษาไทยให้ผเู้ รียนสามารถเข้าใจบทเรยี นได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ 2. ขาดบคุ ลากรท่มี ีความรู้ทางดา้ นการออกแบบระบบคอมพิวเตอร์ช่วยการเรียนการสอนให้ เหมาะสมกบั ระบบการเรียนการสอน แต่ละท้องถิน่ ของประเทศไทย ซึ่งมคี วามแตกตา่ งทางด้านสังคม เศรษฐกิจ และสิ่งอำนวยความสะดวกต่าง ๆ ผู้มีความรู้ด้านคอมพิวเตอร์อย่างดีขาดความรู้ด้านการ จดั ระบบการศึกษา และฝกึ อบรมบุคลากรในสาขาวิชาชพี อ่นื ๆ และผทู้ ่ีมคี วามรู้ในด้านการจัดระบบ การศึกษา ลักษณะองคป์ ระกอบของ CAI คณุ ลกั ษณะทีเ่ ป็นองค์ประกอบสำคัญของคอมพวิ เตอร์ชว่ ยสอน 4 ประการ ไดแ้ ก่ 1.สารสนเทศ (Information) หมายถงึ เนอื้ หาสาระท่ไี ดร้ บั การเรียบเรียง ทำให้ผู้เรียนเกิด การเรยี นรู้ หรือไดร้ บั ทกั ษะอย่างหนึง่ อย่างใดตามที่ผสู้ ร้างไดก้ ำหนดวัตถุประสงคไ์ ว้ การนำเสนออาจ เป็นไปในลักษณะทางตรง หรือทางออ้ มกไ็ ด้ ทางตรงได้แก่ คอมพิวเตอรช์ ว่ ยสอนประเภทตวิ เตอร์ เช่น การอ่าน จำ ทำความเข้าใจ ฝึกฝน ตัวอย่าง การนำเสนอในทางอ้อมได้แก่ คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ประเภทเกมและการจำลอง 2.ความแตกต่างระหว่างบุคคล (Individualization) การตอบสนองความแตกต่าง ระหว่างบุคคล คือลักษณะสำคัญของคอมพิวเตอร์ช่วยสอน บุคคลแต่ละบุคคลมีความแตกต่างกัน ทางการเรียนรู้ คอมพิวเตอร์ช่วยสอน เป็นสื่อประเภทหนึ่งจึงต้องได้รับการออกแบบให้มีลักษณะที่ ตอบสนองต่อความแตกต่างระหวา่ งบคุ คลให้มากท่ีสุด 3.การโต้ตอบ (Interaction) คือ การมีปฏิสัมพันธ์กันระหว่างผู้เรียนกับคอมพิวเตอร์ช่วย สอนการเรียน การสอนรูปแบบทด่ี ที ่สี ุดก็คอื เปิดโอกาสใหผ้ ้เู รียนได้มีปฏสิ ัมพนั ธ์กับผู้สอนไดม้ ากท่ีสุด 4.การให้ผลป้อนกลบั โดยทันที (Immediate Feedback) ผลปอ้ นกลับหรือการใหค้ ำตอบ นี้ถือเป็นการ เสริมแรงอย่างหนึ่ง การให้ผลป้อนกลับแก่ผู้เรียนในทันทีหมายรวมไปถึงการที่ คอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่สมบูรณ์จะต้องมีการ ทดสอบหรือประเมินความเข้าใจของผู้เรียนในเนื้อหา หรอื ทกั ษะต่าง ๆ ตามวัตถุประสงค์ทกี่ ำหนดไว้ 1. ชว่ ยใหผ้ เู้ รยี นทเ่ี รยี นอ่อน สามารถใช้เวลานอกเวลาเรียนในการฝึกฝนทักษะ และเพ่ิมเติม ความรู้ เพ่ือปรับปรงุ การเรียนของตน

๑๕ 2. ผเู้ รยี นสามารถนำคอมพวิ เตอรช์ ่วยสอนไปใชใ้ นการเรยี นด้วยตนเองในเวลา และสถานที่ท่ี สะดวก 3.คอมพิวเตอร์ช่วยสอนสามารถที่จะจูงใจผู้เรียนให้เกิดความกระตือรือร้น สนุกสนานไปกับ การเรยี น จากบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนคณะผู้จัดทำสามารถสรุปได้วา่ เป็นกระบวนการเรยี น ก าร สอน โดยใช้สื่อคอมพ ิว เตอ ร ์ CAI ย่อ มาจาก คำว ่า COMPUTER-ASSISTED หรือ AIDEDINSTRUCTION คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) หมายถึง สื่อการเรียนการสอนทางคอมพิวเตอร์ รปู แบบหนงึ่ ซึง่ ใช้ความสามารถของคอมพิวเตอร์ในการนำเสนอสอ่ื ประสมอันได้แก่ ขอ้ ความ ภาพน่ิง กราฟิก แผนภูมิ กราฟ วิดีทัศน์ ภาพเคลื่อนไหว และเสียง เพื่อถ่ายทอดเนื้อหาบทเรียน หรือองค์ ความรู้ในลกั ษณะท่ี ใกล้เคยี งกบั การสอนจรงิ ในห้องเรียนมากทสี่ ดุ โดยมีเป้าหมายที่สำคัญก็คือ สามารถดึงดูดความสนใจของผู้เรียน และกระตุ้นให้เกิดความ ต้องการที่ จะเรยี นรู้ คอมพิวเตอร์ชว่ ยสอนเป็นตัวอย่างทดี่ ีของส่อื การศกึ ษาในลักษณะตัวต่อตัวในการ นำเสนอเนื้อหาเรื่องราวต่างๆ มีลักษณะเป็นการเรียนโดยตรง และเป็นการเรียน แบบมีปฏิสัมพันธ์ (Interactive) คือสามารถโตต้ อบระหว่างผเู้ รยี นกบั คอมพวิ เตอร์ได้ ซงึ่ ผเู้ รยี นเกิดการเรียนรจู้ ากการมี ปฏิสัมพันธ์ หรือการโต้ตอบพร้อมทั้งการได้รับผลป้อนกลับ (FEEDBACK) นอกจากนี้ยังเป็นสื่อ ท่ี สามารถตอบสนองความแตกต่างระหว่างผู้เรียนได้เป็นอย่างดี รวมทั้งสามารถที่จะประเมิน และ ตรวจสอบความเขา้ ใจของผู้เรยี นไดต้ ลอดเวลา 2.2 การเรยี นรูฐ้ านสมรรถนะ จากเวบ็ supervisory5.net ใหค้ วามหมายของการเรยี นรฐู้ านสมรรถนะว่า หลักสูตรฐานสมรรถนะ คอื หลักสูตรท่ีเนน้ การวัดผล แบบสมรรถนะ แทนการท่องจำเนื้อหา เพยี งเพือ่ นำมาสอบ เดิม วัดผลจากการจำความรู้ แตฐ่ านสมรรถนะ วัดผลจากการนำความรู้มาใช้งาน ท่นี ำมาใช้แทนทหี่ ลกั สตู รในปจั จบุ นั ฐานคดิ ของหลกั สูตรการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน (หลกั สูตรฐานสมรรถนะ) 1. สง่ เสริมการพฒั นาศักยภาพของผู้เรยี นรายบคุ คล (Personalization) การเปน็ เจ้าของการ เรยี นรแู้ ละพัฒนาตนเองอย่างต่อเนอ่ื ง 2. พัฒนาให้ผู้เรียนเกิดสุขภาวะ (Well-being) ทั้งในด้านสุขภาพ ความฉลาดรู้ สังคมและ อารมณ์อยา่ งสมดุล รอบด้านและเปน็ องค์รวม โดยยดึ หลกั ความเสมอภาค 3. พัฒนาสมรรถนะที่จำเป็นเพ่ือใช้ในการดำรงชวี ติ การแก้ปัญหา ในสถานการณ์ต่าง ๆ ใน ชีวิตประจำวัน และการสร้างประโยชนต์ อ่ สงั คม 4. พัฒนาผู้เรียนให้รู้เท่าทันและสามารถปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงของสภาพสังคมและ ความกา้ วหนา้ ทางวิทยาการ หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานหลักสูตรกำหนดสมรรถนะหลัก (Core Competency) ไว้ 5 ประการ เพื่อเป็นเป้าหมายในการพัฒนาความสามารถที่จำเป็นของผู้เรียนต่อการใช้ชีวิตในปัจจุบัน

๑๖ และอนาคต นยิ ามและองค์ประกอบของ 5 สมรรถนะทเี่ ดก็ ไทยควรมีในการปฏิรูปหลักสูตรการศึกษา ขน้ั พืน้ ฐาน หลกั สตู รฐานสมรรถนะ วัดผลจากสมรรถนะท้ัง 5 ด้าน ไดแ้ ก่ 1. สมรรถนะการจัดการตนเอง 2. สมรรถนะการสือ่ สาร 3. สมรรถนะการรวมพลงั ทำงานเปน็ ทีม 4. สมรรถนะการคิดขัน้ สูง และ 5. สมรรถนะการเปน็ พลเมอื งท่เี ข้มแข็ง สมรรถนะทั้ง 5 ด้าน จะได้รับการพัฒนาผ่านขอบข่ายการเรยี นรู้ (Learning Area) 5 ด้าน เพื่อบูรณาการหัวข้อการเรียนรู้ข้ามศาสตร์ให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาและแสดงความสามารถผ่าน มมุ มองตา่ ง ๆ ไดแ้ ก่ 1. ขอบขา่ ยการเรียนรดู้ า้ นสขุ ภาวะกายและจติ 2. ขอบขา่ ยการเรยี นรดู้ า้ นภาษา ศลิ ปะและวฒั นธรรม 3. ขอบขา่ ยการเรยี นรดู้ า้ นโลกของงานและการประกอบอาชีพ 4. ขอบข่ายการเรียนรู้ดา้ นคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี และ 5. ขอบขา่ ยการเรยี นรู้ดา้ นสงั คมและความเปน็ มนษุ ย์ ทั้งสมรรถนะและขอบข่ายการเรียนรู้ถูกออกแบบและพัฒนาบนรากฐานสุขภาวะ (WelL being Foundation) 4 ด้าน ซึ่งสถานศกึ ษาจะตอ้ งสรา้ งบรรยากาศ สภาพแวดลอ้ ม สิ่งแวดล้อม และ กลไกการบริหารสถานศึกษาใหเ้ ออ้ื ตอ่ การพัฒนา ไดแ้ ก่ 1. รากฐานด้านสุขภาพกายและจิต 2. รากฐานด้านสงั คมและ อารมณ์ 3. รากฐานด้านความฉลาดรู้ (Literacy, Numeracy, Digital Literacy) 4. รากฐานดา้ นคุณธรรมและจริยธรรม การพัฒนาผู้เรียนให้เกิดสมรรถนะและรากฐานสำคัญ ผ่านขอบข่ายการเรียนรู้ เพื่อบรรลุ เป้าหมายสำคัญ คือ มาตรฐานการศึกษาของชาติในรปู แบบผลลพั ธท์ ี่พึงประสงคท์ างการศกึ ษา พ.ศ. 2561 ทง้ั 3 ด้าน ได้แก่ 1. การเปน็ ผเู้ รียนรู้ 2. การเปน็ ผรู้ ว่ มสรา้ งสรรค์นวัตกรรม และ 3. การเปน็ พลเมืองที่เขม้ แขง็ ในการศึกษาหลักสูตรฐานสมรรถนะ ได้กำหนดระดับความสามารถของผู้เรียน ซึ่งเป็น พฤติกรรมเชิงคุณลักษณะ ส่วนบุคคลที่แสดงออกให้เห็นถึงการประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะ รวมทั้ง พฤติกรรมการทำงานในบทบาทและสถานการณ์ต่าง ๆ ที่ทำให้ประสบผลสำเร็จ โดยได้แบ่งระดับ ความสามารถของผู้เรียนเป็น 4 ระดับ ได้แก่ ระดับเริ่มต้น ระดับกำลังพัฒนา ระดับสามารถ และ ระดบั เหนอื ความคาดหวัง

๑๗ จากเวบ็ supervisory5.net ใหค้ วามหมายของการเรยี นรฐู้ านสมรรถนะวา่ หลกั สูตรฐานสมรรถนะสกู่ ารพัฒนาผเู้ รียนในศตวรรษท่ี 21 ตลอดระยะเวลา 4-5 ปีที่ผ่านมา การศึกษาของประเทศไทยนั้น ต้องเผชิญกับวิกฤตทาง การศึกษาหลายอยา่ ง ไมว่ า่ จะเป็นเรื่องของการจดั การศกึ ษาท่ไี มท่ ่ัวถงึ และไม่สอดคล้องกับการพัฒนา ทรพั ยากรมนุษย์ มจี ำนวนนกั เรียนท่ีตกหลน่ จากระบบการศกึ ษาคอ่ นข้างมาก ใช้วิธีการจัดการศึกษา ที่ล้าสมัย รวมถึงมีการตนื่ ตวั ของกระแสการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 ส่ิงเหลา่ นี้ส่งผลกระทบต่อ ระบบการศึกษาของประเทศไทย ทำให้เกิดปัญหาความด้อยคุณภาพของผู้เรียนเมื่อเทียบกับการจดั การศกึ ษาของประเทศชน้ั นำอ่ืน ๆ ปัญหาของนักเรียนไทยที่เห็นได้อย่างชัดเจนคือ ปัญหาในเรื่องของการประยุกต์ใช้ เพราะ ระบบการศึกษาของโรงเรียนยังคงยึดติดกับวิธีการสอนแบบเดิม ๆ ทำให้ผู้เรียนถูกปลูกฝังด้วยการ เรียนรแู้ บบท่องจำเพอ่ื นำไปสอบ มากกวา่ ทจี่ ะเรยี นรเู้ พ่ือให้เกิดการคิดวิเคราะห์และสงั เคราะห์ และ ม่งุ สร้างองคค์ วามรูใ้ ห้เกิดขึน้ ได้ด้วยตวั เอง ซ่ึงสิง่ เหล่าน้ีส่งผลให้ผเู้ รียนสว่ นใหญ่ไม่สามารถนำความรู้ ความเข้าใจ ทักษะและคุณลกั ษณะต่าง ๆ ท่ีตนเรียนรู้มาไปประยกุ ต์ใช้ให้เกิดประโยชน์กับตัวเองและ สังคมได้ กล่าวคือ เด็กไทยนนั้ มสี มรรถนะท่ตี ่ำกว่าท่ีควรจะเป็น อันเป็นเรือ่ งทเี่ สยี เปรียบอย่างมากใน การแขง่ ขันกับนานาประเทศ และจากสาเหตุดงั กล่าว ทำให้ทางภาครฐั จำเปน็ ต้องปรับเปล่ียนหลักสูตรการเรียนรู้เสียใหม่ โดยเปลี่ยนจุดเน้นจากที่เคยเป็นหลักสูตรที่เน้นเนื้อหา (content-based) คือเน้นเนื้อหาวิชา และมี มาตรฐานและตัวช้ีวัดจำนวนมาก ไปเปน็ หลักสูตรท่ีเป็นฐานสมรรถนะ (competency-based) คอื มุ่ง ไปยังพฤติกรรมทีผ่ ูเ้ รียนโดยตรง ยึดความสามารถที่ผู้เรยี นพึงปฏิบตั ิได้เปน็ หลัก เพ่ือเป็นหลักประกัน ว่า ผ้เู รียนจะมที กั ษะและความสามารถในดา้ นตา่ ง ๆ อย่างเหมาะสม เมอ่ื ผ่านการเรียนรู้ แผนปฏิรูปประเทศด้านการศึกษาได้กำหนดให้ หลักสูตรฐานสมรรถนะนั้นเป็นแนวทางใน การปฏิรูปหลกั สูตรและการจัดการเรียนการสอน เพื่อมุ่งให้เกิดการตอบสนองต่อการเปลีย่ นแปลงใน ศตวรรษท่ี 21 โดยมเี ป้าหมายให้ผเู้ รยี นเกิดสมรรถนะหลักท่ีจำเปน็ สำหรับการทำงาน การแก้ปัญหา และการดำรงชวี ิต หลกั สตู รฐานสมรรถนะ จะกำหนดมาตรฐานสมรรถนะ (Competency Standards) ขน้ึ เป็น สมรรถนะเบื้องต้นที่จำเป็นสำหรับผูเ้ รียน เพื่อการดำรงชีวิตอย่างมีคุณภาพ โดยทั่วไปมี 2 ลักษณะ คือ 1.สมรรถนะหลกั (Core Competency) มลี ักษณะเปน็ สมรรถนะขา้ มวชิ าหรอื ครอ่ มวิชา คือ เป็นสมรรถนะที่สามารถพัฒนาให้เกิดขึ้นแก่ผู้เรียนได้ในสาระการเรียนรู้ต่าง ๆ ที่หลากหลาย หรือ สามารถนำไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นการพฒั นาผู้เรยี นใหเ้ รยี นรู้สาระต่าง ๆ ได้ดยี ง่ิ ข้นึ 2. สมรรถนะเฉพาะ (Specific Competency) เป็นสมรรถนะเฉพาะวิชา / สาขาวิชาที่ จำเป็นสำหรับวิชานั้น ๆ ซึ่งสมรรถนะทั้ง 2 ประเภทนั้น ไม่ว่าจะเป็นสมรรถนะหลัก หรือสมรรถนะ เฉพาะ ต่างก็มีระดับตั้งแตง่ ่ายไปยาก ซึ่งหลักสูตรจะกำหนดให้ผูเ้ รียนได้เรยี นรู้แบบไต่ระดับ ไปตาม ระดบั ความสามารถของตน สำหรบั จุดเดน่ ของหลักสตู รฐานสมรรถนะน้ัน มีดว้ ยกันอยหู่ ลายประการ อนั ไดแ้ ก่

๑๘ 1. ช่วยให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาสมรรถนะหลักที่สำคัญต่อการใช้ชีวิต การทำงาน และการ เรียนรู้ 2. ชว่ ยใหเ้ กดิ การจัดการเรียนรู้ ท่มี ุ่งพัฒนาผเู้ รียนให้เกิดสมรรถนะท่ตี อ้ งการ 3. ช่วยลดสาระการเรียนรู้ทไ่ี ม่จำเป็น อนั สง่ ผลให้สถานศึกษามีพนื้ ที่และเวลาในการจัดการ เรยี นร้อู น่ื ที่เหมาะสมกบั ผู้เรยี น วิถีชีวิตและชมุ ชนไดม้ ากข้ึน 4. ช่วยลดภาระและเวลาในการสอบตามตัวชี้วัดจำนวนมาก เพราะสามารถวัดและ ประเมนิ ผลผเู้ รยี นดว้ ยการสังเกตพฤติกรรมของผูเ้ รยี นทแี่ สดงใหเ้ หน็ ถึงสมรรถนะหลกั กรอบสมรรถนะหลักของหลกั สตู รฐานสมรรถนะ จะเป็นสมรรถนะข้ันพื้นฐานที่จำเป็นสำหรับ ผู้เรียนทุกคน ซึ่งจะเป็นสมรรถนะกลางที่เอื้อให้สถานศึกษาที่มีศักยภาพ โดยในหลักสูตรฐาน สมรรถนะ ไดก้ ำหนดสมรรถนะหลักเบือ้ งต้นไว้ 10 สมรรถนะ โดยแบ่งออกเปน็ กลุ่ม 4 กลมุ่ คอื 1. คนไทยฉลาดรู้ (Literate Thais ) มี 4 สมรรถนะหลัก คือ 1.1 ภาษาไทยเพื่อการสอ่ื สาร (Thai Language for Communication) 1.2 คณิตศาสตรใ์ นชีวิตประจำวนั (Mathematics in Everyday Life) 1.3 การสืบสอบทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ (Scientific Inquiry and Scientific Mind) 1.4 ภาษาอังกฤษเพือ่ การส่อื สาร (English for Communication) 2. ภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสาร (English for Communication) 2.1 ทกั ษะชวี ิตและความเจรญิ แหง่ ตน (Life Skills and Personal Growth) 2.2 ทกั ษะอาชพี และการเป็นผูป้ ระกอบการ (Career Skills and Entrepreneurship) 3. คนไทยสามารถสูง (Smart Thais) มี 2 สมรรถนะหลกั คอื 3.1 ทกั ษะการคิดขนั้ สงู และนวัตกรรม (Higher Order Thinking Skills and Innovation) 3.2 การรูเ้ ท่าทนั สื่อ สารสนเทศ และดิจทิ ลั (Media, Information and Digital Literacy : MIDL) 4. พลเมอื งไทย ใสใ่ จสังคม (Active Thai Citizens) มี 2 สมรรถนะหลกั คือ 4.1 การทำงานแบบรวมพลัง เป็นทีม และมีภาวะผู้นำ (Collaboration Teamwork and Leadership) 4.2 การเป็นพลเมอื งต่ืนรูท้ ่มี ีสำนึกสากล (Active Citizens with Global Mindedness) การนำหลกั สตู รฐานสมรรถนะไปใช้น้ันจะต้องดำเนินการผ่านการจดั การเรยี นการสอนฐานสมรรถนะ (Competency-Based Instruction: CBI) ที่มีลักษณะสำคัญคือ เป็นการเรียนการสอนตาม จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ เชิงสมรรถนะ (Learning competencies) ทีส่ ามารถสังเกตเหน็ และวัดได้ ซึ่ง การวัดและประเมินฐานสมรรถนะ นั้น จะเน้นการวดั ผลการเรยี นรูจ้ ากการพฤติกรรมและการปฏบิ ัติ ทสี่ ามารถแสดงออกให้เหน็ ถึงสมรรถนะนั้น ตามเกณฑ์ท่ีกำหนด โดยแนวทางในการจัดการเรียนการสอนตามหลกั สูตรฐานสมรรถนะนั้น สามารถดำเนินการ ได้ 6 แนวทางอนั ได้แก่ แนวทางที่ 1 : ใช้งานเดมิ เสริมสมรรถนะ

๑๙ เป็นการสอนตามปกติท่ีสอดแทรกสมรรถนะที่สอดคล้องกับการบทเรียนนัน้ เขา้ ไป และอาจปรับหรือ สรา้ งสรรค์กิจกรรม ตอ่ ยอด เพอื่ ให้ผู้เรยี นได้พฒั นาสมรรถนะนัน้ แนวทางที่ 2 ใชง้ านเดมิ ตอ่ เติมสมรรถนะ เป็นการสอนตามปกติที่สอดแทรกสมรรถนะ ที่สอดคล้องกับการบทเรียนนั้นเข้าไป และมีการเน้น สมรรถนะที่เกี่ยวข้องให้มากขึ้น ซึ่งจะช่วยให้ผู้เรียนใช้ความรู้ ทักษะได้จริงในสถานการณ์ที่ หลากหลาย แนวทางที่ 3 ใช้รปู แบบการเรยี นรู้ สู่การพฒั นาสมรรถนะ เป็นการสอนตามปกติที่มีการนำรูปแบบการเรียนรู้ที่ใช้เดิมมาวิเคราะห์เชื่อมโยง กับสมรรถนะท่ี สอดคล้องกบั รูปแบบการเรียนรู้และบทเรียน ซึ่งช่วยให้ผู้เรยี นเกิดการเรียนรู้ตามจดุ ประสงค์พร้อมๆ กบั การเกิดสมรรถนะ แนวทางที่ 4 สมรรถนะเปน็ ฐาน ผสานตวั ชีว้ ดั เปน็ การสอนโดยนำสมรรถนะและตวั ชี้วดั ที่สอดคล้องกนั มาออกแบบการสอนร่วมกนั เพอ่ื ใหผ้ ู้เรยี นได้ เรียนร้ทู ัง้ เน้ือหาสาระและทักษะตามตวั ชี้วดั ที่กำหนด พร้อม ๆ กับการพฒั นาสมรรถนะหลักที่จำเป็น ตอ่ ชวี ิต แนวทางท่ี 5 บรู ณาการผสานหลายสมรรถนะ เป็นการสอนโดยนำสมรรถนะหลักทั้งสิบด้านเป็นตัวตั้ง แล้วออกแบบการสอนทีม่ ีลักษณะเปน็ หนว่ ย บูรณาการทีช่ ่วยใหเ้ ดก็ ได้เรียนรูอ้ ยา่ งเป็นธรรมชาติ และเห็นความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งวชิ า/กลุ่มสาระการ เรียนรตู้ า่ ง ๆ แนวทางที่ 6 สมรรถนะชีวติ ในกจิ วัตรประจำวัน สมรรถนะชีวติ ในกจิ วตั รประจำวนั เป็นการสร้างสรรค์การเรยี นร้อู ย่างสอดคล้องสมั พันธก์ บั การดำเนิน ชีวิตประจำวันปกติของนักเรียน สอดคล้องกับกิจกรรมต่าง ๆ ที่มักเกิดในโรงเรียน นับเป็นการฝึก พัฒนาสมรรถนะนนั้ ๆ ได้อยา่ งตอ่ เน่อื ง หลักสูตรฐานสมรรถนะนี้ นับเป็นหลักสูตรทีถ่ ูกคิดค้นขึน้ มาเพ่ือแกไ้ ขปัญหาด้านเรียนรูข้ อง ผู้เรียน และส่งเสรมิ ใหผ้ ู้เรียนมีสมรรถนะทีเ่ หมาะสมกับโลกในยุคสมัยใหม่ท่ีมีการเปลี่ยนแปลงอย่าง รวดเร็วละมีการแข่งขันกนั สูงขึน้ ซึง่ ถ้าหลักสูตรได้ถกู ประยุกต์และนำมาใช้ในระบบการศึกษาได้อย่าง เหมาะสม จะทำให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตัวเองให้มีสมรรถนะที่เหมาะสมต่อการพัฒนาตัวเองและ ประเทศชาติได้ จากการเรยี นรฐู้ านสมรรถนะคณะผ้จู ัดทำสามารถสรปุ ไดว้ า่ หลกั สูตรฐานสมรรถนะ คอื หลักสูตรทีเ่ นน้ การวัดผล แบบสมรรถนะแทนการทอ่ งจำเนื้อหา เพียงเพอื่ นำมาสอบ เดิม วดั ผลจากการจำความรู้ แตฐ่ านสมรรถนะ วดั ผลจากการนำความรู้มาใช้งาน ท่นี ำมาใช้แทนทห่ี ลกั สูตรในปจั จบุ ัน

๒๐ 2.3 การเรยี นรู้แบบผสมผสาน จากเว็บ englishgang.com ให้ความหมายของการเรียนรแู้ บบผสมผสานวา่ การเรยี นรูแ้ บบผสมผสาน (Blended Learning) มีผู้ให้ความหมายไว้ดังนี้ สมาคมสโลน (Allen and Seaman 2005) ให้คำจำกัดความของ การเรยี นแบบผสมผสานว่ามสี ัดส่วนของเน้ือหาทีน่ ำเสนอออนไลน์ระหว่างรอ้ ยละ 30 ต่อร้อยละ 79 คำอธบิ ายของการเรยี นแบบผสมผสาน คือ การเรียนท่ีผสมการเรียนออนไลนแ์ ละการเรียนในช้ันเรียน โดยที่เนื้อหาส่วนใหญส่ ่งผ่านระบบออนไลน์ ใช้การอภิปรายออนไลน์และมีการพบปะกันในชั้นเรยี น บ้าง และมีส่วนท่ีนา่ สนใจว่าการอภิปรายออนไลน์ถือเปน็ การส่งผา่ นเนื้อหาออนไลน์ เช่นกัน สำหรับ การเรียนในรปู อืน่ ๆ อย่างเชน่ การเรียนแบบปกติจะไม่มกี ารส่งผ่านเนือ้ หาออนไลน์ การเรียนแบบใช้ เว็บช่วยสอนจะมีการส่งผ่านเนื้อหาออนไลน์ร้อยละ 1 – 29 และการเรียนออนไลน์มีการส่งผ่าน เนอื้ หาร้อยละ 80 – 100 Charles R. Graham ( Graham , 2012 ) มหาวิทยาลัย Brigham Young University ประเทศสหรัฐอเมริกาให้ความหมายว่า เป็นระบบการเรียนการสอนที่ผสมผสานระหว่างการเรียน แบบเผชิญหนา้ กับการสอนผ่านระบบเครอื ข่ายคอมพิวเตอร์ Michael B. Horn and Heather Staker ( Horn and Staker , 2011 ) แห่ง Innosight Institute ได้นิยามเกยี่ วกับการเรียนแบบผสมผสานของผเู้ รียนในระดับ K-12 หมายถงึ การเรียนรู้ที่ ผู้เรียนได้รับมวลประสบการณ์ทางการเรียนรู้อย่างเป็นอิสระผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์โดย นักเรียนสามารถควบคุมตัวแปรทางการเรยี นรู้ดว้ ยตนเองท้งั ในด้านเวลา สถานที่ แนวทางการเรียนรู้ และอัตราการเรยี นรขู้ องตนเอง Radames Bernath ( Bernath , 2012 ) สรุปว่า การเรียนแบบผสมผสานหรือ Blended Learning หมายถึง โปรแกรมทางการเรียนรู้ที่ใช้วิธีการผสมผสานระหว่างการเรียนรู้จากส่ือ อเิ ลก็ ทรอนิกสห์ รือ E-learning กับการสอนในชั้นเรียน เวบ็ วิกพิ ีเดีย Wikipedia 2007) ให้ความหมายของการเรียนแบบผสมผสานวา่ เปน็ การรวม การเรียนรู้หลายรูปแบบ การเรียนแบบผสมผสานจะสมบูรณ์ได้ด้วยการใช้การผสมผสานระหว่าง ทรัพยากรการเรียนรู้ที่เป็นสื่อเสมือนจริง และทรัพยากรทางกายภาพ เช่น การรวมเอาสื่อที่ต้องใช้ เทคโนโลยีกบั การเรียนในห้องเรยี นเขา้ ด้วยกนั เพ่อื ใหผ้ ู้เรยี นเกิดการเรยี นรู้ จากนยิ ามขา้ งต้นอาจสรุปไดว้ ่า Blended leaning หมายถึง กระบวนการเรียนรู้ ที่ผสมผสาน รูปแบบการเรียนรูท้ ห่ี ลากหลาย ไมว่ า่ จะเปน็ การเรียนรูท้ ีเ่ กดิ ข้นึ ในหอ้ งเรียน ผสมผสานกับการเรียนรู้ นอกห้องเรยี นที่ผูเ้ รียนผูส้ อนไม่เผชิญหน้ากนั หรือการใช้แหล่งเรียนร้ทู ่ีมอี ยู่หลากหลาย กระบวนการ เรียนร้แู ละกจิ กรรมเกดิ ขึ้นจากยุทธวธิ ี การเรยี นการสอนที่หลากรูปแบบ เป้าหมายอยู่ที่การให้ผู้เรียน บรรลเุ ปา้ หมายการเรยี นรเู้ ป็นสำคัญ การสอนด้วยวิธีการเรียนรู้แบบผสมผสานนั้น ผู้สอน สามารถใช้วิธีการสอน สองวิธีหรือ มากกว่า ในการเรียนการสอน เช่น ผู้สอนนำเสนอเนื้อหาบทเรียนผ่านเทคโนโลยีผนวกกับการสอน แบบเผชิญหน้า แต่หลังจากนั้นผู้สอนนำเนื้อหาบทความแขวนไว้บนเว็บ จากนั้นติดตามการดำเนิน กิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้อีเลิร์นนิ่ง ด้วยระบบแอลเอ็มเอส (Learning Management

๒๑ System) ด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ในห้องแล็ป หลังจากนั้นสรุปบทเรียน ด้วยการอภิปรายร่วมกับ อาจารยผ์ ้สู อนในหอ้ งเรยี น การเรียนแบบผสมผสาน สามารถนำมาสรุปได้เป็น 3 มิติ ตาม Graham, Allen and Ure (2003) กล่าวไวค้ ือ การผสมผสานการสอนผ่านส่อื การสอน การผสมผสานวธิ กี ารเรยี นการสอน และ การผสมผสานระหวา่ งการสอนแบบเผชญิ หน้ากบั การสอนออนไลน์ ลักษณะของการเรยี นรแู้ บบผสมผสาน (Types and Models) Blended Learning เป็นการบูรณาการ online learning และ face-to-face meetings เขา้ ดว้ ยกันข้อสมมตขิ องชุมชนการเรยี นรู้ในลักษณะน้ี คือ 1) ผูเ้ รยี นจะมปี ฏิสมั พนั ธ์ และร่วมมือกันทล่ี ึกซงึ้ ขน้ึ 2) ความสัมพนั ธ์ระหว่างผเู้ รยี นด้วยกัน เกิดจากการมีปฏิสัมพันธ์กันในกลุ่มที่มีการจัดวางการทำงานกลุ่มเป็นอย่างดี ด้วยการนำ เทคโนโลยีเข้ามาช่วย ก่อน และ/หรือหลังจากมี face-to-face learning แล้ว ก็ได้ ซึ่งอาจจะรวมถึง pre-event activities เพื่อ warm-up ก่อนมีการประชุมเป้าหมายก็เพื่อการสร้างมนุษย์สัมพันธ์ใน ระหว่างผู้เรียน สร้างความรู้สึกการเป็นทีมร่วมกันซ่ึงจะส่งผลต่อประสิทธิภาพ และความรวดเร็วใน การทำงานกลุ่ม อาจมีการปฐมนิเทศ แนะนำ ชี้แจง ก่อนเรียนทางWeb conferences, online discussions, และ conference ซึ่งจะทำให้มีการเปิดใจกว้าง ที่จะเรียนรู้ร่วมกันแลกเปลี่ยนการ เรียนรู้กัน ถ้าหากสุดท้ายผู้เรยี นจะต้องมาพบกนั ในช้ันเรียนแบบเดิมหรือในอีกกรณีตัวอย่างหน่ึง คือ การใหม้ ี Follow-up learning community หลังจาก มี face-to-face eventแล้ว ชุมชนการเรยี นรู้ ในลักษณะนี้ อาจด้วยการให้ผู้เรียนทำ group projects, discussing research findings, และ mentoring peers เป็นต้น หรือลักษณะ end-to-end communities ที่รวมทั้ง pre-event และ follow-up learning activities ด้วย ผู้เรียนบางคนอาจชอบ end-to-end community มากกว่า เพราะ face-to-face meeting แบบปกติ มักเป็นเรื่องปฏิสัมพันธ์ระหว่างกลุ่ม ที่จะมาร่วมมือกัน ทำงาน ตัวอย่างเช่น ครูอาจใช้ ice-breaker community สำหรับ prework และแนะนำ เรื่องตา่ ง ๆ ให้กับผู้เรียน ใช้ face-to-face experiential workshop ในการใหค้ วามชัดเจนเรือ่ งจดุ ประสงค์การ เรียนของแต่ละคน และใช้ follow-up community ในการ coaching และ mentoring เพื่อให้ ผ้เู รยี นไดบ้ รรลุจดุ ประสงค์ท่วี างไว้ จากเวบ็ jukgrinku71blog.wordpress.comให้ความหมายของการเรยี นรู้แบบ ผสมผสานว่า การเรยี นรแู้ บบผสมผสาน (Blended Learning) มีผ้ใู หค้ วามหมายไว้ดังน้ี สมาคมสโลน (Allen and Seaman 2005) ให้คำจำกัดความของการเรียนแบบผสมผสาน ว่ามสี ดั ส่วนของเน้ือหาทนี่ ำเสนอออนไลนร์ ะหว่างร้อยละ 30 ต่อรอ้ ยละ 79 คำอธิบายของการเรียน แบบผสมผสาน คือ การเรียนท่ผี สมการเรียนออนไลนแ์ ละการเรียนในชน้ั เรียน โดยทีเ่ น้ือหาส่วนใหญ่ ส่งผ่านระบบออนไลน์ ใช้การอภิปรายออนไลน์และมีการพบปะกันในชั้นเรียนบ้าง และมีส่วนท่ี น่าสนใจว่าการอภิปรายออนไลน์ถือเป็นการส่งผ่านเนื้อหาออนไลน์ เช่นกัน สำหรับการเรียนในรูป อื่นๆ อย่างเชน่ การเรยี นแบบปกติจะไม่มีการส่งผ่านเนอื้ หาออนไลน์ การเรียนแบบใชเ้ วบ็ ช่วยสอนจะ

๒๒ มีการสง่ ผา่ นเน้ือหาออนไลนร์ ้อยละ 1 – 29 และการเรียนออนไลนม์ ีการสง่ ผ่านเนื้อหาร้อยละ 80 – 100 Charles R. Graham ( Graham , 2012 ) มหาวิทยาลัย Brigham Young University ประเทศสหรัฐอเมริกาให้ความหมายว่า เป็นระบบการเรียนการสอนที่ผสมผสานระหว่างการเรียน แบบเผชญิ หนา้ กับการสอนผ่านระบบเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์ Michael B. Horn and Heather Staker ( Horn and Staker , 2011 ) แห่ง Innosight Institute ไดน้ ยิ ามเกยี่ วกับการเรียนแบบผสมผสานของผูเ้ รยี นในระดับ K-12 หมายถงึ การเรียนรู้ที่ ผู้เรียนได้รับมวลประสบการณ์ทางการเรียนรู้อย่างเป็นอิสระผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์โดย นักเรียนสามารถควบคมุ ตวั แปรทางการเรียนรู้ด้วยตนเองทง้ั ในด้านเวลา สถานที่ แนวทางการเรียนรู้ และอัตราการเรยี นรขู้ องตนเอง Radames Bernath ( Bernath , 2012 ) สรุปว่า การเรียนแบบผสมผสานหรือ Blended Learning หมายถึง โปรแกรมทางการเรียนรู้ที่ใช้วิธีการผสมผสานระหว่างการเรียนรู้จากสื่อ อเิ ลก็ ทรอนิกสห์ รือ E-learning กับการสอนในชัน้ เรียน เวบ็ วิกพิ ีเดีย Wikipedia 2007) ให้ความหมายของการเรียนแบบผสมผสานวา่ เป็นการรวม การเรียนรู้หลายรูปแบบ การเรียนแบบผสมผสานจะสมบูรณ์ได้ด้วยการใช้การผสมผสานระหว่าง ทรัพยากรการเรียนรู้ที่เป็นสื่อเสมือนจริง และทรัพยากรทางกายภาพ เช่น การรวมเอาสื่อที่ต้องใช้ เทคโนโลยกี บั การเรียนในห้องเรยี นเข้าดว้ ยกนั เพ่อื ให้ผเู้ รยี นเกิดการเรยี นรู้ จากนิยามข้างต้นอาจสรุปไดว้ ่า Blended leaning หมายถงึ กระบวนการเรียนรู้ ที่ผสมผสาน รปู แบบการเรยี นรทู้ ห่ี ลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นการเรยี นรูท้ เี่ กิดขึน้ ในหอ้ งเรยี น ผสมผสานกับการเรียนรู้ นอกหอ้ งเรยี นท่ีผู้เรยี นผสู้ อนไม่เผชิญหน้ากัน หรือการใชแ้ หลง่ เรยี นรทู้ ี่มีอยู่หลากหลาย กระบวนการ เรียนร้แู ละกจิ กรรมเกดิ ขึน้ จากยุทธวิธี การเรียนการสอนทห่ี ลากรูปแบบ เป้าหมายอยู่ที่การให้ผู้เรียน บรรลเุ ป้าหมายการเรยี นรู้เปน็ สำคญั การสอนด้วยวิธีการเรียนรู้แบบผสมผสานนั้น ผู้สอน สามารถใช้วิธีการสอน สองวิธีหรือ มากกว่า ในการเรียนการสอน เช่น ผู้สอนนำเสนอเนื้อหาบทเรียนผ่านเทคโนโลยีผนวกกับการสอน แบบเผชิญหน้า แต่หลังจากนั้นผู้สอนนำเนื้อหาบทความแขวนไว้บนเว็บ จากนั้นติดตามการดำเนิน กิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้อีเลิร์นนิ่ง ด้วยระบบแอลเอ็มเอส (Learning Management System) ด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ในห้องแล็ป หลังจากนั้นสรุปบทเรียน ด้วยการอภิปรายร่วมกับ อาจารยผ์ ้สู อนในหอ้ งเรยี น การเรียนแบบผสมผสาน สามารถนำมาสรุปได้เป็น 3 มิติ ตาม Graham, Allen and Ure (2003) กลา่ วไวค้ ือ การผสมผสานการสอนผ่านสื่อการสอน การผสมผสานวิธีการเรยี นการสอน และ การผสมผสานระหว่างการสอนแบบเผชญิ หน้ากบั การสอนออนไลน์ 2. ลกั ษณะของการเรยี นรแู้ บบผสมผสาน (Types and Models) Blended Learning เป็นการบูรณาการ online learning และ face-to-face meetings เข้าด้วยกันขอ้ สมมตขิ องชุมชนการเรยี นรู้ในลักษณะน้ี คอื 1. ผู้เรยี นจะมปี ฏิสัมพันธ์ และรว่ มมอื กันทีล่ ึกซึ้งขนึ้ 2. ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งผู้เรยี นดว้ ยกนั

๒๓ เกิดจากการมีปฏิสัมพันธ์กันในกลุ่มที่มีการจัดวางการทำงานกลุ่มเป็นอย่างดี ด้วยการนำ เทคโนโลยีเข้ามาช่วย ก่อน และ/หรือหลังจากมี face-to-face learning แล้ว ก็ได้ ซึ่งอาจจะรวมถงึ pre-event activities เพื่อ warm-up ก่อนมีการประชุมเป้าหมายก็เพื่อการสร้างมนุษย์สัมพันธ์ใน ระหว่างผู้เรียน สร้างความรู้สึกการเป็นทีมร่วมกันซึ่งจะส่งผลต่อประสิทธิภาพ และความรวดเร็วใน การทำงานกลุ่ม อาจมีการปฐมนิเทศ แนะนำ ชี้แจง ก่อนเรียนทางWeb conferences, online discussions, และ conference ซึ่งจะทำให้มีการเปิดใจกว้าง ที่จะเรียนรู้ร่วมกันแลกเปลี่ยนการ เรียนรู้กัน ถ้าหากสุดท้ายผู้เรยี นจะต้องมาพบกันในช้ันเรียนแบบเดิมหรอื ในอีกกรณีตัวอย่างหนึ่ง คือ การให้มี Follow-up learning community หลงั จาก มี face-to-face eventแลว้ ชมุ ชนการเรยี นรู้ ในลักษณะนี้ อาจด้วยการให้ผู้เรียนทำ group projects, discussing research findings, และ mentoring peers เป็นต้น หรือลักษณะ end-to-end communities ที่รวมทั้ง pre-event และ follow-up learning activities ด้วย ผู้เรียนบางคนอาจชอบ end-to-end community มากกว่า เพราะ face-to-face meeting แบบปกติ มักเป็นเรื่องปฏิสัมพันธ์ระหว่างกลุ่ม ที่จะมาร่วมมือกัน ทำงาน ตัวอยา่ งเช่น ครอู าจใช้ ice-breaker community สำหรบั prework และแนะนำ เรื่องตา่ ง ๆ ให้กับผู้เรยี น ใช้ face-to-face experiential workshop ในการให้ความชัดเจนเรือ่ งจดุ ประสงค์การ เรียนของแต่ละคน และใช้ follow-up community ในการ coaching และ mentoring เพื่อให้ ผู้เรียนไดบ้ รรลจุ ดุ ประสงคท์ ี่วางไว้ การเรียนแบบผสมผสาน ( Blended Learning ) ตามมโนทัศน์ ( Concepts ) ที่กำหนดน้นั จะเปน็ ลักษณะของการผสมผสานการเรยี นร้ใู น 4 ลกั ษณะดงั ต่อไปนี้ ( Oliver and Trigwell ,2005 ) 1. การผสมผสานเทคโนโลยีการเรียนการสอนจากการเรียนผ่านเว็บ ( Web-Based Instruction) ใหเ้ ป็นไปตามจดุ มงุ่ หมายหรอื วัตถุประสงคท์ ี่กำหนดไว้ 2. การผสมผสานในรูปแบบหรอื วิธกี ารที่เน้นเชงิ วชิ าการในการสร้างผลผลิตทางการเรยี นรู้ให้ สงู ข้ึนโดยปราศจากเทคโนโลยเี พ่ือการสอนอืน่ ๆ เขา้ มาชว่ ย 3. การผสมผสานรปู แบบวิธีการทางเทคโนโลยีทางการสอนผ่านหลักสูตรเฉพาะและ / หรือ การฝกึ อบรม 4. การผสมผสานเทคโนโลยีการสอนเขา้ กับงานปกติ หรอื การเรยี นตามปกตทิ กี่ ระทาอยู่ ในขณะเดียวกันกับที่ Horn and Staker ( 2011 ) ได้จำแนกถึงคุณลักษณะในการจัดการ เรียนการสอนแบบผสมผสานหรือ Bended Learning สำหรับผู้เรียนในระดับ K-12 ไว้ว่าการการ สอนรปู แบบดังกล่าวสามารถจำแนกออกเปน็ 6 รูปแบบ ดังนี้ Model 1 : Face to Face Driver เป็นรูปแบบการเรยี นการสอนแบบปกติท่ีมกี ารเรียนแบบ เผชิญหน้าระหว่างผู้เรียนกับผู้สอนในชั้นเรียนโดยการเรียนรู้แบบออนไลน์ในแต่ละเรื่องหรือแต่ละ ประเด็นทกี่ ำหนดในหลกั สูตรของการเรยี นรแู้ ตล่ ะครงั้ Model 2 : Rotation เป็นรูปแบบการเรียนรู้แบบหมุนเวียนตามหลักสูตรเน้ือหาในตารางที่ กำหนดของการสอนปกติในชนั้ เรยี นภายใต้สถานการณ์ทม่ี ีความหลากหลายและเปน็ ไปตามอัตราการ เรยี นของแตล่ ะบคุ คลเป็นสำคัญ

๒๔ Model 3 : Flex เป็นลักษณะการเรียนแบบผสมผสานที่มีความยดื หยุ่นในการปรับใช้ภายใต้ สถานการณ์ที่ต่างกันที่ครูสามารถจัดให้กับผู้เรียนในการเรียนรู้หลายรูปแบบทั้งการเรียนแบบ tutoring หรือการเรียนแบบกลุ่มเลก็ ตามกลมุ่ สนใจ เป็นตน้ Model 4 : Online Lab เป็นรูปแบบการเรียนรู้แบบผสมผสานที่เนน้ การเรียนในห้องเรียน ออนไลน์ภายใต้สภาพการณ์ของการใช้ห้องปฏิบัติการทางเทคโนโลยีสารสนเทศเต็มรูปแบ บโดยครู และผู้เชยี่ วชาญเปน็ ผู้คอยควบคุมให้ความช่วยเหลือทางการเรยี นรู้แก่ผ้เู รียน Model 5 : Self Blended เป็นรูปแบบของการเรียนแบบผสมผสานด้วยตัวของผู้เรียนเอง ตามประเดน็ หรือหลักสูตรกำหนด ลักษณะดังกล่าวนี้ส่วนใหญ่เปน็ การเรียนรู้ในระดับอุดมศึกษาหรือ มหาวทิ ยาลัยที่มีการเช่อื มโยงข้อมูลทางการเรยี นระหว่างกันหรือระหวา่ งสถาบัน ลกั ษณะดังกล่าวน้จี ะ มีโปรแกรมควบคมุ หลักอยู่ที่ห้องปฏิบัติการตาม Model 4 ที่จะคอยควบคมุ และอำนวยความสะดวก ในการเรยี นในการเรยี นร้แู บบผสมผสานดว้ ยตนเอง Model 6 : Online Driver เป็นลักษณะการเรียนแบบผสมผสานที่เต็มรูปแบบโดยมีการ เรยี นแบบออนไลนท์ งั้ ผู้เรยี นและผสู้ อนจากหลักสูตรท่ีกำหนด เทคโนโลยคี อมพวิ เตอรแ์ ละสารสนเทศ จะมบี ทบาทคอ่ นข้างสงู ตอ่ กระบวนการขบั เคลอ่ื นในรปู แบบดงั กล่าว จากรูปแบบของการเรยี นแบบผสมผสานข้างต้น เห็นได้ว่าการนาเอากระบวนการเรียนแบบ ผสมผสานมาใชใ้ นการเรยี นการสอนนนั้ ประเดน็ สำคัญคงต้องคำนึงถึงความพร้อมและความเป็นไปได้ หลายประการที่จะเป็นเกณฑ์ในการพิจารณาปรับใช้การเรียนรู้ในลักษณะนี้ให้เหมาะสมกับ สภาพการณ์ บรบิ ทและความพรอ้ มทุกด้านเพ่ือเกดิ ผลและประสทิ ธภิ าพสงู สดุ ของการประยกุ ต์ใช้ • องค์ประกอบของการเรยี นแบบผสมผสาน ( 5 Keys Ingredients ) ภายใต้สถานการณ์ของการเรียนแบบผสมผสานนั้น จะประกอบไปด้วยสิ่งบ่งชี้สำคัญ 5 ประการ ต่อไปนี้ที่บ่งบอกถึงสภาพการณ์ของการเรียนแบบ Blended Learning ได้แก่ (Carman , 2005 ) 1. เหตุการณ์หรือปรากฏการณ์ท่ีเกิดขึ้นเปน็ ปัจจุบัน ( Live Events ) เป็นลักษณะของการ เรยี นร้ทู ่ีเรยี กวา่ “การเรียนแบบประสานเวลา (Synchronous)” จากเหตุการณ์จรงิ หรือสถานการณ์ จาลองทส่ี รา้ งขนึ้ เพือ่ ให้ผู้เรียนมีส่วนรว่ มในการเรียนในช่วงเวลาเดียวกนั เชน่ เหตุการณ์ในการเรียนรู้ ในช้ันเรยี นที่เรียกวา่ “ห้องเรียนเสมือน ( Virtual Classroom )” เปน็ ต้น 2. การเรียนเน้อื หาแบบออนไลน์ (Online Content) เปน็ ลกั ษณะการเรยี นท่ีผเู้ รยี นสามารถ เรยี นรไู้ ด้ด้วยตนเองตามสภาพความพร้อมหรอื อตั ราการเรียนร้ขู องแตล่ ะคน ( Self-paced Learning ) รูปแบบการเรียนเช่นการเรียนแบบสื่อปฏิสัมพันธ์ ( Interactive ) การเรียนจากการสืบค้น ( Internet-Based ) หรอื การฝึกอบรมจากสอื่ CD-ROM เปน็ ต้น 3. การมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ (Collaboration) เป็นสภาพการณ์ทางการเรียนรู้ที่ผู้เรียน สามารถสอ่ื สารข้อมลู ร่วมกันกับผูอ้ ่ืนจากระบบสอื่ ออนไลน์ เชน่ e-Mail ,Chat , Blogs เป็นต้น 4. การวัดและประเมินผล (Assessment) การเรียนลักษณะดังกล่าวต้องมีการประเมินผล ความก้าวหน้าทางการเรียนรู้ของผู้เรียนทุกระยะนับตั้งแต่การประเมินผลก่อนเรียน ( Pre- assessment ) การประเมินผลระหว่างเรียน ( self-paced evaluation ) และการประเมินผลหลัง เรียน (Post-assessment) เพอ่ื นาไปส่กู ารปรับปรงุ พัฒนาการเรียนรใู้ ห้ดีขึน้ ต่อไป

๒๕ 5. วัสดุประกอบการอ้างอิง (Reference Materials) การเรียนหรือการสร้างงานในการ เรียนรู้แบบผสมผสานนั้นต้องมีการเรียนรู้และสร้างประสบการณ์จากการศึกษาค้นคว้า และอ้างอิง จากหลากหลายแหลง่ ข้อมูลเพือ่ เพิม่ คุณภาพทางการเรยี นให้สงู ขึ้น ลักษณะดังกลา่ วน้อี าจเปน็ ลักษณะ ของการสืบค้นขอ้ มลู ในระบบ Search Engine จาก PDA , PDF Downloads เหล่าน้ีเป็นตน้ • ขอ้ ควรคำนงึ ถึงในการผสมผสานวิธสี อนแบบต่าง ๆ 1.ผสู้ อนควรคำนึงถึงจุดประสงคก์ ารสอนเป็นหลักสำคัญ อยา่ ผสมผสานจนบ่อยเกินไป และ อย่าผสมผสานเพยี งเพื่อให้มีการสอนหลาย ๆ แบบเทา่ นัน้ 2.ผู้สอนต้องคำนึงถึงความพร้อมของผู้เรียน และของผู้สอนเองด้วย ผู้สอนต้องเข้าใจและ มองเหน็ ภาพการผสมผสานวา่ สามารถดำเนนิ การได้ดีเหมาะสมเพียงไร ส่วนผู้เรยี นมีความพร้อมที่จะ เรียนโดยวิธเี หล่าน้นั มากน้อยเพยี งใด 3.สถานที่และอุปกรณ์ กเ็ ป็นส่งิ ทตี่ ้องคำนงึ ถึง เพราะการเปล่ียนวิธีสอนหมายถึงการเปลี่ยน บรรยากาศ เปลีย่ นกจิ กรรม อปุ กรณ์และสถานทอี่ าจเปลีย่ นตามไปดว้ ย 3. แนวคดิ และทฤษฎกี ารเรียนรู้ทีเ่ กยี่ วข้อง แนวคิดของการเรยี นแบบผสมผสาน สามารถแบ่งออกเป็น 4 แนวคิดด้วยกนั ได้แก่ 1) แนวคิดผสมผสานเทคโนโลยีการเรยี นการสอนบนเว็บกับการเรียนในชัน้ เรียนแบบดั้งเดิม (to combine or mix modes of web-based technology) เช่น การเรียนในหอ้ งเรยี นเสมอื นแบบ การเรียนดว้ ยตนเอง การเรียนรู้ร่วมกัน วิดีโอสตรีมมิ่ง เสียง และข้อความ เป็นต้น เพื่อให้บรรลุตาม เป้าหมายของการจัดการศึกษา ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดของ Singh ที่ให้นิยามของการเรียนแบบ ผสมผสานไว้ว่า เป็นเรียนโดยใช้การผสมผสานวิธีสอนทีห่ ลากหลายเข้าด้วยกันเพื่อให้ผู้เรียนเกิดผล สมั ฤทธิ์ทางการเรยี นสงู สดุ 2) แนวคิดการผสมผสานวิธีสอนที่หลากหลายเข้าด้วยกัน ( to combine various pedagogical approaches) เช่น แนวคิดสร้างสรรคน์ ิยม (constructivism) แนวคิดพฤติกรรมนิยม (behaviorism) และแนวคิดพุทธินิยม (cognitivism) เพื่อให้ได้ผลลัพธ์จากการเรียนที่ดีที่สดุ ซึ่งอาจ ใช้หรือไมใ่ ช้เทคโนโลยเี ทคโนโลยกี ารสอน (instructional technology) กไ็ ด้ ซึ่งสอดคล้องกบั แนวคิด ของ Bonk and Graham ที่กล่าวว่าการเรียนแบบผสมผสานเป็นการผสมผสานระบบการเรียน (learning systems) ที่หลากหลายเข้าด้วยกันเพื่อเป็นการแก้ปัญหาที่หลากหลายในการเรียน และ สอดคล้องกับแนวคิดของ Carman ที่กล่าวว่าการเรียนแบบผสมผสานเปน็ การผสมผสานทฤษฎีการ เรยี นรู้เข้าดว้ ยกันเพอ่ื ให้บรรลุผลตามวัตถปุ ระสงคข์ องการจัดการเรยี นรู้ 3) แนวคดิ การผสมผสานเทคโนโลยีการเรียนการสอนทุกรูปแบบกับการเรียนการสอนในชั้น เรียนแบบดั้งเดิมที่มีการเผชิญหน้าระหว่างผู้เรียนกับผู้สอน (to combine any form of instructional technology with face-to-face instructor-led training) ซึ่งเป็นมุมมองที่มีผู้ ยอมรบั กันอย่างแพรห่ ลายมากท่ีสุด ซ่ึงสอดคล้องกบั Uwes [12] ทกี่ ลา่ วว่าการเรียนแบบผสมผสาน เป็นการบูรณาการการเรียนแบบเผชิญหน้า การเรียนด้วยตนเอง และการเรียนแบบร่วมมือแบบ ออนไลนเ์ ขา้ ดว้ ยกัน 4) แนวคิดการผสมผสานเทคโนโลยีการเรียนการสอนกับการทำงานจริง (to mix or combine instructional technology with actual job tasks in order to create a harmonious

๒๖ effect of learning and working) ซึ่งสอดคล้องกับ Bersin ที่กล่าวว่าการเรียนแบบผสมผสานเป็น ส่วนหน่งึ ของการฝึกอบรมในองคก์ ร เปน็ การผสมผสานการเรียนผา่ นระบบอเิ ล็กทรอนกิ สแ์ ละสื่ออื่นๆ ในการส่งผ่านความรูใ้ นการเรียนและการฝกึ อบรม จากแนวคิดการจดั การเรยี นการสอนบนเว็บแบบผสมผสานที่กล่าวมาข้างตน้ สามารถสรุปได้ ว่า การเรียนแบบผสมผสาน เป็นรปู แบบการเรยี นท่ีมุ่งเน้นการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนโดยการ สรา้ งสงิ่ แวดล้อมและบรรยากาศในการเรียนรู้ วิธกี ารสอนของผสู้ อน รูปแบบการเรยี นรู้ผเู้ รียน สอ่ื การ เรียนการสอน ช่องทางการส่ือสาร และรูปแบบปฏสิ ัมพนั ธ์ระหว่างผู้เรียนกับผู้สอน ผู้เรียนกบั ผ้เู รียน ผูเ้ รียนกับเนือ้ หาผู้เรียนกับบริบทในการเรียนรู้ทห่ี ลากหลาย และจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนท่ีเน้น ความยืดหยุ่น เพื่อตอบสนองต่อความแตกต่างระหว่างบุคคลของผู้เรียนเพื่อให้ผู้เรียนแต่ละคนได้ ผลลพั ธท์ ่ีดที ่ีสดุ จากการเรียนการสอน • รูปแบบการเรยี นการสอน ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 หมวด 4 แนวการจัดการศึกษา มาตรา 22 การจดั การศกึ ษาตอ้ งยดึ หลักว่า ผเู้ รียนทกุ คนมีความสามารถเรียนรูแ้ ละพัฒนาตนเองได้และถือ ว่าผู้เรียนมีความสำคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษา ต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตาม ธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ การจัดรูปแบบการสอนต้องมีแบบแผนการดำเนินการสอนที่จัดไว้ อย่างเป็นระบบสอดคล้องกับหลักการเรียนรู้ช่วยให้ผู้เรยี นเกิดการเรยี นรูต้ ามจุดมุง่ หมาย โดยทั่วไป รูปแบบการสอนมีหลากหลายวิธี เช่น สอนโดยการบรรยายสอนโดยการสาธิต สอนโดยกำรทดลอง สอนโดยการนิรนัยและการอุปนยั สอนโดย การอภปิ รายกลุ่มย่อย สอนโดยใช้การแสดงบทบาทสมมติ สอนโดยใช้โครงงาน หรือโครงการลักษณะของการจดั ชัน้ เรียนมี 2 แบบคือ ขึ้นอยู่กับผู้สอน และยึด ผู้เรยี นเป็นหลัก • การเรยี นรู้ของคนในศตวรรษท่ี 21 ความกา้ วหนา้ ดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เปน็ ปัจจยั ท่สี ำคัญที่ทำให้การเข้าถึง แหล่งเรียนรู้ได้สะดวก ง่าย หลากหลายชอ่ งทาง สามารถรบั รไู้ ด้ด้วยการอ่าน ฟงั ดู มีการนำเสนอใน รูปแบบอักษรภาพ เสยี ง ภาพเคล่อื นไหว รวมถึงการสร้างสถานการณ์เสมือนจรงิ (Virtual Situation) รวมทั้งการปฏิสัมพันธ์ (Interaction) และสร้างเครือขา่ ยใหส้ ามารถติดตอ่ สื่อสารได้อย่างไร้ขอบเขต ทำให้การเรียนรู้และสมรรถนะของคนในยุคศตวรรษที่ 21 เปลี่ยนไป การเรียนรู้ไม่ได้มีลักษณะเรยี ง เป็นแถวจากความรู้ (knowledge) ไปสู่ความเข้าใจ (comprehension) การประยุกต์ใช้ ( application) ก า ร ว ิ เ ค ร า ะ ห ์ ( analysis) ก า ร ส ั ง เ ค ร า ะ ห ์( synthesis) แ ล ะ ก า ร ป ร ะ เมิน (evaluation)ตามลำดับ แต่การเรียนร้เู ปน็ กระบวนการเรยี นรู้เนอื้ หาไปสคู่ วามเข้าใจแท้จริงในระดับที่ นำไปใช้ได้ในสถานการณ์จริง เรียนรู้เนื้อหาพร้อมๆ กับการใช้ประโยชน์ในสถานการณ์จริง ผลการ เรียนรู้คือจำได้(remember) เข้าใจ (understand) ประยุกต์ใช้ (apply) วิเคราะห์ (analyze) ประเมิน(evaluate) และสร้างสรรค์ (create) โดยที่ขั้นตอนเหล่านี้เกิดพร้อมๆ กันได้หรืออะไรเกิด ก่อนเกิดหลังได้ทั้งสิ้น รวมทั้งเรียงลำดับจากหลังไปหน้าก็ได้ โดยสมรรถนะที่สำคัญของผู้เรียนมี 5 ด้านได้แก่ ความสามารถในการสื่อสาร ความสามารถในการคิด ความสามารถในการแก้ปัญหา ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ิต และความสามารถในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ 4. การพัฒนา Blended Learning

๒๗ • ความเป็นมาและพัฒนาการเรยี นรูเ้ ชิงผสมผสาน การเรียนรู้แบบผสมผสาน ( Blended Learning ) เป็นกระบวนการเรียนการสอนที่มี พัฒนาการมาอยา่ งตอ่ เนื่องจากการเรยี นการสอนแบบเดิมท่ีใช้วิธกี ารเรยี นรูแ้ บบเผชิญหน้าที่ผู้เรียน และผู้สอนตา่ งมปี ฏิสมั พันธ์และไดร้ ับประสบการณ์ตรงซง่ึ กันและกนั โดยเฉพาะอยา่ งยิ่งการเรียนรู้ใน ระบบชั้นเรียนปกติ เป็นสภาพแวดล้อมทางการเรียนรู้ที่เรียกว่า The traditional face-to-face learning environment จวบจนกา้ วยา่ งสู่ยุคการเรียนรู้แบบทางไกล( Distance Learning )ผ่านสื่อ การเรียนรู้ทางไกลที่ถูกจัดขึ้นในการเสริมประสบการณ์ทางการเรียน ซึ่งลักษณะดังกล่าวนี้จะทาให้ รูปแบบและลักษณะการเรียนการสอนแบบเผชิญหน้าจะลดบทบาทลงไปค่อนข้างมาก ผู้เรียนและ ผู้สอนไม่จาเปน็ ตอ้ งจดั ประสบการณ์ทางการเรียนรู้ร่วมกันในชั้นเรียนปกติอีกต่อไป แต่สามารถที่จะ เกดิ การเรียนรไู้ ดท้ กุ แห่งทัง้ ในและนอกช้ันเรยี น จนกระท่งั วิวฒั นาการของคอมพิวเตอร์ในโลกแห่งการ เรียนรู้ปัจจุบันที่เรียกว่ายุค Web.2 ที่ได้มีอิทธิพลต่อการศึกษาค่อนข้างมาก ประสิทธิภาพของ สื่อคอมพิวเตอร์ที่เกิดพัฒนาการทางการเรียนจากการเรียนการสอนบนเว็บไซต์ (Web -based Instruction ) ไดก้ ่อใหเ้ กิดการเปลยี่ นแปลงครั้งใหญใ่ นกระบวนทัศน์ของการเรยี นการสอน นามาซึ่ง • การทำงานของ Blended Learning สื่อแต่ละประเภทมีทัง้ จุดเด่นและจุดด้อยอยู่ในตวั การที่จะทำให้ Blended Learning นั้นมี ความสามารถที่มากขึ้นเต็มความสามารถของการผสมผสานนั้น อาจจะเริ่มต้นที่จะมองหาสื่อต่างๆ ทั้งหมด ไม่ว่าจะเป็น การฝึกอบรมในชั้นเรียน ,การฝึกอบรมผ่านทางเครือขา่ ย ,การสัมมนาผ่านทาง เครือข่าย, ชดุ การเรยี นการสอนดว้ ย CD-ROM หรือแบบจำลองสถานการณก์ ารเรียนร้ตู า่ ง ๆ สอ่ื ต่างๆ นนั้ คือความน่าต่นื เต้นเล็กนอ้ ย แตท่ ส่ี ำคัญจะตอ้ งรวม หนังสอื เอกสารตา่ ง ๆ • การวางแผนการจัดการเรยี นการสอนแบบ Blended Learning ควรคำนงึ ถงึ สิ่งต่างๆ ดงั น้ี 1. จะใช้ computer และ internet ในการสอนอยา่ งไร 2. จะวางแผนการสอนอย่างไร 3. จะควบคุมสิ่งตา่ งๆทเ่ี กิดขนึ้ จากการเรียนรู้แบบนีอ้ ยา่ งไร 4. จะใชแ้ หล่งเรยี นรู้ online ใหเ้ กิดประสิทธิผลอยา่ งไร 5. จะใชแ้ รงจูงใจและชว่ ยเหลือสนบั สนุนผเู้ รยี นอยา่ งไรบ้าง 6. จะใหผ้ เู้ รยี นทำงานกลมุ่ อย่างไร 7. จะสร้างองคป์ ระกอบของการสอนแบบ fact-to-face ได้อย่างไร 8. จะเสรมิ การเรียนรูแ้ บบออนไลน์ได้อย่างไร • การออกแบบการจดั การเรยี นการสอนแบบ Blended Learning ในการออกแบบการเรยี นการสอนแบบผสมผสานใหป้ ระสบผลสำเร็จในการจัดการเรียนรู้น้ัน นักออกแบบการเรียนการสอน (instructional designer) ต้องคำนึงถึงจุดประสงค์ของการเรียนท่ี กำหนดไว้ ระยะเวลาในการเรียน รวมถงึ ความแตกตา่ งของรปู แบบการเรยี นรู้ และรปู แบบการคิดของ ผู้เรียนเพื่อใช้เป็นขอ้ มูลพ้ืนฐานในการออกแบบกิจกรรมการเรยี นการสอน การออกแบบบทเรียน และ การประเมนิ ผลการเรียน จากจุดเด่นของการเรยี นการสอนแบบผสมผสานที่ทำใหค้ วามสมั พันธแ์ ละปฏิสัมพันธ์ระหว่าง ผู้เรียนกับผู้สอนและเพื่อนผู้เรียนคนอื่นๆ ทำให้ผู้เรียนและผู้สอนใกล้ชิดกันมากขึ้นทำให้ผู้เรียน

๒๘ สามารถแลกเปลี่ยนประสบการณ์ระหว่างกันได้โดยสะดวก สามารถเข้าใจเพื่อนร่วมชั้นเรียนและ เคารพเพื่อนร่วมชั้นเรียนมากขึ้น ส่งผลให้ผู้เรียนมีความมั่นใจในตนเองมากขึ้น นอกจากนี้ผู้เรียนยัง ไดร้ บั ผลปอ้ นกลับจากการเรียนไดโ้ ดยทันที ซ่ึงเปน็ การส่งเสริมพฒั นาการในการเรียนของผเู้ รยี นแต่ละ คนให้เต็มตามศักยภาพที่ผู้เรียนแต่ละคนมี มีผู้เสนอแนวทางในการออกแบบบทเรียนบนเว็บแบบ ผสมผสาน ดังนี้ The Training Place เสนอแนวทางในการพัฒนารูป แบบการจัดการเรียนการสอน บนเว็บแบบผสมผสาน โดยพัฒนาจากรูปแบบการออกแบบระบบการเรียนการสอน ADDIE ประกอบด้วย 5 ขั้นตอน ดงั น้ี ขนั้ ที่ 1 การวเิ คราะหแ์ ละการวางแผน (Analysis and Planning) ขนั้ ท่ี 2 การออกแบบ (Design Solutions) ขัน้ ท่ี 3 การพฒั นา (Development) ข้นั ที่ 4 การนำไปใช้ (Implementation) ขั้นที่ 5 การประเมินผล (Evaluation) 1. ข้ันวเิ คราะหแ์ ละการวางแผน ประกอบดว้ ย 1.1. การวิเคราะห์ผู้เรียน การปฏิบัติการ องค์กรรูปแบบการเรียน และความต้องการของ ระบบ เพื่อใช้ในการพัฒนาหลกั สตู ร 1.2. วิเคราะหท์ รพั ยากรท่สี นับสนุนต่อการจดั กิจกรรมการเรยี น 1.3. วิเคราะห์ความต้องการของผู้เรียน การวางแผน การนำไปใช้ การทดสอบ และการ ประเมนิ ผล 1.4. การวิเคราะห์แผนงาน กระบวนการทำงานการนำไปใช้ในภาพรวม เพื่อนำไปสู่การส สรา้ งวงจรในการพัฒนาและปรบั ปรุงรูปแบบกระบวนการทำงานที่วางไว้ 1.5. การวิเคราะห์ความตอ้ งการขององคก์ ร 2. ข้นั การออกแบบ ประกอบด้วย 2.1 กำหนดจุดประสงค์การเรยี นรู้ (objectives) 2.2 การออกแบบให้ตอบสนองต่อความแตกต่างระหว่างบุคคลของผู้เรียน (personalization) 2.3 การออกแบบประเภทของการเรยี นรู้ (taxonomy) 2.4 การออกแบบบรบิ ทท่เี ก่ยี วข้อง (local context ) ไดแ้ ก่ บา้ น การทำงาน (on-the-job) การฝกึ ปฏบิ ตั ิ (practicum) ห้องเรียน / หอ้ งปฏบิ ตั กิ าร แ ละการเรียนรู้ร่วม กัน (collaboration) 2.5 การออกแบบผู้เรียน (Audience) ได้แก่ การเรียนด้วยการนำตนเอง (self-directed) การเรียนแบบเพื่อนช่วยเพื่อน (peer-to-peer) การเรียนแบบผู้ฝกึ สอนและผู้เรียน(trainer-learner) และการเรยี นแบบผูใ้ หค้ ำปรึกษากับผเู้ รียน(mentor-learner) 3. ขน้ั การพัฒนาการพัฒนาการเรยี นแบบผสมผสาน ประกอบด้วย 3องคป์ ระกอบ ดังน้ี 3.1 องค์ประกอบแบบไม่ผสานเวลา (asynchronous) ได้แก่ ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ กระดานข้อความ เวทีเสวนาและการสนทนาแบบปฏิสมั พนั ธ์ เคร่ืองมอื ที่ใช้องคค์ วามรูเ้ ปน็ ฐาน ระบบ อิเลก็ ทรอนิกสเ์ พือ่ สนับสนุนการเรยี น (EPSS) ระบบบรหิ ารจดั การเนอ้ื หาเรียนรู้ ระบบบริหารจัดการ เรียนรู้ เครอ่ื งมอื นพิ นธเ์ ว็บ บราวเซอร์ ระบบติดตามความก้าวหน้าของผู้เรยี น บทความ เวบ็ ฝึกอบรม

๒๙ การติดตามงานที่มอบหมาย การทดสอบ การทดสอบกอ่ นเรียนการสำรวจ การช้ีแนะแบบมีส่วนร่วม เครือ่ งมืออำนวยความสะดวกในการเรยี นรู้ และการประชุมท่มี ีการบนั ทกึ เสียงและฟงั ซำ้ ได้ 3.2 องค์ประกอบแบบผสานเวลา (synchronous) ได้แก่ การประชุมผ่านเสียง การประชุม ผา่ นวดี ที ศั น์ การประชมุ ผ่านดาวเทยี ม หอ้ งปฏบิ ัตกิ ารแบบออนไลน์ หอ้ งเรยี นเสมอื น การประชุมผ่าน ระบบออนไลน์ และการอภปิ รายออนไลน์ 3.3 องค์ประกอบแบบเผชิญหน้า (Face-to-Face) ได้แก่ ห้องเรียนแบบดั้งเดิม หอ้ งปฏิบัตกิ าร การเผชญิ หนา้ การประชุม การเรียนแบบเพื่อนชว่ ยเพ่อื น มหาวิทยาลยั ท่ีปรึกษา กลุ่ม ผู้เชี่ยวชาญ ทีมสนบั สนุน และการแนะนำในการเรยี น 4. ขั้นการนำไปใช้ ในการนำระบบการเรยี นการสอนบนเวบ็ แบบผสมสานไปใช้ ตอ้ งกำหนดประเดน็ แนวทางการ นำไปใช้ การวางแผนการนำไปใช้ การวางแผนการใช้เทคโนโลยี และการวางแผนในประเด็นอืน่ ๆ ที่ อาจเกยี่ วข้องใหช้ ัดเจน เพอ่ื ใหผ้ ู้ทีเ่ กยี่ วข้องกับการนำระบบการเรียนการสอนบนเว็บแบบผสมสานไป ใช้ ได้แก่ ผู้เรียน เพื่อนร่วมเรียน ผู้สอน และสถาบันการศึกษา เกิดการยอมรับและมีความเข้าใจที่ ถูกต้อง เพ่ือใหก้ ารจดั การเรียนการสอนบนเวบ็ แบบผสมผสานบรรลเุ ป้าหมายทกี่ ำหนดไว้ 5. ขัน้ ประเมินผล การวดั และการประเมนิ ผลสำหรบั การจัดการเรียนการสอนบนเว็บแบบผสมสาน ทำโดยการ ประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (achieve objectives) ของผู้เรียนโดยเทียบกับเกณฑ์มาตรฐาน รวมถงึ การประเมนิ งบประมาณคา่ ใช้จา่ ยในการพัฒนาระบบการเรียนการสอน 6. ปัจจัยสำคัญในการออกแบบระบบการเรียนการสอนบนเว็บแบบผสมผสาน ปัจจัยสำคัญที่ควร คำนึงถึงในการออกแบบระบบการเรียนการสอนแบบผสมผสานให้ประสบผลสำเร็จ ประกอบด้วย 4 ปัจจัย คือ 6.1 ปัจจัยด้านผูเ้ รียน (audience) เน่ืองจากความแตกต่างระหว่างบุคคลของของผู้เรียนนัก ออกแบบการเรยี นการสอนควรออกแบบบทเรยี นใหม้ ีรปู แบบยืดหยุ่น และมคี วามหลากหลาย เพ่ือให้ ให้สอดคล้องกับวิธีการเรียน รูปแบบการเรียนรู้ รูปแบบการคิด ความสามารถในการเรียนรู้ และ บุคลกิ ภาพของผู้เรยี นแต่ละคน เพอ่ื ใหผ้ เู้ รียนทม่ี ีความแตกต่างกนั เกิดการเรยี นรูไ้ ด้อย่างเท่าเทียมกัน ตามศักยภาพของตนเอง 6.2 ปัจจัยด้านเนื้อหา (content) เนื่องจากเนื้อหาที่ใช้ในการเรียนการสอนมีความความ แตกต่างกัน ดังนั้นนักออกแบบการเรียนการสอนควรออกแบบกิจกรรมการเรียนให้สอดคล้องกับ ลักษณะเน้อื หา เพอ่ื ใหผ้ ู้เรียนเกดิ การเรียนรู้ได้ดีที่สดุ เนอ้ื หาท่ีเหมาะสมกบั การเรียนแบบออนไลน์ คือ เนื้อหาที่มีระดับความยากไม่มากนัก และเนื้อหาที่เหมาะสมกับการเรียนในห้องเรยี น คือ เนื้อหาที่มี ความซับซอ้ น ต้องการคำอธบิ ายเพอื่ ความกระจ่างในการเรยี นจากผ้สู อน และการฝกึ ปฏบิ ัตกิ าร 6.3 ปัจจัยด้านระบบโครงข่ายพื้นฐาน (infrastructure) เนื่องจากความสามารถในเข้าถึง ระบบการจัดการเรียนรู้บนเว็บแบบผสมผสานที่แตกต่างกัน นักออกแบบการเรียนการสอนควร ออกแบบบทเรียนโดยคำนึงถึงความสามารถของระบบโครงข่ายพื้นฐาน ประกอบด้วย ความเสถียร ของระบบการเชื่อมต่อกับระบบเครือข่าย ความเร็วในการส่งผ่าน รับและส่งข้อมูล รูปแบบของสื่อ สำหรับบทเรยี นบนเว็บ เปน็ ต้น

๓๐ 5. การประยุกต์ใชส้ ื่อเพอื่ การจดั กระบวนการเรยี นรูแ้ บบบูรณาการ อดีต ปัจจบุ ันและอนาคตของการใช้การเรียนรูแ้ บบผสมผสาน ในอดีตการจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียนรู้ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในชั้นเรียน และการเรียนการสอนภายนอกชั้นเรียนโดยใช้คอมพิวเตอร์เป็นสื่อมีความแตกต่างกัน ทั้งการใช้สื่อ วธิ ีการสอน ลกั ษณะของกลมุ่ ผู้เรียนท่ีแตกต่างกนั โดยการเรยี นในชั้นเรยี นแบบเผชญิ หน้าจะมีครูเป็น ผดู้ ูแลและควบคุมสิ่งแวดล้อมทางการเรยี นการสอนให้แก่กลุ่มผู้เรียน มีปฏสิ มั พันธ์ทางสังคมระหว่าง บุคคลในชั้นเรียน โดยกิจกรรมที่เกิดขึ้นเป็นแบบประสานเวลา ส่วนการจัดสภาพแวดล้อมทางการ เรียนรู้โดยใช้คอมพิวเตอร์เป็นสื่อนั้นคือลักษณะของการเรียนการสอนทางไกลโดยเน้นการนำ คอมพิวเตอร์มาช่วยสนับสนุนการเรียนรู้เพื่อตอบสนองอัตราการเรียนรู้ของผู้เรียนที่แตกต่างกัน ปัจจุบันเทคโนโลยีได้เข้ามามีบทบาทสำคัญเพื่อประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอน และส่งผลต่อการ เปลี่ยนแปลงด้านสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ของผู้เรียน เพื่อให้ผู้เรียนสามารถเข้าถึงเนื้อหาของ บทเรียนได้แมว้ า่ อยู่ภายนอกชั้นเรยี นโดยไร้ข้อจำกัดทางด้านเวลาและสถานที่ นอกจากนี้ยังสามารถ ติดต่อหรือมีปฏิสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมชั้นเรียน และครูผู้สอนได้ โดยใช้ คอมพิวเตอร์และเครือข่าย อินเทอรเ์ น็ตเป็นสือ่ กลางเข้าถึงการเรยี นรู้ นอกเหนือจากการเรียนรู้ภายในชั้นเรียนเพียง อย่างเดียว โดยเครอื ขา่ ยอนิ เทอรเ์ น็ต ยังสามารถสนับสนนุ ให้เกิดการสร้างการเรยี นรู้ในรปู แบบสังคมเสมือน, การ สนับสนุนให้เกิดการเรียนรู้แบบร่วมมือ, การสนับสนุนให้เกิดการโต้ตอบ รับข้อมูลข่าวสารจาก หลากหลายช่องทาง ทั้งการสนทนาผา่ นเครอื ข่าย (Chat) การใช้กระดานสนทนา (Web board) การ สนทนาเฉพาะกลุ่ม (Newsgroup) การส่งข้อความ (E-mail) เป็นต้น ดังนั้นการจัดการเรียนรู้แบบ ผสมผสานจึงเปน็ รปู แบบการจัดการเรียนทน่ี ่าสนใจ และมบี ทบาทสำคญั เพื่อพฒั นาผเู้ รยี นทัง้ การเรียน ภายในช้นั เรยี นและการเรียนนอกช้นั เรียน แนวโนม้ ในอนาคตการศกึ ษาคน้ คว้าวิจัยเก่ียวกับรูปแบบทีเ่ หมาะสมในการนำเทคโนโลยีเข้า มาใช้ในการศึกษา ยังพัฒนาไปอย่างไมห่ ยดุ ยั้งพร้อมกับลักษณะของการเรยี นที่เป็นระบบการเรยี นรู้ แบบผสมผสานเป็นส่วนใหญ่ การ ประยุกต์ใช้ประโยชน์จากเครือข่าย อุปกรณ์ เครื่องมือ และ คอมพิวเตอร์ ทั้งทางด้านซอฟต์แวร์และฮาร์ดแวร์ มาเติมเต็มทั้งทางด้านความรู้และสังคมเพื่อให้ มนุษย์มีปฏิสัมพนั ธ์กันได้คล้ายคลึงกับการเรียนการสอนแบบเผชิญหน้า แต่สามารถเรียนจากสื่อที่มี ความหลากหลายโดยไม่จำกัดสถานที่ โดยใชร้ ปู แบบการผสมผสานกนั อย่างเหมาะสมกับ เนื้อหาวิชา ลักษณะผ้เู รยี น และกจิ กรรมการเรยี น เบล็นเด็ด เลินน่งิ หมายถึง กระบวนการเรียนรู้ ท่ีผสมผสานรูปแบบการเรียนรู้ที่หลากหลาย ไม่วา่ จะเปน็ การเรียนรู้ที่เกิดขนึ้ ในห้องเรียน ผสมผสานกับการเรียนรูน้ อกห้องเรียนท่ีผู้เรียนผู้สอนไม่ เผชญิ หนา้ กัน หรอื การใช้แหลง่ เรียนรู้ท่ีมีอยู่หลากหลาย กระบวนการเรียนรแู้ ละกิจกรรมเกิดข้ึนจาก ยทุ ธวิธี การเรยี นการสอนที่หลากรูปแบบ เปา้ หมายอยู่ท่ีการให้ผู้เรียนบรรลุเป้าหมายการเรียนรู้เป็น สำคญั การสอนด้วยวิธีการเรียนรู้แบบผสมผสานนั้น ผู้สอน สามารถใช้วิธีการสอน สองวิธีหรือ มากกว่า ในการเรียนการสอน เช่น ผู้สอนนำเสนอเนื้อหาบทเรียนผ่านเทคโนโลยีผนวกกับการสอน แบบเผชิญหน้า แต่หลังจากนั้นผู้สอนนำเนื้อหาบทความแขวนไว้บนเว็บ จากนั้นติดตามการดำเนิน กิจกรรมการเรยี นการสอนโดยใชอ้ ีเลนิ น่ิง ดว้ ยระบบแอลเอ็มเอส (Learning Management System

๓๑ ) ดว้ ยเครอื่ งคอมพิวเตอรใ์ นหอ้ งแล็บ หลังจากน้ันสรปุ บทเรยี น ดว้ ยการอภิปรายรว่ มกบั อาจารย์ผู้สอน ในหอ้ งเรียน \"Blended learning เป็นสิ่งสำคญั ของการศึกษาและเทคโนโลยี ,blended learning มีการ ใช้งานที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว,เป็นการบูรณาการระหว่างการเรียนในชั้น เรียนและการเรียนแบบ ออนไลน์,สามารถช่วยส่งเสริมการเรยี นร้ขู องผเู้ รยี นและ การใชเ้ วลาในช้นั เรียนได้เหมาะสม\" จากเวบ็ gotoknow.org ใหค้ วามหมายของการเรียนแบบผสมผสานวา่ การเรยี นแบบผสมผสาน (Blended learning)การเรียนแบบผสมผสาน เปน็ การรวมกันหรือ นำส่ิงต่างๆมาผสม โดยทีส่ งิ่ ท่ีถกู ผสมนน้ั คือ 1. รูปแบบการเรียนการสอน 2. วิธกี ารเรยี นการสอน 3. การเรยี นแบบออนไลน์ รูปแบบการเรียนการสอนในชั้นเรียนการเติบโตของการเรียนแบบผสมผสานต้ังแต่ อดีต ปัจจุบันและอนาคตการเรียนรู้แบบผสมผสาน โดยในอดีตนั้น การเรียนแบบผสมผสานคือส่วนทีไ่ ด้มี การรวมเข้าหากันจาก 2 รูปแบบสภาพแวดล้อมของการเรียนแบบเดิม นั้นก็คือ การเรียนแบบ เผชิญหน้าในชั้นเรียนกับ การเรียนแบบออนไลน์ ซึ่งในอดีตนั้นการเรียนทั้ง 2 รูปแบบจะมีช่องว่าง หรือระยะห่างระหว่างกันค่อยข้างมาก คือจะมีการจัดการเรียนการสอนเฉพาะของตัวเองมีรูปแบบ และการดำเนนิ การในรปู แบบที่ตา่ งกนั เพราะว่าต่างก็ใช้ส่ือและเคร่ืองมือท่ี แตกต่างกัน และมีสถานที่ ในการเรียนที่แตกต่างกันเพราะมีกลุ่มผู้เรียนที่ต่างกันด้วย แต่ในขณะเดียวกันนั้นการเรียนแบบ ทางไกลก็กำลงั มีการเตบิ โตและแผ่ขยายอย่าง รวดเร็วซึ่งได้เขา้ มาในรปู ของเทคโนโลยีใหม่ ที่มีความ เป็นไปได้อย่างสูงที่การเรียนแบบออนไลน์นั้นจะมีการแผ่ขยายเข้ามา สู่การเรียนในชั้นเรียนอย่าง รวดเร็วในปัจจบุ ันการเรยี นแบบออนไลน์น้นั ได้ เข้ามามีสว่ นร่วมในการติดต่อสอ่ื สารและมีปฏิสัมพันธ์ รว่ มในการเรยี นการสอนใน ชัน้ เรยี นเกิดเปน็ การเรยี นแบบผสมผสานขึน้ มาซ่ึงคาดว่าในอนาคตนั้นการ เรียน แบบผสมผสานจะมกี ารขยายตัวท่ีมากขึน้ ตามรูปแบบการเรียนแบบออนไลน์ท่ีจะมีการ เติบโต ขึ้นมากกว่าปจั จุบัน จึงส่งผลให้การเรียนแบบผสมผสานนั้นมีการขยายวงกว้างออกไปจากเดิมยิ่งขึ้น อีก ดว้ ย ขอ้ ดี-ขอ้ เสยี การเรียนแบบผสมผสานสรุป Blended Learning การเรียนการสอนแบบผสมผสาน ความหมายและความสำคญั 1.การเรียนแบบผสมผสาน (blended learning) เป็นการเรียนที่ใช้กิจกรรมที่ต้องออนไลน์ และการพบปะกันในห้องเรียนจริง (hybrid) โดยใช้สื่อที่มีความหลากหลายเหมาะกับบริบทและ สถานการณ์ การเรียนรู้ เพ่อื ตอบสนองความแตกต่างระหวา่ งบุคคล 2.การเรียนแบบผสมผสาน เป็นการรวมกันหรือนำสิ่งต่าง ๆ มาผสม โดยที่สิ่งที่ถูกผสมนั้น การเรยี นอาจจะเรียนในหอ้ งเรยี น 60% เรยี นบนเว็บ 40% ไม่ไดม้ ีกฎตายตัวว่าจะต้องผสมผสานกัน เท่าใด เช่น- รวม รูปแบบการเรียนการสอน- รวม วิธีการเรียนการสอน-รวม การเรียนแบบออนไลน์ และรปู แบบการเรียนการสอนในช้ันเรยี น

๓๒ 3. การเรียนแบบผสมผสาน (Blended learning) การเติบโตของการเรียนแบบผสมผสาน ตงั้ แตอ่ ดตี ปจั จบุ นั และอนาคตการเรยี นรู้แบบผสมผสาน โดยในอดตี น้นั การเรียนแบบผสมผสานคือ สว่ นที่ไดม้ ีการรวมเข้าหากนั จาก 2 รปู แบบ 3.1 สภาพแวดล้อมของการเรยี นแบบเดิม น้นั ก็คอื การเรยี นแบบเผชญิ หน้าในชัน้ เรยี น 3.2 การเรียนแบบออนไลน์ ซึง่ ในอดีตนั้นการเรียนทง้ั 2 รูปแบบจะมีช่องว่างหรือระยะห่าง ระหว่างกันค่อยข้างมาก คือจะมีการจัดการเรียนการสอนเฉพาะของตัวเองมีรูปแบบ และการ ดำเนินการในรูปแบบที่ต่างกันเพราะว่าตา่ งก็ใช้ส่ือและเครื่องมือท่ี แตกต่างกัน และมีสถานที่ในการ เรียนที่แตกต่างกันเพราะมีกลุ่มผู้เรียนที่ต่างกันด้วย แต่ในขณะเดียวกันนั้นการเรียนแบบทางไกลก็ กำลงั มกี ารเตบิ โตและแผ่ขยายอยา่ ง รวดเรว็ ซึง่ ไดเ้ ขา้ มาในรูปของเทคโนโลยีใหม่ ที่มีความเป็นไปได้ อย่างสูงที่การเรียนแบบออนไลน์นั้นจะมีการแผ่ขยายเข้ามา สู่การเรียนในชั้นเรียนอย่างรวดเร็วใน ปัจจุบันการเรียนแบบออนไลน์น้ันได้ เข้ามามีส่วนร่วมในการติดต่อสื่อสารและมีปฏิสัมพันธ์ร่วม ใน การเรยี นการสอนในชนั้ เรียนเกิดเปน็ การเรียนแบบผสมผสานข้ึนมาซ่ึงคาดวา่ ใน อนาคตน้ันการเรียน แบบผสมผสานจะมีการขยายตัวที่มากขึ้นตามรูปแบบการเรียน แบบออนไลน์ที่จะมีการเติบโตข้ึน มากกว่าปัจจุบัน จึงส่งผลให้การเรียนแบบผสมผสานน้ันมีการขยายวงกว้างออกไปจากเดิมยิ่งขึ้นอกี ดว้ ย สรุป 1. การเรียนการสอนแบบผสมผสาน Blended Learning เป็นการเรียนรู้แบบผสมผสาน หลากหลายวิธี เพ่อื ให้ผู้เรยี นได้มีการเรยี นรู้ท่ีหลากหลาย และเพื่อผู้เรียนไดพ้ ฒั นาเตม็ ศักยภาพเหมาะ กับบริบทและสถานการณ์ การเรียนรูแ้ ละตอบสนองความแตกต่างระหว่างบคุ คลเกิดการเรียนรู้และ เกิดทักษะ ด้านการปฏิบัติ (Practice Skill )โดยใช้เทคโนโลยี เช่น การเรียนการสอนในชั้นเรียน ร่วมกับการเรียนการสอนแบบออนไลน์(a combination of face-to-face and Onine Learning) การเรียนแบบหมวก 6 ใบ, สตอรไ่ี ลน์ จดุ ม่งุ หมายสงู สุดอยู่ท่ีผู้เรียน โดยอัตราส่วนการผสมผสาน จะ ขึ้นอยู่กับลักษณะเน้ือหา และการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน กรณี - ครูผู้สอนสั่งงานทาง e-mail หรือ chatroom หรือ webbord ถือเป็นการเรียนรู้แบบผสมผสาน- ครูสั่งให้ส่งงานเป็นรูปเล่ม รายงานถือว่าเป็นการเรียนรู้แบบผสมผสานเช่นกัน เพราะต้องไปค้นคว้าสืบค้นข้อมูลและนำมา อภิปราย สรุป เนอ้ื หาเปน็ แนวเดียวกัน ผ้เู รียนทกุ คนเข้าใจตรงกนั 2. การใชง้ านจริง ณ ขณะน้ี สรปุ การใช้ Blended Learning ในองคก์ ร หรือบริษัท ช่วยใน การประชุม การสั่งงาน โดยมีการเชื่อมต่ออินเทอรเ์ นต็ ระบบเครอื ข่าย ส่วนมาก นิยมใช้ระบบ LMS เปน็ ระบบการบริหาร ผา่ น Sever เป็นระบบเครือข่ายผู้ใช้งานในระบบ 2.1 กลุ่มผบู้ ริหาร Administrator ทำหน้าทีด่ ูแลระบบ 2.2 ครู อาจารย์ Instructor/ teacher ทำหน้าทีส่ อน 2.3 กลุ่มผู้เรียน Student /Guest นักเรียน นักศึกษาสำหรับขั้นตอนการออกแบบการ เรยี นรแู้ บบผสมผสานของ Beijing Normal University (BNU) ประกอบดว้ ย 3 ข้นั ตอนหลักดงั นี้ 1. ขั้นก่อนการวิเคราะห์ (Pre-Analysis) เป็นขั้นตอนแรกของการออกแบบการเรียนรู้แบบ ผสมผสาน ประกอบการพิจารณาข้อมลู ทว่ั ๆ ไป ไดแ้ ก่ 1.1 การวิเคราะหค์ ณุ สมบัตขิ องผเู้ รยี น

๓๓ 1.2 การวเิ คราะห์วัตถุประสงคใ์ นการเรยี นรู้ 1.3 การวเิ คราะห์สภาพแวดลอ้ มของการเรียนรู้แบบผสมผสานผลลัพธ์ท่ีได้จากขั้นตอนแรก จะเปน็ รายงานผลที่จะนำไปใชใ้ นขัน้ ตอ่ ไป 2. ขั้นการออกแบบกิจกรรมและการออกแบบวัสดุการเรียนรู้ (Design of Activity and Resources) เป็นขั้นตอนที่สองที่นำผลลัพธ์ที่ได้จากขั้นตอนแรกมาออกแบบกิจกรรมและวัสดุ การ เรียนรู้ ซึ่งจำแนกออกเป็น 3 สว่ นยอ่ ย ๆ ไดแ้ ก่ 2.1 การออกแบบภาพรวมของการเรยี นรู้แบบผสมผสาน ประกอบด้วย 1.กจิ กรรมการเรียนรูแ้ ตล่ ะหนว่ ยเรียน 2.กลยุทธก์ ารนำส่งบทเรยี นในการเรียนรแู้ บบผสมผสาน 3.ส่วนสนับสนนุ การเรียนรู้แบบผสมผสาน 2.2 การออกแบบกจิ กรรมแต่ละหนว่ ยเรียนประกอบด้วย 1.นิยามผลการกระทำของผู้เรยี น 2.กิจกรรมในแต่ละวัตถปุ ระสงค์ 3.การจดั กลุ่มของกิจกรรมท้ังหมด 4.การประเมนิ ผลในแต่ละหนว่ ยเรยี น 2.3 การออกแบบและพัฒนาวัสดุการเรียนรู้ประกอบดว้ ย 1.การเลือกสรรเนอ้ื หาสาระ 2.การพฒั นากรณตี า่ ง ๆ 3.การนำเสนอผลการออกแบบและการพัฒนาผลทไ่ี ด้จากขน้ั ตอนที่สอง จะเป็นรายละเอียด ของการออกแบบบทเรยี นในแตล่ ะส่วน 3. ขั้นการประเมินผลการเรยี นการสอน (Instructional Assessment) เป็นขั้นตอนสุดท้าย ในการออกแบบการเรียนรู้แบบผสมผสานประกอบด้วย 3.1 การประเมินผลขั้นตอนการเรียนรู้ 3.2 การจัดการสอบตามหลกั สูตร 3.3 การประเมินผลกจิ กรรมทง้ั หมดผลทีไ่ ด้จากขนั้ ตอนสุดท้าย จะนำไปพิจารณาตรวจปรับ กระบวนการออกแบบในแต่ละขั้นที่ผ่านมาทั้งหมด เพื่อให้การเรียนรู้แบบผสมผสานมีประสิทธิภาพ และเกดประสทิ ธผิ ลกบั ผู้เรียน อยา่ งแทจ้ ริง ข้ันตอนการออกแบบการเรียนรูแ้ บบผสมผสาน การเรยี นรู้แบบผสมผสานมสี ง่ิ ต่างๆจะตอ้ งพิจารณา ดงั นี้ 1. เพ่มิ ทางเลือกของวิธกี ารนำส่งการเรยี นรไู้ ปยังผู้เรยี นใหม้ ีความหลากหลายมากข้นึ จะเป็น ปัจจยั สำคญั สำหรับผู้ออกแบบ 2. เกณฑ์การตัดสินความสำเร็จในการเรียนรู้แบบผสมผสานไม่ได้มีเพียงเกณฑ์เดียว เช่น รปู แบบการเรียนรแู้ ละวธิ ีการเรยี นรู้ ซงึ่ สามารถนำมาพิจารณาร่วมกนั ได้ 3. การออกแบบการเรยี นรู้แบบผสมผสานจะต้องพจิ ารณาประเดน็ ของความเร็วในการเรียน รู้ ขนาดของผู้เรียน และการสนับสนุนชว่ ยเหลือผเู้ รยี น

๓๔ 4. สภาพแวดลอ้ มทางการเรยี นของผู้เรยี น จะมีความแตกตา่ งกนั เป็นธรรมชาติซงึ่ การจัดการ เรียนรู้จะตอ้ งสนับสนุนใหผ้ ู้ เรียนบรรลุตามวัตถุประสงค์เปน็ สำคัญ 5.หน้าท่ีของผู้เรียน จะต้องศึกษาและค้นพบตัวเอง เพื่อสร้างสรรค์ความรู้ตามศกั ยภาพของ ตนเอง 6. การออกแบบการเรียนรู้แบบผสมผสานต้องการทีมงานออกแบบที่มีความรู้เรื่องการ ปรับปรงุ ด้านธรุ กจิ ด้วยเชน่ กัน ประโยชน์ ข้อดี 1. แบ่งเวลาเรียนอย่างอิสระ 2. เลือกสถานที่เรียนอยา่ งอิสระ 3. เรยี นดว้ ยระดับความเรว็ ของตนเอง 4. สอื่ สารอย่างใกล้ชดิ กบั ครผู สู้ อน 5. การผสมผสานระหว่างการเรยี นแบบดัง้ เดิมและแบบอนาคต 6. เรียนกบั ส่ือมลั ติมเี ดีย 7. เน้นผู้เรียนเปน็ ศูนย์กลาง Child center 8. ผู้เรียนสามารถมีเวลาในการค้นคว้าขอ้ มูลมาก สามารถวิเคราะห์และสังเคราะหข์ ้อมูลได้ อย่างดี 9. สามารถส่งเสริมความแม่นยำ ถ่ายโอนความรู้จากผูห้ นึ่งไปยังผู้หน่ึงได้ สามารถทราบผล ปฏิบตั ยิ อ้ นกลบั ไดร้ วดเร็ว (กาเย)่ 10. สรา้ งแรงจูงใจในบทเรยี นได้(กาเย่) 11. ให้แนวทางในการจดั กิจกรรมการเรียนการสอนได(้ กาเย)่ 12. สามารถทบทวนความรเู้ ดิม และสืบคน้ ความร้ใู หมไ่ ด้ตลอดเวลา (กาเย)่ 13. สามารถหลกี เล่ียงสิ่งทร่ี บกวนภายในช้ันเรยี นได้ ทำใหผ้ ู้เรียนมสี มาธิในการเรียน 14. ผเู้ รยี นมีช่องทางในการเรียน สามารถเข้าถงึ ผสู้ อนได้ 15. เหมาะสำหรบั ผูเ้ รียนทค่ี อ่ นขา้ งขาดความมัน่ ใจในตัวเอง 16. ใช้ในบริษทั หรือองค์กรตา่ งๆ สามารถลดตน้ ทุนในการอบรม สมั มนาได้ ข้อเสยี 1. ไม่สามารถแสดงความคดิ เหน็ หรอื ถ่ายทอดความคิดเห็นอยา่ งรวดเรว็ 2. มคี วามลา่ ช้าในการปฏสิ มั พันธ์ 3. การมีสว่ นรว่ มนอ้ ย โดยผเู้ รียนไมส่ ามารถมีส่วนร่วมทุกคน 4. ความไม่พร้อมด้าน ซอฟแวร์ Software บางอยา่ งมีราคาแพง (ของจริง) 5. ใชง้ านค่อนข้างยาก สำหรบั ผู้ไมม่ ีความร้ดู า้ น ซอฟแวร์ Software 6. ผูเ้ รยี นบางคนคิดวา่ ไม่คมุ้ ค่าตอ่ การลงทนุ เพราะราคาอปุ กรณค์ ่อนขา้ งสูง 7. ผู้เรียนต้องมีความรู้ ความเข้าใจด้านการใช้งานคอมพิวเตอร์ เพื่อเข้าถึงข้อมูลทาง อินเทอรเ์ นต็ 8. ผเู้ รียนตอ้ งมคี วามรับผิดชอบตอ่ ตนเองอย่างสูง ในการเรยี นการสอนแบบน้ี 9. ความแตกต่างของผเู้ รยี นแต่ละคนเปน็ อปุ สรรคในการเรยี นการสอนแบบผสมผสาน

๓๕ 10. สภาพแวดล้อมไม่เหมาะสมในการใช้เครือข่าย หรือระบบอินเทอร์เน็ต เกิดปัญหาด้าน สญั ญาณ 11. ขาดการปฏสิ ัมพันธแ์ บบ face to faec (เรยี ลไทม์) ความเปน็ ไปได้ในการไปใชง้ านจรงิ ของ Blened Learning การเรยี นการสอนแบบผสมผสาน 1. มกี ารเปล่ียนแปลงไปสูย่ คุ ICT ทำใหม้ กี ารเรยี นรู้ท่ีหลากหลายวธิ ี เชน่ 2 วิธี หรือมากกว่า นั้นได้ 2. ดำเนินกจิ กรรมการเรียนการสอนโดยใช้ e-Learning 3. สามารถนำไปใช้ได้จริงในสถานศึกษา เช่น โรงเรียน หรือมหาวิทยาลัย รวมไปถึง บริษัท องค์กร ต่าง ๆ เพือ่ ประหยดั งบประมาณและตน้ ทุน 4. เป็นไปได้หรือไม่ในการนำไปใช้งานได้จริงขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อม ความเหมาะสมของ องค์ประกอบในการจัดการเรียนการสอน อุปกรณ์ ผเู้ รียน และผสู้ อน จากการเรียนรู้แบบผสมผสานคณะผู้จัดทำสามารถสรุปได้ว่า กระบวนการเรียนรู้ ที่ ผสมผสานรูปแบบการเรียนรู้ท่ีหลากหลาย ไม่ว่าจะเปน็ การเรยี นรทู้ ี่เกิดขน้ึ ในห้องเรียน ผสมผสานกับ การเรียนรู้นอกห้องเรียนที่ผู้เรียนผู้สอนไม่เผชิญหน้ากัน หรือการใช้แหล่งเรียนรู้ที่มีอยู่หลากหลาย กระบวนการเรยี นรแู้ ละกิจกรรมเกิดข้ึนจากยุทธวิธี การเรียนการสอนที่หลากรปู แบบ เป้าหมายอยู่ที่ การให้ผเู้ รยี นบรรลุเป้าหมายการเรียนรู้เปน็ สำคัญ การสอนด้วยวิธีการเรียนรู้แบบผสมผสานนั้น ผู้สอน สามารถใช้วิธีการสอน 2 วิธีหรือ มากกว่า ในการเรียนการสอน เช่น ผู้สอนนำเสนอเนื้อหาบทเรียนผ่านเทคโนโลยีผสมผสานกับการ สอนแบบเผชิญหน้า โดยหลงั จากนั้นผสู้ อนสามารถนำเนือ้ หาบทความไปลงไวบ้ นเว็บไซต์ และติดตาม การดำเนินกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้อีเลิร์นนิ่ง ด้วยระบบแอลเอ็มเอส (Learning Management System) ด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ในห้องแล็ป หลังจากนั้นสรุปบทเรียน ด้วยการ อภปิ รายรว่ มกบั คณุ ครูผูส้ อนในห้องเรยี น

๓๖ บทท่ี 3 วิธีการดำเนินการ รายงานฉบับน้ีคณะผู้จัดทำรายงานมุง่ ท่ีจะศึกษาการเรื่องบทเรยี นคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่าน เวบ็ ตามข้นั ตอนตอ่ ไปนี้ 3.1 การเก็บรวบรวมข้อมูล 3.2 ข้ันตอนการดำเนินการจัดทำรายงาน 3.1 ขั้นตอนการเก็บรวบรวมขอ้ มลู 3.1 คดิ หัวข้อรายงานเพอ่ื นำเสนออาจารย์ประจำวชิ า 3.2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูลและเก็บรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่นา่ สนใจ คือเรื่อง บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนผ่านเว็บว่ามีเนื้อหามากน้อยเพียงใด และต้องศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม เพียงใด และต้องศกึ ษาคน้ ควา้ เพ่ิมเติมจากเวบ็ ไซดต์ ่าง ๆ และเกบ็ ข้อมูลไว้ เพื่อจัดทำเนื้อหาต่อไป 3.3 โดยแบง่ กันอยา่ งเป็นระบบโดยให้ทุกคนทำงานร่วมกันทำงาน 3.4 ศกึ ษารปู แบบการนำเสนอวดิ โี อผา่ น OPS 3.5 ดำเนินนำเสนอวิดโิ อผ่านรูปแบบวดิ โี อ โปรแกรม OPS ในไลฟ์สดเฟซบ๊กุ 3.2 ขน้ั ตอนการดำเนนิ การ 3.2.1 ศึกษาคน้ คว้าเนอื้ หา ภาพที่ 1 ศึกษาคน้ ควา้ เนื้อหา

๓๗ 3.2.1 จัดทำรูปเล่มรายงาน ภาพที่ 2 จัดทำรปู เลม่ รายงานบทที่ 1 ภาพที่ 3 จัดทำรปู เล่มรายงานบทที่ 2

๓๘ ภาพท่ี 4 จัดทำรปู เลม่ รายงานบทที่ 3 ภาพท่ี 5 จัดทำรปู เล่มรายงานบทท่ี 4

๓๙ 3.3 ขัน้ ตอนการบันทกึ งานนำเสนอเปน็ วิดโี อ การบันทึกงานนำเสนอเป็นไฟล์วิดีโอใช้ซอฟต์แวร์ชื่อ OBS Studio โดยใช้วิธีการจับภาพหน้าจอ (Screen Capture) ซงึ่ มวี ิธีการใช้งาน ดังน้ี 3.3.1 เปดิ ใช้งาน OBS Studio จะปรากฏหนา้ ตาโปรแกรม ภาพที่ 6 โปรแกรม OBS Studio หมายเลข 1 คอื Menu bar เมนูหลัก ในการใช้โปรแกรม 2 คือ Monitor หน้าจอแสดงผลการท างาน เราสามารถแสดงผลแบบจอ เดียวหรือสองจอโดยคลกิ ปุม่ Studio Mode ในหน้าต่าง Controls 3 คือ Scene ฉาก เราสามารถสรา้ งฉากได้หลายๆ ฉาก สำหรับไวเ้ ลือกใช้ งาน 4 คือ Sources แหล่งสัญญาณภาพและเสียงที่ใช้ในฉาก เช่น ภาพถ่าย วิดีโอ ภาพจากกล้องวิดีโอ ภาพจากคอมพิวเตอร์ เสียงจากไมโครโฟน เป็นต้น เราสามารถเพิ่ม Sources ได้มากกวา่ หนง่ึ แหลง่ ในแต่ละ Scene 5 คือ Audio Mixer ตัวแสดงและควบคุมสัญญาณเสยี ง 6 คือ Scene Transitions รูปแบบการเปลี่ยน Scene จาก Scene หนึ่ง ไปยังอีกScene หน่งึ 7 คือ Controls แผงควบคุมการเริ่มต้นและสิ้นสุดการสตรีมมิ่งหรือการ บนั ทกึ การต้งั คา่ โปรแกรม การปดิ โปรแกรม

๔๐ 3.3.2 ทำการตัง้ ค่าโปรแกรมโดยคลิกปมุ่ Settings ในหนา้ ตา่ ง Controls ซึ่งมีองค์ประกอบ ทั้งหมด 7 ด้าน ประกอบด้วย General, Stream, Output, Audio, Video, Hotkeys, Advance จะ ปรากฏหน้าต่างโปรแกรม 3.3.3 ทำการเพมิ่ แหล่งข้อมลู ให้กับฉากโดยคลกิ ปมุ่ + ในหน้าตา่ ง Sources ภาพที่ 7 หนา้ ต่าง Sources สำหรบั แหลง่ สัญญาณภาพและเสยี งที่โปรแกรมรองรับ ประกอบด้วย - Audio Input Capture คือ สญั ญาณเสยี งขาเข้าในการบันทึก เชน่ ไมโครโฟน - Audio Output Capture คือ สัญญาณเสียงขาออกในการรบั ฟงั เชน่ ลำโพง หฟู ัง - Browser คอื ภาพจากโปรแกรมอินเทอร์เนต็ เว็บเบราวเ์ ซอร์ - Color Source คือ การสร้างพื้นสีตา่ ง ๆ - Display Capture คอื ภาพจากหนา้ จอคอมพิวเตอร์ (Screen Capture) - Game Capture คอื ภาพจากเกม (นักกีฬา eSport นยิ มใช้ในการไลฟ์สตรีมม่ิง) - Image คอื ภาพถ่ายหรือภาพน่งิ รองรับไฟล์ jpg, bmp, png, gif, tga, psd - Image Slide Show คอื ชุดภาพถา่ ยทีม่ ลี ำดับการนำเสนอต่อเน่อื ง รองรบั ไฟล์ jpg, bmp, png, gif, tga - Media Source คอื ไฟลว์ ดิ โี อ รองรับไฟล์ เช่น mov, mp4, mkv, flv, ts, avi

๔๑ - Scene คือ การเพมิ่ ฉากเข้ามาในอีกฉากหนึง่ - Text (GDI+) คือ การสรา้ งตัวอกั ษรหรอื ข้อความ - VLC Video Source คอื ภาพจากโปรแกรม VLC - Video Capture Device คือ สัญญาณภาพจากอปุ กรณ์ตอ่ พว่ ง เช่น กล้องวิดโี อ, webcam ท้ังน้ตี ้องตรวจสอบวา่ รนุ่ อุปกรณเ์ หลา่ น้นั โปรแกรมรองรบั หรอื ไม่ - Window Capture คอื ภาพจากโปรแกรมคอมพวิ เตอรท์ ่ีเปดิ ใชง้ านอยู่ 3.3.4 เมื่อเตรียมไฟล์นำเสนอเรยี บร้อยแล้ว และต้องการเริ่มทำการบันทึกให้กดปุ่ม Start Recording ในหน้าต่าง Control จากน้นั เริม่ นำเสนอ ภาพท่ี 8 หนา้ ต่างนำเสนอไลฟส์ ดเฟซบุ๊ก


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook