หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๑๔๔ ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กลุม่ งานบรหิ ารวชิ าการ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๖ ง๒๑๑๐๓ การงานอาชีพ ๒ กลุ่มสาระการเรียนรูก้ ารงานอาชพี ช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี ๑ ภาคเรยี นท่ี ๒ เวลาเรยี น ๒๐ ช่วั โมง จำนวน ๐.๕ หน่วยกติ ศึกษาวิเคราะห์ ความหมาย ความสำคัญ ประโยชน์และคุณค่าของงานประดิษฐ์ สามารถจำแนก ประเภทของงานประดษิ ฐ์ วางแผนการใชแ้ ละเก็บรกั ษาวัสดอุ ปุ กรณใ์ นการปฏิบตั ิงานอยา่ งปลอดภัย มีความรู้ ความเข้าใจ และมีทักษะในการเลือกใช้วัสดุในการประดิษฐ์ชิ้นงานประเภทของใช้ ของ ตกแต่งจากวัสดุในท้องถิ่น สามารถทำงานเป็นหมู่คณะ รักการทำงาน เห็นคุณค่าแนวทางการประกอบ อาชีพงานประดิษฐ์ มีเจตคติทมี่ คี ุณธรรม จริยธรรมต่ออาชพี ชว่ ยเสริมสร้างรายได้จากการประกอบอาชีพ สจุ รติ พง่ึ พาตนเองได้ตามแนวเศรษฐกจิ พอเพียง และดำรงชวี ิตในสังคมอย่างมคี วามสขุ ศึกษาวิเคราะห์ ความหมาย ความสำคัญ และประโยชนข์ องงานชา่ งพืน้ ฐาน ใช้และบำรุงรักษา เครอื่ งมอื งานช่างพืน้ ฐานอย่างปลอดภยั ปฏิบตั ิวางแผน การซ่อมบำรงุ ดดั แปลงเครอื่ งใช้ในบา้ น เพอ่ื ใหม้ ีทักษะการจดั การทำงานอย่างเปน็ ระบบ ใฝ่ร้แู ละสร้างสรรค์ ทำงานรว่ มกบั ผู้อืน่ ได้ มีความเป็นไทย เลือกใช้เทคโนโลยีที่ได้มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เลือกใช้ข้อมูลข่าวสารได้อย่าง ถูกต้อง เหมาะสม มีคุณภาพ ทำงานด้วยความรับผิดชอบ ขยัน ซื่อสัตย์ ประหยัด อดออม มุ่งม่ัน อดทนใช้ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างคุ้มค่าและถูกวิธี ตลอดจนมีความรู้ความเข้าใจและเกิด แนวทางในการนำไปใช้ในชวี ิตประจำวันได้ รหสั ตวั ชีว้ ัด ง ๑.๑ ม ๑/๑, ม ๑/๒, ม ๑/๓ ง ๓.๑ ม ๑/๒ ง ๔.๑ ม ๑/๑, ม ๑/๒, ม ๑/๓ รวมท้ังหมด ๗ ตัวชี้วดั ❖ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๑๔๕ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กลุ่มงานบรหิ ารวิชาการ ปีการศึกษา ๒๕๖๖ ง๒๒๑๐๑ การงานอาชพี ๓ กลมุ่ สาระการเรียนร้กู ารงานอาชพี ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี ๒ ภาคเรยี นท่ี ๑ เวลาเรยี น ๒๐ ชัว่ โมง จำนวน ๐.๕ หน่วยกิต ศึกษาความหมาย ความสำคัญ และประโยชน์อาชีพ การเตรียมตัวเข้าสู่อาชีพ ทักษะที่จำเป็นต่อ การประกอบอาชีพ ประเภทของการสื่อสาร การติดต่อสื่อสาร การใช้บริการกับหน่วยงานต่าง ๆ การใช้ กระบวนการเทคโนโลยสี ารสนเทศในการสืบค้นข้อมลู การเรียนรู้ และการตดิ ตอ่ ส่อื สารผา่ นคอมพวิ เตอร์ เพื่อให้มีทักษะการจัดการทำงานอย่างเป็นระบบใฝ่รู้และสร้างสรรค์ ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้มีความ เป็นไทย เลือกใช้ข้อมูลข่าวสารได้อย่างถูกต้องเหมาะสมมีคุณภาพ ทำงานด้วยความรับผิดชอบ ขยัน ซื่อสัตย์ ประหยัด อดออม มุ่งมั่นอดทน ใช้ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมอย่างคุ้มค่า และถูกวิธี ตลอดจนมคี วามรูค้ วามเข้าใจและเกิดแนวทางในการนำไปใชใ้ นชีวติ ประจำวันได้ ศกึ ษา ความหมาย ความสำคัญของงานเขยี นแบบ ใชแ้ ละบำรงุ รักษาเคร่ืองมือได้อยา่ งถูกต้อง มี ทกั ษะการปฏบิ ตั ิงานในการอ่าน เขยี นภาพ ๓ มิติ ภาพฉาย เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจและมีทักษะในการเขียนแบบ และเห็นประโยชน์ของการเขียนแบบ สร้างกจิ นสิ ยั ในการปฏิบัติงานดว้ ยความประณตี รอบคอบ ถูกตอ้ ง ทำงานอย่างมคี วามสุข นำเทคโนโลยี เขยี นแบบมาประยุกต์ใช้ในชวี ติ ประจำวันและในการประกอบอาชีพสจุ รติ ได้ รหสั ตวั ชวี้ ดั ง ๑.๑ ม๒/๑, ม๒/๒, ม๒/๓ ง ๒.๑ ม๒/๑, ม๒/๒, ม๒/๓, ม๒/๔ ง ๔.๑ ม๒/๑, ม๒/๒, ม๒/๓ รวมทั้งหมด ๑๐ ตวั ชวี้ ัด ❖ ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้
หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๑๔๖ ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กลุ่มงานบรหิ ารวชิ าการ ปีการศึกษา ๒๕๖๖ ง๒๒๑๐๓ การงานอาชีพ ๔ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้การงานอาชพี ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี ๑ ภาคเรยี นท่ี ๒ เวลาเรยี น ๒๐ ชว่ั โมง จำนวน ๐.๕ หน่วยกิต ศึกษาวิเคราะห์ลักษณะงาน ขั้นตอนการปฏิบัติงาน วิเคราะห์วางแผนและลงมือปฏิบัติงาน เกี่ยวกับการดูแลเรื่องรักษาความสะอาดเสื้อผ้า การซักผ้า และการรีดผ้า วิธีการซ่อมแซมเสื้อผ้า เคร่ืองนุ่งห่มและเหมาะสมกับสภาพเศรษฐกิจของครอบครัว เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลรักษาเสื้อผ้าและซักรีดเสื้อผ้า การซ่อมแซมและ ดัดแปลงเสื้อผ้าได้ รับผิดชอบ มีระเบียบ สะอาด ประหยัด ถูกต้องตามกระบวนการทำงาน สามารถ ชว่ ยงานและทำงานรว่ มกบั ผอู้ ืน่ ได้ ศึกษาวิเคราะห์ ความหมาย ความสำคัญ และประโยชน์ของการออกแบบงานประดิษฐ์ องค์ประกอบของการออกแบบ แนวทางการออกแบบ และหลักการออกแบบสิ่งประดิษฐ์ การจัดการ ผลติ ภัณฑจ์ ากงานประดิษฐไ์ ปส่กู ารจำหนา่ ย มีความรู้ ความเขา้ ใจ และมที ักษะในการออกแบบสง่ิ ประดิษฐ์ และประดิษฐ์ช้นิ งานประเภทของ ใช้ ของตกแต่งจากวสั ดใุ นโรงเรยี น หรือทอ้ งถ่นิ มจี ิตสำนึกใช้ทรพั ยากรอยา่ งประหยัดและคมุ้ ค่า มเี จตคติ มีคุณธรรม จริยธรรมต่ออาชีพ เห็นคุณค่าแนวทางการประกอบอาชีพ เพื่อสร้างรายได้จากการประกอบ อาชพี พ่ึงพาตนเองไดต้ ามแนวเศรษฐกิจพอเพยี ง ศึกษาหลักการของเกษตรทฤษฎีใหม่ตามแนวพระราชดำริ ความสำคัญ วิธีการพิจารณาเลือกใช้ ดิน น้ำ และปุ๋ยเพื่อการเกษตร การดูแลรักษาและตกแต่งสวน และการเลือกเลี้ยงสัตว์ให้เหมาะสมกับ ท้องถิ่น รหัสตวั ช้ีวดั ง ๑.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓ ง ๑.๑ ม ๒/๑, ม ๒/๒, ม ๒/๓ ง ๔.๑ ม ๒/๑, ม ๒/๒, ม ๒/๓ รวมทั้งหมด ๙ ตัวชี้วดั ❖ ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น
หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๑๔๗ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กลุ่มงานบรหิ ารวิชาการ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๖ ง๒๓๑๐๑ การงานอาชพี ๕ กลุ่มสาระการเรยี นร้กู ารงานอาชพี ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๓ ภาคเรียนท่ี ๑ เวลาเรยี น ๒๐ ชว่ั โมง จำนวน ๐.๕ หน่วยกิต ศกึ ษาวเิ คราะหล์ ักษณะงานข้ันตอนการปฏิบตั ิงาน วิเคราะหว์ างแผนและลงมือปฏบิ ัติงานเกี่ยวกับ การรู้จักเลือกอาหารและเครื่องดื่มที่ดีมีประโยชน์ต่อร่างกาย และได้สารอาหารครบถ้วนตามหลัก โภชนาการ จะทำให้ร่างกายเจริญเติบโตแข็งแรง การเลือกประกอบอย่างถูกวิธีจะทำให้ได้อาหารที่มี ประโยชน์ต่อร่างกายให้คุณค่าทางโภชนาการ ช่วยประหยัดรายจ่าย ส่วนการจัดตกแต่งอาหารและโต๊ะ อาหารใหส้ วยงาม กจ็ ะทำให้อาหารน่ารบั ประทานมากยิ่งข้ึน สามารถรบั ผดิ ชอบ มรี ะเบยี บ สะอาดและ ประหยัดถูกตอ้ งตามกระบวนการทำงาน สามารถชว่ ยงานและทำงานร่วมกบั ผู้อ่นื ได้ ศึกษาวิเคราะห์กระบวนการสร้างสิ่งประดิษฐ์ เทคนิค และวิธีสร้างงานประดิษฐ์ การวางแผน ส่งิ ประดษิ ฐแ์ ละบรรจุภัณฑ์ แนวทางการประกอบอาชพี การวางแผน และการพัฒนาตนเอง งานอาชีพ มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ และมที ักษะในการสร้างส่ิงประดิษฐป์ ระเภทของเล่น ของขวัญ ของชำร่วย และการประดิษฐ์บรรจุภัณฑ์จากวัสดุธรรมชาติอย่างมีประสิทธิภาพ เน้นการประหยัดพลังงาน ทรัพยากร และสิ่งแวดล้อม ทำงานร่วมกันได้อย่างมีความสุข เห็นคุณค่าแนวทางการประกอบอาชีพจากสิ่งประดิษฐ์ มีเจตคติที่มีคุณธรรม จริยธรรมต่ออาชีพ เสริมสร้างรายได้จากการประกอบอาชีพสุจริตพึ่งพาตนเองได้ ตามแนวเศรษฐกิจพอเพยี งและดำรงชีวติ ในสังคมอยา่ งมีความสุข ศึกษาความหมาย ความสำคัญและประโยชน์ของการขยายพันธุ์พืช วิเคราะห์ข้อมูลวางแผนการ เลือกใช้เครื่องมือและวัสดุอุปกรณ์ในการขยายพันธุ์พืช กระบวนการขยายพันธุ์พืชโดยวิธีการเพาะเมล็ด การปกั ชำ และการตอนกง่ิ โดยใช้เทคโนโลยีชีวภาพได้อย่างเหมาะสม รหัสตวั ชีว้ ดั ง ๑.๑ ม๓/๑, ม๓/๒, ม๓/๓ ง ๔.๑ ม๓/๑, ม๓/๒, ม๓/๓ รวมทั้งหมด ๖ ตวั ช้ีวดั ❖ ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น
หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๑๔๘ ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กล่มุ งานบรหิ ารวิชาการ ปีการศึกษา ๒๕๖๖ ง๒๓๑๐๓ การงานอาชีพ ๖ กลุ่มสาระการเรียนร้กู ารงานอาชพี ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี ๓ ภาคเรยี นท่ี ๒ เวลาเรียน ๒๐ ชัว่ โมง จำนวน ๐.๕ หน่วยกิต ศึกษาความหมาย ความสำคัญ และลักษณะการดำเนินงานของธุรกิจประเภทตา่ ง ๆ การเตรียมตวั เข้าสู่อาชีพ แนวทางเข้าสูอ่ าชีพ และประเมินทางเลือก ในการประกอบอาชีพท่ีสอดคล้องกับความรู้ ความ ถนัด และความสนใจ เพื่อให้มีทักษะการจัดการทำงานอย่างเป็นระบบใฝ่รู้และสร้างสรรค์ ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้มีความ เป็นไทย เลือกใช้ข้อมูลข่าวสารได้อย่างถูกต้องเหมาะสมมีคุณภาพ ทำงานด้วยความรับผิดชอบ ขยัน ซื่อสัตย์ ประหยัด อดออม มุ่งมั่นอดทน ใช้ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมอย่างคุ้มค่า และถูกวิธี ตลอดจนมีความรคู้ วามเข้าใจและเกดิ แนวทางในการนำไปใชใ้ นชีวิตประจำวนั ได้ รหสั ตัวชวี้ ัด ง.๑.๑ ม ๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓ ง.๔.๑ ม ๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓ รวมท้ังหมด ๖ ตวั ช้วี ดั ❖ ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้
หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๑๔๙ ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กลมุ่ งานบรหิ ารวชิ าการ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๖ คำอธบิ ายรายวิชาเพมิ่ เตมิ ง๒๐๒๐๑ ขนมไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้การงาน อาชพี ช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ ๑-๓ เวลาเรียน ๒๐ ชั่วโมง (๐.๕ หนว่ ยกติ ) ศึกษาความรู้ทั่วไปในการทำขนมไทย การเลือกใช้อุปกรณ์เครื่องใช้สำหรับทำขนมไทย การ เลือกซ้ือและ การเกบ็ รักษาเครอ่ื งปรุงสดและแหง้ เทคนิคการทำขนมไทยชนิดต่าง ๆ การบรรจุ วิธีเก็บรักษาขนมไทยไว้ได้นาน และถูก สุขลักษณะ ปฏิบัตงิ านเตรียมวสั ดุอุปกรณ์และเคร่ืองใช้ในการทำขนมไทยแตล่ ะชนดิ ทำขนมไทยประเภท ตา่ ง ๆ บรรจุ และเก็บ คำนวณคา่ ใช้จ่าย กำหนดราคาหรือค่าบริการจัดจำหน่าย จดบนั ทกึ ปฏิบตั ิงาน ทำ บัญชีรายรับ – รายจ่าย และประเมินผลเพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจ และมีทักษะเกี่ยวกับการทำขนมไทย และจำหนา่ ยได้ เพื่อให้มีความเสียสละในการทำงาน มีความรับผิดชอบ ซื่อสัตย์สุจริต มุ่งมั่นในการทำงาน ตามหลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ใช้ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในการทำงานอย่างประหยัด คุ้มคา่ ถกู วธิ ี และ มเี จตคติทีด่ ตี ่อการประกอบอาชพี สจุ ริต ผลการเรยี นรู้ ๑. สามารถบอกข้อมลู ทว่ั ไปเกี่ยวกบั การขนมไทยได้ ๒. บอกวสั ดุ-อุปกรณ์ วธิ ีการเลอื กใช้ การเก็บรกั ษาวสั ดุ-อปุ กรณ์ในการทำขนมไทยได้ ๓. บอกวธิ ีการเลอื กซ้ือและการเก็บรักษาเคร่อื งปรงุ สดและแห้งในการทำขนมไทยได้ ๔. อธบิ ายวิธีการบรรจุ และวธิ กี ารเก็บรักษาขนมไทยไวไ้ ด้นานและถูกสุขลักษณะได้ ๕. สามารถทำบัญชีรายรบั -รายจา่ ย และคิดคำนวณราคาจำหนา่ ยขนมไทยได้ ๖. สามารถวางแผนปฏบิ ัติ และประเมนิ ผลการทา ขนมไทยชนดิ ตา่ ง ๆ ได้ รวมท้ังหมด ๖ ผลการเรียนรู้ ❖ ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น
หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๑๕๐ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กลุ่มงานบริหารวชิ าการ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๖ ง๒๐๒๐๒ เคร่ืองดืม่ สมนุ ไพร กลุ่มสาระการเรียนรกู้ ารงานอาชีพ ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ ๑-๓ เวลาเรียน ๒๐ ชวั่ โมง จำนวน ๐.๕ หนว่ ยกติ ศึกษาวิเคราะห์สมุนไพรในท้องถิ่น การผลิตเครื่องดื่มสมุนไพร การเลือกใช้เก็บรักษาวัสดุอปุ กรณ์ การคำนวณราคาจำหน่าย การวางแผนการจัดการ ฝึกทักษะการชั่ง ตวง เตรียมวัสดอุ ุปกรณเ์ ครอ่ื งมอื เครื่องใช้ให้ถูกต้อง วางแผนการทำงาน ทำบญั ชีรับ-จ่าย จดบันทกึ การปฏิบตั ิงานและประเมินผล โดยใชท้ รพั ยากรอยา่ งประหยดั คุ้มคา่ เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจและมีทักษะในการทำเครื่องดื่มสมุนไพร และสามารถนำไปใช้ในการ ดำเนนิ ชีวิตไดอ้ ย่างมีสันติสขุ ในความเปน็ ไทยและสังคมโลก มีคุณธรรมจริยธรรม มคี ณุ ลกั ษณะ อนั พงึ ประสงคใ์ นการรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซ่อื สัตย์สจุ ริต มีวนิ ัยใฝร่ ู้รักความเปน็ ไทยและมีจติ สาธารณะ ผลการเรียนรู้ ๑. อธิบายความหมาย ความสำคัญและประโยชน์ของพืชสมุนไพรได้ ๒. บอกสว่ นประกอบของสมุนไพรได้ ๓. สำรวจและอธบิ ายสรรพคุณทางยาของสมุนไพรในท้องถิ่นได้ ๔. อธิบายประเภทและความเปน็ มาของเครื่องดม่ื สมนุ ไพรได้ ๕. วางแผนการทำงานผลติ เคร่ืองดม่ื สมนุ ไพรตามปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งได้ ๖. เลอื กใช้เก็บรกั ษาวสั ดุอุปกรณ์ท่ีใช้ในการผลิตเครอื่ งดม่ื สมนุ ไพรได้ ๗. ผลิตเครอ่ื งดืม่ สมนุ ไพรตามแผนการทำงานได้ ๘. กำหนดราคาจำหนา่ ยได้ และ ๙. ประเมนิ ผลและรายงานผลได้ รวมทั้งหมด ๙ ผลการเรยี นรู้ ❖ ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้
หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๑๕๑ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กล่มุ งานบริหารวิชาการ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๖ ง๒๐๒๐๓ งานปลูกผกั สวนครวั กลมุ่ สาระการเรยี นรู้การงานอาชพี ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๑-๓ เวลาเรยี น ๒๐ ชว่ั โมง จำนวน ๐.๕ หน่วยกติ การศึกษารายวิชาการงานอาชีพ การปลูกพืชผักสวนครัว เป็นรายวิชาที่ปลูกฝังให้ผู้เรียนรักการ ทำงาน รูจ้ ักแก้ปญั หาและสนองความต้องการภายในครอบครวั และความต้องการของท้องถ่ิน โดยยึดแนว ปฏิบัติทางด้านการเกษตรตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงศึกษาเกี่ยวกับพืชผักสวนครัว การจัดการผลผลิต ความปลอดภัยในการทำงาน การอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม คำนวณค่าใช้จ่าย จัดทำบัญชีรา ยรับ- รายจ่าย ปฏิบัติฝึกทักษะการผลิตพืชผักสวนครัว การจัดการผลผลิต ความปลอดภัยในการทำงาน การ อนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม คำนวณค่าใช้จ่าย จัดทำบัญชีรายรับ-รายจ่าย โดยใช้เทคโนโลยีท้องถิ่น และสากลในการสืบค้นข้อมูล ประเมินผลการปฏิบัติงานและปรับปรุงพัฒนางาน เพ่ือให้มีความรู้ ความ เข้าใจมีทักษะ คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมในการทำงานและการปลูกพืชผักสวนครัว ตามแนวปรัชญา เศรษฐกิจเพียงพอ ผลการเรียนรู้ ๑. บอกความหมาย ความสำคัญและประโยชนข์ องเศรษฐกจิ พอเพียงได้ ๒. บอกความหมาย ความสำคญั และประโยชน์ของพชื ผกั สวนครวั ได้ ๓. วเิ คราะหข์ ้อมลู ความตอ้ งการของตลาดพืชผักในท้องถิ่นไดถ้ ูกตอ้ ง ๔. อธิบายสภาพแวดลอ้ มทเ่ี หมาะสมกับการปลูกพืชผกั สวนครัวได้ ๕. เลอื กพืชผักทจ่ี ะปลูกได้อย่างเหมาะสม ๖. เตรยี มดินปลูกพชื ผกั สวนครวั ได้ ๗. เพาะเมล็ดพชื ผกั สวนครวั ได้ ๘. ปลูกพืชผกั สวนครัวชนดิ ที่เลอื กปลูกได้ ๙. ปฏบิ ัติดูแลพชื ผกั สวนครวั ได้ ๑๐. จดบันทึกการปฏิบตั งิ านการปลูกพืชผกั สวนครวั ได้ ๑๑. เก็บเก่ยี วผลผลิตได้ ๑๒. จัดผลผลติ พืชผกั สวนครวั และกำหนดราคาจำหน่ายได้ ๑๓. ทำบญั ชีรายรับ-รายจ่ายและประเมินผลกำไร-ขาดทุนได้ รวมทั้งหมด ๑๓ ผลการเรยี นรู้ ❖ ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น
หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๑๕๒ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กลุ่มงานบรหิ ารวิชาการ ปีการศึกษา ๒๕๖๖ คำอธิบายรายวิชา กลมุ่ สาระการเรียนร้ภู าษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ❖ ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น
หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๑๕๓ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กลุ่มงานบริหารวชิ าการ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๖ คำอธิบายรายวิชาพ้ืนฐาน อ๒๑๑๐๑ ภาษาอังกฤษ ๑ กลุม่ สาระการเรียนรูภ้ าษาต่างประเทศ (ภาษาองั กฤษ) ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๑ ภาคเรยี นที่ ๑ เวลาเรยี น ๖๐ ชัว่ โมง จำนวน ๑.๕ หนว่ ยกิต ประโยค ข้อความและความหมายท่ีเกย่ี วกับตนเอง ครอบครัว โรงเรียน อาหาร เครื่องดื่ม เวลาว่าง และนันทนาการ การซอื้ -ขาย สถานท่ี วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี การตีความ/ถ่ายโอนข้อมูลให้สัมพันธ์กับ สื่อที่มิใช่ความเรียง การจับใจความสำคัญจากการอ่านบทสนทนาและสื่อประเภทต่าง ๆ ปฏิบัติตามคำส่ัง คำแนะนำ การออกเสียงตามหลักการอ่าน สนทนาแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับตนเองและบุคคลอื่น พูดและเขียน แสดงความคิดเห็น บรรยายเกี่ยวกับตนเอง กิจวัตรประจำวัน ประสบการณ์ สิ่งแวดล้อมใกล้ตัว สรุป ใจความสำคัญ ใช้ภาษา น้ำเสียง กริยาท่าทางตามมารยาทสังคมอย่างเหมาะสม พูดและเขียนบรรยาย เกี่ยวกับชีวิตความเป็นอยู่ของเจ้าของภาษา เข้าร่วมและสามารถจัดกิจกรรมทางภาษา บอกความเหมือน และความแตกต่างระหว่างลำดับคำตามโครงสร้างประโยคของภาษาต่างประเทศและภาษาไทย เปรียบเทียบความเหมอื นและความแตกต่างระหว่างชีวติ ความเป็นอยู่ของเจ้าของภาษากับของไทย ค้นคว้า รวบรวมและสรุปข้อมูล/ข้อเท็จจริง นำเสนอข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้อื่น และใช้ภาษาสื่อสารในสถานการณ์ ต่าง ๆ มีความใฝเ่ รยี นรแู้ ละมงุ่ มน่ั ในการทำงาน รหสั ตัวชว้ี ดั ต ๑.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓, ม.๑/๔ ต ๑.๒ ม.๑/๑, ม.๑/๕ ต ๑.๓ ม.๑/๑ ต ๒.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒ ต ๓.๑ ม.๑/๑ ต ๔.๑ ม.๑/๑ รวมท้ังหมด ๑๑ ตวั ชวี้ ัด ❖ ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น
หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๑๕๔ ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กลมุ่ งานบรหิ ารวิชาการ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๖ อ๒๑๑๐๒ ภาษาอังกฤษ ๒ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี ๑ ภาคเรียนที่ ๒ เวลาเรยี น ๖๐ ชว่ั โมง จำนวน ๑.๕ หนว่ ยกิต ประโยค ข้อความและความหมายท่เี ก่ยี วกบั ตนเอง ครอบครัว โรงเรยี น อาหาร เครอ่ื งดมื่ เวลาว่าง และนันทนาการ การซื้อ-ขาย สถานที่ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี การตีความ/ถา่ ยโอนข้อมลู ให้สัมพันธ์กับ สื่อที่มิใช่ความเรียง การจับใจความสำคัญจากการอ่านบทสนทนาและสื่อประเภทต่าง ๆ ปฏิบัติตามคำส่ัง คำแนะนำ การออกเสียงตามหลักการอ่าน สนทนาแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับตนเองและบุคคลอื่น พูดและเขียน แสดงความคิดเห็น บรรยายเกี่ยวกับตนเอง กิจวัตรประจำวัน ประสบการณ์ สิ่งแวดล้อมใกล้ตัว สรุป ใจความสำคัญ ใช้ภาษา น้ำเสียง กริยาท่าทางตามมารยาทสังคมอย่างเหมาะสม พูดและเขียนบรรยาย เกี่ยวกับชีวิตความเป็นอยู่ของเจ้าของภาษา เข้าร่วมและสามารถจัดกิจกรรมทางภาษา บอกความเหมือน และความแตกต่างระหว่างลำดับคำตามโครงสร้างประโยคของภาษาต่างประเทศและภาษาไทย เปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างระหว่างชีวติ ความเป็นอยู่ของเจ้าของภาษากับของไทย ค้นคว้า รวบรวมและสรุปข้อมูล/ข้อเท็จจริง นำเสนอข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้อื่น และใช้ภาษาสื่อสารในสถานการณ์ ต่าง ๆ มคี วามใฝเ่ รียนรแู้ ละมงุ่ มน่ั ในการทำงาน รหัสตวั ช้วี ดั ต ๑.๑ ม.๑/๒, ม.๑/๓, ม.๑/๔ ต ๑.๒ ม.๑/๑, ม.๑/๔, ม.๑/๕ ต ๑.๓ ม.๑/๑ ต ๒.๑ ม.๑/๒, ม.๑/๓ ต ๒.๒ ม.๑/๑, ม.๑/๒ ต ๓.๑ ม.๑/๑ ต ๔.๑ ม.๑/๑ รวมท้ังหมด ๑๓ ตวั ช้ีวดั ❖ ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้
หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๑๕๕ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กลุม่ งานบรหิ ารวิชาการ ปีการศึกษา ๒๕๖๖ อ๒๒๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๓ กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาตา่ งประเทศ (ภาษาองั กฤษ) ช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรียนท่ี ๑ เวลาเรยี น ๖๐ ชว่ั โมง จำนวน ๑.๕ หนว่ ยกติ ปฏบิ ตั ติ ามคำแนะนำ อา่ นออกเสยี งขอ้ ความและบทร้อยกรองสั้นๆ ถูกตอ้ งตามหลักการอ่าน ระบุ/ เขียนประโยค ข้อความให้สัมพันธ์กับสื่อที่ไม่ใช่ความเรียงรูปแบบต่าง ๆ ที่อ่าน เลือกหัวข้อเรื่อง ใจความ สำคัญ รายละเอียดสนับสนุน และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่ฟังและอ่าน สนทนาแลกเปลี่ยนข้อมูล เกี่ยวกับตนเอง เรื่องต่าง ๆ ใกล้ตัว และสถานการณ์ต่าง ๆ ในชีวิตประจำวัน ให้คำแนะนำ พูดและเขียน ตอบรับและปฏิเสธการให้ความช่วยเหลือในสถานการณ์ต่าง ๆ อย่างเหมาะสม พูดและเขียนแสดงความ คิดเห็นของตนเองเกี่ยวกับเรื่องต่าง ๆ พร้อมให้เหตุผลประกอบอย่างเหมาะสม พูดและเขียนบรรยาย เกี่ยวกับตนเอง เหตุการณ์ที่อยู่ในความสนใจของสังคม เลือกใช้ภาษา น้ำเสียง และกิริยาท่าทางเหมาะกับ บุคคลและโอกาส ตามมารยาทสังคมและวฒั นธรรมของเจ้าของภาษา อธิบายเกีย่ วกบั ชวี ติ ความเป็นอยู่และ ประเพณีของเจ้าของภาษา เปรียบเทียบและอธิบายความเหมือนและความแตกต่างระหว่างการออกเสียง ประโยคชนิดต่าง ๆ และการลำดับคำตามโครงสร้างประโยคของภาษาต่างประเทศและภาษาไทย เปรยี บเทียบและอธิบายความเหมอื นและความแตกต่างระหว่างชีวิตความเป็นอยู่และวฒั นธรรมของเจ้าของ ภาษากับของไทย ค้นคว้า รวบรวม และสรุปข้อมลู /ขอ้ เท็จจริงท่ีเกี่ยวข้องกับกลุ่มสาระการเรียนรู้เทคโนโลยี สารสนเทศ วิทยาศาสตร์ สุขศึกษา สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ภูมิศาสตร์) จากแหล่งการเรียนรู้ และนำเสนอด้วยการพูด/การเขียน ใช้ภาษาสื่อสารในสถานการณ์จริง/สถานการณ์จำลองที่เกิดขึ้นใน ห้องเรียน มีทกั ษะการใช้ภาษาตา่ งประเทศ (เนน้ การฟงั -พดู -อ่าน-เขียน) สือ่ สารตามหัวเร่ืองเกี่ยวกับตนเอง ครอบครัว โรงเรียน สิ่งแวดล้อม อาหาร เวลาว่างและนันทนาการ สุขภาพและสวัสดิการ อาชีพ สถานที่ และวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มีความใฝเ่ รยี นรู้และมุ่งมนั่ ในการทำงาน รหสั ตัวช้ีวดั ต ๑.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓, ม.๒/๔ ต ๑.๒ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓, ม.๒/๕ ต ๑.๓ ม.๒/๑, ม.๒/๓ ต ๒.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒ ต ๒.๒ ม.๒/๑, ม.๒/๒ ต ๓.๑ ม.๒/๑ ต ๔.๑ ม.๒/๑ รวมทั้งหมด ๑๖ ตัวชีว้ ดั ❖ ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้
หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๑๕๖ ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กล่มุ งานบรหิ ารวิชาการ ปีการศึกษา ๒๕๖๖ อ๒๒๑๐๒ ภาษาอังกฤษ ๔ กลุม่ สาระการเรยี นรูภ้ าษาตา่ งประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี ๒ ภาคเรียนท่ี ๒ เวลาเรยี น ๖๐ ชั่วโมง จำนวน ๑.๕ หน่วยกิต ปฏิบตั ติ ามคำแนะนำ อา่ นออกเสยี งขอ้ ความและบทร้อยกรองส้ันๆ ถูกตอ้ งตามหลกั การอ่าน ระบุ/ เขียนประโยค ข้อความให้สัมพันธ์กับสื่อที่ไม่ใช่ความเรียงรูปแบบต่าง ๆ ที่อ่าน เลือกหัวข้อเรื่อง ใจความ สำคัญ รายละเอียดสนับสนุน และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่ฟังและอ่าน สนทนาแลกเปลี่ยนข้อมูล เกี่ยวกับตนเอง เรื่องต่าง ๆ ใกล้ตัว และสถานการณ์ต่าง ๆ ในชีวิตประจำวัน ให้คำแนะนำ พูดและเขียน ตอบรับและปฏิเสธการให้ความช่วยเหลือในสถานการณ์ต่าง ๆ อย่างเหมาะสม พูดและเขียนแสดงความ คิดเห็นของตนเองเกี่ยวกับเรื่องต่าง ๆ พร้อมให้เหตุผลประกอบอย่างเหมาะสม พูดและเขียนบรรยาย เกี่ยวกับตนเอง เหตุการณ์ท่ีอยู่ในความสนใจของสังคม เลือกใช้ภาษา น้ำเสียง และกิริยาท่าทางเหมาะกับ บุคคลและโอกาส ตามมารยาทสงั คมและวัฒนธรรมของเจา้ ของภาษา อธิบายเกย่ี วกบั ชีวิตความเป็นอยู่และ ประเพณีของเจ้าของภาษา เปรียบเทียบและอธิบายความเหมือนและความแตกต่างระหว่างการออกเสียง ประโยคชนิดต่าง ๆ และการลำดับคำตามโครงสร้างประโยคของภาษาต่างประเทศและภาษาไทย เปรียบเทยี บและอธิบายความเหมอื นและความแตกต่างระหว่างชวี ิตความเป็นอยู่และวฒั นธรรมของเจ้าของ ภาษากับของไทย คน้ ควา้ รวบรวม และสรุปข้อมูล/ข้อเท็จจริงที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มสาระการเรียนรูเ้ ทคโนโลยี สารสนเทศ วิทยาศาสตร์ สุขศึกษา สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ภูมิศาสตร์) จากแหล่งการเรียนรู้ และนำเสนอดว้ ยการพดู /การเขยี น ใช้ภาษาสื่อสารในสถานการณ์จริง/สถานการณ์จำลองที่เกิดขึ้นในห้องเรียน มีทักษะการใช้ ภาษาต่างประเทศ (เน้นการฟัง-พูด-อ่าน-เขียน) สื่อสารตามหัวเรื่องเกี่ยวกับตนเอง ครอบครัว โรงเรียน สิ่งแวดล้อม อาหาร เวลาว่างและนันทนาการ สุขภาพและสวัสดิการ อาชีพ สถานที่ และวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี มีความใฝ่เรียนรูแ้ ละม่งุ มั่นในการทำงาน รหสั ตวั ช้วี ดั ต ๑.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓, ม.๒/๔ ต ๑.๒ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓, ม.๒/๕ ต ๑.๓ ม.๒/๑, ม.๒/๓ ต ๒.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒ ต ๒.๒ ม.๒/๑, ม.๒/๒ ต ๓.๑ ม.๒/๑ ต ๔.๑ ม.๒/๑ รวมท้ังหมด ๑๖ ตัวช้ีวัด ❖ ระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น
หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๑๕๗ ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กลุ่มงานบริหารวชิ าการ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๖ อ๒๓๑๐๑ ภาษาองั กฤษ ๕ กล่มุ สาระการเรียนรภู้ าษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ ๓ ภาคเรยี นท่ี ๑ เวลาเรยี น ๖๐ ชัว่ โมง จำนวน ๑.๕ หน่วยกิต เข้าใจคำแนะนำ อ่านออกเสียงข้อความ และบทร้อยกรองสั้นๆ ถูกต้องตามหลักการอ่าน ระบุ/ เขียนสื่อที่ไม่ใช่ความเรียงรูปแบบต่าง ๆ สัมพันธ์กับประโยคและข้อความที่ฟังและอ่าน เลือก/ระบุหัวข้อ เรื่อง ใจความสำคัญ รายละเอียดสนับสนุน และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่ฟังและอ่าน สนทนาและ เขียนโต้ตอบข้อมูลเกี่ยวกับตนเองและเรื่องต่าง ๆ ใกล้ตัว สถานการณ์ เรื่องที่อยู่ในความสนใจของสังคม ให้คำแนะนำอย่างเหมาะสม พูดและเขียนเพื่อขอและให้ข้อมูล บรรยายความรู้สึกและความคิดเห็น บรรยายเกี่ยวกับตนเอง ประสบการณ์ ข่าว/เหตุการณ/์ เร่ือง/ประเด็นต่าง ๆ ที่อยู่ในความสนใจของสงั คม สรุปใจความสำคัญ/แก่นสาระ เลือกใช้ภาษา น้ำเสียง และกิริยาท่าทางเหมาะกับบุคคลและโอกาส ตาม มารยาทสังคมและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา อธิบายเกี่ยวกับชีวิตความเป็นอยู่ ขนบธรรมเนียมและ ประเพณขี องเจา้ ของภาษา เขา้ รว่ ม/จัดกิจกรรมทางภาษาและวฒั นธรรมตามความสนใจ เปรียบเทียบ และ อธิบายความเหมือนและความแตกต่างระหว่างการออกเสียงประโยคชนิดต่าง ๆ และการลำดับคำตาม โครงสร้างประโยคของภาษาต่างประเทศและภาษาไทย เปรียบเทียบและอธิบายความเหมือนและความ แตกตา่ งระหวา่ งชีวติ ความเปน็ อยู่และวฒั นธรรมของเจ้าของภาษากับของไทย คน้ คว้า รวบรวม และสรุป ข้อมูล/ข้อเท็จจริงที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ภูมศิ าสตร์และประวัติศาสตร)์ จากแหลง่ การเรยี นรู้ และนำเสนอด้วยการพูดและการเขียน ใช้ภาษาสื่อสาร ในสถานการณ์จริง/สถานการณ์จำลองที่เกิดขึ้นในห้องเรียน ใช้ภาษาต่างประเทศในการสืบค้น/ค้นคว้า รวบรวม และสรุปความรู้/ข้อมูลต่าง ๆ จากสื่อและแหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ ในการศึกษาต่อและประกอบ อาชพี เผยแพร/่ ประชาสัมพันธ์ข้อมูล ขา่ วสารของโรงเรียน ชมุ ชน และท้องถิน่ เปน็ ภาษาต่างประเทศ มีทักษะการใช้ภาษาต่างประเทศ (เน้นการฟัง-พูด-อ่าน-เขียน) สื่อสารตามหัวเรื่องเกี่ยวกับตนเอง ครอบครวั โรงเรยี น ส่ิงแวดล้อม อาหาร เครอ่ื งดื่ม เวลาว่างและนนั ทนาการ สขุ ภาพและสวัสดิการ การซ้ือ- ขาย การศึกษาและอาชีพ สถานที่ และวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มีความใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน และอยู่อยา่ งพอเพียง รหัสตัวชีว้ ดั ต ๑.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓, ม.๓/๔ ต ๑.๒ ม.๓/๑, ม.๓/๔, ม.๓/๕ ต ๑.๓ ม.๓/๑ ต ๒.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓ ต ๒.๒ ม.๓/๑, ม.๓/๒ ต ๓.๑ ม.๓/๑ ต ๔.๑ ม.๓/๑ ต ๔.๒ ม.๓/๑, ม.๓/๒ รวมทั้งหมด ๑๗ ตวั ช้ีวดั ❖ ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น
หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๑๕๘ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กลมุ่ งานบริหารวชิ าการ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๖ อ๒๓๑๐๒ ภาษาองั กฤษ ๖ กล่มุ สาระการเรยี นรู้ภาษาตา่ งประเทศ (ภาษาองั กฤษ) ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่ ๓ ภาคเรียนที่ ๒ เวลาเรยี น ๖๐ ช่วั โมง จำนวน ๑.๕ หนว่ ยกิต เข้าใจคำแนะนำ อ่านออกเสียงข้อความ และบทร้อยกรองสั้นๆ ถูกต้องตามหลักการอ่าน ระบุ/ เขียนสื่อที่ไม่ใช่ความเรียงรูปแบบต่าง ๆ สัมพันธ์กับประโยคและข้อความที่ฟังและอ่าน เลือก/ระบุหัวข้อ เรื่อง ใจความสำคัญ รายละเอียดสนับสนุน และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่ฟังและอ่าน สนทนาและ เขียนโต้ตอบข้อมูลเกี่ยวกับตนเองและเรื่องต่าง ๆ ใกล้ตัว สถานการณ์ เรื่องที่อยู่ในความสนใจของสังคม ให้คำแนะนำอย่างเหมาะสม พูดและเขียนเพื่อขอและให้ข้อมูล บรรยายความรู้สึกและความคิดเห็น บรรยายเก่ียวกับตนเอง ประสบการณ์ ข่าว/เหตุการณ/์ เร่ือง/ประเด็นต่าง ๆ ที่อยู่ในความสนใจของสงั คม สรุปใจความสำคัญ/แก่นสาระ เลือกใช้ภาษา น้ำเสียง และกิริยาท่าทางเหมาะกับบุคคลและโอกาส ตาม มารยาทสังคมและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา อธิบายเกี่ยวกับชีวิตความเป็นอยู่ ขนบธรรมเนียมและ ประเพณีของเจา้ ของภาษา เขา้ รว่ ม/จัดกิจกรรมทางภาษาและวฒั นธรรมตามความสนใจ เปรียบเทยี บ และ อธิบายความเหมือนและความแตกต่างระหว่างการออกเสียงประโยคชนิดต่าง ๆ และการลำดับคำตาม โครงสร้างประโยคของภาษาต่างประเทศและภาษาไทย เปรียบเทียบและอธิบายความเหมือนและความ แตกต่างระหว่างชวี ิตความเปน็ อยู่และวัฒนธรรมของเจา้ ของภาษากับของไทย คน้ คว้า รวบรวม และสรุป ข้อมูล/ข้อเท็จจริงที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ภูมิศาสตร์และประวัติศาสตร์) จากแหล่งการเรยี นรู้ และนำเสนอดว้ ยการพูดและการเขียน ใช้ภาษาส่ือสาร ในสถานการณ์จริง/สถานการณ์จำลองที่เกิดขึ้นในห้องเรียน ใช้ภาษาต่างประเทศในการสืบค้น/ค้นคว้า รวบรวม และสรุปความรู้/ข้อมูลต่าง ๆ จากสื่อและแหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ ในการศึกษาต่อและประกอบ อาชีพ เผยแพร/่ ประชาสัมพันธ์ข้อมูล ขา่ วสารของโรงเรียน ชมุ ชน และทอ้ งถ่ิน เปน็ ภาษาต่างประเทศ มีทักษะการใช้ภาษาต่างประเทศ (เน้นการฟัง-พูด-อ่าน-เขียน) สื่อสารตามหัวเรื่องเกี่ยวกับตนเอง ครอบครวั โรงเรียน ส่ิงแวดล้อม อาหาร เครอ่ื งด่ืม เวลาวา่ งและนันทนาการ สุขภาพและสวสั ดิการ การซ้ือ- ขาย การศึกษาและอาชีพ สถานที่ และวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มีความใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน และอยอู่ ย่างพอเพยี ง รหสั ตวั ชวี้ ดั ต ๑.๑ ม.๓/๒, ม.๓/๓, ม.๓/๔ ต ๑.๒ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๔, ม.๓/๕ ต ๑.๓ ม.๓/๑, ม.๓/๒ ต ๒.๑ ม.๓/๑, ม.๓/๒, ม.๓/๓ ต ๒.๒ ม.๓/๑, ม.๓/๒ ต ๓.๑ ม.๓/๑ ต ๔.๑ ม.๓/๑ ต ๔.๒ ม.๓/๑ รวมท้ังหมด ๑๗ ตวั ช้ีวดั ❖ ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้
หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๑๕๙ ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กลุ่มงานบริหารวชิ าการ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๖ คำอธบิ ายรายวชิ าเพิม่ เติม อ๒๐๒๐๑ ภาษาอังกฤษเพ่ือการสอ่ื สาร ๑ กลุม่ สาระการเรียนร้ภู าษาตา่ งประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๑ – ๓ เวลาเรยี น ๒๐ ชว่ั โมง จำนวน ๐.๕ หน่วยกติ ศึกษาทักษะการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร จากสิ่งที่อ่าน-ฟังและพบเห็นจากข่าวสารข้อมูล สารคดี บันเทิงคดี จากส่อื อันหลากหลาย ทงั้ สอ่ื ส่ิงพิมพแ์ ละส่ืออเิ ล็กทรอนิกส์ ที่เกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรมภูมิ ปัญญาท้องถิ่น ประสบการณ์ สถานการณ์ ข่าว / เหตุการณ์ ประเด็นที่อยู่ในความสนใจของสังคม พูด แสดงความต้องการ และสื่อสาร อย่างต่อเนื่องและเหมาะสม โต้ตอบสื่อความ เลือกและใช้คำขอร้อง ให้ คำแนะนำ คำชี้แจง คำอธิบาย อย่างคล่องแคล่ว และแสดงความคิดเห็น ได้ตามต้องการ ใช้ ภาษา น้ำเสียง และกิริยาท่าทางในการสื่อสารในสถานการณ์จริงและสถานการณ์จำลองอย่างเหมาะสมกับระดับ ของบุคคล เวลา โอกาส และสถานที่ ถูกต้องตามมารยาทสังคมและวัฒนธรรมของเจา้ ของภาษา โดยเลือกใช้ทักษะกระบวนการฟัง พูด อ่าน เขียน ทักษะการจำ คิด วิเคราะห์และเขียน สื่อความ กระบวนการทำงานกลุ่ม/คู่ และสมรรถนะ ๕ สมรรถนะ คือ ความสามารถในการสื่อสาร ความสามารถ ในการคิด ความสามารถในการแก้ปัญหา ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต ความสามารถในการใช้ เทคโนโลยี เพื่อให้นักเรียน เป็นผู้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ใฝ่ เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการทำงาน รักความเป็นไทย และมีจิตสาธารณะ อนุรักษ์พลังงานและ ส่งิ แวดล้อม สืบสานศิลปวฒั นธรรมท้องถน่ิ ชุมชนรว่ มพัฒนา ยดึ ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ผลการเรียนรู้ ๑. สนทนาโต้ตอบข้อมูลเกี่ยวกับตนเองและเรื่องต่าง ๆ ใกล้ตัว ประสบการณ์ สถานการณ์ ข่าว/ เหตกุ ารณ์ ประเด็นท่อี ยู่ในความสนใจของสังคม และสือ่ สาร อย่างตอ่ เนอื่ งและเหมาะสม ๒. พูดแสดงความต้องการ เสนอ ตอบรับและปฏิเสธการให้ความช่วยเหลือในสถานการณ์จำลองหรือ สถานการณ์จรงิ อยา่ งเหมาะสม ๓. พูดเพื่อขอและให้ข้อมูล บรรยาย และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่อง/ประเด็น/ข่าว/เหตุการณ์ที่ฟัง อย่างเหมาะสม ๔. พูดบรรยายความรสู้ ึกและแสดงความคดิ เหน็ ของตนเองเกีย่ วกับ กจิ กรรม ประสบการณ์ และขา่ วอย่างมี เหตผุ ล ๕. พูดนำเสนอข้อมูลเกีย่ วกบั ตนเอง ประสบการณ์ ขา่ ว/เหตุการณ์ เรื่องและประเดน็ ต่าง ๆ ตามความสนใจ ของสังคม ๖. เลือกใช้ภาษา น้ำเสียง และกิริยาท่าทางเหมาะกับระดับของบุคคล โอกาส และสถานที่ ตามมารยาท สังคมและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา ๗. คน้ ควา้ /สืบค้น บนั ทึก สรปุ และแสดงความคดิ เห็นเกีย่ วกบั ขอ้ มลู ท่ีเก่ียวข้องกับกลุม่ สาระการเรียนรู้อื่น จากแหลง่ เรยี นรตู้ ่าง ๆ และนำเสนอดว้ ยการพูด รวมทั้งหมด ๗ ผลการเรียนรู้ ❖ ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น
หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๑๖๐ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กล่มุ งานบริหารวชิ าการ ปีการศึกษา ๒๕๖๖ อ๒๐๒๐๒ ภาษาอังกฤษเพื่อการสอื่ สาร ๒ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาตา่ งประเทศ (ภาษาองั กฤษ) ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๑ – ๓ เวลาเรยี น ๒๐ ช่วั โมง จำนวน ๐.๕ หนว่ ยกติ ศึกษาทักษะการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร จากสิ่งที่อ่าน-ฟังและพบเห็นจากข่าวสารข้อมูล สารคดี บันเทงิ คดี จากส่ืออันหลากหลาย ทั้งสอ่ื สงิ่ พิมพ์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ทเ่ี ก่ียวกับศิลปวัฒนธรรมภูมิ ปัญญาท้องถิ่น ประสบการณ์ สถานการณ์ ข่าว / เหตุการณ์ ประเด็นที่อยู่ในความสนใจของสังคม พูด แสดงความต้องการ และสื่อสาร อย่างต่อเนื่องและเหมาะสม โต้ตอบสื่อความ เลือกและใช้คำขอร้อง ให้ คำแนะนำ คำชี้แจง คำอธิบาย อย่างคล่องแคล่ว และแสดงความคิดเห็น ได้ตามต้องการ ใช้ ภาษา น้ำเสียง และกิริยาท่าทางในการสื่อสารในสถานการณ์จริงและสถานการณ์จำลองอย่างเหมาะสมกับระดบั ของบคุ คล เวลา โอกาส และสถานท่ี ถูกต้องตามมารยาทสงั คมและวฒั นธรรมของเจา้ ของภาษา โดยเลือกใช้ทักษะกระบวนการฟัง พูด อ่าน เขียน ทักษะการจำ คิด วิเคราะห์และเขียน สื่อความ กระบวนการทำงานกลุ่ม/คู่ และสมรรถนะ ๕ สมรรถนะ คือ ความสามารถในการสื่อสาร ความสามารถ ในการคิด ความสามารถในการแก้ปัญหา ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต ความสามารถในการใช้ เทคโนโลยี เพื่อให้นักเรียน เป็นผู้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ใฝ่ เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการทำงาน รักความเป็นไทย และมีจิตสาธารณะ อนุรักษ์พลังงานและ สงิ่ แวดลอ้ ม สืบสานศิลปวฒั นธรรมท้องถ่นิ ชมุ ชนร่วมพฒั นา ยึดปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลการเรยี นรู้ ๑. สนทนาโต้ตอบข้อมูลเกี่ยวกับตนเองและเรื่องต่าง ๆ ใกล้ตัว ประสบการณ์ สถานการณ์ ข่าว/ เหตกุ ารณ์ ประเดน็ ท่ีอยใู่ นความสนใจของสงั คม และส่ือสาร อยา่ งต่อเนื่องและเหมาะสม ๒. พูดแสดงความต้องการ เสนอ ตอบรับและปฏิเสธการใหค้ วามชว่ ยเหลือในสถานการณจ์ ำลองหรือ สถานการณจ์ ริงอยา่ งเหมาะสม ๓. พูดเพื่อขอและให้ขอ้ มูล บรรยาย และแสดงความคิดเห็นเกีย่ วกับเรื่อง/ประเด็น/ขา่ ว/เหตกุ ารณ์ท่ี ฟังอย่างเหมาะสม ๔. พูดบรรยายความรู้สึกและแสดงความคิดเห็นของตนเองเกี่ยวกบั กิจกรรม ประสบการณ์ และข่าว อย่างมีเหตุผล ๕. พูดนำเสนอข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง ข่าว/เหตุการณ์ เรื่องและประเด็นต่าง ๆ ตามความสนใจของ สังคม ๖. เลือกใช้ภาษา น้ำเสียง และกิริยาท่าทางเหมาะกับระดับของบุคคล โอกาส และสถานที่ ตาม มารยาทสังคมและวฒั นธรรมของเจา้ ของภาษา ๗. ค้นคว้า/สืบค้น บันทึก สรุป และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มสาระการ เรยี นรูอ้ น่ื จากแหลง่ เรียนรตู้ า่ ง ๆ และนำเสนอดว้ ยการพูด รวมท้ังหมด ๗ ผลการเรยี นรู้ ❖ ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น
หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๑๖๑ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กลุ่มงานบริหารวชิ าการ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๖ อ๒๐๒๐๓ ภาษาองั กฤษเพ่ือการสอ่ื สาร ๓ กล่มุ สาระการเรยี นรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๑ – ๓ เวลาเรยี น ๒๐ ชัว่ โมง จำนวน ๐.๕ หน่วยกติ ศึกษาทักษะการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร จากสิ่งที่อ่าน-ฟังและพบเห็นจากข่าวสารข้อมูล สารคดี บันเทงิ คดี จากสอ่ื อันหลากหลาย ทัง้ สือ่ ส่งิ พิมพแ์ ละสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ทเี่ ก่ียวกับศิลปวัฒนธรรมภูมิ ปัญญาท้องถิ่น ประสบการณ์ สถานการณ์ ข่าว / เหตุการณ์ ประเด็นที่อยู่ในความสนใจของสังคม พูด แสดงความต้องการ และสื่อสาร อย่างต่อเนื่องและเหมาะสม โต้ตอบสื่อความ เลือกและใช้คำขอร้อง ให้ คำแนะนำ คำชี้แจง คำอธิบาย อย่างคล่องแคล่ว และแสดงความคิดเห็น ได้ตามต้องการ ใช้ ภาษา น้ำเสียง และกิริยาท่าทางในการสื่อสารในสถานการณ์จริงและสถานการณ์จำลองอย่างเหมาะสมกับระดบั ของบุคคล เวลา โอกาส และสถานที่ ถกู ต้องตามมารยาทสงั คมและวัฒนธรรมของเจา้ ของภาษา โดยเลือกใช้ทักษะกระบวนการฟัง พูด อ่าน เขียน ทักษะการจำ คิด วิเคราะห์และเขียน สื่อความ กระบวนการทำงานกลุ่ม/คู่ และสมรรถนะ ๕ สมรรถนะ คือ ความสามารถในการสื่อสาร ความสามารถ ในการคิด ความสามารถในการแก้ปัญหา ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต ความสามารถในการใช้ เทคโนโลยี เพื่อให้นักเรียน เป็นผู้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ใฝ่ เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการทำงาน รักความเป็นไทย และมีจิตสาธารณะ อนุรักษ์พลังงานและ สงิ่ แวดล้อม สืบสานศิลปวฒั นธรรมทอ้ งถ่ิน ชุมชนร่วมพฒั นา ยดึ ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง ผลการเรียนรู้ ๑. สนทนาโต้ตอบข้อมูลเกี่ยวกับตนเองและเรื่องต่าง ๆ ใกล้ตัว ประสบการณ์ สถานการณ์ ข่าว/ เหตกุ ารณ์ ประเดน็ ทอ่ี ยู่ในความสนใจของสงั คม และสื่อสาร อย่างตอ่ เนอ่ื งและเหมาะสม ๒. พดู แสดงความต้องการ เสนอ ตอบรบั และปฏเิ สธการให้ความชว่ ยเหลอื ในสถานการณ์จำลองหรือ สถานการณจ์ ริงอย่างเหมาะสม ๓. พดู เพือ่ ขอและให้ข้อมลู บรรยาย และแสดงความคดิ เห็นเก่ียวกับเร่ือง/ประเด็น/ข่าว/เหตุการณ์ที่ ฟังอย่างเหมาะสม ๔. พูดบรรยายความรู้สึกและแสดงความคิดเหน็ ของตนเองเก่ียวกับ กิจกรรม ประสบการณ์ และข่าว อย่างมีเหตุผล ๕. พูดนำเสนอข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง ข่าว/เหตุการณ์ เรื่องและประเด็นต่าง ๆ ตามความสนใจของ สังคม ๖. เลือกใช้ภาษา น้ำเสียง และกิริยาท่าทางเหมาะกับระดับของบุคคล โอกาส และสถานที่ ตาม มารยาทสังคมและวฒั นธรรมของเจา้ ของภาษา ๗. ค้นคว้า/สืบค้น บันทึก สรุป และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มสาระการ เรียนรอู้ นื่ จากแหลง่ เรยี นร้ตู ่าง ๆ และนำเสนอดว้ ยการพูด รวมท้ังหมด ๗ ผลการเรยี นรู้ ❖ ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น
หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๑๖๒ ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กลมุ่ งานบริหารวิชาการ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๖ อ๒๐๒๐๔ ภาษาอังกฤษเพื่อการส่อื สาร ๔ กล่มุ สาระการเรียนรู้ภาษาตา่ งประเทศ (ภาษาองั กฤษ) ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ ๑ – ๓ เวลาเรียน ๒๐ ช่วั โมง จำนวน ๐.๕ หนว่ ยกติ ศึกษาทักษะการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร จากสิ่งที่อ่าน-ฟังและพบเห็นจากข่าวสารข้อมูล สารคดี บนั เทิงคดี จากสอื่ อนั หลากหลาย ทัง้ สื่อสิง่ พิมพแ์ ละส่ืออเิ ล็กทรอนิกส์ ทีเ่ ก่ียวกับศิลปวัฒนธรรมภูมิ ปัญญาท้องถิ่น ประสบการณ์ สถานการณ์ ข่าว / เหตุการณ์ ประเด็นที่อยู่ในความสนใจของสังคม พูด แสดงความต้องการ และสื่อสาร อย่างต่อเนื่องและเหมาะสม โต้ตอบสื่อความ เลือกและใช้คำขอร้อง ให้ คำแนะนำ คำชี้แจง คำอธิบาย อย่างคล่องแคล่ว และแสดงความคิดเห็น ได้ตามต้องการ ใช้ ภาษา น้ำเสียง และกิริยาท่าทางในการสื่อสารในสถานการณ์จริงและสถานการณ์จำลองอย่างเหมาะสมกับระดับ ของบุคคล เวลา โอกาส และสถานท่ี ถกู ต้องตามมารยาทสงั คมและวฒั นธรรมของเจา้ ของภาษา โดยเลือกใช้ทักษะกระบวนการฟัง พูด อ่าน เขียน ทักษะการจำ คิด วิเคราะห์และเขียน สื่อความ กระบวนการทำงานกลุ่ม/คู่ และสมรรถนะ ๕ สมรรถนะ คือ ความสามารถในการสื่อสาร ความสามารถ ในการคิด ความสามารถในการแก้ปัญหา ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต ความสามารถในการใช้ เทคโนโลยี เพื่อให้นักเรียน เป็นผู้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ใฝ่ เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการทำงาน รักความเป็นไทย และมีจิตสาธารณะ อนุรักษ์พลังงานและ สิ่งแวดลอ้ ม สบื สานศิลปวัฒนธรรมทอ้ งถิ่น ชุมชนรว่ มพฒั นา ยดึ ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง ผลการเรยี นรู้ ๑. จบั ใจความสำคัญ วิเคราะห์ความสรปุ ความ ตีความ และแสดงความคิดเห็นจากการฟงั เร่ืองที่เป็น สารคดีและบนั เทงิ คดี พร้อมท้ังให้เหตผุ ลและยกตวั อย่างประกอบ ๒. สนทนาโต้ตอบข้อมูลเกี่ยวกับตนเองและเร่ืองตา่ ง ๆ ใกล้ตัว ประสบการณ์ สถานการณ์ ข่าว/ เหตกุ ารณ์ ประเดน็ ที่อยูใ่ นความสนใจของสังคม และสอื่ สาร อยา่ งตอ่ เน่อื งและเหมาะสม ๓. เลือกและใช้คำขอร้อง ใหค้ ำแนะนำ คำชี้แจง คำอธิบาย อย่างคลอ่ งแคล่ว ๔. พูดแสดงความต้องการ เสนอ ตอบรับและปฏเิ สธการใหค้ วามช่วยเหลือในสถานการณจ์ ำลองหรือ สถานการณจ์ รงิ อย่างเหมาะสม ๕. พูดเพื่อขอและให้ข้อมูล บรรยาย อธิบาย เปรียบเทียบ และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่อง/ ประเดน็ /ขา่ ว/เหตกุ ารณ์ท่ฟี ังอย่างเหมาะสม ๖. พูดบรรยายความรู้สึกและแสดงความคิดเห็นของตนเองเกี่ยวกับ เรื่องต่าง ๆ กิจกรรม ประสบการณ์ และขา่ ว/เหตุการณอ์ ยา่ งมเี หตผุ ล ๗. พูดนำเสนอข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง ประสบการณ์ ข่าว/เหตุการณ์ เรื่องและประเด็นต่าง ๆ ตาม ความสนใจของสงั คม ๘. เลือกใช้ภาษา น้ำเสียง และกิริยาท่าทางเหมาะกับระดับของบุคคล โอกาส และสถานที่ ตาม มารยาทสงั คมและวัฒนธรรมของเจา้ ของภาษา ❖ ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น
หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๑๖๓ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กลุ่มงานบริหารวิชาการ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๖ ๙. วิเคราะห์/อภิปราย ความเหมือนและความแตกต่างระหว่างวิถีชีวิต ความเชื่อและวัฒนธรรมของ เจา้ ของภาษากบั ของไทยและนำไปใช้อย่างมเี หตุผล ๑๐.ค้นคว้า/สืบค้น บันทึก สรุป และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มสาระการ เรยี นรู้อืน่ จากแหลง่ เรียนรตู้ า่ ง ๆ และนำเสนอด้วยการพูด ๑๑.ใช้ภาษาต่างประเทศในการสืบค้น/ค้นคว้า รวบรวม วิเคราะห์ และสรุปความรู้/ข้อมูลต่าง ๆ จาก สื่อและแหล่งการเรยี นร้ตู า่ ง ๆ ในการศึกษาต่อและประกอบอาชีพ ๑๒.ใช้ภาษาสื่อสารในสถานการณ์จริง/สถานการณ์จำลองที่เกิดขึ้นในห้องเรียน สถานศึกษา ชุมชน และสังคม ๑๓.เผยแพร่/ประชาสัมพันธ์ ข้อมูล ข่าวสารของโรงเรียน ชุมชน และท้องถิ่น/ประเทศชาติ เป็น ภาษาต่างประเทศ รวมทั้งหมด ๑๓ ผลการเรยี นรู้ ❖ ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น
หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๑๖๔ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กลุ่มงานบรหิ ารวชิ าการ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๖ อ๒๐๒๐๕ ภาษาองั กฤษเพ่ือการสอ่ื สาร ๕ กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาตา่ งประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี ๑ – ๓ เวลาเรียน ๒๐ ชัว่ โมง จำนวน ๐.๕ หน่วยกติ ศึกษาทักษะการฟังบทสนทนาและข้อความสั้น ๆ แล้วจับใจความ และพูดบอกรายละเอียดและ สรุปประเด็นสำคัญได้ อ่านออกเสียงบทสนทนาถูกต้องตามหลักการอ่าน ใช้ภาษาและโครงสร้างทาง ไวยากรณ์ในการพูดโต้ตอบในสถานการณ์ที่แตกต่างหลากหลาย โดยใช้ภาษา น้ำเสียง กิริยาท่าทางท่ี เหมาะสมตามมารยาททางสังคมและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา เช่น พูดทักทาย พูดให้ข้อมูลส่วนบุคคล พูดถามและให้ข้อมูลเกี่ยวกับสิ่งของ เหตุการณ์และความบันเทิง พูดเชื้อเชิญ พูดคุยเกี่ยวกับบุคลิกภาพ ความสามารถและความสนใจของบุคคล เหตกุ ารณข์ ้อมลู ส่วนบคุ คลในอดีต ใชค้ ำศพั ทใ์ นการพูดเก่ียวกับวิถี ชีวิตในอดตี และการเปลี่ยนแปลงรูปลกั ษณะส่วนบคุ คล ฝึกการใช้ภาษาในการเรยี บเรียงลำดับการเกิดของ เหตุการณต์ า่ ง ๆ ใชค้ ำศัพทโ์ ครงสรา้ งภาษาในการสรปุ ความคดิ เหน็ การพูดคุยเกย่ี วกบั วัฒนธรรม ไดร้ ับการ ส่งเสริมให้เป็นผู้ที่ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน รู้จักกาลเทศะ มีสุนทรียภาพทางภาษา รู้จัก เข้าใจ และ ภูมใิ จในตัวเอง โดยเลือกใช้ทักษะกระบวนการฟัง พูด อ่าน เขียน ทักษะการจำ คิด วิเคราะห์และเขียน สื่อความ กระบวนการทำงานกลุ่ม/คู่ และสมรรถนะ ๕ สมรรถนะ คือ ความสามารถในการสื่อสาร ความสามารถ ในการคิด ความสามารถในการแก้ปัญหา ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต ความสามารถในการใช้ เทคโนโลยี เพื่อให้นักเรียน เป็นผู้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ใฝ่ เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการทำงาน รักความเป็นไทย และมีจิตสาธารณะ อนุรักษ์พลังงานและ สิ่งแวดล้อม สบื สานศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น ชุมชนร่วมพัฒนา ยดึ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง ผลการเรยี นรู้ ๑. อ่านออกเสียง คำ กลุ่มคำ บทสนทนา อ่านออกเสียง สูงต่ำของประโยค เชื่อมโยงระหว่างคำ และ บทสนทนา และอ่านออกเสยี ง เนน้ ประโยค (sentence stress) ได้ถกู ตอ้ งตามหลักการออกเสยี ง ๒. พดู สนทนาโต้ตอบ แลกเปลยี่ นข้อมูลเกีย่ วกับกิจกรรมยามว่าง ความสมั พันธใ์ นครอบครัว ความชอบ และความสนใจสว่ นบคุ คล ในการแนะนำตวั เองและผูอ้ ืน่ ได้ ๓. บอกความหมายของศัพท์และสำนวนภาษาเกี่ยวกับสิ่งของเครื่องใช้ เหตุการณ์ ความบันเทิง รายการอาหาร ๔. พูดบรรยายบุคลกิ ลกั ษณะ ความสามารถ ลกั ษณะนสิ ัยของบคุ คล กิจกรรมและการศึกษาได้ ๕. ฟังประโยค บทสนทนา แล้วระบุภาพ ประโยค และเขียนเติมคำทขี่ าดหายและตอบคำถามได้ ๖. พูดถาม-ตอบเกี่ยวกับส่ิงของเคร่ืองใช้ เหตุการณ์ ความบันเทิง อาหารในงานเลี้ยงในโอกาสตา่ ง ๆ ใหข้ อ้ มลู และบรรยายส่ิงของตา่ ง ๆ ได้ ๗. พดู ใหค้ ำแนะนำเกี่ยวกับทศิ ทาง และใหค้ ำแนะนำในเร่ืองตา่ ง ๆ ได้ ๘. พดู เก่ยี วกับการวางแผนในอนาคตได้ ๙. พดู แสดงความยินดีและกลา่ วชมได้ รวมท้ังหมด ๙ ผลการเรียนรู้ ❖ ระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น
หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๑๖๕ ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กลมุ่ งานบรหิ ารวิชาการ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๖ อ๒๐๒๐๖ ภาษาองั กฤษเพื่อการสื่อสาร ๖ กลุม่ สาระการเรยี นรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาองั กฤษ) ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๑ – ๓ เวลาเรยี น ๒๐ ช่ัวโมง จำนวน ๐.๕ หน่วยกิต ศึกษาทักษะการฟังบทสนทนาและข้อความสั้น ๆ แล้วจับใจความ และพูดบอกรายละเอียดและ สรุปประเด็นสำคัญได้ อ่านออกเสียงบทสนทนาถูกต้องตามหลักการอ่าน ใช้ภาษาและโครงสร้างทาง ไวยากรณ์ในการพูดโต้ตอบในสถานการณ์ที่แตกต่างหลากหลาย โดยใช้ภาษา น้ำเสียง กิริยาท่าทางท่ี เหมาะสมตามมารยาททางสังคมและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา เชน่ พูดถามและใหข้ อ้ มูลเกยี่ วกับสิ่งของ เหตุการณแ์ ละความบนั เทิง พูดเชือ้ เชิญ พูดคุยเกีย่ วกบั บคุ ลกิ ภาพ ความสามารถและความสนใจของบุคคล เหตกุ ารณข์ ้อมลู ส่วนบุคคลในอดตี ใช้คำศพั ทใ์ นการพูดเก่ียวกบั วิถีชวี ติ ในอดีต ฝึกการใชภ้ าษาในการเรียบ เรียงลำดับการเกิดของเหตุการณ์ต่าง ๆ พูดให้ข้อเสนอแนะและความคิดเห็นเกี่ยวกับการท่องเที่ยว ใช้ คำศัพท์โครงสร้างภาษาในการพูดให้คำแนะนำ การแก้ปัญหา การสรุปความคิดเห็น การพูดคุยเกี่ยวกับ วัฒนธรรม ได้รับการส่งเสริมให้เป็นผู้ที่หมั่นพัฒนาตนเอง ขยันหมั่นเพียร มุ่งมั่นในการทำงาน มีเหตุผล สามารถแก้ปญั หาเฉพาะหนา้ และมีสนุ ทรียภาพทางภาษา โดยเลือกใช้ทักษะกระบวนการฟัง พูด อ่าน เขียน ทักษะการจำ คิด วิเคราะห์และเขียน สื่อความ กระบวนการทำงานกลุ่ม/คู่ และสมรรถนะ ๕ สมรรถนะ คือ ความสามารถในการสื่อสาร ความสามารถ ในการคิด ความสามารถในการแก้ปัญหา ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต ความสามารถในการใช้ เทคโนโลยี เพอื่ ให้นักเรยี น เป็นผมู้ คี ุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ รักชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ ซอ่ื สตั ย์สจุ ริต มีวินัย ใฝ่ เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการทำงาน รักความเป็นไทย และมีจิตสาธารณะ อนุรักษ์พลังงานและ สิ่งแวดลอ้ ม สืบสานศิลปวัฒนธรรมทอ้ งถ่นิ ชมุ ชนร่วมพัฒนา ยดึ ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง ผลการเรียนรู้ ๑. ฟงั ประโยค บทสนทนา แลว้ ระบุภาพ ประโยค และเขียนเติมคำท่ขี าดหายและตอบคำถามได้ ๒. พูดถามตอบให้ขอ้ มูล การวางแผนเกี่ยวกบั กิจกรรมทีจ่ ะทำในอนาคต วัฒนธรรมและกฎระเบียบ ของชาวอเมรกิ ันและความเป็นไปในชวี ิตประจำวนั ๓. พดู ใหค้ ำแนะนำ ปรึกษาในสถานการณ์ตา่ ง ๆ ได้ ๔. พูดสนทนาโต้ตอบเกย่ี วกบั ประสบการณแ์ ละเหตกุ ารณ์ทเี่ กดิ ขึน้ ในอดตี ๕. อ่านออกเสยี ง สูงตำ่ ของคำ กลมุ่ คำ ประโยค อ่านออกเสียง เชอื่ มโยงระหวา่ งคำ และ บทสนทนา ไดถ้ กู ตอ้ งตามหลกั การออกเสียง ๖. บอกความหมายของศพั ทแ์ ละสำนวนจากภาพ เกยี่ วกบั การทอ่ งเทีย่ ว โดยการเดาจากรูปภาพได้ ๗. ใชส้ ำนวนภาษาในการพูดบอกเร่อื งทีไ่ มด่ ีหรือข่าวรา้ ยได้ ๘. ใชส้ ำนวนภาษาในการพูดถามตอบข้อมลู เก่ยี วกับการท่องเทยี่ วเดนิ ทางได้ ๙. ใชส้ ำนวนภาษาในการพดู โต้ตอบในสงิ่ ท่ีเขา้ ใจผดิ ได้ รวมทง้ั หมด ๙ ผลการเรียนรู้ ❖ ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น
หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๑๖๖ ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กลุม่ งานบริหารวชิ าการ ปีการศึกษา ๒๕๖๖ คำอธิบายรายวิชา กจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี น กจิ กรรมพฒั นาผูเ้ รยี น ความสำคญั กิจกรรมพัฒนาผู้เรยี นตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ มุ่งให้เรียน ได้พัฒนาตนเองตามศักยภาพ พัฒนาอย่างรอบด้านเพื่อความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ และสงั คม เสริมสร้างใหเ้ ป็นผูม้ ีศลี ธรรม จรยิ ธรรม มีระเบยี บวินยั ปลูกฝังและสรา้ งจิตสำนึกของการ ทำประโยชนเ์ พื่อสังคม สามารถจัดการตนเองได้ และอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนอย่างมีความสุข กิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น ม่งุ พฒั นาผู้เรียนให้ใช้องคค์ วามรู้ ทกั ษะและเจตคติจากการเรยี นรู้ ๘ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ และประสบการณ์ ของผู้เรียนมาปฏิบัติกิจกรรมเพื่อช่วยให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะสำคัญ อันได้แก่ ความสามารถในการสื่อสาร ความสามารถในการคดิ ความสามารถในการแก้ปญั หา ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวิต และความสามารถ ในการใชเ้ ทคโนโลยี ซ่ึงจะส่งผลในการพัฒนาผู้เรียนให้มคี ุณลักษณะอันพึงประสงค์ มีทักษะการทำงาน และ อยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุขในฐานะเป็นพลเมืองไทยและพลโลก อันได้แก่รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการทำงาน รักความเป็นไทย และมีจิต สาธารณะ หลกั การ กจิ กรรมพัฒนาผ้เู รยี นมหี ลกั การจัด ดังนี้ ๑. มกี ารกำหนดวัตถปุ ระสงค์และแนวปฏิบตั ิทีชดั เจนเป็นรูปแบบ ๒. จัดใหเ้ หมาะสมกับวัย วฒุ ภิ าวะ ความสนใจ ความถนดั และความสามารถของผเู้ รยี น ๓. บรู ณาการวิชาการกบั ชีวิตจริง ใหเ้ รียนไดต้ ระหนกั ถึงความสำคัญของการเรยี นรู้ตลอด ชีวติ ๔. ใชก้ ระบวนการกลุ่มในการจดั ประสบการณ์การเรยี นรู้ ฝึกใหค้ ิดวิเคราะห์ สร้างสรรค์จติ การ ทีเ่ ปน็ ประโยชนแ์ ละสมั พันธ์กับชวี ิตในแต่ละช่วงวยั อยา่ งตอ่ เนื่อง ๕. จำนวนสมาชิกมคี วามเหมาะสมกบั ลกั ษณะของกจิ กรรม ❖ ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้
หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๑๖๗ ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กลุ่มงานบรหิ ารวิชาการ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๖ ๖. มกี ารกำหนดเวลาในการจดั กิจกรรมใหเ้ หมาะสม สอดคล้องกับวสิ ัยทัศน์และเป้าหมาย ของสถานศกึ ษา ๗. ผ้เู รยี นเป็นผ้ดู ำเนนิ การ มีครเู ปน็ ทป่ี รกึ ษา ถอื เป็นหน้าท่ีและงานประจำโดยคำนึงถึง ความปลอดภัย ๘. ยดึ หลักการมีส่วนรว่ ม โดยเปิดโอกาสให้ครู พ่อแม่ ผูป้ กครอง ชุมชน องค์กรทงั้ ภาครัฐและ เอกชน มีสว่ นร่วมในการจกั กิจกรรม ๙. มีการประเมินผลการปฏิบตั ิกิจกรรม โดยวิธีการที่หลากหลายและสอดคล้องกับกิจกรรม อย่างเปน็ ระบบและต่อเน่ือง โดยใหถ้ อื วา่ เป็นเกณฑ์การประเมินผลการผ่านชว่ งช้ันเรียน แนวการจัด โรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) จดั ให้ผู้เรยี นทุกคนเข้ารว่ มกิจกรรม โดยคำนึงถึงแนวการจัด ดงั ตอ่ ไปนี้ ๑. การจัดกจิ กรรมต่างๆ เพอ่ื เก้อื กูลสง่ เสรมิ การเรียนร้ตู ามกลุ่มสาระการเรยี นรู้ เชน่ การบูร ณาการโครงการ องคค์ วามรู้จากกลมุ่ สาระการเรียนรู้ เปน็ ตน้ ๒. จัดกิจกรรมตามความสนใจ ความถนัดตามธรรมชาติ และความสามารถความต้องการ ของผเู้ รยี นและชมุ ชน เช่น ชมรมทางวชิ าการต่างๆ เปน็ ตน้ ๓. จัดกิจกรรมเพื่อปลูกฝังและสร้างจิตสำนึกในการทำประโยชน์ต่อสังคม เช่น กิจกรรม ลกู เสอื เนตรนารี เปน็ ต้น ๔. จัดกิจกรรมประเภทบรกิ ารตา่ งๆ การทำงานทีเ่ ปน็ ประโยชนต์ อ่ ตนเองและส่วนรวม โครงสร้างกจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี นและเวลาเรยี น กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) พุทธศักราช ๒๕๖6 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๐) ประกอบดว้ ยกจิ กรรม ๓ ลกั ษณะ ดงั น้ี ๑. กิจกรรมแนะแนว เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้รู้จักตนเอง รู้รักษ์สิ่งแวดล้อม สามารถคิดตัดสินใจคิด แก้ปัญหา กำหนดเป้าหมาย วางแผนชีวิตทางด้านการเรียนและอาชีพ สามารถปรับปรุงได้อย่างเหมาะสม นอกจากน้ียังชว่ ยให้ครูร้จู กั และเขา้ ใจผ้เู รยี น ท้งั ยงั เป็นกิจกรรมทช่ี ว่ ยเหลอื และให้คำปรึกษาแก่ผู้ปกครองใน การมีส่วนร่วมพัฒนาผู้เรียน ส่งเสริมพัฒนาและสร้างภูมิคุ้มกันที่มั่นคง เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญตามความ แตกตา่ งระหว่างบุคคลให้สามารถคน้ พบและพฒั นาศักยภาพของตนเอง ประกอบด้วย ๑.๑ การแนะแนว ด้านบริการและใหค้ ำปรึกษา ๑.๒ การแนะแนวการศึกษา ๑.๓ การแนะแนวอาชีพ ๑.๔ การแนะแนวเพือ่ พัฒนาบคุ ลกิ ภาพ ๑.๕ รู้จักเขา้ ใจและเห็นคณุ ค่าในตนเองและผู้อ่นื ❖ ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้
หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๑๖๘ ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กลมุ่ งานบริหารวิชาการ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๖ ๑.๖ การปรับตัวและดำรงชีวิต ๑.๗ การแสวงหาและใชข้ ้อมูลสารสนเทศ ๑.๘ การตัดสินใจและแกป้ ญั หา ๒. กจิ กรรมนกั เรียน เป็นกจิ กรรมท่ีมุ่งพัฒนาความมีระเบยี บวนิ ัย ความเปน็ ผ้นู ำ ผ้ตู ามทดี่ ี ความรบั ผิดชอบ การทำงาน ร่วมกัน การรู้จักแก้ปัญหา การตัดสิบใจที่เหมาะสม ความมีเหตุผลการช่วยเหลือแบ่งปัน เอื้ออาทร และ สมานฉันท์ โดยจัดให้สอดคล้องกับความสามารถความถนัด และความสนใจของผู้เรียนให้ได้ปฏิบัติได้ด้วย ตนเองในทุกขั้นตอน ได้แก่ การศึกษาวิเคราะห์ วางแผน ปฏิบัติตามแผนประเมิน และปรับปรุงการทำงาน เน้นการทำงานร่วมกันเป็นกลุ่มตามความเหมาะสมและสอดคล้องกับวุฒิภาวะของผู้ เรียนและบริบทของ สถานศึกษาและทอ้ งถิน่ กิจกรรมนกั เรียนประกอบดว้ ย ๒.๑ กจิ กรรมลูกเสือเนตรนารี ๒.๒ กิจกรรมชมุ นุม ๓. กิจกรรมเพอ่ื สังคมและสาธารณประโยชน์ เป็นกจิ กรรมท่ีส่งเสริมใหผ้ ู้เรียนบำเพ็ญตนใหเ้ ปน็ ประโยชนต์ ่อสังคม ชมุ ชน และท้องถิ่น ตามความ สนใจในลักษณะอาสาสมคั ร เพือ่ แสดงถงึ ความรบั ผดิ ชอบ ความดงี าม ความเสยี สละ ตอ่ สังคม และการมี จิตสาธารณะ เช่น กจิ กรรมอาสาพฒั นาต่าง ๆ กจิ กรรมสรา้ งสรรคส์ งั คม (กระทรวงศกึ ษาธกิ าร, ๒๕๕๑) โครงสรา้ งกจิ กรรมพฒั นาผ้เู รียน โครงสร้างเวลาการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุง ราษฎร์) พุทธศักราช ๒๕๖6 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับ ปรบั ปรุง พ.ศ.๒๕๖๐) กจิ กรรม ม.๑ ชนั้ มัธยมศึกษา ม.๓ ม.๒ ๑. กจิ กรรมแนะแนว ภาคเรยี นท่ี ๑ ภาคเรยี นท่ี ๒ ภาคเรยี นที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๒ ๒. กจิ กรรมนกั เรยี น ภาคเรียนที่ ๑ ภาคเรยี นที่ ๒ ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒.๑ กิจกรรมลกู เสอื เนตรนารี ๒๐ ๒๐ ๒.๒ กจิ กรรมชุมนมุ ๓. กจิ กรรมเพ่อื สังคมและ ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐ สาธารณประโยชน์ ๑๕ ๑๕ ๑๕ ๑๕ ๑๕ ๑๕ ๕๕๕๕๕๕ รวม ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ โรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) ได้กำหนดโครงสร้างเวลาในการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ระดับชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๑ ถงึ ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี ๓ เวลาเรียน ๑๒๐ ชั่วโมงตอ่ ปี /๓ ช่ัวโมงตอ่ สัปดาห์ ❖ ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น
หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๑๖๙ ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กลมุ่ งานบริหารวิชาการ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๖ กจิ กรรมแนะแนว กลุ่มกจิ กรรมท่ี ๑ หลักการ เป็นกิจกรรมที่สอดคล้องกับสภาพปัญหา ความต้องการ ความสนใจธรรมชาติของผู้เรียนและ วิสัยทัศน์ของสถานศึกษาที่ตอบสนองจุดมุ่งหมายของหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ให้ครอบคลุมทั้งด้านการศึกษา การงานและอาชีพ ชีวิตและสังคม เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ผู้เรียนมี อิสระในการคิดและตัดสินใจด้วยตนเอง เรียนรู้ด้วยตนเองด้วยการปฏิบัติจนกระทั่งเกิดทักษะชีวิตหรือการ เรียนรู้ ตลอดจนครูทุกคนมสี ่วนร่วมในการจดั กิจกรรม โดยมคี รูแนะแนวเป็นพีเ่ ลยี้ งและประสานงาน วัตถปุ ระสงค์ ๑. เพือ่ ใหผ้ ู้เรยี นเกิดการเรียนรู้ ร้จู ัก เข้าใจ รักและเห็นคณุ คา่ ในตนเองและผ้อู น่ื ๒. เพ่อื ให้ผู้เรียนเกดิ การเรียนรู้ สามารถวางแผนการเรียน อาชพี รวมทงั้ การดำเนินชวี ติ และสงั คม ๓. เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ สามารถปรับตัวได้อย่างเหมาะสม และอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมี ความสุข ขอบขา่ ย สาระการจดั กจิ กรรมแนะแนว กิจกรรมแนะแนวเป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้รู้จัดตนเอง รู้รักษ์สิ่งแวดล้อม สามรถ ติดสินใจ คิดแก้ปัญหา กำหนดเป้าหมาย วางแผนชีวิตทั้งด้านการเรียนและอาชีพ สามารถปรับตนได้อย่าง เหมาะสม นอกจากนี้ยังช่วยให้ครูรู้จักและเข้าใจผู้เรียนทั้งยังเป็นกิจกรรมที่ช่วยเหลือและให้คำปรึกษาแก่ ผู้ปกครองในการมสี ว่ นร่วมพฒั นาผู้เรียน การจดั กจิ กรรมแนะแนว ครอบคลมุ ๓ ดา้ น คอื ๑. ดา้ นการศกึ ษา ๒. ดา้ นการงานอาชีพ ๓. ดา้ นชวี ติ และสงั คม ๑. ดา้ นการศกึ ษา ให้ผู้เรียนไดพ้ ฒั นาตนเองในด้านการเรียนอยา่ งเต็มศกั ยภาพ รูจ้ กั แสวงหาและ ใช้ข้อมูลประกอบการวางแผนการเรียนหรือการศึกษาต่อได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีนิสัยใฝ่เรียนรู้ มีวิธีการ เรยี นรู้และสามารถวางแผนการเรยี นรหู้ รอื การศกึ ษาต่อได้อยา่ งเหมาะสม ๒. ด้านการงานอาชีพ ให้ผู้เรียนได้รู้จักตนเองในทุกด้าน รู้และเข้าใจโลกของงานอาชีพอย่าง หลากหลาย มีเจตคติที่ดีต่ออาชีพสุจริต มีการเตรียมตัวสู่อาชีพ สามารถวางแผนเพื่อประกอบอาชีพตามท่ี ตนเองมคี วามถนดั และความสนใจ ๓. ด้านชีวิตและสังคม ให้ผู้เรียนรู้จักและเข้าใจตนเอง รักและเห็นคุณค่าในตนเองและผู้อื่นรักษ์ สิ่งแวดล้อม มวี ฒุ ิภาวะทางอารมณ์ มเี จตคตทิ ี่ดีต่อการมชี ีวิตท่ดี ี มคี ุณภาพ มีทักษะ และสามารถปรับตัวให้ ดำรงชีวติ อย่ใู นสงั คมไดอ้ ยา่ งมคี วามสขุ ❖ ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น
หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๑๗๐ ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กลุ่มงานบริหารวชิ าการ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๖ กจิ กรรมแนะแนว ๑. ส่งเสริมและพฒั นาผูเ้ รยี นให้ร้จู กั เข้าใจตนเองและผู้อ่ืน ๑.๑ รู้ความถนัด ความสนใจ ความสามารถดา้ นการเรียนและอาชพี มาตรฐานการเรยี นรู้มธั ยมศึกษาตอนต้น ม. ๑ – ๓ - ตรวจสอบความถนัดความสนใจ ความสามารถดา้ นการเรียน - บอกความถนดั ความสนใจความสามารถดา้ นการเรยี นและอาชีพ จากการวเิ คราะห์ข้อมลู ทไ่ี ด้จากการ ตรวจสอบ ๑.๒ ร้แู ละเข้าใจลกั ษณะเฉพาะตนและศกั ยภาพของตนเอง มาตรฐานการเรียนรูม้ ัธยมศึกษาตอนต้น ม. ๑ – ๓ - บอกความสามารถของตนเองได้ - พัฒนาในสงิ่ ที่ตนมคี วามสามารถจนเกิดเป็นลักษณะเฉพาะของตนเอง ๑.๓ เข้าใจและเหน็ คุณค่าในตนเองและผอู้ ื่น มาตรฐานการเรียนร้มู ธั ยมศึกษาตอนตน้ ม. ๑ – ๓ - รบั ร้แู ละเข้าใจความต้องการและความรสู้ ึกของตนเอง - การแสวงหาแบบอยา่ งที่ดีและเหมาะสมกับตนเอง - รักและนบั ถอื ตนเองและผูอ้ ื่น - รู้และเข้าใจสาเหตขุ องปญั หาของตนเองและมีแนวทางในการแกป้ ัญหา ๒. ส่งเสรมิ และพฒั นาผ้เู รียนใหส้ ามารถวางแผนการเรียน อาชีพ และการดำเนนิ ชวี ิต ๒.๑ สามารถค้นหาขอ้ มลู เพื่อการวางแผนการเรียน อาชีพ และการดำเนินชวี ิต มาตรฐานการเรียนรูม้ ัธยมศึกษาตอนตน้ ม. ๑ – ๓ - ค้นพบขอ้ มลู ที่ตนสนใจเพอ่ื การวางแผนอาชีพและการดำเนนิ ชีวติ - จดั กลุ่มข้อมูลด้านการศึกษา อาชพี ❖ ระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น
หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๑๗๑ ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กลุ่มงานบรหิ ารวิชาการ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๖ ๒.๒ สามารถคิดวเิ คราะห์ สังเคราะห์ และเลือกใช้ข้อมลู เพอ่ื การวางแผนการเรยี น อาชีพ และการดำเนนิ ชีวิต มาตรฐานการเรียนรมู้ ัธยมศึกษาตอนต้น ม. ๑ – ๓ - จัดลำดับความสำคัญของข้อมูลไดส้ อดคล้องกับความถนดั ความสนใจความสามารถของตนเอง - เลอื กข้อมูลมาเพ่ือการวางแผนการเรยี นอาชพี และการดำเนินชีวติ ๒.๓ สามารถตัดสินใจและแกป้ ัญหาเพือ่ วางแผนการเรียน อาชีพ และการดำเนินชวี ติ มาตรฐานการเรียนรมู้ ัธยมศึกษาตอนต้น ม. ๑ – ๓ - กำหนดเป้าหมายด้านการเรียน อาชีพและการดำเนินชีวิตให้สอดคล้องกับความสนใจความถนัด ความสามารถและบุคลกิ ภาพของตน - วางแผนการเรียน อาชพี และการดำเนนิ ชีวติ ใหส้ อดคล้องกบั ความเป็นไปไดข้ องตนเอง - ปฏบิ ัติงานตามแผนที่กำหนดไว้ - ประเมนิ ผลการปฏิบัตติ ามแผน - และปรบั ปรุงให้มีโอกาสประสบความสำเรจ็ ตามเป้าหมาย ๓. ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้สามารถปรับตัวได้อย่างเหมาะสม อยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมี ความสขุ ๓.๑ มที ักษะชีวิตทจี่ ำเป็นในการดำรงชีวิตอย่ใู นสังคมอย่างเป็นสุข มาตรฐานการเรียนรูม้ ัธยมศึกษาตอนตน้ ม. ๑ – ๓ - สือ่ สารความคิด ความรสู้ ึกใหผ้ อู้ ่ืนเขา้ ใจไดอ้ ยา่ งเหมาะสมกับกาลเทศะและบคุ คล - จัดการกบั อารมณแ์ ละแสดงออกไดเ้ หมาะสมกบั วัยและสถานการณ์ - ปฏิบัติตนเป็นประโยชนต์ ่อครอบครวั โรงเรียนและประเทศชาติ - ปฏบิ ัติตนตามบทบาทหน้าท่ี และอยรู่ ว่ มกับผู้อื่นได้อย่างมคี วามสขุ - มจี ิตสำนึกในการดแู ลรกั ษาพัฒนาสาธารณสมบตั แิ ละสิง่ แวดลอ้ ม - ใชเ้ คร่ืองมอื ทางเทคโนโลยีได้อย่างเหมาะสม ❖ ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้
หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๑๗๒ ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กลุ่มงานบริหารวิชาการ ปีการศึกษา ๒๕๖๖ ๓.๒ สามารถปรบั ตัวให้ดำรงชวี ติ อยู่ในสังคมอยา่ งเปน็ สุข มาตรฐานการเรยี นรมู้ ธั ยมศึกษาตอนตน้ ม. ๑ – ๓ - เข้าใจความแตกตา่ งระหว่างบคุ คล - ยอมรบั ความคิดเห็นของผู้อ่ืนอยา่ งมเี หตผุ ล - ปรบั พฤติกรรมการแสดงออกเพื่อสัมพนั ธภาพทีด่ ีกบั ผ้อู ืน่ ๔. สง่ เสริมให้ผ้ปู กครองมีสว่ นร่วมในการพฒั นาผู้เรียน ๔.๑ ผปู้ กครองรู้ เข้าใจ ยอมรับสภาพความเปน็ จรงิ ของผู้เรยี น มาตรฐานการเรียนรมู้ ัธยมศึกษาตอนต้น ม. ๑ – ๓ - รับรู้ความถนัด ความสนใจความสามารถของผ้เู รียนตามสภาพทเ่ี ป็นจริง - ปฏิบัติต่อผเู้ รียนตามสภาพท่ีเป็นจริง - ใส่ใจในพฤตกิ รรมของผเู้ รยี น ๔.๒ ให้คำปรึกษาแนะนำและร่วมมือพฒั นาผเู้ รียน มาตรฐานการเรยี นร้มู ธั ยมศึกษาตอนตน้ ม. ๑ – ๓ - ใหข้ อ้ มลู ย้อนกลับพฤตกิ รรมผ้เู รยี นขณะอยทู่ ี่บ้าน - ให้คำปรกึ ษาแนะนำโดยคำนึงถึงพฤติกรรมตามวัย - ให้กำลังใจและเสรมิ แรงเมอื่ ผูเ้ รียนมพี ฤตกิ รรมท่พี ึงประสงค์ - สง่ เสริมสนับสนุนให้ผูเ้ รยี นไดพ้ ัฒนาตามศกั ยภาพ การวดั ผล ประเมินผล เกณฑ์การวัดและประเมนิ ผลกิจกรรมแนะแนว ๑. ประเมินการผา่ นผลการเรียนรทู้ คี่ าดหวงั ๒. ประเมินจากการสังเกตพฤตกิ รรม และประเมนิ คุณลกั ษณะดา้ นคุณธรรม ๒.๑ ด้านความมีระเบียบวินัย ได้แก่ พฤติกรรมการเข้าเรียนตรงเวลา แต่งกาย ถกู ต้องตามระเบียบ และผลงานสะอาดเรยี บรอ้ ยถกู ตอ้ ง ๒.๒ ด้านความซื่อสัตย์ต่อตนเองและผู้อื่น ได้แก่ พฤติกรรมการยอมรับในผลงาน ตนเอง และผู้อ่นื พฤติกรรมการไม่รบกวนผู้อ่นื ในขณะจดั การเรียนการสอน ๒.๓ ดา้ นความขยนั หม่ันเพยี รและมีความรับผิดชอบได้แก่ พฤตกิ รรมการปฏิบัติตาม หน้าท่ีท่ไี ด้รับมอบหมาย ด้วยความต้งั ใจ และพฤตกิ รรมการส่งงานตรงเวลา ❖ ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้
หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๑๗๓ ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กล่มุ งานบรหิ ารวิชาการ ปีการศึกษา ๒๕๖๖ ๒.๔ ด้านความสามัคคี ได้แก่ พฤติกรรมการร่วมมือกันปฏิบัติงานจนสำเร็จ และ พฤตกิ รรมการมคี วามเป็นประชาธปิ ไตย ๒.๕ ด้านความมีน้ำใจ ได้แก่ พฤติกรรมการช่วยเหลือเพื่อน และพฤติกรรมการ อธิบายความรูแ้ ละช่วยเหลอื ซึ่งกนั และกนั ๓. ประเมินจากการมีเวลาเข้าร่วมกิจกรรมแนะแนวไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ ของเวลา ทงั้ หมด ทจ่ี ดั กิจกรรม ตลอดปกี ารศึกษา การตัดสนิ ผลการประเมนิ กิจกรรมแนะแนว เมื่อนักเรียนมีเวลาเข้าร่วมกิจกรรมไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ ของเวลาทั้งหมดที่จัดกิจกรรม ตลอดปี การศึกษา และปฏบิ ตั กิ ิจกรรมตามผลการเรียนรูท้ ค่ี าดหวงั ท้งั หมดทก่ี ำหนด ให้ไดผ้ ลการประเมิน “ผ”และ ถา้ ไม่ผ่านตามเกณฑ์ท่กี ำหนดใหไ้ ดผ้ ลการประเมิน “มผ” กจิ กรรมนักเรยี น กลมุ่ กจิ กรรมที่ ๒ หลกั การ เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้เข้าร่วมกิจกรรมตามความถนัด ความสนใจ โดยเน้นเรื่อง คุณธรรมจริยธรรม ไม่เห็นแก่ตัว มีระเบียบวินัย มีความเป็นผู้นำผู้ตามที่ดี มีความรับผิดชอบ การทำงาน รว่ มกัน รู้จกั การแก้ปัญหา การตดั สินใจ ความมีเหตผุ ล การช่วยเหลือแบง่ ปัน เอื้ออาทรและสมานฉันท์ วัตถปุ ระสงค์ ๑. เพ่ือพฒั นาผู้เรยี นให้มีระเบียบวนิ ัย มีความเปน็ ผู้นำ ผู้ตามท่ีดี มคี วามรับผดิ ชอบ ๒. เพ่อื พัฒนาผ้เู รียนให้มีทักษะการทำงานรว่ มกนั รู้จักการแก้ปัญหา มเี หตุผล ตัดสินใจท่ี เหมาะสม ชว่ ยเหลือแบง่ ปัน เออื้ อาทรและสมานฉันท์ ๓. สง่ เสริมสนับสนนุ ใหผ้ ู้เรยี นมคี ุณธรรม จรยิ ธรรม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๔. สง่ เสรมิ และสนับสนนุ ให้ผู้เรียนได้ปฏบิ ัตกิ ิจกรรมตามความถนัดและความสนใจ ขอบขา่ ย การจัดกจิ กรรมนักเรยี น มี ๒ กิจกรรม ดังน้ี ๑. กิจกรรมลูกเสือ - เนตรนารี ๒. กจิ กรรมชุมนมุ ❖ ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้
หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๑๗๔ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กลมุ่ งานบรหิ ารวิชาการ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๖ ๑. กิจกรรมลูกเสือ - เนตรนารี จดุ ประสงค์ ๑. เพื่อใหน้ ักเรยี นมคี วามรู้ความเขา้ ใจกจิ กรรมของลูกเสอื เนตรนารี ๒. เพ่อื ใหน้ ักเรยี นปฏบิ ตั กิ ิจกรรมตามข้นั ตอนทีไ่ ดร้ บั การแนะนำและพฒั นาตนเองอยู่เสมอ ๓. เพ่ือให้นกั เรยี นปฏบิ ตั ติ นตามคำปฏญิ าณตน กฎ ระเบยี บ ของบงั คบั ด้วยความตั้งใจ ๔. เพอ่ื ใหน้ ักเรยี นสามารถปฏบิ ตั ิกิจกรรมร่วมกบั ผ้อู ื่นได้ ๕. เพ่อื ใหน้ ักเรียนไดร้ ้จู กั การบำเพญ็ ตนใหเ้ ปน็ ประโยชน์ตอ่ สังคมและส่วนรวม คำอธบิ ายรายวชิ า กจิ กรรมลกู เสอื เนตรนารี ระดบั ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๑ เป็นกิจกรรมที่มุ่งพัฒนาความมีระเบียบวินัย ความเป็นผู้นำผู้ตามที่ดี ความรับผิดชอบ การทำงาน ร่วมกัน การรู้จักแก้ปัญหา การตัดสินใจที่เหมาะสม ความมีเหตุผล การช่วยเหลือแบ่งปันกัน การ ประนีประนอม เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนเจริญเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีความสมบูรณ์พร้อมทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สงั คมและสตปิ ัญญา ดำเนินการตามกระบวนการลูกเสือ และจัดกิจกรรมโดยใช้การศึกษา วิเคราะห์ วางแผนการจัด กจิ กรรมตามมาตรฐาน เนน้ ระบบหมู่ สรปุ ผลการปฏบิ ตั ิกิจกรรม ปิดประชุมกอง ตามหลักสูตรลูกเสือ/เนตร นารีสามัญรุ่นใหญ่ ปฏิบัติกิจกรรมที่ก่อให้เกิดคุณธรรม คุณลักษณะ ตามคติพจน์ คำปฏิญาณและกฎของ ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ ระเบียบวินัยทางลูกเสือ ทักษะทางลูกเสือ เกี่ยวกับการช่วยเหลือตนเองและการ ช่วยเหลือผู้อื่น การปฐมพยาบาลเบื้องต้น ตระหนักในความสำคัญของกิจการลูกเสือแห่งชาติ ปฏิบัติกรรม เพื่อตอบแทนพระคุณบิดา มารดาและผู้มีพระคุณ รู้จักและเข้าใจเพื่อช่วยเหลือและชักจูงให้ปฏิบัติตนเป็น คนดี สร้างความสัมพันธ์อันดีกับเพื่อน ตระหนักในปัญหาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของชุมชน เรยี นรู้มรดก ภมู ิปญั ญาไทยของท้องถ่นิ ในคุณค่าละคุณประโยชน์ ❖ ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้
หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๑๗๕ ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กลมุ่ งานบริหารวิชาการ ปีการศึกษา ๒๕๖๖ คำอธิบายรายวชิ า กจิ กรรมลกู เสอื เนตรนารี ระดับช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๒ เป็นกิจกรรมที่มุ่งพัฒนาความมีระเบียบวินัย ความเป็นผู้นำผู้ตามที่ดี ความรับผิดชอบ การทำงาน ร่วมกัน การรู้จักแก้ปัญหา การตัดสินใจที่เหมาะสม ความมีเหตุผล การช่วยเหลือแบ่งปันกัน การ ประนีประนอม เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนเจริญเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีความสมบูรณ์พร้อมทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สงั คมและสติปญั ญา ดำเนินการตามกระบวนการลูกเสือ และจัดกิจกรรมโดยใช้การศึกษา วิเคราะห์ วางแผนการจัด กจิ กรรมตามมาตรฐาน เนน้ ระบบหมู่ สรุปผลการปฏบิ ัติกจิ กรรม ปิดประชุมกอง ตามหลักสตู รลูกเสือ/เนตร นารีสามัญรุ่นใหญ่ ปฏิบัติกิจกรรมที่ก่อให้เกิดคุณธรรม คุณลักษณะ ตามคติพจน์ คำปฏิญาณและกฎของ ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ หลักการทางศาสนา ระเบียบแถว สวนสนาม มีทักษะในการเดินทางไกล การอยู่ค่าย พักแรม การเดินทางสำรวจและการบุกเบิก ทกั ษะการพฒั นาสมรรถภาพทางกาย ปฏิบัตศิ าสนากิจพิธีกรรม ทางศาสนา กิจกรรมในครอบครัว รู้จักและเข้าใจ ช่วยเหลือและชักจูงให้ปฏิบัติตนเป็นคนดี สร้าง ความสัมพันธ์อันดีกบั เพื่อน และสิ่งแวดล้อมของชมุ ชน เรียนรู้มรดก ภูมิปัญญาไทยของทอ้ งถิน่ ในคุณค่าละ คณุ ประโยชน์ ❖ ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น
หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๑๗๖ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กลมุ่ งานบริหารวชิ าการ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๖ คำอธิบายรายวิชา กจิ กรรมลกู เสอื เนตรนารี ระดับชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๓ เป็นกิจกรรมที่มุ่งพัฒนาความมีระเบียบวินัย ความเป็นผู้นำผู้ตามที่ดี ความรับผิดชอบ การทำงาน ร่วมกัน การรู้จักแก้ปัญหา การตัดสินใจที่เหมาะสม ความมีเหตุผล การช่วยเหลือแบ่งปันกัน การ ประนีประนอม เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนเจริญเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีความสมบูรณ์พร้อมทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สงั คมและสติปญั ญา ดำเนินการตามกระบวนการลูกเสือ และจัดกิจกรรมโดยใช้การศึกษา วิเคราะห์ วางแผนการจัด กจิ กรรมตามมาตรฐาน เนน้ ระบบหมู่ สรปุ ผลการปฏิบัติกิจกรรม ปิดประชมุ กอง ตามหลักสูตรลกู เสือ/เนตร นารีสามัญรุ่นใหญ่ ปฏิบัติกิจกรรมที่ก่อให้เกิดคุณธรรม คุณลักษณะ ตามคติพจน์ คำปฏิญาณและกฎของ ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ กิจกรรมเดินทางสำรวจ การเดินสวนสนาม มีทักษะทางลูกเสือในการช่วยเหลือผู้อ่ืน และการทำงานเป็นหมู่คณะ มีทักษะในการพัฒนาสมรรถภาพทางกาย นำหลักธรรมทางศาสนาไปปฏิบัติ และเผยแพร่ ตระหนักในพระคุณของบิดา มารดา และผมู้ ีพระคณุ รู้จักและเข้าใจเพื่อชว่ ยเหลอื และชักจูงให้ ปฏิบัติตนเป็นคนดี สร้างความสัมพันธ์อันดกี ับเพื่อน และสิ่งแวดล้อมของชุมชน เรียนรู้มรดกภูมิปญั ญาไทย ของทอ้ งถนิ่ ในคุณคา่ ละคุณประโยชน์ ๒. กิจกรรมชมุ นมุ กจิ กรรมชุมนุม เป็นกิจกรรมท่ีผู้เรยี นรวมกล่มุ กนั จัดขึน้ ตามความสามารถ ความถนดั และความ สนใจของผูเ้ รียน เพอื่ เติมเตม็ ความรู้ ความชำนาญ ประสบการณ์ ทักษะ เจตคติเพ่ือพัฒนาตนเองตาม ศกั ยภาพ หลักการ กิจกรรมชมุ นุม มีหลักการท่สี ำคัญดังน้ี ๑. เป็นกิจกรรมทีเ่ กดิ จากการสร้างสรรคแ์ ละออกแบบกิจกรรมของผู้เรยี นตามความสมัครใจ ๒. เป็นกจิ กรรมทีผ่ ู้เรียนร่วมกนั ทำงานเปน็ ทีม ชว่ ยกนั คดิ ชว่ ยกนั ทำ และช่วยกันแกป้ ัญหา ๓. เปน็ กิจกรรมที่ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพของผูเ้ รยี น ๔. เปน็ กจิ กรรมทเ่ี หมาะสมกับวัยและวฒุ ิภาวะของผเู้ รยี น รวมท้ังบริบทของสถานศกึ ษาและ ทอ้ งถิ่น วตั ถุประสงค์ ๑. เพ่ือใหผ้ ูเ้ รยี นได้ปฏบิ ัติกิจกรรมตามความสนใจ ความถนัด และความต้องการของตน ๒. เพ่ือใหผ้ ้เู รียนได้พัฒนาความรู้ ความสามารถดา้ นการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ ให้เกิด ประสบการณท์ ง้ั ทางวชิ าการและวิชาชพี ตามศกั ยภาพ ๓. เพอื่ สง่ เสริมใหผ้ ้เู รียนใช้เวลาให้เกิดประโยชนต์ ่อตนเองและส่วนรวม ๔. เพือ่ ใหผ้ ู้เรยี นทำงานรว่ มกับผอู้ น่ื ได้ตามวิถปี ระชาธปิ ไตย ❖ ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น
หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๑๗๗ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กลุ่มงานบรหิ ารวิชาการ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๖ ขอบข่าย กิจกรรมชมุ นุม มีขอบข่ายดังนี้ ๑. เปน็ กิจกรรมจัดตามความสนใจของผู้เรยี น ๒. เปน็ กจิ กรรมทีจ่ ดั เสริมหลักสูตรสถานศึกษาในดา้ นความรแู้ ละทักษะปฏิบตั ิ ของผเู้ รียน ๓. สามารถจัดไดท้ ัง้ ในและนอกสถานศกึ ษา และท้ังในเวลาและนอกเวลาเรยี น จดุ หมาย ของกจิ กรรมชมุ นุม ๑. เพอื่ ใหส้ อดคล้องกบั หลักสตู รพ้ืนฐานสถานศึกษา ๒. เพอ่ื ใหม้ ที ักษะในการทำงานรว่ มกัน ๓. เพอื่ ให้นกั เรียนมีทักษะกระบวนการในการทำงาน ๔. เพอ่ื ให้รูจ้ ักการใช้เวลาวา่ งให้เกดิ ประโยชน์ ๕. เพื่อใหม้ ีความรบั ผดิ ชอบ ขยนั ประหยัด อดทน และมีจติ ใจเอื้อเฟ้อื เผื่อแผ่ ข้ันตอนการจดั ตง้ั ชุมนุม ๑. รับสมคั รสมาชิกชมุ นุมตามความสนใจ ๒. ปฐมนเิ ทศนักเรียน ๓. เลอื กตงั้ กรรมการ ชุมนุม ๔. สง่ ผูแ้ ทนรา่ งระเบยี บ การจัด ชมุ นมุ ๕. ขออนุมตั ิ ผู้บรหิ าร ๖. ประชาสมั พนั ธ์ / เผยแพร่ ประเภทของกจิ กรรมชุมนมุ กิจกรรมชุมนมุ มี ๒ ประเภท ดังน้ี ๑. กิจกรรมกลุม่ เสริมทักษะด้านวชิ าการ ได้แก่กลุม่ สาระ ๘ สาระ ๒. กิจกรรมชุมนุม เลือกตามความถนัด และความสนใจ เชน่ ชุมนมุ สง่ เสริมวัฒนธรรมไทย ชุมนุมสง่ เสริมอาชพี ❖ ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน้
หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๑๗๘ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กลมุ่ งานบริหารวิชาการ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๖ กำหนดการจดั กจิ กรรมชมุ นุม ที่ กจิ กรรมชุมนมุ ระดบั ชนั้ ม.๑ ม.๒ ม.๓ ๑. ชมุ นุมจติ อาสา ๒. ชมุ นุมภาษาองั กฤษ ๓. ชุมนมุ ซดู ูกุ ๔. ชุมนุม A-MATH ๕. ชุมนมุ สบื สานดนตรไี ทย พนื้ บ้าน ๖. ชุมนุมนาฏศลิ ป์ไทย พ้ืนบา้ น ๗. ชุนนมุ อาหาร ๘. ชุมนมุ เกษตรพอเพียง ๙. ชุมนมุ วทิ ยาศาสตร์ ๑๐. ชุมนมุ กีฬา หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) กำหนดให้ผู้เรียนมีเวลา เข้าร่วม กิจกรรมชมุ นุม จำนวน ๓๐ ชั่วโมง / ปี เฉล่ยี สัปดาห์ละ ๑ ชั่วโมง ๓. กิจกรรม เพอ่ื สังคมและสาธารณประโยชน์ กลมุ่ กจิ กรรมท่ี ๓ กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนบำเพ็ญตนให้เป็น ประโยชน์ต่อครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติในลักษณะอาสาสมัครเพื่อช่วยขัดเกลาจิตใจของ ผู้เรียนให้มีความเมตตากรุณา มีความเสียสละ และมีจิตสาธารณะเพื่อช่วยสร้างสรรค์สังคมให้อยู่ ร่วมกัน อย่างมีความสุข หลักการ กจิ กรรมเพอ่ื สังคมและสาธารณประโยชน์เปน็ กจิ กรรมทีตอ้ งส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพฒั นาตนเอง ตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ โดยคำนึงถึงความแตกต่างระหวา่ งบุคคลและพฒั นาการทางสมอง เน้น ให้ความสำคัญทั้งความรู้ และคุณธรรมจริยธรรม จัดกิจกรรมโดยให้ผู้เรียนคิดสร้างสรรค์ออกแบบกิจกรรม บำเพ็ญประโยชนอ์ ยา่ งหลากหลายรปู แบบ เพอื่ แสดงถงึ ความรบั ผิดชอบต่อสงั คมในลักษณะจติ อาสา ❖ ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้
หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๑๗๙ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กลุ่มงานบรหิ ารวิชาการ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๖ วตั ถุประสงค์ ๑. เพอ่ื ใหผ้ ูเ้ รยี นบำเพญ็ ตนใหเ้ ปน็ ประโยชนต์ ่อครอบครวั โรงเรียน ชุมชน สังคม และประเทศชาติ ๒. เพื่อให้ผู้เรียนออกแบบการจัดกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์อย่างสร้างสรรค์ตาม ความถนัดและความสนใจในลกั ษณะอาสาสมัคร ๓. เพื่อให้ผู้เรียนพัฒนาศักยภาพในการจัดกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ได้อย่างมี ประสทิ ธิภาพ ๔. เพื่อให้ผู้เรียนปฏิบัติกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์จนเกิดคุณธรรมจริยธรรมตาม คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ ๕. เพ่ือให้ผเู้ รียนมจี ติ สาธารณะและใชเ้ วลาวา่ งให้เปน็ ประโยชน์ ขอบขา่ ย เปน็ กระบวนการจัดกจิ กรรมในลักษณะกิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์ และกิจกรรมจิตอาสาโดยผู้เรียน ดำเนินการด้วยตนเองในลักษณะอาสาสมัครเพื่อแสดงถึงความรับผิดชอบ ความดีงาม ความเสียสละต่อ สังคม มจี ิตอาสา และจติ สาธารณะ แนวการจัดกิจกรรม การจัดกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ เน้นให้ผู้เรียนร่วมกันสำรวจและวิเคราะห์สภาพ ปัญหา ร่วมกันออกแบบการจัดกิจกรรม วางแผนการจัดกิจกรรม ปฏิบัติกิจกรรมตามแผน ร่วมสรุปและ ประเมนิ ผลการจัดกิจกรรม รว่ มรายงานผล พรอ้ มท้ังประชาสมั พนั ธ์ และเผยแพร่ผลการจดั กิจกรรม การจัดกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์สามารถเลือกจัดกิจกรรมหรือเข้าร่วมกิจกรรมได้ ท้ังภายในและภายนอกโรงเรยี น ดงั น้ี ๑. จัดกิจกรรมในลักษณะบูรณาการใน ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ และประสบการณ์ของผู้เรียนเอง โดยผู้เรียนสามารถจดั กิจกรรมตามองคค์ วามรู้ที่ไดจ้ ากการเรียนรู้และประสบการณ์ ซึ่งสามารถจัดกิจกรรม ได้ ดงั นี้ ๑.๑ จัดกิจกรรมภายในโรงเรียน ๑.๒ จัดกิจกรรมภายนอกโรงเรียน ๒. จดั กิจกรรมลักษณะโครงการ โครงงาน หรอื กิจกรรม หมายถงึ จดั กจิ กรรมทีผ่ ู้เรียนนำเสนอการ จัดกิจกรรมต่อโรงเรียนเพื่อขอความเห็นชอบในการจัดทำโครงการ โครงงาน หรือกิจกรรม ซึ่งมีระยะเวลา เรมิ่ ตน้ และสนิ้ สดุ อย่างชดั เจน โดยสามารถจัดกจิ กรรมได้ดังนี้ ๒.๑ จัดกิจกรรมในโรงเรียน ๒.๒ จัดกิจกรรมนอกโรงเรยี น ๓. จัดกิจกรรมร่วมกับองค์กรอื่น หมายถึง กิจกรรมที่ผู้เรียนอาสาสมัครเข้าร่วมกิจกรรมกับ หน่วยงานหรืองค์กรอื่นๆ ที่จัดกิจกรรมในลักษณะเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์ โดยผู้เรียนสามารถ เลือกเขา้ รว่ มกิจกรรมไดด้ ังน้ี ❖ ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้
หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๑๘๐ ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กลุ่มงานบริหารวชิ าการ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๖ ๓.๑ ร่วมกบั หน่วยงานอื่นทเี่ ขา้ มาจดั กจิ กรรมในโรงเรียน ๓.๒ รว่ มกบั หนว่ ยงานอืน่ ท่าจัดกิจกรรมนอกโรงเรียน เงอ่ื นไข เวลาเข้าร่วมกิจกรรม ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์อย่างต่อเนื่องทุก ภาคเรียน/ปี โดยขนึ้ อย่กู ับการบริหารจดั การของสถานศกึ ษา เน้นให้ผู้เรียนเป็นผู้จัดกิจกรรมด้วยตนเองทุกขั้นตอนและต่อเนื่อง โดยมีครูเป็นที่ปรึกษาของ กิจกรรม ผู้เรียนจะจัดกิจกรรมหรือแสดงพฤติกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ในเวลาสถานที่ หรือ รูปแบบของกิจกรรมใดก็ได้ โดยคำนึงถึงความเหมาะสมตามบริบทของแต่ละสถานศึกษาและขึ้นอยู่กับการ บรหิ ารจดั การของสถานศกึ ษา การประเมินผลกจิ กรรม การประเมนิ ผลกจิ กรรมเพื่อสงั คมและสาธารณประโยชน์ ผูเ้ รียนตอ้ งเข้ารว่ มกิจกรรมใหค้ รบตาม กรอบเวลาในโครงสร้างของหลกั สตู รสถานศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ดังน้ี ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น (ม.๑ - ม.๓) มีเวลาเข้ารว่ มกิจกรรม ๔๕ ชวั่ โมง ผา่ น หมายถงึ ผู้เรียนมีเวลาเขา้ รว่ มกิจกรรมครบตามเวลา ปฏบิ ัติ กิจกรรมและมีผลงาน/ช้นิ งาน/คณุ ลักษณะตามเกณฑท์ ่ี สถานศึกษากำหนด ไมผ่ า่ น หมายถึง ผเู้ รยี นมีเวลาเข้ารว่ มกิจกรรมไม่ครบตามเวลา ปฏบิ ตั ิกจิ กรรม หรอื มผี ลงาน/ช้ินงาน/คณุ ลักษณะไมเ่ ป็นไป ตามเกณฑ์ทสี่ ถานศึกษากำหนด ในกรณที ่ีผู้เรียนไม่ผา่ น ครูที่ปรกึ ษาต้องให้ผเู้ รียนซ่อมเสริมการทำกจิ กรรมใหค้ รบตามกรอบเวลาที่ กำหนดในโครงสร้างหลกั สูตร ❖ ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น
หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๑๘๑ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กลุม่ งานบรหิ ารวิชาการ ปีการศึกษา ๒๕๖๖ ระดบั การศึกษา หลักสตู รสถานศกึ ษา โรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) พทุ ธศกั ราช ๒๕๖6 จัดระดับการศึกษา ในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑–๓) การศึกษาระดับนี้เป็นช่วงแรกของการศึกษาภาค บงั คบั มุ่งเนน้ ทักษะพื้นฐานดา้ นการอา่ น การเขียน การคิดคำนวณ ทกั ษะการคิดพ้ืนฐาน การติดต่อส่ือสาร กระบวนการเรยี นรู้ทางสงั คม และพื้นฐานความเปน็ มนุษย์ การพัฒนาคุณภาพชีวิตอย่างสมบรู ณ์และสมดลุ ท้ังในด้านร่างกาย สตปิ ญั ญา อารมณ์ สังคม และวฒั นธรรม โดยเนน้ จดั การเรียนรแู้ บบบรู ณาการการเรียนรู้ การจดั เวลาเรียน หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ได้กำหนดกรอบโครงสร้างเวลาเรียนขั้นต่ำสำหรับกลุ่มสาระ การเรยี นรู้ ๘ กลุ่ม และกิจกรรมพฒั นาผู้เรียน ซง่ึ สถานศึกษาสามารถเพิม่ เตมิ ได้ตามความพร้อมและจุดเน้น ในระดบั ชัน้ มัธยมศึกษาตอนต้น (ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ ๑–๓) ใหจ้ ัดเวลาเรยี นเปน็ รายปี โดยมีเวลาเรียนวันละ ไม่เกิน ๖ ชัว่ โมง โดยสามารถปรบั ใหเ้ หมาะสมตามบริบทของสถานศกึ ษาและสภาพของผูเ้ รยี น การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรยี นอยู่บนหลกั การพื้นฐานสองประการคือ การประเมินเพื่อ พฒั นาผเู้ รยี นและเพือ่ ตดั สินผลการเรียน ในการพฒั นาคณุ ภาพการเรยี นรู้ของผเู้ รยี น ให้ประสบผลสำเร็จนั้น ผู้เรียนจะต้องได้รับการพัฒนาและประเมินตามตัวชี้วัดเพื่อให้บรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้ สะท้อน สมรรถนะสำคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนซึ่งเป็นเป้าหมายหลักในการวัดและประเมินผล การเรียนรู้ในทุกระดับไม่ว่าจะเป็นระดับชั้นเรียน ระดับสถานศึกษา ระดับเขตพื้นที่การศึกษา และ ระดับชาติ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ เป็นกระบวนการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนโดยใช้ผลการประเมิน เป็นข้อมูลและสารสนเทศที่แสดงพัฒนาการ ความก้าวหน้า และความสำเร็จทางการเรียนของผู้เรียน ตลอดจนข้อมลู ทเ่ี ปน็ ประโยชนต์ อ่ การส่งเสรมิ ให้ผูเ้ รียนเกิด การพัฒนาและเรียนรอู้ ยา่ งเต็มตามศักยภาพ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ แบ่งออกเป็น ๔ ระดับ ได้แก่ ระดับชั้นเรียน ระดับสถานศึกษา ระดบั เขตพื้นท่กี ารศึกษา และระดับชาติ มีรายละเอียด ดงั น้ี ๑. การประเมินระดับชั้นเรียน เป็นการวัดและประเมินผลที่อยู่ในกระบวนการจัดการเรียนรู้ ผู้สอนดำเนินการเป็นปกติและสม่ำเสมอ ในการจัดการเรียนการสอน ใช้เทคนิคการประเมินอย่าง หลากหลาย เช่น การซักถาม การสังเกต การตรวจการบ้าน การประเมินโครงงาน การประเมินชิ้นงาน/ ภาระงาน แฟ้มสะสมงาน การใช้แบบทดสอบ ฯลฯ โดยผู้สอนเป็นผู้ประเมินเองหรือเปิดโอกาส ให้ผู้เรียน ประเมินตนเอง เพื่อนประเมินเพอื่ น ผปู้ กครองร่วมประเมนิ ในกรณีทไี่ ม่ผ่านตวั ชี้วดั ใหม้ ี การสอนซอ่ มเสรมิ การประเมนิ ระดับช้นั เรยี นเปน็ การตรวจสอบว่า ผู้เรียนมีพัฒนาการความกา้ วหน้าในการเรียนรู้ อัน เป็นผลมาจากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนหรอื ไม่ และมากน้อยเพียงใด มีสิ่งที่จะต้องได้รับการพัฒนา ปรับปรุงและส่งเสริมในด้านใด นอกจากนี้ยังเป็นข้อมูลให้ผู้สอนใช้ปรับปรุงการเรียนการสอนของตนด้วย ทัง้ น้โี ดยสอดคล้องกบั มาตรฐานการเรียนรแู้ ละตัวชีว้ ัด ❖ ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น
หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๑๘๒ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กลุ่มงานบริหารวชิ าการ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๖ ๒. การประเมินระดับสถานศึกษา เปน็ การประเมนิ ทส่ี ถานศึกษาดำเนินการเพื่อตัดสินผล การ เรียนของผู้เรียนเป็นรายปี ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขยี น คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน นอกจากนี้เพื่อให้ได้ข้อมูลเกี่ยวกับการจัดการศึกษาของสถานศึกษาว่าส่งผลต่อการ เรียนรู้ของผู้เรียนตามเป้าหมายหรือไม่ ผู้เรียนมีจุดพัฒนาในด้านใด รวมทั้งสามารถนาผลการเรียนของ ผู้เรียนในสถานศึกษาเปรียบเทียบกับเกณฑ์ระดับชาติ ผลการประเมินระดับสถานศึกษาจะเป็นข้อมูลและ สารสนเทศเพื่อการปรบั ปรงุ นโยบาย หลักสูตร โครงการ หรือวิธีการจัดการเรียนการสอน ตลอดจนเพ่ือการ จัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ตามแนวทางการประกันคุณภาพการศึกษาและการ รายงานผลการจัดการศึกษาต่อคณะกรรมการสถานศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา สำนักงาน คณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน ผปู้ กครองและชุมชน ๓. การประเมินระดับเขตพื้นที่การศึกษา เป็นการประเมินคุณภาพผู้เรียนในระดับเขตพื้นท่ี การศกึ ษาตามมาตรฐานการเรียนรตู้ ามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน เพ่ือใชเ้ ป็นข้อมูลพ้ืนฐานใน การพัฒนาคุณภาพการศึกษาของเขตพื้นที่การศึกษา ตามภาระความรับผิดชอบ สามารถดำเนินการโดย ประเมินคุณภาพผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียนดว้ ยข้อสอบมาตรฐานที่จัดทำและดำเนินการโดยเขตพื้นที่การศึกษา หรือด้วยความร่วมมือกับหน่วยงานต้นสังกัด ในการดำเนินการจัดสอบ นอกจากนี้ยังได้จากการตรวจสอบ ทบทวนขอ้ มลู จากการประเมนิ ระดบั สถานศึกษาในเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษา ๔. การประเมินระดับชาติ เป็นการประเมินคณุ ภาพผู้เรียนในระดับชาติตามมาตรฐานการเรยี นรู้ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน สถานศกึ ษาต้องจดั ให้ผู้เรียนทุกคนที่เรียน ในชั้นประถมศึกษา ปที ี่ ๓ ช้นั ประถมศึกษาปีที่ ๖ เข้ารับการประเมิน ผลจากการประเมินใช้เปน็ ขอ้ มลู ในการเทยี บเคียงคุณภาพ การศกึ ษาในระดบั ต่าง ๆ เพ่ือนำไปใช้ในการวางแผนยกระดบั คุณภาพการจัดการศึกษา ตลอดจนเป็นข้อมูล สนบั สนนุ การตดั สนิ ใจในระดับนโยบายของประเทศ ข้อมูลการประเมินในระดับต่าง ๆ ข้างต้น เป็นประโยชน์ต่อสถานศึกษาในการตรวจสอบทบทวน พัฒนาคุณภาพผู้เรียน ถือเป็นภาระความรับผิดชอบของสถานศึกษาที่จะต้องจัดระบบดูแลช่วยเหลือ ปรบั ปรงุ แก้ไข ส่งเสรมิ สนบั สนุนเพ่ือให้ผู้เรียนได้พฒั นาเตม็ ตามศักยภาพบนพน้ื ฐาน ความแตกต่างระหว่าง บุคคลที่จำแนกตามสภาพปัญหาและความต้องการ ได้แก่ กลุ่มผู้เรียนทั่วไป กลุ่มผู้เรียนที่มี ความสามารถ พเิ ศษ กลมุ่ ผเู้ รียนทมี่ ผี ลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นต่ำ กลุ่มผู้เรียนทีม่ ีปญั หาดา้ นวินยั และพฤติกรรม กลุ่มผู้เรียนที่ ปฏเิ สธโรงเรยี น กลุ่มผ้เู รยี นทมี่ ปี ัญหาทางเศรษฐกจิ และสังคม กลุ่มพิการทางร่างกายและสติปัญญา เป็นต้น ข้อมูลจากการประเมินจึงเป็นหัวใจของสถานศึกษาในการดำเนินการช่วยเหลือผู้เรียนได้ทันท่วงที เปิด โอกาสใหผ้ ู้เรียนได้รบั การพัฒนาและประสบความสำเร็จในการเรยี น สถานศึกษาในฐานะผูร้ ับผดิ ชอบการจดั การศึกษา จะตอ้ งจัดทำระเบยี บว่าด้วยการวัดและประเมินผล การเรียนของสถานศึกษาให้สอดคล้องและเป็นไปตามหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติที่เป็นข้อกำหนดของ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน เพ่อื ให้บุคลากรท่ีเกี่ยวขอ้ งทุกฝา่ ยถือปฏบิ ัตริ ่วมกนั ❖ ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น
หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๑๘๓ ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กลมุ่ งานบริหารวิชาการ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๖ เกณฑ์การวดั และประเมนิ ผลการเรยี น โรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) กำหนดแนวทางการประเมินผลตามหลักสูตรแกนกลาง การศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ฉบบั ปรับปรุง พุทธศกั ราช ๒๕๖๐ ซ่ึงเปน็ แนวทางให้สถานศึกษา นำไปใชเ้ ป็นแนวทางในการกำหนดแนวทางการวัดและประเมินผลการเรยี นรู้ของสถานศึกษาไวเ้ ป็นแนวทาง กวา้ งๆ ดงั น้ี หลักการวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรหู้ ลกั สตู รโรงเรียนบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) พทุ ธศกั ราช ๒๕66 การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ เป็นกระบวนการตรวจสอบผลการเรียนรู้ และพัฒนาการด้านต่างๆ ของผู้เรียน ตามมาตรฐานการ เรียนร/ู้ ตวั ชี้วดั ของหลักสูตร นำผลไปปรับปรุงพัฒนาการจดั การเรยี นร้แู ละใชเ้ ปน็ ข้อมลู สำหรับการตดั สินผล การเรียน สถานศึกษาต้องดำเนินการวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ใหเ้ ป็นไปอยา่ งมีคณุ ภาพและประสิทธิภาพ มีกระบวนการจัดการที่เป็นระบบ และกระบวนการปฏิบัติงานที่มีคุณภาพ เพื่อให้ผลการประเมินถูกต้องตาม สภาพความรู้ ความสามารถที่แท้จริงของผู้เรียน ถูกต้องตามหลักการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ รวมท้ัง สามารถรองรับการประเมินภายในและการประเมินภายนอก ตามระบบประกันคุณภาพการศึกษาได้ สถานศกึ ษาจึงควรกำหนดหลักการวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ไวด้ งั นี้ ๑. สถานศึกษาเป็นผู้รับผิดชอบการประเมินผลการเรียนของผู้เรียน โดยเปิดโอกาสให้ทุกฝ่ายที่ เกย่ี วขอ้ งมีส่วนร่วม โดยความเหน็ ชอบของคณะกรรมการบริหารหลกั สตู รและวิชาการสถานศกึ ษา ๒. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ให้สอดคล้องและครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วดั ตาม ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ที่กำหนดในหลักสูตร จัดให้มีการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ ตลอดจนกจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี น ๓. ประเมินผู้เรียนจากพัฒนาการของผู้เรียน ความประพฤติ พฤติกรรมการเรียน การร่วม กิจกรรมและการทดสอบควบค่ไู ปในกระบวนการเรยี นการสอน ตามความเหมาะสมของแตล่ ะระดบั ๔. ประเมินผลการเรียนรู้เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการจัดการเรียนการสอนต้องดำเนินการด้วย เทคนิควิธีการที่หลากหลาย เพื่อให้สามารถวัดและประเมินผู้เรียนได้อย่างรอบด้าน ทั้งด้านความรู้ ความคิด กระบวนการ พฤติกรรมและเจตคติ เหมาะสมกับส่งิ ท่ีต้องการวดั ธรรมชาตวิ ิชา และระดบั ช้ันของผูเ้ รียน ให้ มคี วามเท่ยี งตรง ยุตธิ รรม และเชือ่ ถือได้ ๕. การประเมินผลการเรียน มีจุดมุ่งหมายเพื่อปรับปรุงพัฒนาผู้เรียน พัฒนาการจัดการเรียน และตดั สนิ ผลการเรียน ๖. เปิดโอกาสให้ผเู้ รียนและผู้มสี ่วนเก่ียวข้องตรวจสอบผลการประเมินผลการเรยี นรู้ ๗. ใหม้ ีการเทยี บโอนผลการเรียนระหว่างสถานศกึ ษาและรูปแบบการศึกษาต่าง ๆ ๘. สถานศึกษาจัดทำเอกสารหลักฐานการศึกษา เพื่อเป็นหลักฐานการประเมินผลการเรียน รายงานผลการเรียน แสดงวฒุ กิ ารศึกษาและรับรองผลการเรยี นของผ้เู รียน ❖ ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้
หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๑๘๔ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กลมุ่ งานบรหิ ารวิชาการ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๖ การตัดสิน การใหร้ ะดับและการรายงานผลการเรยี น ๑. การตัดสนิ ผลการเรียน ในการตัดสินผลการเรียนของกลุ่มสาระการเรียนรู้ การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะอันพึง ประสงค์ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนน้นั ผูส้ อนตอ้ งคำนงึ ถึงการพฒั นาผู้เรียนแตล่ ะคนเปน็ หลัก และต้องเก็บ ข้อมูลของผู้เรียนทุกด้านอย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่องในแต่ละภาคเรียน รวมท้ังสอนซ่อมเสริมผู้เรียนให้ พฒั นาจนเต็มตามศกั ยภาพ ระดับมธั ยมศกึ ษา ๑) ตัดสินผลการเรยี นเปน็ รายวชิ า ผ้เู รยี นต้องมเี วลาเรียนตลอดภาคเรยี นไมน่ อ้ ยกวา่ รอ้ ย ละ ๘๐ ของเวลาเรยี นทัง้ หมดในรายวชิ าน้ันๆ (๒) ผเู้ รียนตอ้ งได้รบั การประเมนิ ทุกตวั ช้ีวดั และผ่านตามเกณฑ์ท่สี ถานศึกษากำหนด คือ ตวั ช้ีวัดทตี่ อ้ งผ่าน ไม่นอ้ ยกว่ารอ้ ยละ ๖๐ ของแต่ละรายวชิ า (๓) ผูเ้ รียนต้องไดร้ ับการตดั สินผลการเรยี นทกุ รายวชิ า (๔) ผเู้ รยี นตอ้ งไดร้ ับการประเมิน และมีผลการประเมนิ ผ่านตามเกณฑ์ท่ีสถานศึกษา กำหนด ในการอา่ น คดิ วิเคราะห์และเขียน คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ และกจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี น การพิจารณาเลื่อนชั้น ถ้าผู้เรียนมีข้อบกพร่องเพียงเล็กน้อย และสถานศึกษาพิจารณาเห็นว่า สามารถพัฒนาและสอนซ่อมเสริมได้ ให้อยู่ในดุลพินิจของสถานศึกษาท่ีจะผ่อนผันให้เลื่อนชั้นได้ แต่หาก ผู้เรียนไม่ผ่านรายวิชาจานวนมาก และมีแนวโน้มว่าจะเป็นปัญหาต่อการเรียนในระดับชั้นที่สูงข้ึน สถานศึกษาอาจตั้งคณะกรรมการพิจารณาให้เรียนซ้ำชั้นได้ ทั้งนี้ให้คำนึงถึงวุฒิภาวะและความรู้ ความ สามารถของผ้เู รยี นเป็นสำคัญ ๒ . การให้ระดับผลการเรียน การตัดสินเพื่อให้ระดับผลการเรียนรายวิชาของกลุ่มสาระการเรียนรู้ กำหนดให้ใช้ตัวเลขแสดง ระดบั ผลการเรยี นเป็น ๘ ระดบั โดยมแี นวการให้คะแนนระดบั ผลการเรียน ดงั นี้ คะแนนรอ้ ยละ ระดบั ผลการเรยี น ความหมายของผลการประเมนิ ๘๐-๑๐๐ ๔ ผลการเรยี นดเี ยีย่ ม ๗๕-๗๙ ๓.๕ ผลการเรียนดมี าก ๗๐-๗๔ ๓ ๖๕-๖๙ ๒.๕ ผลการเรยี นดี ๖๐-๖๔ ๒ ผลการเรยี นคอ่ นข้างดี ๕๕-๕๙ ๑.๕ ผลการเรยี นปานกลาง ๕๐-๕๔ ๑ ๐-๔๙ ๐ ผลการเรยี นพอใช้ ผลการเรยี นผา่ นเกณฑก์ ารประเมินขัน้ ต่ำ ผลการเรียนไม่ผา่ นเกณฑ์การประเมิน ❖ ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น
หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๑๘๕ ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กลมุ่ งานบรหิ ารวชิ าการ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๖ การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ สมรรถนะสำคัญของ ผู้เรยี นและกจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี นน้ัน ใหร้ ะดับผลการประเมนิ เปน็ ผา่ นและไมผ่ า่ น กรณผี า่ นให้ระดับผลการ เรยี นเปน็ ดเี ยีย่ ม ดี และผ่าน โดยใชเ้ กณฑก์ ารประเมนิ ดังนี้ ๑) การประเมินอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน รูปแบบ วิธีการประเมนิ มี ๔ ระดับ คอื ดเี ย่ยี ม/ด/ี ผา่ น/ไมผ่ า่ น - ครูผ้สู อนแตล่ ะกลุ่มสาระเป็นผ้ปู ระเมนิ แลว้ ส่งผล การประเมนิ ให้คณะกรรมการประเมนิ อ่าน คิด วิเคราะห์และเขยี น สรุปโดยใชค้ ่า ฐานนิยม ดีเยยี่ ม หมายถงึ สามารถจับใจความสำคญั ไดค้ รบถว้ น เขียนวพิ ากษ์วจิ ารณ์ เขยี นสรา้ งสรรค์ แสดงความคดิ เห็นประกอบอยา่ งมเี หตุผลได้ถูกต้องและสมบรู ณ์ ใช้ภาษาสภุ าพและเรยี บเรยี งได้สละสลวย ดี หมายถงึ สามารถจบั ใจความสำคัญได้ เขียนวพิ ากษ์วิจารณ์ และ เขียนสรา้ งสรรค์ ได้โดยใช้ ภาษาสุภาพ ผา่ น หมายถงึ สามารถจับใจความสำคัญไดแ้ ละ เขยี นวพิ ากษว์ จิ ารณ์ได้บา้ ง หมายเหตุ ถา้ ผูเ้ รียนไม่ผ่านเกณฑ์ ใหซ้ ่อมเสรมิ ดำเนินการแกไ้ ขผลการเรยี นในระดบั ช้ันนน้ั ๒) การประเมินคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ รปู แบบ วธิ ีการประเมนิ มี ๔ ระดับ คอื ดีเย่ียม/ด/ี ผา่ น/ไมผ่ ่าน - ครผู สู้ อนแตล่ ะกลุ่มสาระเป็นผ้ปู ระเมิน แล้วสง่ ผล การประเมนิ ใหค้ ณะกรรมการประเมนิ คุณลกั ษณะ อันพึงประสงค์ สรปุ โดยใช้ค่า ฐานนิยม ดีเยย่ี ม หมายถึง ผเู้ รียนมคี ณุ ลักษณะในการปฏิบตั จิ นเปน็ นิสยั และนำไปใชใ้ นชีวิตประจำวนั เพ่ือ ประโยชน์สุขของตนเองและสงั คม ดี หมายถงึ ผเู้ รียนมีคณุ ลักษณะในการปฏบิ ตั ิตามกฎเกณฑ์ เพื่อให้เป็นทย่ี อมรบั ของสังคม ผ่าน หมายถึง ผเู้ รียนรับรู้และปฏบิ ตั ิตามกฎเกณฑแ์ ละเงื่อนไขที่สถานศกึ ษากำหนด หมายเหตุ ถ้าผู้เรียนไม่ผา่ นเกณฑ์ ใหซ้ ่อมเสริมดำเนินการแกไ้ ขผลการเรียนในระดบั ชน้ั นัน้ ❖ ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น
หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๑๘๖ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กลมุ่ งานบรหิ ารวชิ าการ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๖ ๓) การประเมินสมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น รูปแบบ วิธกี ารประเมิน มี ๔ ระดับ คือ ดีเยีย่ ม/ด/ี ผ่าน/ไมผ่ ่าน - ครผู สู้ อนแตล่ ะกลุ่มสาระเป็นผ้ปู ระเมิน แล้วส่งผล การประเมนิ ให้คณะกรรมการประเมนิ สมรรถนะ สำคญั ของผูเ้ รียนสรปุ โดยใชค้ ่า ฐานนยิ ม ดีเยี่ยม หมายถึง ผู้เรียนมีสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ในการปฏิบัติจนเป็นนิสัย และนำไปใช้ใน ชวี ติ ประจำวัน เพ่ือประโยชน์สขุ ของตนเองและสงั คม ดี หมายถึง ผู้เรียนมีสมรรถนะสำคัญของผู้เรียนในการปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ เพื่อให้เป็นที่ยอมรับ ของสังคม ผ่าน หมายถงึ ผเู้ รยี นรับรแู้ ละปฏิบัตติ ามกฎเกณฑแ์ ละเง่อื นไขทส่ี ถานศกึ ษากำหนด หมายเหตุ ถ้าผเู้ รยี นไม่ผา่ นเกณฑ์ ให้ซ่อมเสรมิ ดำเนนิ การแกไ้ ขผลการเรียนในระดบั ช้นั น้นั 4) การประเมนิ ค่านิยมหลกั คนไทย 12 ประการ รูปแบบ วธิ ีการประเมิน มี ๔ ระดบั คือ ดเี ย่ียม/ด/ี ผ่าน/ไมผ่ า่ น - ครผู สู้ อนแต่ละกลุ่มสาระเป็นผู้ประเมิน แลว้ ส่งผล การประเมนิ ใหค้ ณะกรรมการประเมนิ ค่านิยมหลกั คนไทย 12 ประการ สรปุ โดยใชค้ า่ ฐานนยิ ม ดีเยี่ยม หมายถงึ ผูเ้ รียนมีค่านยิ มหลกั คนไทย 12 ประการ ในการปฏบิ ตั จิ นเป็นนิสัย และนำไปใช้ ในชวี ิตประจำวนั เพือ่ ประโยชน์สขุ ของตนเองและสงั คม ดี หมายถึง ผู้เรียนมีค่านิยมหลักคนไทย 12 ประการ ในการปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ เพื่อให้เป็นที่ ยอมรบั ของสังคม ผ่าน หมายถึง ผเู้ รียนรับรูแ้ ละปฏิบัติตามกฎเกณฑแ์ ละเงื่อนไขทีส่ ถานศกึ ษากำหนด หมายเหตุ ถ้าผเู้ รียนไมผ่ ่านเกณฑ์ ให้ซ่อมเสรมิ ดำเนินการแกไ้ ขผลการเรยี นในระดับช้นั น้ัน ❖ ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น
หลักสตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๑๘๗ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กลมุ่ งานบริหารวชิ าการ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๖ 5) การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน จะต้องพิจารณาท้งั เวลาการเข้าร่วมกิจกรรม การปฏิบัติกจิ กรรมและผลงานของผูเ้ รียน ตามเกณฑท์ ่ีกำหนด และใหผ้ ลการเขา้ รว่ มกิจกรรมเป็นผ่าน และ ไม่ผ่าน รูปแบบ วธิ กี ารประเมิน มี ๒ ระดบั คอื ผา่ น/ไม่ผ่าน - ครผู สู้ อนในแตล่ ะกจิ กรรมเป็นประเมิน โดยมี เกณฑ์การประเมนิ คือ ๑. เวลาทเี่ ขา้ ร่วมกจิ กรรม ๒. การปฏบิ ัติกจิ กรรม ๓. ผลงาน/ชน้ิ งาน ผ่าน หมายถึง ผู้เรียนมีเวลาเข้าร่วมกิจกรรมครบตามเกณฑ์ ปฏิบัติกิจกรรม และมีผลงาน/ ชิน้ งาน/คณุ ลักษณะตามเกณฑ์ท่ีสถานศึกษากำหนด ไม่ผ่าน หมายถงึ ผูเ้ รียนมีเวลาเข้าร่วมกจิ กรรมไมค่ รบตามเกณฑ์ ไมผ่ ่านการปฏบิ ตั ิกจิ กรรมหรือ มีผลงาน/ชิ้นงาน/คุณลกั ษณะไมเ่ ป็นไปตามเกณฑ์ท่ีสถานศึกษากำหนด • ถ้าผเู้ รียนไมผ่ ่านเกณฑ์ ให้ซอ่ มเสรมิ ดำเนนิ การแก้ไขผลการเรยี นในระดับชนั้ น้ัน 6. การเลอื่ นชนั้ กำหนดเกณฑ์การเล่ือนชั้นไว้ ดงั น้ี ๑) ผู้เรยี นต้องมเี วลาเรยี นตลอดปกี ารศึกษาไมน่ ้อยกว่ารอ้ ยละ ๘๐ ของเวลาท้งั หมด ๒) ผู้เรยี นตอ้ งไดร้ บั การประเมนิ ทุกตวั ชว้ี ัด ทงั้ รายวชิ าพื้นฐานและเพิ่มเติม และ ตอ้ งผา่ น ไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ ๖๐ ของแตล่ ะรายวิชา ๓) ผู้เรียนต้องไดร้ บั การตัดสินผลการเรยี นท้งั รายวิชาพื้นฐาน และเพิ่มเติม ผ่าน ทุก รายวิชา ๔) ผู้เรยี นต้องไดร้ บั การประเมิน และมีผลการประเมนิ ผ่านตามเกณฑ์ทส่ี ถานศึกษา กำหนด ในการอา่ น คดิ วิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ สมรรถนะสำคัญของผู้เรียนและ กิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี น 7. การเรยี นซำ้ ช้ัน หากผู้เรียนไม่ผ่านรายวิชาจำนวนมากและมีแนวโน้มว่าจะเป็นปัญหาต่อการเรียนใน ระดับชั้นที่สูงขึ้น สถานศึกษาอาจตั้งคณะกรรมการพิจารณาให้เรียนซ้ำชั้นได้ ทั้งนี้ให้คำนึงถึงความรู้ ความสามารถของผู้เรียนเปน็ สำคัญ ผู้เรียนที่ไม่มีคุณสมบัติตามเกณฑ์การอนุมัติเลื่อนชั้นเรียน สถานศึกษา จะต้องจัดให้เรียนซ้ำชั้น ในกรณีที่ผู้เรียนขาดคุณสมบัติขอ้ ใดขอ้ หน่ึง สถานศึกษาอาจใช้ดุลพนิ จิ ให้เลือ่ นช้ัน ได้ หากพจิ ารณาเหน็ ว่า สถานศกึ ษาจะจัดใหผ้ ู้เรยี นเรียนซ้ำใน ๒ กรณี ดงั น้ี กรณที ่ี ๑ เรียนซำ้ รายวิชา หากผู้เรียนไดร้ ับการสอนซอ่ มเสริมและสอบแก้ตัว ๒ คร้ังแล้ว ไม่ผ่านเกณฑก์ ารประเมิน ให้เรียนซ้ำรายวิชานัน้ ทั้งนี้ ให้อยู่ในดลุ ยพินิจของสถานศึกษาในการจัดใหเ้ รียน ซ้ำในช่วงใดช่วงหนึ่งที่สถานศึกษาเห็นว่าเหมาะสม เช่น พักกลางวัน วันหยุด ชั่วโมงว่างหลังเลิกเรียน ภาคฤดูรอ้ น เปน็ ต้น ❖ ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น
หลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๑๘๘ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กลมุ่ งานบรหิ ารวชิ าการ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๖ กรณีท่ี ๒ เรยี นซ้ำชนั้ มี ๒ ลักษณะ คอื ๑) ผเู้ รียนมีระดบั ผลการเรยี นเฉลย่ี ในปีการศึกษานั้นต่ำกว่า ๑.๐๐ และมี แนวโน้มวา่ จะเปน็ ปญั หาต่อการเรียนในระดับชัน้ ที่สูงข้ึน ๒) ผ้เู รียนมผี ลการเรียน ๐ , ร , มส เกนิ ครงึ่ หนึ่งของรายวิชาทล่ี งทะเบียนเรียนใน ปกี ารศกึ ษานนั้ ทั้งนี้ หากเกิดลักษณะใดลักษณะหนึ่ง หรือทั้ง ๒ ลักษณะ ให้สถานศึกษาแต่งตั้ง คณะกรรมการพิจารณา หากเห็นว่าไม่มีเหตุผลอันสมควรก็ให้ซ้ำชั้น โดยยกเลิกผลการเรียนเดิมและให้ใช้ ผลการเรียนใหม่แทน หากพิจารณาแล้วไม่ต้องเรียนซ้ำชั้น ให้อยู่ในดุลยพินิจของสถานศึกษาในการแก้ไข ผลการเรยี น 8. การสอนซอ่ มเสริม การสอนซ่อมเสรมิ กำหนดใหด้ ำเนนิ การได้ในกรณี ดงั น้ี ๑) ผ้เู รียนมีความรู/้ ทกั ษะพ้ืนฐานไม่เพียงพอท่ีจะศกึ ษาในแตล่ ะรายวิชานน้ั ควรจัดสอน ซ่อมเสรมิ ปรบั ความร/ู้ ทักษะพนื้ ฐาน ๒) การประเมินระหว่างเรียน ผู้เรียนไม่สามารถแสดงความรู้ ทกั ษะกระบวนการ หรือ เจตคติ/คณุ ลักษณะท่กี ำหนดไวต้ ามมาตรฐานการเรียนร/ู้ ตวั ช้วี ดั ๓) ผลการเรยี นไมถ่ ึงเกณฑแ์ ละหรอื ตำ่ กว่าเกณฑก์ ารประเมนิ ต้องจัดสอนซอ่ มเสริมก่อน จะให้ผเู้ รียนสอบแกต้ ัว ๔) ผูเ้ รยี นมีผลการเรียนไมผ่ ่าน สามารถจัดสอนซอ่ มเสรมิ ในภาคฤดรู ้อน ทงั้ นใี้ หอ้ ยู่ใน ดุลพินจิ ของสถานศกึ ษา 9. การรายงานผลการเรียน ให้รายงานผลการเรียน เพ่ือแจ้งผลการเรียนรูแ้ ละพฒั นาการในดา้ นตา่ งๆ ซ่ึงเป็นความกา้ วหน้า ของผู้เรยี นให้ผเู้ รยี น ผู้บริหารสถานศึกษา ผูป้ กครอง และผู้เกย่ี วขอ้ งทราบอย่างน้อยภาคเรยี นละ ๑ ครั้ง การรายงานผลการเรียนสามารถรายงานเป็นระดับคุณภาพการปฏิบัติของผู้เรียนที่สะท้อนมาตรฐานการ เรยี นรกู้ ล่มุ สาระการเรยี นรู้ เพอื่ ใช้เป็นข้อมลู ในการปรับปรุง แกไ้ ขและสง่ เสรมิ พฒั นาการเรียนของผู้เรียนให้ ประสบความสำเร็จอย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งใช้เป็นข้อมูลสำหรับออกเอกสารหลักฐานการศึกษา การ ตรวจสอบ ยนื ยัน รบั รองผลการเรียนและวุฒิการศึกษาของผ้เู รียน โดยใชแ้ บบทส่ี ถานศกึ ษากำหนดมีกรอบ การรายงานอยา่ งน้อย ❖ ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น
หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๑๘๙ ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กลมุ่ งานบริหารวชิ าการ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๖ เกณฑก์ ารจบการศกึ ษา กำหนดเกณฑ์กลางสำหรบั การจบการศึกษา ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้ ดังน้ี (๑) ผูเ้ รียนเรยี นรายวิชาพน้ื ฐานและเพ่มิ เติมโดยเปน็ วชิ าพนื้ ฐาน ๖๖ หนว่ ยกิตและ รายวชิ าเพิม่ เตมิ ตามทสี่ ถานศกึ ษากำหนด (๒) ผ้เู รยี นต้องได้หน่วยกิตตลอดหลกั สูตรไม่น้อยกว่า ๗๗ หน่วยกติ โดยเป็นรายวชิ า พ้ืนฐาน ๖๖ หน่วยกติ และรายวชิ าเพิ่มเติมไมน่ ้อยกว่า ๑๑ หน่วยกติ (๓) ผูเ้ รียนมีผลการประเมินการอา่ น คดิ วิเคราะห์ และเขยี น ในระดับผ่าน เกณฑ์การ ประเมนิ ตามทส่ี ถานศึกษากำหนด (๔) ผู้เรยี นมผี ลการประเมนิ คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ ในระดบั ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ ตามที่สถานศกึ ษากำหนด (๕) ผู้เรยี นเข้าร่วมกิจกรรมพฒั นาผ้เู รียนและมีผลการประเมินผ่านเกณฑ์การประเมิน ตามที่สถานศกึ ษากำหนด สำหรับการจบการศึกษาสำหรับกลุ่มเปา้ หมายเฉพาะ เชน่ การศึกษาเฉพาะทาง การศึกษาสำหรับผู้ มีความสามารถพิเศษ การศึกษาทางเลือก การศึกษาสำหรับผู้ด้อยโอกาส การศึกษาตามอัธยาศัย มอบให้ คณะกรรมการของสถานศึกษา เขตพื้นที่การศึกษา และผู้ที่เกี่ยวข้อง ดำเนินการวัดและประเมินผลการ เรียนรู้ตามหลักเกณฑ์ในแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น พน้ื ฐาน เอกสารหลกั ฐานการศึกษา เอกสารหลักฐานการศึกษา เป็นเอกสารสำคัญทีบ่ ันทึกผลการเรยี น ข้อมูลและสารสนเทศ ที่ เกย่ี วข้องกับพัฒนาการของผูเ้ รียนในด้านต่าง ๆ แบ่งออกเป็น ๒ ประเภท ดงั นี้ ๑. เอกสารหลักฐานการศึกษาทก่ี ระทรวงศึกษาธิการกำหนด ๑) ระเบียนแสดงผลการเรียน เป็นเอกสารแสดงผลการเรียนและรบั รองผลการเรยี น ของผู้เรียนตามรายวิชา ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ของสถานศึกษา และผลการประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน สถานศึกษาจะต้องบันทึกข้อมูลและ ออกเอกสารนี้ให้ผู้เรียนเป็นรายบุคคล เมื่อผู้เรียนจบการศึกษาระดับมัธยมศึกษา(ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓) หรอื เม่ือลาออกจากสถานศกึ ษาในทุกกรณี ๒) ประกาศนียบัตร เป็นเอกสารแสดงวุฒิการศึกษาเพื่อรับรองศักดิ์และสิทธิ์ของผู้จบ การศึกษา ที่สถานศึกษาให้ไว้แก่ผู้จบการศึกษาภาคบังคับ และผู้จบการศึกษาขั้นพื้นฐานตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน ๓) แบบรายงานผู้สำเร็จการศึกษา เป็นเอกสารอนุมัติการจบหลักสูตรโดยบันทึก รายช่อื และขอ้ มูลของผจู้ บการศกึ ษาระดับมัธยมศกึ ษา(ช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ ๓) ❖ ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้
หลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๑๙๐ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กลุ่มงานบรหิ ารวชิ าการ ปีการศึกษา ๒๕๖๖ ๒. เอกสารหลกั ฐานการศึกษาทีส่ ถานศกึ ษากำหนด เป็นเอกสารที่สถานศึกษาจัดทำขึ้นเพื่อบันทึกพัฒนาการ ผลการเรียนรู้ และข้อมูลสำคัญ เกี่ยวกับผู้เรียน เช่น แบบรายงานประจาตัวนกั เรียน แบบบันทึกผลการเรียนประจารายวิชา ระเบียนสะสม ใบรับรองผลการเรียน และ เอกสารอื่น ๆ ตามวัตถปุ ระสงคข์ องการนำเอกสารไปใช้ การเทียบโอนผลการเรยี น สถานศึกษาสามารถเทียบโอนผลการเรียนของผู้เรียนในกรณีตา่ งๆได้แก่ การย้ายสถานศึกษา การ เปลี่ยนรปู แบบการศกึ ษา การย้ายหลกั สูตร การออกกลางคันและขอกลบั เข้ารับการศึกษาต่อ การศึกษาจาก ต่างประเทศและขอเข้าศึกษาต่อในประเทศ นอกจากนี้ ยังสามารถเทียบโอนความรู้ ทักษะ ประสบกา รณ์ จากแหล่งการเรียนรู้อื่นๆ เช่น สถานประกอบการ สถาบันศาสนา สถาบันการฝึกอบรมอาชีพ การจัดการ ศึกษาโดยครอบครวั การเทยี บโอนผลการเรียนควรดำเนินการในช่วงก่อนเปดิ ภาคเรียนแรก หรือตน้ ภาคเรียนแรก ท่ีสถานศึกษา รบั ผ้ขู อเทียบโอนเป็นผ้เู รียน ทั้งน้ี ผเู้ รยี นท่ีได้รบั การเทยี บโอนผลการเรยี นต้องศึกษาต่อเนื่องในสถานศึกษา ที่รับเทียบโอนอย่างน้อย ๑ ภาคเรียน โดยสถานศึกษาที่รับผู้เรียนจากการเทียบโอนควรกำหนดรายวิชา/ จำนวนหนว่ ยกิตท่จี ะรับเทยี บโอนตามความเหมาะสม การพิจารณาการเทียบโอน สามารถดำเนินการได้ ดังนี้ ๑. พิจารณาจากหลกั ฐานการศึกษาและเอกสารอื่นๆ ท่ใี ห้ข้อมลู แสดงความรู้ ความสามารถของ ผเู้ รียน ๒. พจิ ารณาจากความรู้ ความสามารถของผเู้ รยี นโดยการทดสอบด้วยวิธีการตา่ งๆ ทัง้ ภาคความรู้ และภาคปฏบิ ัติ ๓. พจิ ารณาจากความสามารถและการปฏิบตั ิในสภาพจรงิ ๔. การเทียบโอนผลการเรียนใหเ้ ปน็ ไปตาม ประกาศ หรือ แนวปฏิบตั ิ ของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร การบรหิ ารจดั การหลกั สูตร ในระบบการศึกษาที่มีการกระจายอำนาจให้ท้องถิ่นและสถานศึกษามีบทบาทในการพัฒนา หลักสูตรนั้น หน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องในแต่ละระดับ ตั้งแต่ระดับชาติ ระดับท้องถิ่น จนถึงระดับ สถานศึกษา มีบทบาทหน้าที่ และความรับผิดชอบในการพัฒนา สนับสนุน ส่งเสริม การใช้และพัฒนา หลักสูตรให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้การดำเนินการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาและ การจัดการ เรียนการสอนของสถานศึกษามีประสิทธิภาพสูงสุด อันจะส่งผลให้การพัฒนาคุณภาพผู้เรียนบรรลุตาม มาตรฐานการเรียนรู้ท่ีกำหนดไวใ้ นระดบั ชาติ ระดับท้องถิ่น ได้แก่ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา หน่วยงานต้นสังกัดอื่นๆ เป็นหน่วยงานที่มี บทบาทในการขับเคลื่อนคุณภาพการจัดการศึกษา เป็นตัวกลางที่จะเชื่อมโยงหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ข้นั พ้นื ฐานที่กำหนดในระดับชาติให้สอดคล้องกับสภาพและความต้องการของท้องถน่ิ เพือ่ นำไปสู่การจัดทำ หลักสตู ร สง่ เสรมิ การใชแ้ ละพฒั นาหลกั สูตรในระดับสถานศึกษา ให้ประสบความสำเร็จ โดยมภี ารกิจสำคัญ คือ กำหนดเป้าหมายและจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ในระดับท้องถิ่นโดยพิจารณาให้สอดคล้องกับ ❖ ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้
หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๑๙๑ ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กลมุ่ งานบรหิ ารวิชาการ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๖ ความต้องการในระดับชาติ พัฒนาสาระการเรียนรู้ท้องถิ่น ประเมินคุณภาพการศึกษาในระดับท้องถิ่น รวมทั้งเพิ่มพูนคุณภาพการใช้หลักสูตรด้วยการวิจัยและพัฒนา การพัฒนาบุคลากร สนับสนุน ส่งเสริม ติดตามผล ประเมนิ ผล วิเคราะห์ และรายงานผลคุณภาพของผเู้ รยี น สถานศึกษามีหน้าที่สำคัญในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา การวางแผนและดำเนินการใช้ หลักสูตร การเพิ่มพูนคุณภาพการใช้หลักสูตรด้วยการวิจัยและพัฒนา การปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตร จัดทำระเบียบ การวัดและประเมินผล ในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาต้องพิจารณาให้สอดคล้องกับ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน และรายละเอียดที่เขตพื้นที่การศึกษาหรือหน่วยงานต้นสังกัดอืน่ ๆ ในระดับท้องถิ่นได้จัดทำเพิ่มเติม สถานศึกษาได้เพิ่มเติมในส่วนที่เกี่ยวกับสภาพปัญหาในชุมชนและสังคม ภูมิปัญญาท้องถิ่น และความต้องการของผู้เรียน โดยทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาหลักสูตร สถานศกึ ษา คำช้แี จง ๑. โรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) จัดโครงสร้างเวลาเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ ตาม แบบที่ ๑ โดยมรี ายวิชาทีป่ รบั โครงสรา้ งเวลาเรยี นต่างจากเวลาเรียนเดมิ ดังน้ี (อ้างอิง จากหนังสือคู่มือบริหารจัดการเวลาเรียน ตามนโยบาย “ลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้” ของ สำนกั วชิ าการ และมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน) หน้า ๑๒ ๒. ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ - ๓ โรงเรียนจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในชั่วโมงลดเวลาเรียน เพิ่ม เวลารู้ โดยบูรณาการเข้ากับ ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ แต่ละกิจกรรมมีเนื้อหาสาระและการจัดกิจกรรมที่ ต่อเนื่องกัน และเชื่อมโยง กับรายวิชาพื้นฐานตามหลักสูตร โรงเรียนสามารถจัดกิจกรรมการเรียนการสอน บรู ณาการได้ตามความ เหมาะสมตามบริบทของโรงเรียน ๓. วิชาหนา้ ทพี่ ลเมือง จัดเปน็ รายวชิ าเพ่มิ เติม แตจ่ ัดการเรียนการสอน ให้บรู ณาการลงสู่กิจกรรมท่ี โรงเรียน ดำเนินการอยู่แล้ว โดยไม่เพิ่มชั่วโมงเรียน ได้แก่ กิจกรรมหน้าเสาธง กิจกรรมกีฬาสี กิจกรรม ประเพณี กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด เป็นต้น เพื่อปลูกฝังให้เกิดการปฏิบัติและกลายเป็น พฤติกรรมในชีวติ ประจำวัน (อ้างอิง จากหนังสือคู่มือบริหารจัดการเวลาเรียน ตามนโยบาย “ลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้” ของ สำนกั วิชาการ และมาตรฐานการศกึ ษา สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน) ❖ ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้
หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๑๙๒ ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กลุ่มงานบรหิ ารวชิ าการ ปีการศึกษา ๒๕๖๖ บรรณานุกรม สำนักวชิ าการและมาตรฐานการศึกษา. กรอบแนวทางการปรบั ปรงุ หลกั สตู รการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๔๔. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตร, ๒๕๕๐. . ตวั ชว้ี ดั และสาระการเรยี นรู้แกนกลาง กลมุ่ สาระการเรียนรู้การงานอาชพี และ เทศโนโลยี. กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พ์ชุมนมุ สหกรณ์การเกษตร, ๒๕๕๑. . ตัวชว้ี ดั และสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลมุ่ สาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์. กรงุ เทพมหานคร: โรงพิมพช์ ุมนมุ สหกรณ์การเกษตร, ๒๕๕๑. . ตัวชว้ี ัดและสาระการเรยี นรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์. (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ กรุงเทพมหานคร: โรงพมิ พช์ มุ นุมสหกรณก์ ารเกษตร, ๒๕๖๐. . ตวั ชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้ต่างประเทศ. กรงุ เทพมหานคร: โรงพิมพช์ มุ นุมสหกรณ์การเกษตร, ๒๕๕๑. . ตัวชว้ี ดั และสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุม่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพช์ มุ นุมสหกรณ์การเกษตร, ๒๕๕๑. . ตัวช้ีวัดและสาระการเรยี นรู้แกนกลาง กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์. กรงุ เทพมหานคร: โรงพมิ พ์ชมุ นุมสหกรณ์การเกษตร, ๒๕๕๑. . ตัวชว้ี ดั และสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ กรงุ เทพมหานคร: โรงพิมพ์ชมุ นุมสหกรณก์ ารเกษตร, ๒๕๖๐. . ตวั ชี้วดั และสาระการเรยี นรู้แกนกลาง กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ศิลปะ. กรงุ เทพมหานคร: โรงพิมพช์ ุมนมุ สหกรณ์การเกษตร, ๒๕๕๑. . ตวั ชว้ี ัดและสาระการเรยี นรู้แกนกลาง กลมุ่ สาระการเรียนรู้สังคมศกึ ษาศาสนา และ วฒั นธรรม. กรุงเทพมหานคร: โรงพมิ พช์ มุ นุมสหกรณก์ ารเกษตร, ๒๕๕๑. . ตัวชวี้ ัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระภมู ศิ าสตร์ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) กลุ่มสาระการเรยี นรสู้ งั คมศกึ ษาศาสนา และวัฒนธรรม. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณก์ ารเกษตร, ๒๕๖๐. . ตัวชี้วดั และสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลมุ่ สาระการเรยี นรู้สขุ ศกึ ษาและพล ศึกษา. กรงุ เทพมหานคร: โรงพมิ พช์ มุ นุมสหกรณ์การเกษตร, ๒๕๕๑. . แนวทางการบรหิ ารจัดการหลักสูตร. กรงุ เทพมหานคร: โรงพมิ พช์ ุมนุมสหกรณ์ การเกษตร, ๒๕๕๑. . แนวปฏบิ ตั ิการวัดและประเมินผลการเรียนรู้. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพช์ ุมนุม สหกรณก์ ารเกษตร, ๒๕๕๑. . หลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ สำนกงานคณะกรรมการป้องกนั และปราบปรามการทุจริตแหง่ ชาติ รว่ มกับ สำนักงานคณะกรรมการ การศึกษา ขั้นพน้ื ฐาน. ๒๕๖๑.ชดุ หลกั สูตรตา้ นทุจริตศกึ ษา. [ระบบออนไลน์]. แหลง่ ทม่ี า https://www.nacc.go.th/ewt_news.php?nid=๑๘๓๘๔ (๘ พฤษภาคม ๒๕๖๑) ❖ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
หลกั สูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๖ ห น้ า | ๑๙๓ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) กล่มุ งานบรหิ ารวชิ าการ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๖ คณะผู้จดั ทำ ที่ปรึกษา ๑. นางสมพร พรหนองแสน ศึกษานเิ ทศกส์ ำนกั งานเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาสรุ ินทร์เขต ๓ คณะกรรมการสถานศึกษา ๑. นายมิตร พะงาตนุ ดั ประธานกรรมการสถานศึกษาขั้นพืน้ ฐาน ๒. นางสมบัติ กมิ เลง กรรมการผแู้ ทนผู้ปกครอง ๓. นางสาวกิตติยา กิมาวหา กรรมการผู้แทนครู ๔. นายสวุ รรณ ไกยฝ้าย กรรมการผู้แทนองค์กรชมุ ชน ๕. นายเกียว พันธเ์ สน กรรมการผูแ้ ทนองคก์ รปกครองส่วนท้องถน่ิ ๖. พระวิสุทธ์ วิสุทโธ กรรมการผแู้ ทนพระภิกษุสงฆ์ ๗. นายทวี ปิยไพร กรรมการผู้แทนองคก์ รศาสนา ๘. นายคอย สำราญสุข กรรมการผู้แทนศิษย์เก่า ๙. นายธนพล คูณสว่าง กรรมการผูท้ รงคณุ วฒุ ิ ๑๐. นายถาวร ผูกดวง กรรมการผทู้ รงคณุ วุฒิ ๑๑. นายแถม อดิ ประโคน กรรมการผู้ทรงคณุ วฒุ ิ ๑๒. นายหอม กายดี กรรมการผูท้ รงคณุ วฒุ ิ ๑๓. นางสุภาพ หม่ันเที่ยง กรรมการผู้ทรงคณุ วุฒิ ๑๔. นายบัญญตั ิ โสพนิ กรรมการผทู้ รงคุณวฒุ ิ ๑๕. นายศักดิ์ชยั เลศิ อรณุ รตั น์ กรรมการและเลขานุการ คณะทำงาน ๑. นายศกั ดิชัย เลิศอรุณรัตน์ ผอู้ ำนวยการโรงเรยี น ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ ๒. นางสาวสรุ ตั ยา ลลี ะพฒั น์ รองผอู้ ำนวยการโรงเรยี น กรรมการ กรรมการ ๓. นางลัดดา นสิ สัยดี ครูชำนาญการพเิ ศษ กรรมการ กรรมการ ๔. นางสาวเออื้ งนภา คดิ สม ครชู ำนาญการ กรรมการ กรรมการ ๕. นางสาวกนกนาถ สชุ าตสิ นุ ทร ครชู ำนาญการ กรรมการ กรรมการ ๖. นายราชนพ ลำภู ครชู ำนาญการ กรรมการ 7. นางสาวสุพรรษา ยาจติ ร ครผู ชู้ ่วย ❖ ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน้ 8. นางสาวชฎาพร แหวนแก้ว ครูผชู้ ่วย 9. นายเจตตพล ฝ่ายเปน็ ครูผชู้ ว่ ย 10. นางสาวธันญญาพร วิโรจนร์ ตั น์ ครูอตั ราจ้าง 11. นางสาวศศธิ ร เปลยี่ นจนั อัด ครอู ตั ราจา้ ง
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202