หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๔๔ ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กลมุ่ งานบริหารวชิ าการ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๖ ท๒๒๒๐๑ การอ่านงานประพนั ธร์ อ้ ยแกว้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๒ ภาคเรียนที่ ๑ เวลาเรยี น ๒๐ ชว่ั โมง จำนวน ๐.๕ หน่วยกิต ศึกษาหลกั การจบั ใจความสำคัญจากบทความ สารคดแี ละเร่อื งส้นั การเขยี นผงั ความคิดแสดงความ เข้าใจจากเรื่องที่อ่าน การอภิปรายแสดงความคิดเห็นและประเมินคุณคาจากเรื่องที่อ่าน การแสดงความ คิดเห็น เชิงวิเคราะห์และวิจารณเกี่ยวกับงานประพันธและรูปแบบการเขียน การใช้ถ้อยคำสำนวน และ วธิ ีการนำเสนอ เร่ืองอยา่ งมเี หตผุ ล โดยการใชกระบวนการกล่มุ การบรรยาย การนำเสนอหนา้ หอ้ ง ทำแบบฝกหดั เพือ่ ใหนักเรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคดิ สังเคราะห์ และการคดิ อย่างสร้างสรรค์ รวมทัง้ มกี ารใฝรใู ฝเรียน และมุม่ มน่ั ในการทำงาน ผลการเรยี นรู้ ๑. เพื่อใหนกั เรยี นเห็นความสำคัญและคณุ คาของการอา่ นร้อยแก้ว ๒. เพอ่ื ใหนักเรยี นบอกลักษณะของงานประเภทตา่ ง ๆ รวมถงึ เกณฑท่ใี ชพจิ ารณางานร้อยแก้วแต่ ละประเภทได้ ๓. เพือ่ สงเสรมิ และสรา้ งนสิ ยั รกั การอ่าน ๔. เพ่อื ใหนกั เรียนสามารถนำหลักการอ่านและการเลอื กหนังสือไปใชในชีวติ ประจำวนั ได้ ๕. เพอ่ื ใหนักเรียนมอี ุปนิสยั รักการอา่ น ชางคดิ ช่างสงั เกต ๖.เพื่อใหนักเรียนสามารถใชภาษาไทยได้อยา่ งถูกตองเหมาะ รวมทั้งหมด ๖ ผลการเรียนรู้ ❖ ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้
หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๔๕ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กล่มุ งานบริหารวชิ าการ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๖ ท๒๒๒๐๒ การอา่ นงานประพันธร์ ้อยกรอง กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๒ ภาคเรยี นท่ี ๒ เวลาเรยี น ๒๐ ชัว่ โมง จำนวน ๐.๕ หน่วยกติ ศึกษาหลักการวิจารณเบื้องตน โดยวิเคราะห์จากงานร้อยกรองที่ครูกำหนดหนักเรียนอ่าน หรือให นักเรียนอ่านงานร้อยกรองที่ตนสนใจ แล้วฝึกแสดงความคิดเห็นเชิงวิจารณ ในด้านรูปแบบ โครงเรื่อง ลักษณะตัวละคร การใชถ้อยคำสำนวน วิธกี ารนำเสนอเรื่อง เพอื่ ใหมีความรู และความเขาใจในหลักการ วิจารณ จนสามารถแสดงความคิดเห็นเชงิ วิจารณเกยี่ วกบั งานประพนั ธได้ โดยการใชกระบวนการกลมุ่ การบรรยาย การนำเสนอหน้าหอ้ ง ทำแบบฝึกหดั เพอ่ื ใหนักเรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคดิ สงั เคราะห์ การคดิ อย่างสร้างสรรค์ และ คดิ อยา่ งมีเหตุผล รวมทง้ั มีการใฝรใู ฝเรียน และมุ่งม่นั ในการทำงาน ผลการเรยี นรู้ ๑.เพอ่ื ใหนกั เรยี นเห็นความสำคญั และคณุ คาของการอ่านร้อยกรอง ๒.เพ่ือใหนักเรยี นบอกลกั ษณะของงานประเภทตา่ ง ๆ รวมถงึ เกณฑทีใ่ ชพิจารณางาร้อยกรองแต่ ละ ประเภทได้ ๓.เพือ่ สงเสริมและสรา้ งนสิ ยั รกั การอา่ น ๔.เพื่อใหนักเรียนสามารถนำหลักการอา่ นและการเลือกหนังสอื ไปใชในชวี ิตประจำวันได้ ๕.เพื่อใหนักเรียนมอี ปุ นสิ ัยรักการอ่าน ชางคดิ ช่างสังเกต ๖.เพอ่ื ใหนกั เรยี นสามารถใชภาษาไทยได้อยา่ งถูกตองเหมาะสม รวมทั้งหมด ๖ ผลการเรียนรู้ ❖ ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้
หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๔๖ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กลมุ่ งานบรหิ ารวิชาการ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๖ ท๒๓๒๐๑ นทิ านพื้นบ้าน กลุ่มสาระการเรียนรูภ้ าษาไทย ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ ๓ ภาคเรยี นท่ี ๑ เวลาเรียน ๒๐ ช่ัวโมง จำนวน ๐.๕ หน่วยกติ ศกึ ษาความหมาย ประเภทของนทิ าน ความเชอื่ จากนิทาน อ่านและวิเคราะห์นิทานปรมั ปรา นทิ าน อธิบาย นทิ านเกี่ยวกับความเชอื่ ผลการเรยี นรู้ ๑. สามารถอธบิ ายความหมายของนิทานพนื้ บ้าน ๒. สามารถบอกที่มาและประเภทของนิทานพ้นื บ้าน ๓. สามารถอา่ นนทิ านพ้ืนบา้ นไดอ้ ย่างเข้าใจ ๔. สามารถวิเคราะหแ์ ละพินจิ คุณคาของนทิ านพื้นบา้ นได้ รวมท้ังหมด ๔ ผลการเรยี นรู้ ❖ ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น
หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๔๗ ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กลมุ่ งานบรหิ ารวชิ าการ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๖ ท๒๓๒๐๒ การพูดเบ้ืองตน้ กลุ่มสาระการเรียนรูภ้ าษาไทย ชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี ๓ ภาคเรียนท่ี ๒ เวลาเรยี น ๒๐ ชวั่ โมง จำนวน ๐.๕ หนว่ ยกติ ความหมาย และความสำคัญของการพดู มารยาทในการพูด คุณสมบัติท่ีดีของผู้พดู หลกั การพดู การ เตรยี มการพดู การปฏบิ ัตติ นขณะพดู การพูดในโอกาสต่าง ๆ รวมทง้ั การสัมภาษณ์ ผลการเรียนรู้ ๑. สามารถพดู ตอท่ีชมุ ชนในโอกาสตา่ ง ๆ ๒. สามารถใชการพูดในการสัมภาษณ์ได้อยา่ งถูกตองตามหลกั การ รวมทั้งหมด ๒ ผลการเรียนรู้ ❖ ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น
หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๔๘ ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กลมุ่ งานบรหิ ารวชิ าการ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๖ คำอธบิ ายรายวชิ า กล่มุ สาระการเรยี นรูค้ ณติ ศาสตร์ ❖ ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้
หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๔๙ ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กลุ่มงานบรหิ ารวิชาการ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๖ คำอธบิ ายรายวชิ าพื้นฐาน ค๒๑๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรยี น ๑ เวลาเรยี น ๖๐ ช่ัวโมง จำนวน ๑.๕ หน่วยกิต ศึกษา คน้ คว้า ฝกึ ทักษะ/กระบวนการเก่ียวกับเร่ืองต่อไปน้ี จำนวนเต็ม การเปรียบเทียบจำนวนเต็ม ความหมายของประโยค สมบัติของจำนวนเต็ม ค่า สัมบูรณแ์ ละจำนวนตรงกันข้าม การบวก การลบ การคณู และการหารจำนวนเตม็ การสร้างทางเรขาคณติ การสรา้ งพื้นฐานทางเรขาคณิต จดุ เสน้ ตรง สว่ นของเส้นตรง รังสีและมุม การบอกขนาดความยาวของเส้นตรง การสร้างส่วนของเส้นตรง การสร้างมุม การแบ่งมุม มุมตรงและมุม ฉาก การสรา้ งรปู เรขาคณติ อย่างงา่ ย เลขยกกำลัง การหาคา่ ของเลขยกกำลัง การเขยี นจำนวนให้อยู่ในรูปเลขยกกำลัง การบวก การลบ การคูณและการหารเลขยกกำลัง การใช้เลขยกกำลังเขียนแสดงจำนวนที่มีค่ามาก ๆ หรือค่าน้อย ๆ โดย เขยี นใหอ้ ยู่ในรปู สญั กรณว์ ิทยาศาสตร์ A × 10n เม่อื 1 ≤ A < 10 และ n เป็นจำนวนเตม็ เศษส่วนและทศนิยม ความหมายและลักษณะของเศษส่วน การเขียนทศนิยม และค่าประจำหลัก ของทศนิยม การเขียนเศษส่วนให้อยู่ในรูปทศนิยม การเขียนทศนิยมให้อยู่ในรูปเศษส่วน การบวกและการ ลบเศษส่วน การคูณเศษส่วน การหารเศษส่วน การบวกและการลบทศนิยม การคูณทศนิยม และโจทย์ ปญั หาเกี่ยวกับทศนยิ มและเศษส่วน รูปเรขาคณิตสองมิติและรูปเรขาคณิตสามมิติ ความสัมพันธ์ของรูปเรขาคณิตสองมิติกับรูป เรขาคณิตสามมิติ ภาพที่ได้จากการมองด้านหน้า ด้านข้าง และด้านบนของรูปเรขาคณิตสามมิติ การวาด หรอื การสรา้ งรปู เรขาคณิตทปี่ ระกอบขนึ้ จากลูกบาศก์ โดยใช้ความรู้ ทักษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตร์และสมรรถนะสำคัญในการแก้ปัญหาต่าง ๆ ได้ อย่างเหมาะสม โดยใช้ความสามารถในการสื่อสารและสื่อความหมาย ความสามารถในการคิด ความสามารถในการแก้ปัญหา ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต และความสามารถในการใช้เทคโนโลยี มี วินยั มีความใฝ่เรยี นรู้ มคี วามม่งุ ม่ันในการทำงาน รหัสตวั ช้ีวัด ค ๑.๑ ม.๑/๑ ม.๑/๒ ค ๒.๒ ม.๑/๑ ม.๑/๒ รวมทั้งหมด ๔ ตัวช้ีวัด ❖ ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้
หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๕๐ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กลมุ่ งานบริหารวชิ าการ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๖ ค๒๑๑๐๒ คณิตศาสตร์ ๒ กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๑ ภาคเรยี น ๒ เวลาเรยี น ๖๐ ช่ัวโมง จำนวน ๑.๕ หน่วยกิต ศึกษา คน้ คว้า ฝึกทักษะ/กระบวนการเกย่ี วกับเร่ืองต่อไปน้ี สมการเชงิ เส้นตัวแปรเดียว สมการเชงิ เสน้ ตัวแปรเดยี ว การแกส้ มการเชิงเส้นตัวแปรเดียว การนำ ความร้เู กย่ี วกับสมการเชิงเสน้ ตวั แปรเดียวไปใชใ้ นชวี ิตจริง อัตราส่วน สัดส่วน และร้อยละ อัตราส่วนของจำนวนหลายๆจานวน สัดส่วน การนำความรู้ เก่ียวกบั อตั ราสว่ น สดั ส่วน และร้อยละไปใชใ้ นการแกป้ ัญหา กราฟและความสัมพันธเ์ ชิงเสน้ กราฟของความสัมพนั ธ์เชิงเสน้ สมการเชิงเสน้ สองตวั แปร การนำ ความรเู้ ก่ียวกับสมการเชิงเส้นสองตวั แปรและกราฟของความสัมพนั ธ์เชงิ เส้นไปใช้ในชีวิตประจำวัน สถิติ(1) การตั้งคำถามทางสถิติ การเก็บรวบรวมข้อมูล การนำเสนอข้อมูล แผนภูมิรูปภาพ แผนภมู ิแท่ง กราฟเส้น แผนภมู ิรปู วงกลม การแปลความหมายข้อมูล การนำสถติ ิไปใช้ในชีวติ จริง โดยใช้ความรู้ ทักษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตร์และสมรรถนะสำคัญในการแก้ปัญหาต่าง ๆ ได้ อย่างเหมาะสม โดยใช้ความสามารถในการสื่อสารและสื่อความหมาย ความสามารถในการคิด ความสามารถในการแก้ปัญหา ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต และความสามารถในการใช้เทคโนโลยี มี วินัย มีความใฝ่เรียนรู้ มีความมุ่งมั่นในการทำงาน และมีจิตสาธารณะตามคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่ดี รวมทงั้ เห็นคุณคา่ และมเี จตคติที่ดีตอ่ คณิตศาสตร์ รหัสตัวช้ีวัด ค ๑.๑ ม.๑/๓ ค ๑.๓ ม.๑/๑ ม.๑/๒ ม.๑/๓ ค ๓.๑ ม.๑/๑ รวมทั้งหมด ๕ ตัวชว้ี ดั ❖ ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้
หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๕๑ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กลุ่มงานบรหิ ารวชิ าการ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๖ ค๒๒๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๓ กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๒ ภาคเรยี น ๑ เวลาเรยี น ๖๐ ช่ัวโมง จำนวน ๑.๕ หน่วยกิต ศึกษา คน้ ควา้ ฝกึ ทักษะ/กระบวนการเกีย่ วกบั เรื่องตอ่ ไปน้ี ทฤษฏีบทพีทาโกรัส ทฤษฎีบทพีทาโกรัสและบทกลับ การนำความรู้เกี่ยวกับทฤษฎีบทพีทา โกรัส และบทกลับไปใช้ในชวี ิตจริง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง จำนวนอตรรกยะ จำนวนจริง รากที่สองและรากที่สาม ของจำนวนตรรกยะ การนำความรู้เกี่ยวกับจำนวนจริงไปใช้ ปริซึมและทรงกระบอก การหาพื้นที่ผิวของปริซึมและทรงกระบอก การนำความรู้เกี่ยวกับ พื้นที่ผิวของปริซึมและทรงกระบอกไปใช้ในการแก้ปัญหา การหาปริมาตรของปริซึมและทรงกระบอก การ นำความรูเ้ กยี่ วกับปริมาตรของปรซิ ึมและทรงกระบอกไปใชใ้ นการแกป้ ัญหา การแปลงทางเรขาคณิต การเลื่อนขนาน การสะท้อน การหมุน การนำความรู้เกี่ยวกับการ แปลงทางเรขาคณิตไปใชใ้ นการแก้ปญั หา สมบัติของเลขยกกำลัง เลขยกกำลงั ทีม่ ีเลขช้ีกาลังเป็นจำนวนเต็ม การนำความรู้เกี่ยวกับเลข ยกกำลงั ไปใช้ ในการแก้ปัญหา พหุนาม การบวก การลบ การคูณของพหุนามและการหารพหุนามดว้ ยเอกนามที่มผี ลหารเป็น พหนุ าม โดยใช้ความรู้ ทักษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตร์และสมรรถนะสำคัญในการแก้ปัญหาต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม โดยใช้ความสามารถในการสื่อสารและสื่อความหมาย ความสามารถในการคิด ความสามารถในการแก้ปัญหา ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต และความสามารถในการใช้เทคโนโลยี มี วินัย มีความใฝ่เรียนรู้ มีความมุ่งมั่นในการทำงาน และมีจิตสาธารณะตามคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่ดี รวมทั้งเหน็ คณุ ค่าและมีเจตคติทีด่ ีต่อคณิตศาสตร์ รหสั ตัวช้ีวดั ค ๑.๑ ม.๒/๑ ม.๒/๒ ค ๑.๒ ม.๒/๑ ค ๒.๑ ม.๒/๑ ม.๒/๒ ค ๒.๒ ม.๒/๓ ม.๒/๕ รวมทั้งหมด ๗ ตัวช้ีวัด ❖ ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้
หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๕๒ ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กลุ่มงานบริหารวิชาการ ปีการศึกษา ๒๕๖๖ ค๒๒๑๐๒ คณติ ศาสตร์ ๔ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี ๒ ภาคเรยี น ๒ เวลาเรียน ๖๐ ชวั่ โมง จำนวน ๑.๕ หน่วยกิต ศกึ ษา คน้ คว้า ฝกึ ทกั ษะ/กระบวนการเกีย่ วกับเรือ่ งตอ่ ไปนี้ สถิติ(2) การนำเสนอและวิเคราะห์ข้อมูล แผนภาพจุด แผนภาพต้น ใบ ฮิสโทแกรม ค่ากลาง ของข้อมลู การแปลความหมายผลลัพธ์ การนำสถิติไปใช้ในชวี ิตจรงิ ความเท่ากันทุกประการ ความเท่ากันทุกประการของรูปสามเหลี่ยม การนำความรู้เกี่ยวกับ ความเทา่ กนั ทกุ ประการไปใชใ้ นการแก้ปัญหา เส้นขนาน สมบัติเกย่ี วกับเส้นขนานและรปู สามเหล่ยี ม การใหเ้ หตผุ ลทางเรขาคณติ การนำความรูเ้ กี่ยวกับการสร้างทางเรขาคณิตไปใช้ในชวี ิตจรงิ การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง โดยใช้ สมบตั กิ ารแจกแจง กำลังสองสมบรู ณ์ ผลตา่ งของกำลังสอง โดยใช้ความรู้ ทกั ษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตร์และสมรรถนะสำคญั ในการแก้ปัญหาต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม โดยใช้ความสามารถในการสื่อสารและสื่อความหมาย ความสามารถในการคิด ความสามารถในการแก้ปัญหา ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต และความสามารถในการใช้เทคโนโลยี มี วินัย มีความใฝ่เรียนรู้ มีความมุ่งมั่นในการทำงาน และมีจิตสาธารณะตามคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่ดี รวมทั้งเหน็ คุณคา่ และมีเจตคติทดี่ ตี อ่ คณิตศาสตร์ รหสั ตวั ช้ีวัด ค ๑.๒ ม.๒/๒ ค ๒.๒ ม.๒/๑ ม.๒/๒ ม.๒/๔ ค ๓.๑ ม.๒/๑ รวมท้ังหมด ๕ ตัวชี้วัด ❖ ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น
หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๕๓ ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กลุ่มงานบริหารวิชาการ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๖ ค๒๓๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๕ กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ ช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี ๓ ภาคเรยี น ๑ เวลาเรียน ๖๐ ชั่วโมง จำนวน ๑.๕ หน่วยกิต ศกึ ษา คน้ คว้า ฝกึ ทกั ษะ/กระบวนการเกี่ยวกบั เร่ืองต่อไปน้ี อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปร เดยี ว การนำความรเู้ กย่ี วกับการแก้อสมการเชงิ เส้นตัวแปรเดียวไปใชใ้ นการแกป้ ัญหา การแยกตวั ประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสงู กวา่ สอง การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูง กวา่ สอง สมการกำลังสองตัวแปรเดียว สมการกำลังสองตัวแปรเดียว การแก้สมการกำลังสองตัวแปร เดียว การนำความรู้เก่ยี วกับการแกส้ มการกำลงั สองตวั แปรเดยี วไปใช้ในการแกป้ ัญหา ความคลา้ ย รปู สามเหลย่ี มทค่ี ลา้ ยกนั การนำความร้เู กยี่ วกบั ความคล้ายไปใชใ้ นการแก้ปญั หา กราฟของฟังก์ชันกำลังสอง กราฟของฟังก์ชันกำลังสอง การนำความรู้เก่ียวกับฟังก์ชนั กำลงั สองไปใชใ้ นการแกป้ ญั หา สถิติ(3) ข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล แผนภาพกล่อง การแปลความหมายผลลัพธ์ การนำ สถิตไิ ปใช้ในชวี ิตจริง โดยใช้ความรู้ ทักษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตร์และสมรรถนะสำคัญในการแก้ปัญหาต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม โดยใช้ความสามารถในการส่ือสารและสื่อความหมาย ความสามารถในการคิด ความสามารถในการแก้ปัญหา ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต และความสามารถในการใช้เทคโนโลยี มี วินัย มีความใฝ่เรียนรู้ มีความมุ่งมั่นในการทำงาน และมีจิตสาธารณะตามคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่ดี รวมท้ังเห็นคณุ ค่าและมีเจตคติทดี่ ตี ่อคณิตศาสตร์ รหสั ตัวช้ีวัด ค ๑.๒ ม.๓/๑ ม.๓/๒ ค ๑.๓ ม.๓/๑ ม ๓/๒ ค ๒.๒ ม.๓/๑ ค ๓.๑ ม ๓/๑ รวมท้ังหมด ๖ ตัวชี้วัด ❖ ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้
หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๕๔ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กลุ่มงานบริหารวิชาการ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๖ ค๒๓๑๐๒ คณิตศาสตร์ ๖ กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๓ ภาคเรยี น ๒ เวลาเรยี น ๖๐ ช่ัวโมง จำนวน ๑.๕ หน่วยกิต ศึกษา ค้นควา้ ฝกึ ทกั ษะ/กระบวนการเก่ียวกบั เร่อื งต่อไปน้ี ระบบสมการเชิงเส้นสองตวั แปร ระบบสมการเชิงเส้นสองตวั แปร การแก้ระบบสมการเชิงเส้น สองตวั แปร การนำความร้เู กยี่ วกับการแกร้ ะบบสมการเชิงเสน้ สองตวั แปรไปใชใ้ นการแก้ปัญหา วงกลม วงกลม คอรด์ และเส้นสัมผสั ทฤษฎีบทเกย่ี วกับวงกลม พรี ะมดิ กรวย และทรงกลม การหาพ้นื ท่ีผิวและปริมาตรของพีระมดิ กรวย และทรงกลม การ นำความร้เู กยี่ วกบั พนื้ ทผ่ี วิ และปรมิ าตรของพีระมดิ กรวย และทรงกลม ไปใช้ในการแกป้ ัญหา ความน่าจะเป็น เหตุการณ์จากการทดลองสุ่ม ความน่าจะเป็น การนำความรู้เกี่ยวกับความ นา่ จะเปน็ ไปใชใ้ นชีวติ จรงิ อัตราส่วนตรีโกณมิติ อัตราส่วนตรีโกณมิติ การนำค่าอัตราส่วนตรีโกณมิติของมุม 30 องศา 45 องศา และ 60 องศา ไปใช้ในการแก้ปัญหา โดยใช้ความรู้ ทักษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตร์และสมรรถนะสำคัญในการแก้ปัญหาต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม โดยใช้ความสามารถในการสื่อสารและสื่อความหมาย ความสามารถในการคิด ความสามารถในการแก้ปัญหา ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต และความสามารถในการใช้เทคโนโลยี มี วินัย มีความใฝ่เรียนรู้ มีความมุ่งมั่นในการทำงาน และมีจิตสาธารณะตามคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่ดี รวมทั้งเห็นคุณคา่ และมีเจตคตทิ ่ดี ตี ่อคณิตศาสตร์ รหสั ตัวช้ีวดั ค ๑.๓ ม.๓/๓ ค ๒.๑ ม.๓/๑ ม.๓/๒ ค ๒.๒ ม.๓/๒ ม.๓/๓ ค ๓.๒ ม.๓/๑ รวมท้งั หมด ๖ ตัวช้ีวัด ❖ ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น
หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๕๕ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กลมุ่ งานบริหารวชิ าการ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๖ คำอธิบายรายวิชาเพ่มิ เตมิ ค๒๑๒๐๑ คณติ ศาสตร์เพิม่ เติม ๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๑ ภาคเรยี น ๑ เวลาเรียน ๒๐ ชั่วโมง จำนวน ๐.๕ หน่วยกติ ศึกษา คน้ คว้า ฝึกทกั ษะ/กระบวนการเกย่ี วกบั เร่อื งดังต่อไปน้ี รอบรคู้ ณิตศาสตร์ 1 ระบบตัวเลขโรมนั ระบบตวั เลขฐานตา่ งๆ เสริมสรา้ งพลังคดิ 1 ทกั ษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ การแก้ปญั หา การสือ่ สารสอ่ื ความหมาย ทางคณติ ศาสตร์ และการคิดสร้างสรรค์ โดยใช้ความรู้ ทักษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตร์และสมรรถนะสำคัญในการแก้ปญั หาต่าง ๆ ได้ อย่างเหมาะสม โดยใช้ความสามารถในการสื่อสารและสื่อความหมาย ความสามารถในการคิด ความสามารถในการแก้ปัญหา ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต และความสามารถในการใช้เทคโนโลยี มี วินัย มีความใฝ่เรียนรู้ มีความมุ่งมั่นในการทำงาน และมีจิตสาธารณะตามคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่ดี รวมทั้งเห็นคุณคา่ และมเี จตคตทิ ี่ดตี อ่ คณิตศาสตร์ ผลการเรียนรู้ ๑. อ่านและเขียนตัวเลขโรมนั ได้ ๒. บอกคา่ ของเลขโดดในตวั เลขฐานต่างๆที่กำหนดให้ได้ ๓. เขยี นตัวเลขฐานทก่ี ำหนดให้ได้ ๔. เข้าใจปัญหา คดิ วิเคราะห์วางแผนแก้ปญั หา และเลอื กใช้วิธกี ารที่เหมาะสมโดยคานึงถงึ ความ สมเหตสุ มผล ของคำตอบ พร้อมท้งั ตรวจสอบความถูกต้อง ๕. ให้เหตผุ ลรับฟังและใหเ้ หตุผลสนบั สนุนหรือโต้แยง้ เพื่อนำไปสู่ การสรุปโดยมีข้อเท็จจริงทาง คณติ ศาสตร์รองรบั ๖. ใช้รปู ภาษาและสัญลักษณ์ ทางคณิตศาสตร์ในการสอื่ สาร ส่ือความหมาย สรุปผล และ นำเสนอได้อยา่ งถกู ต้องชัดเจน รวมท้ังหมด ๖ ผลการเรียนรู้ ❖ ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้
หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๕๖ ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กลมุ่ งานบรหิ ารวชิ าการ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๖ ค๒๑๒๐๒ คณิตศาสตรเ์ พิม่ เติม ๒ กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ ช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ ๑ ภาคเรยี น ๒ เวลาเรียน ๒๐ ช่ัวโมง จำนวน ๐.๕ หน่วยกิต ศึกษา คน้ คว้า ฝกึ ทักษะ/กระบวนการเกยี่ วกับเร่อื งดงั ต่อไปน้ี รอบรคู้ ณิตศาสตร์ 2 พาลินโดรม ลาดบั ฟีโบนกั ชี แบบจำลองทางคณติ ศาสตร์ เสริมสร้างพลังคิด 2 ทกั ษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ การแกป้ ัญหา การสือ่ สารส่ือความหมาย ทางคณติ ศาสตร์ โดยใช้ความรู้ ทักษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตร์และสมรรถนะสำคัญในการแก้ปัญหาต่าง ๆ ได้ อย่างเหมาะสม โดยใช้ความสามารถในการสื่อสารและสื่อความหมาย ความสามารถในการคิด ความสามารถในการแก้ปัญหา ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต และความสามารถในการใช้เทคโนโลยี มี วินัย มีความใฝ่เรียนรู้ มีความมุ่งมั่นในการทำงาน และมีจิตสาธารณะตามคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่ดี รวมท้ังเหน็ คณุ คา่ และมเี จตคติที่ดีตอ่ คณิตศาสตร์ ผลการเรยี นรู้ ๑. บอกลกั ษณะของพาลินโดรมได้ ๒. สรา้ งพาลนิ โดรมทางคณิตศาสตร์ได้ ๓. เมื่อกำหนดจำนวนในลำดับฟีโบนกั ชใี หส้ ามารถหาจำนวนในลำดบั ถัดไปหรือก่อนหน้าได้ ๔. สร้างแบบจำลองทางคณิตศาสตร์อยา่ งงา่ ยในการแกป้ ัญหา ๕. เขา้ ใจปญั หา คดิ วิเคราะห์วางแผนแกป้ ญั หา และเลอื กใชว้ ิธกี ารท่เี หมาะสมโดยคานึงถึง ความ สมเหตุสมผล ของคำตอบ พร้อมทั้งตรวจสอบความถูกต้อง ๖. ใชร้ ปู ภาษาและสัญลักษณ์ ทางคณิตศาสตร์ในการส่ือสาร สื่อความหมาย สรปุ ผล และนำเสนอ ได้อย่างถูกตอ้ งชัดเจน ๗. ขยายแนวคดิ ที่มีอยเู่ ดิมหรือสร้างแนวคดิ ใหม่ เพื่อปรับปรงุ พัฒนาองค์ความรู้ รวมทั้งหมด ๗ ผลการเรยี นรู้ ❖ ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น
หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๕๗ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กลุ่มงานบรหิ ารวิชาการ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๖ ค๒๒๒๐๑ คณติ ศาสตรเ์ พ่มิ เติม ๓ กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๒ ภาคเรยี น ๑ เวลาเรียน ๒๐ ชัว่ โมง จำนวน ๐.๕ หนว่ ยกิต ศึกษา ค้นคว้า ฝึกทักษะ/กระบวนการเก่ียวกบั เรอ่ื งดงั ต่อไปน้ี การแปรผัน การแปรตรง การแปรผกผัน การแปรผกผันเกี่ยวเนื่อง และการนำไปใช้ในการ แกป้ ัญหา เสริมสร้างพลังคิด 3 การออกแบบหรือสร้างสรรค์งานศิลปะโดยใช้การแปลงทางเรขาคณิต โดย การเลอ่ื นขนาน การสะทอ้ น และการหมุนในการออกแบบหรือสร้างสรรค์ โดยใช้ความรู้ ทักษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตร์และสมรรถนะสำคัญในการแก้ปัญหาต่าง ๆ ได้ อย่างเหมาะสม โดยใช้ความสามารถในการสื่อสารและสื่อความหมาย ความสามารถในการคิด ความสามารถในการแก้ปัญหา ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต และความสามารถในการใช้เทคโนโลยี มี วินัย มีความใฝ่เรียนรู้ มีความมุ่งมั่นในการทำงาน และมีจิตสาธารณะตามคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่ดี รวมทัง้ เหน็ คุณคา่ และมีเจตคติทด่ี ตี อ่ คณิตศาสตร์ ผลการเรียนรู้ ๑. เขยี นสมการแสดงการแปรผันระหวา่ งปริมาณต่าง ๆ ท่แี ปรผนั ต่อกนั ได้ ๒. แก้ปัญหาหรือสถานการณท์ ี่กำหนดโดยใช้ความรูเ้ กย่ี วกบั การแปรผนั ได้ ๓. ใช้ความรเู้ กีย่ วกับเล่ือนขนาน การสะท้อน และการหมนุ ในการสร้างสรรค์หรืออกแบบงานศิลปะได้ รวมทั้งหมด ๓ ผลการเรียนรู้ ❖ ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้
หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๕๘ ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กลุม่ งานบริหารวชิ าการ ปีการศึกษา ๒๕๖๖ ค๒๒๒๐๒ คณิตศาสตร์เพิม่ เตมิ ๔ กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๒ ภาคเรยี น ๒ เวลาเรียน ๒๐ ชัว่ โมง จำนวน ๐.๕ หนว่ ยกติ ศกึ ษา ค้นควา้ ฝึกทักษะ/กระบวนการเกีย่ วกบั เรื่องดงั ต่อไปนี้ กรณฑ์ทส่ี อง การบวก และ ลบ ของจำนวนจรงิ ท่ีอยู่ในรูป √������ เม่อื a ≥ 0 การคูณของจำนวนจรงิ ที่ โดยใช้สมบัติ √������������ = √������ √������ เม่อื a ≥ 0 และ b ≥ 0 และการหารของจำนวนจริง โดยใชส้ มบตั ิ √������������ = √������ เมื่อ a ≥ 0 และ b ≥ 0 และการนำไปใชใ้ นการแก้ปญั หา √������ เสริมสรา้ งพลังคิด 4 การออกแบบ และสร้างผลงานโดยการสานจากวสั ดุเหลอื ใช้ โดยใชค้ วามรู้ ทกั ษะ/กระบวนการทางคณติ ศาสตร์และสมรรถนะสำคญั ในการแก้ปญั หาตา่ ง ๆ ได้ อย่างเหมาะสม โดยใช้ความสามารถในการส่อื สารและสื่อความหมาย ความสามารถในการคดิ ความสามารถในการแกป้ ญั หา ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวติ และความสามารถในการใช้เทคโนโลยี มี วนิ ยั มีความใฝ่เรียนรู้ มีความมุ่งมนั่ ในการทำงาน และมีจติ สาธารณะตามคุณลักษณะอันพงึ ประสงคท์ ด่ี ี รวมทั้งเห็นคณุ ค่าและมเี จตคตทิ ่ดี ตี ่อคณติ ศาสตร์ ผลการเรียนรู้ ๑. บวก ลบ คณู และหารจำนวนจริงทอี่ ยใู่ นรูปกรณท์ ่ีสองโดยใช้สมบัตขิ องกรณฑไ์ ด้ ๒. ออกแบบและสร้างผลงานโดยการสานจากวัสดเุ หลือใชไ้ ด้ รวมท้ังหมด ๒ ผลการเรยี นรู้ ❖ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๕๙ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กลมุ่ งานบริหารวชิ าการ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๖ ค๒๓๒๐๑ คณิตศาสตร์เพ่ิมเตมิ ๕ กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ ๓ ภาคเรยี น ๑ เวลาเรยี น ๒๐ ชว่ั โมง จำนวน ๐.๕ หน่วยกิต ศึกษา คน้ ควา้ ฝกึ ทักษะ/กระบวนการเกย่ี วกบั เรื่องดังตอ่ ไปน้ี เศษส่วนของพหุนาม การบวก การลบ การคูณและการหารเศษส่วนพหุนาม การแก้สมการ เศษส่วนของพหุนามและการแกโ้ จทยป์ ญั หา โดยใช้ความรู้ ทักษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตร์และสมรรถนะสำคัญในการแก้ปญั หาต่าง ๆ ได้ อย่างเหมาะสม โดยใช้ความสามารถในการสื่อสารและสื่อความหมาย ความสามารถในการคิด ความสามารถในการแก้ปัญหา ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต และความสามารถในการใช้เทคโนโลยี มี วินัย มีความใฝ่เรียนรู้ มีความมุ่งมั่นในการทำงาน และมีจิตสาธารณะตามคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่ดี รวมท้ังเหน็ คณุ ค่าและมีเจตคตทิ ี่ดีต่อคณิตศาสตร์ ผลการเรียนรู้ ๑. บวก ลบ คณู หารเศษสว่ นของพหนุ ามที่มีดีกรีไมเ่ กนิ หน่ึงได้ ๒. การแก้สมการเศษสว่ นของพหุนาม ๓. แก้โจทย์ปัญหาเกย่ี วกบั เศษส่วนพหนุ ามได้ รวมท้ังหมด ๓ ผลการเรียนรู้ ❖ ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน้
หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๖๐ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กล่มุ งานบริหารวชิ าการ ปีการศึกษา ๒๕๖๖ ค๒๓๒๐๒ คณติ ศาสตรเ์ พิ่มเติม ๖ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี ๓ ภาคเรยี นที่ ๒ เวลาเรียน ๒๐ ชวั่ โมง จำนวน ๐.๕ หน่วยกติ ศึกษา ค้นคว้า ฝึกทักษะ/กระบวนการเก่ยี วกบั เรอื่ งดงั ต่อไปน้ี เสริมสร้างพลังคิด 5 ความรู้เกี่ยวกับการทำโครงงานคณิตศาสตร์ เค้าโครงของโครงงาน คณิตศาสตร์ การปฏิบัติการทำโครงงานคณิตศาสตร์ การเขียนรายงานโครงงานคณิตศาสตร์ และการ นำเสนอโครงงานคณติ ศาสตร์ โดยใช้ความรู้ ทักษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตร์และสมรรถนะสำคัญในการแก้ปัญหาต่าง ๆ ได้ อย่างเหมาะสม โดยใช้ความสามารถในการสื่อสารและสื่อความหมาย ความสามารถในการคิด ความสามารถในการแก้ปัญหา ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต และความสามารถในการใช้เทคโนโลยี มี วินัย มีความใฝ่เรียนรู้ มีความมุ่งมั่นในการทำงาน และมีจิตสาธารณะตามคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่ดี รวมท้งั เห็นคณุ ค่าและมเี จตคติท่ดี ตี ่อคณิตศาสตร์ ผลการเรียนรู้ ๑. อธิบายความหมาย คณุ ค่า และประเภทของโครงงานคณิตศาสตร์ ๒. จดั ทำเค้าโครงของโครงงานคณิตศาสตร์ ๓. ดำเนินการทำโครงงานคณติ ศาสตร์ตามแผนปฏิบัติงาน ๔. เขียนรายงานโครงงานคณติ ศาสตร์ ๕. เสนอผลงานโครงงานคณติ ศาสตร์ รวมทั้งหมด ๕ ผลการเรยี นรู้ ❖ ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น
หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๖๑ ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กลมุ่ งานบริหารวชิ าการ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๖ คำอธบิ ายรายวิชา กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ❖ ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้
หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๖๒ ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กลุม่ งานบรหิ ารวิชาการ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๖ คำอธิบายรายวิชาพ้นื ฐาน ว๒๑๑๐๑ วทิ ยาศาสตร์ ๑ กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ ๑ ภาคเรยี นท่ี ๑ เวลาเรยี น ๖๐ ชั่วโมง จำนวน ๑.๕ หน่วยกิต ศกึ ษา วิเคราะห์ สมบัติทางกายภาพ ของธาตุทเี่ ป็น โลหะ อโลหะ ก่ึงโลหะ และธาตุกัมมันตรงั สี จุดเดือด จุดหลอมเหลว ความหนาแน่น และใช้เครื่องมือเพื่อวัดมวลและปริมาตรของสารบริสทุ ธิ์และสาร ผสม อะตอม ธาตุ และสารประกอบ โครงสร้างอะตอมที่ประกอบด้วยโปรตอน นวิ ตรอน และอเิ ล็กตรอน การจัดเรียงอนุภาคแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคและการเคลื่อนที่ของอนุภาค พลังงานความร้อนกับการ เปล่ยี นสถานะของสสาร เปรยี บเทยี บรปู ร่าง ลกั ษณะโครงสรา้ งและหนา้ ที่ของเซลล์พชื และเซลล์สัตว์ การ ใช้กล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง ความสัมพันธ์ระหว่างรูปร่างกับหน้าที่ของเซลล์ การจัดระบบสิ่งมีชีวิต กระบวนการแพร่และการออสโมซิส ปัจจัยที่จำเป็น และความสำคัญของกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง คณุ คา่ ของพืชท่ีมีต่อสงิ่ มีชวี ิตและส่ิงแวดล้อม การลำเลยี งสารของไซเลม็ และโฟลเอ็ม การสบื พันธแ์ุ บบอาศัย เพศและไม่อาศัยเพศ ลักษณะโครงสร้างดอก การถ่ายเรณู การปฏิสนธิ การเกิดผลและเมล็ด การ กระจาย การงอกของเมล็ด การเลือกใช้ธาตุอาหารที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช การขยายพันธุ์พืช ความสำคญั เทคโนโลยีการเพาะเลยี้ งเนอื้ เยอื่ พชื โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบ การสืบค้น ข้อมูล บันทึก จัดกลุ่มข้อมูล อธิบาย อภิปรายและสร้างแบบจำลอง เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความ เขา้ ใจ สามารถนำเสนอสื่อสารส่งิ ท่เี รียนรู้ มคี วามสามารถในการตัดสิน โดยใช้หลักฐานเชงิ ประจกั ษ์ท่ีได้จาก การสังเกต การทดลองแบบจำลอง และใช้สารสนเทศที่ได้จากแหล่งข้อมูลต่างๆ เห็นคุณค่าของการนำ ความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์ในชีวิตประจำวัน มจี ิตวิทยาศาสตร์ คณุ ธรรมจรยิ ธรรม และค่านยิ มท่เี หมาะสม รหัสตวั ช้ีวดั ว ๑.๒ ม.๑/๑ ม.๑/๒ ม.๑/๓ ม.๑/๔ ม.๑/๕ ม.๑/๖ ม.๑/๗ ม.๑/๘ ม.๑/๙ ม.๑/๑๐ ม.๑/๑๑ ม.๑/๑๒ ม.๑/๑๓ ม.๑/๑๔ ม.๑/๑๕ ม.๑/๑๖ ม.๑/๑๗ ม.๑/๑๘ ว ๒.๑ ม.๑/๑ ม.๑/๒ ม.๑/๓ ม.๑/๔ ม.๑/๕ ม.๑/๖ ม.๑/๗ ม.๑/๘ ม.๑/๙ ม.๑/๑๐ รวมตัวชีว้ ดั ๒๘ ตวั ชี้วดั ❖ ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้
หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๖๓ ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กล่มุ งานบรหิ ารวิชาการ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๖ ว๒๑๑๐๒ วิทยาศาสตร์ ๒ กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรยี นที่ ๒ เวลาเรยี น ๖๐ ชั่วโมง จำนวน ๑.๕ หน่วยกิต ศึกษา วิเคราะห์ คำนวณปริมาณความร้อนที่ทำให้สสารเปลี่ยนอุณหภูมิและสถานะ การใช้ เทอร์โมมิเตอร์ การขยายตัวหรือหดตัว การถ่ายโอนความร้อน ปริมาณความร้อนที่ถ่ายโอนระหว่างสสาร จนเกิดสมดุลความร้อน การนำความร้อน การพาความร้อน การแผ่รังสีความร้อน ความสัมพันธ์ความดัน อากาศกบั ความสูงจากพืน้ โลก การแบ่งช้ันบรรยากาศ องคป์ ระกอบของลมฟ้าอากาศ กระบวนการเกิดพายุ ฝนฟ้าคะนองและพายุหมุนเขตร้อน การพยากรณ์อากาศ และผลกระทบและการปฏิบัติตนของการ เปล่ียนแปลงภมู อิ ากาศโลก โดยใชก้ ระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบ การสืบค้นขอ้ มูล บันทึก จัดกลุ่มข้อมูล อธิบาย อภิปรายและสร้างแบบจำลอง เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถนำเสนอสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสิน โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ ที่ได้จากการ สงั เกต การทดลองแบบจำลอง และใช้สารสนเทศท่ีไดจ้ ากแหล่งขอ้ มลู ต่างๆ เหน็ คุณค่าของ การนำความรู้ ไปใชป้ ระโยชน์ในชวี ิตประจำวัน มจี ิตวิทยาศาสตร์ คณุ ธรรมจริยธรรม และค่านิยมท่ีเหมาะสม รหัสตัวชี้วัด ว ๒.๑ ม.๑/๑ ม.๑/๒ ม.๑/๓ ม.๑/๔ ม.๑/๕ ม.๑/๖ ม.๑/๗ ม.๑/๘ ม.๑/๙ ม.๑/๑๐ ว ๒.๒ ม.๑/๑ ว ๒.๓ ม.๑/๑ ม.๑/๒ ม.๑/๓ ม.๑/๔ ม.๑/๕ ม.๑/๖ ม.๑/๗ รวมตวั ชีว้ ดั ๑๘ ตวั ชว้ี ดั ❖ ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้
หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๖๔ ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กลุม่ งานบริหารวชิ าการ ปีการศึกษา ๒๕๖๖ ว๒๒๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๓ กลุ่มสาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี ๒ ภาคเรยี นท่ี ๑ เวลาเรียน ๖๐ ชั่วโมง จำนวน ๑.๕ หน่วยกิต ศึกษา วเิ คราะห์ โครงสร้างและหน้าท่ีของระบบตา่ งๆ ในร่างกายมนุษย์ ไดแ้ ก่ ระบบหายใจ ระบบ ขับถ่าย ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบประสาท ระบบสืบพันธุ์ และความสัมพันธ์ของระบบต่างๆ ของมนุษย์ การแยกของผสมโดยการระเหยแห้ง การตกผลึก การกลั่นอย่างง่าย โครมาโทกราฟีแบบกระดาษ การ สกดั ด้วยตัวทำละลาย นำวิธกี ารการแยกสารไปใช้แก้ปัญหาในชวี ติ ประจำวัน ผลของชนดิ ตัวละลาย ชนิดตัว ทำละลาย อุณหภูมิ และความดันที่มีต่อสภาพการละลายได้ของสาร ความเข้มข้นของสารและการใช้ สารละลายในชวี ิตประจำวันอยา่ งถูกตอ้ งและปลอดภัย โดยใชก้ ระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบ การสบื คน้ ขอ้ มูล บันทึก จัดกลุ่มข้อมูล อธิบาย อภิปรายและสร้างแบบจำลอง เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สื่อสาร สิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสิน โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ที่ได้จากการสังเกต การ ทดลอง และใช้สารสนเทศที่ได้จากแหล่งข้อมูลต่างๆ เห็นคุณค่าของการนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ใน ชีวิตประจำวนั มีจิตวิทยาศาสตร์ คุณธรรมจริยธรรม และค่านิยมท่เี หมาะสม รหสั ตัวช้ีวัด ว ๑.๒ ม.๒/๑ ม.๒/๒ ม.๒/๓ ม.๒/๔ ม.๒/๕ ม.๒/๖ ม.๒/๗ ม.๒/๘ ม.๒/๙ ม.๒/๑๐ ม.๒/๑๑ ม.๒/๑๒ ม.๒/๑๓ ม.๒/๑๔ ม.๒/๑๕ ม.๒/๑๖ ม.๒/๑๗ ว ๒.๑ ม.๒/๑ ม.๒/๒ ม.๒/๓ ม.๒/๔ ม.๒/๕ ม.๒/๖ รวมตัวช้วี ัด ๒๓ ตัวช้ีวัด ❖ ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้
หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๖๕ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กลุ่มงานบรหิ ารวิชาการ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๖ ว๒๒๑๐๒ วทิ ยาศาสตร์ ๔ กลุ่มสาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี ๒ ภาคเรยี นที่ ๒ เวลาเรียน ๖๐ ช่ัวโมง จำนวน ๑.๕ หน่วยกิต ศึกษา วิเคราะห์ แรงที่กระทำต่อวัตถุ ขนาดและทิศทางของแรง แรงลัพธ์และผลของแรงลัพธ์ที่มี ตอ่ วตั ถุ แรงกิริยาและแรงปฏกิ ิริยา แรงพยงุ ของของเหลว แรงเสียดทาน โมเมนตข์ องแรง การเคลื่อนท่ีของ วัตถุในแนวตรงและแนวโค้ง ความสัมพันธ์ระหว่างขนาดของแรงแม่เหล็ก แรงไฟฟ้า และแรงโน้มถ่วงท่ี กระทำต่อวัตถุกับระยะห่างจากแหล่งของสนามถึงวัตถุ อัตราเร็วและความเร็ว งานและพลังงาน หลักการ ทำงานของเครื่องกลอย่างง่าย พลังงานศักย์และพลังงานจลน์ การเปลี่ยนรูปพลังงาน กฎการอนุรักษ์ พลังงาน กระบวนการเกิด ลักษณะ และสมบัติของดิน การใช้และการปรับปรุงคุณภาพของดิน กระบวนการเกิด ลักษณะ และสมบัติของหิน ชนิด แหล่งที่พบ และประโยชน์ของหิน วัฏจักรหิน ลักษณะ และสมบัติทางกายภาพของแร่ ชนิด แหล่งที่พบ และประโยชน์ของแร่ กระบวนการเกิดแร่ แหล่งสำรวจ ในประเทศ และการใช้ประโยชน์ของปิโตรเลียม ถ่านหิน ก๊าซรรมชาติ ลักษณะและการเกิดแหล่งน้ำผวิ ดิน น้ำใต้ดิน การใช้ประโยชน์และการอนุรักษ์แหล่งน้ำในท้องถิ่น ธรณีพิบัติภัย ลักษณะโครงสร้างโลก ความสมั พนั ธ์ของระบบโลก กระบวนการเปลี่ยนแปลงทางธรณีวิทยาบนเปลอื กโลก โดยใช้กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบ การสืบคน้ ข้อมูล บันทึก จัดกลุ่มข้อมูล อธิบาย อภิปรายและสร้างแบบจำลอง เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สื่อสาร สิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสิน โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ที่ได้จากการสังเกต การ ทดลอง และใช้สารสนเทศที่ได้จากแหล่งข้อมูลต่างๆ เห็นคุณค่าของการนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ใน ชวี ติ ประจำวนั มจี ติ วทิ ยาศาสตร์ คณุ ธรรมจรยิ ธรรม และค่านยิ มทเ่ี หมาะสม รหัสตวั ชี้วดั ว ๒.๒ ม.๒/๑ ม.๒/๒ ม.๒/๓ ม.๒/๔ ม.๒/๕ ม.๒/๖ ม.๒/๗ ม.๒/๘ ม.๒/๙ ม.๒/๑๐ ม.๒/๑๑ ม.๒/๑๒ ม.๒/๑๓ ม.๒/๑๔ ม.๒/๑๕ ว ๒.๓ ม.๒/๑ ม.๒/๒ ม.๒/๓ ม.๒/๔ ม.๒/๕ ม.๒/๖ ว ๓.๒ ม.๒/๑ ม.๒/๒ ม.๒/๓ ม.๒/๔ ม.๒/๕ ม.๒/๖ ม.๒/๗ ม.๒/๘ ม.๒/๙ ม.๒/๑๐ รวมตัวชีว้ ัด ๓๑ ตัวช้ีวัด ❖ ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน้
หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๖๖ ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กลุ่มงานบริหารวิชาการ ปีการศึกษา ๒๕๖๖ ว๒๓๑๐๑ วิทยาศาสตร์ ๕ กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ ๓ ภาคเรยี นท่ี ๑ เวลาเรยี น ๖๐ ช่ัวโมง จำนวน ๑.๕ หน่วยกิต ศกึ ษา วเิ คราะห์ ความสัมพนั ธ์ระหว่างความตา่ งศักย์ กระแสไฟฟ้า และความตา้ นทาน โวลต์มิเตอร์ แอมมิเตอร์ วงจรไฟฟ้าเมือ่ ต่อตัวต้านทานแบบอนุกรมและแบบขนาน ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า การทำงานของชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์อย่างง่ายในวงจร ค่าไฟฟ้าของเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน การเลือกใช้ เครื่องใช้ไฟฟ้า การเกิดและส่วนประกอบของคลื่น คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าและสเปกตรัมคลื่น ประโยชน์และ อันตรายจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า สมบัติของแสง การเคลื่อนที่ของแสง ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวกับแสง การ เกดิ ภาพของทัศนอปุ กรณ์และเลนส์ตา ความสว่างของแสง การโคจรของดาวเคราะห์รอบดวงอาทิตย์ แรง โน้มถ่วง การเกิดฤดู ปรากฏของดวงอาทิตย์ การเกิดข้างขึ้นข้างแรม การขึ้นและตกของดวงจันทร์ และ การเกดิ นำ้ ขึน้ น้ำลง โดยใชก้ ระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบ การสบื คน้ ข้อมูล บันทึก จัดกลุ่มข้อมูล อธิบาย อภิปรายและสร้างแบบจำลอง เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสิน โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ที่ได้จากการสังเกต การ ทดลอง และใช้สารสนเทศที่ได้จากแหล่งข้อมูลต่างๆ เห็นคุณค่าของการนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ใน ชวี ติ ประจำวัน มีจติ วทิ ยาศาสตร์ คณุ ธรรมจรยิ ธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม รหัสตวั ชี้วดั ว ๒.๓ ม.๓/๑ ม.๓/๒ ม.๓/๓ ม.๓/๔ ม.๓/๕ ม.๓/๖ ม.๓/๗ ม.๓/๘ ม.๓/๙ ม.๓/๑๐ ม.๓/๑๑ ม.๓/๑๒ ม.๓/๑๓ ม.๓/๑๔ ม.๓/๑๕ ม.๓/๑๖ ม.๓/๑๗ ม.๓/๑๘ ม.๓/๑๙ ม.๓/๒๐ ม.๓/๒๑ ว ๓.๑ ม.๓/๑ ม.๓/๒ ม.๓/๓ ม.๓/๔ รวมตัวชวี้ ัด ๒๕ ตวั ช้ีวดั ❖ ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น
หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๖๗ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กล่มุ งานบรหิ ารวชิ าการ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๖ ว๒๓๑๐๒ วทิ ยาศาสตร์ ๖ กลุ่มสาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๓ ภาคเรยี นท่ี ๒ เวลาเรียน ๖๐ ชั่วโมง จำนวน ๑.๕ หน่วยกิต อธิบาย สำรวจ ปฏิสัมพันธ์ขององค์ประกอบของระบบนิเวศ ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับ ส่ิงมชี ีวติ รูปแบบต่าง ๆ การถ่ายทอดพลังงานในสายใยอาหาร ความสัมพันธ์ของสิ่งมชี วี ติ และสิ่งแวดล้อมใน ระบบนิเวศ ความสัมพันธ์ระหว่างยีน ดีเอ็นเอ และโครโมโซม การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม การ เกิดจีโนไทป์และฟีโนไทป์ของลูก ความแตกต่างของการแบ่งเซลล์ของสิ่งมีชีวิต การเปลี่ยนแปลงของยีน หรือโครโมโซม โรคทางพันธุกรรม การใช้ประโยชน์จากสิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม ความหลากหลายทาง ชีวภาพ วัสดุประเภทพอลิเมอร์ เซรามิกส์ และวัสดุผสม การเกิดปฏิกิริยาเคมี กฎทรงมวล ปฏิกิริยาดูด ความร้อน และปฏิกิริยาคายความร้อน การเปลี่ยนแปลงพลังงานความร้อนของปฏิกิริยาเคมี การเกิด ฝน กรด การสังเคราะหด์ ว้ ยแสง โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบ การสบื คน้ ข้อมูล บันทึก จัดกลุ่มข้อมูล อธิบาย อภิปราย และสร้างแบบจำลอง เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสิน โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ที่ได้จากการสังเกต การ ทดลอง และใช้สารสนเทศที่ได้จากแหล่งข้อมูลต่างๆ เห็นคุณค่าของการนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ใน ชวี ติ ประจำวนั มจี ติ วทิ ยาศาสตร์ คุณธรรมจรยิ ธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม รหสั ตัวชี้วดั ว ๑.๑ ม.๓/๑ ม.๓/๒ ม.๓/๓ ม.๓/๔ ม.๓/๕ ม.๓/๖ ว ๑.๓ ม.๓/๑ ม.๓/๒ ม.๓/๓ ม.๓/๔ ม.๓/๕ ม.๓/๖ ม.๓/๗ ม.๓/๘ ม.๓/๙ ม.๓/๑๐ ม.๓/๑๑ ว ๒.๑ ม.๓/๑ ม.๓/๒ ม.๓/๓ ม.๓/๔ ม.๓/๕ ม.๓/๖ ม.๓/๗ ม.๓/๘ รวมตัวชว้ี ัด ๒๕ ตวั ชว้ี ดั ❖ ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน้
หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๖๘ ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กลมุ่ งานบรหิ ารวิชาการ ปีการศึกษา ๒๕๖๖ ว๒๑๑๐๓ เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑ กลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๑ ภาคเรียนท่ี ๑ เวลาเรียน ๒๐ ชั่วโมง จำนวน ๐.๕ หน่วยกติ ศึกษารวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับชื่อและหน้าทีข่ องอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ สามารถตรวจเช็คอุปกรณ์ทั้ง ก่อนและหลังการใช้งาน ศึกษาขั้นตอนการเปิดและปิดเครื่องคอมพิวเตอร์อย่างถูกวิธี ศึกษาวิธีการสืบค้น ข้อมูลโดยใช้ Internet เพื่อช่วยในการใช้งานคอมพิวเตอร์ วิธีการใช้งานโปรแกรมประมวลคำ (Microsoft Word ๒๐๑๐) การใช้คำสั่งต่าง ๆ ของโปรแกรม การสร้างชิ้นงานรวมถึงการเก็บบันทึกและการนำผลงาน ออกทางเคร่อื งพมิ พ์ได้ ปฏิบัติ ฝึกทักษะพิเศษทางด้านการใช้โปรแกรมประมวลคำ (Microsoft Word ๒๐๑๐) ในการ สร้างเอกสารรายงาน จดหมาย หรือบันทึกต่าง ๆ แก้ไขเอกสารการปรับปรุงหน้าตาของเอกสาร เอกสารท่ี ซับซ้อน เอกสารทางวิชาการ ทำงานแบบออนไลน์ ออกแบบและจัดรูปแบบสิ่งพิมพ์ ตารางที่ซับซ้อน จดหมายเวียน สร้างเอกสารให้ใชง้ านในอินเทอรเ์ น็ต คยี ล์ ดั และหลักการเลื่อน Cursor ทค่ี วรรใู้ นการใช้งาน ส่งั พิมพ์จดหมายเวียน โดยใชก้ ระบวนการทางเทคโนโลยสี ารสนเทศและภูมปิ ญั ญาท้องถน่ิ มีกระบวนการสร้างความคิดรวบยอด กระบวนการฝึกปฏิบัติ กระบวนการออกแบบ กระบวนการ จัดการกระบวนการแก้ปัญหา กระบวนการคิดวิเคราะห์ มีนิสัยรักการทำงาน รักการค้นคว้า มีความ รับผิดชอบ ทำงานรว่ มกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข มสี มาธใิ นการทำงานจนสามารถนำทักษะปฏิบัติงานไปใช้ ในชวี ิตประจำวนั ได้ รหัสตวั ชีว้ ดั ว๔.๑ ม. ๑/๑ ม.๑/๒ ม.๑/๓ ว๔.๒ ม. ๑/๑ ม.๑/๒ ม.๑/๔ รวมท้ังหมด ๖ ตัวชวี้ ัด ❖ ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน้
หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๖๙ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กล่มุ งานบรหิ ารวชิ าการ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๖ ว๒๑๑๐๔ เทคโนโลยีสารสนเทศ ๒ กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ ๑ ภาคเรียนท่ี ๒ เวลาเรยี น ๒๐ ชัว่ โมง จำนวน ๐.๕ หน่วยกติ ศึกษาความหมาย บทบาท ความสำคัญ ผลกระทบ ลักษณะสำคัญ องค์ประกอบของระบบ เทคโนโลยสี ารสนเทศ หลกั การทำงานของระบบคอมพวิ เตอรไ์ ด้ รบู้ ทบาทและประโยชนข์ องระบบคอมพวิ เตอร์ โดยใหผ้ เู้ รยี นศึกษาข้อมูล สารสนเทศ องค์ประกอบ ของคอมพิวเตอร์ การประมวลผล ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ การใชโ้ ปรแกรมพ้ืนฐาน ซอฟต์แวร์ สำเร็จรูป การประมวลคำ โปรแกรมกราฟกิ อยา่ งงา่ ย เพอ่ื ให้สามารถใชค้ ำส่งั พืน้ ฐานของระบบปฏบิ ตั ิการ มกี ระบวนการสร้างความคดิ รวบยอด กระบวนการฝกึ ปฏิบตั ิ กระบวนการออกแบบ กระบวนการจดั การ กระบวนการแก้ปัญหา กระบวนการคิดวิเคราะห์ มีนิสัยรักการทำงาน รักการค้นคว้า มีความรับผิดชอบ ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข มีสมาธิในการทำงานจนสามารถนำทักษะปฏิบัติงานไปใช้ใน ชีวิตประจำวันได้ รหัสตวั ชีว้ ดั ว๔.๑ ม.๑/๓ ม. ๑/๔ ม.๑/๕ ว๔.๒ ม.๑/๒ ม.๑/๓ ม.๑/๔ รวมท้ังหมด ๖ ตัวช้ีวดั ❖ ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น
หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๗๐ ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กลุม่ งานบริหารวิชาการ ปีการศึกษา ๒๕๖๖ ว๒๒๑๐๓ เทคโนโลยีสารสนเทศ ๓ กลุ่มสาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๒ ภาคเรยี นท่ี ๑ เวลาเรียน ๒๐ ชั่วโมง จำนวน ๐.๕ หนว่ ยกิต อธิบายหลักการเบื้องต้นของการสื่อสาร ข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์หลักการและวิธีการ แก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ หลักการค้นหาและข้อมูลติดต่อสื่อสารผ่านเครือข่าย คอมพิวเตอร์อย่างมีคุณธรรมและจริยธรรม การใช้ซอฟต์แวร์ในการทำงาน โดยค้นหาศึกษาการสื่อสาร ข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์หลักการและวิธีการแก้ปัญหา ด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ หลักการค้นหาข้อมูลและติดต่อสื่อสารผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์อย่างมีคุณธรรมและจริยธรรม การใช้ ซอฟต์แวร์ในการทำงาน เพื่อให้มที กั ษะในการใช้คอมพิวเตอร์ ในการส่อื สารข้อมลู แก้ปญั หาดว้ ยกระบวนการ เทคโนโลยี สารสนเทศ ติดต่อสื่อสารผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์อยา่ งมีคุณธรรมและจริยธรรม การใช้ซอฟต์แวร์ในการ ทำงาน และสารมารถเผยแพร่ผลงานได้ รหสั ตัวช้ีวัด ว ๔.๑ ม.๒/๑ ม.๒/๒ ม.๒/๓ ม.๒/๔ ม.๒/๕ ว ๔.๒ ม.๒/๑ ม.๒/๒ ม.๒/๔ รวมท้ังหมด ๘ ตัวช้ีวัด ❖ ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น
หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๗๑ ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กลมุ่ งานบรหิ ารวชิ าการ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๖ ว๒๒๑๐๔ เทคโนโลยสี ารสนเทศ ๔ กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี ๒ ภาคเรียนท่ี ๒ เวลาเรียน ๒๐ ช่ัวโมง จำนวน ๐.๕ หน่วยกิต ศึกษา อภิปราย และฝึกทักษะทางด้านตารางการทำงานด้วยโปรแกรม Microsoft Excel ๒๐๑๐ ทักษะการใช้สมุดงานการใช้สูตรและฟังก์ชัน ตกแต่งแผ่นงานและสมุดงาน เทคนิคการจัดรูปแบบแผ่นงาน แทรกรูปภาพ แผนผงั และวัตถอุ ื่น ๆ วาดภาพและปรบั แต่งรายละเอียดของวัตถุ เทคนคิ แผนภูมิ การบริหาร ข้อมลู บนแผน่ งาน สร้างแผน่ งานใหม้ คี วามสามารถสูงข้ึน การใช้สมุดงานร่วมกันประยกุ ตใ์ ช้งาน โดยใช้กระบวนการทางเทคโนโลยีสารสนเทศและภูมิปัญญาท้องถิ่น กระบวนการสร้าง ความคิด รวบยอด กระบวนการฝึกปฏิบัติ กระบวนการออกแบบ กระบวนการจัดการ กระบวนการแก้ปัญหา กระบวนการคิดวเิ คราะห์ มีนิสยั รกั การทำงาน รักการคน้ คว้า มีความรับผดิ ชอบ ทำงานร่วมกับผู้อ่ืนได้อย่าง มคี วามสขุ มสี มาธใิ นการทำงานจนสามารถนำทักษะปฏิบัติงานไปใช้ในชีวิตประจำวนั ได้ รหัสตวั ชวี้ ัด ว ๔.๑ ม.๒/๑ ม.๒/๒ ม.๒/๓ ม.๒/๔ ม.๒/๕ ว ๔.๒ ม.๒/๒ ม.๒/๓ ม.๒/๔ รวมทั้งหมด ๘ ตัวชี้วัด ❖ ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น
หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๗๒ ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กลุ่มงานบรหิ ารวิชาการ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๖ ว๒๓๑๐๓ เทคโนโลยสี ารสนเทศ ๕ กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี ๓ ภาคเรยี นท่ี ๑ เวลาเรยี น ๒๐ ชัว่ โมง จำนวน ๐.๕ หน่วยกติ ศึกษาข้อมูลสารสนเทศ การประมวลผลข้อมูลให้เป็นสารเทศ การค้นคว้าข้อมูลผ่านเครือข่าย อินเตอร์เน็ต ศึกษาระบบปฏิบัติการวินโดส์ การใช้โปรแกรมนำเสนองานปฏิบัติ ฝึกทักษะการนำเสนองาน ด้วยโปรแกรม Microsoft PowerPoint การเรียกใช้โปรแกรม สร้างงานนำเสนอผลงาน การเรียกดูสไลด์ใน มุมมองต่าง ๆ การใสข่ อ้ ความลงในสไลด์ การตกแตง่ ขอ้ ความ จัดการกบั รายการย่อย ใส่กลอ่ งขอ้ ความลงใน สไลด์ ตกแต่งแผ่นสไลด์ วาดรูปลงในโปรแกรมนำเสนอผลงาน ใส่รูปภาพหรือรูปวาดตา่ ง ๆ แทรกข้อความ ศิลป์ สร้างผังองค์กร แทรกเสียงและใส่ภาพเคลื่อนไหว การเชื่อมโยง จัดเตรียมงานนำเสนอ และการ นำเสนอ ทำเอกสารประกอบการบรรยาย กำหนดรูปแบบการนำเสนอผลงาน การสั่งฉายสไลด์ด้วยตนเอง สร้างชิ้นงานโดยค้นหาข้อมูลจากห้องสมุดหรืออินเทอร์เน็ตมาช่วยในการนำเสนอเรื่อง วันสำคัญต่าง ๆ ประวัติบคุ คลสำคัญของโรงเรียนและจังหวัดสุรินทร์ ภูมิปญั ญาท้องถ่ิน น้ำ และทรพั ยากรธรรมชาติ การทำ แผนภูมิ โครงสร้างงานบริหารโรงเรียน กิจกรรมภายในโรงเรียน และสื่อการสอนในรายวิชาต่าง ๆ ตาม ความถนัด โดยใช้กระบวนการทางเทคโนโลยีสารสนเทศและภูมิปญั ญาทอ้ งถิ่น กระบวนการสรา้ งความคดิ รวบ ยอด กระบวนการฝึกปฏิบัติ กระบวนการออกแบบ กระบวนการจัดการ กระบวนการแก้ปัญหา กระบวนการคิดวเิ คราะห์ มนี ิสัยรกั การทำงาน รกั การค้นคว้า มคี วามรบั ผดิ ชอบ ทำงานร่วมกบั ผู้อื่นได้อย่าง มีความสขุ มสี มาธใิ นการทำงาน จนสามารถนำทักษะปฏิบัติงานไปใช้ในชวี ิตประจำวันได้ รหสั ตวั ชีว้ ัด ว ๔.๑ ม.๓/๑ ม.๓/๒ ม.๓/๓ ม.๓/๔ ม.๓/๕ ว ๔.๒ ม.๓/๒ ม.๓/๓ ม.๓/๔ รวมท้ังหมด ๘ ตัวช้ีวัด ❖ ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้
หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๗๓ ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กลุม่ งานบริหารวิชาการ ปีการศึกษา ๒๕๖๖ ว๒๓๑๐๔ เทคโนโลยีสารสนเทศ ๖ กลุ่มสาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ ๓ ภาคเรียนท่ี ๒ เวลาเรียน ๒๐ ชว่ั โมง จำนวน ๐.๕ หนว่ ยกติ ศึกษาและอธิบายหลักการทำโครงงานที่มีการใช้เทคโนโลยี อธิบายเกี่ยวกับระดับของเทคโนโลยี สร้างสิ่งของเครื่องใช้หรือวิธกี ารตามกระบวนการเทคโนโลยี เขียนโปรแกรมภาษาข้ันพืน้ ฐาน ใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ นำเสนองานในรปู แบบท่ีเหมาะสมกับลักษณะงาน ใช้คอมพิวเตอร์ช่วย สร้างชิ้นงาน(แอปพลิเค ชัน)จากจินตนาการหรอื งานท่ีทำในชวี ิตประจำวนั หรืองานท่เี ก่ยี วข้องกบั สาระวชิ าอืน่ เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจและทักษะเบื้องต้นเกี่ยวกับการทำโครงงาน การออกแบบ การเขียน โปรแกรมขั้นพื้นฐาน หลักการทำโครงงาน การประยุกต์ โปรมแกรมคอมพิวเตอร์และวิชาต่าง ๆ ที่เรียนมา จดั ทำโครงงานขนาดเล็กอยา่ งมีจิตสำนึกและความรบั ผิดชอบสามารถจัดทำโครงงาน โดยใชโ้ ปรมแกรมต่าง ๆ ที่เรียนมา วางแผน ออกแบบผลงาน ผลิตชิ้นงาน นำเสนอผลงานโดยใช้เทคโนโลยีแบบต่าง ๆ เพื่อให้มี ความรู้ ความเข้าใจ และทกั ษะการใช้โปรแกรม คอมพวิ เตอร์เพือ่ สรา้ งโครงงานคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กได้ รหสั ตัวชี้วดั ว ๔.๑ ม.๓/๑ ม.๓/๒ ม.๓/๓ ม.๓/๔ ม.๓/๕ ว ๔.๒ ม.๓/๑ ม.๓/๒ ม.๓/๓ รวม ๘ ตัวชี้วดั ❖ ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้
หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๗๔ ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กลุม่ งานบริหารวชิ าการ ปีการศึกษา ๒๕๖๖ คำอธบิ ายรายวิชาเพิม่ เตมิ ว๒๑๒๐๑ ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี ๑ ภาคเรยี นท่ี ๑ เวลาเรยี น ๒๐ ช่ัวโมงจำนวน ๐.๕ หน่วยกิต ศึกษาวิเคราะห์ ตั้งคำถามที่กำหนดประเด็นหรือตัวแปรที่สำคัญในการสำรวจตรวจสอบ หรือ ศึกษาค้นคว้าเรื่อง ที่สนใจ ได้อย่างครอบคลุ่ม และเชื่อถือได้ สร้างสมมติฐานที่สามารถตรวจสอบได้และ วางแผน การสำรวจตรวจสอบหลาย ๆ วิธีเลือกเทคนิควิธีการสำรวจตรวจสอบทั้งเชิงปริมาณและเชิง คุณภาพทไ่ี ดผ้ ลเทย่ี งตรงและปลอดภัย โดยใช้วสั ดแุ ละเคร่ืองมือท่ีเหมาะสม รวบรวมข้อมูลจัดกระทำข้อมูล เชงิ ปริมาณและคุณภาพ.วเิ คราะห์และประเมินความสอดคล้องของประจักษ์พยานกับข้อสรุป ทั้งที่สนับสนุน หรือขัดแย้งกับสมมติฐานและความผิดปกติของข้อมูลจากการสำรวจตรวจสอบสร้างแบบจำลอง หรือ รูปแบบ ท่อี ธบิ ายผล หรือแสดงผลของการสำรวจตรวจสอบ สร้างคำถามท่ีนำไปสู่การสำรวจตรวจสอบ ใน เรอ่ื งท่เี ก่ยี วข้องและนำความรู้ทไ่ี ด้ไปใช้ ในสถานการณ์ใหม่หรืออธิบายเก่ยี วกับแนวคิด กระบวนการและผล ของโครงงานหรือชิ้นงานให้ผู้อื่นเข้าใจ บันทึกและอธิบายผลการสังเกตการสำรวจ ตรวจสอบ ค้นคว้า เพิ่มเติมจากแหล่งความรู้ต่าง ๆ ให้ได้ข้อมูลที่เชื่อถือได้ และยอมรับการเปลี่ยนแปลงความรู้ที่ค้นพบ เมื่อมี ข้อมูลและประจักษ์พยานใหม่เพิ่มขึ้นหรือโต้แย้งจากเดิม จัดแสดงผลงาน เขียนรายงาน และ/หรืออธิบาย เกี่ยวกับแนวคิด กระบวนการ และผลของโครงงานหรือชิ้นงานให้ผู้อื่นเข้าใจ และมีจิตวิทยาศาสตร์ เพื่อให้ เกิดความรู้ ความคิด ความเขา้ ใจ สามารถส่ือสารสง่ิ ท่เี รียนรู้ มีความสามารถในการตดั สินใจ นำความรู้ไปใช้ ในชีวติ ประจำวนั จริยธรรม คุณธรรม และค่านยิ มท่ีเหมาะสม ผลการเรยี นรู้ ๑. มเี จตคตทิ างวทิ ยาศาสตร์ และมเี จตคติทด่ี ีต่อวชิ าวิทยาศาสตร์ ๒. มีความเขา้ ใจเกี่ยวกับวธิ กี ารทางวทิ ยาศาสตร์และอธิบายทักษะกระบวนการ ๓. มที ักษะการสังเกต การวดั การจัดจำแนกประเภท การหาความสมั พนั ธข์ องพ้นื ท่ี การจัดกระทำ และส่อื ความหมายข้อมูลเบอื้ งต้น รวมทั้งการลงความเหน็ จากข้อมูล ๔. ทำกิจกรรมที่นำไปสูค่ วามเข้าใจเกี่ยวกบั การตั้งสมมตฐิ าน ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม และตัวแปร ควบคุม การทดลอง และสามารถการตีความหมายขอ้ มูลจากผลการทดลอง ๕. มคี วามเข้าใจเกีย่ วกับนยิ ามเชงิ ปฏิบตั ิการ ๖. ออกแบบการทดลองและมีทกั ษะการทดลอง ๗. ทำแฟม้ สะสมผลงาน รวมทง้ั หมด ๗ ผลการเรียนรู้ ❖ ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น
หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๗๕ ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กลมุ่ งานบรหิ ารวิชาการ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๖ ว๒๑๒๐๒ ปฏิบัติการทางวทิ ยาศาสตร์ กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี ๑ ภาคเรยี นที่ ๒ เวลาเรยี น ๒๐ ช่วั โมง จำนวน ๐.๕ หน่วยกติ การทำปฏิบัติการ การแพร่ ออสโมซีส การเก็บตัวอย่างพืช สัตว์ การตรวจสอบเซลล์ด้วยกล้อง จุลทรรศน์ การไตเตรตหาปริมาณวิตามินซีในนํ้าผลไม้ ปฏิบัติการทางฟิสิกส์ การพับเครื่องร่อน การผ่าตัด สัตว์ทดลองเพื่อศึกษาระบบอวัยวะ การตรวจสอบสารอาหาร การวัดค่าต่าง ๆด้วยเทคนิคทางเคมี และ ปฏิบัตกิ ารทางฟิสกิ ส์ และปฏิบตั กิ ารทางชวี วทิ ยาอ่นื ๆ โดยใชท้ กั ษะการสังเกต การลงมือทำ และฝึกการจด บันทึกผลการทดลองอยา่ งเป็นระเบียบ ผลการเรียนรู้ ๑. มีความเขา้ ใจ และทกั ษะในการใช้เครื่องมือวิทยาศาสตรพ์ ้นื ฐาน ๒. มคี วามรคู้ วามเขา้ ใจ และทักษะในการใช้หอ้ งปฏบิ ตั ิการวิทยาศาสตร์ ๓. มีทักษะในการใช้ ดแู ลรักษา กลอ้ งจลุ ทรรศน์ และคำนวณหากำลังขยายของกล้องจุลทรรศน์ ๔. ทำการทดลองวิทยาสาสตรอ์ ย่างง่ายในเชิง เคมี ชีววิทยา ฟสิ ิกส์ ๕. ทำงานเป็นกลุ่ม มคี วามริเรม่ิ สรา้ งสรรค์ในการแสดงความคิดเหน็ ๖. จดบันทกึ ผลการทดลอง และเขียนรายงานการปฏบิ ตั ิการทดลองได้ถูกต้อง โดยยดึ ระบบเลข นัยสำคญั ๗. ทำปฏิบตั กิ ารทางวิทยาศาสตรอ์ ยา่ งอิสระเพื่อวเิ คราะหเ์ ชงิ ปรมิ าณและคุณภาพ รวมท้ังหมด ๗ ผลการเรยี นรู้ ❖ ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น
หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๗๖ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กลุม่ งานบริหารวชิ าการ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๖ ว๒๒๒๐๑ โครงงานวทิ ยาศาสตรพ์ นื้ ฐาน กลมุ่ สาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ ๒ ภาคเรยี นที่ ๑ เวลาเรียน ๒๐ ชวั่ โมง จำนวน ๐.๕ หน่วยกิต การเรียนการสอนรายวิชา โครงงานวิทยาศาสตร์กับคุณภาพชีวิต ประกอบด้วยโครงงานประเภท ต่างๆ และกจิ กรรมทใี่ หน้ กั เรียนทำโครงงานวทิ ยาศาสตรต์ ามความสนใจ ต้ังแตเ่ ริ่มจนทำโครงงานสำเร็จการ ทำโครงงานเน้นให้นักเรียนฝึกคิด วิเคราะห์ปัญหาที่สนใจที่จะทำโครงงาน คิดออกแบบการทดลองได้และ ตัดสินใจเลือกวิธีการที่เหมาะสม มีการวางแผนการดำเนินงานเพื่อลงมือปฏิบัติทดลองได้อย่างเป็นขั้นตอน และมีระบบ บันทึกผล วิเคราะห์ผล สรุปผล และเขียนรายงาน ตลอดจนนำเสนอผลงานและแสดงผลงาน ของโครงงานวิทยาศาสตร์ การทำกิจกรรมจะช่วยพัฒนานักเรียนให้สามารถคิดเป็น ทำเป็น และแก้ปัญหา ผลการศกึ ษาค้นคว้าในระดับของนักเรยี นจะขยายไปถึงขนั้ นำไปใชแ้ ก้ปัญหาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ใน ทอ้ งถ่นิ ส่งผลต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของตนและชมุ ชนได้ ผลการเรียนรู้ ๑. มคี วามรู้ความเข้าใจและบอกความหมายของโครงงานวิทยาศาสตร์ วมทงั้ จำแนกชนิดโครงงาน ประเภทตา่ ง ๆ ๒. ระบุขน้ั ตอนการทำโครงงานวิทยาศาสตร์ ๓. ระบุปญั หา ตั้งสมมตฐิ าน กำหนดตวั แปรต้น ตัวแปรตาม ตวั แปรควบคุมและกำหนดนิยามเชงิ ปฏบิ ัตกิ าร จากปัญหาและสถานการณท์ ่ีกำหนดให้ ๔. ออกแบบข้ันตอนการดำเนินงาน และเขยี นเคา้ โครงโครงงานจากปัญหาและสถานการณท์ ่ี กำหนดให้ ๕. บนั ทึกผลการดำเนินงาน แปรความหมายข้อมลู สรปุ และวิจารณผ์ ลจากข้อสรปุ ๖. เขียนรายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ ๗. นำเสนอและแสดงผลงานโครงงานวิทยาศาสตร์ รวมท้ังหมด ๗ ผลการเรยี นรู้ ❖ ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้
หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๗๗ ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กลมุ่ งานบรหิ ารวชิ าการ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๖ ว๒๒๒๐๒ โครงงานวทิ ยาศาสตร์ กลุม่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๒ ภาคเรยี นท่ี ๑ เวลาเรียน ๒๐ ชั่วโมง จำนวน ๐.๕ หนว่ ยกติ การเรียนการสอนรายวิชา โครงงานวิทยาศาสตร์ทางวิทยาศาสตร์ ประกอบด้วยโครงงานประเภท สำรวจ ทดลอง และสิ่งประดิษฐ์ และกิจกรรมที่ให้นักเรียนทำโครงงานวิทยาศาสตร์ตามความสนใจ ตั้งแต่ เร่ิมจนทำโครงงานสำเร็จ การทำโครงงานเนน้ ให้นักเรียนฝึกคดิ วิเคราะหป์ ัญหาท่ีสนใจท่ีจะทำโครงงาน คิด ออกแบบการประดิษฐ์และทดลองประสิทธิภาพได้ และตัดสินใจเลือกวิธีการที่เหมาะสม มีการวางแผนการ ดำเนินงานเพื่อลงมือปฏิบัติทดลองได้อย่างเป็นขั้นตอนและมีระบบ บันทึกผล วิเคราะห์ผล สรุปผล และ เขียนรายงาน ตลอดจนนำเสนอผลงานและแสดงผลงานของโครงงานวิทยาศาสตร์ การทำกิจกรรมจะช่วย พัฒนานกั เรียนใหส้ ามารถคิดเป็น ทำเป็น และแก้ปญั หา ผลการศึกษาค้นคว้าในระดับของนักเรียนจะขยาย ไปถึงขั้นนำไปใชแ้ กป้ ัญหาวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยใี นทอ้ งถ่ินสง่ ผลต่อการพัฒนาด้านตา่ งๆ ได้ ผลการเรียนรู้ ๑. ระบุปัญหาจากชวี ติ ประจำวันเพ่ือนำไปสกู่ ารทำโครงงานวิทยาศาสตร์ ๒. สบื คน้ ขอ้ มลู ประกอบการทำโครงงานวทิ ยาศาสตรจ์ ากแหล่งขอ้ มูลทีห่ ลากหลาย และมีความ น่าเชือ่ ถือ ๓. วเิ คราะห์ปัญหา วางแผนการทดลอง จดั ทำเคา้ โครงโครงงานวทิ ยาศาสตร์ ๔. ทำงานเป็นกลุ่มมีความคิดรเิ ริม่ สรา้ งสรรค์ในการแสดงความคิดเห็น การออกแบบหรือดดั แลง การทดลอง ตลอดจนวสั ดุอปุ กรณใ์ นการทำโครงงานวทิ ยาศาสตร์ ๕. ทำโครงงานวิทยาศาสตร์ตามความถนัดและสนใจกล่มุ ละโครงงาน ๖. นำเสนอและจัดแสดงผลงานในรปู แบบการนำเสนอปากเปล่า หรอื นิทรรศการ รวมทั้งหมด ๖ ผลการเรียนรู้ ❖ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๗๘ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กล่มุ งานบรหิ ารวิชาการ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๖ ว๒๓๒๐๑ โครงงานวทิ ยาศาสตรเ์ พื่อส่งิ แวดล้อม กลมุ่ สาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ ๓ ภาคเรยี นท่ี ๑ เวลาเรยี น ๒๐ ช่ัวโมง จำนวน ๐.๕ หน่วยกติ การเรียนการสอนรายวิชา โครงงานวิทยาศาสตร์กับเพื่อปรับปรุงหรือพัฒนาสิ่งแวดล้อม ประกอบด้วยโครงงานประเภทต่างๆและกิจกรรมที่ให้นักเรียนทำโครงงานวิทยาศาสตร์ตามความสนใจ ตั้งแต่เริ่มจนทำโครงงานสำเร็จ การทำโครงงานเน้นให้นักเรียนฝึกคิด วิเคราะห์ปัญหาที่สนใจที่จะทำ โครงงาน คิดออกแบบการทดลองได้ และตัดสินใจเลอื กวธิ กี ารท่ีเหมาะสม มีการวางแผนการดำเนินงานเพ่ือ ลงมือปฏิบัติทดลองได้อย่างเป็นขั้นตอนและมีระบบ บันทึกผล วิเคราะห์ผล สรุปผล และเขียนรายงาน ตลอดจนนำเสนอผลงานและแสดงผลงานของโครงงานวทิ ยาศาสตร์ การทำกิจกรรมจะช่วยพัฒนานักเรยี น ให้สามารถคิดเปน็ ทำเปน็ และแก้ปญั หา ผลการศึกษาค้นควา้ ในระดบั ของนักเรียนจะขยายไปถงึ ขน้ั นำไปใช้ แก้ปญั หาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยใี นทอ้ งถ่นิ ส่งผลต่อการพัฒนาสิง่ แวดล้อมได้ ผลการเรียนรู้ ๑. อธบิ าย และบอกความหมายของส่ิงแวดลอ้ ม ๒. บอกองคป์ ระกอบของสง่ิ แวดล้อม ทงั้ องคป์ ระกอบทางกายภาพ และชีวภาพ ๓. สำรวจ อภิปราย อธิบาย และวิเคราะหป์ ัญหาส่งิ แวดล้อมและผลกระทบ ในระดับชมุ ชน ประเทศ และ โลก ๔. สืบคน้ ขอ้ มลู ท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั แนวทางในการแก้ปญั หาส่ิงแวดลอ้ ม เพ่ือนำไปส่หู วั ข้อการทำ โครงงานวิทยาศาสตร์เพอื่ ส่ิงแวดลอ้ ม ๕. ทำโครงงานวทิ ยาศาสตร์เพ่อื สง่ิ แวดล้อมกลุ่มละ หนง่ึ โครงงาน พร้อมทง้ั นำเสนอผลงาน และ ประยุกตโ์ ครงงานวทิ ยาศาสตร์เพอื่ สิ่งแวดล้อมนำไปใชจ้ รงิ รวมทั้งหมด ๕ ผลการเรยี นรู้ ❖ ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น
หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๗๙ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กลมุ่ งานบริหารวิชาการ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๖ ว๒๓๒๐๒ วทิ ยาศาสตรเ์ พือ่ คณุ ภาพชีวิต กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ ๓ ภาคเรยี นที่ ๒ เวลาเรียน ๒๐ ชว่ั โมง จำนวน ๐.๕ หน่วยกติ ศึกษากระบวนการและการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี นำความรู้ทางวิทยาศาสตร์มา ประยุกต์ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตให้ดำรงอยู่อย่างเป็นสุข และมีประสิทธิภาพ โดยตระหนักถึงผลกระทบ ของความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ที่มีต่อมนุษย์ สภาพแวดล้อม สังคม การเมืองและวัฒนธรรม ศึกษา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ความหมายของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เจตคติทางวิทยาศาสตร์ คุณภาพ ชีวิต ความหมายของคุณภาพ แนวทางในการพฒั นาคุณภาพชวี ิต ไดแ้ ก่ การแก้ปญั หาและแนวทางปฏิบัติให้ เกดิ ความสมดุลระหว่างวัตถแุ ละจิตใจ กล่มุ วทิ ยาศาสตร์ วีดที ัศนเ์ ร่ืองจะศึกษาชีววทิ ยาไดอ้ ย่างไร \"ประกอบ หัวข้อการแก้ปัญหาแบบวทิ ยาศาสตร์\"(Scientific Method) ระบุปัจจัยในการพัฒนาคุณภาพชีวิต มีการฝึก ใชท้ กั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ ได้แก่ การสังเกต การวัด การจำแนก การคำนวณ การจดั กระทำเพื่อ สื่อความหมายของข้อมูล การลงความคิดเห็น การพยากรณ์ สมมติฐาน ตัวแปร การทดลอง นิยามเชิง ปฏบิ ัติการ การตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป เปน็ ตน้ วธิ กี ารทางวทิ ยาศาสตร์ การแก้ปัญหาโดยวิธีการ ทางวิทยาศาสตร์ ความหมาย องค์ประกอบของการมีสุขภาพดี การส่งเสริมสุขภาพกาย การส่งเสริม สุขภาพจิต รูปแบบการออกกำลังกาย และวิทยาศาสตร์ทางการกีฬา การนันทนาการ การพักผ่อน การใช้ พลงั งาน การอนุรักษ์พลังงาน การประยกุ ต์ใชว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยเี พื่อการดูแลสขุ ภาพ ผลการเรยี นรู้ ๑. อธิบายและยกตัวอย่างกระบวนการและการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับ การดำรงชีวติ ๒. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกบั การแกป้ ัญหาดว้ ยการบวนการทางวิทยาศาสตร์ ๓. บอกความหมายของคุณภาพชวี ติ และแนวทางในการพัฒนาคุณภาพชีวติ ๔. บอกความหมายขององค์ประกอบของการมีสุขภาพกาย และสขุ ภาพจิตทด่ี ี ๕. ยกตวั อยา่ งการใชว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ในการพฒั นาด้าน การกีฬา การสาธารณสุข ด้าน พลังงาน ด้านนนั ทนาการ ด้านสง่ิ แวดลอ้ ม ๖. สบื คน้ ขอ้ มูล ยกตัวอยา่ งวธิ กี ารปฏิบัติตนเพื่อให้มคี ณุ ภาพชวี ิตทด่ี ี รวมท้ังหมด ๖ ผลการเรียนรู้ ❖ ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้
หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๘๐ ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กลุ่มงานบริหารวชิ าการ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๖ ว๒๐๒๐๑ องค์ประกอบคอมพิวเตอร์ กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๑-๓ เวลาเรยี น ๒๐ ชั่วโมง จำนวน ๐.๕ หน่วยกิต ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับส่วนประกอบและการทำงานของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ การเลือก ส่วนประกอบ การประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์และขั้นตอนในการเซตค่าของอุปกรณ์ในการนำเข้าและ ส่งออก การแบ่งพื้นที่ของหน่วยความจำและการบริหารจัดการพื้นที่ การติดตั้งโปรแกรมระบบปฏิบัติการ และโปรแกรมประยุกต์การแกป้ ัญหาด้วยโปรแกรมยทู ิลติ ี้ การเช่อื มตอ่ ระบบเครอื ข่าย LAN การตดิ ต้งั ระบบ เครอื ข่ายเบ้ืองตน้ และการบำรุงรกั ษาเครอ่ื งคอมพิวเตอร์ ผลการเรยี นรู้ ๑.สามารถอธิบายการทำงานของส่วนประกอบในเคร่ืองคอมพวิ เตอร์ได้ ๒.สามารถอธบิ ายการใชง้ านอุปกรณ์แต่ละชนดิ ของคอมพิวเตอรแ์ ละการใช้งานได้อย่างเหมาะสม ๓. สามารถประกอบเครอ่ื งคอมพวิ เตอร์ได้ ๔.สามารถตดิ ตั้งระบบปฏิบัติการและโปรแกรมประยกุ ตไ์ ด้ ๕.สามารถใชโ้ ปรแกรมยูทลิ ติ ้เี พ่ือแก้ไขปัญหาเครอ่ื งคอมพิวเตอร์ได้ ๖.สามารถเชอ่ื มต่อระบบเครอื ขา่ ย LAN และอธิบายการใช้งานระบบเครือข่ายแตล่ ะชนดิ ได้ รวมท้ังหมด ๖ ผลการเรยี นรู้ ❖ ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้
หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๘๑ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กลมุ่ งานบรหิ ารวชิ าการ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๖ ว๒๐๒๐๒ การประมวลผลสารสนเทศ กลุ่มสาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี ๑-๓ เวลาเรียน ๒๐ ชว่ั โมง จำนวน ๐.๕ หนว่ ยกิต ศึกษา ความรู้ ความเข้าใจ หลักการทำงาน วิธีการของการสบื ค้นข้อมูล การ download ,การ จัดเก็บ และการสง่ ขอ้ มูล จากเครือข่าย Internet ตกแต่งชน้ิ งาน การประมวลผลสารสนเทศตลอดจนการใช้โปรแกรมนำเสนองาน มาเปน็ เครื่องมือ สร้างชิ้นงาน สามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหา ประกอบการทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ และมคี ุณธรรม ผลการเรยี นรู้ ๑. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้เครื่องมือในการสืบค้นข้อมูลและการสื่อสารข้อมูลได้อย่าง ถกู ตอ้ งและเหมาะสม ๒. สามารถใช้เครอ่ื งมือตกแตง่ ชน้ิ งานข้นั พนื้ ฐานได้ ๓. สามารถใช้คอมพิวเตอร์ในการนำเสนอชนิ้ งานได้ รวมท้ังหมด ๓ ผลการเรียนรู้ ❖ ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น
หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๘๒ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กลมุ่ งานบรหิ ารวิชาการ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๖ ว๒๐๒๐๓ กราฟกิ คอมพิวเตอร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี ๑-๓ เวลาเรยี น ๒๐ ชั่วโมง จำนวน ๐.๕ หน่วยกิต ศึกษาเกี่ยวกับการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สร้างงานกราฟิก โดยศึกษาโปรแกรม Photoshop CS ๖ และการใช้ บทบาท และประโยชน์ของคอมพิวเตอร์กราฟิก ประเภทของข้อมูลกราฟิกประกอบด้วย อะไรบา้ ง การใชแ้ ถบเครื่องมอื ต่าง ๆ ศึกษาเกย่ี วกับเครอ่ื งมอื ท่ีควรรู้ เทคนิคตา่ ง ๆ ทใี่ ช้ในการออกแบบ ปฏิบัติการออกแบบสร้างลวดลายแบบต่อเนื่อง การทำภาพเก่า การปรับภาพให้ดูนุ่มนวล การ ตกแต่งภาพด้วยฟิลเตอร์ และลักษณะสำคัญของเทคโนโลยีกราฟิก โดยวิธี สอนสาธิตและปฏิบัติการ กิจกรรม ฝึกสืบค้นข้อมูลจากระบบเครือข่าย ส่งงานผ่านระบบอีเมล์ ใบงานอ่านคิดวิเคราะห์ลักษณะ สำคญั ของเทคโนโลยีกราฟกิ เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจในการนำโปรแกรมคอมพิวเตอร์มาประยุกต์ใช้ในการทำงานด้านการ ออกแบบ มีความคิดอย่างสร้างสรรค์ เรียนรู้ด้วยตนเอง และสามารถใช้เทคโนโลยีในการสื่อสารได้อย่าง สร้างสรรค์ และมีจติ สำนกึ ความรับผิดชอบ ผลการเรยี นรู้ ๑. ให้มีความรคู้ วามเขา้ ใจถึงหลักของ และทฤษฎีการออกแบบกราฟิก ๒. ให้มีความเข้าใจ และมที ักษะในการใชโ้ ปรแกรมโฟโตช้ อป ซเี อสหก ๓. มที กั ษะในการออกแบบตกแตง่ รปู ภาพ และโปสเตอร์ ๔. ใหส้ ามารถออกแบบการฟิกคอมพิวเตอร์ และเลือกใช้เทคโนโลยีได้อยา่ งสร้างสรรค์ รวมท้ังหมด ๔ ผลการเรียนรู้ ❖ ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน้
หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๘๓ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กล่มุ งานบรหิ ารวชิ าการ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๖ ว๒๐๒๐๔ งานพมิ พ์ดีดไทย กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ ๑-๓ เวลาเรียน ๒๐ ช่วั โมง จำนวน ๐.๕ หนว่ ยกิต ศึกษาลักษณะและรูปแบบของแป้นพิมพ์ดีดภาษาไทย การสร้างเทคนิคที่ดีในการพิมพ์ หลักการ พมิ พ์ และเคาะแป้นอกั ษรและสัญลักษณ์ตา่ ง ๆ การพมิ พง์ านบัญชร การวางศูนย์ตามแนวต้ังและ แนวนอน อย่างง่าย การพมิ พ์ จดหมายสว่ นตวั ฝกึ เทคนิคการพิมพ์ เช่น ท่านัง่ วาง น้วิ และเคาะแป้นเหย้า ก้าวนว้ิ จาก แป้นเหย้าไปเคาะแป้นพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ ตัวเลขและแป้น สัญลักษณ์ต่าง ๆ พัฒนาทักษะความเรว็ ความแม่นยำ พิมพ์งานบัญชีอย่างง่าย พิมพ์ จดหมายส่วนตัว เพื่อให้มีกิจนิสัยที่ดี ในการพิมพ์ดีด และ สามารถพิมพข์ อ้ ความและจดหมายส่วนตวั ได้ตลอดจนมีคุณธรรม และจรยิ ธรรมในการทำงาน ผลการเรียนรู้ ๑. บอกลกั ษณะและรปู แบบของแป้นพิมพ์ได้ ๒. บอกท่านัง่ และการวางมือได้ ๓. เรยี นรอู้ ักษรแป้นเหยา้ และแป้นดัชนีได้ ๔. พิมพ์แปน้ อกั ษรลา่ งและแป้นอกั ษรบนได้ ๕. พัฒนาทกั ษะความเรว็ และความแม่นยำได้ รวมทั้งหมด ๕ ผลการเรยี นรู้ ❖ ระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น
หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๘๔ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กลุ่มงานบริหารวชิ าการ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๖ ว๒๐๒๐๕ งานพมิ พด์ ีดอังกฤษ กลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ ๑-๓ เวลาเรยี น ๒๐ ชั่วโมง จำนวน ๐.๕ หน่วยกิต ศึกษาส่วนต่าง ๆ ของรูปแบบของแป้นพิมพ์ดีดภาษาอังกฤษ การเรียนรู้แป้นอักษร ล่าง – บน เครื่องหมาย พิเศษ สัญลักษณ์ต่าง ๆ การคิดคำ การพิมพ์พัฒนาความเร็ว ความแม่นยำ ปฏิบัติงานใช้ส่วน ต่าง ๆ ของแป้นพิมพ์ดีดภาษาอังกฤษ ฝึกเทคนิคในการพิมพ์ เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการใช้ แปน้ พมิ พด์ ีดอย่างถูกต้อง การบำรุงรกั ษาแปน้ พิมพ์ท่ีดี กิจนิสยั ทดี่ ีในการพิมพ์ดีด และพิมพ์ข้อความ ต่าง ๆ ได้ มคี วามรับผิดชอบรกั การทำงาน สามารถนำไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวติ ประจำวันและเพอ่ื การศกึ ษาตอ่ ในข้ันสูง ต่อไป ผลการเรียนรู้ ๑. บอกชือ่ ส่วนตา่ ง ๆ และวธิ ใี ช้ส่วนตา่ ง ๆของเคร่ืองพมิ พ์ดีดองั กฤษ ๒. บอกตำแหนง่ ของแปน้ เหย้า และพิมพ์แป้นเหย้าได้ถูกต้องแม่นยำ ๓. พิมพอ์ ักษรทงั้ แป้นล่างและแปน้ บนไดอ้ ย่างถูกตอ้ งแมน่ ยำ ๔. พิมพบ์ ทความได้อยา่ งถูกต้องตามแบบ ๕. พิมพท์ ักษะความถูกต้องแมน่ ยำได้ ๖. มที ักษะในการพิมพจ์ บั เวลา รวมทั้งหมด ๖ ผลการเรยี นรู้ ❖ ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น
หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๘๕ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กลมุ่ งานบริหารวชิ าการ ปีการศึกษา ๒๕๖๖ คำอธบิ ายรายวชิ า กล่มุ สาระการเรียนรูส้ ังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม ❖ ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้
หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๘๖ ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กลุม่ งานบรหิ ารวิชาการ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๖ คำอธบิ ายรายวิชาพนื้ ฐาน ส๒๑๑๐๑ สงั คมศกึ ษา ๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี ๑ ภาคเรยี นท่ี ๑ เวลาเรยี น ๖๐ ชัว่ โมง จำนวน ๑.๕ หน่วยกติ ศึกษา คน้ ควา้ วเิ คราะห์ อภปิ ราย ปฏบิ ัตติ น การเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนาเขา้ สู่ประเทศไทย การ สังคายนา พระพุทธศาสนาต่อสังคมไทยในฐานะศาสนาประจำชาติ สถาบันหลักของสังคมไทยที่มีผลต่อ สังคมไทย พุทธประวัติ พุทธสาวก พุทธสาวิกา ชาดก ศาสนิกชนตัวอย่าง หลักธรรมและการปฏิบัติ ตาม หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา มงคล ๓๘ พุทธศาสนสุภาษิต วิธีคิดแบบคุณค่าแท้ – คุณค่าเทียมแบบคุณ และโทษ ตามวิธีคิดแบบโยนิโสมนสิการ การบริหารจิตและเจริญปัญญากฎหมายที่เกี่ยวข้องใน ชีวิตประจำวัน หน้าที่พลเมือง สิทธิเสรีภาพ วัฒนธรรมไทยและประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ กฎหมายรัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทยฉบับปัจจุบัน เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ ปัญหาสิ่งแวดล้อม ภูมิศาสตรเ์ อเชยี ออสเตรเลีย และโอเชยี เนยี เพื่อให้มีความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ สามารถวิเคราะห์และนำไปใช้ในการดำเนินชีวิต โดยยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง พอเหมาะ มีจิต สาธารณะ มีจริยธรรม คุณธรรมนำความรู้ และค่านิยมที่เหมาะสม ปฏิบัติตนตามหลักการปกครองแบบ ประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษัตรยิ ท์ รงเป็นพระประมขุ เพ่ือการอยูร่ ่วมกันอยา่ งสันติ รหสั ตวั ชี้วัด ส ๑.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓, ม.๑/๔ , ม.๑/๕, ม.๑/๖ , ม.๑/๗ , ม.๑/๘, ส ๒.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒ , ม.๑/๓ , ม.๑/๔, ส ๒.๒ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓, ส ๕.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒ ,ม.๑/๓, ส ๕.๒ ม.๑/๑, ม.๑/๒ , ม.๑/๓ , ม.๑/๔ รวมทง้ั หมด ๒๒ ตัวชว้ี ัด ❖ ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน้
หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๘๗ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กลมุ่ งานบริหารวชิ าการ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๖ ส๒๑๑๐๓ สังคมศกึ ษา ๒ กลุ่มสาระการเรยี นรูส้ งั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๑ ภาคเรยี นที่ ๒ เวลาเรียน ๖๐ ชวั่ โมง จำนวน ๑.๕ หนว่ ยกิต ศึกษา ค้นคว้า วิเคราะห์ อภิปราย ปฏิบัติ ศาสนาที่สำคัญของโลก บุคคลสำคัญในท้องถ่ิน ที่มีผลงานด้านศาสนสมั พันธ์ มารยาทชาวพุทธ การปฏิบัติตนต่อพระสงฆ์ หน้าที่ชาวพุทธ ศาสนพิธี วัน สำคญั ทางพระพทุ ธศาสนา ความร้เู ก่ยี วกบั เศรษฐศาสตร์ การบรโิ ภค เศรษฐกิจพอเพียง สถาบนั ทางการ เงิน อุปสงค์ อุปทาน กฎหมายค้มุ ครองทรพั ยส์ นิ ทางปัญญา พฒั นาการเอเชยี ตะวันออกเฉียงใต้ เพื่อให้มีความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ สามารถวิเคราะห์และนำไปใช้ในการดำเนินชีวิต โดยยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง พอเหมาะ มีจิต สาธารณะ มีจริยธรรม คุณธรรมนำความรู้ และค่านิยมที่เหมาะสม ปฏิบัติตนตามหลักการปกครองแบบ ประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตริยท์ รงเปน็ พระประมขุ เพ่อื การอยู่ร่วมกนั อย่างสันติ รหสั ตวั ช้วี ดั ส ๑.๑ ม.๑/๙, ม.๑/๑๐, ม.๑/๑๑, ส ๑.๒ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓, ม.๑/๔, ม.๑/๕, ส ๓.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒ , ม.๑/๓, ส ๓.๒ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓, ม.๑/๔, ส ๔.๒ ม.๑/๑, ม.๑/๒ รวมทั้งหมด ๑๗ ตัวชวี้ ัด ❖ ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้
หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๘๘ ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กลมุ่ งานบรหิ ารวิชาการ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๖ ส๒๒๑๐๑ สงั คมศึกษา ๓ กลุ่มสาระการเรยี นรูส้ งั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรยี นท่ี ๑ เวลาเรยี น ๖๐ ชวั่ โมง จำนวน ๑.๕ หน่วยกติ ศึกษา ค้นคว้า วิเคราะห์ อภิปราย การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน พระพุทธศาสนาในฐานะที่ช่วยเสริมสร้างความเข้าใจอันดี และเป็นรากฐานของวัฒนธรรม เอกลักษณ์และ มรดกของชาติ พระพุทธศาสนากบั การพัฒนาชุมชน พทุ ธประวัติ พทุ ธสาวก พทุ ธสาวกิ า ชาดก ศาสนิกชน ตัวอย่าง พระไตรปิฎก หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาและการปฏิบัติตน พุทธศาสนสุภาษิต มงคล ๓๘ หน้าที่พลเมือง สถาบันทางสังคม วัฒนธรรมไทยและประเทศเพื่อนบ้าน กฎหมายในชีวิตประจำวัน กระบวนการตรากฎหมาย การปกครองของไทย เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ ภูมิศาสตร์ ทวีปยุโรปและ แอฟรกิ า เพื่อให้มีความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ สามารถวิเคราะห์และนำไปใช้ในการดำเนินชีวิต โดยยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง พอเหมาะ มีจิต สาธารณะ มีจริยธรรม คุณธรรมนำความรู้ และค่านิยมที่เหมาะสม ปฏิบัติตนตามหลักการปกครองแบบ ประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษตั ริย์ทรงเป็นพระประมขุ เพ่อื การอยู่รว่ มกนั อย่างสนั ติ รหัสตวั ชว้ี ัด ส ๑.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓, ม.๒/๔, ม.๒/๕, ม.๒/๖, ม.๒/๗, ม.๒/๘, ม.๒/๑๑, ส ๒.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒ , ม.๒/๓, ม.๒/๔, ส ๒.๒ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ส ๕.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ส ๕.๒ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓, ม.๒/๔ รวมทง้ั หมด ๒๑ ตวั ชี้วดั ❖ ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้
หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๘๙ ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กลมุ่ งานบรหิ ารวิชาการ ปีการศึกษา ๒๕๖๖ ส๒๒๑๐๓ สงั คมศกึ ษา ๔ กลุ่มสาระการเรยี นรู้สังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี ๒ ภาคเรยี นท่ี ๒ เวลาเรยี น ๖๐ ช่ัวโมง จำนวน ๑.๕ หนว่ ยกติ ศกึ ษา ค้นคว้า วเิ คราะห์ อภปิ ราย วิธีคิดแบบอบุ ายปลกุ เรา้ คณุ ธรรมและแบบอรรถธรรมสัมพันธ์ ตามหลกั โยนโิ สมนสิการ สวดมนตแ์ ปล แผ่เมตตา การบริหารจิตและเจริญปัญญาตามหลัก สตปิ ฎั ฐาน เน้น อานาปานสติ ปฏิบัติตนตามหลักทิศ ๖ ทิศเบื้องขวา มารยาทชาวพุทธ ศาสนพิธี วันสำคัญทาง พระพุทธศาสนา การลงทุนและการออม การผลิตสินค้าและบริการ กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค ระบบ เศรษฐกจิ การคา้ ระหว่างประเทศ พฒั นาการทวีปเอเชีย เพื่อให้มีความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ สามารถวิเคราะห์และนำไปใช้ในการดำเนินชีวิต โดยยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง พอเหมาะ มีจิต สาธารณะ มีจริยธรรม คุณธรรมนำความรู้ และค่านิยมที่เหมาะสม ปฏิบัติตนตามหลักการปกครองแบบ ประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษตั ริยท์ รงเปน็ พระประมุข เพือ่ การอยรู่ ่วมกันอย่างสันติ รหัสตัวชี้วัด ส ๑.๑ ม.๒/๙, ม.๒/๑๐, ส ๑.๒ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓, ม.๒/๔, ม.๒/๕, ส ๓.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓, ม.๒/๔, ส ๓.๒ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓, ม.๒/๔, ส ๔.๒ ม.๒/๑, ม.๒/๒ รวมท้งั หมด ๑๗ ตัวชวี้ ัด ❖ ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้
หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๙๐ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กลมุ่ งานบรหิ ารวิชาการ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๖ ส๒๓๑๐๑ สงั คมศกึ ษา ๕ กลุ่มสาระการเรยี นรสู้ ังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๓ ภาคเรยี นที่ ๑ เวลาเรียน ๖๐ ชั่วโมง จำนวน ๑.๕ หนว่ ยกติ ศึกษา ค้นคว้า วิเคราะห์ อภิปราย การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศต่างๆทั่วโลก พระพทุ ธศาสนาในฐานะท่ีชว่ ยสร้างสรรค์อารยะรีรมและความสงบสุข พระพุทธศาสนากับปรชั ญาเศรษฐกิจ พอเพียง พุทธประวัติจากพระพุทธรูปปางต่าง ๆ ประวัติพุทธสาวก สาวิกา ชาวพุทธตัวอย่าง ชาดก หลักธรรมและการปฏิบัติตนตามหลักธรรม วิธีคิดแบบอริยสัจและแบบสืบสาวเหตุปัจจัย ตามวิธีคิดแบบ โยนิโสมนสิการ กฎหมายแพ่งและอาญา กฎหมายสิทธิมนษุ ยชน ปญั หาสงั คมและ แนวทางแก้ไข ระบอบ การปกครอง การปกครองของไทย กฎหมายรฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทยฉบับปัจจุบัน วฒั นธรรมไทย เคร่อื งมอื ทางภูมิศาสตร์ ภมู ิศาสตรอ์ เมริกาเหนือและอเมรกิ าใต้ เพื่อให้มีความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ สามารถวิเคราะห์และนำไปใช้ในการดำเนินชีวิต โดยยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง พอเหมาะ มีจิต สาธารณะ มีจริยธรรม คุณธรรมนำความรู้ และค่านิยมที่เหมาะสม ปฏิบัติตนตามหลักการปกครองแบบ ประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษตั ริย์ทรงเปน็ พระประมุข เพื่อการอยรู่ ว่ มกนั อย่างสันติ รหสั ตวั ชว้ี ดั ส ๑.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓, ม.๓/๔, ม.๓/๕, ม.๓/๖, ม.๓/๗, ม.๓/๘, ส ๒.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓, ม.๓/๔, ม.๓/๕, ส ๒.๒ ม.๓/, ม.๓/๒, ม.๓/๓, ม.๓/๔, ส ๕.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ส ๕.๒ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓, ม.๓/๔ รวมท้ังหมด ๒๓ ตัวชี้วดั ❖ ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น
หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๙๑ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กลมุ่ งานบรหิ ารวิชาการ ปีการศึกษา ๒๕๖๖ ส๒๓๑๐๒ สงั คมศึกษา ๖ กลุ่มสาระการเรียนรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ ๓ ภาคเรยี นที่ ๒ เวลาเรียน ๖๐ ช่ัวโมง จำนวน ๑.๕ หน่วยกติ ศึกษา ค้นคว้า วิเคราะห์ อภิปราย ปฏิบัติ สวดมนต์ แผ่เมตตา บริหารจิตและเจริญปัญญาตาม หลักสติปัฎฐานเน้นอานาปานสติ ศาสนาที่สำคัญของโลก การปฏิบัติตนต่อพระสงฆ์ ทิศ ๖ ทิศเบื้องขวา หน้าที่ชาวพุทธ ศาสนพิธีและวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาการแสดงตนเป็นพุทธมามกะ องค์กรทาง พระพุทธศาสนา กลไกราคา เศรษฐกิจพอเพียง รัฐกับการพัฒนาเศรษฐกิจ การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ ปัญหาทางการเงิน การค้าและการลงทุนระหว่างประเทศ พัฒนาการและเหตุการณ์สำคัญในภมู ิภาคต่าง ๆ ของโลก เพ่ือให้มีความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ สามารถวิเคราะห์และนำไปใช้ในการดำเนินชีวิต โดยยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง พอเหมาะ มีจิต สาธารณะ มีจริยธรรม คุณธรรมนำความรู้ และค่านิยมที่เหมาะสม ปฏิบัติตนตามหลักการปกครองแบบ ประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั ริยท์ รงเป็นพระประมุข เพ่ือการอยู่ร่วมกันอย่างสนั ติ รหสั ตัวช้วี ดั ส ๑.๑ ม.๓/๙, ม.๓/๑๐, ส ๑.๒ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓, ม.๓/๔, ม.๓/๕, ม.๓/๖, ม.๓/๗, ส ๓.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓, ส ๓.๒ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓, ม.๓/๔, ม.๓/๕, ม.๓/๖, ส ๔.๒ ม.๓/๑, ม.๓/๒ รวมทั้งหมด ๒๐ ตัวช้ีวดั ❖ ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้
หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๙๒ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กลมุ่ งานบริหารวิชาการ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๖ ส๒๑๑๐๒ ประวัตศิ าสตร์ ๑ กลุ่มสาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๑ ภาคเรยี นที่ ๑ เวลาเรยี น ๒๐ ช่วั โมง จำนวน ๐.๕ หนว่ ยกติ ศกึ ษา ค้นคว้า อภิปราย โดยใชว้ ธิ ีการทางประวตั ิศาสตร์ ประวตั คิ วามเปน็ มา ปจั จยั ที่ส่งเสริมให้ อาณาจักรมีความรุ่งเรืองและเสื่อมลง พัฒนาการทางด้านการเมือง การปกครอง เศรษฐกิจ สังคม วฒั นธรรมและภมู ิปญั ญา แหลง่ อารยธรรมของสมัยก่อนประวตั ิศาสตรส์ มัยกอ่ นสุโขทยั เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจ มีความรักชาติ ศาสนาและพระมหากษัตริย์ สามารถสื่อสาร สิ่งท่ี เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ สามารถวิเคราะห์และนำไปใช้ในการดำเนินชีวิต เกิดความ สมานฉันท์ มีจิตสาธารณะ มีจริยธรรม คุณธรรมนำความรู้และค่านิยมที่เหมาะสม เพื่อการอยู่ร่วมกัน อยา่ งสนั ติ รหัสตวั ช้ีวัด ส ๔.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓, ส ๔.๓ ม.๑/๑ รวมทั้งหมด ๔ ตัวชี้วัด ❖ ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้
หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๙๓ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กลมุ่ งานบรหิ ารวิชาการ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๖ ส๒๑๑๐๔ ประวัติศาสตร์ ๒ กลุ่มสาระการเรยี นรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี ๑ ภาคเรยี นที่ ๒ เวลาเรียน ๒๐ ช่วั โมง จำนวน ๐.๕ หนว่ ยกติ ศึกษา ค้นคว้า อภิปราย โดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ ประวัติความเป็นมา ปัจจัยที่ส่งเสริมให้ อาณาจักรสุโขทัยมีความรุ่งเรืองและเสื่อมลง พัฒนาการทางด้านการเมือง การปกครอง เศรษฐกิจ สังคม วฒั นธรรมและภูมปิ ญั ญา แหล่งอารยธรรมของอาณาจักรสุโขทยั ที่สง่ ผลตอ่ สังคมไทยในปัจจบุ นั เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจ มีความรักชาติ ศาสนาและพระมหากษัตริย์ สามารถสื่อสาร สิ่งที่ เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ สามารถวิเคราะห์และนำไปใชใ้ นการดำเนินชีวิต เกดิ ความสมานฉนั ท์ มจี ติ สาธารณะ มีจรยิ ธรรม คุณธรรมนำความรู้ และคา่ นิยมท่ีเหมาะสม เพอ่ื การอยรู่ ่วมกันอย่างสนั ติ รหสั ตัวชี้วัด ส ๔.๓ ม.๑/๒, ม.๑/๓ รวมท้ังหมด ๒ ตัวชี้วัด ❖ ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202