As of 19 Aug 2019, 10.30 hrs. Thai Festival 2019: Local Best, Global Taste Programme on the Main Stage Day 1: 23 August 2019 “Getting to know Thailand” 07.00 – 09.00 Rehearsal - Run through 10.30 – 12.30 - Cultural performances 12.30 – 13.30 - Light and Sound system 13.30 – 14.30 Business Matching (OTOP) 15.00 – 15.30 15.30 – 16.00 VDO about Thailand / Thai Business Sector 15.30 – 17.30 17.30 – 18.20 Business Matching (Thai herbal manufacturer) 18.30 – 19.00 Rehearsal 19.00 – 19.30 - Le Thien Hieu 19.30 – 20.00 Greeting/Introduction to the Thai Festival 2019 (MC) 20.00 – 20.30 VDO about Thailand / Thai Business Sector 20.30 – 21.00 Preparation for the Opening Ceremony Opening Ceremony 17.35 – Cultural Performance “Joyful Isan” 17.45 – Cultural Performance by Thai Nguyen province – Tac Xinh Dance, the Vietnamese National Cultural Heritage – Ho Nui Coc, the song about Thai Nguyen people and nature 18.00 – Speech by Ambassador – Speech by Mr.Charun Ohnmee, Deputy Governor of TAT – Speech by Mr. Tran Quoc To, Party Secretary of Thai Nguyen 18.15 – Opening ceremony (pressing button) – Photo Session Thai Food Cooking Show by National Food Institute of Thailand “Look to the stars” by Ruamrudee International School Presentation of Medical Hub in Southeast Asia by Dr. Phattarapol Jungsomjatepaisal Assistant Director General, Department of Health Service Support Keep calm and go Thai Spa! (2 companies /10 min per company) (5 min presentation + 5 min translation) - Klinn by ดร.ไฉน - ผปู้ ระกอบการสมุนไพร(TBC) Cultural Performance (Set 1 – 25 min) - หนุมานจบั นางเบญจกาย
2 - สตั ตบงกช - เซิ้งกะโป๋ - ตารียอเกจ็ ปาฮงั - รับขวญั ขา้ ว Day 2: 24 August 2019 “Local Best, Global Taste” 07.00 – 09.00 Rehearsal 10.00 – 10.30 - Muay Thai 10.30 – 11.00 - Light and Sound system 11.00 – 11.30 Video TAT 11.30 – 12.00 Best Selected OTOP Products (each enterprise presents 1 product) 10 enterprises (1 min presentation + 1 min translation) 12.00 – 12.30 MC: Seth 12.30 – 13.00 VDO about Thailand / Thai Business Sector Preparation for Doctor’s talk 13.00 – 13.30 Meet the Doctor (2 hospitals / 10 min per hospital) (5 Min presentation + 5 min translation) 13.30 – 14.00 14.00 – 14.30 - Phyathai 2 Hospital 14.30 – 15.00 - Piyavate Hospital Thai Food Cooking Show by National Food Institute of Thailand Cultural Performance (Set 2 – 25 min) - พรานบญุ จบั นางกินรี - ฟ้ อนจอ้ ง - เซิ้งโปงลาง - ฟ้ อนโคมประทีมเฉลิมขวญั - ฟ้ อนกลองยาวอีสาน Keep Calm and go Thai Spa! ( 2 companies / 10 min per company) (5 min presentation + 5 min translation) - สมาพนั ธ์สปาไทย - ผปู้ ระกอบการสมุนไพรไทย VDO about Thailand / Thai Business Sector Preparation for Muay Thai Live Show Muay Thai: Live Show VDO about Thailand / Thai Business Sector
15.00 – 15.30 3 15.30 – 16.00 Preparation for Doctor’sTalk 16.00 – 16.30 16.30 – 17.30 Doctor’s Talk (2 hospitals / 10 min per hospital) (5 Min presentation + 5 min translation) 17.30 – 18.00 18.00 – 18.30 - Thai Stemlife 18.30 – 19.00 - Phoenix Medical Clinic Lucky Draw 1 19.00 – 19.30 19.30 – 20.00 VDO about Thailand / Thai Business Sector Preparation for Thai Film Festival 20:00 – 20.15 Introducing Thai Film Festival, with special guest, Nine Naphat 20.15 – 20.30 20.30 – 21.00 16.35 - Ambassador the Representative of Department of Information, Ministry of Foreign affairs of Thailand proceed to the stage to give brief information/rationale of the Thai Film Festival 16.40 - Introducing of the film “Ho Chi Minh in Siam” 16.50 - Greeting Nong Nine Naphat, Friend Zone - Interviewing Nong Nine and the Director of Friend Zone movie - Showing film’s trailer 17.10 - Photo session 17.15 - Lucky Draw (TG tickets) picked by Nong Nine 17.20 - Nong Nine gives an interview to Vietnamese media at CGV Game Show by Tourism Authority of Thailand Thai Food Cooking Show by National Food Institute of Thailand Cultural Performance (Set 1 – 3 shows) - หนุมานจบั นางเบญจกาย - สตั ตบงกช - เซิ้งกะโป๋ Muay Thai: Live Show Singing with Vietnamese Singer “Le Thien Hieu” - Ong ba Anh - A Dung Roi, Thai Lan - Di tin yeu Lucky Draw 2(1) 1-2 prizes (including TAT package tour) Cultural Performance (Set 1 – 2 shows) ตารียอเกจ็ ปาฮงั รับขวญั ขา้ ว Lucky Draw 2(2)
4 Day 3: 25 August 2019 “Discover the endless happiness in the Land of Smiles” 10.00 – 10.30 Video TAT 10.30 – 11.00 Best Selected OTOP Products (each enterprise presents 1 product) 10 enterprises (1 min presentation + 1 min translation) MC: Seth 11.00 – 11.30 Doctor’s advice (2 hospitals / 10 min per hospital) (5 Min presentation + 5 min translation) - BNH Hospital - Vejthani Hospital 11.30 – 12.00 Thai Food Cooking Show by National Food Institute of Thailand 12.00 – 12.30 Cultural Performance (Set 2 – 25 mins) - พรานบญุ จบั นางกินรี - ฟ้ อนจอ้ ง - เซิ้งโปงลาง - ฟ้ อนโคมประทีมเฉลิมขวญั - ฟ้ อนกองยาวอีสาน 12.30 – 13.00 VDO about Thailand / Thai Business Sector 13.00 – 13.30 13.30 – 14.00 “Look to the stars” by Ruamrudee International School 14.00 – 14.30 VDO about Thailand / Thai Business Sector 14.30 – 15.00 Preparation for Muay Thai 15.00 – 15.30 Muay Thai: Live Show Game Show by Tourism Authority of Thailand A Dialouge with Doctor (1 hospitals / 10 min per hospital) (5 Min presentation + 5 min translation) - Chao Phraya Aphaiphubet Hospital 15.30 – 16.00 Lucky Draw 3 16.00 – 17.30 3-4 prizes 17.30 – 18.00 VDO about Thailand / Thai Business Sector Preparation for Thai Food Cooking Show Thai Food Cooking Show by National Food Institute of Thailand
18.00 – 18.30 5 18.30 – 18.45 VDO about Thailand / Thai Business Sector 19.00 – 19.30 19.30 – 20.00 Cultural Performance (Set 1 – 3 shows) 20.00 – 20.15 - หนุมานจบั นางเบญจกาย 20.15 – 20.30 - สตั ตบงกช - เซิ้งกะโป๋ 20.30 – 21.00 21:00 Muay Thai: Live Show Singing with Vietnamese singer “Le Thien Hieu” - Ong ba Anh - A Dung Roi, Thai Lan - Xung doi cuoi thoi Final Lucky Draw (1) 1-2 prizes (including TAT package tour) Cultural Performance (Set 1 – 2 shows) - ตารียอเกจ็ ปาฮงั - รับขวญั ขา้ ว Final Lucky Draw (2) 1-2 prizes Concluding the Festival Photo Session *** **
สถานะ 14 ส.ค. 2562 เวลา 18.00 น. ตารางเวลาสาหรบั Medical Talk และ Wellness & Spa Talk งานเทศกาลไทย ณ กรงุ ฮานอย กลมุ่ โรงพยาบาลรูปแบบการจัดงาน Talk 30 นาที 1. ภาษา – ไทย-เวียดนาม หรอื อังกฤษ-เวียดนาม (ขอรับการยนื ยันจาก รพ.) 2. การจัดทน่ี ่งั – เก้าอ้ีสูง 3. รปู แบบ 3.1 ผดู้ าเนินรายการเชญิ ผ้แู ทนโรงพยาบาลขึ้นบนเวที 3.2 ผดู้ าเนนิ รายการเชญิ ผ้แู ทนโรงพยาบาลกล่าวแนะนาโรงพยาบาล/presentation ทง้ั สองโรง (มีจอ LED ดา้ นหลังเวทีเพ่ือฉาย powerpoint หรอื วดิ โี อ) ระยะเวลาการแนะนา/present ไมเ่ กนิ 5 นาทีต่อโรงพยาบาล (ไมร่ วมล่ามแปล) 3.3 ผ้ดู าเนินรายการพดู คยุ กบั ผู้แทนโรงพยาบาลเพิ่มเติม (ประมาณ 5-7 นาท)ี Medical Talk – Meet with Doctor 24 August 2019 11.30 – 12.00 1. Phyathai 2 Hospital 15.00 – 15.30 2. Piyavate Hospital 1. Pattaya Dolphinarium 2. Phoenix Medical Clinic 25 August 2019 11.00 – 11.30 1. BNH Hospital 2. Vejthani Hospital 15.00 – 15.30 1. Chao Phraya Aphaiphubet Hospital Wellness & Spa Talk – Keep calm and go Thai Spa! 23 August 2019 19.30 – 20.00 1. Klin by ดร.ไฉน 2. ผ้ปู ระกอบการสมนุ ไพร (TBC) 24 August 2019 1. The Federation of Thai Spa 13.00 – 13.30 2. ผ้ปู ระกอบการสมนุ ไพร (TBC) ***** สถานเอกอคั รราชทตู ณ กรงุ ฮานอย สิงหาคม ๒๕๖๒
สถานะ 14 ส.ค. 2562 เวลา 18.00 น.
List of Participants Thai Festival “Health and Wellness” on 23 – 25 August 2019, Hanoi, Vietnam Department of Health Service Support Assistant Director General, 1. Dr. Phattarapol Jungsomjatepaisal Department of Health Service Support Director of Reginal Health Service Support Office 5: 2. Mr. Srisakul Sangprasairt Ratchaburi 3. Ms.Pawinee Sangkhaboon Deputy - Director of International Health Division Piyavate Hospital Deputy Managing Director 1. Dr.Burin Nuchniyom Director of International Medical Services 2. Supawan Nitjumroon Healthcare Manager 3. Chonticha Komonsutti International Medical Coordinator 4. Minh Hoang Vejthani Hospital Assistant Marketing Director 1. Pedrenelle Maniquiz International Marketing Executive 2. Pham Le Duc Hanh International Marketing Department Vejthani representative 3. Kotchamon Prangthawee The Phoenix Medical Clinic by Dr. Joop 1. Dr. Kanokwan Chantauppalee Medical Director Chaophraya Abhaibhubejhr Hospital Marketing Manage, 1. Wichien Pantuwan Tienson Company Limited Administration Manager 2. Pakwan Nuanum Tienson Company Limited The Federation of Spa & Wellness Association (Thailand) 1. Miss Chawanat Sinthukiow Chairman of the Federation of Spa & Wellness Association (Thailand) 2. Mr.Anuwat Sawangduan Officer 3 .Miss Kanokporn Thongcharuek Officer Department of Health Service Support, 20 August 2019 Page 1
Address by Dr. Phattarapol Jungsomjatepaisal Assistant Director‐General of Department of Health Service Support, Ministry of Public Health, Thailand At Melia Hotel, Hanoi on 23 August 2019 at 14.00 Hrs. (2 minutes) Topic : “The Confidence in Medical and Wellness in Thailand” ************************************************************* His Excellency and Honorable Guests, On behalf of Department of Health Service Support, Ministry of Public Health Thailand, we have guaranteed that we can provided the international standard for healthcare providers and spa therapists for foreigners, especially in medical we have JCI Standard in hospitals and clinics that is the most in ASEAN with specialists, reasonable price and other facilities. Anyway, Thai government has announced the policy of Medical Hub as the national policy in the 10‐year period that you can ensure we will advance treatment and standard for all foreigners in succession. At the preceding, we facilitate visa extension for CLMV countries. You can access in medical treatment longer period to 90 days with your 4 members through the comfortable channels like website, media or counter service at the airport. We have service excellent hospitals both in the city and in the border with high technology, no queue, and Thai hospitality including tourist attractions. When you stay in Thailand, you are assured that it is very safe place and most livable, particularly long stay for health with Thai style spa and massage and also enjoy shopping Thai herbal products with FDA standard. At last, we would like to invite all of you to the super quality luxury market of Medical and Wellness Thailand and enjoy them here. Thank you very much. ************************************************************* Page 1 : International Health Division, Department of Health Service Support 19 Aug.2019
Presentation by Dr. Phattarapol Jungsomjatepaisal Assistant Director‐General of Department of Health Service Support, Ministry of Public Health, Thailand at Aeon Shopping Mall Long Bien, Hanoi on 23 August 2019 at 19.30 – 20.00 Hrs. (15 mins speaking/ 15 mins translation) Topic : “Thailand Medical Hub in Southeast Asia” ************************************************************* His Excellency and Honorable Guests, First of all, I am so delighted that I am here today. On behalf of Ministry of Public Health Thailand, I trust that Thailand is well‐known in “Medical and Wellness Tourism” around the world. For the reason why we can guarantee that we are the top‐10 in Medical Travel Destination because we have the national policy which is implemented continuously. For the national policy, Thai government has been announced the policy of Medical Hub since 2004 until now. The government policy is also promoting health tourism that the product can make more income to Thailand. We cooperate with the Ministry of Tourism and Sports to promote Medical and Wellness Tourism and come up with the Strategic Plans of Medical Hub in the 10‐year period (Version 3) which comprises of 4 categories: (1) Medical Service Hub (2) Wellness Hub (3) Academic Hub and (4) Product Hub. The strategic plan was approved by the cabinet since 2019. We have launched the quick win project through the National Medical Hub Committee. The plan was launched in the form of a Quick Win scheme in support of the government's policy to generate revenue for the country, raise the standard of international medical services as well as facilitate foreigners. The goals are the Top‐Ten Healthcare Service Competition in the world and increasing income from Healthcare Services and Products. In the detail of each category, I will clarify like this… For Medical Services, we focus on specialized medical services, Long term care for senior citizen, Rehabilitation, Aesthetic medical services and Dental Care. For wellness, we promote many kinds of Spa services, Thai massage, long‐stay for health, health resort and body sliming services. Page 1 : International Health Division, Department of Health Service Support 20 Aug.2019
For Academic, if we would like to maintain competitiveness of medical services, Medical Schools should develop advanced technologies, scientific researches and future treatments along with providing high standards of students’ education. For product, Thailand has national herbal products which developed to become medicine, food supplements and cosmetic For the competitiveness, Thai international hospitals can maintain high quality expertise and technology at the price lower than the other countries. As you know the medical hub of other countries in Asia is various, in Singapore focuses on providing advanced medical services. Malaysia focuses on Muslim countries to attract Islamic patients. India is cheaper and focuses on health insurance group. South Korea emphasizes on long‐term vacation and cosmetic surgery. On the other hand, Thailand has been implemented medical hub policy continuously, and is ready with quality medical facilities, technology, medical staffs for services. For the success story of Medical Hub in Thailand, We are guaranteed from the leading global magazines that we are the top‐10 in Medical Travel Destination as I mentioned above and Thai hospital is ranked as the world’s best hospitals continuously. We have provided the international standard for healthcare providers, we have JCI Standard, from 2002 until now, 67 hospitals and clinics that is the most in ASEAN. And more than 3000 sanatoriums in the tourism area have been certified the standard for Hospital Accreditation (HA). For the income, we found that Healthcare Products and Services Market in Thailand has expanded continuously and the number of foreign medical visit is to be increased up to 34.2 million visits in 2018 and now 2019 is more than 40 million visits which generate the revenue increasing for 6‐7 % from 2018 and we declared that we have the most foreign visitors in this region. The most citizens are from Asian countries especially in China, CLMV and Japan who are coming here to receive medical treatment. For the reason why we are famous in Medical Tourism because we have the specialists, reasonable price and other facilities, for example, no queue, Thai hospitality, medical visa facilitation, transportation, accommodation, food , and tourist attractions. Page 2 : International Health Division, Department of Health Service Support 20 Aug.2019
Not just medical services, the wellness tourism at the moment grows quickly. For the reason that many foreign consumers are lifestyle to travel for medical treatment in aboard with health service packages like spa and massage that generated incomes more than over billion dollars. Most seeking for beauty, anti‐aging, healthy eating, preventive, fitness and wellness tourism. Whenever you come to Thailand, you ensure that you will get spa services and Thai massage with quality and standard. There are almost 3000 spas certified by Thai regulations, and more than 30 spas upgraded as Spa Grading for foreigners in tourism areas, and more than 15 oversea spas also certified by the standard. That now we have the Federation of Spa & Wellness Association of Thailand to confirm the quality of Thai spa here. In addition, we guarantee that we can provided the international standard for both healthcare providers and spa therapists for all foreigners with specialists, affordable price and other facilities. At the preceding, we facilitate visa extension for CLMV countries that you can access in medical treatment longer period to 90 days with your 4 members through the comfortable channels like website, media or counter service at the airport. We have service excellent hospitals both in the city and in the border with high technology, no waiting queue, and service with Thai hospitality like Piyavate Hospital, Vejthani Hospital and the Phoenix Medical Beauty Clinic. They are here today. When you stay in Thailand, you are assured that it is very safe place and most livable, particularly long stay for health with Thai style spa or Thai massage. And also enjoy shopping Thai herbal products with FDA standard like the Thai brand of “Abhaibhubejhr”. They are also here. At last, we would like to invite all of you to come to Thailand, Land of Smile and many super quality luxury market both in Medical and Wellness. Thank you very much. ************************************************************* Page 3 : International Health Division, Department of Health Service Support 20 Aug.2019
First of all, I am so delighted that I am here today. On behalf of Ministry of Public Health Thailand, I trust that Thailand is well‐known in “Medical and Wellness Tourism” around the world. For the reason why we can guarantee that we are the top‐ 10 in Medical Travel Destination because we have the national policy which is implemented continuously. 1
For the national policy, Thai government has been announced the policy of Medical Hub since 2004 until now. The government policy is also promoting health tourism that the product can make more income to Thailand. 2
We cooperate with the Ministry of Tourism and Sports to promote Medical and Wellness Tourism and come up with the Strategic Plans of Medical Hub in the 10‐year period (Version 3) which comprises of 4 categories: (1) Medical Service Hub (2) Wellness Hub (3) Academic Hub and (4) Product Hub. The strategic plan was approved by the cabinet since 2019. We have launched the quick win project through the National Medical Hub Committee. The plan was launched in the form of a Quick Win scheme in support of the government's policy to generate revenue for the country, raise the standard of international medical services as well as facilitate foreigners. The goals are the Top‐Ten Healthcare Service Competition in the world and increasing income from Healthcare Services and Products. 3
In the detail of each category, I will clarify like this… For Medical Services, we focus on specialized medical services, Long term care for senior citizen, Rehabilitation, Aesthetic medical services and Dental Care. 4
For wellness, we promote many kinds of Spa services, Thai massage, long‐stay for health, health resort and body sliming services. 5
For Academic, if we would like to maintain competitiveness of medical services, Medical Schools should develop advanced technologies, scientific researches and future treatments along with providing high standards of students’ education. 6
For product, Thailand has national herbal products which developed to become medicine, food supplements and cosmetic 7
For the competitiveness, Thai international hospitals can maintain high quality expertise and technology at the price lower than the other countries. 8
As you know the medical hub of other countries in Asia is various, in Singapore focuses on providing advanced medical services. Malaysia focuses on Muslim countries to attract Islamic patients. India is cheaper and focuses on health insurance group. South Korea emphasizes on long‐term vacation and cosmetic surgery. On the other hand, Thailand has been implemented medical hub policy continuously, and is ready with quality medical facilities, technology, medical staffs for services. 9
For the success story of Medical Hub in Thailand, We are guaranteed from the leading global magazines that we are the top‐10 in Medical Travel Destination as I mentioned above and Thai hospital is ranked as the world’s best hospitals continuously. We have provided the international standard for healthcare providers, we have JCI Standard, from 2002 until now, 67 hospitals and clinics that is the most in ASEAN. And more than 3000 sanatoriums in the tourism area have been certified the standard for Hospital Accreditation (HA). For the income, we found that Healthcare Products and Services Market in Thailand has expanded continuously and the number of foreign medical visit is to be increased up to 34.2 million visits in 2018 and now 2019 is more than 40 million visits which generate the revenue increasing for 6‐7 % from 2018 and we declared that we have the most foreign visitors in this region. The most citizens are from Asian countries especially in China, CLMV and Japan who are coming here to receive medical treatment. 10
11
For the reason why we are famous in Medical Tourism because we have the specialists, reasonable price and other facilities, for example, no queue, Thai hospitality, medical visa facilitation, transportation, accommodation, food , and tourist attractions. 12
Not just medical services, the wellness tourism at the moment grows quickly. For the reason that many foreign consumers are lifestyle to travel for medical treatment in aboard with health service packages like spa and massage that generated incomes more than over billion dollars. Most seeking for beauty, anti‐aging, healthy eating, preventive, fitness and wellness tourism. 13
14
Whenever you come to Thailand, you ensure that you will get spa services and Thai massage with quality and standard. There are almost 3000 spas certified by Thai regulations, and more than 30 spas upgraded as Spa Grading for foreigners in tourism areas, and more than 15 oversea spas also certified by the standard. That now we have the Federation of Spa & Wellness Association of Thailand to confirm the quality of Thai spa here. 15
In addition, we guarantee that we can provided the international standard for both healthcare providers and spa therapists for all foreigners with specialists, affordable price and other facilities. 16
At the preceding, we facilitate visa extension for CLMV countries that you can access in medical treatment longer period to 90 days with your 4 members through the comfortable channels like website, media or counter service at the airport. We have service excellent hospitals both in the city and in the border with high technology, no waiting queue, and service with Thai hospitality like Piyavate Hospital, Vejthani Hospital and the Phoenix Medical Beauty Clinic. They are here today. When you stay in Thailand, you are assured that it is very safe place and most livable, particularly long stay for health with Thai style spa or Thai massage. And also enjoy shopping Thai herbal products with FDA standard like the Thai brand of “Abhaibhubejhr”. They are also here. 17
At last, we would like to invite all of you to come to Thailand, Land of Smile and many super quality luxury market both in Medical and Wellness. Thank you very much. 18
-1- ขอ้ มูลท่วั ไป Country profile ประเทศเวียดนาม ธงชาตเิ วยี ดนาม สัญลักษณ์ประจําชาติเวยี ดนาม ชอ่ื ทางการภาษาไทย : สาธารณรัฐสงั คมนิยมเวียดนาม ชื่อทางการภาษาองั กฤษ : Vietnam ทต่ี ้ัง : มขี นาดพน้ื ท่ี 331,690 ตารางกโิ ลเมตร เมอื งหลวง : Hanoi ประธานาธบิ ดี : นายดั่ง ถิ หง็อก ถิง (Mr. Dang Thi Ngoc Thinh) นายกรัฐมนตรี : นายเหวยี น ซวน ฟุก (Mr. Nguyen Xuan Phuc) ประชากร : 96 ลา้ นคน (ข้อมลู จาก World Bank ปี 2560) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงตา่ งประเทศ : ฝา่ ม บิง่ ห์ มิงห์ (Pham Binh Minh) ภาษาราชการ : เวียดนาม วันชาติ : 2 กันยายน ศาสนา : พทุ ธ ร้อยละ 93 (นิกายมหายาน)
-2- ข้อมูลทางเศรษฐกิจ : 223.86 ล้าน USD GDP : ร้อยละ 3.5 อตั ราเงนิ เฟอ้ : อาหารแปรรปู สง่ิ ทอ รองเท้า ผลิตเครอ่ื งจกั ร เหมอื งแร่ ถลุงเหล็ก ปนู ซีเมนต์ ปุ๋ยเคมี อตุ สาหกรรมหลกั ยางรถยนต์ นาํ้ มนั โทรศัพทม์ อื ถอื และกระดาษ : สิง่ ทอและเคร่อื งน่งุ ห่ม โทรศพั ท์มือถอื นาํ้ มนั ดิบ รองเทา้ เครือ่ งหนัง เครอ่ื งประดบั อัญมณี สนิ คา้ ส่งออกทส่ี าํ คญั คอมพิวเตอร์ สนิ คา้ เกษตร และสนิ ค้าประมง : สหรฐั อเมริกา จีน เยอรมนี ญป่ี ่นุ ตลาดสง่ ออกทสี่ าํ คญั : นา้ํ มนั อาหารสตั ว์ ป๋ยุ รถยนต์ และรถจักรยานยนต์ สินคา้ นําเขา้ ทส่ี าํ คญั : จนี ไทย เกาหลีใต้ ญ่ปี ุ่น สงิ คโปร์ สหรฐั อเมริกา ตลาดนาํ เขา้ ทส่ี ําคญั : 2,343.1 USD GDP Per Capita : 1 VND (ดงเวยี ดนาม) = 0.0014 บาท สกลุ เงิน : แรฟ่ อสเฟต นาํ้ มนั และกา๊ ซธรรมชาตนิ อกชายฝงั่ ประมง ถ่านหนิ แรบ่ ๊อกไซต์ ไมซ้ ุงและป่าไม้ ทรพั ยากรสาํ คญั สถิตทิ ส่ี าํ คญั ไทย-สาธารณรฐั สังคมนยิ มเวยี ดนาม มลู คา่ การคา้ : 16,540.65 ล้าน USD ไทยสง่ ออก 11,585.54 ลา้ น USD นาํ เขา้ 4,955.11 ลา้ น USD จงึ ไดเ้ ปรยี บดลุ การค้า 6,630.43 ล้าน USD (ข้อมลู จากกระทรวงพาณิชย์ ปี 2560) สินคา้ ส่งออก : น้ํามนั สําเร็จรปู เมด็ พลาสติก เคมภี ณั ฑ์ ผลไม้สด ผลติ ภณั ฑ์ยาง เหล็กและเหลก็ กลา้ รถยนต์ เคร่ืองปรบั อากาศและชนิ้ สว่ น และกระดาษ สินค้านําเขา้ : เครือ่ งใช้ไฟฟ้าในบา้ น เคร่อื งจักรไฟฟ้า นา้ํ มนั ดิบ เหล็กกล้าและผลติ ภณั ฑ์ ถ่านหนิ ผา้ ผนื ด้าย และเสน้ ใย เคมีภณั ฑ์ สัตวน์ า้ํ แช่แขง็ และแปรรูป คอมพิวเตอร์ เครอ่ื งจกั รกลไฟฟา้ ชากาแฟ เคมีภณั ฑ์ การลงทนุ : ข้อมลู เงินลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ 0.59 ลา้ น USD ขอ้ มลู เงนิ ลงทนุ โดยตรงของไทยในตา่ งประเทศ 1,360.14 ล้าน USD การทอ่ งเทย่ี ว : ปี 2560 มนี กั ท่องเท่ียวจากสาธารณรัฐสงั คมนิยมเวยี ดนามเดินทางมาประเทศไทยจํานวน 867,712 คน (เพม่ิ ขึน้ รอ้ ยละ 37 จากปี 2559) และนกั ทอ่ งเทยี่ วไทยเดนิ ทางไปสาธารณรฐั สังคมนิยมเวียดนามประมาณ 301,587 คน (ข้อมูลปี 2560) (เพม่ิ ขนึ้ ร้อยละ 37 จากปี 2559) หน่วยงานไทยในสาธารณรัฐสังคมนยิ มเวยี ดนาม : สถานเอกอัครราชทูต (Hanoi) สถานกงสุลใหญ่ (Ho Chi Minh City) (ค้นหาเม่ือวันท่ี 18 พฤษภาคม 2562 จาก http://www.mfa.go.th/main/th/other/9240/99148สาธารณรัฐ สงั คมนยิ มเวยี ดนาม-( Vietnam).html) ระบบสาธารณสขุ ของประเทศเวยี ดนาม ประเทศเวียดนามมีประชากรประมาณ ๙๐ ล้านคน ประชากรส่วนใหญ่อยู่ในช่วงอายุ ๒๐ – ๒๙ ปี การปกครอง ของเวียดนามเป็นระบบคอมมิวนิสต์ ในทางเศรษฐกิจเวียดนามใช้ระบบผสมโดยจะเน้นการควบคุมของรัฐโดยรัฐวิสาหกิจ
-3- เป็นผู้ประกอบธุรกิจในหลาย ๆ อุตสาหกรรม ในส่วนของระบบประกันสุขภาพของเวียดนามใช้การควบคุมของรัฐเป็นหลัก เป้าหมายของเวียดนามคือต้องการให้ระบบประสุขภาพของเวียดนามครอบคลุมประชากรร้อยละ ๘๐ ภายในปี พ.ศ. ๒๕๖๓ และลดเงินท่ีผู้ป่วยต้องจ่ายให้ตํ่ากว่าร้อยละ ๔๐ ของค่ารักษาพยาบาลท้ังหมด โดยพัฒนาระบบประกันสังคมเพื่อ รองรับการเพม่ิ ข้นึ ของงานและระบบประกันสุขภาพเพ่อื ทจ่ี ะใหม้ กี ารพัฒนาในระยะยาว ระบบสาธารณสุขของรัฐกําลังพัฒนาด้วยการนําเทคโนโลยีท่ีทันสมัยมาประยุกต์ใช้ในการรักษาในระดับท่ีสูงที่สุด เปลี่ยนแปลงระบบสาธารณสุขแบบเดิมๆ เพ่ือนํามาซึ่งการรักษาท่ีดีที่สุดให้แก่ประชาชน การนําเทคโนโลยีเข้ามา ประยุกต์ใช้ในการทํางานได้ประสบความสําเร็จในโรงพยาบาลใหญ่ๆ เช่น โรงพยาบาล เวียด ดึ๊ก (Viet Duc), โรงพยาบาล ศูนย์เฮว้, โรงพยาบาล เจอะ เสย (นครโฮจิมินห์) การประยุกต์ใช้หุ่นยนต์มาใช้ร่วมในการรักษาที่ โรงพยาบาล Binh Dan (นครโฮจิมนิ ห์) และโรงพยาบาล Bach Mai (กรงุ ฮานอย) ปจั จบุ ันเวยี ดนามมีโรงพยาบาลเอกชนมากกว่า 170 แห่งท่ัวประเทศ โดยมีเตียงผู้ป่วย 45,000 เตียง และมูลค่า การลงทุนสูงถึง 120,000 พันล้านด่อง หลายปีที่ผ่านมา มีโรงพยาบาลเอกชนเกิดข้ึนมากมายด้วยมาตรฐานที่มีคุณภาพ และทันสมัยบริการโดยแพทย์ที่มีประสิทธิภาพ เช่น โรงพยาบาลแห่งชาติ Thanh Do (มีเตียงผู้ป่วยจํานวน 320 เตียง) โรงพยาบาล Xuyen A (750 เตียง) โรงพยาบาลแห่งชาติ Phúc An Khang (100 เตียง) และ โรงพยาบาล Vinmec Central Park (178 เตยี ง) ซึ่งเปน็ โรงพยาบาลขนาดใหญ่ มีอุปกรณ์ทางการแพทย์ท่ีทันสมัย และการบริการระดับโรงแรม 5 และแพทยส์ ่วนใหญ่จบการศกึ ษาจากตา่ งประเทศจงึ ทําให้โรงพยาบาลเอกชนมีความน่าเชอื่ ถือมากขน้ึ บรรดาโรงพยาบาลเอกชนได้รับการรับรองมาตรฐานที่สูงในด้านคุณภาพและมีการแบ่งเป็นโรงพยาบาลรักษา เฉพาะทางโรงพยาบาล Sai Gon ITO มุ่งเน้นการรักษาในด้านกระดูกสันหลัง กายภาพ บําบัด และการผ่าตัด โรงพยาบาล An Sinh มุ่งเน้นนวัตกรรมการทําเด็กหลอดแก้ว และการทําคลอดท่ีทันสมัย ในขณะที่กลุ่มแพทย์โรงพยาบาล Hoan My ได้มุ่งเน้นพัฒนาการรักษาเฉพาะด้านที่มีความซับซ้อน เช่น การรักษาโรคหัวใจ กระดูก และมะเร็งตับ และเม่ือไม่ก่ีปีที่ผ่าน มา ไดม้ โี รงพยาบาลนานาชาติสําหรับผู้มีรายได้สูง เช่น โรงพยาบาล Viet-Phap (FV) โรงพยาบาล Vinmec Hanoi ได้ผ่าน มาตรฐานคุณภาพจาก JCI (Joint Commission International) – การรับรองคุณภาพทางการแพทย์ และความปลอดภัย ของผู้ป่วย และมีโรงพยาบาลเอกชนสําหรับประชาคนฐานะปานกลางจํานวนน้อยท่ีผ่านมาตรฐานการรับรอง โรงพยาบาล Hoan My ได้รับรางวัล “โรงพยาบาลยอดเยี่ยมประจําปี 2559 ประเทศสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม” จาก Frost & Sullivan โดยการวจิ ยั ตลาดชั้นนําของสหรัฐอเมริกา ในขณะเดียวกันก็เป็นอันดับหน่ึงด้านมาตรฐานโรงพยาบาลmท่ีดีท่ีสุดในปี 2559 ตามมาตรา 83 ของกระทรวงสาธารณสุขในส่วนภูมิภาค ทม่ี า: สาํ นกั งานสง่ เสริมการค้าในต่างประเทศ ณ กรงุ ฮานอย ระบบประกนั สงั คม ประเทศเวียดนามเริ่มมีการพัฒนาด้านนโยบายด้านประกันสังคมในช่วงปี พ.ศ. ๒๕๐๓ ในรูปแบบของโครงการ ประกันสังคมสําหรับเจ้าหน้าท่ีรัฐซึ่งโครงการประกันสังคมจะดูแลโดยหน่วยงานท่ีเจ้าหน้าท่ีรัฐสังกัด นโยบายดังกล่าว ดําเนินงานสมบูรณ์ในปี พ.ศ. ๒๕๑๘ ซ่ึงสิทธิท่ีผู้อยู่ในโครงการจะได้รับได้แก่ สิทธิในเงินบํานาญ สิทธิค่าชดเชยเมื่อพิการ และพิการจากการทํางาน สิทธิในค่าชดเชยเม่ือได้รับบาดเจ็บจากการทํางาน สิทธิในการได้รับค่าจ้างเม่ือลาคลอด สิทธิใน การไดร้ ับเงินหากเจบ็ ป่วยจากการทํางาน
-4- ในปี พ.ศ. ๒๕๓๘ ประเทศเวียดนามได้มีการตราประมวลกฎหมายแรงงาน โดยท่ีบทที่ ๑๒ ได้กําหนดให้ลูกจ้าง ต้องเข้าร่วมระบบประกันสังคม (Social Security) และในปีเดียวกันน้ันรัฐบาลเวียดนามได้ออกประกาศท่ี 12/CP[4] กําหนดรายละเอียดเกี่ยวกับโครงการประกันสังคมของประเทศเวียดนามข้ึนใหม่ ซ่ึงจะครอบคลุมถึง พนักงานรัฐวิสาหกิจ พนักงานของบริษัทเอกชนที่มีจํานวนลูกจ้างเกิน ๑๐ คน พนักงานขององค์การระหว่างประเทศ ข้าราชการของหน่วยงาน กองทัพ สิทธิทางประกันสงั คมเวียดนามประกอบด้วย สิทธิในการได้รับค่าชดเชยเมื่อต้องหยุดงานเพราะป่วย สิทธิในการลา คลอด สิทธิเมื่อบาดเจ็บจากการทํางาน สิทธิในการรักษาหากติดโรคจากการทํางาน เงินบํานาญ และเงินชดเชยแก่ทายาท กรณีเสียชีวิต ซ่ึงประกาศดังกล่าวเปล่ียนระบบเงินสนับสนุนจากเดิมที่เป็นระบบรัฐเป็นผู้ให้เงินท้ังหมดเป็นระบบกองทุน ร่วมกันจ่ายระหว่างนายจ้างและลูกจ้าง โดยการดําเนินงานของโครงการประกันสังคมจะบริหารงานโดยสํานักงาน ประกันสังคม ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๕๔๙ รัฐบาลเวียดนามตรากฎหมายสิทธิประกันสังคม (Social Insurance) ข้ึน โดย กฎหมายใหม่เป็นการรวบรวมกฎหมายที่เก่ียวกับประกันสังคมเดิมท่ีมีอยู่อย่างไม่เป็นระบบให้เป็นกฎหมายฉบับเดียว กฎหมายดงั กล่าวแบง่ ออกเปน็ ๑๑ บท ๑๔๑ มาตรา ประกอบด้วย ๑. บททว่ั ไป ๒. บทว่าดว้ ยสิทธแิ ละหน้าที่ของลูกจ้างและนายจา้ งตอ่ สาํ นักงานประสงั คม ๓. บทวา่ ด้วยโครงการประกนั สังคมแบบบงั คับเข้ารว่ ม ๔. บทวา่ ดว้ ยของโครงการประกนั สงั คมแบบไมบ่ ังคับเขา้ รว่ ม ๕. สิทธิประโยชน์เมือ่ วา่ งงาน ๖. กองทนุ ประกนั สงั คม ๗. หนว่ ยงานประกนั สังคม ๘. การดําเนนิ งานโครงการประกนั สังคม ๙. กระบวนการระงบั ขอ้ พพิ าท ๑๐. รางวัลการปฏิบัติงานและบทกําหนดโทษ ๑๑. บทเฉพาะกาล ต่อมากฎหมายประกันสงั คมฉบับปี พ.ศ. ๒๕๔๙ ดังกล่าวได้ถูกยกเลิกและแทนที่โดยกฎหมายประกันสังคมปี พ.ศ. ๒๕๕๗[5] กฎหมายประกันสังคมฉบับใหม่มี ๙ บท ๑๒๕ มาตรา ใจความสําคัญแต่ละบทประกอบด้วยสาระสําคัญของแต่ ละบทมีดงั ตอ่ ไปน้ี ๑. บททัว่ ไป กล่าวถึงวัตถุประสงค์ของกฎหมายประกันสังคมซ่ึงมีข้ึนเพ่ือรับรองสิทธิและหน้าที่ของนายจ้างและลูกจ้าง หน่วยงาน นิติบุคคล และบุคคลที่เก่ียวข้องกับประกันสังคม ในมาตรา ๒ ของกฎหมายได้ระบุถึงบุคคลท่ีได้รับสิทธิและ หน้าที่ตามกฎหมายซ่ึงประกอบด้วย ลูกจ้างสัญชาติเวียดนามท้ังในภาคเอกชนและภาครัฐ แรงงานต่างชาติซึ่งทํางานโดยมี ใบอนุญาต ทั้งน้ี ประกันสังคมได้รับรองถึงสิทธิที่จะได้รับเงินชดเชยในกรณี ป่วย ลาคลอด อุบัติเหตุจากการทํางาน และ ค่าชดเชยให้กับทายาทในกรณีเสียชีวิต โดยที่ระบบประกันสังคมเวียดนามจะใช้ระบบร่วมกันจ่ายระหว่างนายจ้างและ ลกู จา้ ง
-5- ๒. บทว่าด้วยสิทธแิ ละหน้าทขี่ องลกู จา้ ง นายจ้าง และสํานักงานประกันสังคม โดยมสี าระสาํ คญั สรุปไดว้ ่า (๑) ลูกจ้างมีสิทธิท่ีจะได้รับการประกันตามท่ีระบุไว้ในกฎหมายมีสิทธิท่ีจะจัดการบัญชีประกันสังคมของตน สิทธิ ในการได้รับค่าใช้จ่ายในการตรวจสุขภาพจากนายจ้าง และได้รับข้อมูลสิทธิและการให้ความช่วยเหลือจากทั้งนายจ้างและ สํานักงานประกันสังคม โดยลูกจ้างมีหน้าท่ีท่ีจะต้องจ่ายเงินสมทบเข้ากองทุนและทําตามกฎระเบียบของกองทุนและมีสิทธิ ในการฟอ้ งร้องคดี (๒) นายจ้างมีสิทธิที่จะปฏิเสธคําร้องท่ีขัดต่อกฎหมายประกันสังคมและมีสิทธิในทางศาลในการฟ้องร้องคดี นอกจากนี้นายจ้างมีหน้าที่ที่จะต้องดําเนินการให้ลูกจ้างเข้าร่วมระบบประกันสังคมและหักนําเงินเดือนของลูกจ้างจ่ายเข้า ระบบประกันสังคมและจ่ายเงินในกรณีที่ลูกจ้างมีสิทธิได้รับค่าชดเชย ในกรณีท่ีเป็นเจ็บป่วยจากการทํางานนายจ้างต้องพา ลูกจา้ งเข้าพบแพทย์ มีหนา้ ทตี่ อ้ งจดั ทําข้อมูลการจา่ ยเงินเข้าระบบประกนั สังคมของทัง้ นายจา้ งและลกู จา้ งด้วย (๓) สํานักงานประกันสังคม สิทธิในการจัดการบุคคล การเงิน สินทรัพย์ ตามท่ีกําหนดไว้ในกฎหมาย มีสิทธิท่ีจะ ปฏิเสธการจ่ายค่าชดเชยในกรณีที่มีการฉ้อฉล มีสิทธิในการขอข้อมูลเก่ียวกับการจ้างงานของนายจ้างเช่น ตารางเงินเดือน ในทางหน้าที่สํานักงานประกันสังคมมีหน้าท่ีในการให้เอกสารรับรองการเข้าร่วมโครงการประกันสังคมต่อนิติบุคคล จัดทํา นโยบายกฎหมายลําดับรองข้องกับประกันสังคม สิทธิในกรณีว่างงานและประกันสุขภาพ มีหน้าที่จัดสรรเงินจากนายจ้าง และลกู จ้างเพอ่ื นําไปลงทุนตอ่ ไป และเก็บรวบรวมขอ้ มูล ๓. บทว่าดว้ ยสิทธปิ ระกันสังคมทบ่ี ังคับเข้าร่วม สทิ ธใิ นการได้รบั ค่าทดแทนเมื่อเจ็บป่วย ผู้ที่ต้องลางานเพราะเจ็บป่วยจะได้รับค่าชดเชยโดยต้องได้รับการรับรองจากแพทย์รวมถึงกรณีท่ีลูกจ้างต้องลางาน เพราะตอ้ งพาบตุ รอายไุ มเ่ กิน ๗ ปีซึ่งเจ็บป่วยไปพบแพทย์โดยต้องมีใบรับรองจากแพทย์เช่นกัน ท้ังน้ีไม่รวมถึงกรณีท่ีลูกจ้าง เจบ็ ป่วยจากการทํางานซงึ่ จะแยกคุ้มครองอีกกรณีและความเจ็บป่วยท่ไี ด้ก่อข้นึ เอง สทิ ธใิ นการไดร้ บั ค่าทดแทนเมอื่ ลาคลอด ผู้ท่ีจะได้รับสิทธิคือสตรีตั้งครรภ์ สตรีท่ีรับต้ังครรภ์แทนและสตรีท่ีเป็นมารดาที่แท้จริง สตรีที่รับบุตรบุญธรรมอายุ ตํา่ กว่า ๖ เดือน บุรุษท่ีเข้ารว่ มโครงการประกนั สังคมและภรรยาใหก้ าํ เนิดบตุ ร สทิ ธิในการได้รบั ค่าทดแทนเมอ่ื ได้อุบตั ิเหตุขณะการทาํ งานหรอื โรคทีเ่ กดิ จากการทํางาน ในกรณีที่เกิดอุบัติเหตุต้องเป็นอุบุติเหตุที่เกิดขึ้นที่ทํางานและต้องเป็นช่วงเวลาทํางาน ในกรณีนอกสถานท่ีทํางานหรือนอก เวลาทํางานแตท่ ํางานที่นายจ้างมอบหมาย ในกรณีท่ีเกิดอุบัติเหตุระหว่างการเดินทางมาทํางานหรือกลับจากทํางานในเวลา ที่อยู่ในวิสัยและเส้นทางที่อยู่ในวิสัย หากเป็นโรคทีเกิดจากการทํางานลูกจ้างท่ีจะได้รับสิทธิคือลูกจ้างที่ทําหน้าที่ตามที่ กระทรวงสาธารณสขุ ร่วมกับกระทรวงแรงงานระบุไว้ สิทธใิ นการไดร้ ับเงนิ บาํ นาญหลังเกษียณ ตามกฎหมายแรงงานเวียดนามกําหนดให้ลูกจ้างชายและลูกจ้างหญิงเกษียณการทํางานแตกต่างกัน โดยเพศชาย กําหนดไว้ท่ี ๖๐ ปี เพศหญิงกําหนดไว้ท่ี ๕๕ ปี หรือหากเป็นเพศหญิงมีลักษณะงานในรายชื่อการลักษณะงานที่หนักและ เป็นอันตรายจะมีอายุการเกษียณเมื่อทํางานน้ันมาแล้ว ๑๕ ปี และหากลูกจ้างท่ีได้รับเชื้อ HIV และต้องออกจากงานก็จะ ไดร้ ับเงนิ บํานาญเช่นกัน
-6- สทิ ธิในการได้รบั ค่าทดแทนของทายาทในกรณีทล่ี ูกจา้ งเสียชีวิต ทายาทจะไดร้ บั เงนิ ชดเชยก็ตอ่ เม่อื ลูกจ้างได้เสียชีวติ จากอุบัติเหตุจากการทํางานหรอื โรคทีเ่ กดิ จากการทาํ งาน ๔. บทว่าด้วยสทิ ธิประกันสงั คมประเภทสมัครใจ สทิ ธใิ นการได้รับบาํ นาญหลงั เกษียณ ในกรณีท่ีลูกจ้างอยู่ในสถานการณ์จ้างที่กฎหมายไม่ได้บังคับให้เข้าร่วมระบบประกันสังคม กฎหมายเปิดช่องให้ ลูกจ้างสามารถเข้าร่วมประกันสังคมได้โดยติดต่อสมัครได้ท่ีสํานักงานประกันสังคมเม่ือสมัครแล้วจ่ายเงินเข้ากองทุนตามที่ หลักเกณฑเ์ ม่อื เกษยี ณอายุการทํางานก็จะไดเ้ งินบาํ นาญ สทิ ธิในการไดร้ ับค่าทดแทนของทายาทในกรณีท่ีลูกจ้างเสียชวี ติ ลูกจ้างท่ีจ่ายเงินเข้ากองทุนประกันสังคมแล้ว ๖๐ เดือน และผู้รับเงินบํานาญ หากเสียชีวิตลงทายาทจะได้รับเงิน สาํ หรบั ใช้จา่ ยในการจดั งานศพและค่าชดเชย ๕. บทวา่ ด้วยกองทุนประกันสงั คม กําหนดแหล่งเงินที่จะนํามาใช้จ่ายในระบบประกันสังคมซึ่งมากจาก เงินที่จ่ายเข้ากองทุนของลูกจ้าง และนายจ้าง ผลกําไรจากการนําเงินในกองทนุ ไปลงทนุ เงนิ ใหจ้ ากรัฐ และเงินไดท้ ี่ถกู ตอ้ งตามกฎหมาย ๖. บทวา่ ดว้ ยสาํ นักงานประกันสงั คมและการบริหาร สํานักงานประกันสังคมมีอํานาจในการดําเนินการและบริหารนโยบายและใช้เงินในกองทุนต่าง ๆ ท่ีมี เพ่ือให้เกิด ประโยชน์สูงสุด โดยจะมีการตั้งคณะกรรมการบริหารซึ่งมาจากภาคส่วนต่าง ๆ เช่น ตัวแทนจากนายจ้าง ลูกจ้าง และ ตัวแทนจากภาคสาธารณสุข ทั้งนี้ เพราะสํานักงานประกันสังคมมีหน้าที่ต้องบริหารกองทุนประกันสุขภาพของเวียดนาม ด้วย ๗. บทว่าด้วยกฎและขั้นตอนการดําเนินงานประกันสังคม กฎหมายกําหนดให้ลูกจ้างทุกคนจะได้รับสมุดบัญชีประกันสังคมเม่ือเข้าร่วมในโครงการ และภายในปี ๒๕๖๓ กฎหมายกําหนดให้ต้องมีบัตรประกันสังคมให้สมาชิกทุกคน นอกจากนี้กฎหมายได้กําหนดขั้นตอนและเอกสารท่ีใช้ในการ ขอรับค่าชดเชย ๘. คาํ รอ้ ง ประกาศ และการรบั มือในกรณีทมี่ กี ารละเมิดกฎหมายประกันสังคม มีสาระสําคัญเป็นการกําหนดข้ันตอนเมื่อมีเหตุแห่งการละเมิดกฎหมายโดยกฎหมายกําหนดให้มีเจ้าหน้าที่ ประกันสงั คมเปน็ ผใู้ หค้ วามเห็น ๙. บทเฉพาะกาล กฎหมายประกนั สังคมฉบับปจั จุบันของเวียดนามร่างขึ้นและผ่านการลงมติจากสภานิติบัญญัติเวียดนามเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๕๗ โดยในบทเฉพาะกาลกาํ หนดใหก้ ฎหมายมผี ลบงั คบั ใช้ในปี พ.ศ. ๒๕๕๘ ระบบประกนั สขุ ภาพ หลังจากที่สงครามเวียดนามสิ้นสุดและประเทศเวียดนามได้รวมเป็นหน่ึงเดียวซ่ึงฝ่ายที่ชนะสงครามเปลี่ยนประเทศ เวียดนามไปใช้ระบอบการปกครองและระบบเศรษฐกจิ แบบคอมมิวนสิ ต์ ซึ่งระบบเศรษฐกิจแบบคอมมิวนิสนจ์ ะถอื วา่ รฐั เป็น ตัวการสําคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ซึ่งในการใช้จ่ายในระบบประกันสุขภาพเงินทุนทั้งหมดในการจัดการระบบประกัน สุขภาพของประเทศเวียดนามเปน็ เงินทร่ี ฐั จ่ายให้ ซงึ่ ประเทศเวยี ดนามประสบความสาํ เรจ็ ในการทาํ ให้การรักษาพยาบาลขั้น ปฐมภมู ิไม่ตอ้ งเสียคา่ ใชจ้ า่ ยและประชาชนเขา้ ถงึ การรักษาพยาบาลขนั้ ทุติยภูมไิ ด้ ในช่วงหลังจาก พ.ศ. ๒๕๒๓ ประเทศเวียดนามเผชิญกับภาวะเศรษฐกิจตกต่ําทําให้รัฐบาลต้องเร่ิมกระบวนการ ปฏิรูปเศรษฐกิจ ซึ่งในปี พ.ศ. ๒๕๒๙ ประเทศเวียดนามเร่ิมมีการปฏิรูประบบเศรษฐกิจใหม่รัฐบาลประกาศให้นโยบาย ปฏิรูปเศรษฐกิจโด๋ยเม้ย (Doi Moi) โดยการปฏิรูปดังกล่าวเปิดเสรีให้เอกชนสามารถผลิตเวชภัณฑ์ได้ และเริ่มมีการเก็บค่า รักษาพยาบาลในรูปแบบของค่าใช้บริการ (User Fees) รวมถึงเปิดให้เอกชนสามารถดําเนินกิจการโรงพยาบาลและเสนอ
-7- ประกันสุขภาพได้ ทําให้ในช่วงปี พ.ศ. ๒๕๓๓ ประชาชนทั่วไปหากป่วยต้องจ่ายค่ารักษาพยาบาลเองถึงร้อยละ ๗๐ ของค่า รักษาทั้งหมดส่งผลให้รัฐบาลเวียดนามจึงต้องปรับเปลี่ยนนโยบายใหม่อีกคร้ังโดยมีการริเร่ิมโครงการประกันสุขภาพโดยรัฐ ข้ึน ในระหว่างปี พ.ศ. ๒๕๓๒ - ๒๕๓๕ โครงการประกันสุขภาพดังกล่าวคุ้มครองประชาชนทั่วไปท่ีสมัครเข้าร่วมโครงการ โดยท่ีโครงการอยู่ในความดูแลของกระทรวงสาธารณสุข ความพยายามดังกล่าวไม่ได้ ผลค่ารักษาพยาบาลยังคงมีราคา สูงขน้ึ ทําใหใ้ นปี พ.ศ. ๒๕๓๕ ประเทศเวยี ดนามประกาศใช้ Decree No. 299/1992/HĐBT วา่ ดว้ ยระบบประกันสุขภาพ ซ่ึงระบบประกันสุขภาพใหม่นี้จะมีลักษณะบังคับให้เจ้าหน้าท่ีรัฐ เจ้าหน้าท่ีรัฐวิสาหกิจ รวมถึงพนักงานในบริษัทเอกชนต้อง เข้าร่วมโครงการ และใช้วิธีการร่วมกันจ่ายเงินระหว่างนายจ้างและลูกจ้างเข้ากองทุนประกันสุขภาพซ่ึงกองทุนจะแบ่งการ บริหารจัดการเป็นตามจังหวัด ต่อในปี พ.ศ. ๒๕๔๑ ประเทศเวียดนามได้ตรากฎหมาย Decree 58/1998/ND-CP เพ่ือ แก้ไขให้กองทุนประกันสุขภาพที่บริหารจัดในระดับจังหวัดรวมกันเป็นการบริหารจัดการระดับประเทศ และขยายความ ครอบคลุมไปสู่สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ครูในระดับอนุบาล ผู้ด้อยโอกาส และบุคคลในครอบครัวของทหาร และนักเรียน ต่างชาติในประเทศเวียดนาม รวมถึงโอนโครงการประกันสุขภาพ (Health Insurance) ที่เดิมบริหารจัดการโดยกระทรวง สาธารณสุขไปให้สาํ นกั งานประกนั สงั คมดูแลแทน ในปี พ.ศ. ๒๕๕๒ ประเทศเวียดนามได้ออกกฎหมายประกนั สขุ ภาพ ซ่ึงไดเ้ พ่ิมการคุ้มครองจากเดิมท่ีคุ้มครองแค่ใน ส่วนของประชาชนเวียดนามท่ีมีงานประจําและจ่ายเงินเข้ากองทุนขยายให้ครอบคลุมถึงคนจนและชนกลุ่มน้อยให้ได้รับ ประกนั สขุ ภาพดว้ ยโดยรัฐบาลจะเป็นฝ่ายจ่ายเงินเข้ากองทุนแทนให้ทําให้ประชาชนประมาณ ๑๕ ล้านคนมีประกันสุขภาพ กฎหมายประกันสุขภาพปี พ.ศ. ๒๕๕๒ มี ๑๐ บท ๕๒ มาตรา มีสาระสําคัญเป็นการกําหนดผู้ท่ีรับได้การประกันสุขภาพ อัตราการประกนั สุขภาพ ความรบั ผดิ และวธิ ีในการคาํ นวณค่าใชจ้ ่าย สทิ ธใิ นการได้รบั การรกั ษา สถานพยาบาลที่เข้าร่วม สรุป ประเทศเวียดนามเร่ิมพัฒนาระบบประกันสังคมมาต้ังแต่หลังสงครามเวียดนามและมีการพัฒนามาอย่างต่อเนื่อง จากเดิมประเทศเวียดนามใช้ระบบเศรษฐกิจเป็นแบบคอมมิวนิสต์ซึ่งมีแต่รัฐเท่าน้ันที่สามารถดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ได้เป็นระบบเศรษฐกิจแบบผสมซ่ึงเปิดให้เอกชนเข้ามาประกอบธุรกิจได้ โดยมีการแก้กฎหมาย ในด้านการประกันสุขภาพ แต่เดิมประเทศเวียดนามซ่ึงเป็นระบอบคอมมิวนิสต์การจะเข้ารักษาพยาบาลไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายมากนักรัฐเป็นผู้แบกรับ คา่ ใช้จา่ ยท้งั หมด แต่เมือ่ เกดิ วกิ ฤตเศรษฐกิจรฐั ไมส่ ามารถบริหารจัดประกนั สุขภาพซึ่งเป็นระบบรัฐให้เงินสนับสนุนได้ ทําให้ เมือ่ เวยี ดนามมีการปฏริ ปู ระบบเศรษฐกิจ เปิดเสรีด้านอุตสาหกรรมสาธารณสุขให้เอกชนเข้ามาประกอบกิจการเพ่ือแบ่งเบา ภาระของรัฐได้ และโรงพยาบาลรัฐก็เริ่มท่ีจะมีการเก็บเงินกับผู้ป่วยเป็นจํานวนเพ่ิมมากข้ึนจนประเทศเวียดนามต้องมีการ ปรับเปลี่ยนนโยบายโดยการเริ่มโครงการประกันสุขภาพขึ้นโดยเป็นระบบร่วมกันจ่ายระหว่างนายจ้างลูกจ้าง และรัฐ เข้า กองทุนเพ่ิมนําไปบริหารต่อไป ปัจจุบันประเทศเวียดนามได้บรรลุเป้าหมายของประเทศในการทําให้ประชาคมร้อย ๘๐ มี ประกันสขุ ภาพไดแ้ ลว้ ซง่ึ เป้าหมายตอ่ ไปของเวยี ดนามคือใหป้ ระชาชนเวยี ดนามทุกคนมีประกนั สขุ ภาพ ภายใน พ.ศ. ๒๕๗๓ ในด้านการคุ้มครองแรงงานเวียดนามมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องในการให้สิทธิกับแรงงานมีการนําระบบประกันสังคมมาใช้ รวมถึงพฒั นาด้านประกนั สขุ ภาพใหค้ รอบคลมุ ประชาชนทกุ คน (ค้นหาเม่อื วันท่ี 18 พฤษภาคม 2562 จาก https://lawforasean.com/blog/2017/04/article-related-to- healthcare-and-heath-policies-in-vietnam?lang=th)
-8- 10 อันดบั แรก สาเหตุของการเสียชีวติ และความพิการในประเทศเวยี ดนามเมอ่ื เทียบกบั ประเทศอ่ืนๆ (ค้นหาเม่ือวนั ที่ 18 พฤษภาคม 2562 จาก http://www.healthdata.org/vietnam)
-9- บนั ทกึ ข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ไทย-สาธารณรัฐสงั คมนยิ มเวียดนาม 1. แถลงการณ์รว่ มระหว่างคณะผู้แทนรฐั บาลแหง่ ราชอาณาจักรไทยและคณะผู้แทนรฐั บาลแห่งสาธารณรัฐสงั คมนิยม เวียดนาม พ.ศ. 2519 Joint Communiqué by the Delegation of the Government of the Kingdom of Thailand and the Delegation of the Government of the Socialist Republic of Vietnam, 1976 2. คําแถลงรว่ มของพลเอก เกรยี งศักด์ิ ชมะนันท์ นายกรัฐมนตรแี หง่ ราชอาณาจักรไทยและนายฟาม วัน ดง นายกรัฐมนตรแี ห่งสาธารณรฐั สงั คมนยิ มเวยี ดนาม พ.ศ. 2521 Joint Statement by H.E. General Kriangsak Chomanan, Prime Minister of the Kingdom of Thailand and H.E. Mr. Pham Van Dong, Prime Minister of the Socialist Republic of Vietnam, 1978 3. แถลงการณ์รว่ มว่าดว้ ยกรอบความร่วมมอื ไทย-เวยี ดนามในทศวรรษแรกของศตวรรษท่ี 21 พ.ศ. 2547 Joint Statement on the Thailand-Vietnam Cooperation Framework in the First Decade of the 21st Century, 2004 4. ความตกลงระหวา่ งรัฐบาลแห่งราชอาณาจักรไทยกบั รัฐบาลแหง่ สาธารณรัฐเวียดนามว่าดว้ ยบริการเดนิ อากาศ ระหว่างอาณาเขตของแต่ละฝา่ ยและพน้ จากนั้นไป พ.ศ. 2513 Agreement between the Government of the Kingdom of Thailand and the Government of the Republic of Vietnam for Air Services between and beyond their Respective Territories,1970 5. ความตกลงระหวา่ งรฐั บาลแห่งราชอาณาจักรไทยกับรฐั บาลแห่งสาธารณรฐั สงั คมนิยมเวียดนามวา่ ดว้ ยบริการ เดนิ อากาศระหวา่ งอาณาเขตของแตล่ ะฝา่ ยและพน้ จากน้นั ไป พ.ศ. 2521 Agreement between the Government of the Kingdom of Thailand and the Government of the Socialist Republic of Vietnam for Air Services between and beyond their Respective Territories, 1978 6. ความตกลงว่าด้วยการค้า ความร่วมมือทางเศรษฐกิจและวชิ าการ พ.ศ. 2521 Agreement on Trade, Economic and Technical Cooperation, 1978 7. พธิ สี ารแกไ้ ขความตกลงว่าด้วยการคา้ ความร่วมมอื ทางเศรษฐกิจ และวชิ าการ พ.ศ. 2535 Protocol Amendments of the Agreement on Trade, Economic an Technical Cooperation, 1992 8. ความตกลงจดั ต้งั คณะกรรมาธิการรว่ มวา่ ด้วยความรว่ มมือทางเศรษฐกิจระหวา่ งไทย-เวียดนาม พ.ศ. 2534 Agreement on the Establishment of the Joint Commission on Economic Cooperation, 1991 9. ความตกลงระหว่างกระทรวงการคลังแห่งราชอาณาจักรไทยกบั กระทรวงการคลังแหง่ สาธารณรัฐสงั คมนิยม เวยี ดนามวา่ ด้วยอนกุ รรมการร่วมดา้ นการคลัง พ.ศ. 2538 Agreement between the Ministry of Finance of the Kingdom of Thailand and the Ministry of Finance of the Socialist Republic of Vietnam on the Joint Subcommittee on Finance, 1995 10.ความตกลงวา่ ดว้ ยการให้สนิ เชอ่ื ระยะยาว พ.ศ. 2523 Agreement concerning Long-Term Credit, 1980
- 10 - 11.ความตกลงว่าดว้ ยการใหส้ ินเช่ือระยะยาว พ.ศ. 2535 Agreement on a Long-Term Credit, 1992 12.ความตกลงวา่ ด้วยบริการดา้ นไปรษณียแ์ ละโทรคมนาคม พ.ศ. 2521 Agreement on Postal and Telecommunication Services, 1978 13.ความตกลงว่าด้วยการเดินเรือพาณชิ ย์ทางทะเล พ.ศ. 2522 Agreement on Commercial Maritime Navigation, 1979 14.ความตกลงเพ่ือการส่งเสรมิ และคุ้มครองการลงทนุ พ.ศ. 2534 Agreement for the Promotion and Protection of Investments, 1991 15.บนั ทกึ ความเข้าใจวา่ ด้วยความรว่ มมือในอุตสาหกรรมก๊าซธรรมชาติ พ.ศ. 2534 Memorandum of Understanding on the Cooperation in the Natural Gas Industry, 1991 16.ความตกลงเกยี่ วกับความรว่ มมอื ระหวา่ งสํานักงานคณะกรรมการส่งเสรมิ การลงทุนกบั คณะกรรมการแหง่ รฐั ว่าด้วย ความร่วมมอื และการลงทนุ พ.ศ. 2535 Cooperation Agreement between the Office of the BOI of the Kingdom of Thailand and the State Committee for Cooperation and Investment of the SRV, 1992 17.บนั ทกึ ความเข้าใจวา่ ดว้ ยความร่วมมือเร่อื งการผลิตและส่งออกข้าว พ.ศ. 2535 Memorandum of Understanding on Bilateral Cooperation in Rice Production and Exportation,1992 18.ความตกลงเพื่อการเวน้ การเกบ็ ภาษีซ้อน และการป้องกันการเลย่ี งการรัษฎากรในสว่ นทีเ่ ก่ยี วกบั ภาษีเก็บจากเงนิ ได้ พ.ศ. 2535 Agreement for the Avoidance of Double Taxation and the Prevention of Fiscal Evasion with Respect to Taxes on Income, 1992 19.ความตกลงว่าดว้ ยความร่วมมอื ระหวา่ งสาํ นกั งานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทนุ ของไทยกับคณะกรรมการแหง่ รฐั วา่ ดว้ ยความรว่ มมอื และการลงทุนของเวยี ดนาม พ.ศ. 2535 Co-operation Agreement between the Office of the Board of Investment of the Kingdom of Thailand and the State Committee for Co-operation and Investment of the Socialist Republic of Vietnam, 1992 20.บันทกึ ความเข้าใจระหวา่ งสาํ นกั งานคณะกรรมการสง่ เสรมิ การลงทุนกับกระทรวงวางแผนและการลงทนุ เวยี ดนาม ว่าดว้ ยความรว่ มมอื ด้านการลงทนุ พ.ศ. 2546 Memorandum of Understanding between the Board of investment of Thailand and the Ministry of Planning and Investment of the Socialist Republic of Vietnam, 2003 21.ความตกลงวา่ ดว้ ยความร่วมมอื ด้านการท่องเท่ียว พ.ศ. 2537 Agreement on Tourism Cooperation between Thailand and Vietnam, 1994 22.ความตกลงว่าด้วยความรว่ มมอื ระหว่างสภาอตุ สาหกรรมแหง่ ประเทศไทยกับสภาหอการคา้ และอตุ สาหกรรม เวยี ดนาม พ.ศ. 2537
- 11 - Agreement on Cooperation between Industrial Association of Thailand and Chamber of Commerce and Industry of Vietnam, 1994 23.บันทกึ ชว่ ยจาํ ระหวา่ งหอการค้าไทยกับสภาหอการค้าและอุตสาหกรรมเวียดนาม พ.ศ. 2532 Aide-Memoire between The Board of Trade of Thailand and The Chamber of Commerce and Industry of the Socialist Republic of Vietnam, 1989 24.ความตกลงความร่วมมอื ร่วมระหวา่ งสภาหอการคา้ และอตุ สาหกรรมเวียดนามกบั หอการค้าไทย พ.ศ. 2536 Joint Cooperation Agreement between Chamber of Commerce and Industry of Vietnam and The Board of Trade of Thailand, 1993 25.บันทกึ ความเข้าใจวา่ ด้วยหลักการและการจดั การท่ีเกยี่ วขอ้ งกับการสง่ กลับชาวเวียดนามซ่ึงไม่ใชผ่ ลู้ ี้ภัย พ.ศ. 2543 Memorandum of Understanding on the Principles and Arrangements Relating to Repatriation of Vietnamese Non-Refugees from the Kingdom of Thailand, 1995 26.ความตกลงทางวฒั นธรรม พ.ศ. 2539 Cultural Agreement between the Government of the Kingdom of Thailand and the Government of the Socialist Republic of Vietnam, 1996 27.ความตกลงว่าด้วยความร่วมมือทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิง่ แวดล้อม พ.ศ. 2540 Agreement between the Government of the Kingdom of Thailand and the Government of the Socialist Republic of Vietnam on Scientific, Technological and Environmental Cooperation, 1997 28.ความตกลงยอ่ ยวา่ ด้วยความร่วมมอื ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พ.ศ. 2547 Implementing Agreement on Scientific and Technological Cooperation, 2004 29.ความตกลงว่าดว้ ยการยกเว้นการลงตรวจตราซึ่งกันและกนั สาํ หรับผู้ถือหนงั สอื เดนิ ทางทูตและหนังสอื เดินทาง ราชการ และการอาํ นวยความสะดวกในการตรวจลงตราสาํ หรบั หนงั สือเดนิ ทางธรรมดา พ.ศ.2540 Agreement between the Government of the Kingdom of Thailand and the Government of the Socialist Republic of Vietnam on Mutual Exemption of Visas for Holders of Diplomatic and Official Passports and Visas Facilitation for Ordinary Passports, 1997 30.ความตกลงว่าด้วยการยกเว้นการตรวจลงตราสําหรบั ผู้ถอื หนังสือเดินทางธรรมดา พ.ศ. 2543 Agreement between the Government of the Kingdom of Thailand and the Government of the SocialistRepublic of Vietnam on Visa Exemption for Holders of Ordinary Passports, 2000 31.พธิ สี ารแกไ้ ขความตกลงวา่ ด้วยการยกเวน้ การตรวจลงตราซ่ึงกนั และกันสําหรับผู้ถือหนังสือเดนิ ทางทตู และหนังสอื เดนิ ทางราชการ และการอํานวยความสะดวกในการตรวจลงตราสาํ หรบั หนงั สือเดนิ ทางธรรมดา พ.ศ. 2547 Protocol to Amend the Agreement on Mutual Exemption of Visas for Holders of Diplomatic and Official Passports, 2004
- 12 - 32.ความตกลงว่าดว้ ยการแบง่ เขตทางทะเลระหวา่ งไทยและเวียดนามในอา่ วไทย พ.ศ. 2540 Agreement between the Government of the Kingdom of Thailand and the Government of the Socialist Republic of Vietnam on the Delimitation of the Maritime Boundary between the Two Countries in the Gulf of Thailand, 1997 33.ความตกลงว่าด้วยความร่วมมือดา้ นกฎหมายและการศาล พ.ศ. 2541 Agreement between the Government of the Kingdom of Thailand and the Government of the Socialist Republic of Vietnam on Legal and Judicial Cooperation, 1998 34.ความตกลงวา่ ด้วยความรว่ มมือในการควบคุมยาเสพติด สารออกฤทธิต์ ่อจิตและประสาทและสารต้งั ต้น พ.ศ. 2541 Agreement between the Government of the Kingdom of Thailand and the Government of the Socialist Republic of Vietnam on the Cooperation in Narcotic Drugs, Psychotropic Substances and Precursor Chemicals Control, 1998 35.บนั ทกึ ความเข้าใจระหว่างกองทพั เรอื ไทยและกองทพั เรอื เวยี ดนามวา่ ด้วยการลาดตระเวนร่วมและการจัดตั้ง โครงข่ายการติดต่อสอ่ื สาร พ.ศ. 2542 Memorandum of Understanding between the Royal Thai Navy and the Vietnamese Navy on Joint Patrol Procedures in the Adjacent Maritime Areas and Establishment of Lines of Communication, 1999 36.บนั ทึกความเขา้ ใจระหวา่ งสถานวี ทิ ยกุ ระจายเสียงแหง่ ประเทศไทย กรมประชาสัมพันธ์ และสถานีวิทยเุ สียง เวยี ดนามวา่ ด้วยความร่วมมอื ในการกระจายเสยี งทางวทิ ยุ พ.ศ. 2542 Memorandum of Understanding between Radio Thailand, the Public Relations Department and Radio the Voice of Vietnam on Cooperation in Radio Broadcasting, 1999 37.บนั ทึกความเขา้ ใจระหวา่ งกรมประชาสมั พนั ธแ์ ละสาํ นกั ขา่ วเวียดนามวา่ ด้วยความร่วมมือในการแลกเปลีย่ นขอ้ มลู ข่าวสาร พ.ศ. 2546 Memorandum of Understanding between the Public Relations Department of Thailand and the Vietnam News Agency of Vietnam on Cooperation in Information and News Exchange, 2003 38.บันทึกความเขา้ ใจว่าด้วยความรว่ มมือดา้ นการเกษตร พ.ศ. 2546 Memorandum of Understanding between the Ministry of Agriculture and Cooperatives of the Kingdom of Thailand and the Ministry of Agriculture and Rural Development of the Socialist Republic of Vietnam on Agricultural Cooperation, 2003 39.บนั ทกึ ความเขา้ ใจวา่ ด้วยความร่วมมอื ดา้ นการศึกษา พ.ศ. 2547 Memorandum of Understanding on Educational Cooperation, 2004 40.บนั ทึกความเขา้ ใจว่าดว้ ยความร่วมมือด้านวิชาการ พ.ศ. 2547 Memorandum of Understanding on Technical Cooperation, 2004
- 13 - 41.บนั ทกึ ความเขา้ ใจวา่ ด้วยความรว่ มมือด้านสาธารณสขุ พ.ศ. 2547 Memorandum of Understanding on Health Cooperation, 2004 42.ความตกลงว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรม พ.ศ. 2547 Agreement on the Prevention and Fight Against Criminal Activities, 2004 43.กรอบความตกลงว่าด้วยความร่วมมือทางด้านเศรษฐกิจ พ.ศ. 2547 Framework Agreement on Economic Cooperation, 2004 44.แถลงการณ์รว่ มว่าดว้ ยข้อตกลงเพือ่ อาํ นวยความสะดวกการขนสง่ ทางถนน พ.ศ. 2547 Joint Statement on the Arrangements for Facilitation of Road Transportation, 2004 45.บันทึกความเขา้ ใจวา่ ดว้ ยความร่วมมือในการบังคบั ใช้มาตรการด้านสขุ อนามยั และสุขอนามยั พืช พ.ศ.2547 Memorandum of Understanding on Cooperation on the Application of Sanitary and Phytosanitary Measures, 2004 46.บนั ทกึ ความเข้าใจระหวา่ งกรมทรพั ย์สนิ ทางปัญญาแห่งราชอาณาจักรไทยและหนว่ ยงานทีเ่ กยี่ วขอ้ งแหง่ สาธารณรัฐ สงั คมนิยมเวยี ดนามวา่ ด้วยความรว่ มมือดา้ นสง่ เสริมและคมุ้ ครองทรพั ยส์ นิ ทางปัญญา พ.ศ. 2548 Memorandum of Understanding between Department of Intellectual Property of the Kingdom of Thailand and Agencies Concerned of the Socialist Republic of Vietnam on the Cooperation of the Promotion and Protection of Intellectual Property, 2005 47.บันทกึ ความเข้าใจระหว่างสถาบนั มาตรวิทยาไทยและสถาบันมาตรวิทยาเวียดนามว่าด้วยความร่วมมอื ทางวชิ าการ ด้านมาตรวิทยา พ.ศ. 2548 Memorandum of Understanding between National Institute of Metrology (Thailand) and Vietnam Metrology Institute Concerning Technical Cooperation in Metrology 48.ความตกลงว่าดว้ ยความร่วมมือระหวา่ งสาํ นกั งานอัยการสงู สุดแห่งราชอาณาจักรไทยและสํานักงานอยั การสงู สุด แห่งสาธารณรฐั สังคมนยิ มเวยี ดนาม พ.ศ. 2550 49.ข้อตกลงวา่ ด้วยความรว่ มมือและการชว่ ยเหลอื ซึง่ กนั และกนั ในการใหก้ ารศกึ ษาอบรมตาํ รวจระหวา่ งโรงเรยี นนาย รอ้ ยตํารวจของไทยกบั สถาบนั ตํารวจของประชาชนของสาธารณรฐั สงั คมนิยมเวยี ดนาม Memorandum Concerning Cooperation and Mutual Assistance in Police Training between Vietnamese People's Police Academy and Thai Royal Police Cadet Academy, 2008 50.ความตกลงระหว่างไทย-เวียดนามว่าดว้ ยความรว่ มมอื ในการขจัดการคา้ มนุษยโ์ ดยเฉพาะสตรแี ละเดก็ และการ ช่วยเหลอื เหยื่อการค้ามนุษย์ พ.ศ. 2551 Agreement between the Government of the Kingdom of Thailand and the Government of the Socialist Republic of Vietnam on Bilateral Cooperation for Eliminating Trafficking in Persons, especially Women and Children and Assisting Victims of Trafficking, 2008 51.บนั ทึกความเขา้ ใจระหวา่ งรฐั บาลแห่งราชอาณาจักรไทยกับรัฐบาลแห่งสาธารณรัฐสังคมนยิ มเวียดนามว่าดว้ ยเร่อื ง การพฒั นาการฝกึ อบรมวชิ าชีพในประเทศ ACMECS พ.ศ. 2551 Memorandum of Understanding between the Government of the Kingdom of Thailand and the
- 14 - Government of the Socialist Republic of Vietnam on Vocational Training Development in ACMECS Countries, 2008 52.สนธิสัญญาว่าดว้ ยการโอนตัวผตู้ อ้ งคาํ พิพากษาและความร่วมมอื ในการบังคับให้เป็นไปตามคาํ พิพากษาในคดอี าญา พ.ศ. 2553 Treaty Between The Kingdom of Thailand and the Socialist Republic of Vietnam onthe Transfer of Sentenced Persons and on Cooperation in the Enforcement of Penal Sentences,2010 53.ความตกลงว่าด้วยความรว่ มมอื เพ่อื การพฒั นาอยา่ งยง่ั ยนื ของลุ่มน้าํ โขง พ.ศ. 2538 Agreement on the Cooperation for the Sustainable Development of the Mekong River Basin, 1995 54.ความตกลงระหว่างรฐั บาลกัมพชู า จนี ลาว พม่า ไทย และเวยี ดนาม ว่าดว้ ยการคา้ พลังงานระดับภูมิภาคในอนุ ภมู ภิ าคลมุ่ น้ําโขง พ.ศ. 2545 Inter-Governmental Agreement on Regional Power Trade in the Greater Mekong Sub-Region, 2002 55.ข้อตกลงระหวา่ งรัฐบาลแห่งสาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาว ราชอาณาจักรไทย และสาธารณรัฐสงั คมนยิ ม เวียดนาม ในการดําเนนิ การขนส่งทางถนนเพอ่ื การทอ่ งเทีย่ ว Arrangement between and among the Governments of the Lao People's Democratic Republic, the Kingdom of Thailand, and the Socialist Republic of Viet Nam on the Operation of the Tourism Road Transport, 2007) สาธารณสุขไทย-เวียดนาม ลงนามบนั ทึกความเขา้ ใจความร่วมมือสาธารณสุข 3 เรอ่ื งหลกั 1.พฒั นาระบบหลกั ประกัน สขุ ภาพถว้ นหนา้ 2เฝ้าระวงั และรับมอื โรคตดิ ตอ่ อบุ ัติใหม่ และ3.การพฒั นาศักยภาพบรกิ ารของโรงพยาบาล http://www.moph.go.th/ops/iprg/include/admin_hotnew/show_hotnew.php?idHot_new=44451
บทสรปุ ผบู้ รหิ าร (Executive Summary) นโยบายการพฒั นาประเทศไทยให้เปน็ ศูนยก์ ลางสุขภาพนานาชาติ (Medical Hub) และอตุ สาหกรรมการแพทยค์ รบวงจรในประเทศไทย ประกอบการเข้าเย่ียมคารวะเอกอคั รราชทูตไทยประจาํ เวยี ดนาม (นายธานี แสงรัตน)์ ในวนั ที่ 23 สงิ หาคม 2562 ***************************************************************** 1. ภูมหิ ลัง (Background) ตามที่รัฐบาลมีนโยบายพัฒนาประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางสุขภาพนานาชาติเพ่ือขับเคล่ือนเศรษฐกิจ ในอนาคต (New Engine of Growth) และผลักดันการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ (S-curve) โดยการต่อยอด อุตสาหกรรมเดิมท่ีมีศักยภาพ (First S-curve) ในด้านอุตสาหกรรมการท่องเท่ียวกลุ่มรายได้ดีและการ ท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ (Affluent, Medical and Wellness Tourism) และเติมอุตสาหกรรมแห่งอนาคต (New S-curve) ในด้านอุตสาหกรรมการแพทย์ครบวงจร (Medical Hub) รองรับการขยายตัวของกลุ่มสินค้า และธุรกิจบริการสุขภาพโดยมีเป้าหมายในการเชื่อมต่อการค้าและการลงทุน ตลอดจนความก้าวหน้าทาง เทคโนโลยเี พือ่ จัดบรกิ ารสขุ ภาพที่ลดความเหล่ือมลํ้าของการเข้าถึงระบบสุขภาพตามนโยบายประเทศไทย 4.0 ที่ขับเคล่ือนด้วยนวัตกรรม (Value - Based Economy) ซึ่งมีความสอดคล้องตาม ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน และแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 ด้านการ สร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจและแข่งขันได้อย่างยั่งยืน (การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ และการบริการทาง การแพทย์) ประกอบกับแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางสุขภาพนานาชาติ (Medical Hub) ระยะ 10 ปี (พ.ศ.2560 - 2569) ทั้ง 4 ผลผลิตหลัก ได้แก่ 1) ศูนย์กลางบริการเพ่ือส่งเสริมสุขภาพ (Wellness Hub) 2) ศูนย์กลางบริการสุขภาพ (Medical Service Hub) 3) ศูนย์กลางบริการวิชาการและ งานวิจัย (Academic Hub) และ 4) ศูนย์กลางยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ (Product Hub) ท่ีได้รับความ เหน็ ชอบในหลกั การจากคณะรฐั มนตรี เมื่อวันที่ 13 กนั ยายน พ.ศ. 2559 มกี ารขับเคล่ือนการดําเนินงานโดย ใช้กลไกของคณะกรรมการและคณะอนุกรรมการเพ่ือพัฒนาประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางสุขภาพนานชาติ (นโยบาย Medical Hub) ตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันท่ี 20 มิถุนายน 2560 ซ่ึงมีรัฐมนตรีว่าการกระทรวง สาธารณสุข และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการท่องเท่ียวและกีฬา เป็นประธาน คณะอนุกรรมการเพ่ือพัฒนา ประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางสุขภาพนานาชาติ (นโยบาย Medical Hub) จํานวน 4 คณะ ประกอบด้วย 1) คณะอนุกรรมการเพื่อพัฒนาประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางบริการเพ่ือส่งเสริมสุขภาพ (Wellness Hub) 2) คณะอนุกรรมการพัฒนาประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางบริการรักษาพยาบาล (Medical Service Hub) 3) คณะอนุกรรมการพัฒนาประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางบริการวิชาการและงานวิจัย (Academic Hub) และ 4) คณะอนุกรรมการพัฒนาประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ (Product Hub) พร้อมท้ังได้ แตง่ ตง้ั คณะอนกุ รรมการติดตามผลการดาํ เนนิ งานในการพัฒนาประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางสุขภาพนานาชาติ (นโยบาย Medical Hub) เพิ่มเติมเมื่อวันท่ี 17 มิถุนายน 2562 เพ่ือติดตามผลการดําเนินงานตามนโยบาย ให้เกิดรูปธรรม เป้าหมายเพ่ือให้ประเทศไทยก้าวเข้าสู่การเป็นศูนย์กลางสุขภาพนานาชาติ โดยให้ความสําคัญ ในการพัฒนาและบูรณาการทํางานตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง นําศักยภาพ ขีดความสามารถ ทรัพยากรสุขภาพและทรัพยากรธรรมชาติ ส่ิงแวดล้อมที่มีอยู่อย่างจํากัด ภูมิปัญญาไทย วิถีชุมชน มาสร้าง บริการและผลิตภัณฑ์สุขภาพท่ีมีเอกลักษณ์ อัตลักษณ์ เพ่ือให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางบริการสุขภาพของ โลก (Thailand Hub of Wellness and Medical services) ภายใน 10 ปีข้างหนา้ และสามารถเพิ่มสัดส่วน รายได้ พฒั นาคุณภาพชีวิตของประชาชนในประเทศเกิดความมั่นคง และมั่งค่ังทางเศรษฐกจิ ได้อย่างย่ังยืน กองสขุ ภาพระหว่างประเทศ กรมสนบั สนุนบริการสุขภาพ ณ วันที่ 20 สงิ หาคม 2562 หนา้ 1
2. ภาพรวมสถานการณ์ Medical Hub ในประเทศไทย ปัจจุบันประเทศไทยเป็นศูนย์กลางการบริการด้านสุขภาพหลักของเอเชีย โดยมีนักท่องเท่ียวเชิงสุขภาพ ในปี พ.ศ. 2560 ประมาณ 3.3 ล้านคร้ัง และมีแนวโน้มเติบโตขึ้นเร่ือยๆทุกปี และจากข้อมูลของศูนย์วิจัยกสิกร ไทยในปี พ.ศ. 2561 มีนักท่องเที่ยวเชิงสุขภาพจํานวนมากกว่า 3.42 ล้านคร้ัง สะท้อนให้เห็นถึงขีด ความสามารถในการแข่งขันของไทยเม่ือเทียบกับประเทศคู่แข่ง โดยเฉพาะในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ไม่ว่าจะเป็นสิงคโปร์และมาเลเซีย อีกทั้งเม่ือเทียบคุณภาพของระบบการดูแลสุขภาพ ทั้งด้านความเช่ียวชาญของ บคุ ลากรทางการแพทย์และเครือ่ งมืออุปกรณ์ทที่ ันสมยั แลว้ พบวา่ ประเทศไทยมขี อ้ ไดเ้ ปรยี บทางการแข่งขันท่ีโดด เด่น ท้งั ในดา้ นความพร้อมในการให้บริการทมี่ มี าตรฐานในระบบสากล โดยในปัจจุบันไทยมีจํานวนสถานพยาบาล ทไี่ ดร้ ับการรับรองมาตรฐานในระดับสากล JCI (Joint Commission International Accreditation) มากที่สุดใน อาเซียน ถึง 67 แห่ง (ข้อมูล ณ เดือนสิงหาคม 2562) และมากเป็นอันดับ 4 ของโลกอีกด้วย อีกท้ังจากการ จดั อบั ดับของเว็บไซต์ในต่างประเทศ จัดให้โรงพยาบาลเอกชนของไทยยังติดอันดับ 1 ใน 10 สถานพยาบาลยอด เยี่ยมระดับโลกสําหรับการท่องเท่ียวเชิงสุขภาพ ทําให้นักท่องเที่ยวเชิงการแพทย์มีความม่ันใจในชื่อเสียงและ คุณภาพการบริการด้านสุขภาพของไทยมากข้ึน นอกจากนี้ ค่ารกั ษาพยาบาลในไทยยงั ถกู กวา่ ในหลายประเทศ ซ่ึง เปน็ อีกปัจจยั หน่งึ ท่จี งู ใจนักทอ่ งเทย่ี วเชิงการแพทย์ สําหรับด้านการสร้างรายได้เข้าสู่ประเทศ พบว่าการเติบโตของการท่องเที่ยวเชิงการแพทย์มีส่วนช่วย เพ่ิมรายได้ให้กับประเทศ โดยในปี พ.ศ. 2560 ศูนย์วิจัยกสิกรไทยรายงานว่าประเทศไทยมีรายได้จากการ รักษาพยาบาลชาวต่างชาติ 1.1 แสนล้านบาท ในปี พ.ศ. 2561 มีรายได้จากบริการท่องเที่ยวเชิงการแพทย์ 1.4 แสนลา้ นบาท เพ่ิมขนึ้ ร้อยละ 22 ประกอบกับข้อมูลในปี พ.ศ. 2561 ด้านการประกอบธุรกิจจากกรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวง พาณิชย์ ระบุว่า มีธุรกิจด้านสุขภาพท่ีดําเนินกิจการท่ัวประเทศ 4,099 รายแบ่งเป็น บริษัทจํากัด 3,388 ราย (83%) ห้างหุ้นส่วนจํากัด/ห้างหุ้นส่วนสามัญ/นิติบุคคล 676 ราย (16%) บริษัทมหาชนจํากัด 35 ราย (1%) โดยมีบริษัทมหาชนที่ได้จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ 23 ราย (66%) ของบริษัทมหาชนกลุ่มธุรกิจ ดา้ นสุขภาพ 3. ผลการดาํ เนนิ งานทีผ่ า่ นมา (ต้ังแตป่ ี 2559 - 2562) กรมสนับสนุนบริการสุขภาพในฐานะฝ่ายเลขานุการคณะกรรมการอํานวยการเพ่ือพัฒนาประเทศไทย ให้เป็นศูนย์กลางสุขภาพนานาชาติ (นโยบาย Medical Hub) ได้ดําเนินกิจกรรมโครงการสําคัญภายใต้แผน ยุทธศาสตร์การพฒั นาประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางสุขภาพนานาชาติ (Medical Hub) (พ.ศ.2560 - 2569) ในประเด็นดังต่อไปน้ี ปีงบประมาณ 2562 1. การสง่ เสริมการยกระดับบริการนวดไทยให้ผ่านการรับรองจาก UNESCO 2. การประกาศใหอ้ าชีพนวดไทยเปน็ อาชพี สงวนสําหรับคนไทย 3. การจัดทําคู่มือการพัฒนา Healthy Home Stay รองรับการเป็นศูนย์กลางบริการเพ่ือส่งเสริม สขุ ภาพ ในจงั หวดั ทอ่ งเท่ยี วชนั้ นํา 4. การจัดทําแนวทางส่งเสริมพัฒนาศักยภาพของสมาคม/ชมรมนวดไทย สปาไทย และสถาน ประกอบการเพอื่ สุขภาพชาวไทยในตา่ งประเทศ 5. การส่งเสริมการดําเนินงานขยายเวลาพํานักในราชอาณาจักรไทยกรณีเดินทางเข้ามารับการ รักษาพยาบาล รวม 90 วัน สําหรับกลุม่ ประเทศ GCC รวมทง้ั กลุ่มประเทศ CLMV และจนี กองสุขภาพระหว่างประเทศ กรมสนบั สนนุ บริการสุขภาพ ณ วนั ท่ี 20 สงิ หาคม 2562 หน้า 2
6. การเพ่ิมเติมกลุ่มประเทศเป้าหมายในนโยบายการยกเว้นการตรวจลงตราเพื่อการรักษาพยาบาล 90 วัน สําหรับผู้ปว่ ยและผู้ตดิ ตามรวมไม่เกิน 4 ราย และนโยบาย Long stay visa รหัสกํากับ Non - O-X 7. การพัฒนาศูนย์ข้อมูลสารสนเทศรองรับนโยบาย Medical Hub 8. การพัฒนาศูนย์ประสานงานกลาง (Claim Center) ในการจัดเก็บค่ารักษาพยาบาลชาวต่างชาติ สําหรับสถานพยาบาลภาครฐั ในจงั หวดั ทอ่ งเทยี่ ว 9. การปรับปรุงกฎหมายรองรับการเพ่ิมเติมหลักเกณฑ์การทําประกันสุขภาพสําหรับคนต่างด้าวผู้ ขอรับการตรวจลงตราประเภทคนอยู่ชั่วคราว Non - Immigrant Visa รหัส O-A (ระยะ 1 ปี) ภายหลังจาก คณะรัฐมนตรีมมี ติอนุมตั ใิ นหลักการเมือ่ วนั ท่ี 2 เมษายน 2562 10. การสง่ เสรมิ การลงทนุ ภายใตช้ ดุ สิทธิประโยชนข์ อง BOI และในเขตเศรษฐกิจพเิ ศษ EEC 11. การพัฒนาระบบการศึกษาต่อแพทย์เฉพาะทาง โดยให้ภาคเอกชนร่วม Affiliated Private Training 12. การพัฒนาระบบการให้ทุนการศึกษาแกก่ ลุ่มประเทศ CLMV 13. การพฒั นา Clinical Research Center ในประเทศไทยแบบครบวงจร 14. การเป็นศูนยก์ ลางการจัดประชมุ วชิ าการทางการแพทยร์ ะดับนานาชาติ (Medical MICE) 15. การจัดต้งั Product Outlet จําหนา่ ยผลิตภัณฑส์ ขุ ภาพ ในประเทศและต่างประเทศ 16. การจัดต้ังศูนย์ทดสอบเคร่ืองมือแพทย์ที่มีมาตรฐานสากลในประเทศไทย (Medical Device Laboratory Testing) 17. การพัฒนา Medical Spa ในประเทศไทย 18. การสง่ เสรมิ บริการรักษาพยาบาลท่ีมีศักยภาพ (Magnet) รองรับการเป็นอุตสาหกรรมการแพทย์ ครบวงจร (Medical Hub) และการบริการเพอื่ สง่ เสริมสขุ ภาพ (Wellness) 19. การแต่งต้ังคณะอนุกรรมการติดตามผลการดําเนินงานฯ ตามมติคณะกรรมการอํานวยการเพื่อ พฒั นาประเทศไทยใหเ้ ปน็ ศนู ยก์ ลางสขุ ภาพนานาชาติ (นโยบาย Medical Hub) 20. การแต่งต้ังคณะอนุกรรมการเพื่อพัฒนาประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางสุขภาพนานาชาติ (Medical Hub) จาํ นวน 4 คณะ (เพิ่มเติม) 21. การจัดทํา (ร่าง) แนวทางการจัดประชุมวิชาการนานาชาติ Medical Hub Expo 2020 ใน ประเทศไทย ในปี 2563 22. การจดั ทํา Directory ของสถานบริการเพอ่ื ส่งเสรมิ สขุ ภาพ (Wellness Hub) 23. การคัดเลือกบริการเพ่ือส่งเสริมสุขภาพ (Wellness) ที่มีศักยภาพ และดึงดูดผู้รับบริการ (Magnet) เพื่อการจัดแสดงในศูนย์สาธิตนวัตกรรมทางการแพทย์ไทย และส่งเสริมให้เป็นบริการที่สร้างรายได้ เข้าสูป่ ระเทศไทย 24. การจัดประชมุ วชิ าการ The 1st Forum Medical Hub Conference 2019 25. การจัดทําระบบ Online Learning มาตรฐานสากล ( JCI - GHA – Well Hotel) 26. การจัดต้งั ศนู ย์สาธติ นวตั กรรมทางการแพทย์ไทย ปงี บประมาณ 2561 1. การจัดทําแนวทางการดําเนินงานพัฒนาศูนย์ประสานงานกลาง (Claim Center) ในการจัดเก็บค่า รกั ษาพยาบาลชาวต่างชาติสําหรบั สถานพยาบาลภาครัฐในจังหวดั ทอ่ งเทยี่ ว 2. การจัดทาํ แพคเกจด้านสขุ ภาพและการรักษาพยาบาลรองรับชาวต่างชาติ กองสขุ ภาพระหว่างประเทศ กรมสนบั สนุนบรกิ ารสขุ ภาพ ณ วันท่ี 20 สิงหาคม 2562 หน้า 3
Search