Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านพลวงมัธยมศึกษาตอนต้น พุทธศักราช2566

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านพลวงมัธยมศึกษาตอนต้น พุทธศักราช2566

Published by KroorachaneChanel, 2023-06-16 07:56:33

Description: หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านพลวงมัธยมศึกษาตอนต้น พุทธศักราช2566

Search

Read the Text Version

หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๙๔ ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กลุ่มงานบรหิ ารวิชาการ ปีการศึกษา ๒๕๖๖ ส๒๒๑๐๒ ประวัติศาสตร์ ๓ กลุ่มสาระการเรียนร้สู ังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม ช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี ๒ ภาคเรยี นที่ ๑ เวลาเรยี น ๒๐ ชั่วโมง จำนวน ๐.๕ หนว่ ยกติ ศึกษา ค้นคว้า อภิปราย ประเมินความน่าเชื่อถือของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ในลักษณะต่างๆ โดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ วิเคราะห์ความแตกต่างระหว่างความจริงกับข้อเท็จจริงของเหตุการณ์ทาง ประวัตศิ าสตร์ พัฒนาการทางประวตั ศิ าสตร์ของอาณาจกั รอยุธยาด้านความมั่นคง ความเจริญร่งุ เรือง การ เสียกรุง และภมู ปิ ญั ญา วฒั นธรรม เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจ มีความรักชาติ ศาสนาและพระมหากษัตริย์ เห็นความสำคัญของ การวิเคราะห์หลักฐานสามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ สามารถวิเคราะห์ และนำไปใช้ในการดำเนินชีวิต เกิดความสมานฉันท์ มีจิตสาธารณะ มีจริยธรรม คุณธรรมนำความรู้ และคา่ นยิ มท่ีเหมาะสม เพ่อื การอย่รู ว่ มกันอยา่ งสนั ติ รหสั ตวั ช้ีวัด ส ๔.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒ , ม.๒/๓, ส ๔.๓ ม.๒/๑, ม.๒/๒ , ม.๒/๓ รวมท้ังหมด ๖ ตวั ชวี้ ดั ❖ ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้

หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๙๕ ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กลุ่มงานบริหารวชิ าการ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๖ ส๒๒๑๐๔ ประวัติศาสตร์ ๔ กลุ่มสาระการเรยี นรสู้ ังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๒ ภาคเรยี นท่ี ๒ เวลาเรยี น ๒๐ ชัว่ โมง จำนวน ๐.๕ หนว่ ยกติ ใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ ศึกษา ค้นคว้า อภิปราย ประวัติความเป็นมา ปัจจัยที่ส่งเสริม ให้อาณาจักรธนบุรีมีความรุ่งเรืองและเสื่อมลง พัฒนาการทางด้านการเมือง การปกครอง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมและภมู ิปญั ญา ของกรงุ ธนบุรี เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจ มีความรักชาติ ศาสนาและพระมหากษัตริย์ สามารถสื่อสาร สิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ สามารถวิเคราะห์และนำไปใช้ในการดำเนินชีวิต เกิดความ สมานฉันท์ มจี ติ สาธารณะ มจี รยิ ธรรม คณุ ธรรมนำความรู้ และค่านิยมทีเ่ หมาะสม เพื่อการอยู่รว่ มกันอย่าง สนั ติ รหัสตวั ชีว้ ัด ส ๔.๓ ม.๒/๑, ม.๒/๒ , ม.๒/๓ รวมท้ังหมด ๓ ตัวชี้วดั ❖ ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น

หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๙๖ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กลุ่มงานบริหารวชิ าการ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๖ ส๒๓๑๐๒ ประวัตศิ าสตร์ ๕ กลุ่มสาระการเรยี นรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๓ ภาคเรยี นท่ี ๑ เวลาเรยี น ๒๐ ชัว่ โมง จำนวน ๐.๕ หน่วยกติ ใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ ศึกษา ค้นคว้า อภิปราย ประวัติความเป็นมา ปัจจัยที่ส่งเสริมให้ อาณาจักรรัตนโกสินทร์ด้านความรุ่งเรืองและเสื่อมลง พัฒนาการทางด้านการเมือง การปกครอง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมและภูมปิ ญั ญา จนถงึ การเปลย่ี นแปลงการปกครอง เพอื่ ให้มีความรู้ ความเข้าใจ มคี วามรกั ชาติ ศาสนาและพระมหากษัตริย์ สามารถสื่อสารส่ิงที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตดั สินใจ สามารถวิเคราะห์และนำไปใช้ในการดำเนินชีวติ เกิดความสมานฉันท์ มีจิต สาธารณะ มีจรยิ ธรรม คุณธรรมนำความรู้ และคา่ นยิ มท่เี หมาะสม เพ่อื การอยูร่ ว่ มกนั อย่างสนั ติ รหัสตัวชว้ี ัด ส ๔.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ส ๔.๓ ม.๓/๑, ม.๓/๒ , ม.๓/๓ รวมท้ังหมด ๕ ตัวชี้วดั ❖ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น

หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๙๗ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กลมุ่ งานบริหารวิชาการ ปีการศึกษา ๒๕๖๖ ส๒๓๑๐๔ ประวตั ิศาสตร์ ๖ กลุ่มสาระการเรยี นรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ ๓ ภาคเรยี นที่ ๒ เวลาเรยี น ๒๐ ชวั่ โมง จำนวน ๐.๕ หน่วยกติ ใชว้ ธิ กี ารทางประวัติศาสตร์ ศกึ ษา คน้ คว้า อภปิ ราย เก่ียวกบั การเหตุการณ์การเปลี่ยนแปลงการ ปกครองพุทธศักราช ๒๔๗๕ และเหตุการณ์สำคญั ดา้ นการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม จนถงึ ปัจจุบัน เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจ มคี วามรักชาติ ศาสนาและพระมหากษัตริย์ สามารถสือ่ สารส่ิงท่ีเรียนรู้ มีความสามารถในการตดั สินใจ สามารถวเิ คราะห์และนำไปใช้ในการดำเนินชวี ติ เกดิ ความสมานฉนั ท์ มีจิต สาธารณะ มีจริยธรรม คุณธรรมนำความรู้ และคา่ นิยมทเี่ หมาะสม เพือ่ การอยู่ร่วมกนั อยา่ งสันติ รหสั ตวั ชว้ี ัด ส ๔.๓ ม.๓/๔ รวมท้ังหมด ๑ ตัวชี้วดั ❖ ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น

หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๙๘ ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กลมุ่ งานบรหิ ารวิชาการ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๖ คำอธิบายรายวิชาเพิม่ เตมิ ส๒๑๒๐๒ การปอ้ งกนั การทุจรติ ๑ กลมุ่ สาระการเรียนรู้สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๑ ภาคเรยี นท่ี ๑ เวลาเรยี น ๒๐ ช่ัวโมง จำนวน ๐.๕ หน่วยกติ ศกึ ษาเกีย่ วกับการแยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ่วนตนกับผลประโยชน์ส่วนรวม ความละอายและ ความไม่ทนต่อการทุจริต STRONG / จิตพอเพียงต่อต้านการทุจริต รู้หน้าที่ของพลเมืองและรับผิดชอบต่อ สังคมในการต่อต้านการทุจรติ โดยใช้กระบวนการคิด วเิ คราะห์ จำแนก แยกแยะ การฝกึ ปฏบิ ัติจริง การทา โครงงานกระบวนการเรียนรู้ ๕ ข้นั ตอน (๕ STEPs) การอภิปราย การสบื สอบ การแกป้ ญั หา ทกั ษะการอ่าน และการเขยี น เพอ่ื ให้มีความตระหนกั และเหน็ ความสำคัญของการต่อต้านและการป้องกันการทจุ ริต ผลการเรยี นรู้ ๑. มีความรู้ ความเขา้ ใจเก่ยี วกบั การแยกแยะระหวา่ งผลประโยชน์ส่วนตน กับผลประโยชน์ สว่ นรวม ๒. มีความรู้ ความเขา้ ใจเกี่ยวกบั ความละอายและความไม่ทนต่อการทจุ รติ ๓. มีความรู้ ความเข้าใจเก่ยี วกบั STRONG / จติ พอเพียงต่อต้านการทุจริต ๔. มีความรู้ ความเข้าใจเกีย่ วกับพลเมืองและมีความรับผิดชอบต่อสังคม ๕. สามารถคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชน์สว่ นตน กบั ผลประโยชน์ส่วนรวมได้ ๖. ปฏบิ ตั ติ นเป็นผ้ลู ะอายและไม่ทนต่อการทุจริตทุกรปู แบบ ๗. ปฏบิ ตั ติ นเปน็ ผู้ท่ี STRONG / จติ พอเพียงต่อตา้ นการทุจริต ๘. ปฏิบตั ิตนตามหน้าทพ่ี ลเมืองและมคี วามรบั ผดิ ชอบตอ่ สังคม ๙. ตระหนกั และเห็นความสำคญั ของการต่อต้านและป้องกันการทุจรติ รวมทง้ั หมด ๙ ผลการเรยี นรู้ ❖ ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น

หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๙๙ ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กลุม่ งานบริหารวิชาการ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๖ ส๒๑๒๐๔ การป้องกนั การทจุ ริต ๒ กล่มุ สาระการเรยี นร้สู ังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ ๑ ภาคเรยี นท่ี ๒ เวลาเรยี น ๒๐ ชวั่ โมง จำนวน ๐.๕ หนว่ ยกติ ศกึ ษาเกีย่ วกับการแยกแยะระหว่างผลประโยชน์สว่ นตนกบั ผลประโยชนส์ ว่ นรวม ความละอายและ ความไม่ทนต่อการทุจริต STRONG / จิตพอเพียงต่อต้านการทุจริต รู้หน้าที่ของพลเมืองและรับผิดชอบต่อ สังคมในการต่อต้านการทุจริต โดยใชก้ ระบวนการคิด วเิ คราะห์ จำแนก แยกแยะ การฝกึ ปฏิบัตจิ ริง การทา โครงงานกระบวนการเรยี นรู้ ๕ ข้ันตอน (๕ STEPs) การอภิปราย การสบื สอบ การแกป้ ัญหา ทกั ษะการอ่าน และการเขยี น เพือ่ ใหม้ คี วามตระหนักและเห็นความสำคัญของการต่อตา้ นและการปอ้ งกันการทจุ รติ ผลการเรยี นรู้ ๑. มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกบั การแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตน กับผลประโยชน์ สว่ นรวม ๒. มีความรู้ ความเขา้ ใจเกีย่ วกับความละอายและความไม่ทนตอ่ การทจุ รติ ๓. มีความรู้ ความเข้าใจเกย่ี วกับ STRONG / จติ พอเพยี งต่อตา้ นการทุจรติ ๔. มีความรู้ ความเขา้ ใจเกี่ยวกบั พลเมืองและมีความรับผดิ ชอบต่อสังคม ๕. สามารถคิดแยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ว่ นตน กบั ผลประโยชน์ส่วนรวมได้ ๖. ปฏบิ ตั ติ นเป็นผ้ลู ะอายและไมท่ นต่อการทุจริตทุกรูปแบบ ๗. ปฏิบตั ิตนเปน็ ผทู้ ่ี STRONG / จิตพอเพียงตอ่ ต้านการทุจรติ ๘. ปฏิบัติตนตามหน้าทพ่ี ลเมืองและมีความรับผดิ ชอบตอ่ สังคม ๙. ตระหนกั และเห็นความสำคญั ของการต่อต้านและป้องกันการทุจริต รวมท้ังหมด ๙ ผลการเรยี นรู้ ❖ ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน้

หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๑๐๐ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กล่มุ งานบรหิ ารวชิ าการ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๖ ส๒๒๒๐๒ การปอ้ งกันการทุจรติ ๓ กลมุ่ สาระการเรียนรู้สังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรยี นท่ี ๑ เวลาเรยี น ๒๐ ช่ัวโมง จำนวน ๐.๕ หน่วยกติ ศกึ ษาเกยี่ วกบั การแยกแยะระหวา่ งผลประโยชน์สว่ นตนกบั ผลประโยชนส์ ว่ นรวม ความละอายและ ความไม่ทนต่อการทุจริต STRONG / จิตพอเพียงต่อต้านการทุจริต รู้หน้าที่ของพลเมืองและรับผิดชอบต่อ สังคมในการต่อตา้ นการทจุ รติ โดยใช้กระบวนการคิด วิเคราะห์ จำแนก แยกแยะ การฝึกปฏิบัติจริง การทาโครงงานกระบวนการเรียนรู้ ๕ ขั้นตอน (๕ STEPs) การอภิปราย การสืบสอบ การแก้ปัญหา ทักษะ การอ่านและการเขียน เพื่อให้มีความตระหนักและเห็นความสำคัญของการต่อต้านและการป้องกันการ ทจุ รติ ผลการเรยี นรู้ ๑. มีความรู้ ความเข้าใจเกีย่ วกบั การแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตน กับผลประโยชน์ สว่ นรวม ๒. มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกบั ความละอายและความไม่ทนต่อการทุจริต ๓. มีความรู้ ความเขา้ ใจเกย่ี วกับ STRONG / จติ พอเพยี งต่อต้านการทุจรติ ๔. มคี วามรู้ ความเขา้ ใจเกย่ี วกับพลเมืองและมีความรับผดิ ชอบต่อสงั คม ๕. สามารถคดิ แยกแยะระหวา่ งผลประโยชน์สว่ นตน กบั ผลประโยชน์สว่ นรวมได้ ๖. ปฏบิ ตั ิตนเป็นผู้ละอายและไม่ทนต่อการทจุ รติ ทุกรปู แบบ ๗. ปฏิบตั ิตนเป็นผ้ทู ี่ STRONG / จิตพอเพยี งต่อตา้ นการทุจรติ ๘. ปฏบิ ตั ติ นตามหนา้ ทีพ่ ลเมืองและมคี วามรบั ผิดชอบต่อสังคม ๙. ตระหนักและเห็นความสำคัญของการต่อตา้ นและป้องกันการทุจรติ รวมทั้งหมด ๙ ผลการเรยี นรู้ ❖ ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น

หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๑๐๑ ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กล่มุ งานบรหิ ารวชิ าการ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๖ ส๒๒๒๐๔ การปอ้ งกันการทจุ ริต ๔ กลมุ่ สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ ๒ ภาคเรยี นท่ี ๒ เวลาเรยี น ๒๐ ชัว่ โมง จำนวน ๐.๕ หนว่ ยกติ ศกึ ษาเกีย่ วกบั การแยกแยะระหว่างผลประโยชน์สว่ นตนกบั ผลประโยชน์สว่ นรวม ความละอายและ ความไม่ทนต่อการทุจริต STRONG / จิตพอเพียงต่อต้านการทุจริต รู้หน้าที่ของพลเมืองและรับผิดชอบต่อ สังคมในการต่อต้านการทจุ รติ โดยใช้กระบวนการคิด วิเคราะห์ จำแนก แยกแยะ การฝกึ ปฏบิ ตั จิ ริง การทา โครงงานกระบวนการเรยี นรู้ ๕ ขั้นตอน (๕ STEPs) การอภปิ ราย การสบื สอบ การแก้ปญั หา ทักษะการอ่าน และการเขยี น เพือ่ ให้มีความตระหนักและเหน็ ความสำคัญของการต่อตา้ นและการป้องกันการทจุ รติ ผลการเรียนรู้ ๑. มคี วามรู้ ความเขา้ ใจเกี่ยวกับการแยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ่วนตน กบั ผลประโยชน์ สว่ นรวม ๒. มคี วามรู้ ความเขา้ ใจเก่ยี วกบั ความละอายและความไม่ทนต่อการทจุ ริต ๓. มคี วามรู้ ความเขา้ ใจเกี่ยวกบั STRONG / จิตพอเพียงต่อต้านการทจุ รติ ๔. มคี วามรู้ ความเข้าใจเกย่ี วกบั พลเมืองและมีความรบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คม ๕. สามารถคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตน กับผลประโยชน์สว่ นรวมได้ ๖. ปฏบิ ตั ติ นเปน็ ผูล้ ะอายและไมท่ นต่อการทุจรติ ทุกรูปแบบ ๗. ปฏิบัตติ นเปน็ ผู้ท่ี STRONG / จติ พอเพยี งตอ่ ตา้ นการทุจรติ ๘. ปฏิบตั ติ นตามหนา้ ที่พลเมืองและมคี วามรบั ผดิ ชอบต่อสังคม ๙. ตระหนักและเหน็ ความสำคญั ของการต่อต้านและป้องกันการทุจริต รวมทงั้ หมด ๙ ผลการเรียนรู้ ❖ ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้

หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๑๐๒ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กลมุ่ งานบริหารวชิ าการ ปีการศึกษา ๒๕๖๖ ส๒๓๒๐๒ การป้องกันการทุจรติ ๕ กลุ่มสาระการเรยี นรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๓ ภาคเรียนที่ ๑ เวลาเรยี น ๒๐ ชว่ั โมง จำนวน ๐.๕ หน่วยกติ ศกึ ษาเกีย่ วกับการแยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ว่ นตนกบั ผลประโยชนส์ ว่ นรวม ความละอายและ ความไม่ทนต่อการทุจริต STRONG / จิตพอเพียงต่อต้านการทุจริต รู้หน้าที่ของพลเมืองและรับผิดชอบต่อ สังคมในการต่อต้านการทจุ รติ โดยใชก้ ระบวนการคิด วเิ คราะห์ จำแนก แยกแยะ การฝึกปฏิบัติจริง การทา โครงงานกระบวนการเรียนรู้ ๕ ขั้นตอน (๕ STEPs) การอภปิ ราย การสืบสอบ การแก้ปัญหา ทกั ษะการอ่าน และการเขยี น เพือ่ ให้มคี วามตระหนกั และเหน็ ความสำคัญของการต่อต้านและการปอ้ งกนั การทุจรติ ผลการเรยี นรู้ ๑. มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกบั การแยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ่วนตน กบั ผลประโยชน์ สว่ นรวม ๒. มีความรู้ ความเข้าใจเกย่ี วกบั ความละอายและความไม่ทนตอ่ การทจุ รติ ๓. มีความรู้ ความเข้าใจเกย่ี วกบั STRONG / จิตพอเพยี งต่อตา้ นการทจุ ริต ๔. มคี วามรู้ ความเขา้ ใจเก่ียวกบั พลเมืองและมีความรบั ผิดชอบต่อสงั คม ๕. สามารถคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ่วนตน กับผลประโยชน์สว่ นรวมได้ ๖. ปฏิบตั ติ นเป็นผลู้ ะอายและไม่ทนต่อการทจุ รติ ทุกรปู แบบ ๗. ปฏิบัติตนเปน็ ผูท้ ่ี STRONG / จิตพอเพียงตอ่ ต้านการทุจริต ๘. ปฏบิ ัติตนตามหนา้ ทีพ่ ลเมืองและมีความรับผดิ ชอบต่อสังคม ๙. ตระหนกั และเห็นความสำคญั ของการต่อต้านและป้องกันการทุจรติ รวมท้ังหมด ๙ ผลการเรยี นรู้ ❖ ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้

หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๑๐๓ ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กลุ่มงานบรหิ ารวิชาการ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๖ ส๒๓๒๐๔ การปอ้ งกันการทจุ ริต ๖ กล่มุ สาระการเรียนรู้สังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๓ ภาคเรยี นท่ี ๒ เวลาเรียน ๒๐ ชัว่ โมง จำนวน ๐.๕ หนว่ ยกติ ศกึ ษาเกยี่ วกบั การแยกแยะระหว่างผลประโยชน์สว่ นตนกับผลประโยชน์สว่ นรวม ความละอายและ ความไม่ทนต่อการทุจริต STRONG / จิตพอเพียงต่อต้านการทุจริต รู้หน้าที่ของพลเมืองและรับผิดชอบต่อ สงั คมในการต่อต้านการทจุ ริต โดยใช้กระบวนการคิด วิเคราะห์ จำแนก แยกแยะ การฝกึ ปฏบิ ตั จิ รงิ การทา โครงงานกระบวนการเรยี นรู้ ๕ ขั้นตอน (๕ STEPs) การอภปิ ราย การสบื สอบ การแก้ปญั หา ทักษะการอ่าน และการเขยี น เพือ่ ให้มีความตระหนักและเหน็ ความสำคัญของการต่อตา้ นและการป้องกันการทจุ รติ ผลการเรยี นรู้ ๑. มีความรู้ ความเขา้ ใจเก่ยี วกับการแยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ่วนตน กบั ผลประโยชน์ สว่ นรวม ๒. มคี วามรู้ ความเขา้ ใจเกยี่ วกับความละอายและความไม่ทนต่อการทจุ ริต ๓. มีความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกับ STRONG / จิตพอเพียงต่อต้านการทจุ รติ ๔. มคี วามรู้ ความเขา้ ใจเกย่ี วกับพลเมืองและมีความรบั ผิดชอบตอ่ สงั คม ๕. สามารถคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตน กับผลประโยชน์สว่ นรวมได้ ๖. ปฏบิ ตั ิตนเปน็ ผู้ละอายและไมท่ นต่อการทุจรติ ทุกรูปแบบ ๗. ปฏิบัตติ นเปน็ ผ้ทู ่ี STRONG / จติ พอเพยี งตอ่ ตา้ นการทุจรติ ๘. ปฏบิ ตั ิตนตามหน้าที่พลเมืองและมคี วามรบั ผดิ ชอบต่อสังคม ๙. ตระหนักและเหน็ ความสำคัญของการต่อต้านและป้องกันการทุจริต รวมท้ังหมด ๙ ผลการเรียนรู้ ❖ ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้

หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๑๐๔ ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กลมุ่ งานบริหารวิชาการ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๖ ส๒๑๒๓๑ หน้าท่พี ลเมือง ๑ กลุ่มสาระการเรยี นรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๑ ภาคเรยี นที่ ๑ เวลาเรยี น ๒๐ ชวั่ โมง จำนวน ๐.๕ หนว่ ยกติ มีส่วนร่วมอนุรักษ์มารยาทไทยในการแสดงความเคารพ การสนทนา การแต่งกาย การมีสัมมา คารวะ แสดงออกถึงความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่และเสียสละต่อสังคม เห็นคุณค่าและอนุรักษ์ขนบธรรมเนียม ประเพณีศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตนเอง ในเรื่องความซื่อสัตย์สุจริต ขยันหมน่ั เพียร อดทน ใฝห่ าความรู้ ตัง้ ใจปฏบิ ัติหนา้ ที่ และยอมรับผลทเ่ี กิดจากการกระทำของตนเอง ยอมรับความหลากหลายทางสังคมวัฒนธรรมในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในเรื่องวิถีชีวิต วฒั นธรรม ศาสนา สิ่งแวดลอ้ ม อย่รู ว่ มกันอย่างสันติและพ่ึงพาซ่ึงกันและกนั ในสงั คมพหุวฒั นธรรม ด้วยการ เคารพซึ่งกันและกัน ไม่แสดงกิริยาและวาจาดูหมิ่นผู้อื่น ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน แบ่งปัน มีส่วนร่วมในการ แก้ปัญหาความขัดแย้ง โดยสันติวิธี ในเรื่องการทะเลาะวิวาท ความคิดเห็นไม่ตรงกัน ด้วยการเจรจาไกล่ เกลี่ย การเจรจาต่อรอง การระงับ ความขัดแย้ง ปฏิบัติตนเป็นผู้มวี นิ ัยในตนเอง ในเรื่องความซือ่ สัตย์สุจรติ อดทน ใฝห่ าความรู้ ต้งั ใจปฏบิ ตั ิหน้าที่ ยอมรับผลที่เกดิ จากการกระทำของตนเอง โดยใช้กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิด กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการเผชิญสถานการณ์ กระบวนการแก้ปญั หา กระบวนการสบื เสาะหาความรู้ กระบวนการสร้างความตระหนัก กระบวนการสรา้ ง คา่ นยิ ม และกระบวนการสรา้ งเจตคติ เพ่อื ใหผ้ ูเ้ รียนมีลกั ษณะท่ดี ขี องคนไทย ภาคภูมใิ จในความเป็นไทย แสดงออกถึงความรกั ชาติ ยึดม่ัน ในศาสนา และเทิดทูนสถาบันพระมหากษตั ริย์ เป็นพลเมืองดีในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ ทรงเป็นประมุข มีส่วนร่วมทางการเมืองการปกครอง อยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างสันติ จัดการความขัดแย้งด้วย สันติวธิ ี และมีวินยั ในตนเอง ผลการเรียนรู้ ๑. มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์มารยาทไทย ๒. แสดงออกถึงความเอ้ือเฟ้ือเผ่อื แผ่ และเสยี สละต่อสังคม ๓. เห็นคณุ คา่ และอนุรักษ์ขนบธรรมเนียม ประเพณี ศลิ ปวัฒนธรรม และภมู ิปัญญาไทย ๔. ยอมรับความหลากหลายทางสังคมวัฒนธรรมในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และอยู่ร่วมกัน อยา่ งสนั ติ และพ่ึงพาซึง่ กันและกนั ๕. มสี ่วนรว่ มในการแก้ปัญหาความขัดแย้งโดยสันติวธิ ี ๖. ปฏบิ ตั ติ นเป็นผมู้ วี นิ ัยในตนเอง รวมทัง้ หมด ๖ ผลการเรียนรู้ ❖ ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้

หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๑๐๕ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กล่มุ งานบริหารวิชาการ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๖ ส๒๑๒๓๒ หนา้ ท่พี ลเมอื ง ๒ กลุ่มสาระการเรียนรสู้ ังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี ๑ ภาคเรยี นท่ี ๒ เวลาเรยี น ๒๐ ช่วั โมง จำนวน ๐.๕ หน่วยกติ ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างของความรักชาติ ยึดมั่นในศาสนา และเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ ประยุกต์และเผยแพร่พระบรมราโชวาท ในเรื่องมีเหตุผล รอบคอบ หลักการทรงงาน ในเรื่องการใช้ ธรรมชาตชิ ่วยธรรมชาติ การปลูกป่าในใจคน และหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ปฏิบัติตนเป็นผูม้ ีวินัย ในตนเอง ในเรื่องความซื่อสัตย์สุจรติ ขยันหมั่นเพยี ร อดทน ใฝ่หาความรู้ และตง้ั ใจปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ี ปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย ในการมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ ของสังคม การ ตัดสินใจโดยใช้เหตุผล มีส่วนร่วมและรับผิดชอบในการตัดสินใจในกิจกรรมของห้องเรียนและโรงเรียน ตรวจสอบขอ้ มลู เพ่อื ใชป้ ระกอบการตัดสินใจในกจิ กรรมต่างๆ ปฏิบตั ิตนเปน็ ผู้มีวนิ ัยในตนเอง ในเร่ืองความ ซื่อสัตย์สุจริต อดทน ขยันหมั่นเพียร ใฝ่หาความรู้ ตั้งใจปฏิบัติหน้าท่ี และยอมรับผลที่เกิดจากการกระทำ ของตนเอง โดยใช้กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิด กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการเผชิญสถานการณ์ กระบวนการแก้ปัญหา กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ กระบวนการสร้างความตระหนัก กระบวนการสรา้ ง ค่านิยม และกระบวนการสรา้ งเจตคติ เพื่อให้ผู้เรียนมี แสดงออกถึงความรักชาติ ยึดมั่น ในศาสนา และเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ เป็นพลเมืองดีในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีส่วนร่วมทางการเมืองการ ปกครอง และมวี ินยั ในตนเอง ผลการเรยี นรู้ ๑. เปน็ แบบอยา่ งของความรักชาติ ยึดมั่นในศาสนา และเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตรยิ ์ ๒. ประยุกต์และเผยแพรพ่ ระบรมราโชวาท หลักการทรงงาน และหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๓. ปฏิบตั ติ นเป็นพลเมืองดตี ามวถิ ปี ระชาธปิ ไตย ๔. มีส่วนร่วมและรับผิดชอบในการตดั สนิ ใจ ตรวจสอบขอ้ มูลเพ่อื ใชป้ ระกอบการตดั สนิ ใจในกิจกรรม ตา่ งๆ ๕. ปฏบิ ตั ิตนเปน็ ผมู้ วี นิ ัยในตนเอง รวมทั้งหมด ๕ ผลการเรยี นรู้ ❖ ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๑๐๖ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กล่มุ งานบริหารวชิ าการ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๖ ส๒๒๒๓๓ หน้าที่พลเมอื ง ๓ กลุ่มสาระการเรียนรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๒ ภาคเรยี นท่ี ๑ เวลาเรยี น ๒๐ ช่วั โมง จำนวน ๐.๕ หน่วยกิต มีส่วนร่วมและแนะนำผู้อื่นให้อนุรักษ์มารยาทไทย ในการแสดงความเคารพ การสนทนา การแต่ง กาย การมีสัมมาคารวะ แสดงออกและแนะนำผู้อื่นให้มีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่และเสียสละต่อสังคม เห็น คุณค่า อนุรักษ์ และสืบสานขนบธรรมเนยี ม ประเพณี ศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย ปฏิบัติตนเปน็ ผ้มู ี วินยั ในตนเอง ในเร่อื งความซ่อื สัตยส์ ุจริต ขยันหม่นั เพยี ร อดทน ตง้ั ใจปฏบิ ัตหิ น้าที่ และยอมรบั ผลท่เี กดิ จาก การกระทำของตนเอง เห็นคุณค่าของการอยูร่ ่วมกันในภูมิภาคเอเชียอย่างสันติ และพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันโดยคำนึงถึง ความหลากหลายทางสงั คม วัฒนธรรมในภมู ิภาคเอเชยี ในเร่ืองวิถีชีวิต วฒั นธรรม ศาสนา สง่ิ แวดล้อม การ อยู่ร่วมกันในสังคมพหวุ ัฒนธรรมและการพง่ึ พาซ่ึงกันและกนั ในเรอื่ งการเคารพซึ่งกันและกนั ไม่แสดงกิริยา และวาจาดูหมิ่นผู้อื่น ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน แบ่งปัน มีส่วนร่วมและเสนอแนวทางการแก้ปัญหาความ ขัดแย้ง โดยสันติวิธีเกี่ยวกับการละเมิดสิทธิ การใช้ของส่วนรวม ด้วยการเจรจาไกล่เกลี่ย การเจรจาต่อรอง การระงับ ความขัดแย้ง ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตนเอง ในเรื่องความซื่อสัตย์สุจริต อดทน ใฝ่หาความรู้ ต้ังใจปฏบิ ัติหน้าที่ ยอมรบั ผลท่ีเกดิ จากการกระทำของตนเอง โดยใช้กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิด กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการเผชิญสถานการณ์ กระบวนการแกป้ ัญหา กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ กระบวนการสร้างความตระหนัก กระบวนการสรา้ ง คา่ นยิ ม และกระบวนการสรา้ งเจตคติ เพอื่ ใหผ้ ู้เรียนมลี ักษณะท่ีดีของคนไทย ภาคภูมใิ จในความเปน็ ไทย อยู่ร่วมกบั ผู้อ่ืนอย่างสนั ติ จัดการ ความขัดแย้งด้วยสนั ติวธิ ี และมวี นิ ัยในตนเอง ผลการเรียนรู้ ๑. มสี ว่ นรว่ มและแนะนำผู้อื่นใหอ้ นุรกั ษ์มารยาทไทย ๒. แสดงออกและแนะนำผู้อน่ื ใหม้ ีความเออ้ื เฟื้อเผือ่ แผ่ และเสียสละตอ่ สังคม ๓. เห็นคุณคา่ อนรุ ักษ์ และสบื สานขนบธรรมเนยี ม ประเพณี ศิลปวัฒนธรรม และภมู ปิ ัญญาไทย ๔. เห็นคุณคา่ ของการอยู่ร่วมกนั ในภมู ภิ าคเอเชียอย่างสันติ และพึง่ พาซงึ่ กนั และกัน ๕. มีส่วนร่วมและเสนอแนวทางการแกป้ ญั หาความขดั แยง้ โดยสนั ตวิ ิธี ๖. ปฏิบัตติ นเป็นผมู้ วี นิ ยั ในตนเอง รวมทั้งหมด ๖ ผลการเรยี นรู้ ❖ ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น

หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๑๐๗ ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กลุ่มงานบริหารวิชาการ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๖ ส๒๒๒๓๔ หน้าที่พลเมือง ๔ กลุ่มสาระการเรยี นร้สู ังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี ๒ ภาคเรยี นท่ี ๒ เวลาเรยี น ๒๐ ชั่วโมง จำนวน ๐.๕ หน่วยกิต ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างและแนะนำผู้อื่นให้มีการปฏิบัติตนที่แสดงออกถึงความรักชาติ ยึดมั่นใน ศาสนา และเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ ประยุกต์ และเผยแพร่พระบรมราโชวาท ในเรื่องการมีสติ ความขยัน อดทน หลักการทรงงาน ในเรื่องภูมิสังคม ขาดทุนคือกำไร และหลักปรัชญาของเศรษฐกิ จ พอเพียง ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัย ในตนเอง ในเรื่องความซื่อสัตย์สุจริต ขยันหมั่นเพียร อดทน ใฝ่หาความรู้ และต้งั ใจปฏิบตั หิ น้าท่ี ปฏบิ ตั ิตนเป็นพลเมืองดีตามวิถปี ระชาธิปไตย ในเรือ่ งการตดิ ตามข่าวสารบ้านเมือง ความกล้าหาญ ทางจรยิ ธรรม การเปน็ ผู้นำและการเป็นสมาชิกท่ีดี มีส่วนร่วมและรับผดิ ชอบในการตัดสนิ ใจต่อกิจกรรมของ ห้องเรียนและโรงเรียน ตรวจสอบข้อมูลเพื่อใช้ประกอบการตัดสินใจในกิจกรรมต่างๆ และรู้ทันข่าวสาร ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตนเอง ในเรื่องความซื่อสัตย์สุจริต อดทน ตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ ใฝ่หาความรู้ และ ยอมรับผลที่เกดิ จากการกระทำของตนเอง โดยใช้กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิด กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการเผชิญสถานการณ์ กระบวนการแกป้ ัญหา กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ กระบวนการสร้างความตระหนัก กระบวนการสรา้ ง ค่านยิ ม และกระบวนการสร้างเจตคติ เพื่อให้ผู้เรียนมี แสดงออกถึงความรักชาติ ยึดมั่น ในศาสนา และเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ เป็นพลเมืองดีในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีส่วนร่วมทางการเมืองการ ปกครอง และมวี ินยั ในตนเอง ผลการเรียนรู้ ๑. เป็นแบบอย่างและแนะนำผู้อื่นให้มีความรักชาติ ยึดมั่นในศาสนา และเทิดทูนสถาบัน พระมหากษตั รยิ ์ ๒. ประยุกต์และเผยแพร่พระบรมราโชวาท หลักการทรงงาน และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง ๓. ปฏิบัติตนเปน็ พลเมืองดตี ามวถิ ีประชาธปิ ไตย ๔. มีส่วนร่วมและรับผิดชอบในการตัดสินใจ ตรวจสอบข้อมูลเพื่อใช้ประกอบการตัดสินใจใน กจิ กรรม ต่างๆ และรู้ทันขา่ วสาร ๕. ปฏิบตั ติ นเปน็ ผมู้ ีวนิ ัยในตนเอง รวมทงั้ หมด ๕ ผลการเรียนรู้ ❖ ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้

หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๑๐๘ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กล่มุ งานบริหารวชิ าการ ปีการศึกษา ๒๕๖๖ ส๒๓๒๓๕ หนา้ ทีพ่ ลเมือง ๕ กลุ่มสาระการเรยี นรสู้ ังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ ๓ ภาคเรยี นท่ี ๑ เวลาเรียน ๒๐ ชวั่ โมง จำนวน ๐.๕ หนว่ ยกิต มีส่วนร่วม แนะนำผู้อื่นให้อนุรักษ์ และยกย่องผู้มีมารยาทไทย ในเรื่องการแสดงความเคารพ การ สนทนา การแต่งกาย การมีสัมมาคารวะ แสดงออก แนะนำผู้อื่นและมีส่วนร่วมในกิจกรรมเกี่ยวกับความ เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ และเสียสละต่อสังคม เห็นคุณค่า อนุรักษ์ สืบสาน และประยุกต์ขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปวัฒนธรรม และ ภูมิปัญญาไทย ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตนเอง ในเรื่องความซื่อสัตย์สุจริต ขยนั หมั่นเพียร อดทน ใฝห่ าความรู้ ตงั้ ใจปฏิบตั หิ น้าท่ี และยอมรับผลที่เกดิ จากการกระทำของตนเอง เห็นคุณค่าของการอยู่ร่วมกันในภูมิภาคเอเชียอย่างสันติและพึ่งพาซึ่งกันและกัน ท่ามกลางความ หลากหลายทางสังคมวัฒนธรรมในภูมิภาคต่าง ๆ ของโลก ในเรื่องวิถีชีวิต วัฒนธรรม ศาสนา สิ่งแวดล้อม การอยู่รว่ มกันในสังคมพหุวฒั นธรรมและพ่ึงพาซ่ึงกันและกัน ในเรือ่ งการเคารพซ่ึงกันและกัน ไม่แสดงกิริยา และวาจาดหู ม่ินผู้อื่น ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน แบ่งปัน มีส่วนร่วมและเสนอแนวทางการป้องกันปญั หาความ ขัดแย้ง ในเรื่องทัศนคติ ความคิด ความเชื่อ ชู้สาว ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยในตนเอง ในเรื่องความซื่อสัตย์ สุจรติ อดทน ใฝห่ าความรู้ ตัง้ ใจปฏบิ ัตหิ นา้ ท่ี และยอมรับผลที่เกดิ จากการกระทำของตนเอง โดยใช้กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิด กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการเผชิญสถานการณ์ กระบวนการแก้ปัญหา กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ กระบวนการสร้างความตระหนัก กระบวนการสรา้ ง ค่านยิ ม และกระบวนการสร้างเจตคติ เพื่อให้ผเู้ รยี นมีลักษณะท่ีดีของคนไทย ภาคภมู ใิ จในความเปน็ ไทย อยรู่ ่วมกับผู้อื่นอยา่ งสันติ จดั การ ความขัดแย้งดว้ ยสันตวิ ธิ ี และมวี นิ ัยในตนเอง ผลการเรียนรู้ ๑. มีสว่ นร่วม แนะนำผูอ้ ่นื ให้อนุรักษ์ และยกยอ่ งผ้มู ีมารยาทไทย ๒. แสดงออก แนะนำผอู้ ืน่ และมีส่วนรว่ มในกจิ กรรมเกย่ี วกับความเอื้อเฟื้อเผือ่ แผ่ และเสยี สละ ๓. เหน็ คุณค่า อนรุ กั ษ์ สืบสาน และประยุกต์ขนบธรรมเนียม ประเพณี ศลิ ปวฒั นธรรม และภูมิปญั ญา ไทย ๔. เห็นคุณค่าของการอยรู่ ว่ มกันในภูมิภาคต่าง ๆ ของโลกอยา่ งสันติ และพ่ึงพาซ่งึ กนั และกนั ๕. มสี ว่ นร่วมและเสนอแนวทางการป้องกันปัญหาความขัดแย้ง ๖. ปฏบิ ัตติ นเป็นผมู้ วี ินยั ในตนเอง รวมทงั้ หมด ๖ ผลการเรยี นรู้ ❖ ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๑๐๙ ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กลุ่มงานบรหิ ารวิชาการ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๖ ส๒๓๒๓๖ หนา้ ทพ่ี ลเมือง ๖ กลุ่มสาระการเรียนรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี ๓ ภาคเรยี นที่ ๒ เวลาเรียน ๒๐ ชวั่ โมง จำนวน ๐.๕ หนว่ ยกิต เทิดทูนสถาบนั พระมหากษัตริย์ ประยกุ ต์และเผยแพร่พระบรมราโชวาท ในเรอ่ื งการเสียสละ ความ ซื่อสัตย์ หลักการทรงงาน ในเรื่องศึกษาข้อมูลอย่างเป็นระบบ แก้ปัญหาที่จุดเล็ก ปฏิบัติตนเป็นผู้มีวินัยใน ตนเอง ในเรอื่ งความซือ่ สัตยส์ ุจริต ขยนั หม่นั เพียร อดทน ใฝ่หาความรู้ และต้ังใจปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ี ปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย ในเรื่องการใช้สิทธิและหน้าที่ การใช้เสรีภาพอย่าง รับผิดชอบ การมีส่วนร่วมในกจิ กรรมการเลือกตัง้ มีส่วนร่วมและรับผิดชอบในการตัดสินใจตอ่ กิจกรรมของ ห้องเรียนและโรงเรียน ตรวจสอบข้อมูล ตรวจสอบการทำหน้าท่ีของบุคคลเพื่อใช้ประกอบการตัดสินใจ ปฏิบัติตนเป็นผู้มวี ินัย ในตนเอง ในเรื่องความซื่อสตั ย์สุจริต ขยันหมั่นเพยี ร ใฝ่หาความรู้ ตั้งใจปฏิบัติหน้าท่ี และยอมรับผลทีเ่ กดิ จาก การกระทำของตนเอง โดยใช้กระบวนการกลุ่ม กระบวนการคิด กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการเผชิญสถานการณ์ กระบวนการแกป้ ัญหา กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ กระบวนการสร้างความตระหนัก กระบวนการสรา้ ง ค่านิยม และกระบวนการสรา้ งเจตคติ เพือ่ ให้ผเู้ รยี น แสดงออกถงึ ความรักชาติ ยึดมน่ั ในศาสนา และเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ เป็น พลเมืองดีในระบอบประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษตั ริยท์ รงเป็นประมุข มสี ว่ นร่วมทางการเมอื งการปกครอง และมวี ินัยในตนเอง ผลการเรยี นรู้ ๑. เป็นแบบอย่างและมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมที่แสดงออกถึงความรักชาติ ยึดมั่นในศาสนา และ เทดิ ทนู สถาบันพระมหากษัตริย์ ๒. ประยกุ ตแ์ ละเผยแพร่พระบรมราโชวาท หลกั การทรงงาน และหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ๓. ปฏิบตั ิตนเป็นพลเมอื งดีตามวถิ ปี ระชาธิปไตย ๔. มีส่วนร่วมและรบั ผิดชอบในการตัดสินใจ ตรวจสอบข้อมูล ตรวจสอบการทำหน้าที่ของบุคคล เพื่อ ใชป้ ระกอบการตัดสินใจ ๕. ปฏบิ ัติตนเปน็ ผู้มวี ินยั ในตนเอง รวมทัง้ หมด ๕ ผลการเรยี นรู้ ❖ ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น

หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๑๑๐ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กลมุ่ งานบริหารวิชาการ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๖ คำอธบิ ายรายวิชา กล่มุ สาระการเรยี นรู้สุขศกึ ษา และพลศึกษา ❖ ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น

หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๑๑๑ ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กลุ่มงานบริหารวชิ าการ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๖ คำอธิบายรายวชิ าพื้นฐาน พ๒๑๑๐๑ สขุ ศกึ ษา ๑ กลุ่มสาระการเรียนร้สู ขุ ศึกษาและพลศกึ ษา ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๑ ภาคเรยี นท่ี ๑ เวลาเรยี น ๒๐ ชวั่ โมง จำนวน ๐.๕ หนว่ ยกิต ศึกษาความสำคัญและการทำงานของระบบประสาท ระบบต่อมไร้ท่อ วิธีการดูแลรักษาการ เจรญิ เติบโตและพัฒนาการของวัยรุ่นที่มผี ลกระทบต่อสุขภาพ วิเคราะห์ภาวการณเ์ จริญเติบโตทางร่างกาย ของตนเองกับเกณฑ์มาตรฐานและแนวทางในการพัฒนาตนเองให้เติบโตสมวัยด้วยหลักการเลือกอาหารให้ เหมาะสมกับวยั และภาวะปัญหาท่เี กดิ จากภาวะโภชนาการท่ีมีผลกระทบต่อสุขภาพด้วยการควบคุมน้ำหนัก ของตนเองใหอ้ ยู่ในเกณฑม์ าตรฐานดว้ ยการสรา้ งเสริมและปรบั ปรงุ สมรรถภาพทางกายตามผลการทดสอบ โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบการสืบค้นข้อมูลและการอภิปราย นำเสนอเพ่อื ให้เกิดความรู้ ความคดิ ความเข้าใจ สามารถสอ่ื สารส่ิงที่เรยี นรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ เห็นคณุ คา่ ของการนำไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันดว้ ยคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และคา่ นยิ ม ท่ีเหมาะสม รหัสตวั ชี้วัด พ ๑.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม. ๑/๓, ม. ๑/๔ พ ๔.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม. ๑/๓, ม. ๑/๔ รวมทั้งหมด ๘ ตวั ช้ีวดั ❖ ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้

หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๑๑๒ ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กลุ่มงานบรหิ ารวชิ าการ ปีการศึกษา ๒๕๖๖ พ๒๑๑๐๓ สขุ ศกึ ษา ๒ กลุ่มสาระการเรยี นรสู้ ุขศึกษาและพลศึกษา ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๑ ภาคเรยี นท่ี ๒ เวลาเรียน ๒๐ ชั่วโมง จำนวน ๐.๕ หนว่ ยกติ ศึกษาวธิ ีการปรับตวั ต่อการเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และพัฒนาการทางเพศและ แสดงทักษะการปฏิเสธเพื่อป้องกันตนเองจากการถูกล่วงละเมิดทางเพศอย่างเหมาะสม แหล่งขอความ ช่วยเหลือเมื่อประสบปัญหาทางเพศและบอกวิธีการปฐมพยาบาล การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย ลักษณะอาการ ของผตู้ ิดสารเสพติด การใชส้ ารเสพตดิ และการเกิดโรคการเกดิ อบุ ตั ิเหตุและการป้องกัน การชกั ชวนผู้อ่ืนให้ ลด ละ เลิกสารเสพตดิ โดยใช้ทักษะต่าง ๆ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสมและถูกวธิ ี โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูลและการอภิปราย นำเสนอเพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการ ตัดสินใจ เห็นคุณค่าของการมีชีวิต ยอมรับความเป็นเพศของตนเอง เห็นความสำคัญของการรักษาความ ความสะอาดของร่างกาย เห็นคุณค่าของการนำไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันด้วยคุณธรรม จริยธรรม และคา่ นยิ มท่เี หมาะสม รหัสตัวชว้ี ัด พ ๒.๑ ม.๑/๑, ม. ๑/๒ พ ๕.๑ ม.๑/๑, ม. ๑/๒ , ม. ๑/๓, ม. ๑/๔ รวมทั้งหมด ๖ ตัวช้วี ัด ❖ ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๑๑๓ ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กลุ่มงานบรหิ ารวิชาการ ปีการศึกษา ๒๕๖๖ พ๒๒๑๐๑ สขุ ศึกษา ๓ กลุม่ สาระการเรยี นรู้สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๒ ภาคเรยี นท่ี ๑ เวลาเรียน ๒๐ ชัว่ โมง จำนวน ๐.๕ หน่วยกิต ศึกษาการเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญาและปัจจัยที่มี ผลกระทบตอ่ การเจรญิ เตบิ โตและพัฒนาการของวัยรุน่ ในด้าน พันธุกรรม สิ่งแวดลอ้ ม และการอบรมเลีย้ ง ดู หลกั การเลือกใชบ้ รกิ ารทางการแพทยแ์ ละความเจริญกา้ วหน้าทางการแพทยเ์ กย่ี วกับความสมดุลระหว่าง สขุ ภาพกายและสขุ ภาพจติ ท่มี ผี ลต่อสุขภาพของการใชเ้ ทคโนโลยี การจัดการกบั อารมณ์และความเครียดใน ลกั ษณะเบ้ืองต้นของผู้ทม่ี ีปัญหาสุขภาพจิตของเกณฑ์พัฒนาสมรรถภาพทางกายตนเองให้เป็นไปตามเกณฑ์ ที่กำหนด โดยใช้กระบวนการ สืบเสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบการสืบค้นข้อมูลและการอภิปราย นำเสนอเพอื่ ให้เกดิ ความรู้ ความคดิ ความเข้าใจ สามารถสอื่ สารสง่ิ ท่ีเรียนรู้ มคี วามสามารถในการตัดสินใจ เหน็ คุณคา่ ของการนำไปใช้ประโยชน์ในชวี ิตประจำวนั ด้วยคุณธรรม จรยิ ธรรม และค่านิยมทเ่ี หมาะสม รหัสตวั ชีว้ ดั พ ๑.๑ ม๒/๑, ม๒/๒ พ ๔.๑ ม๒/๑, ม๒/๒, ม๒/๓, ม๒/๔, ม๒/๕, ม๒/๖, ม๒/๗ รวมทั้งหมด ๙ ตัวชี้วดั ❖ ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้

หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๑๑๔ ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กล่มุ งานบรหิ ารวิชาการ ปีการศึกษา ๒๕๖๖ พ๒๒๑๐๓ สุขศึกษา ๔ กลุ่มสาระการเรียนรสู้ ุขศึกษาและพลศกึ ษา ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี ๑ ภาคเรยี นท่ี ๒ เวลาเรียน ๒๐ ชัว่ โมง จำนวน ๐.๕ หน่วยกิต ศึกษาเกย่ี วกับโรคตดิ ตอ่ ทางเพศสมั พันธ์ เอดส์ การต้ังครรภโ์ ดยไม่พงึ ประสงค์ท่ีผลกระทบ ในวัยเรียนและเป็นปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อเจตคติในเรื่องเพศทางด้านครอบครัว วัฒนธรรม เพื่อน และส่ือ ความเสมอภาคทางเพศ การวางตวั ต่อเพศตรงขา้ มและแนวทางในการแก้ไขปญั หาทางเพศ แหล่งขอความช่วยเหลือฟื้นฟูผู้ตดิ สารเสพตดิ และปัจจัยหลกี เลี่ยงพฤติกรรมเส่ียงในสถานการณ์ต่าง ๆ โดย ใช้ทกั ษะชีวติ ในการป้องกันตนเองในสถานการณ์ที่คับคนั ที่อาจนำไปส่อู ันตราย โดยใช้กระบวนการ สืบเสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบการสืบค้นข้อมูลและการอภิปราย นำเสนอเพื่อใหเ้ กดิ ความรู้ ความคิด ความเขา้ ใจ สามารถสื่อสารส่ิงทีเ่ รียนรู้ มีความสามารถในการตดั สินใจ เห็นคุณคา่ ของการนำไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวนั ด้วยคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และค่านยิ มทีเ่ หมาะสม รหสั ตวั ชีว้ ัด พ ๒.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓, ม.๑/๔ พ ๕.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓ รวมทั้งหมด ๗ ตัวชี้วัด ❖ ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๑๑๕ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กลุม่ งานบริหารวชิ าการ ปีการศึกษา ๒๕๖๖ พ๒๓๑๐๑ สุขศกึ ษา ๕ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ ๓ ภาคเรียนท่ี ๑ เวลาเรยี น ๒๐ ช่วั โมง จำนวน ๐.๕ หน่วยกิต ศึกษาการเจริญเติบโต การเปลี่ยนแปลงทางร่างกายและอารมณ์ตามพัฒนาการในแต่ละช่วงวัย ของแต่ละเพศ วเิ คราะหอ์ ทิ ธิพลและความคาดหวงั ของสังคมต่อการเปล่ียนแปลงของวยั รุน่ และวิเคราะห์สื่อ โฆษณาที่มีอิทธิพลต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการของวัยรุ่น เลือกรายอาหารที่เหมาะสมกับวัยต่าง ๆ โดยคำนึงถึงคุณค่าทางโภชนาการ การวางแผนการจัดเวลาในการออกเวลาในการออกกำลังกาย การ พักผ่อนและสรา้ งเสริมสมรรถภาพทางกาย การทดสอบสมรรถภาพทางกายและพัฒนาได้ตามความแตกต่าง ระหวา่ งบุคคล โดยการรวบรวมขอ้ มูลและเสนอแนวทางการป้องกนั โรคทีเ่ ป็นสาเหตุของการเจ็บปว่ ย โดยใช้กระบวนการ สืบเสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบการสืบค้นข้อมูลและการอภิปราย นำเสนอเพอื่ ใหเ้ กดิ ความรู้ ความคิด ความเขา้ ใจ สามารถสอ่ื สารส่งิ ที่เรยี นรู้ มคี วามสามารถในการตัดสนิ ใจ เห็นคณุ คา่ ของการนำไปใชป้ ระโยชนใ์ นชีวติ ประจำวันด้วยคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และค่านยิ มทเ่ี หมาะสม รหสั ตวั ชีว้ ัด พ ๑.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓ พ ๔.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓, ม.๓/๔, ม.๓/๕ รวมทัง้ หมด ๘ ตัวช้วี ัด ❖ ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๑๑๖ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กลุ่มงานบริหารวชิ าการ ปีการศึกษา ๒๕๖๖ พ๒๓๑๐๓ สขุ ศกึ ษา ๖ กลุ่มสาระการเรยี นร้สู ขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๓ ภาคเรยี นที่ ๒ เวลาเรียน ๒๐ ชว่ั โมง จำนวน ๐.๕ หน่วยกติ ศึกษาอนามัยแม่และเด็กการวางแผนครอบครัวและวิธีการปฏิบัติตนที่เหมาะสม ปัจจัยที่มี ผลกระทบต่อการต้ังครรภ์และสาเหตุการเสนอแนวทางปอ้ งกันแก้ไขความขดั แย้งในครอบครัว ปัจจัยเสี่ยง และพฤติกรรมเสี่ยง การใช้ความรุนแรงในการแก้ปัญหา อิทธิพลสื่อต่อพฤติกรรมสุขภาพ ความสัมพันธ์ ของการดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ต่อสุขภาพและการเกิดอุบัติเหตุและการแสดงวิธีการช่วยฟื้นคืนชีพ อย่างถูกวธิ ี โดยใช้กระบวนการ สืบเสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบการสืบค้นข้อมูลและการอภิปราย นำเสนอเพ่อื ให้เกดิ ความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารส่ิงที่เรยี นรู้ มคี วามสามารถในการตดั สินใจ เหน็ คณุ ค่าของการนำไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันดว้ ยคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และคา่ นยิ มท่เี หมาะสม รหัสตัวชว้ี ัด พ ๒.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓ พ ๕.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓, ม.๓/๔, ม.๓/๕ รวมท้ังหมด ๘ ตัวชี้วัด ❖ ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น

หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๑๑๗ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กลุ่มงานบริหารวิชาการ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๖ พ๒๑๑๐๒ เซปกั ตะกรอ้ กลุ่มสาระการเรียนรู้สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๑ ภาคเรียนที่ ๑ เวลาเรยี น ๒๐ ชว่ั โมง จำนวน ๐.๕ หน่วยกติ ศึกษาความรู้ความเข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับกีฬาเซปักตะกร้อ ทักษะพื้นฐานที่สำคัญในการเล่นเซปัก ตะกร้อ ทักษะการเล่นลูกข้างเท้าด้านใน ลูกหลังเท้า การเล่นลูกเข่า การเล่นลูกด้วยศีรษะทักษะการเสิร์ฟ การเลน่ ลูกหน้าตาข่ายเพือ่ ทำคะแนน การปอ้ งกัน การเล่นเกมรุก การอบอนุ่ ร่างกายก่อนการฝึก การพัฒนา สมรรถภาพกลา้ มเน้อื ด้วยการยกน้ำหนกั และการตดั สิน เพื่อให้นักเรียนมีทักษะในการปฏิบัติกีฬาเซปักตะกร้อ มีทักษะพื้นฐานที่สำคัญในการเล่นเซปัก ตะกร้อทักษะการเลี้ยงลูกบาสเกตบอล ทักษะพื้นฐานที่สำคัญในการเล่นบาสเกตบอล การเล่นลูกข้างเท้า ด้านใน ลูก หลงั เท้า ทักษะการเสิร์ฟ การเล่นลูกหนา้ ตาข่ายเพ่ือทำคะแนน การป้องกนั การเลน่ เกมรกุ การ อบอุ่นร่างกาย ก่อนการฝึก การพัฒนาสมรรถภาพกล้ามเนื้อด้วยการยกน้ำหนัก และการตัดสิน และมี ความรู้ความเข้าใจพ้นื ฐานเกยี่ วกบั กีฬาเซปักตะกร้อ เพื่อให้นักเรียนมีเจตคติที่ถูกต้องและเหมาะสมเกี่ยวกับกิจกรรมการออกกำลังกายตามความถนัด และ ความสนใจ และสามารถนำทักษะกีฬาบาสเกตบอลไปใช้ในการออกกำลังกายเพื่อพัฒนาบุคลิกภาพ และสมรรถภาพต่อไป รหัสตัวชว้ี ัด พ ๓.๑ ม. ๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓ พ ๓.๒ ม. ๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓, ม.๑/๔, ม.๑/๕, ม.๑/๖ รวมท้ังหมด ๙ ตวั ชวี้ ัด ❖ ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน้

หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๑๑๘ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กลมุ่ งานบรหิ ารวิชาการ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๖ พ๒๑๑๐๔ เทเบิลเทนนิส กล่มุ สาระการเรยี นร้สู ุขศกึ ษาและพลศกึ ษา ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี ๑ ภาคเรยี นที่ ๒ เวลาเรียน ๒๐ ชัว่ โมง จำนวน ๐.๕ หนว่ ยกติ ศึกษาความสำคัญประวัติความเป็นมาของกีฬาเทเบิลเทนนิสและประโยชน์ ประเภท ชนิดของ กีฬา ท่ีเกย่ี วขอ้ งกบั ระบบการทำงานส่วนตา่ ง ๆ ของร่างกายของการเสริมสร้างร่างกายการเลน่ ดว้ ยการตีลูก การสง่ ลูก การตบลูก การตลี ูกหยอด การตลี ูกพรอ้ ม โดยการมีทักษะการเคลื่อนไหวอย่างสร้างสรรค์ การออกกำลังกาย การเล่นกีฬาไทย กีฬาสากล การเข้าร่วมกิจกรรมทางกาย การทำงานการเล่นกีฬาตามความถนัด ความสนใจอย่างสม่ำเสมอ โดยการ เคารพสทิ ธิ กฎ กตกิ าเพอื่ ให้เกิดความปลอดภัยและความสันติในการล่นกีฬาและการแขง่ ขนั กีฬาท่ีมีกลวิธี การรุกการป้องกันและการให้ความร่วมมือในการเล่นการแข่งขันและการทำงานที่เป็นทีมจนประสบ ความสำเรจ็ ตามเปา้ หมาย ยอมรับและเห็นคุณค่าของการออกกำลังกายเป็นประจำที่ส่งผลต่อการมีวิถีชีวิตที่มีสุขภาพดีและ การปฏิบัติหน้าท่ีตามความรับผิดชอบในสถานการณ์กีฬาต่าง ๆ การกระทำที่แสดงถึงความมีน้ำใจนักกีฬา และเหน็ คณุ ค่าของการนำไปใช้ประโยชน์ในชวี ติ ประจำวันด้วยคุณธรรม จรยิ ธรรม และค่านิยมทีเ่ หมาะสม รหสั ตัวชวี้ ัด พ ๓.๑ ม. ๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓ พ ๓.๒ ม. ๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓, ม.๑/๔, ม.๑/๕, ม.๑/๖ รวมท้ังหมด ๙ ตัวชว้ี ดั ❖ ระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น

หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๑๑๙ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กลุ่มงานบริหารวชิ าการ ปีการศึกษา ๒๕๖๖ พ๒๒๑๐๒ กรฑี า กลุ่มสาระการเรียนรู้สขุ ศึกษาและพลศึกษา ช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ ๒ ภาคเรยี นท่ี ๑ เวลาเรยี น ๒๐ ช่วั โมง จำนวน ๐.๕ หนว่ ยกติ ศึกษาความสำคัญประวัติความเป็นมาของกีฬากรีฑาและประโยชน์ ประเภทของกีฬาที่เกี่ยวข้อง กับระบบการทำงานส่วนต่าง ๆ ของร่างกายของการเสริมสร้างร่างกายการเล่นเพราะโดยธรรมชาติมนุษย์ ทุกคนต้องมกี ารเคลื่อนไหวเป็นประจำและการเคลื่อนไหวจะช่วยให้เกิดการเปลี่ยนแปลงต่ออวยั วะทุกระบบ ของร่างกายในทางทดี่ ขี ึ้น โดยการมีทักษะการเคลื่อนไหวอย่างสร้างสรรค์ การออกกำลังกาย การเล่นกีฬาไทย กีฬาสากล การเข้าร่วมกิจกรรมทางกาย การทำงานการเล่นกีฬาตามความถนัด ความสนใจอย่างสม่ำเสมอ โดยการ เคารพสทิ ธิ กฎ กตกิ า เพื่อให้เกิดความปลอดภัยและความสันติในการล่นกีฬาและการแข่งขันกีฬาที่มีกลวิธีการรุก การ ป้องกันและการให้ความร่วมมือในการเล่นการแข่งขันและการทำงานที่เป็นทีมจนประสบความสำเร็จตาม เปา้ หมายและเห็นคุณคา่ ของการนำไปใชป้ ระโยชน์ในชีวิตประจำวนั ด้วยคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมท่ี เหมาะสม รหสั ตัวชวี้ ดั พ ๓.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓, ม.๒/๔ พ ๓.๒ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓, ม.๒/๔, ม.๒/๕ รวมท้ังหมด ๙ ตัวช้ีวดั ❖ ระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๑๒๐ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กลุ่มงานบริหารวิชาการ ปีการศึกษา ๒๕๖๖ พ๒๒๑๐๔ กระบี่ กลมุ่ สาระการเรียนรูส้ ขุ ศึกษาและพลศกึ ษา ชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ ๒ ภาคเรียนท่ี ๒ เวลาเรยี น ๒๐ ช่วั โมง จำนวน ๐.๕ หนว่ ยกิต ศึกษาความสำคัญประวัตคิ วามเป็นมาของกฬี ากระบ่ีและประโยชน์ การแตง่ กายเครื่องดนตรี ระเบยี บประเพณีมารยาทและวธิ ีการรา่ ยรำกระบี่ การต่อสู้ ทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั ระบบการทำงานสว่ นตา่ ง ๆ ของ ร่างกายของการเสรมิ สรา้ งรา่ งกายการเลน่ เพราะโดยธรรมชาติมนุษย์ทุกคนต้องมีการเคลื่อนไหวเปน็ ประจำ และการเคลอื่ นไหวจะชว่ ยให้เกดิ การเปลยี่ นแปลงต่ออวยั วะทุกระบบของร่างกายในทางท่ีดีขนึ้ โดยการมีทักษะการเคลื่อนไหวอย่างสร้างสรรค์ การออกกำลังกาย การเล่นกีฬาไทย กีฬาสากล การเข้าร่วมกิจกรรมทางกาย การทำงานการเล่นกีฬาตามความถนัด ความสนใจอย่างสม่ำเสมอ โดยการ เคารพสิทธิ กฎ กตกิ า เพื่อให้เกิดความปลอดภัยและความสันติในการล่นกีฬาและการแข่งขันกีฬาที่มีกลวิธีการรุกการ ป้องกันและการให้ความร่วมมือในการเล่นการแข่งขันและการทำงานที่เป็นทีมจนประสบความสำเร็จตาม เปา้ หมายและเห็นคณุ ค่าของการนำไปใชป้ ระโยชนใ์ นชีวติ ประจำวันด้วยคุณธรรม จรยิ ธรรม และค่านิยมที่ เหมาะสม รหัสตวั ชวี้ ัด พ ๓.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓, ม.๒/๔ พ ๓.๒ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓, ม.๒/๔, ม.๒/๕ รวมท้ังหมด ๙ ตัวชี้วดั ❖ ระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น

หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๑๒๑ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กลุ่มงานบริหารวิชาการ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๖ พ๒๓๑๐๒ วอลเลย์บอล กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๓ ภาคเรียนท่ี ๑ เวลาเรยี น ๒๐ ช่ัวโมง จำนวน ๐.๕ หน่วยกติ ศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับประวัติความเป็นมาของกีฬาวอลเลย์บอลทั้งในและต่างประเทศ กฎ กติกา การแข่งขัน ประโยชน์ที่ได้รับจากการเล่นกีฬาวอลเลย์บอล มารยาทของการเป็นผู้เล่นและผู้ดูกีฬา วอลเลย์บอลทีด่ ี ฝึกปฏบิ ตั ิหรือทำการทดลองเกยี่ วกับกายบริหาร การออกกำลังกายดว้ ยกิจกรรมวอลเลย์บอล การ สร้างจังหวะในการเคลื่อนไหวกับลูกบอล การสร้างพลังบังคับกล้ามเนื้อต่อจังหวะลูกบอล การบังคับลูก การรบั และส่งลูก การเลน่ ลูกสองมอื ล่าง การเซทลูก การเสริ ์ฟ การตบ การสกัดกั้น และการเล่นเป็นทีม รู้จักตำแหน่งหน้าที่ต่าง ๆ ในการเล่นกีฬาวอลเลย์บอล สมรรถภาพทางกาย ความแข็งแรง ความอดทน ความคลอ่ งตวั ความเร็ว แผนการรกุ และรบั รู้กฎกตกิ าการเลน่ ท่ีถูกต้อง รู้ถึงระเบยี บ วนิ ยั ของการฝึก เคารพเช่ือฟงั ผู้ฝึกสอน มีความกตัญญูต่อ ผู้มพี ระคุณ รู้จักคุณค่าของความเปน็ ผู้มนี ำ้ ใจเป็นนักกฬี า รแู้ พ้ รชู้ นะ ร้อู ภยั มสี มรรถภาพทางกายและทาง จติ ที่ดี เหน็ คุณคา่ ของการเล่นกฬี าและนำไปปฏบิ ัตใิ นชวี ิตประจำวนั รหสั ตวั ชี้วดั พ ๓.๑ ม. ๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓ พ ๓.๒ ม. ๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓, ม.๓/๔, ม.๓/๕ รวมทั้งหมด ๘ ตัวชี้วดั ❖ ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน้

หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๑๒๒ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กลมุ่ งานบริหารวชิ าการ ปีการศึกษา ๒๕๖๖ พ๒๓๑๐๔ บาสเกตบอล กลุ่มสาระการเรยี นรู้สุขศึกษาและพลศกึ ษา ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี ๓ ภาคเรยี นที่ ๒ เวลาเรยี น ๒๐ ชั่วโมง จำนวน ๐.๕ หนว่ ยกิต ศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับประวัติความเป็นมาของกีฬาบาสเกตบอลทั้งในและต่างประเทศ กฎ กติกา การแข่งขัน ประโยชน์ที่ได้รับจากการเล่นกีฬาบาสเกตบอล มารยาทของการเป็นผู้เล่นและผู้ดูกีฬา บาสเกตบอลทด่ี ี ฝึกปฏิบัติหรือทำการทดลองเกีย่ วกับกายบริหาร การออกกำลังกายด้วยกิจกรรมกีฬาบาสเกตบอล การสร้างจังหวะในการเคล่ือนไหว กับลูกบอล การสร้างพลงั บังคบั กลา้ มเนื้อต่อจงั หวะลกู บอล การบงั คับลูก การรับและส่งลูก การเลี้ยงลูก การยิงประตู การรับลูกกระดอนจากแป้นแบบต่าง ๆ วิธีการเล่นใน ตำแหน่งที่ต่าง ๆ ทั้งในขณะเป็นผู้เล่นฝ่ายรับและฝ่ายรุก การเล่นเป็นทีมอย่างถูกต้องและปลอดภัย สนุกสนาน การเรียนรูก้ ารป้องกนั การแก้ไข การเสริมสรา้ งสขุ ภาพ เพื่อให้นักเรียนรู้หลกั และวิธีการออกกำลงั กายท่ีถูกตอ้ งโดยใช้กีฬาบาสเกตบอลเป็นสื่อ รู้กฎกติกา การเล่นที่ถูกต้อง รู้ถึงระเบียบ วินัยของการฝึก เคารพเชื่อฟังผู้ฝึกสอน มีความกตัญญูต่อผู้มีพระคุณ รู้จัก คุณค่าของความเป็นผู้มีน้ำใจเป็นนักกีฬา รู้แพ้ รู้ชนะ รู้อภัย มีสมรรถภาพทางกายและทางจิตที่ดี เห็น คุณค่าของการเลน่ กฬี าและนำไปปฏบิ ตั ใิ นชีวติ ประจำวนั รหัสตวั ช้ีวัด พ ๓.๑ ม. ๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓ พ ๓.๒ ม. ๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓, ม.๓/๔, ม.๓/๕ รวมทั้งหมด ๘ ตัวช้ีวัด ❖ ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น

หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๑๒๓ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กลุม่ งานบรหิ ารวชิ าการ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๖ คำอธิบายรายวิชาเพม่ิ เตมิ พ๒๐๒๐๑ ยมิ นาสติก กลมุ่ สาระการเรียนรสู้ ขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ ๑-๓ เวลาเรยี น ๒๐ ช่ัวโมง จำนวน ๐.๕ หน่วยกิต ศกึ ษาความสำคัญประวัตคิ วามเป็นมาของกีฬายิมนาสตกิ และประโยชน์ ประเภท ชนิดของกีฬาท่ี เกยี่ วขอ้ งกับระบบการทำงานสว่ นต่าง ๆ ของร่างกายเพ่ือให้เกิดความพร้อม โดยการมีทักษะการเคลื่อนไหวอย่างสร้างสรรค์ การออกกำลังกาย การเล่นกีฬาไทย กีฬาสากล การเข้าร่วมกิจกรรมทางกาย การทำงานการเล่นกีฬาตามความถนัด ความสนใจอย่างสม่ำเสมอ โดยการ เคารพสิทธิ กฎ กตกิ าเพอื่ ใหเ้ กิดความปลอดภัยและความสนั ติในการลน่ กีฬาและการแข่งขนั กีฬาท่ีมีกลวิธี การรุกการป้องกันและการให้ความร่วมมือในการเล่นการแข่งขันและการทำงานที่เป็นทีมจนประสบ ความสำเร็จตามเปา้ หมาย ยอมรับและเห็นคุณค่าของการออกกำลังกายเป็นประจำที่ส่งผลต่อการมีวิถีชีวิตที่มีสุขภาพดีและ การปฏิบัติหน้าท่ีตามความรับผิดชอบในสถานการณ์กีฬาต่าง ๆ การกระทำที่แสดงถึงความมีน้ำใจนักกีฬา และเหน็ คณุ คา่ ของการนำไปใช้ประโยชน์ในชวี ิตประจำวันดว้ ยคุณธรรม จรยิ ธรรม และค่านยิ มท่ีเหมาะสม ผลการเรยี นรู้ ๑. มีความรู้และเขา้ ใจเรอื่ งประวตั คิ วามเปน็ มาของกีฬายมิ นาสติก ๒. มคี วามรแู้ ละเขา้ ใจประโยชน์ของการเลน่ กีฬายิมนาสติก ๓. มคี วามรู้และเขา้ ใจมารยาทของการเปน็ ผู้เล่นและผชู้ มกีฬายิมนาสติก ๔. มีความรแู้ ละเข้าใจหลักความปลอดภัยในการเล่นกฬี ายิมนาสตกิ ๕. มคี วามร้แู ละเขา้ ใจสถานท่ีและอปุ กรณ์กีฬายิมนาสติก การเลือกซ้ืออปุ กรณ์กฬี ายิมนาสตกิ วธิ กี ารรักษาอปุ กรณ์กีฬายิมนาสตกิ ๖. เหน็ ความสำคญั ของการอบอนุ่ รา่ งกาย และสามารถปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง ๗. รูแ้ ละเข้าใจสมรรถภาพของกล้ามเนื้อและสามารถบรหิ ารไดอ้ ย่างถกู ต้อง รวมท้ังหมด ๗ ผลการเรียนรู้ ❖ ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น

หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๑๒๔ ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กลุม่ งานบรหิ ารวชิ าการ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๖ พ๒๐๒๐๒ แบดมินตัน กลุ่มสาระการเรียนรู้สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๑-๓ เวลาเรียน ๒๐ ชั่วโมง จำนวน ๐.๕ หน่วยกติ ศึกษาความรู้ความเข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับกีฬาแบดมินตัน ทักษะพื้นฐานที่สำคัญในการเล่น แบดมินตัน ทักษะการเล่นลูกหน้ามือ ลูกหลังหลังมือการเล่นลูกเหนือศรีษะทักษะการเสิร์ฟ การเล่นลูก หน้าตาข่ายเพื่อทำคะแนน การป้องกัน การเล่นเกมรุก การอบอุ่นร่างกายก่อนการฝึก การพัฒนา สมรรถภาพกล้ามเนอ้ื ด้วยการยกน้ำหนกั และ การตัดสิน เพอ่ื ใหน้ ักเรียนมีทักษะในการปฏิบตั ิกีฬาแบดมนิ ตนั มีทักษะพื้นฐานที่สำคัญในการเล่นแบดมินตัน ทักษะพื้นฐานที่สำคัญในการเล่นแบดมินตัน การเล่นลูกหน้ามือ ลูกหลังหลังมือการเลน่ ลูกโอเวอเฮดทักษะ การเสิร์ฟ การเล่นลูกหน้าตาข่ายเพือ่ ทำคะแนน การป้องกัน การเล่นเกมรุก การอบอุ่นร่างกายก่อนการฝกึ การพัฒนาสมรรถภาพกล้ามเนื้อด้วยการยกน้ำหนัก และการตัดสิน และมีความรู้ความเข้าใจพื้นฐาน เกยี่ วกบั กีฬาแบดมินตัน เพื่อให้นักเรียนมีเจตคติที่ถูกต้องและเหมาะสมเกี่ยวกับกิจกรรมการออกกำลังกายตามความถนัด และ ความสนใจ และสามารถนำทักษะกีฬาบาสเกตบอลไปใช้ในการออกกำลังกายเพื่อพัฒนาบุคลิกภาพ และสมรรถภาพตอ่ ไป ผลการเรียนรู้ ๑. มีความร้แู ละเข้าใจเรอื่ งประวตั คิ วามเปน็ มาของกีฬาแบดมินตัน ๒. รู้ เขา้ ใจ และปฏบิ ตั ิตามกฎ กติกาและการตัดสินของกีฬาแบดมนิ ตัน ๓. มที กั ษะพน้ื ฐานในการเลน่ และการเคลื่อนไหวในกีฬาแบดมินตัน ๔. รขู้ นั้ ตอนและสามารถปฏบิ ัตเิ มอ่ื เปน็ ฝ่ายรุกได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม ๕. รู้ข้ันตอนและสามารถปฏิบัตเิ มอ่ื เป็นฝ่ายรับได้อยา่ งถูกต้องและเหมาะสม ๖. เห็นความสำคัญของการอบอนุ่ รา่ งกาย และสามารถปฏิบตั ิได้อย่างถูกตอ้ ง ๗. รแู้ ละเขา้ ใจสมรรถภาพของกลา้ มเนื้อและสามารถบรหิ ารไดอ้ ย่างถกู ต้อง รวมท้ังหมด ๗ ผลการเรยี นรู้ ❖ ระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น

หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๑๒๕ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กลมุ่ งานบริหารวิชาการ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๖ พ๒๐๒๐๓ ฟตุ บอล กลมุ่ สาระการเรียนรู้สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๑-๓ เวลาเรียน ๒๐ ชว่ั โมง จำนวน ๐.๕ หน่วยกิต ศึกษาความรู้และความเข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับกีฬาฟุตบอล ประวัติความเป็นมาและประโยชน์ของ กฬี าฟตุ บอล ความรทู้ วั่ ไปเกี่ยวกบั กีฬาฟุตบอล ทักษะการเลน่ ฟุตบอล หลกั การรุก การรับ กติกาการแข่งขัน ฟตุ บอล และการทดสอบสมรรถภาพทางกาย เพื่อให้นักเรียนมีทักษะในการเล่นกีฬาฟุตบอล ทั้งมีความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับกีฬาฟุตบอล ทักษะการ เล่นฟุตบอล ทักษะการรุก การรับ กติกาการแข่งขันฟุตบอล การทดสอบสมรรถภาพทางกาย และมีความ เขา้ ใจ สามารถอธบิ ายถงึ ประวตั คิ วามเปน็ มาของกีฬาฟตุ บอลได้ เพื่อให้นักเรียนมีเจตคติที่ถูกต้องและเหมาะสมเกี่ยวกับกิจกรรมการออกกำลังกายตามความถนัด และ ความสนใจ และนำทักษะกีฬาฟุตบอลไปใช้ในการออกกำลังกายเพื่อพัฒนาบุคลิกภาพ และ สมรรถภาพตอ่ ไป ผลการเรียนรู้ ๑. รู้ เขา้ ใจ และสามารถอธิบายประวตั ิความเปน็ มา วิวัฒนาการและประโยชนข์ องกีฬา ฟตุ บอล ๒. มีทกั ษะในการเลน่ และการเคลือ่ นไหวในกีฬาฟตุ บอล ๓. รู้ข้นั ตอนและสามารถปฏบิ ัติเม่อื เป็นฝา่ ยรุกได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม ๔. รขู้ ้นั ตอนและสามารถปฏิบัตเิ ม่อื เปน็ ฝ่ายรับได้อยา่ งถูกต้องและเหมาะสม ๕. รู้ เขา้ ใจ และสามารถปฏิบัตติ ามกติกาการแขง่ ขันกีฬาฟุตบอลได้อยา่ งถูกต้อง ๖. รู้ เขา้ ใจ และปฏบิ ัติการทดสอบสมรรถภาพทางกายได้อยา่ งถูกต้องและเหมาะสม รวมท้ังหมด ๖ ผลการเรียนรู้ ❖ ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น

หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๑๒๖ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กล่มุ งานบริหารวชิ าการ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๖ พ๒๐๒๐๔ แฮนด์บอล กลุ่มสาระการเรยี นรสู้ ุขศึกษาและพลศึกษา ช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ ๑-๓ เวลาเรยี น ๒๐ ช่ัวโมง จำนวน ๐.๕ หน่วยกติ ศึกษาความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับประวัติความเป็นมาของกีฬาแฮนด์บอลทักษะเบื้องต้นของ การ เล่นกีฬาแฮนด์บอล ทักษะการเคลื่อนไหวที่ใชท้ ักษะกลไกและทักษะพืน้ ฐานที่นาไปสู่การพัฒนาทักษะ การเล่นแฮนด์บอลการเล่นเป็นทีมของกีฬาแฮนด์บอล กติกาการเล่นแฮนด์บอล และการทดสอบ สมรรถภาพทางกาย เพอื่ ใหน้ ักเรยี นมีทักษะเบื้องต้นของการเล่นกีฬาแฮนด์บอล มที ักษะการเคล่ือนไหวที่ใช้ทักษะกลไก และมที กั ษะพ้ืนฐานทน่ี าไปสู่การพัฒนาทักษะการเล่นแฮนด์บอลมีทักษะการเลน่ เปน็ ทมี ของกีฬาแฮนด์บอล มี ทักษะและเข้าใจกตกิ าการเล่นแฮนด์บอล และการทดสอบสมรรถภาพทางกายและมีความเขา้ ใจ อธิบาย ประวัติความเป็นมาของกฬี าแฮนด์บอล เพื่อให้นักเรียนมีเจตคติที่ถูกต้องและเหมาะสมเกี่ยวกับกิจกรรมการออกกำลังกายตามความถนัด และ ความสนใจ และนำทักษะกีฬาแฮนด์บอลไปใช้ในการออกกำลังกายเพื่อพัฒนาบุคลิกภาพ และ สมรรถภาพต่อไป ผลการเรียนรู้ ๑. สามารถอธบิ ายประวัติความเปน็ มาของกฬี าแฮนดบ์ อล ๒. สามารถครอบครองลกู แฮนด์บอล และมีทักษะในการ รับ-ส่ง ลกู แฮนดบ์ อล ๓. มีทักษะในการเลย้ี งลูกแฮนด์บอล และทักษะในการยิงประตู ๔. มีทักษะในการเปน็ ผู้รักษาประตู ๕. มีทกั ษะในการเล่นเป็นทีม ทงั้ การเปน็ ฝา่ ยรุกและฝา่ ยรับ ๖. รู้ เข้าใจ และปฏิบตั ิตามกฎกตกิ าและข้อตกลงของการเลน่ กีฬาแฮนดบ์ อล ๗. รู้ เขา้ ใจ และปฏบิ ัตกิ ารทดสอบสมรรถภาพทางกายได้อยา่ งถูกต้อง รวมทั้งหมด ๗ ผลการเรยี นรู้ ❖ ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๑๒๗ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กลุ่มงานบริหารวชิ าการ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๖ พ๒๐๒๐๕ ฟุตซอล กลุ่มสาระการเรียนรูส้ ุขศกึ ษาและพลศกึ ษา ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๑-๓ เวลาเรียน ๒๐ ช่ัวโมง จำนวน ๐.๕ หน่วยกติ ศึกษาความรู้และความเข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับกีฬาฟุตซอล ประวัติความเป็นมาและประโยชน์ของ กีฬาฟุตซอล ความรูท้ วั่ ไปเก่ยี วกับกฬี าฟตุ ซอล ทักษะการเล่นฟุตซอล หลกั การรุก การรบั กตกิ าการแข่งขัน ฟตุ ซอล และการทดสอบสมรรถภาพทางกาย เพื่อให้นักเรียนมีทักษะในการเล่นกีฬาฟุตซอล ทั้งมีความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับกีฬาฟุตซอล ทักษะการ เล่นฟุตซอล ทักษะการรุก การรับ กติกาการแข่งขันฟุตซอล การทดสอบสมรรถภาพทางกาย และมีความ เข้าใจ สามารถอธบิ ายถึงประวตั คิ วามเป็นมาของกีฬาฟตุ ซอลได้ เพื่อให้นักเรียนมีเจตคติที่ถูกต้องและเหมาะสมเกี่ยวกับกิจกรรมการออกกำลังกายตามความถนัด และ ความสนใจ และนำทักษะกีฬาฟุตซอลไปใช้ในการออกกำลังกายเพื่อพัฒนาบุคลิกภาพ และ สมรรถภาพต่อไป ผลการเรยี นรู้ ๑. รู้ เขา้ ใจ และสามารถอธบิ ายประวัตคิ วามเปน็ มา วิวฒั นาการและประโยชนข์ องกีฬาฟุตซอล ๒. มีทกั ษะในการเลน่ และการเคลือ่ นไหวในกฬี าฟตุ ซอล ๓. มที กั ษะพื้นฐานในการเลน่ กีฬาฟตุ ซอล ๔. รู้ขัน้ ตอนและสามารถปฏบิ ัตเิ มอื่ เปน็ ฝา่ ยรุกได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม ๕. รขู้ นั้ ตอนและสามารถปฏิบัติเมื่อเป็นฝ่ายรับได้อยา่ งถูกต้องและเหมาะสม ๖. รู้ เข้าใจ และสามารถปฏบิ ัตติ ามกติกาการแข่งขันกีฬาฟุตซอลได้อย่างถกู ต้อง ๗. รู้ เขา้ ใจ และปฏิบัติการทดสอบสมรรถภาพทางกายได้อยา่ งถูกต้องและเหมาะสม รวมทั้งหมด ๗ ผลการเรยี นรู้ ❖ ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๑๒๘ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กลุ่มงานบรหิ ารวิชาการ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๖ พ๒๐๒๐๖ แชร์บอล กลุ่มสาระการเรยี นรสู้ ขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ ๑-๓ เวลาเรียน ๒๐ ช่วั โมง จำนวน ๐.๕ หน่วยกิต ศึกษาความรู้ ความเข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับกีฬาแชร์บอล ประวัติความเป็นมาและความรู้ทั่วไป เกี่ยวกับกีฬาแชร์บอล การทดสอบสมรรถภาพทางกาย ท่าบริหารร่างกายเพื่อการเล่นกีฬาแชร์บอล การ สร้างความคุ้นเคยกับลูกแชร์บอล การเคลื่อนไหวเบื้องต้น การรับ-ส่งลูกแชร์บอล การเคลื่อนไหวเบื้องต้น การยงิ ประตู กติกาการแข่งขนั และสญั ญาณมือในการตัดสนิ แชรบ์ อล และการฝึกทกั ษะการเล่นเปน็ ทมี เพื่อให้นักเรียนมีทักษะในการเล่นแชร์บอล ทั้งท่าบริหารร่างกายเพื่อการเล่นแชร์บอล ทักษะการ สร้างความคุ้นเคยกับลูกแชร์บอล ทักษะการเคลื่อนไหวเบื้องต้น ทักษะการรับ-ส่งลูกแชร์บอล ทักษะการ เคล่อื นไหวเบือ้ งตน้ ทักษะการยิงประตู กติกาการแขง่ ขนั และสญั ญาณมือในการตัดสนิ แชร์บอล และการฝึก ทักษะการเลน่ เป็นทีม การทดสอบสมรรถภาพทางกาย รวมถึงประวัตคิ วามเป็นมาและความรู้ทว่ั ไปเกี่ยวกับ กีฬาแชร์บอล เพื่อให้นักเรียนมีเจตคติที่ถูกต้องและเหมาะสมเกี่ยวกับกิจกรรมการออกกำลังกายตามความถนัด และ ความสนใจ และนำทักษะกีฬาแชร์บอล ไปใช้ในการออกกำลังกายเพื่อพัฒนาบุคลิกภาพ และ สมรรถภาพตอ่ ไป ผลการเรียนรู้ ๑. สามารถอธิบายประวัตคิ วามเปน็ มา ประโยชนแ์ ละวิธกี ารดแู ลรกั ษาอุปกรณก์ ีฬาแชร์บอลได้ ๒. สามารถปฏิบัตกิ ารบริหารรา่ งกายท่ีถกู ต้องได้ ๓. มที ักษะในการเคล่ือนไหวในกฬี าแชร์บอล ๔. มีทกั ษะในการเลน่ กฬี าแชรบ์ อล และสามารถปฏบิ ัติได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม ๕. รขู้ ้ันตอนและสามารถปฏบิ ัติเม่อื เป็นฝ่ายรุกได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม ๖. รู้ข้นั ตอนและสามารถปฏิบัตเิ มื่อเปน็ ฝา่ ยรับได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม ๗. รู้ เขา้ ใจ และสามารถอธบิ ายถงึ กติกาการแขง่ ขันกีฬาแชรบ์ อลได้ ๘. รู้ เข้าใจ และสมารถปฏบิ ัติวธิ กี ารเล่นเปน็ ทีมได้ ๙.รู้ เข้าใจและสามารถปฏิบัติวิธกี ารทดสอบสมรรถภาพทางกายได้ รวมทั้งหมด ๙ ผลการเรียนรู้ ❖ ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น

หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๑๒๙ ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กล่มุ งานบริหารวชิ าการ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๖ คำอธบิ ายรายวิชา กลุ่มสาระการเรยี นรูศ้ ิลปะ ❖ ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๑๓๐ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กล่มุ งานบรหิ ารวิชาการ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๖ คำอธบิ ายรายวิชาพน้ื ฐาน ศ๒๑๑๐๑ ศลิ ปะ ๑ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ศิลปะ ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี ๑ ภาคเรยี น ๑ เวลาเรียน ๔๐ ช่ัวโมง จำนวน ๑.๐ หน่วยกติ ทัศนศิลป์ ศึกษาวิเคราะห์ความแตกต่างและความคล้ายคลึงกันของงานทัศนศิลป์และสิ่งแวดล้อมโดยใชค้ วามรู้ เรื่องทัศนธาตุ หลักการออกแบบงานทัศนศิลป์ โดยเน้นความเป็นเอกภาพความกลมกลืนและความสมดุล วาดภาพทศั นียภาพแสดงให้เห็นระยะไกลใกล้เป็น ๓ มิติ รวบรวมงานป้นั หรือสื่อผสมมาสรา้ งเปน็ เรื่องราว ๓ มิติโดยเน้นความเป็นเอกภาพ ความกลมกลืน และการสื่อถึงเรื่องราวของงาน การออกแบบรูปภาพ สัญลักษณ์หรอื กราฟิกอื่น ๆ ในการนำเสนอความคดิ และข้อมูล ประเมินงานทัศนศิลปแ์ ละวิธีการปรับปรงุ งานของตนเองและผู้อื่นโดยใช้เกณฑ์ที่กำหนดให้ ลักษณะ รูปแบบงานทัศนศิลป์ของชาติและของท้องถิ่น ตนเองจากอดีตจนถึงปัจจุบัน งานทัศนศิลป์ของภาคต่าง ๆ ในประเทศไทย และการสร้างสรรค์งาน ทัศนศลิ ปข์ องวัฒนธรรมไทยและสากล โดยใชก้ ระบวนการคดิ วเิ คราะห์ การอภปิ ราย กระบวนการกลุ่ม เพอ่ื ให้เกดิ ความรู้ ความเขา้ ใจ ความสามารถในการสื่อสาร การสื่อความคิดจินตนาการและเห็นคุณค่าของการนำความรู้ไปใช้ให้เกิด ประโยชน์ในการดำเนินชีวติ ประจำวัน รหัสตวั ช้ีวัด ศ ๑.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓, ม.๑/๔, ม.๑/๕, ม.๑/๖, ศ ๑.๒ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓ รวมทั้งหมด ๙ ตวั ช้ีวดั ดนตรี ศึกษาวิเคราะห์โน้ตไทย และโน้ตสากล เปรียบเทียบเสียงร้องและเสียงของเครื่องดนตรีที่มาจาก วัฒนธรรมที่ต่างกันร้องเพลงและใช้เครื่องดนตรีบรรเลงประกอบการร้องเพลงด้วยบทเพลงที่หลากหลาย รปู แบบ จัดประเภทของวงดนตรีไทยและวงดนตรีท่ีมาจากวฒั นธรรมต่าง ๆ แสดงความคิดเห็นที่มีต่ออารมณ์ ของ บทเพลงท่ีมคี วามเร็วของจังหวะและความดงั - เบา แตกตา่ งกนั เปรยี บเทียบอารมณ์ ความรู้สึกในการ ฟังดนตรีแต่ละประเภท นำเสนอตัวอย่างเพลงที่ตนเองชื่นชอบ และอภิปรายลักษณะเด่นที่ทำให้งานนั้น น่าชื่นชม การใช้เกณฑ์สำหรับประเมินคุณภาพงานดนตรีหรือเพลงที่ฟัง การใช้และบำรุงรักษาเครื่องดนตรี อย่างระมัดระวังและรับผิดชอบ บทบาทความสัมพันธ์และอิทธิพลของดนตรีที่มีต่อสังคมไทย และความ หลากหลายขององค์ประกอบดนตรีในวัฒนธรรมตา่ งกนั ❖ ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น

หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๑๓๑ ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กลุม่ งานบริหารวชิ าการ ปีการศึกษา ๒๕๖๖ โดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ การอภิปราย กระบวนการกลุ่ม เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ ตลอดจนนำความรูแ้ ละหลกั การทางดนตรีมาประยกุ ต์ใชใ้ ห้เกดิ ประโยชน์ในการดำเนินชวี ิตประจำวนั นาฏศลิ ป์ ศึกษาวิเคราะห์อิทธิพลของนักแสดงชื่อดังที่มีผลต่อการโน้มน้าวอารมณ์หรือความคิดของผู้ชม นาฏยศัพท์หรือศัพท์ทางการละครที่ใช้ในการแสดง การแสดงนาฏศิลป์และละครในรูปแบบง่าย ๆ การ ทำงานเปน็ กลุ่มในกระบวนการผลิตการแสดง การใชเ้ กณฑง์ า่ ย ๆ ทก่ี ำหนดใหใ้ นการพิจารณาคุณภาพการ แสดงที่ชมโดยเน้นเรื่องการใช้เสียง การแสดงท่า และการเคล่ือนไหวปจั จัยที่มีผลต่อการเปลีย่ นแปลงของ นาฏศลิ ป์ นาฏศลิ ป์พืน้ บา้ น ละครไทย และละครพ้ืนบ้านและประเภทของละครไทยในแตล่ ะยุคสมัย โดยใช้กระบวนการคดิ วิเคราะห์ การอภิปราย กระบวนการกลุ่ม การสืบค้นข้อมูลและการบันทึก ข้อมูล เพือ่ ให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ ความสามารถในการสอ่ื สารและเห็นคุณค่าของการนำความรูไ้ ปใช้ให้ เกดิ ประโยชน์ในการดำเนินชีวติ ประจำวัน รหัสตวั ช้ีวดั ศ ๒.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓, ม.๑/๔, ม.๑/๕, ม.๑/๖, ม.๑/๗, ม.๑/๘, ม.๑/๙, ศ ๒.๒ ม.๑/๑, ม.๑/๒ ศ ๓.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓, ม.๑/๔, ม.๑/๕, ศ ๓.๒ ม.๑/๑, ม.๑/๒, รวมท้ังหมด ๑๘ ตัวช้ีวดั ❖ ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๑๓๒ ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กลมุ่ งานบริหารวชิ าการ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๖ ศ๒๑๑๐๒ ศิลปะ ๒ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ช้นั มัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรยี น ๒ เวลาเรยี น ๔๐ ชว่ั โมง จำนวน ๑.๐ หนว่ ยกติ ทัศนศิลป์ ศึกษาวิเคราะห์ความแตกต่างและความคล้ายคลึงกันของงานทัศนศิลป์และสิ่งแวดลอ้ มโดยใชค้ วามรู้ เรื่องทัศนธาตุ หลักการออกแบบงานทัศนศิลป์ โดยเน้นความเป็นเอกภาพความกลมกลืนและความสมดุล วาดภาพทัศนียภาพแสดงใหเ้ หน็ ระยะไกลใกล้เป็น ๓ มติ ิ รวบรวมงานปน้ั หรอื สอื่ ผสมมาสรา้ งเป็นเร่ืองราว ๓ มิติโดยเน้นความเป็นเอกภาพ ความกลมกลืน และการสื่อถึงเรื่องราวของงาน การออกแบบรูปภาพ สัญลักษณ์หรือกราฟิกอืน่ ๆ ในการนำเสนอความคิดและข้อมูล ประเมินงานทศั นศิลป์และวิธีการปรับปรุง งานของตนเองและผู้อื่นโดยใช้เกณฑ์ที่กำหนดให้ ลักษณะ รูปแบบงานทัศนศิลป์ของชาติและของท้องถ่ิน ตนเองจากอดีตจนถึงปัจจุบัน งานทัศนศิลป์ของภาคต่าง ๆ ในประเทศไทย และการสร้างสรรค์งาน ทศั นศิลปข์ องวัฒนธรรมไทยและสากล โดยใช้กระบวนการคดิ วิเคราะห์ การอภปิ ราย กระบวนการกลุ่ม เพื่อใหเ้ กิดความรู้ ความ เข้าใจ ความสามารถในการสอื่ สาร การสือ่ ความคดิ จนิ ตนาการและเหน็ คุณคา่ ของการนำความรู้ไปใช้ให้ เกิดประโยชน์ในการดำเนินชีวิตประจำวนั รหสั ตวั ชี้วดั ศ ๑.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓, ม.๑/๔, ม.๑/๕, ม.๑/๖, ศ ๑.๒ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓ รวมทั้งหมด ๙ ตัวช้ีวดั ดนตรี ศึกษาวิเคราะห์โน้ตไทย และโน้ตสากล เปรียบเทียบเสียงร้องและเสียงของเครื่องดนตรีที่มาจาก วัฒนธรรมที่ต่างกัน ร้องเพลงและใช้เครื่องดนตรีบรรเลงประกอบการร้องเพลงด้วยบทเพลงที่หลากหลาย รปู แบบ จดั ประเภทของวงดนตรีไทยและวงดนตรที ่ีมาจากวฒั นธรรมต่าง ๆ แสดงความคดิ เห็นทีม่ ีต่ออารมณ์ ของบทเพลงที่มีความเร็วของจังหวะและความดัง - เบา แตกต่างกัน เปรียบเทียบอารมณ์ ความรู้สึกในการ ฟังดนตรีแต่ละประเภท นำเสนอตัวอย่างเพลงที่ตนเองชื่นชอบ และอภิปรายลักษณะเด่นที่ทำให้งานนั้น น่าชื่นชม การใช้เกณฑ์สำหรับประเมินคณุ ภาพงานดนตรีหรือเพลงที่ฟัง การใช้และบำรุงรักษาเคร่ืองดนตรี อย่างระมัดระวังและรับผิดชอบ บทบาทความสัมพันธ์และอิทธิพลของดนตรีที่มีต่อสังคมไทย และความ หลากหลายขององค์ประกอบดนตรีในวฒั นธรรมตา่ งกัน โดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ การอภิปราย กระบวนการกลุ่ม เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ ตลอดจนนำความรแู้ ละหลักการทางดนตรมี าประยกุ ต์ใชใ้ ห้เกดิ ประโยชนใ์ นการดำเนนิ ชีวติ ประจำวัน ❖ ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้

หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๑๓๓ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กลุ่มงานบริหารวชิ าการ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๖ นาฏศลิ ป์ ศึกษาวิเคราะห์อิทธิพลของนักแสดงชื่อดังที่มีผลต่อการโน้มน้าวอารมณ์หรือความคิดของผู้ชม นาฏยศัพท์หรือศัพท์ทางการละครที่ใช้ในการแสดง การแสดงนาฏศิลป์และละครในรูปแบบง่าย ๆ การ ทำงานเป็นกล่มุ ในกระบวนการผลิตการแสดง การใช้เกณฑ์งา่ ย ๆ ที่กำหนดใหใ้ นการพิจารณาคณุ ภาพการ แสดงที่ชมโดยเน้นเรื่องการใช้เสียง การแสดงทา่ และการเคลื่อนไหวปจั จัยทีม่ ีผลตอ่ การเปลีย่ นแปลงของ นาฏศลิ ป์ นาฏศลิ ปพ์ น้ื บา้ น ละครไทย และละครพ้ืนบ้านและประเภทของละครไทยในแต่ละยุคสมยั โดยใช้กระบวนการคดิ วิเคราะห์ การอภิปราย กระบวนการกลุ่ม การสืบค้นข้อมูลและการบันทึก ข้อมูล เพ่ือให้เกิดความรู้ ความเขา้ ใจ ความสามารถในการส่ือสารและเห็นคุณค่าของการนำความร้ไู ปใช้ให้ เกิดประโยชน์ในการดำเนินชีวิตประจำวัน รหัสตัวชี้วดั ศ ๒.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓, ม.๑/๔, ม.๑/๕, ม.๑/๖, ม.๑/๗, ม.๑/๘, ม.๑/๙, ศ ๒.๒ ม.๑/๑, ม.๑/๒ ศ ๓.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓, ม.๑/๔, ม.๑/๕, ศ ๓.๒ ม.๑/๑, ม.๑/๒, รวมทั้งหมด ๑๘ ตัวช้ีวดั ❖ ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๑๓๔ ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กลมุ่ งานบรหิ ารวิชาการ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๖ ศ๒๒๑๐๑ ศิลปะ ๓ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ศิลปะ ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี ๒ ภาคเรยี น ๑ เวลาเรียน ๔๐ ชั่วโมง จำนวน ๑.๐ หนว่ ยกิต ทัศนศิลป์ ศึกษาวิเคราะห์ทัศนธาตุในด้านรูปแบบ และแนวคิดของงานทัศนศิลป์ ความเหมือนและความ แตกต่างของรูปแบบการใช้วัสดอุ ุปกรณ์ในงานทัศนศิลปข์ องศิลปิน การวาดภาพดว้ ยเทคนิคที่หลากหลาย ในการส่ือความหมายและเร่ืองราวต่าง ๆ การสร้างเกณฑใ์ นการประเมินและวิจารณ์งานทัศนศิลป์และนำ ผลการวิจารณไ์ ปปรับปรงุ แกไ้ ขและพัฒนางาน วาดภาพแสดงบุคลิกลกั ษณะของตวั ละคร วิธกี ารใช้งาน ทัศนศลิ ป์ในการโฆษณาเพื่อโน้มน้าวใจและนำเสนอตัวอย่างประกอบ ระบเุ ก่ียวกบั วฒั นธรรมตา่ ง ๆ ที่สะทอ้ น ถึงงานทัศนศิลป์ในปัจจุบัน การเปลี่ยนแปลงของงานทัศนศิลป์ของไทยในแต่ละยุคสมัยโดยเน้นถึงแนวคิด และเนอ้ื หาของงานและเปรยี บเทียบแนวคิดในการออกแบบงานทัศนศลิ ป์ท่มี าจากวัฒนธรรมไทยและสากล โดยใช้กระบวนการคดิ วิเคราะห์ การอภิปราย กระบวนการกลุ่ม การสืบค้นข้อมลู และการบันทึก ข้อมลู เพือ่ ให้เกดิ ความรู้ ความเขา้ ใจ ความสามารถในการสือ่ สารและเหน็ คุณค่าของการนำความร้ไู ปใช้ให้ เกิดประโยชน์ในการดำเนนิ ชีวิตประจำวนั รหสั ตัวชี้วัด ศ ๑.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓, ม.๒/๔, ม.๒/๕, ม.๒/๖, ม.๒/๗, ศ ๑.๒ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓ รวมท้ังหมด ๑๐ ตวั ช้ีวัด ดนตรี ศึกษาและเปรียบเทียบการใช้องค์ประกอบดนตรีที่มาจากวัฒนธรรมต่างกัน โน้ตไทยและโน้ต สากลที่มีเครื่องหมายแปลงเสียง ปัจจัยสำคัญที่มีอิทธิพลต่อการสร้างสรรค์งานดนตรีร้องเพลง และเล่น ดนตรีเดี่ยวและรวมวง อารมณ์ของเพลงและความรู้สึกที่มีต่อบทเพลงที่ฟังประเมิน พัฒนาการทักษะทาง ดนตรีของตนเองหลังจากการฝึกปฏิบัติ ระบุงานอาชีพต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับดนตรีและบทบาทของดนตรี ในธุรกิจบันเทิง บทบาทและอิทธิพลของดนตรีในวัฒนธรรมของประเทศต่าง ๆ อิทธิพลของวัฒนธรรมและ เหตกุ ารณใ์ นประวัตศิ าสตร์ทม่ี ีตอ่ รูปแบบของดนตรีในประเทศไทย โดยใช้กระบวนการคดิ วิเคราะห์ การอภปิ ราย กระบวนการกลุ่ม การสืบค้นข้อมูลและการบันทึก ขอ้ มูล เพ่อื ใหเ้ กดิ ความรู้ ความเขา้ ใจ ความสามารถในการสอื่ สารและเหน็ คุณคา่ ของการนำความรู้ไปใช้ให้ เกดิ ประโยชน์ในการดำเนินชีวิตประจำวนั นาฏศลิ ป์ ศกึ ษาวิเคราะห์การบรู ณาการศลิ ปะแขนงอ่ืน ๆ กับการแสดง หลักและวิธกี ารสรา้ งสรรค์การแสดง โดยใช้องค์ประกอบนาฏศิลป์และการละคร วิเคราะห์การแสดงของตนเองและผู้อื่นโดยใช้นาฏยศัพท์หรือ ศัพท์ทางการละครที่เหมาะสม เสนอข้อคิดเห็นในการปรับปรุงการแสดงเชื่อมโยงการเรียนรู้ระหว่าง ❖ ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น

หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๑๓๕ ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กล่มุ งานบริหารวิชาการ ปีการศึกษา ๒๕๖๖ นาฏศิลป์และการละครกับสาระการเรียนรู้อื่น ๆ ลักษณะเฉพาะของการแสดงนาฏศิลป์จากวัฒนธรรม ตา่ งๆ การแสดงนาฏศิลป์ นาฏศลิ ปพ์ ้ืนบา้ น ละครไทย ละครพน้ื บา้ น หรอื มหรสพอ่ืนทเ่ี คยนิยมกันในอดีต และอทิ ธิพลของวฒั นธรรมทม่ี ีผลต่อเนอ้ื หาของละคร โดยใช้กระบวนการคดิ วิเคราะห์ การอภิปราย กระบวนการกลุ่ม การสืบค้นขอ้ มูลและการบันทึก ขอ้ มูล เพ่ือใหเ้ กิดความรู้ ความเขา้ ใจ ความสามารถในการสอ่ื สารและเห็นคุณค่าของการนำความรไู้ ปใช้ให้ เกดิ ประโยชนใ์ นการดำเนนิ ชวี ติ ประจำวัน โดยมีจิตสาธารณะและรกั ความเปน็ ไทย รหัสตัวชี้วดั ศ ๒.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓, ม.๒/๔, ม.๒/๕, ม.๒/๖, ม.๒/๗ ศ ๒.๒ ม.๒/๑, ม.๒/๒ ศ ๓.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓, ม.๒/๔, ม.๒/๕, ศ ๓.๒ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓ รวมท้ังหมด ๑๗ ตัวช้ีวัด ❖ ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๑๓๖ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กลุ่มงานบรหิ ารวิชาการ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๖ ศ๒๒๑๐๒ ศลิ ปะ ๔ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ศิลปะ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๒ ภาคเรยี น ๒ เวลาเรยี น ๔๐ ชว่ั โมง จำนวน ๑.๐ หน่วยกติ ทศั นศลิ ป์ ศึกษาวิเคราะห์ทัศนธาตุในด้านรูปแบบ และแนวคิดของงานทัศนศิลป์ ความเหมือนและความ แตกต่างของรูปแบบการใช้วัสดุอุปกรณ์ในงานทัศนศิลป์ของศิลปิน การวาดภาพด้วยเทคนคิ ทีห่ ลากหลาย ในการส่อื ความหมายและเรื่องราวต่าง ๆ การสร้างเกณฑใ์ นการประเมินและวิจารณ์งานทัศนศิลป์และนำ ผลการวิจารณไ์ ปปรบั ปรงุ แกไ้ ขและพัฒนางาน วาดภาพแสดงบคุ ลกิ ลักษณะของตวั ละคร วธิ ีการใชง้ าน ทศั นศิลป์ในการโฆษณาเพื่อโน้มน้าวใจและนำเสนอตวั อยา่ งประกอบ ระบเุ ก่ยี วกับวฒั นธรรมต่าง ๆ ท่ีสะท้อน ถึงงานทัศนศิลป์ในปัจจุบัน การเปลี่ยนแปลงของงานทัศนศิลป์ของไทยในแต่ละยุคสมัยโดยเน้นถึงแนวคิด และเนอ้ื หาของงานและเปรียบเทียบแนวคิดในการออกแบบงานทัศนศิลปท์ ่ีมาจากวฒั นธรรมไทยและสากล โดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ การอภิปราย กระบวนการกล่มุ การสบื ค้นข้อมลู และการบนั ทกึ ขอ้ มลู เพ่ือใหเ้ กดิ ความรู้ ความเขา้ ใจ ความสามารถในการสือ่ สารและเหน็ คุณค่าของการนำความรู้ไปใชใ้ ห้ เกิดประโยชน์ในการดำเนินชวี ติ ประจำวัน รหสั ตวั ช้ีวดั ศ ๑.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓, ม.๒/๔, ม.๒/๕, ม.๒/๖, ม.๒/๗, ศ ๑.๒ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓ รวมทั้งหมด ๑๐ ตัวชี้วัด ดนตรี ศึกษาและเปรียบเทียบการใช้องค์ประกอบดนตรีที่มาจากวัฒนธรรมต่างกัน โน้ตไทยและโน้ต สากลที่มีเครื่องหมายแปลงเสียง ปัจจัยสำคัญที่มีอิทธิพลต่อการสร้างสรรค์งานดนตรีร้องเพลง และเล่น ดนตรีเดี่ยวและรวมวง อารมณ์ของเพลงและความรู้สึกที่มีต่อบทเพลงที่ฟัง ประเมินพัฒนาการทักษะทาง ดนตรีของตนเองหลังจากการฝึกปฏิบัติ ระบุงานอาชีพต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับดนตรีและบทบาทของดนตรี ในธุรกจิ บนั เทงิ บทบาทและอิทธิพลของดนตรีในวฒั นธรรมของประเทศต่าง ๆ อิทธิพลของวฒั นธรรมและ เหตุการณใ์ นประวัติศาสตร์ที่มตี ่อรปู แบบของดนตรีในประเทศไทย โดยใชก้ ระบวนการคิดวเิ คราะห์ การอภิปราย กระบวนการกล่มุ การสืบคน้ ขอ้ มลู และการบันทึก ขอ้ มลู เพอ่ื ใหเ้ กิดความรู้ ความเข้าใจ ความสามารถในการส่ือสารและเห็นคุณค่าของการนำความรไู้ ปใช้ให้ เกิดประโยชนใ์ นการดำเนนิ ชวี ิตประจำวนั นาฏศลิ ป์ ศึกษาวิเคราะห์การบูรณาการศิลปะแขนงอื่น ๆ กับการแสดง หลักและวิธีการสร้างสรรค์การ แสดงโดยใช้องค์ประกอบนาฏศลิ ป์และการละคร วิเคราะห์การแสดงของตนเองและผู้อ่ืนโดยใช้นาฏยศัพท์ หรือศัพท์ทางการละครที่เหมาะสม เสนอข้อคิดเห็นในการปรับปรุงการแสดงเชื่อมโยงการเรียนรู้ระหว่าง นาฏศิลป์และการละครกับสาระการเรียนรู้อื่น ๆ ลักษณะเฉพาะของการแสดงนาฏศิลป์จากวัฒนธรรม ❖ ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้

หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๑๓๗ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กลมุ่ งานบริหารวิชาการ ปีการศึกษา ๒๕๖๖ ต่างๆ การแสดงนาฏศิลป์ นาฏศิลป์พื้นบ้าน ละครไทย ละครพื้นบ้าน หรือมหรสพอื่นที่เคยนิยมกันใน อดีต และอิทธพิ ลของวัฒนธรรมท่มี ผี ลต่อเนือ้ หาของละคร โดยใช้กระบวนการคดิ วิเคราะห์ การอภปิ ราย กระบวนการกลมุ่ การสืบค้นขอ้ มูลและการบันทึก ขอ้ มูล เพ่ือใหเ้ กดิ ความรู้ ความเขา้ ใจ ความสามารถในการสอื่ สารและเห็นคุณค่าของการนำความรไู้ ปใช้ให้ เกิดประโยชน์ในการดำเนนิ ชีวติ ประจำวัน โดยมีจิตสาธารณะและรักความเปน็ ไทย รหัสตัวชี้วดั ศ ๒.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓, ม.๒/๔, ม.๒/๕, ม.๒/๖, ม.๒/๗ ศ ๒.๒ ม.๒/๑, ม.๒/๒ ศ ๓.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓, ม.๒/๔, ม.๒/๕ ศ ๓.๒ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓ รวมทั้งหมด ๑๗ ตัวชี้วัด ❖ ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น

หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๑๓๘ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กลุ่มงานบรหิ ารวชิ าการ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๖ ศ๒๓๑๐๑ ศิลปะ ๕ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศลิ ปะ ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๓ ภาคเรยี น ๑ เวลาเรียน ๔๐ ชวั่ โมง จำนวน ๑.๐ หนว่ ยกิต ทศั นศิลป์ ศึกษาวิเคราะห์สิ่งแวดล้อมและงานทัศนศิลป์ที่เลือกมาโดยใช้ความรู้เรื่องทัศนธาตุ และหลักการ ออกแบบ เทคนิค วิธีการ ของศิลปินในการสร้างงาน ทัศนศิลป์ วิธีการใช้ ทัศนธาตุ และหลักการ ออกแบบในการสร้างงานทัศนศิลป์ของตนเองให้มีคุณภาพ การสร้างงานทัศนศิลป์อย่างน้อย ๓ ประเภท การผสมผสานวัสดุต่าง ๆ ในการสร้างงานทัศนศิลป์โดยใช้หลักการออกแบบ สร้างงานทัศนศิลป์ทั้ง ๒ มิติ และ ๓ มิติ เพื่อถ่ายทอดประสบการณ์และจินตนาการ สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์สื่อความหมายเป็น เรื่องราวโดยประยุกต์ใช้ทัศนธาตุ และหลักการออกแบบ รูปแบบ เนื้อหาและคุณค่าในงานทัศนศิลป์ของ ตนเอง และผู้อื่น หรือของศิลปิน สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์เพื่อบรรยายเหตุการณ์ต่าง ๆ โดยใช้เทคนิคที่ หลากหลาย งานทัศนศิลป์และทักษะที่จำเป็นในการประกอบอาชีพ เลือกงานทัศนศิลป์โดยใช้เกณฑ์ที่ กำหนดขึ้นอย่างเหมาะสม และนำไปจัดนิทรรศการ งานทัศนศิลป์ที่สะท้อนคุณค่าของวัฒนธรรม และ เปรยี บเทียบความแตกตา่ งของงานทัศนศลิ ปใ์ นแตล่ ะยคุ สมัยของวัฒนธรรมไทยและสากล โดยใช้กระบวนการคดิ วเิ คราะห์ การอภปิ ราย กระบวนการกล่มุ การสบื ค้นข้อมลู และการบันทึก ข้อมูล เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ และเห็นคุณค่าของการนำความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ในการ ดำเนนิ ชีวิตประจำวัน รหสั ตัวช้ีวดั ศ ๑.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓, ม.๓/๔, ม.๓/๕, ม.๓/๖, ม.๓/๗, ม.๓/๘, ม.๓/๙, ม.๓/๑๐, ม.๓/๑๑, ศ ๑.๒ ม.๓/๑, ม.๓/๒ รวมท้ังหมด ๑๓ ตวั ชี้วัด ดนตรี ศึกษาวิเคราะห์องค์ประกอบที่ใช้ในงานดนตรีและงานศิลปะอื่น เทคนิคและการแสดงออกในการ ร้องเพลง เล่นดนตรีเดี่ยวและรวมวง แต่งเพลงสั้น ๆ จังหวะง่าย ๆ การเลือกใชอ้ งค์ประกอบดนตรีในการ สรา้ งสรรค์งานดนตรีของตนเอง ความแตกต่างระหว่างงานดนตรขี องตนเองและผู้อืน่ อิทธิพลของดนตรีที่ มตี ่อบคุ คลและสงั คม นำเสนอหรือจดั การแสดงดนตรีทีเ่ หมาะสมโดยการบูรณาการกับสาระการเรียนรู้อ่ืน ในกลมุ่ ศลิ ปะ วิวัฒนาการของดนตรีแตล่ ะยุคสมยั และลกั ษณะเด่นทท่ี ำใหง้ านดนตรนี นั้ ได้รับการยอมรับ โดยใช้กระบวนการคิดวเิ คราะห์ การอภปิ ราย กระบวนการกลมุ่ การสบื คน้ ขอ้ มูลและการบันทึก ขอ้ มลู เพ่ือใหเ้ กดิ ความรู้ ความเขา้ ใจ ความสามารถในการสื่อสารและเหน็ คุณค่าของการนำความรู้ไปใช้ให้ เกิดประโยชนใ์ นการดำเนินชีวิตประจำวนั ❖ ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้

หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๑๓๙ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กล่มุ งานบรหิ ารวชิ าการ ปีการศึกษา ๒๕๖๖ นาฏศลิ ป์ ศกึ ษาวเิ คราะห์โครงสร้างของบทละครโดยใชศ้ ัพท์ทางการละคร นาฏยศัพท์หรือศัพท์ทางการละคร ทเ่ี หมาะสม บรรยายเปรียบเทยี บการแสดงอากปั กริ ิยาของผู้คนในชีวิตประจำวนั และในการแสดง การใช้ ความคิดในการพัฒนารูปแบบการแสดง การแปลความและการสื่อสารผ่านการแสดง การวิจารณ์ เปรียบเทียบงานนาฏศิลป์ที่มีความแตกต่างกันโดยใช้ความรู้เรื่ององค์ประกอบนาฏศิลป์ การแสดงใน บทบาทหน้าที่ตา่ ง ๆ การเสนอแนวคดิ จากเนื้อเร่ืองของการแสดงท่ีสามารถนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวนั การออกแบบและสร้างสรรค์อุปกรณ์และเครื่องแต่งกาย เพื่อแสดงนาฏศิลป์และละครที่มาจากวัฒนธรรม ต่าง ๆ ความสำคัญและบทบาทของนาฏศิลป์และการละครในชีวิตประจำวันและการแสดงความคิดเห็นใน การอนรุ ักษน์ าฏศลิ ป์ โดยใชก้ ระบวนการคิดวิเคราะห์ การอภปิ ราย กระบวนการกล่มุ การสบื คน้ ข้อมูลและการ บันทกึ ข้อมูล เพ่ือให้เกิดความรู้ ความเขา้ ใจ ความสามารถในการส่อื สารและเหน็ คุณคา่ ของการนำความรู้ ไปใช้ให้เกดิ ประโยชนใ์ นการดำเนนิ ชวี ติ ประจำวนั รหสั ตวั ช้ีวดั ศ ๒.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓, ม.๓/๔, ม.๓/๕, ม.๓/๖, ม.๓/๗ ศ ๒.๒ ม.๓/๑, ม.๓/๒ ศ ๓.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓, ม.๓/๔, ม.๓/๕, ม.๓/๖, ม.๓/๗ ศ ๓.๒ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓ รวมทั้งหมด ๑๙ ตัวช้ีวัด ❖ ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน้

หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๑๔๐ ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กล่มุ งานบรหิ ารวชิ าการ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๖ ศ๒๓๑๐๑ ศิลปะ ๖ กลุม่ สาระการเรยี นรู้ศลิ ปะ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๓ ภาคเรยี น ๒ เวลาเรียน ๔๐ ชั่วโมงจำนวน ๑.๐ หน่วยกิต ทัศนศิลป์ ศึกษาวิเคราะห์สิ่งแวดล้อมและงานทัศนศิลป์ที่เลือกมาโดยใช้ความรู้เรื่องทัศนธาตุ และหลักการ ออกแบบ เทคนิค วิธีการ ของศิลปินในการสร้างงาน ทัศนศิลป์ วิธีการใช้ ทัศนธาตุ และหลักการ ออกแบบในการสร้างงานทัศนศิลป์ของตนเองให้มีคุณภาพ การสร้างงานทัศนศิลป์อย่างน้อย ๓ ประเภท การผสมผสานวัสดุต่าง ๆ ในการสร้างงานทัศนศิลป์โดยใช้หลักการออกแบบ สร้างงานทัศนศิลป์ทั้ง ๒ มิติ และ ๓ มิติ เพื่อถ่ายทอดประสบการณ์และจินตนาการ สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์สื่อความหมายเป็น เรื่องราวโดยประยุกต์ใช้ทัศนธาตุ และหลักการออกแบบ รูปแบบ เนื้อหาและคุณค่าในงานทัศนศิลป์ของ ตนเอง และผู้อื่น หรือของศิลปิน สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์เพื่อบรรยายเหตุการณ์ต่าง ๆ โดยใช้เทคนิคท่ี หลากหลาย งานทัศนศิลป์และทักษะที่จำเป็นในการประกอบอาชีพ เลือกงานทัศนศิลป์โดยใช้เกณฑ์ที่ กำหนดขึ้นอย่างเหมาะสม และนำไปจัดนิทรรศการ งานทัศนศิลป์ที่สะท้อนคุณค่าของวัฒนธรรม และ เปรยี บเทยี บความแตกต่างของงานทศั นศิลป์ในแตล่ ะยคุ สมยั ของวัฒนธรรมไทยและสากล โดยใช้กระบวนการคดิ วเิ คราะห์ การอภิปราย กระบวนการกล่มุ การสืบค้นขอ้ มลู และการบันทึก ข้อมูล เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ และเห็นคุณค่าของการนำความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ในการ ดำเนนิ ชีวติ ประจำวัน รหสั ตัวช้ีวัด ศ ๑.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓, ม.๓/๔, ม.๓/๕, ม.๓/๖, ม.๓/๗, ม.๓/๘, ม.๓/๙, ม.๓/๑๐, ม.๓/๑๑ ศ ๑.๒ ม.๓/๑, ม.๓/๒ รวมทั้งหมด ๑๓ ตวั ช้ีวัด ดนตรี ศึกษาวิเคราะห์องค์ประกอบที่ใช้ในงานดนตรีและงานศิลปะอื่น เทคนิคและการแสดงออกในการ ร้องเพลง เล่นดนตรีเดี่ยวและรวมวง แต่งเพลงสั้น ๆ จังหวะง่าย ๆ การเลือกใชอ้ งค์ประกอบดนตรีในการ สร้างสรรคง์ านดนตรีของตนเอง ความแตกต่างระหว่างงานดนตรีของตนเองและผู้อ่ืน อทิ ธิพลของดนตรี ที่มีต่อบุคคลและสงั คม นำเสนอหรือจัดการแสดงดนตรีทีเ่ หมาะสมโดยการบรู ณาการกบั สาระการเรยี นรู้ อ่ืนในกลุม่ ศิลปะ ววิ ัฒนาการของดนตรีแตล่ ะยุคสมยั และลักษณะเดน่ ทีท่ ำให้งานดนตรีนั้นได้รบั การยอมรับ โดยใช้กระบวนการคดิ วเิ คราะห์ การอภิปราย กระบวนการกลุ่ม การสืบคน้ ข้อมูลและการบันทึก ข้อมลู เพอ่ื ให้เกิดความรู้ ความเขา้ ใจ ความสามารถในการสอื่ สารและเหน็ คุณค่าของการนำความรู้ไปใช้ให้ เกดิ ประโยชน์ในการดำเนินชวี ิตประจำวนั ❖ ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น

หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๑๔๑ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กลุ่มงานบริหารวิชาการ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๖ นาฏศลิ ป์ ศึกษาวิเคราะห์โครงสร้างของบทละครโดยใช้ศัพท์ทางการละคร นาฏยศัพท์หรือศัพท์ทางการ ละครที่เหมาะสม บรรยายเปรียบเทียบการแสดงอากัปกิริยาของผู้คนในชีวิตประจำวันและในการแสดง การใช้ความคิดในการพัฒนารูปแบบการแสดง การแปลความและการสื่อสารผ่านการแสดง การวิจารณ์ เปรียบเทียบงานนาฏศิลป์ที่มีความแตกต่างกันโดยใช้ความรู้เรื่ององค์ประกอบนาฏศิลป์ การแสดงใน บทบาทหน้าที่ต่าง ๆ การเสนอแนวคิดจากเนือ้ เรื่องของการแสดงท่ีสามารถนำไปปรับใช้ในชวี ิตประจำวนั การออกแบบและสร้างสรรค์อุปกรณ์และเครื่องแต่งกาย เพื่อแสดงนาฏศิลป์และละครที่มาจากวัฒนธรรม ต่าง ๆ ความสำคญั และบทบาทของนาฏศิลป์และการละครในชวี ิตประจำวันและการแสดงความคิดเห็นใน การอนรุ กั ษ์นาฏศิลป์ โดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ การอภิปราย กระบวนการกลุ่ม การสืบค้นข้อมูลและการ บันทกึ ขอ้ มูล เพอ่ื ให้เกิดความรู้ ความเขา้ ใจ ความสามารถในการสื่อสารและเห็นคุณค่าของการนำความรู้ ไปใชใ้ ห้เกิดประโยชน์ในการดำเนนิ ชีวติ ประจำวัน รหัสตัวช้ีวัด ศ ๒.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓, ม.๓/๔, ม.๓/๕, ม.๓/๖, ม.๓/๗ ศ ๒.๒ ม.๓/๑, ม.๓/๒ รวมท้ังหมด ๙ ตวั ชี้วดั ❖ ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้

หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๑๔๒ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กลมุ่ งานบริหารวิชาการ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๖ คำอธบิ ายรายวิชา กล่มุ สาระการเรยี นร้กู ารงานอาชีพ ❖ ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้

หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๑๔๓ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กลุ่มงานบริหารวชิ าการ ปีการศึกษา ๒๕๖๖ คำอธบิ ายรายวิชาพ้ืนฐาน ง๒๑๑๐๑ การงานอาชพี ๑ กลุ่มสาระการเรียนรูก้ ารงานอาชพี ช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ ๑ ภาคเรยี นที่ ๑ เวลาเรยี น ๒๐ ชัว่ โมง จำนวน ๐.๕ หนว่ ยกิต ศึกษาวิเคราะห์ลักษณะงานขั้นตอนการปฏิบัติงาน วิเคราะห์วางแผนและลงมอื ปฏบิ ตั ิงานเก่ียวกบั งานบ้าน ในเรื่องรักษาความสะอาด และจัดตกแต่งบ้านและบริเวณบ้าน การใช้และการเก็บรักษาเครื่อง อปุ โภคบริโภคในบ้าน และเหมาะสมกับสภาพเศรษฐกจิ ของครอบครวั เพือ่ ใหม้ ีความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกับ บ้านและปฏิบัติงานบ้านได้ รับผิดชอบ มีระเบียบ สะอาด ประหยัด ถูกตามขบวนการทำงานสามารถ ช่วยงานบา้ น และทำงานรว่ มกบั ผอู้ ่นื ได้ ศึกษาความหมาย ความสำคัญและประโยชน์ของการเกษตร จำแนกประเภทของการเกษตร วเิ คราะหข์ ้อมูลวางแผนการใชเ้ ครื่องมือและอุปกรณ์การปลูกพชื กระบวนการการจัดสวนถาดหรือปลูกพืช ในภาชนะได้อยา่ งเหมาะสม รหสั ตัวช้วี ดั ง ๑.๑ ม.๑/๑, ม๑/๒, ม๑/๓ ง ๔.๑ ม.๑/๑, ม๑/๒, ม๑/๓ รวมท้ังหมด ๖ ตวั ชีว้ ดั ❖ ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น