Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Village E-Commerce - E-Commerce Master Manual

Village E-Commerce - E-Commerce Master Manual

Published by arkhom.nfe, 2018-02-21 04:34:45

Description: Village E-Commerce - E-Commerce Master Manual

Search

Read the Text Version

ค่มู ือสำหรับวิทยำกร E-Commerce ชุมชน โครงการศนู ย์ดิจิทลั ชุมชน กิจกรรม : Village E-Commerceสำนักงำนคณะกรรมกำรดจิ ทิ ลั เพ่ือเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชำติ (สดช.) 1



ค่มู อื สำหรบั วิทยำกร E-Commerce ชุมชน โครงการศนู ยด์ ิจิทลั ชมุ ชน กิจกรรม : Village E-Commerceค่มู อื สำหรับวทิ ยำกร E-Commerce ชุมชนโครงการศนู ยด์ ิจิทัลชุมชน กิจกรรม : Village E-Commerce(ศกึ ษาและพฒั นา Village E-Commerce)พิมพ์คร้ังท่ี 1สงิ หาคม 2560จานวนพมิ พ์ 600 เลม่ภายใตล้ ิขสทิ ธิ์ของ © สานักงานคณะกรรมการดิจิทลั เพอ่ื เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติคณะผู้จดั ทำ ทป่ี รกึ ษาโครงการศนู ยด์ ิจทิ ลั ชุมชน กิจกรรม Village E-Commerce (ศกึ ษาและพัฒนา Village E-Commerce) คณะวศิ วกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั มหดิ ลโดย สานกั งานคณะกรรมการดิจิทลั เพื่อเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ กระทรวงดิจทิ ัลเพอ่ื เศรษฐกจิ และสังคม เลขที่ 120 อาคารรฐั ประศาสนภักดี ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 ถนนแจ้งวัฒนะ แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลกั สี่ กรุงเทพมหานคร 10210 http://www.onde.go.thสำนกั งำนคณะกรรมกำรดิจิทลั เพอ่ื เศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชำติ (สดช.) ก

Village E-Commerceส่งเสริมผลิตภณั ฑ์/บริการ ในชุมชนดว้ ยเศรษฐกจิ ดจิ ิทลั สำรบัญค่มู ือสำหรับวทิ ยำกร E-Commerce ชุมชน ..........................................................................กสำรบญั .................................................................................................................................ขเตรยี มควำมพร้อมส่กู ำรเป็นวทิ ยำกร E-Commerce ชมุ ชน..................................................1ขั้นตอนท่ี 1 ผลิตภณั ฑ์/บรกิ ำร (Product/Service) .............................................................5  หลักการพจิ ารณาผลิตภัณฑ์................................................................................................................................ 8  หลกั การพจิ ารณาสินค้าจับตอ้ งไม่ได้ (บรกิ าร) ................................................................................................ 9  ประเภทบรรจุภณั ฑ์ ............................................................................................................................................10  การตัง้ ราคา..........................................................................................................................................................14  หลักการออกแบบตราสนิ คา้ .............................................................................................................................17  หลักและเทคนคิ การถ่ายทอดความรู้...............................................................................................................19ข้นั ตอนท่ี 2 เปิดร้ำนค้ำออนไลน์ (Online Shop)...............................................................24  พืน้ ฐานท่จี าเป็นสาหรบั ร้านค้าออนไลน์ .........................................................................................................24  การเลอื กระบบร้านค้าออนไลน์........................................................................................................................36  เตรียมข้อมลู รา้ นค้า ............................................................................................................................................42  วิธกี ารตั้งค่ารา้ นค้าออนไลน์..............................................................................................................................48  ภาษรี ้านคา้ ออนไลน์ ...........................................................................................................................................58  หลักและเทคนคิ การถา่ ยทอดความรู้...............................................................................................................59ข้นั ตอนที่ 3 สง่ เสรมิ กำรขำย (Online Marketing)............................................................63  การตลาดดิจทิ ลั ...................................................................................................................................................63  การวิเคราะห์กลุ่มลูกค้า .....................................................................................................................................64  เครอื่ งมือการทาตลาดออนไลน์ ........................................................................................................................65  หลกั และเทคนคิ การถา่ ยทอดความรู้...............................................................................................................71ข สำนักงำนคณะกรรมกำรดจิ ทิ ัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชำติ (สดช.)

คู่มอื สำหรบั วิทยำกร E-Commerce ชมุ ชน โครงการศูนย์ดิจิทัลชมุ ชน กจิ กรรม : Village E-Commerceขนั้ ตอนท่ี 4 บริหำรกำรขำย (Shop Management)..........................................................80  การจดั เตรียมสนิ คา้ ............................................................................................................................................80  การตรวจสอบรายการคาสง่ั ซอ้ื ........................................................................................................................81  การตรวจสอบการชาระเงิน...............................................................................................................................83  หลักและเทคนคิ การถ่ายทอดความรู้...............................................................................................................86ขั้นตอนท่ี 5 กำรบรรจุและจัดส่งสินคำ้ (Packing & Shipping) ..........................................90  การบรรจุสินคา้ ...................................................................................................................................................90  การเลอื กรูปแบบการขนส่งสนิ คา้ .....................................................................................................................96  การตรวจสอบการจัดส่งสินคา้ ถงึ มือผซู้ ้ือ..................................................................................................... 113  หลักและเทคนคิ การถ่ายทอดความรู้............................................................................................................ 115คำถำมทำ้ ยบท...................................................................................................................119กระดำษคำตอบ .................................................................................................................126เฉลยคำถำมท้ำยบท...........................................................................................................127กระดำษตรวจคำตอบ ........................................................................................................129สำนกั งำนคณะกรรมกำรดจิ ทิ ัลเพ่อื เศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติ (สดช.) ค

Village E-Commerceสง่ เสรมิ ผลติ ภัณฑ/์ บริการ ในชมุ ชนด้วยเศรษฐกจิ ดจิ ทิ ัลง สำนกั งำนคณะกรรมกำรดิจทิ ลั เพื่อเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชำติ (สดช.)

คู่มือสำหรบั วทิ ยำกร E-Commerce ชมุ ชน โครงการศูนย์ดิจิทลั ชมุ ชน กิจกรรม : Village E-Commerce เตรียมควำมพรอ้ มสู่กำรเป็นวิทยำกร E-Commerce ชุมชน วิทยากร E-Commerce ชุมชน มีบทบาทหน้าที่ในการให้ความรู้กับผู้ประกอบการชุมชนเพื่อยกระดับความรู้ความสามารถในการใช้งานเทคโนโลยีดิจิทัล ให้เกิดประโยชน์กับการทาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ โดยให้สอดคล้องกับเป้าหมายของสานักงานคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ในการผลักดันและยกระดับศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน ศูนย์ดิจิทัลชุมชน ศูนย์ กศน.และศูนย์ให้บริการของภาครัฐ โดยวิทยากร E-Commerce ชุมชน จะต้องศึกษาหาความรู้ หาประสบการณ์ใหม่ๆ อยู่เสมอ เพ่ือเพ่ิมพูนความรู้ที่เป็นประโยชน์ สาหรับการเป็นวิทยากรช่วยส่งเสริมผู้ประกอบการชุมชนโดยวิทยากรท่ีดีจะต้องมีการเตรียมตัว ฝึกฝนการนาเสนอ ออกแบบและปรับหลักสูตรให้เหมาะสมกับผู้เรียนรวมทั้งจะต้องเตรียมพร้อมร่างกายและจิตใจ ในการมุ่งมั่นท่ีจะพัฒนาผู้ประกอบการชุมชนในพ้ืนที่ของตนเองให้มีร้านค้าออนไลน์ท่ีสามารถขายสินค้าให้กับประชาชน เพื่อยกระดับประชาชนฐานรากให้มีรายได้และเกิดมลู คา่ ทางเศรษฐกจิ ทีด่ ีต่อประเทศไทย วทิ ยากร E-Commerce ชมุ ชน จะตอ้ งมเี ปา้ หมายดงั ตอ่ ไปน้ี 1. จดั กิจกรรมฝึกอบรมใหผ้ ู้ประกอบการชุมชน ในพ้ืนท่ศี ูนยบ์ ม่ เพาะและสนับสนนุ การทาการค้า ออนไลน์ในชุมชน จานวนอยา่ งน้อย 10 คน 2. สนบั สนุนใหผ้ ู้ประกอบการชุมชน เปดิ ร้านคา้ ออนไลนท์ ุกผ้ปู ระกอบการทเ่ี ขา้ ร่วม 3. ช่วยผูป้ ระกอบการชมุ ชนบริหารจัดการรา้ นค้าให้เกิดประสิทธิภาพ สาหรับวิทยากร E-Commerce ชุมชนที่สามารถดาเนินการได้ตามเป้าหมายจะได้รับการพิจารณาคัดเลือกเป็นวิทยากรดีเด่น โดยจะต้องสนับสนุนและช่วยเหลือผู้ประกอบการให้เกิดร้านค้าออนไลน์ท่ีมมี ลู ค่าการซ้อื ขายเป็นอนั ดบั สงู สุดของโครงการ 10 รางวลัสำนกั งำนคณะกรรมกำรดจิ ทิ ัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติ (สดช.) 1

Village E-Commerceสง่ เสรมิ ผลติ ภัณฑ/์ บริการ ในชมุ ชนด้วยเศรษฐกจิ ดจิ ทิ ัล2 สำนกั งำนคณะกรรมกำรดิจทิ ลั เพื่อเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชำติ (สดช.)

ค่มู ือสำหรับวิทยำกร E-Commerce ชุมชน โครงการศนู ย์ดิจิทลั ชุมชน กิจกรรม : Village E-Commerceสำนักงำนคณะกรรมกำรดจิ ทิ ลั เพ่ือเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชำติ (สดช.) 3

Village E-Commerceสง่ เสรมิ ผลติ ภัณฑ/์ บริการ ในชมุ ชนด้วยเศรษฐกจิ ดจิ ทิ ัล4 สำนกั งำนคณะกรรมกำรดิจทิ ลั เพื่อเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชำติ (สดช.)

คมู่ อื สำหรบั วิทยำกร E-Commerce ชุมชน โครงการศนู ยด์ ิจทิ ัลชุมชน กจิ กรรม : Village E-Commerce ข้ันตอนที่ 1 ผลติ ภัณฑ/์ บรกิ ำร (Product/Service) ผู้ประกอบการชุมชนจะต้องพิจารณาผลิตภัณฑ์/บริการ ที่ตนเองน้ันมีอยู่ว่าเป็นผลิตภัณฑ์ประเภทใดเหมาะสมกับผู้ซ้ือกลุ่มใด บรรจุภัณฑ์มีลักษณะเป็นอย่างไร เพื่อสามารถกาหนดแนวทางการขายของตนเองได้อีกท้ังสิ่งสาคัญของผลิตภัณฑ์/บริการ คือการต้ังราคาที่เหมาะสมกับสินค้าและผู้ซ้ือ เพ่ือสร้างโอกาสทางการขายให้มากยิ่งข้ึนได้ ตัวอย่างเชน่ ยายอนงคท์ ามะมว่ งแช่อิ่ม แล้วนาไปขายทต่ี ลาดใกลบ้ ้าน โดยบรรจใุ สถ่ ุงรอ้ น ขายโดยไมไ่ ด้ช่ังน้าหนักราคาถุงละ 10 บาท ฉะน้ัน ประเภทของสินค้าที่ยายอนงค์เป็นผู้ผลิตและจาหน่าย คือประเภท อาหารแปรรูปซ่ึงมคี ุณสมบตั ิ เกบ็ รักษามะม่วงใหส้ ามารถรบั ประทานได้นาน ดงั นั้น บรรจุภณั ฑจ์ งึ มคี วามสาคัญอยา่ งยง่ิยายอนงค์ แปรรปู มะม่วง (แชอ่ ิ่ม) บรรจุภัณฑ์มะม่วงแช่อมิ่ฉะนั้น ยายอนงค์ ขายสนิ ค้ำสำหรบั บริโภค วัตถดุ บิ หลกั คอื มะม่วง และบรรจุภัณฑ์หลัก คือ ถงุสำนกั งำนคณะกรรมกำรดิจิทัลเพือ่ เศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชำติ (สดช.) 5

Village E-Commerceสง่ เสริมผลติ ภณั ฑ์/บรกิ าร ในชมุ ชนดว้ ยเศรษฐกิจดจิ ิทลั โดยจากกรณีตัวอย่างของยายอนงค์ จะต้องพิจารณาสิ่งต่างๆต่อไปน้ี เพื่อให้สามารถนาสินค้าเข้าสู่ร้านค้าออนไลน์ได้ ด้วยการสร้างข้อมูลของสินค้า ประกอบด้วย ช่ือสินค้า คุณลักษณะสินค้า ส่วนผสม ราคาจุดเด่นของสินค้า รวมทั้งประเภทสินค้า เพ่ือจัดกลุ่มสาหรับการจัดจาหน่ายบนช่องทางออนไลน์ได้ดังนั้น ผู้ประกอบการชุมชนจะต้องพิจารณาสินค้าของตนเอง หากพัฒนาสินค้า บรรจุภัณฑ์แล้วจะทาให้มีโอกาสทางการขายให้มากยิ่งขึ้น เช่น ยายอนงค์ศึกษาและปรับปรุงสินค้า ออกแบบตราสญั ลักษณ์ของสินค้าและบรรจุภัณฑ์ใหม่ เพื่อให้สินค้ามคี วามเหมาะสมกบั การจาหน่ายสินค้าแบบออนไลน์ ศกึ ษำและปรบั ปรุงสนิ คำ้ ใหม้ ีการคุณสมบัตทิ ี่ดียิ่งขึ้น เชน่ รสชาติ การรกั ษาคุณภาพ เป็นต้น กำรออกแบบโลโก้ (ตรำสัญลกั ษณข์ องสนิ ค้ำ) เพือ่ ชว่ ยให้ลูกค้าจดจาสนิ คา้ ได้6 สำนกั งำนคณะกรรมกำรดิจิทัลเพอื่ เศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชำติ (สดช.)

ค่มู อื สำหรับวทิ ยำกร E-Commerce ชุมชน โครงการศนู ยด์ ิจิทลั ชุมชน กิจกรรม : Village E-Commerceกำรออกแบบบรรจภุ ัณฑ์ใหม่ / ควำมหลำกหลำยของบรรจุภณั ฑ์ เช่น ใสถ่ ุงปิดมิดชิด ใสข่ วดโหล ใส่กลอ่ ง นอกจากการปรับปรุงผลิตภัณฑ์/บริการ ท่ีมีอยู่ให้มีประสิทธิภาพแล้ว ผู้ประกอบการชุมชนจะต้องส่งสินค้าเข้าสู่ตลาดออนไลน์ และขายสินค้าให้กับผู้บริโภคได้ ผู้ประกอบการชุมชนจึงจะต้องพิจารณาคุณสมบัติของสินค้าตามหลกั การพจิ ารณาสนิ ค้า ดงั ต่อไปนี้ คุณยำยอนงค์ มะม่วงแช่อ่ิมสำนักงำนคณะกรรมกำรดิจิทลั เพ่อื เศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชำติ (สดช.) 7

Village E-Commerceสง่ เสริมผลิตภณั ฑ์/บริการ ในชุมชนด้วยเศรษฐกจิ ดิจทิ ลั หลกั กำรพิจำรณำผลิตภัณฑ์ สินค้ำอุปโภคบริโภค (Consumer product) เป็นสินค้าที่ใช้รับประทาน หรือสาหรับร่างกายโดยจาแนกออกเป็นกลุ่มดังน้ี สินค้าสะดวกซื้อ สินค้าเลือกซ้ือ สินค้าเจาะจงซ้ือ และสินค้าไม่แสวงซื้อซึ่งแสดงคาอธบิ ายความถีข่ องโอกาสในการซื้อของลูกคา้ และระดบั ราคาท่เี หมาะสม 1. สินค้ำสะดวกซื้อ หมายถึง สินค้าหรือบริการที่ผู้บริโภคจะต้องซ้ือบ่อยคร้ัง โดยเป็นสินค้าท่ีใช้ในชีวิตประจาวันทุกวัน เช่น ผัก ผลไม้ อาหารแปรรูป สบู่ ยาสระผม ยาสีฟัน ฯลฯ โดยมีควำมถ่ีของกำรซ้ือสินคำ้ เปน็ จำนวนมำกต่อวนั และระดบั ราคาทข่ี ายไดอ้ ยู่ในระดับรำคำ ตำ่ -ปำนกลำง 2. สินค้ำเลือกซื้อ หมายถึง สินค้าหรือบริการท่ีผู้บริโภคต้องมีการเปรียบเทียบคุณสมบัติด้านต่าง ๆจากผู้ขายหลายรายก่อนซ้ือ เช่น เครื่องใช้ไฟฟ้า อาหารเสริม สินค้าบารุงร่างกาย ฯลฯ โดยมีควำมถ่ีของกำรซ้อื สินค้ำระดบั ปำนกลำง และระดบั ราคาท่ีขายไดอ้ ยู่ในระดบั รำคำ ปำนกลำง-สงู 3. สินค้ำเจำะจงซ้ือ เป็นสินค้าหรือบริการท่ีมีลักษณะเป็นเอกลักษณ์ หรือมีตราท่ีมีช่ือเสียงซึ่งเป็นเหตุให้ผู้ซ้ือเต็มใจที่จะซื้อสินค้านั้น เช่น โทรศัพท์สมาร์ทโฟน สินค้าแบรนด์เนม สินค้าประจาตาบลเคร่ืองนุ่งห่มท่ีมีเอกลักษณ์ โดยมีควำมถ่ีของกำรซ้ือสินค้ำระดับปำนกลำง และระดับราคาท่ีขายได้อยู่ในระดับรำคำ ปำนกลำง-สงู 4. สินค้ำไม่แสวงซ้ือ เป็นสินค้าหรือบริการท่ีผู้บริโภคอาจรู้จักหรือไม่รู้จักก็ได้ แต่ไม่เคยคิดท่ีจะซ้ือมีลักษณะ 2 ประการคือ (1) เป็นสินค้าใหม่ท่ีผู้บริโภคยังไม่รู้จัก (2) สินค้าซึ่งผู้บริโภคไม่มีความต้องการโดยสนิ คา้ ประเภทน้จี ะมีลักษณะเฉพาะ โดยมีควำมถี่ของกำรซ้ือสินคำ้ ระดับตำ่ และระดบั ราคาที่ขายได้อยู่ในระดบั รำคำเฉพำะตวั ดังนั้น ผู้ประกอบการชุมชนจะต้องพิจารณาสินค้าว่าจัดอยู่ในกลุ่มใด เพื่อประเมินระดับความถี่ของการซื้อสนิ คา้ และการต้งั ราคาท่เี หมาะสมกบั สนิ ค้านั้นๆ ได้8 สำนักงำนคณะกรรมกำรดจิ ทิ ัลเพือ่ เศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชำติ (สดช.)

ค่มู ือสำหรับวทิ ยำกร E-Commerce ชุมชน โครงการศนู ยด์ ิจิทลั ชมุ ชน กจิ กรรม : Village E-Commerce หลกั กำรพจิ ำรณำสนิ คำ้ จับต้องไม่ได้ (บริกำร) ผู้ประกอบการชุมชนสามารถขายสินค้าในรูปแบบที่ไม่สามารถจับต้องได้ โดยเป็นรูปแบบการให้บริการ ถือเป็นสินค้าประเภทหนึ่งที่สามารถขายให้กับผู้บริโภคได้ โดยให้บริการในรูปแบบต่างๆเชน่ โฮมสเตย์ ล่องเรอื ท่องเที่ยววิถีไทย และนวดแผนไทย ฯลฯ การบริการรถตุ๊กตุ๊กท่องเทยี่ วรอบกรุงรตั นโกสินทร์ ตัวอย่างเช่น คุณลุงสมชาย มีอาชีพขับรถตุ๊กตุ๊กรับจ้าง โดยคุณลุงสามารถสื่อสารภาษาอังกฤษได้คุณลุงจึงมีแนวคิดให้บริการรถตุ๊กตุ๊กท่องเท่ียวกับนักท่องเท่ียวต่างประเทศ โดยลักษณะการขายเป็นการให้บริการท่องเที่ยวแบบคร่ึงวันและเต็มวัน โดยมีการนาเสนอโปรแกรมท่องเท่ียว ที่คุณลุงสมชายสามารถขับไปส่งและจอดรอได้ ถ้าหากมีลักษณะการให้บริการท่ีเป็นแบบแผน ตามแนวคิดของคุณลุงสมชายสามารถนาโปรแกรมท่องเที่ยวโดยรถตุ๊กตุ๊ก จาหน่ายบริการผ่านระบบออนไลน์ เพื่อให้นักท่องเที่ยวจองหรอื ซ้ือใช้บรกิ ารทอ่ งเท่ียวได้ เปน็ ลกั ษณะของสนิ คา้ จบั ต้องไม่ได้ (บรกิ าร) รปู แบบหน่ึงสำนักงำนคณะกรรมกำรดจิ ทิ ัลเพือ่ เศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชำติ (สดช.) 9

Village E-Commerceสง่ เสริมผลิตภณั ฑ/์ บรกิ าร ในชุมชนดว้ ยเศรษฐกจิ ดจิ ิทัล ประเภทบรรจภุ ัณฑ์ การบรรจุสินค้าของผู้ประกอบการชุมชน ต้องพิจารณารูปแบบการใช้งานของบรรจุภัณฑ์เช่น ช่วยเก็บรักษาสินค้าที่บรรจุอยู่ภายใน ช่วยให้รับประทานง่าย ช่วยปกป้องสินค้า ช่วยในการขนส่งส่งเสริมความเปน็ ธรรมชาติ เพอื่ ใหเ้ กดิ การจดจาในรปู ลักษณ์เฉพาะ เพ่ิมความหรหู รา ทาใหเ้ หน็ สนิ คา้ ภายในชัดเจนรวมถึงสามารถนาไปใช้ประโยชน์ต่อได้ โดยการเลอื กบรรจภุ ณั ฑน์ นั้ จะมีรปู แบบการหอ่ หุ้มสนิ ค้า ดว้ ยกระบวนการวิธยี ่อยๆ ดังต่อไปน้ี 1. บรรจุภัณฑ์เฉพำะหน่วย เป็นบรรจุภัณฑ์ท่ีใช้ห่อหุ้มและสัมผัสกับสินค้าโดยตรง โดยทาหน้าที่ปกป้องสินค้าและความช้ืนจากอากาศ ที่ทาให้สินค้าเสียคุณภาพ โดยมีรูปลักษณ์เป็นลักษณะต่างๆเชน่ ขวด กระป๋อง หลอด ถงุ กลอ่ ง มีการออกแบบให้มีลักษณะพิเศษเฉพาะได้ ตวั อยำ่ งบรรจุภัณฑเ์ ฉพำะหนว่ ยที่บรรจุสินคำ้ โดยตรง 2. บรรจุภัณฑ์ชั้นใน เป็นบรรจุภัณฑ์ที่ห่อหุ้มสินค้าหน่วยเล็กที่สุดไม่ให้ได้รับแรงกระแทกหรือความชื้นจากภายนอก บรรจุภัณฑ์ช้ันที่สองมีหน้าที่รวบรวมบรรจุภัณฑ์ชั้นแรกไว้ด้วยกัน หรือเป็นชุดในการจาหน่ายรวมต้ังแต่ 2 – 24 ชิ้นขึ้นไป โดยมีวัตถุประสงค์ขั้นแรกคือ ป้องกันรักษาสินค้าจากน้าความช้ืนความร้อน แสงแดด แรงกระทบกระเทือน และอานวยความสะดวกแก่การขายปลีก เพ่ือความสะดวกในการป้องกันและขนส่ง จึงต้องทาการออกแบบให้สวยงามดึงดูดใจผู้บริโภค เช่น กล่องบรรจุเครื่องดื่มกระป๋องชนิด6 กระปอ๋ ง กล่องกาแฟชนิด 50 ซอง หรือขนมที่ตอ้ งรักษาความช้ืน10 สำนกั งำนคณะกรรมกำรดจิ ิทลั เพือ่ เศรษฐกจิ และสังคมแห่งชำติ (สดช.)

คมู่ อื สำหรับวทิ ยำกร E-Commerce ชุมชน โครงการศูนยด์ จิ ิทลั ชมุ ชน กจิ กรรม : Village E-Commerce ตัวอย่ำงบะหม่ีก่ึงสำเรจ็ รูปที่มบี รรจุภณั ฑช์ น้ั ใน 3. บรรจุภัณฑ์ชั้นนอกสุด บรรจุภัณฑ์ท่ีเป็นหน่วยรวมขนาดใหญ่ ทาหน้าที่ในการป้องกันสินค้าการขนถ่ายสินค้าให้มีประสิทธิภาพและรวดเร็วในระหว่างการขนส่ง ลักษณะของบรรจุภัณฑ์น้ี เช่น หีบ ไม้ลังกล่องกระดาษขนาดใหญ่ท่ีบรรจสุ นิ ค้าไวภ้ ายใน ตวั อย่ำงบรรจภุ ณั ฑช์ ้ันนอกสุดสำนกั งำนคณะกรรมกำรดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชำติ (สดช.) 11

Village E-Commerceสง่ เสริมผลติ ภณั ฑ์/บรกิ าร ในชมุ ชนดว้ ยเศรษฐกิจดิจทิ ัล ตวั อยำ่ งนวัตกรรมบรรจภุ ัณฑ์ บรรจุภัณฑส์ ำหรบั กำรปกป้องสินค้ำ ออกแบบบรรจภุ ัณฑ์ใหป้ กป้องไขเ่ ค็มสด โดยสามารถแสดงข้อมูลบนบรรจภุ ณั ฑไ์ ด้ บรรจภุ ณั ฑส์ ำหรับกำรส่อื สำรทเ่ี ปน็ ธรรมชำติ ออกแบบบรรจุภณั ฑใ์ ห้สือ่ สารการใช้สนิ ค้าจากธรรมชาติ ไมม่ ีอนั ตราย บรรจภุ ณั ฑท์ ี่มีโครงสรำ้ งเอกลักษณ์เฉพำะตัว ชว่ ยในกำรจดจำ ออกแบบบรรจภุ ณั ฑ์ให้มีโครงสร้างแปลกใหม่ และมขี นาดที่เฉพาะตัว ชว่ ยให้ลูกคา้ จดจาได้12 สำนักงำนคณะกรรมกำรดิจิทัลเพือ่ เศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชำติ (สดช.)

คู่มอื สำหรบั วิทยำกร E-Commerce ชุมชน โครงการศนู ย์ดิจทิ ัลชมุ ชน กจิ กรรม : Village E-Commerce บรรจภุ ัณฑ์ท่ีมีองค์ประกอบเป็นโลหะ ช่วยให้มีคุณภำพออกแบบบรรจภุ ณั ฑ์โดยใช้โลหะจะชว่ ยปกป้อง ทาให้รู้สึกมีคณุ ภาพ และเสริมความมรี ะดับของสินค้า บรรจภุ ัณฑ์ท่มี รี ปู ภำพองคป์ ระกอบหลักเปน็ รปู หลัก ออกแบบบรรจุภัณฑ์โดยนาภาพขององค์ประกอบหลกั ของสนิ ค้ามาใช้ในการสื่อความหมาย ช่วยให้สอื่ สารกบั ผบู้ ริโภคได้ บรรจภุ ณั ฑ์ท่สี ่งเสริมควำมสนุก ตลกขบขนัออกแบบบรรจุภณั ฑ์โดยมีลกู เลน่ ทาใหเ้ กิดความสนุกสนาน สร้างเสียงหวั เราะและรอยย้ิมสำนกั งำนคณะกรรมกำรดจิ ิทลั เพอื่ เศรษฐกิจและสงั คมแห่งชำติ (สดช.) 13

Village E-Commerceส่งเสริมผลติ ภณั ฑ์/บริการ ในชมุ ชนด้วยเศรษฐกิจดจิ ิทลั บรรจุภัณฑท์ ่ชี ่วยให้เห็นสินค้ำโดยตรง ออกแบบบรรจภุ ณั ฑ์โดยมีลกั ษณะโปร่งใสทาใหส้ ามารถเห็นสนิ คา้ โดยตรงได้ กำรต้ังรำคำ การตั้งราคาผลิตภัณฑ์/บริการ จาเป็นต้องพัฒนาผลิตภัณฑ์/บริการพร้อมกับการตั้งราคาใหเ้ กิดความเหมาะสมกับการขายผ่านร้านค้าออนไลน์ โดยวัตถุประสงค์ในการต้ังราคา เพื่อให้เกิดความเหมาะสมกับการขายสินคา้ และกลยุทธ์ในการขาย โดยการต้งั ราคาจะเกดิ จาก 3 วัตถุประสงค์ คอื 1. กำรตั้งรำคำโดยมุ่งกำไร กาไรเกิดจากผลต่างระหว่างรายได้จากการขาย หักลบด้วยต้นทุนสินค้าและค่าใช้จ่ายท้ังส้ิน ดังนั้น ผู้ประกอบการสามารถต้ังราคาโดยมุ่งที่กาไร การตั้งราคาเพ่ือให้ได้รับกาไรตามเป้าหมาย โดยพิจารณาดาเนินการกาหนดกาไรท่ีต้องการได้จากผลิตภัณฑ์/บริการน้ันๆ เช่น คุณยายอนงค์ต้องการขายมะม่วงแช่อ่ิม ได้กาไรขวดละ 25 บาท ดังน้ันคุณยายอนงค์ จะต้องนาต้นทุนและค่าใช้จ่ายตอ่ สินค้า 1 ชิ้น มาบวกรวมกบั ผลกาไรทีต่ อ้ งการตามเป้าหมาย จะปราก เป็นราคาจาหน่าย ดงั สมการ รำคำขำย = ต้นทุน + คำ่ ใช้จำ่ ย + ค่ำโฆษณำ + กำไรท่ปี ระสงค์14 สำนักงำนคณะกรรมกำรดจิ ทิ ลั เพอื่ เศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชำติ (สดช.)

คูม่ อื สำหรับวิทยำกร E-Commerce ชมุ ชน โครงการศนู ยด์ จิ ทิ ลั ชมุ ชน กจิ กรรม : Village E-Commerceตัวอยา่ ง คณุ ยายอนงค์ขายมะม่วงแชอ่ ิม่ 50 บาท ตน้ ทนุ คอื มะม่วง และวัตถุดบิ แช่อม่ิ 15 บาท ค่ำใชจ้ ำ่ ย คอื คา่ แรง ค่าแก๊ส 5 บาท ค่ำโฆษณำ ทางออนไลน์ 25 บาท กำไรทป่ี ระสงค์ ต้องกำรกำไร = รำคำขำย 25 บำท 95 บำทรำคำขำย = 50 + 15 + 5 + 25 95 บำท 2. กำรตั้งรำคำโดยมุ่งยอดขำย เป็นการตั้งราคาท่ีต้องการให้เกิดผลต่อยอดขายในรูปจานวนหน่วยหรอื จานวนเงนิ ยอดขายในรูปจานวนเงนิ ก็คอื รายได้จากการขาย ดงั ในสมการ รำยได้จำกกำรขำย = รำคำ x ปรมิ ำณกำรขำย การต้ังราคาโดยมุ่งยอดขายที่จะนามาพิจารณาในที่น้ีมี 2 ประเด็นคือ การต้ังราคาเพื่อเพิ่มยอดขายและการตั้งราคาเพื่อเพ่ิมส่วนครองตลาด กรณีท่ีผู้ประกอบการขายผลิตภัณฑ์/บริการที่มีลักษณะใกล้เคียงกับผู้อ่ืน ทาให้เกิดการแข่งขันจากฐานลูกค้ากลุ่มเดียวกัน ดังน้ัน ราคาจึงเป็นส่วนหนึ่งในการผลกั ดันยอดขายของร้านค้าได้ เช่น ขายราคาต่ากว่าคู่แข่ง แต่ขายได้ปริมาณมากกว่ าทาให้มีผลกาไรที่ดีกว่า เป็นต้นดังน้ัน หากคุณยายอนงค์ต้องการขาย มะม่วงแช่อิ่ม ใหไ้ ด้ 500 ขวด จะตอ้ งคานวณดังต่อไปน้ีสำนกั งำนคณะกรรมกำรดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชำติ (สดช.) 15

Village E-Commerceส่งเสรมิ ผลติ ภัณฑ/์ บริการ ในชมุ ชนด้วยเศรษฐกิจดจิ ิทัลปริมำณกำรขำย รำยได้จำกกำรขำย 500 ขวด 47,500 บำทตัวอยา่ ง คณุ ยายอนงคข์ ายมะม่วงแชอ่ มิ่รำคำขำย 95 บาทปริมำณกำรขำย 500 ขวดรำยไดจ้ ำกกำรขำย = 95 x 500 = 47,500 บำทเม่ือคุณยายอนงค์ขายได้ 500 ขวด จะได้รับเงิน 47,500 บาท (หักต้นทุนและค่าใช้จ่ายขวดละ 70 บาท) จะทาใหไ้ ด้รับผลกาไรทงั้ ส้นิ 47,500 – (70*500) = 12,500 บำท 3. วัตถุประสงค์อื่นๆ คือ การตั้งราคาของธุรกิจท่ีมีเป้าหมายอ่ืน นอกเหนือจากที่กล่าวมาประกอบด้วย 2 กรณี คือการตั้งราคาเพื่อเผชิญการแข่งขัน และการต้ังราคาเพื่อรักษาเสถียรภาพของราคาโดยผู้ประกอบการชุมชน อาจใชร้ ปู แบบนี้น้อย นอกจากจะก้าวสอู่ ุตสาหกรรมอย่างเต็มตวั แล้วปรบั รำคำต่อสูก้ ับคแู่ ข่ง มีคู่แขง่ ในตลำด ลดเหลอื 85 บำท ขำยรำคำ 90 บำท ดังน้ัน คุณยายอนงค์ มีคู่แข่งทางการตลาด ทาให้คุณยายอนงค์ขายสินค้าได้ลดลงจึงต้องใช้รูปแบบการต้ังราคาของธุรกิจที่มีเป้าหมายอื่นๆ คือ ทาให้ราคาเทียบเท่าคู่แข่งทางการตลาดหรือราคาต่ากว่า เพ่ือดึงดูดลูกค้า หากสินค้ามีคุณภาพสูงสามารถใช้เพื่อนาเสนอคุณภาพของวัตถุดิบและรสชาติแทนการลดราคาได้16 สำนกั งำนคณะกรรมกำรดิจิทัลเพื่อเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชำติ (สดช.)

คมู่ ือสำหรบั วทิ ยำกร E-Commerce ชมุ ชน โครงการศูนย์ดจิ ิทัลชมุ ชน กจิ กรรม : Village E-Commerce หลักกำรออกแบบตรำสนิ ค้ำ ตรำสนิ ค้ำ หมายถงึ ชอ่ื คา สัญลกั ษณ์ การออกแบบ หรอื ส่วนประสมของสิง่ ดังกลา่ วเพือ่ ระบุถึงสินค้าและบริการของผู้ขายรายใดรายหนึ่ง หรือกลุ่มของผู้ขายเพ่ือแสดงถึงลักษณะท่ีแตกต่างจากคู่แข่งขันและสร้างการจดจาผลิตภัณฑ์/บริการ จากตราสินค้าได้ โดยลักษณะท่ีดีของตราสินค้าจะต้องสะท้อนบุคลิกของสินค้า หรือลักษณะของสินค้า เช่น คุณเอ๋ขายขนมไทยควรออกแบบให้มีรูปลักษณ์เป็นแบบไทยควรเป็นภาพกราฟิกมากกว่าภาพของจริง สามารถออกแบบได้จากเว็บไซต์ช่วยออกแบบตราสินค้าและท่ีสาคัญคือไม่ควรมีรายละเอียดมากเกินไป ทาให้ไม่เกิดความโดดเด่น อีกท้ังสียังเป็นเร่ืองทีช่ ่วยในการจดจาตราสนิ ค้าไดอ้ ีกด้วย สญั ลกั ษณส์ ะทอ้ น ลกั ษณะสนิ คำ้ สีสอื่ ให้เหน็ ถึง ชอื่ รำ้ นค้ำ ควำมเป็นธรรมชำติ ที่เป็นเอกลักษณ์ ภำพตวั อยำ่ งตรำสินคำ้ 17สำนกั งำนคณะกรรมกำรดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติ (สดช.)

Village E-Commerceสง่ เสริมผลติ ภณั ฑ์/บรกิ าร ในชุมชนด้วยเศรษฐกจิ ดิจทิ ัล18 สำนกั งำนคณะกรรมกำรดิจทิ ลั เพื่อเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชำติ (สดช.)

คมู่ อื สำหรับวทิ ยำกร E-Commerce ชมุ ชน โครงการศูนย์ดิจิทลั ชุมชน กิจกรรม : Village E-Commerceหลักและเทคนคิ กำรถ่ำยทอดควำมรู้ ดว้ ยเน้อื หาในขั้นตอนท่ี 1 ผลติ ภัณฑ/์ บริการ (Product/Service) จะเปน็ การค้นหาสนิ ค้าทีส่ ามารถขายได้บนร้านค้าออนไลน์ โดยจะต้องพิจารณาสินค้าหรือบริการที่ตนเองมีอยู่ ให้บริการกับลูกค้า โดยประกอบด้วยกิจกรรมเชิงป ิบัติการ คือ ค้นหาจุดเด่นของสินค้า บรรจุภัณฑ์น่าซ้ือ ตราสินค้าน่าจา คิดราคาสินค้าง่ายนิดเดียวดังนั้น วิทยากร E-Commerce ชุมชนต้องสร้างเอกลักษณ์ของผลิตภัณฑ์/บริการ ชุมชนให้มีความชัดเจนพร้อมนาเขา้ ส่รู ้านค้าออนไลน์กจิ กรรมเชงิ ปฏบิ ัตกิ ำร “ค้นหำจดุ เด่นของสนิ คำ้ ”วัตถุประสงค์ของกิจกรรม เพ่ือให้ผู้ประกอบการชุมชนวิเคราะห์สินค้าและบริการของตนเองในด้านจุดเด่น เพื่อการพัฒนาสินค้าและบริการให้เหมาะสมกับตลาดออนไลน์ โดยจุดเด่นของสินค้าจะแสดงถึงข้อได้เปรียบหรือความโดดเด่นทเ่ี ป็นเอกลักษณ์ของสินคา้ หรืออาจกล่าวถึงคุณประโยชน์ของผลิตภัณฑ์/บริการสิง่ ทีต่ ้องเตรยี มกำร1. แจ้งผูเ้ ขา้ ร่วมการอบรมจะต้องนาสินค้าของตนเอง อย่างน้อยผปู้ ระกอบการละ 1 ชน้ิ2. กระดาษ A4, ปากกาวิธกี ำรดำเนินกจิ กรรม1. วิทยากรให้ความรู้เกี่ยวกับการวิเคราะห์สินค้าในด้านของจุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค ของสินค้า โดยกล่าวถึง จุดแข็งหรือจุดเด่นของสินค้า ว่ามีด้านใดบ้าง เพื่อนามาเป็นข้อได้เปรียบ และยกให้เป็นข้อดีหรือจุดเด่นของสินค้าน้ันๆ และวิเคราะห์จุดอ่อนหรือข้อด้อยของสินค้า ว่ามดี า้ นใดบา้ ง เพื่อนามาแก้ไขปรบั ปรุงใหด้ ียิ่งขนึ้ โอกาสหรือสถานการณท์ ่ีทาให้สินค้าเปน็ ท่ีต้องการ ในตลาดมีอะไรบ้าง และอุปสรรคหรือสถานการณ์ที่ทาให้สินค้าประสบความสาเร็จได้ยากนั้น ได้แก่อะไรบา้ ง2. วิทยากรยกตัวอย่างจดุ เด่น จดุ ดอ้ ย โอกาส และอุปสรรคของสนิ คา้ ใหด้ ูเป็นกรณีตวั อย่าง3. ผู้เข้าอบรมทุกท่านรับกระดาษเพื่อเขียนบันทึกและทาการวิเคราะห์หาจุดเด่น จุดด้อย โอกาส และอุปสรรคของสินค้าทต่ี นเองมีอยู่สำนักงำนคณะกรรมกำรดจิ ทิ ัลเพอ่ื เศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชำติ (สดช.) 19

Village E-Commerceส่งเสริมผลิตภัณฑ/์ บรกิ าร ในชมุ ชนด้วยเศรษฐกิจดิจทิ ลั 4. ผเู้ ข้าอบรมนาเสนอสินคา้ และผลการวเิ คราะห์ 5. ให้ผเู้ ข้าอบรมเสนอ แนวคดิ ในการเพม่ิ จดุ เดน่ และปรบั ปรงุ หรอื พฒั นาจุดด้อยของสนิ คา้ และบริการ 6. วทิ ยากรสรุปภาพรวมการดาเนินการผลลพั ธ์กจิ กรรม 1. สง่ เสริมใหผ้ ู้ประกอบการเข้าใจจุดแข็ง จุดอ่อนของสนิ ค้าและบรกิ าร 2. ฝึกฝนหลกั การคิดวเิ คราะห์สินคา้กจิ กรรมเชิงปฏิบัตกิ ำร “บรรจุภัณฑ์น่ำซื้อ”วัตถปุ ระสงคข์ องกจิ กรรม เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ความเข้าใจในบรรจภุ ัณฑ์แต่ละชนดิ และพิจารณาว่าบรรจภุ ณั ฑ์ที่มีอยู่เดิมมีความเหมาะสมหรอื ไม่ รวมท้งั สามารถออกแบบบรรจภุ ณั ฑใ์ หม่ทช่ี ่วยเพ่มิ มลู คา่ ให้กบั สินคา้ ได้สิ่งทีต่ ้องเตรยี มกำร 1. แจง้ ผเู้ ข้าร่วมการอบรมจะต้องนาสินคา้ ของตนเอง อย่างน้อยผู้ประกอบการละ 1 ชนิ้ 2. กระดาษ A4, ปากกา, สไี ม้วิธกี ำรดำเนินกจิ กรรม 1. วิทยากรให้ความรู้เกี่ยวกับบรรจุภณั ฑ์แต่ประเภท ซึ่งได้แก่ บรรจุภัณฑ์เฉพาะหน่วย บรรจุภัณฑช์ ัน้ ใน บรรจุภัณฑ์ชั้นนอกสุด รวมถึงบรรจุภัณฑ์ท่ีมีโครงส ร้างเอกลักษณ์เฉพาะตัวที่น่าจดจา เพราะการออกแบบบรรจภุ ัณฑ์ทีม่ โี ครงสรา้ งแปลกใหม่ และมขี นาดเฉพาะตวั ช่วยให้ลกู คา้ จดจาได้ 2. ผู้เข้าอบรมรับกระดาษเพื่อจดบันทึก และเปรียบเทียบว่าสินค้าของผู้เข้าร่วมอบรม จัดอยู่ในบรรจุภัณฑ์ ชนดิ ใด 3. ผเู้ ข้าอบรมทดลองออกแบบบรรจุภัณฑ์ใหม่หรือปรับปรุงจากบรรจุภัณฑ์เดิม โดยการวาดและระบายสี 4. ผเู้ ข้าอบรมนาเสนอรูปแบบบรรจภุ ัณฑ์ใหมห่ รือรูปแบบบรรจุภัณฑ์ที่ไดร้ ับการปรับปรุงจากบรรจภุ ณั ฑ์เดิม 5. วทิ ยากรสรปุ ภาพรวมการดาเนินการ20 สำนกั งำนคณะกรรมกำรดจิ ิทลั เพื่อเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชำติ (สดช.)

คู่มือสำหรบั วิทยำกร E-Commerce ชุมชน โครงการศนู ย์ดจิ ิทัลชุมชน กิจกรรม : Village E-Commerceผลลัพธก์ ิจกรรม 1. ผู้เข้ารว่ มอบรมมีความรเู้ ก่ียวกับบรรจุภณั ฑ์ และสามารถพฒั นาบรรจภุ ัณฑเ์ ดมิ หรอื ออกแบบบรรจุภัณฑ์ใหม่ ใหเ้ หมาะสมกับสนิ ค้าของผู้เขา้ รว่ มอบรมได้ 2. ผู้เข้าร่วมอบรมมีความคิดสร้างสรรค์ในการพัฒนาบรรจุภัณฑ์ เพ่ือให้ดึงดูดลูกค้าและเพ่ิมมูลค่า ให้แก่สนิ คา้ ได้กิจกรรมเชิงปฏิบัตกิ ำร “ตรำสนิ คำ้ น่ำจำ”วตั ถปุ ระสงค์ของกจิ กรรม เพ่ือให้ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ความเข้าใจในตราสินค้าและสามารถออกแบบหรือเลือกใช้ตราสินค้าใหเ้ หมาะสมกับสนิ คา้ เพ่ือสร้างความดงึ ดดู และเป็นท่จี ดจาของลกู คา้ ได้สิง่ ทต่ี ้องเตรยี มกำร1. แจง้ ผเู้ ขา้ รว่ มการอบรมจะต้องนาสนิ คา้ ของตนเอง อย่างน้อยผูป้ ระกอบการละ 1 ช้นิ2. กระดาษ A4, ปากกา, สีไม้วิธีกำรดำเนินกิจกรรม1. วิทยากรให้ความรู้เกี่ยวกับตราสินค้าโดยกล่าวถึงความหมาย ความสาคัญของตราสินค้า ตลอดจนหลักการออกแบบตราสนิ ค้าทถี่ กู ต้อง2. วทิ ยากรยกตัวอยา่ งตราสนิ ค้าที่เหมาะสมกับสินค้า3. ผูอ้ บรมรบั กระดาษเพอ่ื จดบนั ทึก พร้อมท้งั ทดลองออกแบบตราสินคา้ โดยการวาดและระบายสี4. ผู้เขา้ อบรมนาเสนอรปู แบบตราสินคา้ ทีเ่ หมาะสมและนา่ จดจา5. วิทยากรสรุปภาพรวมการดาเนินการผลลพั ธ์กจิ กรรม ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้เก่ียวกับตราสินค้า และสามารถพัฒนาหรือออกแบบตราสินค้าให้เหมาะสมกับสนิ ค้าของผเู้ ขา้ รว่ มอบรมได้สำนกั งำนคณะกรรมกำรดิจิทลั เพอื่ เศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติ (สดช.) 21

Village E-Commerceสง่ เสรมิ ผลติ ภัณฑ์/บรกิ าร ในชุมชนดว้ ยเศรษฐกิจดจิ ทิ ลักจิ กรรมเชิงปฏิบตั กิ ำร “คดิ รำคำสนิ ค้ำงำ่ ยนิดเดยี ว”วตั ถปุ ระสงค์ของกิจกรรม เพ่ือให้ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ความเข้าใจในวัตถุประสงค์ของการต้ังราคา และสามารถนามากาหนดราคาให้กับสินคา้ ของผู้เขา้ ร่วมอบรม นอกจากนนั้ ยงั สามารถคานวณหาต้นทุน กาไร และปริมาณการขายได้ส่ิงท่ตี อ้ งเตรยี มกำร 1. กระดาษ A4, ปากกา 2. เครอื่ งคดิ คานวณวธิ ีกำรดำเนินกจิ กรรม 1. วทิ ยากรให้ความรูเ้ ก่ยี วกบั ราคา ความสาคญั และวตั ถปุ ระสงค์ของการต้ังราคา 2. วิทยากรยกตัวอยา่ งการคานวณและตง้ั ราคาสินคา้ 3. ผู้อบรมรับกระดาษเพ่ือจดบันทึก และใช้เครื่องคานวณในการคิดคานวณเพื่อต้ังราคาที่เหมาะสม แกส่ ินค้า 4. ผู้เข้าอบรมนาเสนอสินคา้ และราคาสนิ คา้ 5. วิทยากรสรุปภาพรวมการดาเนนิ การผลลัพธก์ ิจกรรม 1. ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรเู้ ก่ยี วกบั วัตถปุ ระสงค์ของการต้งั ราคาและกลยุทธต์ า่ งๆ ของการตง้ั ราคา 2. ผเู้ ขา้ ร่วมอบรมสามารถคิดคานวณและต้งั ราคาสนิ คา้ ในราคาทีเ่ หมาะสมได้ 3. เกดิ การคดิ วเิ คราะหใ์ นการคานวณหากาไรเพื่อเพิม่ รายไดใ้ ห้กับผู้เขา้ รว่ มอบรม22 สำนกั งำนคณะกรรมกำรดิจิทลั เพอื่ เศรษฐกิจและสงั คมแห่งชำติ (สดช.)

คมู่ อื สำหรับวิทยำกร E-Commerce ชมุ ชน โครงการศนู ย์ดิจทิ ลั ชุมชน กิจกรรม : Village E-Commerceสำนักงำนคณะกรรมกำรดจิ ทิ ลั เพ่ือเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชำติ (สดช.) 23

Village E-Commerceสง่ เสริมผลติ ภณั ฑ/์ บรกิ าร ในชุมชนดว้ ยเศรษฐกิจดิจิทัล ขน้ั ตอนท่ี 2 เปดิ รำ้ นค้ำออนไลน์ (Online Shop) พ้ืนฐำนท่จี ำเปน็ สำหรับร้ำนค้ำออนไลน์ 1. อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์สาหรับการทาร้านค้าออนไลน์น้ัน มีความจาเป็นจะต้องใช้อุปกรณ์ อาทิ โทรศัพท์สมาร์ทโฟน แท็บเล็ต คอมพิวเตอร์ กล้องถ่ายภาพ เคร่ืองพิมพ์เอกสารที่เป็นองค์ประกอบสาหรับการทาร้านค้าออนไลน์ โดยไม่จาเป็นว่าผู้ประกอบการชุมชนจะต้องมีท้ังหมดที่กล่าวมาข้างต้น เพียงแค่มีคอมพิวเตอร์ หรือโทรศัพท์สมาร์ทโฟน ก็สามารถบริหารจัดการร้านค้าออนไลน์ได้ดังนัน้ การใช้ประโยชนจ์ ากอปุ กรณ์อิเลก็ ทรอนกิ ส์ จะทาใหเ้ กดิ ประโยชนใ์ นทางธรุ กิจได้คอมพิวเตอร์ ใช้สาหรับการจัดตั้งร้านค้าออนไลน์ รับคาส่ังซื้อจากลูกค้า โต้ตอบกับลูกค้ามีความสาคัญอย่างย่ิงในการทาร้านค้าออนไลน์ ผู้ประกอบการชุมชนท่ีไม่มีคอมพิวเตอร์สามารถเข้าใช้บริการได้ท่ีศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน ศูนย์ดิจิทัลชุมชน ของกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมมากกว่า2,000 แหง่ ทั่วประเทศ ศูนยด์ ิจิทลั ชมุ ชน www.onde.go.th โทร. 02-142-120224 สำนกั งำนคณะกรรมกำรดจิ ทิ ัลเพ่อื เศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชำติ (สดช.)

คู่มอื สำหรับวทิ ยำกร E-Commerce ชุมชน โครงการศูนย์ดิจทิ ลั ชมุ ชน กจิ กรรม : Village E-Commerce สมำร์ทโฟนหรือแท็บเล็ต ใช้สาหรับบริหารจัดการร้านค้า รับคาสั่งซ้ือจากลูกค้า โต้ตอบกับลูกค้า มีความสาคัญอย่างย่ิงในการบริหารร้านค้าออนไลน์ ซึ่งเป็นอุปกรณ์ท่ีพกพาง่าย สะดวกสาหรับการตรวจสอบรายการสง่ั ซอื้ ของลกู ค้าเป็นอยา่ งยิง่ กล้องดิจิทัล ใช้สาหรับการถ่ายภาพผลิตภัณฑ์/บริการ เพ่ือประกอบการขาย เน่ืองจากผู้ซ้ือไม่สามารถเห็นสินค้าตัวจริง หรือจับต้องได้ ดังน้ัน ภาพถ่ายจะเป็นเคร่ืองมือในการส่ือความหมายหากภาพชดั เจนสวยงาม ครบถว้ นทกุ มุมมอง ทาใหม้ โี อกาสทล่ี กู คา้ ตดั สนิ ใจซื้อได้ง่ายกวา่ ผู้ประกอบการชุมชนสามารถใชเ้ พียงกลอ้ งโทรศัพท์ถา่ ยภาพก็สามารถใช้งานได้ โดยตอ้ งจดั องค์ประกอบแสงให้เหมาะสมสำนกั งำนคณะกรรมกำรดิจทิ ลั เพื่อเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชำติ (สดช.) 25

Village E-Commerceสง่ เสรมิ ผลติ ภัณฑ์/บริการ ในชุมชนด้วยเศรษฐกจิ ดิจทิ ลั เคร่ืองพิมพ์เอกสำร ใช้ในกรณีการจัดพิมพ์เอกสาร การจ่าหน้าการส่งสินค้า รวมถึงการประยุกต์ใช้ในการพิมพ์ตราสัญลักษณ์ ป้ายข้อเสนอพิเศษ ป้ายโฆษณา คาอธิบาย สรรพคุณ รหัสยืนยันการใชบ้ รกิ าร บตั รส่วนลด บัตรผ่าน ฯลฯ ประกอบผลิตภัณฑ์/บริการทจ่ี าหน่าย 2. อินเทอร์เน็ต เป็นโครงข่ายที่เช่ือมโยงผู้ประกอบการและผู้ซ้ือท่ัวโลก ให้เข้าถึงกันได้โดยกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสงั คม ได้มียุทธศาสตร์ในการวางโครงสร้างพื้นฐานโครงข่ายอินเทอรเ์ น็ตสาหรับประชาชนไทย เพื่อให้ประชาชนได้ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลให้เกิดประโยชน์ กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมมพี ้ืนท่ีให้บริการอินเทอร์เน็ตฟรี คือ เน็ตประชารฐั ศนู ย์ดิจทิ ลั ชมุ ชน และศูนยก์ ารเรยี นรู้ ICT ชมุ ชนส า ม า ร ถ ต ร ว จ ส อ บ จุ ด ใ ห้ บ ริ ก า ร ไ ด้ ท่ี www.netpracharat.com ห รื อ http://thaitelecentre.orgหรือสอบถามได้ทห่ี มายเลขโทรศัพท์ 02-142-120226 สำนักงำนคณะกรรมกำรดิจทิ ัลเพ่อื เศรษฐกจิ และสังคมแห่งชำติ (สดช.)

คูม่ อื สำหรับวิทยำกร E-Commerce ชุมชน โครงการศูนยด์ จิ ิทัลชมุ ชน กิจกรรม : Village E-Commerce อินเทอร์เน็ตเป็นส่วนสาคัญของการติดต่อสื่อสารผ่านโลกดิจิทัล ผู้ที่ใช้โครงข่ายต้องมีบัญชีในการยืนยันตนเอง สาหรับรับข้อมูลข่าวสาร หรือคาสั่งซ้ือ ดังนั้น ผู้ประกอบการชุมชนต้องสมัครจดหมายอิเล็กทรอนกิ ส์ หรอื อีเมล์ (Email) บัญชีจดหมำยอิเล็กทรอนิกส์ (Email) คือ บัญชีสาหรับการรับส่งข้อมูลทางอินเทอร์เน็ตโดยเป็นเสมือนบ้านเลขที่ หากผู้ประกอบการต้องการส่งจดหมายถึงลูกค้า ต้องระบุ ช่ือ ท่ีอยู่ จังหวัดรหสั ไปรษณยี ์ เพื่อส่งจดหมายไปยงั ลูกคา้ ได้อยา่ งสมบรู ณ์ จดหมายอเิ ลก็ ทรอนิกส์ ก็เช่นกัน เป็นการจดั ตง้ั ที่อยู่แบบอิเล็กทรอนิกส์ สาหรับการจัดส่งจดหมาย โดยบัญชีจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ ถือเป็นพื้นฐานของระบบอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ท้ังหมด ดังน้ัน ผูป้ ระกอบการจะตอ้ งมบี ัญชีอเี มล์ อย่างน้อย 1 บัญชี จากนั งา่ ยๆ อีเมลจ์ ะมีสัญลกั ษณ์ “@”แอ็ดไซน์ อีเมล์มีผู้ให้บริการฟรีหลายบริษัท โดยมีอีเมล์ที่นิยมใช้ อาทิ กูเกิ้ลจีเมล์ (Gmail)ไมโครซอฟต์เอำ้ ท์ลกุ (Outlook) แอปเปล้ิ ไอคลำวด์ (iCloud) เปน็ ต้นสำนักงำนคณะกรรมกำรดิจิทลั เพอื่ เศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชำติ (สดช.) 27

Village E-Commerceส่งเสริมผลิตภณั ฑ/์ บรกิ าร ในชมุ ชนด้วยเศรษฐกจิ ดิจิทัล หนา้ จอระบบจดหมายอเิ ล็กทรอนิกสข์ องกูเกิล้ (Google Gmail) หน้าจอระบบจดหมายอเิ ล็กทรอนกิ ส์ของไมโครซอฟต์ (Microsoft Outlook)28 สำนกั งำนคณะกรรมกำรดิจิทัลเพื่อเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชำติ (สดช.)

คมู่ ือสำหรับวิทยำกร E-Commerce ชุมชน โครงการศนู ย์ดจิ ทิ ัลชุมชน กจิ กรรม : Village E-Commerceหนา้ จอระบบจดหมายอเิ ล็กทรอนิกส์ของแอปเปล้ิ (Apple iCloud)สำนกั งำนคณะกรรมกำรดจิ ทิ ัลเพอ่ื เศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติ (สดช.) 29

Village E-Commerceสง่ เสริมผลติ ภณั ฑ/์ บรกิ าร ในชมุ ชนด้วยเศรษฐกจิ ดิจทิ ัล ขัน้ ตอนกำรสมคั รและใชง้ ำนบญั ชีอีเมล์ (Email) 1) ตั้งช่ือท่ีอยู่อีเมล์ ผู้ประกอบการชุมชนสามารถต้ังชื่อท่ีอยู่อีเมล์เป็นภาษาอังกฤษให้สอ่ื ความหมายถึงชื่อรา้ นคา้ ตัวอย่างเชน่ คณุ ยายอนงค์ ขายผลไม้แชอ่ ิ่ม ตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2515 ก็สามารถตั้งชื่อทอ่ี ยู่เปน็ [email protected] [email protected] [email protected] [email protected] หลักเกณฑ์การต้ังชอ่ื ที่อยูอ่ ีเมล์ประกอบดว้ ย ตัวอักษร ตัวเลข และสัญลักษณ์ หากชื่อร้านค้าของผู้ประกอบการชุมชนไม่ประกอบด้วยคาเฉพาะ อาจทาให้มีโอกาสซ้าซ้อนกับที่อยู่อีเมล์ของผู้อ่ืนจึงต้องเปลยี่ นหรอื ใส่สัญลกั ษณ์ เพอ่ื ให้จดจาได้ง่าย30 สำนักงำนคณะกรรมกำรดจิ ทิ ลั เพ่อื เศรษฐกจิ และสังคมแห่งชำติ (สดช.)

คู่มอื สำหรบั วทิ ยำกร E-Commerce ชมุ ชน โครงการศนู ย์ดิจิทัลชุมชน กิจกรรม : Village E-Commerce 2) ต้ังรหัสผ่ำนเข้ำสู่บัญชีอีเมล์ รหัสผ่านเป็นส่ิงสาคัญในการยืนยันตัวตน เพื่อเข้าสู่บัญชีและอ่านจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ท่ีอยู่ในกล่องจดหมาย ดังนั้นการตั้งรหัสผ่านสาหรับบัญชีอีเมล์ ต้องมีความปลอดภัย โดยหลักการที่ทาให้รหัสผ่านมีความปลอดภัย คือ ต้ังรหัสผ่านให้มีความยาวมากกว่า8 ตัวอักษร ประกอบด้วยตัวพิมพ์ใหญ่ ตัวพิมพ์เล็ก ตัวเลขและสัญลักษณ์ผสมกัน ไม่ต้ังรหัสผ่านจากช่ือนามสกุล ชื่อเล่น วันเดือนปีเกิด เบอร์โทรศัพท์ หรือจากพจนานุกรม และไม่ต้ังรหัสผ่านจากคาที่เรียงกันบนแปน้ พมิ พ์ ร หั ส ผ่ า น ท่ี ไ ม่ค ว ร ใ ช้ง าน เ ช่ น 12345678, password, abc123, qwerty, football,1qaz2wsx, login, welcome, 0987654321 เปน็ ต้น Tips หากผู้ประกอบการชุมชนคิดรหัสผ่านไม่ออก สามารถเข้าเว็บไซต์เพื่อสร้างรหัสผ่านได้ท่ีhttps://lastpass.com/generatepassword.php และกด Generate จะไดร้ หัสผา่ นท่ีมคี วามปลอดภยั ทันทีสำนักงำนคณะกรรมกำรดจิ ทิ ลั เพอื่ เศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชำติ (สดช.) 31

Village E-Commerceส่งเสรมิ ผลิตภณั ฑ์/บริการ ในชุมชนด้วยเศรษฐกิจดจิ ิทลั 3) กรอกข้อมูลบัญชีอีเมล์ อีเมล์จะมีพ้ืนท่ีให้กรอกข้อมูลเพิ่มเติมสาหรับบัญชีอีเมล์ เช่นชอื่ นามสกุล รูปภาพประจาบัญชอี ีเมล์ เพศ วัน เดอื น ปี เกิด เบอร์โทรศพั ท์ อีเมลท์ ใี่ ชอ้ ยู่ปัจจบุ นั (ถ้ามี) ตัวอย่ำง กำรกรอกขอ้ มูลเพ่ือสมัครอเี มล์ ผู้ประกอบการดาเนินการสมัครและใช้งานบัญชีอีเมล์ (Email) ตามขั้นตอนดังกล่าวจะได้บัญชีท่ีสามารถนามาใช้ในการสมัครเครือข่ายสังคมออนไลน์ เช่น เฟซบุ๊ก (Facebook) ไลน์ (Line)และร้านคา้ ออนไลน์ (E-Commerce Platform/ E-Marketplace) ได้32 สำนกั งำนคณะกรรมกำรดจิ ิทัลเพอ่ื เศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชำติ (สดช.)

คู่มอื สำหรบั วทิ ยำกร E-Commerce ชมุ ชน โครงการศูนย์ดิจทิ ลั ชมุ ชน กิจกรรม : Village E-Commerce3.บญั ชเี ครอื ขำ่ ยสังคมออนไลน์ บัญชีเครือขา่ ยสังคมออนไลน์ เปน็ สิ่งที่จาเป็นท่ผี ูป้ ระกอบการชมุ ชนต้องสร้างเพอื่ เปน็ การเพิม่ ช่องทางในการประชาสัมพันธ์ให้เข้าถึงกลุ่มลูกค้า โดยประเทศไทยมีการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์เป็นจานวนมากถึง46 ล้านบัญชีผู้ใช้ อันดับท่ี 1 คือ เฟซบุ๊ก (Facebook) อันดับที่ 2 คือ ยูทูป (Youtube) และอันดับท่ี 3คือ ไลน์ (Line) ซ่ึงส่วนใหญ่มีการซื้อ-ขายสินค้าผ่านร้านค้าออนไลน์มากถึง 11.58 ล้านคน ฉะน้ัน การจัดทาบัญชีเครือข่ายสังคมออนไลน์ สามารถสร้างช่องทางการเข้าถึงลูกค้าได้มากขึ้นกว่าการโฆษณาแบบเดิมโดยเครอื ข่ายสังคมออนไลน์ท่ีแนะนาสาหรบั ผูป้ ระกอบการชมุ ชน คือ เฟซบุ๊ก เฟซบุ๊ก (Facebook) เป็นเคร่ืองมือสังคมออนไลน์ท่ีมีความนิยมมาก ประเทศไทยมีผู้ใช้งาน มากถึง 46 ล้านบัญชี ดังน้ัน หากผู้ประกอบการต้องการส่ือสาร สามารถสร้างการรับรู้ของลูกค้า ไดม้ ากสงู สุดถงึ 46 ล้านบญั ชีด้วยกัน โดย แบง่ เปน็ เพศชายร้อยละ 51 และเพศหญิงรอ้ ยละ 491Tips การสร้างบัญชีผู้ใช้สาหรับ Facebook และการสร้างร้านค้า Facebook Page สามารถดูวีดีทัศน์การสอนของโครงการ SMEGoOnline ได้ที่ https://www.smesgoonline.com/page/basic.php 1 We are social. (2017). Digital in 2017: Global Overview. https://wearesocial.com/special-reports/digital-in-2017-global-overview 33สำนักงำนคณะกรรมกำรดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชำติ (สดช.)

Village E-Commerceสง่ เสรมิ ผลติ ภณั ฑ/์ บรกิ าร ในชมุ ชนด้วยเศรษฐกิจดจิ ิทลั 4. บญั ชีธนำคำรและระบบตรวจสอบกำรรบั เงิน บัญชีธนาคารสาหรับร้านค้าออนไลน์ เป็นช่องทางหลักในการรับเงินจากลูกค้าหรือระบบร้านค้าออนไลน์ ผู้ประกอบการชุมชนต้องเปิดบัญชีธนาคารในนามนิติบุคคลหรือบริษัท เพื่อเป็นบัญชีสาหรับรับเงินจากการขายสินค้า โดยสามารถเปิดบัญชีผ่านธนาคารพาณิชย์ต่างๆ ที่ให้บริการในประเทศไทยอาจมีการเปิดบัญชีหลายธนาคาร เพื่อรองรับการโอนเงินของลูกค้า ส่ิงสาคัญคือ บัญชีธนาคารต้องสามารถตรวจสอบสถานะการโอนเงินได้สะดวก รวดเร็ว เพื่อตรวจสอบการชาระเงินของลูกค้า และดาเนินการจัดส่งสินค้าต่อไป ผู้ประกอบการชุมชนสามารถเปิดบัญชีผ่านธนาคารพาณิชย์ใกล้บ้าน พร้อมลงทะเบียนใช้ระบบตรวจสอบยอดเงิน ในช่องทางท่ีธนาคารเปิดให้บรกิ าร สามารถผูกบริการพร้อมเพย์ เพื่อสะดวกต่อการซื้อขายของผูป้ ระกอบการชุมชนและลูกค้าได้Tips พร้อมเพย์ ดกี ับผปู้ ระกอบกำรชุมชน พรอ้ มเพย์ (PromptPay) เปน็ ระบบการใหบ้ รกิ ารโอนเงนิ ระหวา่ งบคุ คล ไมต่ ้องใช้เลขทบี่ ญั ชีธนาคาร สามารถใช้หมายเลขโทรศัพท์มือถือ หรือเลขท่ีบัตรประจาตัวประชาชน เพื่อทาการโอนเงิน ให้มีความสะดวกและปลอดภัยต่อผู้ซ้ือ ทาให้ผู้ประกอบการชุมชนมีโอกาสในการขายสินค้าได้ดียิ่งข้ึน จากค่าธรรมเนียมการโอนท่ีผู้ซ้ือโอนเงินโดยไม่เสียค่ำธรรมเนียมกำรโอนต่ำงธนำคำร ในกรณีท่ีซ้ือสินค้ำไม่เกิน 5,000 บำท/รำยกำรผ่านช่องทางโอนเงินทางโทรศัพท์มือถือ (Mobile Banking) ทางอินเทอร์เน็ต (Internet Banking) และทางตู้กดเงินสด(ATM) ทาให้ผู้ประกอบกำรชมุ ชนไมจ่ ำเป็นต้องเปิดบญั ชีธนำคำรหลำยธนำคำรเพอื่ รองรบั กำรโอนเงนิ อีกด้วย34 สำนกั งำนคณะกรรมกำรดิจทิ ลั เพื่อเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชำติ (สดช.)

คู่มือสำหรบั วทิ ยำกร E-Commerce ชุมชน โครงการศนู ยด์ ิจทิ ลั ชุมชน กิจกรรม : Village E-Commerce ดังน้ันผู้ประกอบการชุมชนหากไม่ได้เปิดบัญชีธนาคารหลายธนาคาร สามารถลงทะเบียนบริการพรอ้ มเพย์ เพื่อใหล้ ูกค้าสะดวกและเพ่ิมโอกาสในการซ้ือขายสินคา้ อีกดว้ ย ข้ันตอนการลงทะเบียน ให้เตรยี ม 3 สงิ่คือ สมุดบัญชีเงินฝาก บัตรประจาตัวประชาชนตัวจริง และโทรศัพท์ มือถือท่ีต้องการลงทะเบียนท้ังนี้ผู้ประกอบการชุมชนสามารถลงทะเบียนได้ที่ตู้กดเงินสด (ATM) ทางอินเทอร์เน็ต (Internet Banking)ทางโทรศัพท์มอื ถอื (Mobile Banking) หรอื สาขาธนาคารใกลส้ ถานประกอบการชมุ ชนสำนักงำนคณะกรรมกำรดจิ ทิ ัลเพอ่ื เศรษฐกิจและสงั คมแห่งชำติ (สดช.) 35

Village E-Commerceส่งเสริมผลติ ภัณฑ/์ บรกิ าร ในชมุ ชนดว้ ยเศรษฐกจิ ดิจิทัล กำรเลือกระบบร้ำนค้ำออนไลน์ แบบลกู คำ้ กับลกู คำ้ (Customer to Customer : C2C) ระบบร้านค้าออนไลน์ในรูปแบบลูกค้ากับลูกค้าน้ันมีความนิยมใช้ในการขายสินค้ามือสองหรือสินค้าที่มีความเฉพาะ ไม่ได้ผลิตเป็นจานวนมากๆ หลักการขาย ผู้ขายจะประกาศขายผ่านช่องทางออนไลน์และผู้ซื้อจะเข้ามาค้นหาผ่านช่องทางออนไลน์ ซ่ึงสามารถพูดคุย ตกลงราคา ทาการโอนเงินและจัดส่งสินค้า หรือนัดพบ เพื่อทาการซ้ือขาย ซ่ึงผู้ประกอบการชุมชนที่ผลิตสินค้าเฉพาะช้ินงานเช่น ภาพวาด ส่ิงประดิษฐ์ หัตถกรรม ที่ผลิตเป็นจานวนน้อยๆ สามารถเข้าใช้บริการร้านค้าออนไลน์แบบลูกค้ากับลูกค้าได้ โดยแนะนาเว็บไซต์ในประเทศไทย คือ ขายดีดอทคอม (Kaidee.com) ตลาดพลาซ่าดอทคอม (Taladplaza.com) หรือการใช้ช่องทางเครือข่ายสังคมออนไลน์ ก็สามารถทาร้านค้าออนไลน์ในรูปแบบลูกค้ากับลูกค้าได้ เช่น ประกาศขายผ่านเฟซบุ๊ก (Facebook) ไลน์ (Line) อินสตาแกรม(Instagram) เปน็ ตน้ ขำยดีดอทคอม (Kaidee.com) เป็นบริการกลางสาหรับการขายสินค้า โดยมีหมวดหมู่มือถือ แท็บเล็ต คอมพิวเตอร์ เครื่องดนตรี กีฬา จักรยาน แม่และเด็ก กระเป๋า นาฬิกา รองเท้า เสื้อผ้าเคร่ืองแต่งกาย สุขภาพและความงาม บ้านและสวน พระเครื่อง ของสะสม อสังหาริมทรัพย์ รถมือสองอะไหล่รถ ประดับยนต์ มอเตอร์ไซค์ กล้อง เคร่ืองใช้ไฟฟ้า เกมส์ สัตว์เล้ียง งานอดิเรก ธุรกิจ บริการ ท่องเที่ยวการศึกษา และแบ่งปัน ดังนั้น ผู้ประกอบการชุมชนสามารถนาสินค้า หรือของที่ไม่ได้ใช้งานมาขายในบริการของขายดีดอทคอมได้ โดยไม่มคี า่ ใชจ้ า่ ย ดูเพ่ิมเติมไดท้ ่ีเวบ็ ไซต์ https://www.kaidee.com36 สำนักงำนคณะกรรมกำรดิจิทลั เพ่ือเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชำติ (สดช.)

คู่มือสำหรับวิทยำกร E-Commerce ชมุ ชน โครงการศูนยด์ ิจิทลั ชมุ ชน กจิ กรรม : Village E-Commerce เฟซบุ๊ก (Facebook) เป็นเคร่ืองมือเครือข่ายสังคมออนไลน์ โดยมีการประยุกต์ใช้ช่องทางในการประกาศขายสินค้าเพื่อให้เพื่อนท่ีอยู่ในเครือข่ายสังคมออนไลน์ท่ีสนใจติดต่อซ้ือขายผ่านช่องทางท่ีใช้งานเป็นประจา โดยจะมีผู้บริโภคจานวนมาก แต่ไม่มีการจาแนกกลุ่มสินค้าที่ชัดเจน จึงทาให้ต้องมีการสืบค้นสินค้าจากคาสาคัญ (Keyword) หากลูกค้าให้ความสนใจ จะสามารถส่งข้อความถึงผู้ขายได้ดเู พ่มิ เติมได้ทเ่ี ว็บไซต์ https://www.facebook.comสำนักงำนคณะกรรมกำรดจิ ิทลั เพ่ือเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชำติ (สดช.) 37

Village E-Commerceส่งเสรมิ ผลิตภัณฑ/์ บริการ ในชุมชนด้วยเศรษฐกจิ ดจิ ทิ ลั แบบธุรกจิ กับลกู คำ้ (Business to Customer : B2C) ระบบร้านค้าออนไลน์ในรูปแบบธุรกิจกับลูกค้านั้น เป็นรูปแบบธุรกิจท่ีนิยมใช้งานมากที่สุดในผู้ประกอบการระดับเริ่มต้นธุรกิจ จนถึงระดับอุตสาหกรรม โดยมีหลักการขายเป็นการเปิดร้านค้าผ่านช่องทางออนไลน์ และผู้ซื้อสามารถเข้าถึงหน้าร้านผ่านช่องทางออนไลน์ โดยมีการนาเสนอสินค้าราคา และโปรโมช่ัน โดยมีการเลือกสินค้าใส่ตระกร้า และทาการชาระเงินผ่านช่องทางท่ีผู้ประกอบการให้บริการเช่น การโอนเงินผ่านธนาคาร การชาระผ่านบัตรเครดิต การชาระผ่านเคาท์เตอร์ให้บริการชาระเงิน และอื่นๆผู้ประกอบการชุมชน ที่ผลิตสินค้าจาหน่าย ในกลุ่ม ผ้าทอ เสื้อผ้า เครื่องแต่งกาย สินค้าแฟช่ัน เครื่องประดับจิวเวอร่ี สินค้าหัตถกรรมไม้แกะสลัก งานฝีมือ ของตกแต่งบ้าน สินค้าความงาม สมุนไพร สปา ผลิตภัณฑ์อาหารอาหารแปรรูป สินค้าเกษตร ท่องเท่ียวและบริการ ฯลฯ สามารถใช้บริการระบบร้านค้าออนไลน์ โดยผู้ให้บริการท่ีแนะนาในประเทศไทย คือ เทพช็อป (lnwshop) ไทยแลนด์มอล (Thailandmall) ไทยแลนด์โพสต์มาร์ท(Thailand Postmart) เปน็ ต้น เทพช็อป (lnwshop) เป็นเว็บไซต์ให้บริการระบบร้านค้าออนไลน์ โดยผู้ประกอบการสามารถเปิดใช้บริการร้านค้าออนไลน์ได้ฟรี ไม่มีเง่ือนไข มีหมวดหมู่ของร้านค้าท่ีรองรับคือ เสื้อผ้าแฟชั่น เคร่ืองสาอางความงาม ของเล่น ของสะสม ของที่ระลึก แม่และเด็ก ศิลปหัตถกรรม (ของทามือ) ของใช้ของตกแต่งบ้าน อาหาร และสุขภาพ เทคโนโลยี มือถือ คอมพิวเตอร์ บันเทิง ดนตรีและภาพยนต์ สัตว์เลี้ยงและอุปกรณ์ หนังสือและนิตยสาร เคร่ืองเขียน/อุปกรณ์สานักงาน/ของใช้เบ็ดเตล็ด อุปกรณ์และเครื่องมือช่างของเก่า ของสะสม กล้องและอุปกรณ์ กีฬาและกิจกรรม outdoor รถ ยานพาหนะ บ้านและที่ดิน อ่ืนๆดังน้ัน ผู้ประกอบการชุมชน สามารถนาสินค้า ที่ผลิตขึ้นเปิดร้านค้าจาหน่ายได้ผ่านเว็บไซต์บริการระบบร้านค้าออนไลนข์ องเทพช็อปได้ โดยไม่มีค่าใช้จ่าย ดเู พม่ิ เติมไดท้ เี่ ว็บไซต์ https://www.lnwshop.com38 สำนักงำนคณะกรรมกำรดิจิทลั เพอื่ เศรษฐกิจและสงั คมแห่งชำติ (สดช.)

คมู่ อื สำหรบั วิทยำกร E-Commerce ชมุ ชน โครงการศนู ย์ดจิ ทิ ลั ชุมชน กิจกรรม : Village E-Commerce ไทยแลนด์โพสต์มำร์ท (Thailand Postmart) เป็นเว็บไซต์ให้บริการตลาดกลางออนไลน์ดาเนินการโดยบริษัทไปรษณีย์ไทย จากดั โดยเป็นเว็บไซต์ตลาดกลางที่ขายสินคา้ จากชุมชน โดยมีสินค้าเกษตรอาหาร และสินค้าอุปโภคบริโภคอ่ืนๆ ผู้ประกอบการสามารถส่งข้อมูลสินค้าเพ่ือทาการขายบนตลาดกลางของบริษัท ไปรษณีย์ไทย จากัดได้ โดยมีหมวดหมู่ของร้านค้าท่ีรองรับคือ อร่อยทั่วไทย ของดีประจาจังหวัดเหรียญกรมธนารักษ์ สินค้าไปรษณีย์ แสตมป์และสิ่งสะสม ดังน้ัน ผู้ประกอบการชุมชน สามารถนาสินค้าที่ผลิตข้ึนส่งเข้าสู่ตลาดกลางเพ่ือจาหน่ายผ่านเวบ็ ไซต์กลางของไทยแลนด์โพสต์มาร์ทได้ ดูเพิ่มเติมได้ที่เว็บไซต์https://thailandpostmart.com ไทยแลนด์มอล ล์ (Thailandmall) เป็นเว็บไซต์ให้บริการตลาดกลางออนไลน์โดยผู้ประกอบการสามารถสมัครเปิ ดร้านค้าได้โดยไม่มีค่าใช้จ่าย โดยมีฐานลูกค้าและ สินค้าของผู้ประกอบการชุมชนรายอ่ืนๆ รวมอยู่ท่ีเดียวกัน เพื่อสะดวกต่อการซื้อของลูกค้า มีหมวดหมู่ของร้านค้าที่รองรับคือ โอทอป (OTOP) เกษตร อุตสาหกรรม ท่องเท่ียว ครัวโลก และการแพทย์ ดังน้ัน ผู้ประกอบการชุมชนสามารถนาสนิ ค้าท่ผี ลิตข้ึน ส่งเขา้ สู่ตลาดกลางเพื่อจาหน่ายผ่านเว็บไซต์ตลาดกลางของไทยแลนด์มอล ดเู พ่ิมเติมได้ทเ่ี ว็บไซต์ http://thailandmall.netสำนกั งำนคณะกรรมกำรดิจทิ ัลเพือ่ เศรษฐกิจและสงั คมแห่งชำติ (สดช.) 39

Village E-Commerceสง่ เสริมผลิตภณั ฑ์/บรกิ าร ในชุมชนดว้ ยเศรษฐกิจดจิ ทิ ัล แบบธรุ กิจกับธุรกจิ (Business to Business : B2B) ระบบร้านค้าออนไลน์ในรูปแบบธุรกิจกับธุรกิจ เป็นรูปแบบการซ้ือขายแบบเฉพาะโดยมีการจัดซื้อเป็นจานวนมาก เพ่ือให้ได้ราคาท่ีต่าและธุรกิจท่ีซื้อสามารถนาไปเป็นวัตถุดิบในการผลิตหรือขายต่อ โดยหลักการขาย ผู้ขายจะต้องข้ึนทะเบียนผ่านช่องทางออนไลน์ พร้อมนาข้อมูลสินค้าข้ึนสู่ระบบและผู้ซื้อจะเข้ามาค้นหาผ่านช่องทางออนไลน์ และดาเนินการขอราคา ตามปริมาณท่ีต้องการ ซ่ึงจะอยู่ในกระบวนการจัดซื้อและพัสดุของบริษัทนั้นๆ โดยผู้ประกอบการชุมชน ที่สามารถผลิตสินค้าได้เป็นจานวนมากหรือมีเอกลักษณ์เฉพาะท่ีบริษัทอื่นๆต้องการ สามารถเข้าใช้บริการะบบการจัดซ้ือแบบธุรกิจกับธุรกิ จโดยมีผ้ใู ห้บรกิ ารที่แนะนาในประเทศไทยคอื พนั ธวณิช (Pantavanij) และ กดู๊ ชอ้ ยส์ (Goodchoiz)40 สำนักงำนคณะกรรมกำรดจิ ทิ ัลเพ่ือเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชำติ (สดช.)

คมู่ ือสำหรับวทิ ยำกร E-Commerce ชมุ ชน โครงการศูนย์ดิจทิ ัลชมุ ชน กจิ กรรม : Village E-Commerce พันธวณิช (Pantavanij) เป็นระบบการจัดซื้อของธุรกิจกับธุรกิจ ด้วยมีฐานข้อมูลผู้ซื้อและผขู้ าย ซอื้ ขายวตั ถดุ ิบ หรือวัสดทุ ี่ใช้งานในธรุ กจิ โดยผู้ประกอบการชุมชน หากมีการผลติ สินคา้ ทเ่ี ป็นทต่ี ้องการของธรุ กจิ ได้ สามารถข้ึนทะเบยี นผคู้ า้ ในรูปแบบธรุ กิจได้ โดยมรี ะบบงานรองรบั ระบบผู้ซ้ือ ระบบผูข้ าย ประมลูภาครัฐ ภาคเอกชน และประมลู ในสถานที่ (On-site) ดูเพ่ิมเติมได้ทีเ่ วบ็ ไซต์ https://www.pantavanij.com กู๊ดช้อยส์ (Goodchoiz) เป็นเว็บไซต์ศูนย์รวมอุปกรณ์ เคร่ืองใช้สานักงาน โดยให้บริการในระดับองค์กรธุรกิจขนาดใหญ่และเล็ก รวมท้ังลูกค้าส่วนบุคคล ในการส่ังซ้ือสินค้า พร้อมบริการจัดส่งทั่วประเทศ โดยผู้ประกอบการชุมชนสามารถนาสินค้ามา ขายให้ธุรกิจขนาดใหญ่และเล็กได้อาทิ จัดตะกร้าสินค้าชุมชนพรีเมี่ยม สาหรับการสั่งซ้ือเป็นของฝากในช่วงเทศกาล เป็นต้น โดยมีการจัดพิมพ์สมุดรายการสินค้า (Catalogue) เพื่อให้บริษัทใช้ในการดูรายการสินค้าก่อนส่ังซื้อ ดูเพ่ิมเติมได้ที่เว็บไซต์www.goodchoize.comสำนกั งำนคณะกรรมกำรดจิ ทิ ลั เพอ่ื เศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชำติ (สดช.) 41

Village E-Commerceสง่ เสรมิ ผลติ ภัณฑ/์ บรกิ าร ในชุมชนด้วยเศรษฐกิจดิจทิ ลั เตรยี มขอ้ มูลร้ำนค้ำ การจัดตั้งร้านค้าออนไลน์ ด้วยการเร่ิมขายของออนไลน์น้ัน เป็นส่ิงท่ีทาได้ง่าย และมีต้นทุนต่าการสร้างร้านค้าออนไลน์ที่จะประสบความสาเร็จได้น้ัน จาเป็นต้องมีการเตรียมตัวและจัดเตรียมข้อมูลท่ีดีเพราะหากไม่สนใจ หรือตั้งใจจริงๆ อาจจะทาให้ต้องล้มเลิกไปได้ โดยการเร่ิมต้นที่ดีคือ เรียนรู้หลักการเปิดร้านค้าออนไลน์ในด้านต่างๆ เพ่ือเป็นแนวทางให้ผู้ประกอบการชุมชนได้เตรียมความพร้อมร้านค้าของตนเอง ซ่ึงมหี ลักการต่างๆ ดงั น้ี กำรต้ังช่ือร้ำน การเปิดร้านค้าออนไลน์ สิ่งสาคัญท่ีผู้ประกอบการชุมชนไม่ควรมองข้ามนั่นคือ การตั้งชื่อร้าน การตั้งชื่อจะส่งผลถึงว่า ร้านค้าออนไลน์ของผู้ประกอบการชุมชนคือใครขายสินค้าประเภทใด ระดับราคาของสินค้า กลุ่มลูกค้าเป้าหมายคือใคร มีแนวคิดของการขายสินค้าอย่างไรดงั น้ัน การตัง้ ชอื่ รา้ นควรพจิ ารณาให้รอบคอบ ซึ่งมหี ลักการดังน้ี42 สำนกั งำนคณะกรรมกำรดจิ ทิ ลั เพ่ือเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชำติ (สดช.)

คมู่ อื สำหรับวิทยำกร E-Commerce ชมุ ชน โครงการศนู ยด์ จิ ิทัลชมุ ชน กจิ กรรม : Village E-Commerceตวั อย่ำงกำรตง้ั ช่ือรำ้ นค้ำตำมหลกั เกณฑ์กำรต้ังช่ือรำ้ นและตัวอย่ำงโลโก้ร้ำนค้ำสำนักงำนคณะกรรมกำรดิจทิ ลั เพอ่ื เศรษฐกิจและสงั คมแห่งชำติ (สดช.) 43

Village E-Commerceสง่ เสริมผลติ ภณั ฑ/์ บริการ ในชมุ ชนด้วยเศรษฐกิจดิจทิ ัลกำรตกแต่งหน้ำรำ้ นค้ำออนไลน์ สีสัน ผู้ประกอบการชุมชนจะต้องเลือกสีสันให้สอดคล้องกับสินค้าหรือบริการ สีสันจะช่วยสร้างความรู้สึกต่างๆ อีกทั้งยังบ่งบอกถึงเอกลักษณ์ของสินค้าและบริการ โดยแสดงตัวอย่างความหมายของสีดงั ตอ่ ไปนี้ o สีเขยี ว หมายถึง สขุ ภาพ ธรรมชาติ o สเี หลือง หมายถงึ คนหน่มุ สาว ความม่นั ใจ o สสี ้ม หมายถึง พลังงาน ความสดใสร่าเริง o สแี ดง หมายถงึ อานาจ ความตนื่ เต้น o สีชมพู หมายถงึ ความเป็นผู้หญิง o สดี า หมายถงึ หรหู รามีระดับ o สีขาว หมายถึง บรสิ ุทธิ์ ปลอดภัย o สีนา้ เงนิ หมายถงึ ความมั่นคง ปลอดภัย ตัวอย่างการเลือกสีสันให้เหมาะสมกับร้านค้า จะช่วยนาเสนอความรู้สึกของสินค้าได้ดี เช่น สินค้ากีฬามกี ารใชส้ สี ดใส โดยสเี หลอื งหมายถึงคนหนุม่ สาว มคี วามมนั่ ใจ ทาใหผ้ ู้ซ้อื สนใจและสามารถจดจารา้ นคา้ ได้งา่ ยยง่ิ ข้ึน44 สำนักงำนคณะกรรมกำรดิจทิ ลั เพอ่ื เศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติ (สดช.)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook