Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ความหลากหลายของชีวิต

ความหลากหลายของชีวิต

Published by เอกลักษณ์ ราชไรกิจ, 2021-03-03 04:05:51

Description: ความหลากหลายทางพันธุกรรม ความหลากหลายทางสปีชีส์ และความหลากหลายของระบบนิเวศทำให้เกิดความหลากหลายทางชีวภาพในปัจจุบัน

Keywords: ครูน๊อต,ความหลากหลายของชีวิต,เอกลักษณ์ ราชไรกิจ

Search

Read the Text Version

Mr.Aekkalak Ratraikit

Mr.Aekkalak Ratraikit

อาณาจักร (Kingdom) ดวิ ชิ ัน (Division) หรือ ไฟลมั (Phylum) คลาสหรือช้ัน (Class) แฟมลิ ห่ี รือวงศ์ (Family) จนี ัสหรือสกลุ (Genus) สปี ชีส์หรือชนิด (species)

การต้งั ชื่อทวนิ าม (Binomial nomenclature)

ชื่อทวินาม (Binomial name) หรือ ชื่อวิทยาศาสตร์ (Scientific name) คือช่ือที่ใชเ้ รียกแทนสิ่งมีชีวิตในสปี ชีส์ต่าง ๆ อยา่ งเป็นทางการ ชื่อ ทวนิ ามจะเป็นภาษาละติน ประกอบดว้ ยคาศพั ท์ 2 คา คือ สกุล และ สปี ชีส์ ซ่ึง ข้ึนอยู่กบั สิ่งมีชีวิตท่ีตอ้ งการระบุ โดยรายละเอียดปลีกย่อยอาจแตกต่างกนั ออกไปบา้ ง

ประวตั ิ ระบบการเรียกช่ือสิ่งมีชีวติ แบบทวนิ าม ถูกคิดข้ึนใชเ้ ป็นคร้ังแรก โดยคสั พาร์ เบาฮีน (Gaspard Bauhin) และโยฮนั น์ เบฮีน (Johann Bauhin) ซ่ึงมีชีวติ ก่อนคาร์ล ลินเนียสเกือบ 200 ปี ทวา่ การใชร้ ะบบน้ียงั จากดั อยใู่ นวงแคบ ซ่ึงในสมยั น้นั ส่วนใหญใ่ ชร้ ะบบการเรียกชื่อสิ่งมีชีวติ แบบ ไตรนาม แต่ต่อมาถึงสมยั ของคาร์ล ลินเนียส ระบบน้ีกเ็ ป็นที่แพร่หลายข้ึนมาก

กฎการต้งั ช่ือ 1. ช่ือทวนิ ามจะเป็นภาษาละติน ประกอบดว้ ยคาศพั ท์ 2 คา คือ สกลุ (Genus) และ คาแสดงคุณลกั ษณะ (Specific epithet) 2. ชื่อทวนิ ามมกั จะถูกพิมพด์ ว้ ยตวั เอียง เช่น Homo sapiens หากเป็น การเขียนดว้ ยลายมือควรขีดเส้นใตล้ งไปแทน 3. คาศพั ทค์ าแรก (ชื่อสกลุ ) ตอ้ งข้ึนตน้ ดว้ ยอกั ษรตวั ใหญ่เสมอ นอกจากน้นั ใช้ อกั ษรตวั เลก็ ท้งั หมด เช่น Canis lupus หรือ Anthus hodgsoni แต่สาหรับสิ่งมีชีวติ ที่ต้งั ชื่อทวนิ ามไวก้ ่อนหนา้ ศตวรรษท่ี 20 และข้ึนตน้ ดว้ ยอกั ษรตวั ใหญอ่ ยแู่ ลว้ ไม่ตอ้ งเขียนเป็นตวั เลก็ อีก เช่น Carolus Linnaeus

4. ในสปี ชีส์ยอ่ ย ช่ือจะประกอบดว้ ยสามส่วนและสามารถเขียนไดส้ องแบบ โดยพืชและสตั วจ์ ะเขียนต่างกนั เช่นเสือโคร่งเบงกอลคือ Panthera tigris tigris และ เสือโคร่งไซบีเรียคือ Panthera tigris altaica ตน้ เอลเดอร์ดายโุ รปคือ Sambucus nigra subsp. nigra และเอล เดอร์ดาอเมริกาคือ Sambucus nigra subsp. canadensis 5. ในตาราเรียน มกั มีช่ือสกลุ ยอ่ หรือชื่อสกลุ เตม็ ของนกั วทิ ยาศาสตร์ผจู้ ดั ทา ช่ือน้นั ต่อทา้ ย โดยชื่อสกลุ ยอ่ ใชก้ บั พชื ส่วนช่ือสกลุ เตม็ ใชก้ บั สตั ว์ ในบาง กรณีถา้ ชื่อสปี ชีส์เคยถูกกาหนดใหช้ ื่อสกลุ ที่ต่างออกไปจากชื่อในปัจจุบนั จะ คร่อมช่ือสกลุ นกั วทิ ยาศาสตร์กบั ปี ที่จดั ทาไว้ เช่น Amaranthus retroflexus L., Passer domesticus (Linnaeus, 1758) ที่ใส่วงเลบ็ เพราะในอดีตช่ือหลงั อยใู่ นสกลุ Fringilla

6. หากใชก้ บั ช่ือสามญั เรามกั ใส่ช่ือทวนิ ามไวใ้ นวงเลบ็ ต่อทา้ ยชื่อสามญั เช่น \"นกกระจอกบา้ น (Passer domesticus) กาลงั มีจานวนลดลงอยา่ งน่า ตกใจ\" 7. การเขียนช่ือทวนิ ามเป็นคร้ังแรกในรายงานหรือส่ิงพิมพ์ เราเขียนเป็นชื่อ เตม็ ก่อน หลงั จากน้นั เราสามารถยอ่ ช่ือสกลุ ใหส้ ้นั ลงเป็นอกั ษรตวั แรกของชื่อ สกลุ และตามดว้ ยจุด เช่น Canis lupus ยอ่ เป็น C. lupus ดว้ ยเหตุที่เรา สามารถยอ่ ช่ือในลกั ษณะน้ีได้ ทาใหช้ ื่อยอ่ เป็นท่ีรู้จกั และกล่าวถึงมากกวา่ ชื่อ เตม็ เช่น T. Rex คือ Tyrannosaurus rex หรือ E. coli คือ Escherichia coli เป็นตน้

8. บางกรณี เราเขียน \"sp.\" (สาหรับสตั ว)์ หรือ \"spec.\" (สาหรับพืช) ไว้ ทา้ ยช่ือสกลุ ในกรณีท่ีไม่ตอ้ งการเจาะจงช่ือสปี ชีส์ และเขียน \"spp.\" ใน กรณีท่ีตอ้ งการกล่าวถึงหลายสปี ชีส์ ตวั อยา่ งเช่น \"Canis sp.\", หมายถึงส ปี ชีส์หน่ึงในสกลุ Canis 9. สิ่งมีชีวติ ชนิดหน่ึงอาจมีช่ือวทิ ยาศาสตร์มากกวา่ หน่ึงชื่อ ใหใ้ ชช้ ื่อต้งั ข้ึน ก่อนเป็นช่ือหลกั ส่วนช่ืออ่ืนเป็นชื่อพอ้ ง 10. ชื่อวทิ ยาศาสตร์มกั จะบอกลกั ษณะบางอยา่ งกบั ส่ิงมีชีวติ ชนิดน้นั



อาณาจกั รพืช (Kingdom Plantae) พืชเป็ นส่ิงมชี ีวิตท่มี กี าเนิดขนึ้ มาแล้วไม่ตา่ กว่า 400 ล้านปี มหี ลกั ฐานหลายอย่างทท่ี าให้เช่ือ ว่าพืชมีวิวัฒนาการมาจากสาหร่ายสีเขยี ว กลุ่ม Charophytes โดยมีการปรับตัวจากสภาพที่ เคยอยู่ในน้าขนึ้ มาอย่บู นบก ด้วยการสร้างคุณสมบัติต่าง ๆ ท่ีเหมาะสมขึน้ มา เช่น มีการสร้าง คิวติน (cutin) ขนึ้ มาปกคลุมผวิ ของลาต้นและใบเรียกว่า คิวทิเคิล (cuticle) เพื่อป้องกนั การ สูญเสียน้า และการเกดิ สโทมาตา (stomata) เพ่ือทาหน้าที่ระบายน้าและแลกเปล่ียนก๊าซ เป็ น ต้น

อาณาจกั รพืชแบ่งเป็ น 2 กล่มุ ใหญ่ๆคือ - พืชไม่มที ่อลาเลยี ง ได้แก่ Division Bryophyta -พืชทมี่ ที ่อลาเลยี ง ได้แก่ Division Psilophyta , Division Lycophyta , Division Sphenophyta , Division Pterophyta , Division Coniferophyta , Division Cycadophyta , Division Ginkophyta , Division Gnetophyta , Division Anthophyta

1. Division Bryophyta ไบรโอไฟตา พชื ท่ีไม่มีระบบท่อ ลาเลียง มีขนาดเลก็ ไดแ้ ก่ มอส ลิเวอร์เวริ ์ต และฮอร์นเวริ ์ด

2. Division Psilopphyta ไซโลไฟตา พืชท่ีมีท่อลาเลียงช้นั ต่า ไม่มีใบและรากท่ีแทจ้ ริง ไดแ้ ก่ หวายทะนอย (Psilotum)

3. Division Lycophyta ไลโคไฟตา พืชท่ีมีท่อลาเลียงที่มีลา ตน้ ใบ และรากท่ีแทจ้ ริงแต่ยงั มีใบขนาดเลก็ ไดแ้ ก่ ชอ้ งนางคล่ี ( Lycopodium ) และ ตีนตุ๊กแก ( Sellaginella )

4. Division Sphenophyta สฟี โนไฟตา พืชท่ีมีท่อลาเลียง ลา ตน้ ลกั ษณะเป็นขอ้ และปลอ้ ง มีการสร้างสปอร์ ไดแ้ ก่ สนหางมา้ หรือหญา้ ถอดปลอ้ ง ( Equisetum )

5. Division Pterophyta เทอโรไฟตา พืชท่ีมีท่อ ลาเลียง มีหลายชนิดแตกต่างกนั ไดแ้ ก่ เฟิ ร์น( Fern ) แหนแดง( Azolla ) และ จอกหูหนู ( Salvinia )

6. Division Coniferophyta โคนิเฟอโรไฟตา พชื ที่สร้างเมลด็ เปื อย ส่วนใหญ่เป็นไมย้ นื ตน้ ขนาดใหญ่ ไดแ้ ก่ พวกสน ( Pinus ) เช่น สนสองใบและสนสามใบ

7. Division Cycadophyta ไซแคโดไฟตา พชื ท่ีสร้างเมลด็ เปื อย ไดแ้ ก่ ปรง ( Cycad )

8. Division Ginkgophyta กิงโกไฟตา พืชที่ สร้างเมลด็ เปื อย ไดแ้ ก่ แปะก๊วย (Ginkgo biloba )

9. Division Gnetophyta นีโทไฟตา พชื ที่สร้างเมลด็ เปื อย ไดแ้ ก่ มะเม่ือย (Gnetum)

10. Division Anthophyta แอนโทไฟตา พชื ที่สร้างเมลด็ มีส่ิง ห่อหุม้ ถือวา่ มีววิ ฒั นาการสูงสุด พบมากที่สุด ไดแ้ ก่ พชื ดอก (Flowering plant)

อาณาจักรสัตว์ (Kingdom Animalia) สิ่งมีชีวิตท่ีจัดอยู่ในอาณาจักรมีมากกว่า 1.7 ล้านสปี ชีส์ ในจานวนนี้เป็ นแมลง ประมาณ 6 แสนชนิด สัตว์ถือเป็ นสิ่งมีชีวิตท่ีมีความสาคัญต่อระบบนิเวศในแง่ของ ผู้บริโภค ซึ่งเป็ นผลทาให้มกี ารถ่ายทอดพลังงานไปยงั ผู้บริโภคระดับต่างๆ นอกจากนี้ สัตว์ยังเป็ นตัวทาให้เกิดแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ซึ่งมีความสาคัญในการสังเคราะห์ ด้วยแสงของพืช และก่อให้เกดิ ความสมดลุ ในธรรมชาติ สัตว์เป็ นส่ิงมชี ีวติ หลายเซลล์ ไม่มคี ลอโรฟิ ลล์จงึ ไม่สามารถสร้างอาหารได้เอง และมี ระยะตวั อ่อน (EMBRYO) สิ่งมชี ีวติ ในอาณาจกั รสัตว์แบ่งออกเป็ นไฟลมั ต่างๆดงั นี้

1. ไฟลมั พอริเฟอรา(PHYLUM PORIFERA) สตั วท์ ี่ลาตวั เป็นรูพรุน ไดแ้ ก่ ฟองน้า ลกั ษณะสำคัญของสัตว์ใน Phylum Porifera - เป็นสตั วท์ ี่มีววิ ฒั นาการต่าสุด และ ไม่มีเน้ือเยอ่ื แทจ้ ริง (Parazoa) - ตวั เตม็ วยั เกาะกบั ที่ จึงไมม่ ี nervous system และ sense organ - มีท้งั อาศยั ในน้าจืดและน้าเคม็ - มีสีสดใส (แดง สม้ เหลือง มว่ ง) เกิดจากรงควตั ถุท่ีอยใู่ นเซลลผ์ ิว - ฟองน้าที่มีรูปร่างซบั ซอ้ นนอ้ ยท่ีสุดจะมีสมมาตรรัศมี แต่ฟองน้าส่วนใหญไ่ ม่มีสมมาตร - จะสร้าง Gemmule (แตกหน่อ)เวลาสภาวะแวดลอ้ มไม่เหมาะสม - มีโครงร่างแขง็ ค้าจุน (Spicule ท่ีเป็นหินหรือแกว้ , Spongin ท่ีเป็นเสน้ ใยโปรตีน)



2. ไฟลมั ซีเลนเทอราตา(PHYLUM COELENTERATA) ไดแ้ ก่ แมงกะพรุน ดอกไมท้ ะเล ปะการัง กลั ปังหา และไฮดรา ลกั ษณะสำคัญของสัตว์ใน Phylum Coelenterata - ร่างกายประกอบดว้ ย เน้ือเยอื่ 2 ช้นั คือ Epidermis เเละ Gastrodermis - ระหวา่ งช้นั เน้ือเยอื่ มีสารคลา้ ยวนุ้ เรียกวา่ Mesoglea เเทรกอยู่ - ลาตวั กลวงลกั ษณะเป็นถุงตนั มีช่องเปิ ดช่องเดียวเรียกวา่ gastrovascula cavity ทาหนา้ ที่เป็น ทางเดินอาหารอาหารเขา้ เเละกากอาหารออกทางช่องเปิ ดเดียวกนั - มีหนวดอยรู่ อบปากเรียกวา่ เทนทาเคิล ( tentacle )ใชส้ าหรับจบั เหยอ่ื - ที่หนวดมีเซลลส์ าหรับต่อยเรียกวา่ cnidocyte เเละมีเขม็ สาหรับต่อยเรียกวา่ nematocyst - มีวงจรชีพสลบั - สืบพนั ธุ์แบบไม่อาศยั เพศ โดยการแตกหน่อ - มี 2 เพศในตวั เดียวกนั



3. ไฟลมั แพลทเิ ฮลมนิ ทสิ (PHYLUM PLATYHELMINTHES) ไดแ้ ก่ พยาธิใบไม้ พยาธิตวั ตืด และพลานาเรีย ลกั ษณะสำคัญของสัตว์ใน Phylum Platyhelminthes - มีสมมาตรเป็นแบบคร่ึงซีก (Bilateral symmetry) ไป-หไมมดม่ ีช่องวา่ งในลาตวั (Acoelomate animal) เน่ืองจากเน้ือเยอ่ื ช้นั กลางมีเน้ือเยอื่ หยนุ่ ๆบรรจุอยเู่ ตม็ ทา-งไเดมิน่มอีราะหบาบรหเขมา้ นุสู่เเซวียลนลโโ์ ลดหยติตรไงมม่ ีเสน้ เลือด ไมม่ ีหวั ใจ สารอาหารไปเล้ียงเซลลโ์ ดยการแพร่จาก - มีระบบทางเดินอาหารเป็นแบบไม่สมบูรณ์มีปากแต่ไม่มีทวารหนกั และในพวกพยาธิตวั ตืดไมม่ ี ทางเดินอาหาร - มีระบบประสาทอยทู่ างดา้ นหนา้ และแตกแขนงออกไปทางดา้ นขา้ งของลาตวั ขา้ -มมตีทวั ้งั(สCอroงsเsพfศreใtนilตizวัaเtดioียnว)กนั สามารถผสมพนั ธุ์ไดภ้ ายในตวั เอง (Self fertilization) และผสมพนั ธุ์



4. ไฟลมั นีมาโทดา(PHYLUM NEMATODA) ไดแ้ ก่ พยาธิตวั กลมต่างๆ เช่น พยาธิไสเ้ ดือน ไสเ้ ดือนฝอย และหนอนในน้าสม้ สายชู ลกั ษณะสำคัญของสัตว์ใน Phylum Nemetoda - ลาตวั กลมยาวหวั ทา้ ยเเหลม ไมม่ ีรยางค์ - มีเปลือกเป็นคิวติเคิลหนาปกคลุม - สมมาตรคร่ึงซีก - มีทางเดินอาหารสมบูรณ์ มีท้งั ปากเเละทวารหนกั - ร่างกายมีเน้ือเยอื่ 3 ช้นั - มีช่องลาตวั เทียม ( pseudocoelom )อยรู่ ะหวา่ งมีโซเดิร์มเเละเอนโดเดิร์มซ่ึงมีของเหลวบรรจุอยเู่ ตม็ - ระบบประสาท เป็นวงเเหวนรอบคอ ต่อกบั เสน้ ประสาทท่ียาวตลอดลาตวั - ไมม่ ีระบบไหลเวียนเลือดเเละระบบหายใจ - การสืบพนั ธุ์เเบบอาศยั เพศ มีตวั ผตู้ วั เมียคนละตวั กนั ไข่มีสารไคตินหุม้ จึงทนทานต่อสภาพเเวดลอ้ มไดด้ ี



5. ไฟลมั แอนนิลดิ า (PHYLUM ANNILIDA) ไดแ้ ก่ ไสเ้ ดือนดิน แม่เพรียง ทากดูดเลือด และปลิงน้าจืด ลกั ษณะสำคัญของสัตว์ใน Phylum Annilida เรีย-กมวีลา่ าเตซวัปกตลาม(ยsาeวpเtปa็น)ปลอ้ งๆ มองเห็นภายนอกเป็นวงเเละภายในมีเน้ือเยอ่ื ก้นั ระหวา่ งปลอ้ ง - เเต่ละปลอ้ งมีอวยั วะ คือ เดือย ( saeta ) 4 คู่ เนฟริเดีย ( อวยั วะขบั ถ่าย )1 คู่ เส้นประสาท 3 คู่ ทางเดินอาหารเเละช่องลาตวั ส่วนหน่ึง ยกเวน้ ปลอ้ ง - ที่มีหวั ท่ีซ่ึงมีอวยั วะสาคญั ( สมอง คอหอย หวั ใจ ) - ร่างกายมีสมมาตรคร่ึงซีก - มีเน้ือเยอ่ื 3 ช้นั - มีช่องลาตวั เเทจ้ ริง ( coelom ) ซ่ึงเป็นช่องลาตวั ในเน้ือเยอื่ มีโซเดิร์ม - ระบบประสาทประกอบดว้ ย ปมสมองท่ีหวั 1 คู่ และ เส้นประสาทใหญ่ดา้ นทอ้ ง



6. ไฟลมั อาร์โทรโปดา (PHYLUM ARTHROPODA) ไดแ้ ก่ กงุ้ ก้งั ปู แมลง เห็บ ไร ตะขาบ กิง้ กือ แมงมุม แมงดาทะเล ลกั ษณะสำคัญของสัตว์ใน Phylum Arthropoda - มีลาตวั เป็นปลอ้ งและมีรยางคเ์ ป็นขอ้ ๆต่อกนั (jointed appendage) ยนื่ ออกมาจากแต่ละปลอ้ งของลาตวั - มีจานวนชนิดมากท่ีสุดในอาณาจกั รสตั ว์ ประมาณวา่ มีถึงกวา่ 9 แสนชนิดท่ีมนุษยเ์ ราไดค้ น้ พบ - สามารถอาศยั อยไู่ ดใ้ นแทบทุกสภาพภูมิประเทศบนโลก นบั วา่ ประสบความสาเร็จในการดารงชีวติ บนโลก เป็นอยา่ งมาก เห็นไดจ้ ากการท่ีเราพบสัตวเ์ หล่าน้ีไดแ้ ทบทุกหนทุกแห่ง ทุกฤดูกาล และพบเป็นจานวนมาก - มีโครงสร้างของร่างกายที่แขง็ แรง - มีระบบประสาทท่ีเจริญดี มีอวยั วะรับความรู้สึกหลายชนิด - มีการแบ่งสัดส่วนของร่างกายเป็นขอ้ ปลอ้ งชดั เจน 3ส่วน คือ หวั (Head) , อก(Thorax) และ ทอ้ ง(Abdomen) - ระบบหมุนเวยี นเป็นระบบเปิ ด ประกอบไปดว้ ยหวั ใจ เลือด และแอ่งเลือด (Hemocoel)



7. ไฟลมั มอลลสั กา(PHYLUM MOLLUSCA) สตั วท์ ่ีมีลาตวั ออ่ นนุ่ม ไดแ้ ก่ หมึกและหอยชนิดต่างๆ ลกั ษณะสำคัญของสัตว์ใน Phylum Mollusca - ร่างกายจะแบ่งเป็น 3 ส่วนหลกั ไดแ้ ก่ 1. head and foot 2. visceral mass 3. mantle, palium เกิด mantle cavity มีเหงือก ภายใน - สตั วใ์ นไฟลมั น้ีมีลาตวั อ่อนนุ่ม บางชนิดอาจมีเปลือกแขง็ หุม้ ลาตวั เป็น CaCO - แยกเพศผ-ู้ เมีย - ส่วนใหญอ่ าศยั อยใู่ นน้าท้งั น้าจืดและน้าทะเล มีอาศยั อยบู่ นบก3บา้ ง - อวยั วะในการแลกเปลี่ยนแกส๊ ประกอบดว้ ย 1. เหงือก (gill) อยภู่ ายในช่องแมนเติล พบในมอลลสั ทว่ั ไป 2. ผิวตวั ในทากทะเล (sea slug, nudibranch) ผิวตวั จะเปลี่ยนรูปไปเป็นแขนงอยบู่ นลาตวั เรียกวา่ เซอราตา (cerata) หรือบางชนิดมีอยรู่ อบ ทวารหนกั (anal gill) 3.ช่องแมนเติลหรือปอด หอยฝาเดียวที่ข้ึนมาอย่บู นบกจะมีช่องแมนเติลท่ีมีผนงั ยื่นลงมาก้นั เป็ นห้อง มีของเหลวหล่อเล้ียงในช่องน้ีทาให้ สามารถแลกเปล่ียนแก๊สได้



8. ไฟลมั เอไคโนเดอร์มาตา (PHYLUM ECHINODERMATA) สตั ว์ท่ีผิวหนงั มีหนามขรุ ขระ ได้แก่ ดาวทะเล เมน่ ทะเล เหรียญทะเล ปลงิ ทะเล ดาวเปราะ ลกั ษณะสำคญั ของสตั ว์ใน Phylum Echinoderm - สมมาตรร่างกาย ตวั ออ่ นเป็นเเบบครึ่งซีก ตวั เตม็ วยั มเี มเเทมอร์โฟซิสกลายเป็นสมมาตร เเบบรัศมี - ลาตวั เเบง่ เป็น 5 สว่ นหรือ ทวีคณู ของ 5 ย่ืนออกมาจากเเผ่นกลมท่ีเป็นศนู ย์กลาง - มีโครงร่างเเขง็ ภายใน มเี เผ่นหินปนู เลก็ ๆ ท่ียดึ ตดิ กนั ด้วยกล้ามเนือ้ หรือผิวหนงั ทป่ี กคลมุ อยู่ บางชนิด - มีเส้นประสาทเป็นวงเเหวนรอบปาก เเละเเยกเเขนงไปตามเเขน - การเคลื่อนไหวใช้ระบบทอ่ นา้ ( water vascula system ) ภายในร่างกาย - การสบื พนั ธ์ุ แบง่ เป็นเเบบอาศยั เพศโดยมีการปฎสิ นธิภายนอก และ เเบบไมอ่ าศยั เพศบาง ชนิด เช่น การขาดของเเขนใดเเขนหนง่ึ สว่ นท่ีขาดกจ็ ะเจริญไปเป็นตวั เตม็ อีกทีหน่ึง



9. ไฟลมั คอร์ดาตา (PHYLUM CHORDATA) คณุ สมบตั ิเฉพำะของ Phylum Chordata - มโี นโตคอร์ด (Notochord) ซง่ึ เป็นแกนคา้ จนุ หรือพยงุ กายเกิดขนึ ้ ในระยะใดระยะหนงึ่ ของ ชีวิต หรือตลอดชีวิต ในพวกสตั ว์ชนั้ สงู มกี ระดกู ออ่ นหรือกระดกู แขง็ แทนโนโตคอร์ด - มไี ขสนั หลงั เป็นหลอดยาวกลวงอย่ทู างด้านหลงั (Dorsal hollow nerve tube) เหลือ ทางเดินอาหารซง่ึ แตกตา่ งจากสตั ว์พวกไมม่ ีกระดกู สนั หลงั ซงึ่ มีระบบประสาทอยทู่ างด้านท้อง (Ventral nerve cord) ใต้ทางเดินอาหารและเป็นเส้นตนั - มีช่องเหงือก (Gill slit) ในระยะใดระยะหนงึ่ ของชีวิต หรือตลอดชีวิตในพวกสตั ว์มกี ระดกู สนั หลงั ชนั้ สงู เชน่ สตั ว์ปีก สตั ว์เลยี ้ งลกู ด้วยนา้ นมจะมชี อ่ งเหงือกตอนเป็นตวั ออ่ นเท่านนั้ เมือ่ โตขนึ ้ ชอ่ ง เหงือกจะปิดสว่ นปลามีชอ่ งเหงือกตลอดชีวิต - มหี างเป็นกล้ามเนือ้ (Muscular post anal tail)



สตั วแ์ ปลก ๆ แยกใหถ้ กู

หนอนกามะหย่ี (Velvet worm) เป็นสตั ว์ไมม่ กี ระดกู สนั หลงั จาพวกหนง่ึ ในไฟลมั Onychophora หรือ Protracheata เป็นสตั ว์ไมม่ ีกระดกู สนั หลงั ที่มรี ูปร่างคล้ายหนอนหรือหนอนผีเสอื ้ แตม่ ิใช่แมลงเชน่ หนอนทวั่ ไป หากแตเ่ ป็นส่งิ มีชีวิตท่ีมีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างจากยคุ ดกึ ดาบรรพ์เพียงไมม่ าก โดย กาเนิดมาในยคุ แคมเบรียน ในช่วงยคุ แรกของยคุ พาลโี ซอิก เมือ่ กวา่ 530 ล้านปีท่ีแล้ว จงึ จดั เป็น ซากดกึ ดาบรรพ์มีชีวิตจาพวกหนง่ึ

หอยปากเป็ ด หรือ หอยราก หรือ หอยตะเกยี ง (Lamp shell) เป็นสตั ว์ไมม่ ีกระดกู สนั หลงั ทอ่ี ยใู่ นไฟลมั แบรคโิ อโพดา (Brachiopoda) ซง่ึ ไมใ่ ช่สตั ว์จาพวกหอย (Mollusca) แตม่ เี ปลอื ก 2 ฝาลกั ษณะคล้ายคลงึ กบั หอย



1. พจิ ารณาจากรูปแบบของสมมาตร (Symmetry) 1.1 สมมำตรแบบรัศมี (radial symmetry) มสี มมำตรท่ีผ่ำซีกได้เท่ำๆ กัน หลำยครั้งในแนวรัศมี หรืออำจกล่ำวได้ว่ำมี แกนสมมำตรมำกกว่ำ 1 แกนได้แก่ สัตว์พวกไฮดรำ แมงกะพรุน ดำวทะเล เม่นทะเล 1.2 สมมำตรแบบคร่ึงซีก (bilateral symmetry) สมมำตรแบบนีส้ ำมำรถผ่ำหรือตดั แบ่งคร่ึงร่ำงกำยตำมควำมยำวของลำตวั แล้ว ทำให้ 2 ข้ำงเท่ำกนั ได้เพยี งคร้ังเดยี วเท่ำน้ัน (มแี กนสมมำตรเพียงแกนเดียว) ได้แก่ พวกหนอนตวั กลม แมลง สัตว์มกี ระดกู สันหลงั



2. พจิ ารณาจากจานวนช้ันของเน้ือเยอื่ (Germ layer) 2.1 พวกที่มเี นือ้ เยื่อ 2 ช้ัน (diploblastica) ประกอบด้วยเนือ้ เย่ือ ชั้นนอก (ectoderm) และเนือ้ เยื่อชั้นใน (endoderm) ได้แก่ พวก ไฮดรำ แมงกะพรุน โอบีเลยี 2.2 พวกท่ีมเี นือ้ เย่ือ 3 ชั้น (triploblastica) ประกอบด้วยเนือ้ เยื่อ ช้ันนอก(ectoderm) ชั้นกลำง (mesoderm) และช้ันใน (endoderm)ได้แก่พวกหนอนตวั แบนขึน้ ไป จนถึงสัตว์ท่ีมกี ระดูกสัน หลงั

3. พจิ ารณาจากช่องว่างภายในลาตวั หรือ ช่องลาตัว (Body cavity or coelom) 3.1 ไม่มีช่องวา่ งในลาตวั หรือไม่มีช่องลาตวั (Acoelomate) เป็นพวกที่มีเน้ือเยอื่ 3 ช้นั อยชู่ ิดกนั โดยไม่มีช่องวา่ งในแต่ละช้นั ไดแ้ ก่พวกหนอนตวั แบน 3.2 มีช่องตวั เทียม (Pseudocoelomate) เป็นช่องตวั ที่เจริญอยรู่ ะหวา่ ง mesoderm ของผนงั ลาตวั และ endoderm ซ่ึงเป็นทางเดินอาหาร ช่อง ตวั น้ีไม่มีเยอ่ื บุช่องทอ้ งก้นั เป็นขอบเขต ไดแ้ ก่ พวกหนอนตวั กลม โรติเฟอร์ (rotifer) 3.3 มีช่องตวั ที่แทจ้ ริง (Eucoelomate) เป็นช่องตวั ที่เจริญแทรกอยรู่ ะหวา่ ง mesoderm 2 ช้นั คือ mesoderm ช้นั นอกเป็นส่วนหน่ึงของ ผนงั ลาตวั (body wall) กบั mesoderm ช้นั ในซ่ึงเป็นส่วนหน่ึงของผนงั ลาไส้ (intestinal wall) และ mesoderm ท้งั สองส่วนจะบุดว้ ยเยอ่ื บุช่องทอ้ ง (peritoneum) ไดแ้ ก่ ไสเ้ ดือนดิน หอย แมลง ปลา สัตวม์ ีกระดูกสนั หลงั เป็นตน้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook