Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานผลการจัดกิจกรรมสร้างชุมชนการเรียนรู้วิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563

รายงานผลการจัดกิจกรรมสร้างชุมชนการเรียนรู้วิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563

Published by KroorachaneChanel, 2021-06-15 08:19:56

Description: รายงานผลการจัดกิจกรรมสร้างชุมชนการเรียนรู้วิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563

Search

Read the Text Version

บันทกึ ข้อความ ส่วนราชการ กลมุ่ งานวชิ าการ โรงเรียนบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ ที่ ....../2564 วันที่ 9 เดือน เมษายน พ.ศ. 2564 เรอื่ ง รายงานผลการจดั กิจกรรมสรา้ งชุมชนการเรยี นรูว้ ิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศึกษา ๒๕๖3 เรยี น ผู้อำนวยการโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) ข้าพเจ้า นายชนายุทธ ตรงตามคำ ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชำนาญการ ขอส่งรายงาน การแลกเปลย่ี นเรยี นรู้ ระหว่างเพื่อนครใู นชั่วโมงชมุ ชนแห่งการเรยี นร้ทู างวชิ าชพี (Professional Learning Community : PLC) ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 จำนวน 11 ครั้ง เท่ากับ 22 ชั่วโมง เพื่อเป็นการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้และช่วยกันแก้ปัญหาเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้และเรื่องอื่น ๆ ทำให้การปฏิบัติงานมี คุณภาพและมีประสทิ ธภิ าพยง่ิ ขนึ้ บัดนี้ การปฏิบัติกิจกรรมดังกล่าวได้เสร็จสิ้นเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ข้าพเจ้าขออนุญาตส่ง รายงานผล การจดั กจิ กรรมสรา้ งชุมชนการเรียนรวู้ ิชาชพี กลุ่ม PLUANGPROM TEAM ดังเอกสารแนบมา พร้อมหนังสอื ฉบับน้ี จึงเรยี นมาเพ่อื ทราบและโปรดพจิ ารณา (ลงช่ือ).................................................... (นายชนายุทธ ตรงตามคำ) ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครชู ำนาญการ ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... (ลงชือ่ ) (นายประทีป อรา่ มเรือง) รองผูอ้ ำนวยการโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... (ลงชื่อ) (นายศกั ดิช์ ยั เลิศอรุณรตั น)์ ผู้อำนวยการโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์)

รายงานการจัดกิจกรรมชมุ ชนแหง่ การเรียนรูท้ างวชิ าชพี (Professional Learning Community: PLC) ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2563 นายชนายุทธ ตรงตามคำ ตำแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครชู ำนาญการ โรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ สำนักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาสรุ นิ ทร์ เขต 3 สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร เอกสารชนั้ เรยี นลำดบั ท่ี 082/2563

คำนำ รายงานฉบบั น้ี จัดทำข้ึนเพ่ือเกบ็ รวบรวมการจัดกิจกรรมชุมชนแหง่ การเรยี นร้ทู างวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC) เพื่อพัฒนาการจัดการเรียนการสอนทั้งระบบ ทั้งการร่วมกันพัฒนาวางมาตรการ ต่าง ๆ รวมทั้งการปรับปรงุ แกไ้ ขในประเดน็ ปัญหาต่าง ๆ เพ่อื ใหก้ ารจัดการเรียนการสอนมปี ระสิทธิภาพอย่างสูงสุด สอดคล้องกบั ความแตกต่างระหว่างบุคคล ให้ผ้เู รยี นมกี ารเรียนรู้อยา่ งเตม็ ตามศกั ยภาพ เพื่อคุณภาพในการบริหารจัดการของสถานศึกษา มีแนวทางในการดำเนินการที่มีประสิทธิภาพ เอื้อต่อ การจัดการเรียนการสอนท่ีตอบสนองความแตกต่างของผู้เรียน และสนับสนุนให้ผู้เรียนมีการพัฒนาได้อย่าง เหมาะสม เตม็ ตามศักยภาพของแต่ละบุคคลจงึ ไดจ้ ัดกิจกรรมชมุ ชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพและทำรายงานการ จดั กจิ กรรมชมุ ชนแหง่ การเรยี นรทู้ างวชิ าชีพ เพื่อเก็บรวบรวมเผยแพร่และสรา้ งเครือขา่ ยต่อไป ....................................... (นายชนายุทธ ตรงตามคำ) ครูผู้สอน

ปฏทิ นิ การดำเนนิ งานชุมชนการเรยี นรูว้ ชิ าชีพ (PLC) กล่มุ “PLUANGPROM TEAM” ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2563 ท่ี ช่วงเวลา กิจกรรม ผ้รู ับผดิ ชอบ 1 1 ธนั วาคม 2563 - แต่งตัง้ คณะกรรมการขบั เคล่ือนกระบวนการ ฝ่ายบรหิ าร/คณะกรรมการฯ 2 ช่ัวโมง ชมุ ชนการเรียนรูท้ างวิชาชพี (PLC) ระดบั สถานศึกษา - ประชุมคณะกรรมการฯ - รวมกลมุ่ เพือ่ จัดตง้ั กลมุ่ PLC - ขอจดั ต้งั กลมุ่ และจดทะเบียนจดั ตัง้ กล่มุ PLC 2 8 ธันวาคม 2563 - จัดทำปฏิทนิ การดำเนนิ การงานชมุ ชนการเรียนรู้ - ครูตัวแทนกลุม่ /คณะ 2 ชัว่ โมง วิชาชีพ (PLC) กรรมการฯ 3 15 ธันวาคม 2563 - สร้างเครื่องมอื วัดและประเมนิ ผลการใช้ - กลมุ่ PLC 2 ชว่ั โมง นวัตกรรม ครัง้ ที่ 4 - Model Teacher รว่ มกบั สมาชิกในกลมุ่ PLC 4 22 ธนั วาคม 2563 - ส่งเครื่องมอื วัดและประเมนิ ผล ครงั้ ท่ี 4 - กลุ่ม PLC 2 ชว่ั โมง - ตรวจสอบความถูกต้อง - Model Teacher ร่วมกับ สมาชิกในกลุ่มPLC 28 ธนั วาคม 2563 - นำเคร่ืองมอื วดั และประเมนิ ผลไปใช้ในการ - กลุม่ PLC 5 ประเมินการใชน้ วัตกรรม ครง้ั ที่ 4 - Model Teacher รว่ มกับ สมาชิกในกลุม่ PLC 19 มกราคม 2564 - สง่ ผลการวดั และประเมนิ ผลการใช้นวตั กรรม - Model Teacher 2 ช่ัวโมง ครั้งท่ี 4 - สมาชกิ กลมุ่ PLC - สรุปผลการวัดและประเมินผล ครั้งที่ 4 คณะกรรมการกำกับ ตดิ ตาม นิเทศและประเมินผล 6 26 มกราคม 2564 - สรา้ งเครื่องมือวดั และประเมนิ ผลการใช้ - Model Teacher 2 ชั่วโมง นวัตกรรม ครง้ั ท่ี 5 - สมาชกิ กลุ่ม PLC/ คณะกรรมการกำกบั ติดตาม นิเทศและประเมินผล

ท่ี ช่วงเวลา กจิ กรรม ผู้รบั ผิดชอบ - Model Teacher 7 9 กุมภาพันธ์ 2564 - สง่ เครอ่ื งมอื วัดและประเมินผล คร้งั ที่ 5 - สมาชิกกลุ่ม PLC/ คณะกรรมการกำกบั ติดตาม 2 ชว่ั โมง - ตรวจสอบความถกู ต้อง นเิ ทศและประเมินผล - Model Teacher 12 กมุ ภาพนั ธ์ 2564 - นำเคร่ืองมือวัดและประเมินผลไปใช้ในการ - สมาชิกกลุ่ม PLC/ 8 ประเมินการใช้นวัตกรรม ครง้ั ท่ี 5 คณะกรรมการกำกบั ตดิ ตาม นเิ ทศและประเมินผล 2 มนี าคม 2564 - ส่งผลการวดั และประเมินผลการใช้นวตั กรรม - Model Teacher 2 ช่วั โมง ครัง้ ท่ี 5 - สมาชกิ กลมุ่ PLC/ - สรปุ ผลการวัดและประเมินผล คร้ังท่ี 5 คณะกรรมการกำกับ ติดตาม นิเทศและประเมินผล 9 9 มีนาคม 2564 - สรา้ งเครื่องมือวัดและประเมินผลการใช้ - Model Teacher 2 ชัว่ โมง นวัตกรรม คร้ังท่ี 6 - สมาชกิ กลุม่ PLC/ 10 16 มีนาคม 2564 - ส่งเครอ่ื งมือวัดและประเมินผล ครง้ั ท่ี 6 คณะกรรมการกำกับ ตดิ ตาม 2 ช่ัวโมง - ตรวจสอบความถูกตอ้ ง นิเทศและประเมนิ ผล - Model Teacher 31 มนี าคม 2564 - นำเครอ่ื งมอื วดั และประเมินผลไปใช้ในการ 11 ประเมนิ การใช้นวัตกรรม คร้งั ท่ี 6 - สมาชิกกลมุ่ PLC/ คณะกรรมการกำกับ ติดตาม 1 เมษายน 2564 - สง่ ผลการวัดและประเมนิ ผลการใช้นวตั กรรม นเิ ทศและประเมนิ ผล 2 ช่วั โมง คร้ังที่ 6 - สรุปผลการวัดและประเมินผล คร้ังท่ี 6 Model Teacher - สรปุ รายงานผล สิน้ ปกี ารศกึ ษา เผยแพรก่ ิจกรรม/ช้ินงาน/นวตั กรรม รวม 22 ชั่วโมง

รายงานการจัดกจิ กรรมชมุ ชนแห่งการเรียนรทู้ างวิชาชพี (Professional Learning Community: PLC) โรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ สำนักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาสุรนิ ทร์ เขต 3 ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศึกษา 2563 _________________________________________________________________ การจัดกิจกรรมชุมชนแห่งการเรยี นรู้ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่2) พุทธศักราช 2545 มาตรา 10 ที่ระบุว่า การจัดการศึกษา ต้องจัดให้บุคคลมีสิทธิและโอกาสเสมอกนั ในการรับการศึกษาขั้น พื้นฐานไม่น้อย กวา่ สบิ สองปีทรี่ ัฐตอ้ งจัดให้อยา่ งทว่ั ถึงและมคี ุณภาพ โดยไม่เกบ็ คา่ ใชจ้ ่ายการจดั การศกึ ษาสำหรับบุคคลซ่ึงมีความ บกพร่องทางร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์ สังคม การสื่อสารและการเรียนรูห้ รือมีร่างกายพิการ หรือ ทุพพล ภาพหรอื บคุ คลซง่ึ ไม่สามารถพ่งึ ตนเองได้หรือไม่มผี ู้ดแู ลหรือด้อยโอกาสต้องจัดใหบ้ ุคคลดงั กล่าวมีสิทธิ และโอกาส ได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นพเิ ศษ การศึกษาสำหรบั คนพกิ ารในวรรคสองใหจ้ ัดให้ตัง้ แต่แรกเกดิ หรือพบความ พิการโดยไม่เสียค่าใช้จ่ายและให้บุคคลดังกล่าวมีสิทธิได้รบั ความช่วยเหลืออืน่ ใดทางการศกึ ษา นอกจากนี้แล้วใน มาตรา 22 ยังระบถุ งึ หลักการจดั การศกึ ษาวา่ ผเู้ รยี นทกุ คนสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเอง ได้ ตอ้ งจัดการศึกษาที่ พัฒนาผู้เรยี นตามธรรมชาตแิ ละเต็มศกั ยภาพ ครทู กุ คนมคี วามจำเปน็ อย่างยงิ่ ทจ่ี ะตอ้ ง แสวงหาวิธีการที่จะช่วยให้ นักเรียนทุกคนสามารถเรียนรู้ไดต้ ามเจตนารมณข์ องพระราชบญั ญัตดิ ังกล่าว ซึ่ง นวัตกรรมใหม่ท่ีครูจะตอ้ งทราบ คือ Professional Learning Community (PLC) โดยที่ PLC ย่อมาจาก Professional Learning Community ซึ่งหมายถงึ Community of Practice (CoP) ในการทำหนา้ ที่ครูนั่นเอง หรอื กล่าวอีกนัยหน่ึง เป็นการรวมตัวกัน ทำงานไปพัฒนาทักษะและการเรียนรู้เพื่อปฏิบัติหน้าที่ครูเพื่อศิษย์ไป โดยรวมตัวกันแลกเปลี่ยนเรียนรู้จาก ประสบการณ์ตรง ทำให้การทำหน้าที่ครูเพื่อศิษย์เป็นการทำงานเป็นกลุ่มหรือเป็นทีม ซึ่งอาจเป็นทีมในโรงเรียน เดยี วกันก็ได้ ต่างโรงเรียนกนั กไ็ ด้ หรืออาจจะอยหู่ ่างไกลกนั ก็ได้ โดยแลกเปลี่ยนเรียนรผู้ ่าน ICT ความสำคัญของ PLC จากผลการวิจัยโดยตรงของที่ยืนยันว่าการดำเนินการในรูปแบบ PLC นำไปสู่ การ เปลี่ยนแปลงเชิงคุณภาพทั้งด้านวิชาชีพและผลสัมฤทธิ์ของนักเรียนจากการสังเคราะห์รายงานการวิจัย เกี่ยวกับ โรงเรยี นท่ีมกี ารจดั ตัง้ PLC มีผลสรปุ ดงั น้ีผลดีต่อครูผู้สอนพบว่า PLC สง่ ผลตอ่ ครูผู้สอนกล่าวคือลดความรู้สึกโดดเดี่ยวงานสอน ของ ครู เพิ่มความรู้สึกผูกพันต่อพันธกิจและเป้าหมายของโรงเรียนมากขึ้น โดยเพ่ิมความกระตือรือร้นที่จะปฏิบัติให้ บรรลุพันธกิจอย่างแข็งขัน จนเกิดความรู้สึกว่าต้องการร่วมกันเรียนรู้และรับผิดชอบต่อพัฒนาการ โดยรวมของ นกั เรยี นถือเป็นพลังการเรียนรู้ซ่ึงสง่ ผลให้การปฏบิ ตั ิการสอนในชน้ั เรียนให้มผี ลดีย่ิงขน้ึ กลา่ วคือมีการค้นพบความรู้ และความเชื่อที่เกี่ยวกับวิธีการสอนและตัวผู้เรียนซึ่งที่เกิดจากการคอยสังเกตอย่างสนใจ รวมถึงเข้าใจในด้าน

เนื้อหาสาระ ที่ต้องจัดการเรียนรู้ได้แตกฉานยิ่งขึ้นจนตระหนักถึงบทบาทและพฤติกรรม การสอนที่จะช่วยให้ นกั เรยี นเกดิ การเรยี นรู้ได้ดที ีส่ ุด อีกทง้ั การรับทราบขอ้ มลู สาระสนเทศต่าง ๆ ที่จำเป็นตอ่ วิชาชพี ได้อย่างกว้างขวาง และรวดเรว็ ขึน้ ส่งผลดตี ่อการปรับปรงุ พัฒนางานวิชาชพี ได้ตลอดเวลา เปน็ ผลใหเ้ กิดแรงบันดาลใจทีจ่ ะพัฒนาและ อทุ ิศตนทางวิชาชีพเพอ่ื ศิษย์ ซึ่งเป็นทัง้ คุณคา่ และขวญั กำลังใจต่อการปฏิบตั ิงานให้ดียิง่ ขน้ึ กล่าวโดยสรุป คือ PLC มีพัฒนาการมาจากกลยุทธ์ระดับองค์กรที่ มุ่งเน้นให้องค์กรมีการปรับตัวต่อกระแสการเปลี่ยนแปลงของสังคม ท่ี เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วโดยเริ่มพัฒนาจากแนวคิดองค์กรแห่งการเรียนรู้และปรับประยุกต์ให้มีความสอดคล้องกับ บริบทของโรงเรียน และการเรียนรู้ร่วมกันในทางวิชาชีพ ที่มีหน้างานสำคัญคือความ รับผิดชอบการเรียนรู้ของ ผู้เรยี นร่วมกันเป็นสำคัญ นโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 เรื่องการพัฒนาครู เพ่ือ พัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามศาสตร์พระราชาด้วย Active Learning และ Professional Learning Community (PLC) ส่คู ุณภาพ Thailand 4.0 ซ่ึงเปน็ กระบวนการพฒั นาครูโดยใช้โรงเรียนเปน็ ฐานที่เกิด จากการรวมตัวรวมใจ รวมพลัง ร่วมมือกันของครู ผูบ้ รหิ าร และนกั การศกึ ษาในโรงเรยี น เพ่อื พฒั นาการเรียนรู้ของผูเ้ รียนเป็นสำคัญ และ เพื่อไม่ให้เป็นการเพิ่มภาระให้กับครูและไม่ให้เกิดการใช้เวลาในการอบรม PLC มาก กระทรวงศึกษาธิการ จึง กำหนดให้ครูสามารถนำชัว่ โมงการอบรม PLC ไปรวมกับจำนวนชั่วโมงการ สอนหนังสือที่จะใช้เป็นเกณฑ์ในการ เลื่อนวิทยฐานะ ตามหลักเกณฑ์ใหมท่ จี่ ะประกาศใชต้ ่อไปด้วยนั้น สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน จึง ดำเนินการขับเคลอ่ื นกระบวนการ PLC : Professional Learning Community) ส่สู ถานศกึ ษาทั้งระดับสำนักงาน คณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน สำนักงานเขต พ้นื ท่ีการศึกษา และสถานศึกษา เปา้ หมายเพ่ือให้ครูท่ีเข้าร่วม โครงการนำกระบวนการตามกรอบชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ ไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพของผู้เรียนอยา่ ง แทจ้ รงิ ความสำเร็จของชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ ประกอบดว้ ยหลายปัจจัย ท่ีจะต้องชช้ี วนให้บุคลากร มีความ เข้าใจและยอมรับด้วยตนเองก่อน เช่น การยอมรบั วา่ หัวใจหลกั ของการเรียนร้ขู องครู คือ การเรยี นรู้ ของผู้เรียน และการสอน/การปฏิบัติงานของครูมีผลต่อการเรียนของผู้เรียน ความเข้าใจความแตกต่างของ ระดับการเรียนรู้ การสร้างบรรยากาศความร่วมมือร่วมใจ การสรา้ งความสมั พนั ธแ์ บบกลั ยาณมติ ร การรับฟัง และแสดงความคิดเห็น ด้วยทัศนคติเชิงบวก และแนวพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ประกอบด้วย ภูมสิ ังคม ระเบิดจากข้างใน การมีส่วนรว่ ม ประโยชนส์ ่วนรวม องคร์ วม ทำตามลำดบั ข้ัน ไมต่ ดิ ตำราพงึ่ ตนเอง และ ประหยัดเรียบง่าย ได้ประโยชน์สูงสุด เนื่องจากชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ ( Professional Learning Community) เป็นกระบวนการสรา้ งการเปล่ียนแปลงโดยเรียนรู้จากการปฏิบัติงานของกลุ่มบุคคลท่ีมารวมตัวกัน เพอื่ ทำงานร่วมกนั และสนบั สนุนซ่ึงกนั และกนั มวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอื่ พัฒนาการเรียนร้ขู องผู้เรยี น รว่ มกนั วางเป้าหมาย การเรียนรู้ของผู้เรียน และตรวจสอบ สะท้อนผลการ ปฏิบัติงานทั้งในส่วนบุคคลและผลที่เกิดขึ้นโดยรวมผ่าน กระบวนการแลกเปลย่ี นเรยี นรู้

วัตถปุ ระสงค์ 1. เพื่อสร้างความเขา้ ใจและตระหนักถึงความสำคัญของการสร้างชุมชนแหง่ การเรียนรูด้ ้วยกระบวนการ (PLC : Professional Learning Community) รว่ มกันในสถานศึกษา 2. เพื่อจัดทำแผนและแนวทางการจัดกิจกรรมชุมชนแห่งการเรียนรู้ด้วยกระบวนการ (PLC : Professional Learning Community) ภายในสถานศกึ ษา 3. เพอ่ื นเิ ทศ ติดตาม การดำเนินการ PLC ภายในสถานศกึ ษา 4. เพือ่ สะท้อนผลการดำเนินการ PLC ของสถานศึกษา 5. เพื่อเผยแพรแ่ ละสรา้ งเครือข่ายการสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ด้วยกระบวนการ (PLC : Professional Learning Community) ภายนอกสถานศกึ ษา เป้าหมาย 1. ผู้บริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) เข้าร่วมกิจกรรม PLC ในสถานศกึ ษา 2. โรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) มีแผนและแนวทางการขับเคลื่อน PLC สู่การ ปฏิบัติจริงใน สถานศึกษาท่มี ีประสิทธภิ าพ 3. มีการนิเทศ ติดตาม การขับเคล่อื น PLC ของ สถานศึกษาได้ตามแผนท่ีกำหนด 4. ครมู กี ารพฒั นาตามกรอบ PLC ไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน 5. โรงเรียนบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) มีรปู แบบการขบั เคลอ่ื น PLC สูก่ ารปฏิบตั จิ ริง ของสถานศึกษา ทม่ี ีประสทิ ธภิ าพ ภาพความสำเรจ็ 1. ผู้บริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) เข้าร่วมกิจกรรม PLC ในสถานศึกษา 2. โรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) มีแผนและแนวทางการขับเคลื่อน PLC สู่การ ปฏิบัติจริงใน สถานศึกษาทมี่ ีประสทิ ธิภาพ 3. มีการนิเทศ ตดิ ตาม การขับเคลอ่ื น PLC ของ สถานศกึ ษาได้ตามแผนที่กำหนด 4. ครูมีการพัฒนาตามกรอบ PLC ไปใชใ้ นการพฒั นาคุณภาพผู้เรยี น 5. โรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ มรี ูปแบบการขับเคล่ือน PLC สู่การปฏบิ ัติจรงิ ของสถานศึกษา ทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพ

ประโยชนท์ ี่คาดว่าจะได้รบั 1. ผบู้ ริหาร ครูและบคุ ลากรทางการศึกษา เปน็ ผู้มศี ักยภาพตามมาตรฐานวิชาชพี 2. นักเรยี นได้รับการพฒั นาคุณภาพ เปน็ ผมู้ ีทักษะการเรยี นรู้ในศตวรรษท่ี 21

ภาคผนวก

แบบบันทึกกจิ กรรม (Logbook) ชุมชนการเรียนรทู้ างวชิ าชพี (Professional Learning Community) ชือ่ กล่มุ กิจกรรม PLUANGPROM TEAM โรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ จำนวนสมาชิก 19 คน กิจกรรม การพัฒนาทักษะความสามารถในการอา่ นเขยี นเรียนคิดเลข ดว้ ยนวตั กรรมเลม่ เล็กเด็กหรรษา โดยใช้ กระบวนการ PLUANG Model คร้ังท่ี 1 ชื่อกจิ กรรม แต่งต้งั คณะกรรมการขับเคล่ือนกระบวนการชุมชนการเรียนร้ทู างวิชาชพี (PLC) ระดบั สถานศึกษา ,ประชมุ คณะกรรมการฯ ,รวมกลุม่ เพื่อจัดตั้งกลุม่ PLC , ขอจัดตั้งกลุ่ม และจดทะเบยี นจดั ตัง้ กล่มุ PLC วนั ท่จี ดั กิจกรรม 1 เดอื น ธันวาคม พ.ศ. 2563 เวลา 16.00-18.00 น. รวม 2 ช่ัวโมง ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2563 รายชื่อสมาชิก /สมาชิกที่เข้าร่วมกจิ กรรมในคร้งั น้ี 17 คน ไม่เขา้ ร่วมกจิ กรรมในคร้งั น้ี 2 คน ไมเ่ ขา้ รว่ ม ท่ี สมาชกิ ทเี่ ข้าร่วมกิจกรรม บทบาท เข้าร่วม  1 นายศักดิช์ ัย เลิศอรุณรตั น์ Expert  2 นายประทีป อร่ามเรอื ง Mentor  3 นายชนายุทธ ตรงตามคำ Model Teacher  4 นางสาวกิตติยา กมิ าวหา Administrator  5 นางสาวสุกัญญา มัทธรุ ี Buddy  6 นางสาวศรดุ า ประไวย์ Buddy  7 นางสาวกมลพร หงษส์ ูง Buddy  8 นางกนกวรรณ แสงจง Buddy  9 นางสาวเอ้อื งนภา คิดสม Buddy  10 นางปรยี าพัฒน์ แสนกลา้ Buddy  11 นายราชนพ ลำภู Buddy  12 นางสาวกนกนาถ สชุ าติสนุ ทร Buddy  13 นายธีรพงษ์ ดังคนกึ Buddy 14 นางลดั ดา นิสสยั ดี Buddy  15 นายประเสริฐ ใจกล้า Buddy  16 นางลลิตา ฉมิ ถาวร Buddy  17 นางสาวขนิษฐา แก้วมุงคุณ Buddy 

ท่ี สมาชกิ ที่เขา้ ร่วมกิจกรรม บทบาท เข้ารว่ ม ไมเ่ ขา้ รว่ ม 18 พลฯจารัตน์ ลวดเงนิ Buddy   19 นางปทมุ ชาติ จุดาบุตร Buddy 1. วตั ถปุ ระสงค/์ ประเดน็ /ของการจัดกิจกรรม 1.1 เพือ่ พัฒนาทกั ษะการอา่ น เขียน เรยี นคิดเลข ของนักเรียนระดบั ชัน้ อนบุ าลปที ี่ 2 ถงึ ชนั้ มัธยมศกึ ษา ปีที่ 3 โดยใช้นวัตกรรมรูปแบบการพัฒนาทักษะความสามารถในการอ่านเขียนเรียนคิดเลข ด้วยนวัตกรรมเลม่ เล็กเดก็ หรรษา เป็นฐานในการเรยี นรู้ 1.2 เพื่อให้ครูมีความรู้ ความเข้าใจในการจัดกิจกรรมพัฒนาทักษะการอ่าน เขียน เรียนคิดเลข โดยใช้ นวัตกรรมรูปแบบการพัฒนาทักษะความสามารถในการอ่านเขยี นเรียนคดิ เลข ดว้ ยนวัตกรรมเล่มเลก็ เด็กหรรษา เป็นฐานในการเรยี นรู้ 2. สาเหตขุ องการจดั กิจกรรม จากผลการวิเคราะห์การอ่าน เขียน ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – มัธยมศึกษาปีที่ 3 ปี การศึกษา 2562 ผลการวเิ คราะห์ การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ O-NET ผลการประเมินทางการศึกษาขั้น พื้นฐาน NT การทดสอบความสามารถในการอ่าน (RT) และผลการวิเคราะห์การใช้ข้อสอบมาตรฐานปลายปี ปรากฏว่านักเรียนตั้งแต่ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – มัธยมศึกษาปีที่ 3 มีผลการวิเคราะห์การอ่าน เขียน ลดลง ดังนั้นทางโรงเรียนจึงได้จัดทำโครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการศกึ ษา เพื่อพัฒนาทกั ษะการอ่าน การ คิดวิเคราะห์ และเขยี น โดยใช้นวัตกรรมรปู แบบการพฒั นาทักษะความสามารถในการอ่านเขียนเรยี นคิดเลข ด้วย นวัตกรรมเล่มเล็กเด็กหรรษา โดยให้แต่ละระดับชั้นกำหนดกิจกรรมให้สอดคล้องเหมาะสมกับความรู้ ความสามารถของผู้เรียน 3. ความรู้หลักการที่นำมาใช้ 3.1 บญั ชีคำพ้นื ฐานภาษาไทยระดบั ช้นั อนุบาลปีที่ 2 - ชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี 3 3.2 บญั ชีคำพ้ืนฐานภาษาองั กฤษระดบั ช้ันอนุบาลปที ่ี 2 – ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 3.3 แบบฝึกหัดคณิตคิดเรว็ ระดับชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 1 - ช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 3 3.4 การสรา้ งนวัตกรรมเล่มเลก็ 4. กิจกรรมทที่ ำ 4.1 หวั หน้ากจิ กรรมกลมุ่ ชุมชนการเรยี นรู้ทางวิชาชพี (PLC) แจ้งคณะครรู ่วมประชมุ เพื่อรว่ มกันสรรหา คณะกรรมการขับเคล่ือนกระบวนการชุมชนการเรียนร้ทู างวิชาชีพ (PLC) ระดับสถานศึกษา ในภาคเรยี นท่ี 2 ปี การศกึ ษา 2563 4.2 คณะครูเข้าร่วมประชุม และร่วมกนั พิจารณาสรรหาคณะกรรมการดำเนินงานกิจกรรมกลมุ่ ชุมชน การเรียนรทู้ างวชิ าชพี (PLC) ในภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2563

5. ผลที่ได้จากกิจกรรม 5.1 ได้ดำเนนิ การสรรหาคณะกรรมการขับเคลอื่ นกระบวนการชุมชนการเรยี นรูท้ างวิชาชพี (PLC) โดย ได้ขอ้ สรุปวา่ ให้แต่งตงั้ คณะกรรมการดำเนนิ งานตามระดบั ชัน้ ตง้ั แต่ระดับชนั้ อนุบาลปที ี่ 2 - ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 โดยพิจารณาแตง่ ตัง้ ครูประจำชัน้ /ครูท่ปี รึกษา ในภาคเรยี นที่ 2 ปีการศกึ ษา 2563 5.2 มคี ณะกรรมการดำเนนิ การแก้ไขปัญหาในทกุ ระดบั ช้นั ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 6. การนำผลท่ไี ดไ้ ปใช้ คณะกรรมการในแตล่ ะระดบั ชัน้ ได้ ดำเนนิ การศกึ ษาปญั หาการอ่าน การเขยี น และการคิดคำนวณของ นกั เรียนในระดับช้นั ของตน คร้งั ที่ 4 ครัง้ ที่ 5 และครั้งที่ 6 ในภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2563 7. อนื่ ๆ/ปญั หา/อปุ สรรค ครใู นบางระดับชัน้ ไม่ไดเ้ ข้ารว่ มประชุมเพื่อรับทราบแนวทาง ครง้ั ที่ 4 ครั้งที่ 5 และคร้ังที่ 6 ในภาคเรียน ที่ 2 ปกี ารศึกษา 2563 8. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข แจ้งคุณครูที่ไม่ได้เข้าร่วมประชุมเพื่อให้ทราบถึงแนวทางการดำเนินการของกลุ่ม และการจัดต้ัง คณะกรรมการขบั เคล่ือนกระบวนการเรยี นรูท้ างวชิ าชพี (PLC) คร้ังที่ 4 คร้ังที่ 5 และคร้งั ที่ 6 ในภาคเรียนท่ี 2 ปี การศกึ ษา 2563 ลงช่ือ..............................................ผู้บันทึกกิจกรรม (นายชนายุทธ ตรงตามคำ) วนั ที่ 1 เดอื น ธนั วาคม พ.ศ. 2563 ความเหน็ ของหวั หน้างานวชิ าการ ความเหน็ ของรองผูอ้ ำนวยการโรงเรียน .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. ลงชื่อ............................................. ลงช่ือ.............................................. (นายชนายทุ ธ ตรงตามคำ) (นายประทีป อร่ามเรือง) หัวหน้างานวิชาการ รองผอู้ ำนวยการโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) วันท่ี 1 เดือน ธันวาคม พ.ศ. 2563 วนั ที่ 1 เดือน ธนั วาคม พ.ศ. 2563 ความเหน็ ของผู้อำนวยการโรงเรียน ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ลงช่ือ.............................................. (นายศักด์ชิ ัย เลิศอรณุ รตั น์) ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) วันที่ 1 เดอื น ธนั วาคม พ.ศ. 2563

แบบบนั ทกึ กิจกรรม (Logbook) ชุมชนการเรยี นรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community) ชือ่ กลมุ่ กิจกรรม PLUANGPROM TEAM โรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ จำนวนสมาชกิ 19 คน กจิ กรรม การพัฒนาทกั ษะความสามารถในการอ่านเขยี นเรียนคดิ เลข ดว้ ยนวตั กรรมเลม่ เล็กเด็กหรรษา โดยใช้ กระบวนการ PLUANG Model คร้ังที่ 2 ช่ือกจิ กรรม จัดทำปฏิทินการดำเนินการงานชมุ ชนการ เรียนรู้วิชาชีพ (PLC) วนั ที่จดั กิจกรรม 8 เดอื น ธันวาคม พ.ศ. 2563 เวลา 16.00-18.00 น. รวม 2 ช่ัวโมง ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2563 รายช่อื สมาชกิ /สมาชกิ ที่เขา้ ร่วมกิจกรรมในคร้ังน้ี 18 คน ไมเ่ ขา้ ร่วมกิจกรรมในคร้งั น้ี 1 คน ไมเ่ ข้ารว่ ม ท่ี สมาชิกที่เข้าร่วมกิจกรรม บทบาท เขา้ ร่วม  1 นายศักดช์ิ ยั เลิศอรณุ รัตน์ Expert  2 นายประทปี อรา่ มเรือง Mentor  3 นายชนายทุ ธ ตรงตามคำ Model Teacher  4 นางสาวกติ ตยิ า กิมาวหา Administrator  5 นางสาวสกุ ัญญา มัทธรุ ี Buddy  6 นางสาวศรุดา ประไวย์ Buddy  7 นางสาวกมลพร หงษ์สงู Buddy  8 นางกนกวรรณ แสงจง Buddy  9 นางสาวเออ้ื งนภา คดิ สม Buddy  10 นางปรยี าพฒั น์ แสนกล้า Buddy  11 นายราชนพ ลำภู Buddy  12 นางสาวกนกนาถ สุชาติสนุ ทร Buddy  13 นายธีรพงษ์ ดังคนึก Buddy  14 นางลัดดา นิสสัยดี Buddy  15 นายประเสรฐิ ใจกล้า Buddy  16 นางลลิตา ฉิมถาวร Buddy  17 นางสาวขนษิ ฐา แก้วมุงคุณ Buddy  18 พลฯจารตั น์ ลวดเงนิ Buddy 19 นางปทมุ ชาติ จดุ าบุตร Buddy 

1. วัตถุประสงค/์ ประเด็น/ของการจดั กิจกรรม 1.1 เพ่ือพฒั นาทกั ษะการอา่ น เขียน เรยี นคิดเลข ของนกั เรียนระดบั ชน้ั อนุบาลปีที่ 2 ถึง ชน้ั มธั ยมศกึ ษา ปีที่ 3 โดยใช้นวัตกรรมรูปแบบการพัฒนาทักษะความสามารถในการอ่านเขียนเรยี นคิดเลข ด้วยนวัตกรรมเลม่ เล็กเด็กหรรษา โดยใชก้ ระบวนการ PLUANG Model 1.2 เพื่อให้ครูมีความรู้ ความเข้าใจในการจัดกิจกรรมพัฒนาทักษะการอ่าน เขียน เรียนคิดเลข โดยใช้ นวัตกรรมรปู แบบการพัฒนาทักษะความสามารถในการอ่านเขียนเรียนคดิ เลข ด้วยนวตั กรรมเลม่ เล็กเด็กหรรษา โดยใชก้ ระบวนการ PLUANG Model 2. สาเหตุของการจดั กิจกรรม 1. ไม่มีตัวช่วยในการจัดตารางเวลาให้กับคณะกรรมการดำเนินงานได้อย่างสะดวกสบาย สามารถ กำหนดกิจกรรมทจ่ี ะทำลงไปได้ ทำใหผ้ ใู้ ชไ้ ด้เห็นอย่างชัดเจน สามารถเปล่ียนแปลงข้อมูล ไดต้ ามความเหมาะสม ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 2. เหตุการณ์ในตาราง ผใู้ ช้สามารถกำหนดใหแ้ จ้งเตอื นได้ ในภาคเรียนท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2563 3. สามารถใชป้ ฏิบัติรว่ มกันไดร้ ะหว่างผู้บริหารและครูผู้ปฏบิ ัตงิ าน ในภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2563 4. สามารถแจ้งเตือนกิจกรรม ที่กำลังมาถึงได้ทางกลุ่มไลนโ์ รงเรียน ทำให้เราได้รู้ล่วงหนา้ อย่างรวดเร็ว และไม่พลาดกจิ กรรมหรอื นัดหมาย ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 5. ขาดประสิทธภิ าพในการนดั ประชุมของคณะกรรมการดำเนนิ การต่าง ๆ ในภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศึกษา 2563 6. คณะกรรมการไม่ทราบปฏบิ ตั ิการได้พัฒนาตนเองและเปน็ ประโยชน์ตอ่ การทำงาน ในภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2563 3. ความรู้หลักการท่นี ำมาใช้ การสร้างปฏิทนิ เพื่อใช้ในการบันทึกขอ้ มลู และกจิ กรรมเหตกุ ารณ์รวมถงึ การจดั การตารางนัดหมาย โดย สามารถส่งข้อความเชิญ และสามารถใช้ปฏิบัติร่วมกับบุคคลอื่นได้สามารถทำการสืบค้นกิจกรรมต่าง ๆ นอกจากนย้ี ังมีระบบแจ้งเตอื นทางช่องทางไลน์กลมุ่ โรงเรียน และสามารถใชร้ ว่ มกบั การใชง้ าน ในการนดั ประชุม กรรมการดำเนนิ งาน ในภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2563 4. กิจกรรมทท่ี ำ 1. ประชมุ คณะกรรมการดำเนนิ งาน การกำหนดปฏิทิน นอกจากจะช่วยในการปฏบิ ตั งิ านไดเ้ ร็วขนึ้ ยงั สามารถกาํ หนดกจกิ รรมอืน่ ไว้ล่วงหนาได้ ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศกึ ษา 2563 2. จัดทำปฏิทิน เพื่อเป็นตัวช่วยในการจัดตารางเวลาให้กับคณะกรรมการดำเนินงานได้อย่าง สะดวกสบาย สามารถกำหนดกิจกรรมท่ีจะทำลงไปได้ ทำให้ผูใ้ ช้ไดเ้ หน็ อย่างชดั เจน สามารถเปลี่ยนแปลงข้อมูล ได้ตามความเหมาะสม ในภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2563 3. ตรวจสอบความถูกต้องของแบบฟอรม และ ฟอนตใหเหมือนกัน เพื่อง่ายในการตรวจและเป็นแนว เดยี วกนั ในภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2563 4. คณะกรรมการดำเนินงานลงความเห็นชอบ ในภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2563

5. ผลทีไ่ ดจ้ ากกิจกรรม ปฏทิ นิ การดำเนินงานชมุ ชนการเรยี นรู้วิชาชีพ (PLC) กลมุ่ “PLUANGPROM TEAM” ภาคเรยี นที่ 2 ปี การศกึ ษา 2563 6. การนำผลท่ไี ด้ไปใช้ ปฏิทนิ การดำเนนิ งานชมุ ชนการเรียนรู้วิชาชีพ (PLC) กลุม่ “PLUANGPROM TEAM” ภาคเรยี นที่ 2 ปี การศึกษา 2563 เพื่อเป็นตัวช่วยในการจัดตารางเวลาให้กับคณะกรรมการดำเนินงานได้อย่างสะดวกสบาย สามารถกำหนดกิจกรรมท่ีจะทำลงไปได้ ทำให้ผู้ใชไ้ ด้เห็นอย่างชัดเจน สามารถเปล่ียนแปลงข้อมูล ได้ตามความ เหมาะสม 7. อน่ื ๆ /ปญั หา/อปุ สรรค 1. สมาชิกในกลมุ่ บางคนไมใ่ ห้ความร่วมมือ 2. ขาดการ นิเทศ ติดตามจากทีมบริหาร แบบต่อเนอื ง 8. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข 1. รายงานผลการดำเนินกิจกรรมต่อผู้บงั คบั บัญชา ลงชอ่ื ..............................................ผูบ้ นั ทึกกิจกรรม (นายชนายุทธ ตรงตามคำ) วันที่ 8 เดอื นธนั วาคม พ.ศ.2563 ความเห็นของหวั หนา้ งานวชิ าการ ความเห็นของรองผอู้ ำนวยการโรงเรียน .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. ลงช่อื ............................................. ลงชอื่ .............................................. (นายชนายทุ ธ ตรงตามคำ) (นายประทปี อรา่ มเรือง) หัวหน้างานวิชาการ รองผอู้ ำนวยการโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) วันท่ี 8 เดอื นธนั วาคม พ.ศ.2563 วนั ท่ี 8 เดือนธนั วาคม พ.ศ.2563 ความเหน็ ของผู้อำนวยการโรงเรียน ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ลงช่ือ.............................................. (นายศกั ดิช์ ยั เลิศอรณุ รตั น์) ผู้อำนวยการโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) วนั ที่ 8 เดือนธันวาคม พ.ศ.2563

แบบบนั ทกึ กิจกรรม (Logbook) ชมุ ชนการเรียนรู้ทางวชิ าชพี (Professional Learning Community) ช่ือกลุม่ กจิ กรรม PLUANGPROM TEAM โรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) จำนวนสมาชิก 19 คน กจิ กรรม การพฒั นาทักษะความสามารถในการอา่ นเขยี นเรียนคิดเลข ด้วยนวัตกรรมเลม่ เลก็ เด็กหรรษา โดยใช้ กระบวนการ PLUANG Model ครงั้ ท่ี 3 ชอื่ กิจกรรม สรา้ งเครอื่ งมอื วัดและประเมินผลการใชน้ วัตกรรม คร้ังที่ 4 วันทจี่ ดั กจิ กรรม 15 เดือน ธันวาคม พ.ศ. 2563 เวลา 16.00 - 18.00 น. รวม 2 ช่ัวโมง ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2563 รายชอ่ื สมาชิก /สมาชกิ ทเ่ี ข้าร่วมกจิ กรรมในคร้ังนี้ 16 คน ไม่เข้าร่วมกจิ กรรมในครั้งนี้ 3 คน ท่ี สมาชกิ ที่เข้าร่วมกจิ กรรม บทบาท เข้าร่วม ไม่เข้ารว่ ม 1 นายศกั ดชิ์ ยั เลิศอรุณรัตน์ Expert  2 นายประทีป อรา่ มเรือง Mentor /Expert  3 นายชนายทุ ธ ตรงตามคำ Model Teacher  4 นางสาวกติ ตยิ า กิมาวหา Administrator  5 นางสาวสกุ ญั ญา มทั ธุรี Buddy  6 นางสาวศรดุ า ประไวย์ Buddy  7 นางสาวกมลพร หงษ์สงู Buddy  8 นางกนกวรรณ แสงจง Buddy  9 นางสาวเอ้ืองนภา คดิ สม Buddy  10 นางปรียาพัฒน์ แสนกล้า Buddy  11 นายราชนพ ลำภู Buddy  12 นางสาวกนกนาถ สุชาติสนุ ทร Buddy  13 นายธรี พงษ์ ดังคนึก Buddy  14 นางลดั ดา นสิ สยั ดี Buddy  15 นายประเสริฐ ใจกลา้ Buddy  16 นางลลติ า ฉมิ ถาวร Buddy  17 นางสาวขนิษฐา แก้วมุงคณุ Buddy  18 พลฯจารัตน์ ลวดเงิน Buddy  19 นางปทมุ ชาติ จดุ าบุตร Buddy 

1. วตั ถปุ ระสงค/์ ประเดน็ /ของการจดั กิจกรรม 1.1 เพ่อื พัฒนาทกั ษะการอ่าน เขียน เรียนคิดเลข ของนกั เรยี นระดบั ช้ันอนุบาลปที ่ี 2 ถึง ช้ันมธั ยมศึกษา ปีที่ 3 โดยใช้นวัตกรรมรูปแบบการพัฒนาทักษะความสามารถในการอ่านเขียนเรียนคิดเลข ด้วยนวัตกรรมเลม่ เลก็ เด็กหรรษา โดยใชก้ ระบวนการ PLUANG Model 1.2 เพื่อให้ครูมีความรู้ ความเข้าใจในการจัดกิจกรรมพัฒนาทักษะการอ่าน เขียน เรียนคิดเลข โดยใช้ นวตั กรรมรูปแบบการพฒั นาทักษะความสามารถในการอ่านเขยี นเรียนคิดเลข ด้วยนวตั กรรมเลม่ เลก็ เด็กหรรษา โดยใชก้ ระบวนการ PLUANG Model 2. สาเหตขุ องการจดั กิจกรรม 2.1 เพอ่ื นำไปใชใ้ นการพัฒนาทักษะการอา่ น เขียน เรียนคดิ เลข ของนกั เรยี นระดับช้นั อนุบาลปีที่ 2 ถึง ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 คร้งั ที่ 4 2.2 เพื่อนำเครื่องมือไปใช้ในการวัดและประเมินผลการอ่าน เขียน เรียนคิดเลข ของนักเรียนระดับชนั้ อนบุ าลปที ่ี 2 ถงึ ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 คร้งั ท่ี 4 2.3 เพื่อให้มีนวัตกรรมเครื่องมือการวัดและประเมินผลการอ่าน เขียน เรียนคิดเลข ของนักเรียน ระดบั ชั้นอนบุ าลปที ี่ 2 ถึง ชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 ครงั้ ท่ี 4 3. ความรู้หลกั การท่ีนำมาใช้ 3.1 นำบญั ชีคำพื้นฐานวชิ าภาษาไทยของนกั เรียนระดบั ชัน้ อนบุ าลปีที่ 2 ถึง ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 มาใช้ ในการสร้างเคร่ืองมอื วดั และประเมินผลการใชน้ วัตกรรม ครงั้ ท่ี 4 3.2 นำบทร้อยแกว้ ท่ปี ระกอบไปด้วยบญั ชคี ำพื้นฐานของนักเรียนระดบั ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 1 ถงึ ช้ัน มัธยมศกึ ษาปีที่ 3 มาใชใ้ นการสร้างเคร่อื งมือวดั และประเมินผลการใชน้ วตั กรรม ครง้ั ท่ี 4 3.3 นำบัญชคี ำพ้ืนฐานวชิ าภาษาอังกฤษของนกั เรยี นระดบั ชัน้ อนุบาลปีที่ 2 ถึง ช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 3 มา ใชใ้ นการสร้างเครอ่ื งมอื วดั และประเมินผลการใช้นวัตกรรม ครั้งที่ 4 3.4 นำทกั ษะการเตรียมความพร้อมทางดา้ นคณิตศาสตร์ของนักเรียนช้ันอนบุ าลปีท่ี 2 ถึงช้ันอนบุ าลปที ี่ 3 และนำทกั ษะการคิดคำนวณโดยใช้ความสามารถในการบวก การลบ การคูณ และการหาร คณิตคิดเรว็ ของ นกั เรียนระดบั ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 1 ถงึ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 3 มาใชใ้ นการสร้างเคร่อื งมอื วัดและประเมินผลการ ใชน้ วัตกรรม ครง้ั ท่ี 4 4. กจิ กรรมท่ีทำ 4.1 สร้างเคร่อื งมือการอ่านออกเสียงและการเขียนตามคำบอก เพ่ือวดั ความสามารถในการอา่ นออกเสียง และเขยี นตามคำบอกโดยใชช้ ุดคำในบญั ชีคำพน้ื ฐานวชิ าภาษาไทย ของนกั เรยี นระดบั ชน้ั อนุบาลปีท่ี 2 ถงึ ชั้น มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 มาใชใ้ นการวัดและประเมินผลการใชน้ วตั กรรม ครั้งที่ 4 4.2 สรา้ งเคร่ืองมอื การอ่านออกเสียง เพ่อื วดั ความสามารถในการอา่ นออกเสียงจากบทร้อยแกว้ ที่ กำหนดให้ ของนักเรียนระดบั ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 ถงึ ชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 3 มาใช้ในการวัดและประเมนิ ผลการ ใชน้ วตั กรรม ครงั้ ท่ี 4

4.3 สรา้ งเคร่ืองมอื การอ่านออกเสยี ง บอกความหมาย และคดั คำศพั ท์ เพอ่ื วัดความสามารถในการทอ่ ง คำศพั ท์พรอ้ มบอกความหมายตามชดุ คำในบญั ชีคำพน้ื ฐานวชิ าภาษาอังกฤษของนกั เรียนระดับชัน้ อนบุ าลปีที่ 2 ถึง ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 3 มาใช้ในการวัดและประเมนิ ผลการใชน้ วตั กรรม คร้งั ที่ 4 4.4 สรา้ งเครื่องมอื การประเมนิ ความสามารถพ้ืนฐานท่ีจำเปน็ ของนักเรียน ทักษะการคิดคำนวณโดยใช้ ความสามารถในการบวก การลบ การคณู และการหาร ได้อยา่ งรวดเรว็ และถกู ตอ้ งของนกั เรยี นระดับชั้นอนุบาลปีท่ี 2 ถงึ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 มาใช้ในการวดั และประเมินผลการใช้นวตั กรรม ครง้ั ที่ 4 5. ผลทีไ่ ด้จากกิจกรรม 5.1 ไดเ้ ครอ่ื งมือการอ่านออกเสยี งและการเขียนตามคำบอก เพ่ือวดั ความสามารถในการอา่ นออกเสียง และเขียนตามคำบอกโดยใชช้ ุดคำในบญั ชีคำพนื้ ฐานวิชาภาษาไทย ของนักเรยี นระดบั ชัน้ อนบุ าลปที ี่ 2 ถึง ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 มาใช้ในการวัดและประเมินผลการใช้นวตั กรรม ครั้งที่ 4 5.2 ได้เครื่องมอื การอา่ นออกเสียง เพื่อวัดความสามารถในการอ่านออกเสียงจากบทรอ้ ยแกว้ ท่ี กำหนดให้ ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 ถงึ ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 มาใช้ในการวัดและประเมินผลการ ใชน้ วัตกรรม ครั้งท่ี 4 5.3 ไดเ้ ครื่องมือการอ่านออกเสียง บอกความหมาย และคัดคำศัพท์ เพอ่ื วดั ความสามารถในการท่อง คำศพั ท์พร้อมบอกความหมายตามชุดคำในบัญชีคำพ้นื ฐานวชิ าภาษาองั กฤษของนกั เรยี นระดับชน้ั อนบุ าลปีที่ 2 ถึง ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 มาใชใ้ นการวัดและประเมนิ ผลการใชน้ วัตกรรม ครั้งท่ี 4 5.4 ได้เครือ่ งมือการประเมนิ ความสามารถพ้ืนฐานที่จำเปน็ ของนักเรียน ทกั ษะการคดิ คำนวณโดยใช้ ความสามารถในการบวก การลบ การคูณ และการหาร ได้อย่างรวดเร็วและถกู ตอ้ งของนักเรียนระดับช้ันอนบุ าลปที ี่ 2 ถึง ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 มาใชใ้ นการวดั และประเมินผลการใชน้ วตั กรรม ครง้ั ที่ 4 6. การนำผลที่ไดไ้ ปใช้ 6.1 นกั เรยี นระดับชน้ั อนบุ าลปีที่ 2 ถงึ ช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ 3 ได้นำเคร่อื งมอื ไปใชใ้ นการอ่านออกเสยี ง และการเขยี นตามคำบอก เพื่อวดั ความสามารถในการอ่านออกเสียงและเขยี นตามคำบอกโดยใช้ชุดคำในบัญชี คำพนื้ ฐานวชิ าภาษาไทย ครัง้ ที่ 4 6.2 นกั เรยี นระดบั ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 1 ถงึ ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 ได้นำเครอื่ งมอื ไปใชใ้ นการอ่านออก เสียง เพื่อวดั ความสามารถในการอ่านออกเสียงจากบทรอ้ ยแกว้ ทีก่ ำหนดให้ ครัง้ ที่ 4 6.3 นักเรียนระดบั ชน้ั อนบุ าลปีท่ี 2 ถงึ ช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี 3 ได้นำเครอ่ื งมือไปใช้ในการอ่านออกเสียง บอกความหมาย และคดั คำศพั ท์ เพื่อวัดความสามารถในการท่องคำศัพท์พร้อมบอกความหมายตามชดุ คำใน บัญชีคำพื้นฐานวชิ าภาษาอังกฤษ คร้ังท่ี 4 6.4 นักเรียนระดับชนั้ อนุบาลปีท่ี 2 ถึง ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 3 ได้นำเครื่องมือไปใช้ในการประเมนิ ความสามารถพื้นฐานท่จี ำเป็นของนักเรียน ทกั ษะการคิดคำนวณโดยใช้ความสามารถในการบวก การลบ การ คูณ และการหาร ไดอ้ ย่างรวดเรว็ และถูกต้อง ครงั้ ที่ 4 7. อ่ืน ๆ /ปัญหา/อปุ สรรค 7.1 นักเรยี นขาดแรงจงู ใจในการใช้เครอ่ื งมือ 7.2 นกั เรียนขาดทักษะการอา่ นออกเสียงและการเขยี นตามคำบอกวิชาภาษาไทย

7.3 นักเรียนขาดทักษะการอา่ นออกเสยี ง บอกความหมาย และคัดคำศพั ท์ วชิ าภาษาอังกฤษ 7.4 นักเรยี นขาดทกั ษะการคิดคำนวณโดยใช้ความสามารถในการบวก การลบ การคูณ และการหาร ได้ อย่างรวดเรว็ และถูกต้อง 7.5 ขาดความร่วมมอื จากคณุ ครูบางทา่ น 8. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข 8.1 คณุ ครูควรหาแนวทางในการแก้ปัญหาตา่ งๆท่ีเกดิ ขึน้ โดยการกระตุน้ ใหน้ ักเรียนเกดิ แรงจงู ใจและ เพิม่ ทกั ษะกระบวนการตา่ งๆให้ครบถ้วน 8.2 ผู้บรหิ ารควรใหก้ ารติดตามผลการดำเนินงานในกระบวนการ PLC ตามปฏิทินการปฏบิ ตั ิงานของ PLC ทกุ ครง้ั ลงชือ่ ..............................................ผูบ้ นั ทึกกจิ กรรม (นายชนายุทธ ตรงตามคำ) วนั ที่ 15 เดือนธนั วาคม พ.ศ. 2563 ความเห็นของหวั หนา้ งานวิชาการ ความเห็นของรองผ้อู ำนวยการโรงเรยี น .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. ลงชอ่ื ............................................. ลงชื่อ.............................................. (นายชนายทุ ธ ตรงตามคำ) (นายประทปี อรา่ มเรอื ง) หวั หนา้ งานวิชาการ รองผอู้ ำนวยการโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ วนั ท่ี 15 เดอื นธันวาคม พ.ศ. 2563 วนั ท่ี 15 เดอื นธนั วาคม พ.ศ. 2563 ความเหน็ ของผู้อำนวยการโรงเรียน ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ลงช่อื .............................................. (นายศกั ดิ์ชยั เลิศอรุณรัตน์) ผอู้ ำนวยการโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) วันที่ 15 เดอื นธันวาคม พ.ศ. 2563

แบบบันทกึ กิจกรรม (Logbook) ชุมชนการเรยี นรทู้ างวิชาชพี (Professional Learning Community) ชอื่ กลมุ่ กิจกรรม PLUANGPROM TEAM โรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) จำนวนสมาชิก 19 คน กิจกรรม การพัฒนาทักษะความสามารถในการอา่ นเขยี นเรียนคดิ เลข ด้วยนวัตกรรมเล่มเล็กเด็กหรรษา โดยใช้ กระบวนการ PLUANG Model ครง้ั ท่ี 4 ชอื่ กจิ กรรม - ส่งเคร่ืองมือการวัดและประเมนิ ผลการใช้นวตั กรรม ครงั้ ที่ 4 - ตรวจสอบความถูกต้องของเครื่องมอื กอ่ นนำไปใชว้ ัดการใชน้ วัตกรรมครั้งที่ 4 วนั ทีจ่ ัดกจิ กรรม 22 เดอื น ธนั วาคม พ.ศ. 2563 เวลา 16.00-18.00 น. รวม 2 ช่ัวโมง ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2563 รายช่อื สมาชิก /สมาชิกที่เขา้ ร่วมกิจกรรมในครง้ั นี้ 17 คน ไม่เขา้ ร่วมกิจกรรมในครั้งนี้ 2 คน ท่ี สมาชกิ ท่เี ขา้ ร่วมกจิ กรรม บทบาท เข้ารว่ ม ไม่เข้าร่วม 1 นายศักดิ์ชัย เลิศอรุณรตั น์ Expert  2 นายประทีป อรา่ มเรือง Mentor  3 นายชนายุทธ ตรงตามคำ Model Teacher  4 นางสาวกิตตยิ า กมิ าวหา Administrator  5 นางสาวสกุ ัญญา มทั ธรุ ี Buddy  6 นางสาวศรุดา ประไวย์ Buddy  7 นางสาวกมลพร หงษส์ งู Buddy  8 นางกนกวรรณ แสงจง Buddy  9 นางสาวเอ้ืองนภา คดิ สม Buddy  10 นางปรยี าพฒั น์ แสนกลา้ Buddy  11 นายราชนพ ลำภู Buddy  12 นางสาวกนกนาถ สุชาติสนุ ทร Buddy  13 นายธีรพงษ์ ดงั คนกึ Buddy  14 นางลัดดา นสิ สยั ดี Buddy  15 นายประเสรฐิ ใจกลา้ Buddy  16 นางลลติ า ฉมิ ถาวร Buddy  17 นางสาวขนษิ ฐา แก้วมุงคุณ Buddy  18 พลฯจารตั น์ ลวดเงิน Buddy  19 นางปทุมชาติ จุดาบุตร Buddy 

1. วตั ถปุ ระสงค์/ประเดน็ /ของการจดั กจิ กรรม 1.1 เพอ่ื พัฒนาทักษะการอ่าน เขยี น เรยี นคดิ เลข ของนักเรียนระดับช้ันอนบุ าลปที ่ี 2 ถึง ชั้นมธั ยมศึกษา ปีที่ 3 โดยใช้นวัตกรรมรูปแบบการพัฒนาทักษะความสามารถในการอ่านเขียนเรยี นคิดเลข ด้วยนวัตกรรมเล่ม เล็กเดก็ หรรษา โดยใช้กระบวนการ PLUANG Model 1.2 เพื่อให้ครูมีความรู้ ความเข้าใจในการจัดกิจกรรมพัฒนาทักษะการอา่ น เขียน เรียนคิดเลข โดยใช้ นวัตกรรมรปู แบบการพัฒนาทักษะความสามารถในการอ่านเขยี นเรียนคดิ เลข ดว้ ยนวัตกรรมเลม่ เลก็ เด็กหรรษา โดยใชก้ ระบวนการ PLUANG Model 2. สาเหตุของการจดั กิจกรรม 2.1 ส่งเครื่องมอื การวดั และประเมินผลการใชน้ วตั กรรม ครงั้ ท่ี 4 2.2 ตรวจสอบความถกู ต้องของเคร่ืองมอื กอ่ นนำไปใช้วดั การใช้นวตั กรรมครัง้ ที่ 4 ในวันที่ 28 ธันวาคม 2563 3. ความรู้หลักการท่นี ำมาใช้ 3.1 หลักการวัดประเมินผลเกี่ยวกับการตรวจสอบความเหมาะสมของเครื่องมือวัดและประเมินผล โดยเครอ่ื งมือวัดผลที่ดีจะต้องเปน็ เครื่องมือท่ีมีคุณภาพจึงจะชว่ ยให้การวดั ผลที่มีความถูกต้องเช่ือถือได้ และผล การประเมนิ ทไี่ ดย้ ่อมนา่ เช่อื ถอื ด้วย 4. กิจกรรมทีท่ ำ การดำเนนิ การตรวจสอบคุณภาพเคร่ืองมือวัดและประเมินผลมีดังน้ี 4.1 เครอ่ื งมอื ทส่ี ามารถวดั ไดต้ ามวัตถปุ ระสงค์ที่ต้องการวัด คุณสมบตั ขิ องข้อคำถามทส่ี ามารถ วัดได้ตรงตามเนื้อหาและพฤติกรรมท่ีตอ้ งการวัด และเมื่อรวบรวมข้อคำถามทุกข้อเปน็ เครื่องมือทั้งฉบับจะต้อง วดั ได้ครอบคลุมเน้อื หาและพฤติกรรมท้ังหมดที่ต้องการวัด 4.2 คุณสมบัติของเครื่องมือวัดที่แสดงให้ทราบว่าเคร่ืองมอื น้ัน ให้ผลการวดั ที่คงที่ไม่ว่าจะใช้วัดกี่คร้งั ก็ ตามกบั กลุม่ เดิมโดยแบบทดสอบฉบบั นัน้ จะต้องวัดลกั ษณะเดียวกันหรอื วดั องคป์ ระกอบรว่ มกนั มีความยาก เท่ากนั และมรี ะบบให้คะแนนเปน็ ไปในแนวทางเดียวกบั กับวัตถุประสงคข์ องกจิ กรรม 4.3 ความยากของขอ้ สอบ จะต้องเหมาะสมกบั ระดับชั้นที่ต้องการวดั และสอดคล้องกบั นวัตกรรมทีใ่ ช้ ในการวดั ในคร้ังท่ี 4 กล่าวคือ จำนวนรอ้ ยละหรือสัดสว่ นของคนที่ตอบถูกในข้อนัน้ เมื่อเปรียบเทยี บกบั จำนวน คนท้งั หมดท่ีทำข้อสอบน้ัน จะตอ้ งอยรู่ ะหว่างร้อยละ 40-60 4.4 ประสิทธิภาพของเครือ่ งมือวดั และประเมินผลในการแบ่งผสู้ อบออกเป็นกลุ่ม คอื กลุ่มท่ีได้คะแนนสูง กลมุ่ ทไ่ี ด้คะแนนต่ำ จะตอ้ งสามารถแบ่งกลุ่มนกั เรียนไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งเหมาะสมตามศักยภาพทีแ่ ทจ้ ริงของนักเรียน 5. ผลที่ได้จากกิจกรรม ได้เครอ่ื งมอื วดั และประเมนิ ผลท่มี ีประสิทธิภาพ ถูกต้อง และเหมาะสม พรอ้ มทจ่ี ะนำไปใชใ้ นการวดั และ ประเมนิ ผลนักเรยี นในการทดสอบครัง้ ท่ี 4 ซง่ึ เปน็ เครื่องมอื ท่ีมีคุณภาพ ชว่ ยใหก้ ารวัดผลมีความถกู ตอ้ งเช่ือถือได้

และส่งผลให้ผลการประเมินที่ได้เชื่อถือได้ด้วย ดังนั้นเครื่องมือที่ครูสร้างขึ้นเองก่อนจะนำไปใช้จริงจึงควร ตรวจสอบคณุ ภาพเคร่ืองมือกอ่ นทกุ ครงั้ 6. การนำผลท่ีได้ไปใช้ นำเครอ่ื งมอื วดั และประเมินผลทีน่ ำมาตรวจสอบไปปรบั ปรงุ แกไ้ ขใหถ้ กู ตอ้ งและมีประสิทธิภาพตาม หลกั การวัดและประเมินผล และเตรยี มพรอ้ มนำไปใช้ในการวัดและประเมินผลการใช้นวัตกรรม ครั้งที่ 4 ต่อไป 7. อืน่ ๆ /ปัญหา/อปุ สรรค 7.1 คณุ ครูประจำชั้นบางหอ้ งทำเครื่องมอื วดั และประเมินผลการใชน้ วตั กรรมยังไมเ่ รียบรอ้ ย ทำใหไ้ ม่ สามารถตรวจสอบเคร่ืองมือไดใ้ นการจดั กจิ กรรม plc ครั้งน้ี 8. ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแกไ้ ข 8.1 ชีแ้ จงให้คณุ ครูสง่ เครอ่ื งมอื ให้ทนั ในรอบของการตรวจสอบเครื่องมอื วัดและประเมินผลการใช้ นวัตกรรมในแตล่ ะรอบ เพ่ือใหผ้ ลการนำเคร่อื งมอื ไปใชม้ ปี ระสทิ ธภิ าพมากยง่ิ ขึ้น ลงชอ่ื ..............................................ผูบ้ นั ทกึ กิจกรรม (นายชนายุทธ ตรงตามคำ) วนั ที่ 22 เดอื นธันวาคม พ.ศ. 2563 ความเหน็ ของหวั หน้างานวิชาการ ความเห็นของรองผ้อู ำนวยการโรงเรียน .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. ลงช่ือ............................................. ลงชอ่ื .............................................. (นายชนายทุ ธ ตรงตามคำ) (นายประทปี อรา่ มเรอื ง) หวั หน้างานวิชาการ รองผ้อู ำนวยการโรงเรียนบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ วันที่ 22 เดือนธันวาคม พ.ศ. 2563 วนั ท่ี 22 เดือนธนั วาคม พ.ศ. 2563 ความเห็นของผอู้ ำนวยการโรงเรียน ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ลงชื่อ.............................................. (นายศักดช์ิ ัย เลิศอรุณรตั น์) ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) วนั ที่ 22 เดอื นธันวาคม พ.ศ. 2563

แบบบนั ทกึ กจิ กรรม (Logbook) ชุมชนการเรียนร้ทู างวิชาชพี (Professional Learning Community) ช่ือกลมุ่ กจิ กรรม PLUANGPROM TEAM โรงเรียนบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) จำนวนสมาชิก 19 คน กจิ กรรม การพฒั นาทักษะความสามารถในการอา่ นเขียนเรียนคิดเลข ดว้ ยนวตั กรรมเล่มเล็กเดก็ หรรษา โดยใช้ กระบวนการ PLUANG Model ครั้งที่ 5 ช่อื กิจกรรม - สง่ ผลการวดั และประเมินผลการใชน้ วตั กรรม ครัง้ ท่ี 4 - สรุปผลการวดั และประเมนิ ผล คร้งั ที่ 4 วันท่ีจัดกจิ กรรม 19 เดอื น มกราคม พ.ศ. 2564 เวลา 16.00-18.00 น. รวม 2 ช่ัวโมง ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2563 รายช่อื สมาชิก /สมาชกิ ทเี่ ข้าร่วมกิจกรรมในครง้ั นี้ 19 คน ไม่เขา้ ร่วมกิจกรรมในครั้งนี้ 2 คน ท่ี สมาชกิ ท่เี ข้ารว่ มกจิ กรรม บทบาท เขา้ ร่วม ไมเ่ ขา้ รว่ ม 1 นายศักดิ์ชยั เลิศอรุณรตั น์ Expert  2 นายประทปี อรา่ มเรอื ง Mentor  3 นายชนายุทธ ตรงตามคำ Model Teacher  4 นางสาวกิตติยา กมิ าวหา Administrator  5 นางสาวสุกัญญา มัทธุรี Buddy  6 นางสาวศรดุ า ประไวย์ Buddy  7 นางสาวกมลพร หงษส์ ูง Buddy  8 นางกนกวรรณ แสงจง Buddy  9 นางสาวเอือ้ งนภา คดิ สม Buddy  10 นางปรียาพัฒน์ แสนกล้า Buddy  11 นายราชนพ ลำภู Buddy  12 นางสาวกนกนาถ สชุ าติสุนทร Buddy  13 นายธรี พงษ์ ดงั คนึก Buddy  14 นางลดั ดา นิสสยั ดี Buddy  15 นายประเสริฐ ใจกลา้ Buddy  16 นางลลติ า ฉมิ ถาวร Buddy  17 นางสาวขนิษฐา แกว้ มุงคุณ Buddy  18 พลฯจารัตน์ ลวดเงนิ Buddy 

ท่ี สมาชิกทเ่ี ขา้ รว่ มกจิ กรรม บทบาท เข้ารว่ ม ไม่เขา้ ร่วม 19 นางปทุมชาติ จุดาบุตร Buddy  1. วัตถปุ ระสงค/์ ประเดน็ /ของการจัดกิจกรรม 1.1 เพ่อื พัฒนาทักษะการอ่าน เขียน เรียนคิดเลข ของนกั เรยี นระดบั ชนั้ อนุบาลปีท่ี 2 ถงึ ชนั้ มัธยมศกึ ษา ปีที่ 3 โดยใช้นวัตกรรมรูปแบบการพัฒนาทักษะความสามารถในการอ่านเขียนเรียนคิดเลข ด้วยนวัตกรรมเลม่ เล็กเด็กหรรษา โดยใช้กระบวนการ PLUANG MODEL 1.2 เพื่อให้ครูมีความรู้ ความเข้าใจในการจัดกิจกรรมพัฒนาทักษะการอ่าน เขียน เรียนคิดเลข โดยใช้ นวตั กรรมรูปแบบการพัฒนาทักษะความสามารถในการอ่านเขยี นเรียนคดิ เลข ดว้ ยนวตั กรรมเล่มเล็กเด็กหรรษา โดยใชก้ ระบวนการ PLUANG MODEL 2. สาเหตุของการจดั กิจกรรม 2.1 สง่ ผลการวัดและประเมินผลการใช้นวตั กรรม ครงั้ ที่ 4 2.2 สรุปผลการวดั และประเมนิ ผล ครัง้ ที่ 4 3. ความรู้หลกั การทนี่ ำมาใช้ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนนความสามรถในในการอ่านเขียนเรียนคดิ เลข ด้วยนวัตกรรมเลม่ เล็กเด็กหรรษา คณะกรรมการวดั ผลประเมินผลการพฒั นาทกั ษะความสามารถในการอา่ นเขียนเรียนคิดเลข ด้วย นวตั กรรมเลม่ เล็กเด็กหรรษา ได้กำหนดเกณฑ์การประเมินตามระเบียบการวดั ประเมนิ ผลการศึกษาข้นั พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ปรับปรงุ พุทธศักราช 2560 ) ดังน้ี 3.1) เกณฑ์การให้คะแนนวิชาภาษาไทย 1.1 อ่านถูกตอ้ ง ใหข้ ้อละ 1 คะแนน อ่านผิด ไมไ่ ดค้ ะแนน (คะแนนเตม็ 30 คะแนน) 1.2 เขียนถูกต้อง ใหข้ ้อละ 1 คะแนน เขยี นผดิ ไม่ได้คะแนน (คะแนนเต็ม 30 คะแนน) 1.3 ใช้เกณฑ์วัดความสามารถในการอ่านออกเสียงตามระดับคะแนน (Rubric Scores) ดังนี้ (คะแนน เต็ม 20 คะแนน) 3.2) เกณฑ์การใหค้ ะแนนวิชาภาษาอังกฤษ อ่านและแปลความหมายไดถ้ กู ตอ้ ง ให้ข้อละ 1 คะแนน อา่ นและ/หรอื แปลความหมายผิด ไม่ได้คะแนน (คะแนนเตม็ 20 คะแนน) 3.3) เกณฑก์ ารให้คะแนนวิชาคณิตศาสตร์ ทำแบบทดสอบได้ถกู ตอ้ ง ให้ข้อละ 1 คะแนน คำตอบผิด 0 คะแนน (คะแนนเตม็ 20 คะแนน ใช้เวลาไม่เกิน 20 นาที)

เกณฑ์การสรุปผล การประเมินผลความสามารถและทักษะ “การอา่ นภาษาไทย” จากนน้ั ให้นำคะแนนมาเทยี บกับเกณฑ์ ดงั นี้ เกณฑข์ องระดบั คะแนน ช่วงคะแนน การแปลผล การอา่ น รอ้ ยละ 75 - 100 (คะแนนเต็ม 50 คะแนน) ดีเยยี่ ม ร้อยละ 50 - 74 41 - 50 ดมี าก รอ้ ยละ 25 - 49 31 - 40 พอใช้ รอ้ ยละ 0 - 24 21 - 30 ปรับปรงุ 0 - 20 เกณฑ์ของระดับคะแนน การแปลผล ดีเยย่ี ม ดีมาก พอใช้ อา่ นออก ปรับปรงุ อา่ นไม่ออก เกณฑ์การสรุปผล การประเมนิ ผลความสามารถและทักษะ “การเขยี นภาษาไทย” จากน้นั ให้นำคะแนนมาเทียบกบั เกณฑ์ ดงั น้ี เกณฑ์ของระดับคะแนน ช่วงคะแนน การแปลผล การเขียน รอ้ ยละ 75 - 100 (คะแนนเตม็ 30 คะแนน) ดเี ยย่ี ม รอ้ ยละ 50 - 74 23 - 30 ดมี าก รอ้ ยละ 25 - 49 16 - 22 พอใช้ ร้อยละ 0 - 24 8 - 15 ปรับปรงุ 0–7 เกณฑข์ องระดับคะแนน การแปลผล ดเี ยย่ี ม ดมี าก พอใช้ เขยี นได้ ปรบั ปรุง เขยี นไม่ได้

เกณฑก์ ารสรปุ ผล การประเมินผลความสามารถและทกั ษะ “การอา่ นภาษาอังกฤษ” ชว่ งคะแนน เกณฑ์ของระดับคะแนน การอ่าน การแปลผล (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) ร้อยละ 75 - 100 16 – 20 ดเี ย่ยี ม รอ้ ยละ 50 - 74 11 – 15 ดมี าก ร้อยละ 25 - 49 6 – 10 พอใช้ ร้อยละ 0 - 24 0–5 ปรับปรงุ เกณฑข์ องระดับคะแนน การแปลผล ดีเยย่ี ม ดมี าก พอใช้ อา่ นออก และแปลความหมายได้ ปรับปรุง อา่ นไม่ออกและ/หรือแปลความหมายไมไ่ ด้ เกณฑก์ ารสรุปผล การประเมนิ ผลความสามารถและทกั ษะ “การคิดเลขเรว็ ” ช่วงคะแนน เกณฑข์ องระดับคะแนน การคดิ เลขเร็ว การแปลผล (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) ดเี ยีย่ ม ดมี าก ร้อยละ 75 - 100 16 – 20 พอใช้ ปรับปรุง ร้อยละ 50 - 74 11 – 15 รอ้ ยละ 25 - 49 6 – 10 ร้อยละ 0 - 24 0–5 เกณฑข์ องระดับคะแนน การแปลผล ดีเยีย่ ม ดีมาก พอใช้ สามารถคิดเลขเรว็ ไดต้ ามเกณฑ์ทีก่ ำหนด ปรับปรุง ขาดทักษะการคิดเลขเร็ว

4. กิจกรรมที่ทำ สรุปผลการวัดและประเมินผลการใช้เคร่ืองมือพัฒนาทักษะความสามารถในการอ่านเขียนเรยี นคิดเลข ด้วยนวัตกรรมเล่มเลก็ เด็กหรรษา จากการสงั เกต สอบถามการวดั และประเมนิ ผลการใช้เครอ่ื งมือของนกั เรยี นทุก ระดบั ชัน้ เพ่ือนำไปปรับปรงุ พัฒนาเครือ่ งมือตอ่ ไป 4.1 ใหค้ ุณครปู ระจำชั้นแตล่ ะระดบั ชั้นรายงานผลการประเมนิ ของระดบั ชัน้ ของตนเอง ดังน้ี - ผลการประเมินเปน็ คะแนนเฉลี่ยร้อยละของแต่ละทกั ษะ - ปญั หาท่พี บ สาเหตขุ องปญั หา และแนวทางการแกไ้ ขในการประเมนิ ครง้ั ตอ่ ไป 4.2 หลังจากรายงานผลการประเมนิ ครบทกุ ชั้นแล้ว คณะครูร่วมกันอภิปรายผลการประเมนิ หาแนวทาง การแก้ปัญหาร่วมกัน พร้อมทั้งบันทึกผลการอภิปรายเพื่อนำไปพัฒนาการใช้นวัตกรรมและประเมินผลการใช้ นวตั กรรม รวมทง้ั การจดั การเรยี นรขู้ องตนเองในคร้งั ตอ่ ไป 4.3 ผู้บรหิ ารสรปุ ผลการอภิปรายโดยรวมและมอบหมายให้คณะครูดำเนนิ การนำผลการประเมนิ ในครั้ง นไี้ ปจดั ทำเป็นรูปเลม่ รายงานการประเมนิ เพือ่ นำส่งต่อไป 5. ผลทไ่ี ด้จากกิจกรรม สรุปผลการวัดและประเมินผลการใช้เคร่ืองมือพัฒนาทักษะความสามารถในการอ่านเขียนเรียนคิดเลข ด้วยนวัตกรรมเล่มเล็กเด็กหรรษา การวัดและประเมินผลการใช้เครื่องมือของนักเรียนทุกระดับชั้น เพื่อนำไป ปรับปรุงพัฒนาเครื่องมือในการจัดกิจกรรมครั้งต่อไป ผลการประเมินเป็นคะแนนเฉลี่ยร้อยละของแต่ละทักษะ ปัญหาที่พบ สาเหตุของปัญหา และแนวทางการแก้ไข ของทุกระดับชั้นเพื่อตรวจสอบความก้าวหน้าในการใช้ นวตั กรรม 5.1 หลงั จากรายงานผลการประเมนิ ครบทกุ ชน้ั แลว้ คณะครูร่วมกนั อภิปรายผลการประเมนิ หาแนวทาง การแก้ปัญหาร่วมกัน พร้อมทั้งบันทึกผลการอภิปรายเพื่อนำไปพัฒนาการใช้นวัตกรรมและประเมินผลการใช้ นวัตกรรม รวมทั้งการจดั การเรียนรูข้ องตนเองในครั้งต่อไป 5.2 ผูบ้ รหิ ารสรปุ ผลการอภิปรายโดยรวมและมอบหมายให้คณะครูดำเนินการนำผลการประเมินในคร้ัง น้ีไปจดั ทำเป็นรูปเลม่ รายงานการประเมินเพ่ือนำสง่ ตอ่ ไป 6. การนำผลท่ีได้ไปใช้ นำผลสรุปและแนวทางการแกป้ ัญหาในการวดั และประเมินผลการใชเ้ คร่อื งมือพฒั นาทกั ษะ ความสามารถในการอา่ นเขยี นเรยี นคิดเลข ดว้ ยนวตั กรรมเลม่ เล็กเดก็ หรรษา คร้งั ท่ี 4 ทไ่ี ด้จากการเขา้ รว่ ม PLC ในครัง้ นี้ ไปจัดทำรายงานผลการใช้เคร่ืองมือพัฒนาทกั ษะความสามารถในการอ่านเขียนเรียนคดิ เลข ดว้ ย นวัตกรรมเลม่ เลก็ เด็กหรรษา สอบถามความพึงพอใจในการใช้เคร่ืองมอื ของครู สอบถามความพงึ พอใจของ นักเรียน และนำไปปรับปรุงพฒั นาเคร่ืองมอื ทใ่ี ชใ้ นการวดั ประเมนิ ผลคร้งั ต่อไป

7. อ่ืน ๆ /ปญั หา/อปุ สรรค 7.1 ผลการประเมินในแตล่ ะระดับชนั้ มคี า่ เฉลีย่ ลดลง เนือ่ งจากความใส่ใจในการใช้นวตั กรรมของ นักเรยี นและครูประจำชั้น อาจสง่ ผลต่อการพฒั นาทกั ษะในแตล่ ะดา้ น 7.2 นกั เรียนขาดทักษะการอ่าน เขียน และคิดคำนวณทีเ่ ป็นพ้ืนฐานเดมิ ทำใหผ้ ลการประเมินขาด มาตรฐานตามความเหมาะสมในแต่ละระดับชนั้ 8. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข 8.1 เนน้ ย้ำใหค้ รูพฒั นาทักษะการอา่ น เขยี น และคิดคำนวณให้มีมาตรฐานสอดคล้องกบั ระดบั ชั้นท่ีสอน และสอดคลอ้ งกบั นวัตกรรมทใ่ี ช้ เพื่อให้ผลการวัดและประเมนิ ผลมีประสทิ ธิภาพมากยิง่ ข้นึ ลงชื่อ..............................................ผ้บู นั ทึกกิจกรรม (นายชนายทุ ธ ตรงตามคำ) วันที่ 19 เดือนมกราคม พ.ศ.2564 ความเหน็ ของหวั หน้างานวชิ าการ ความเหน็ ของรองผู้อำนวยการโรงเรยี น .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. ลงช่อื ............................................. ลงชอ่ื .............................................. (นายชนายุทธ ตรงตามคำ) (นายประทปี อร่ามเรือง) หัวหนา้ งานวชิ าการ รองผูอ้ ำนวยการโรงเรียนบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) วนั ท่.ี ..19....เดือนมกราคม พ.ศ.2564 วันท่.ี ..19....เดือนมกราคม พ.ศ.2564 ความเหน็ ของผอู้ ำนวยการโรงเรียน ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ลงชอื่ .............................................. (นายศกั ดิช์ ัย เลิศอรุณรตั น์) ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) วันท่.ี ..19....เดือนมกราคม พ.ศ.2564

แบบบนั ทึกกิจกรรม (Logbook) ชมุ ชนการเรยี นรูท้ างวิชาชพี (Professional Learning Community) ชือ่ กลมุ่ กิจกรรม PLUANGPROM TEAM โรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) จำนวนสมาชกิ 19 คน กิจกรรม การพฒั นาทักษะความสามารถในการอา่ นเขยี นเรียนคดิ เลข ดว้ ยนวัตกรรมเลม่ เลก็ เด็กหรรษา โดยใช้ กระบวนการ PLUANG Model คร้ังที่ 6 ชือ่ กจิ กรรม สรา้ งเครอ่ื งมอื วดั และประเมินผลการใช้นวัตกรรม คร้ังที่ 5 วนั ทจ่ี ดั กิจกรรม 26 เดือน มกราคม พ.ศ. 2564 เวลา 16.00 – 18.00 น. รวม 2 ชั่วโมง ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2563 รายช่ือสมาชกิ /สมาชกิ ท่ีเข้าร่วมกิจกรรมในครง้ั นี้ 19 คน ไมเ่ ข้าร่วมกิจกรรมในคร้งั นี้ 1 คน ท่ี สมาชกิ ที่เข้ารว่ มกจิ กรรม บทบาท เขา้ รว่ ม ไมเ่ ข้ารว่ ม 1 นายศกั ดิช์ ัย เลิศอรุณรตั น์ Expert  2 นายประทปี อรา่ มเรอื ง Mentor  3 นายชนายุทธ ตรงตามคำ Model Teacher  4 นางสาวกิตติยา กมิ าวหา Administrator  5 นางสาวสุกัญญา มัทธุรี Buddy  6 นางสาวศรุดา ประไวย์ Buddy  7 นางสาวกมลพร หงษส์ งู Buddy  8 นางกนกวรรณ แสงจง Buddy  9 นางสาวเอื้องนภา คิดสม Buddy  10 นางปรียาพัฒน์ แสนกล้า Buddy  11 นายราชนพ ลำภู Buddy  12 นางสาวกนกนาถ สชุ าติสุนทร Buddy  13 นายธรี พงษ์ ดงั คนึก Buddy  14 นางลัดดา นสิ สยั ดี Buddy  15 นายประเสรฐิ ใจกล้า Buddy  16 นางลลติ า ฉิมถาวร Buddy  17 นางสาวขนษิ ฐา แกว้ มุงคณุ Buddy  18 พลฯจารตั น์ ลวดเงิน Buddy  19 นางปทมุ ชาติ จุดาบุตร Buddy 

1. วัตถปุ ระสงค์/ประเด็น/ของการจัดกิจกรรม 1.1 เพอื่ พัฒนาทักษะการอ่าน เขยี น เรียนคิดเลข ของนักเรียนระดับชนั้ อนุบาลปีท่ี 2 ถงึ ชน้ั มธั ยมศกึ ษา ปีที่ 3 โดยใช้นวัตกรรมรูปแบบการพฒั นาทักษะความสามารถในการอ่านเขียนเรียนคิดเลข ด้วยนวัตกรรมเล่ม เลก็ เด็กหรรษา โดยใชก้ ระบวนการ PLUANG Model 1.2 เพื่อให้ครูมีความรู้ ความเข้าใจในการจัดกิจกรรมพัฒนาทักษะการอ่าน เขียน เรียนคิดเลข โดยใช้ นวัตกรรมรปู แบบการพัฒนาทักษะความสามารถในการอ่านเขยี นเรยี นคิดเลข ดว้ ยนวตั กรรมเล่มเล็กเด็กหรรษา โดยใช้กระบวนการ PLUANG Model 2. สาเหตขุ องการจดั กิจกรรม 2.1 เพอ่ื นำไปใช้ในการพัฒนาทักษะการอ่าน เขียน เรียนคดิ เลข ของนกั เรยี นระดับช้นั อนบุ าลปีท่ี 2 ถึง ช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 3 คร้ังท่ี 5 2.2 เพื่อนำเครื่องมือไปใช้ในการวัดและประเมนิ ผลการอ่าน เขียน เรียนคิดเลข ของนักเรียนระดบั ชนั้ อนบุ าลปที ี่ 2 ถึง ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 3 ครงั้ ท่ี 5 2.3 เพื่อให้มีนวัตกรรมเครื่องมือการวัดและประเมินผลการอ่าน เขียน เรียนคิดเลข ของนักเรียน ระดบั ช้นั อนบุ าลปที ่ี 2 ถึง ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 3 คร้งั ที่ 5 3. ความรูห้ ลกั การทนี่ ำมาใช้ 3.1 นำบัญชคี ำพ้นื ฐานวชิ าภาษาไทยของนกั เรียนระดบั ชัน้ อนบุ าลปีที่ 2 ถงึ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 3 มาใช้ ในการสร้างเครือ่ งมอื วดั และประเมินผลการใชน้ วตั กรรม คร้งั ท่ี 5 3.2 นำบทร้อยแก้วที่ประกอบไปด้วยบัญชีคำพื้นฐานของนกั เรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึง ชั้น มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 มาใช้ในการสรา้ งเครื่องมือวดั และประเมินผลการใชน้ วัตกรรม ครั้งท่ี 5 3.3 นำบญั ชคี ำพื้นฐานวิชาภาษาอังกฤษของนักเรยี นระดับชน้ั อนุบาลปที ่ี 2 ถึง ชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 มา ใชใ้ นการสร้างเครื่องมือวัดและประเมนิ ผลการใช้นวัตกรรม ครง้ั ท่ี 5 3.4 นำทักษะการเตรยี มความพร้อมทางดา้ นคณิตศาสตร์ของนกั เรยี นชั้นอนุบาลปีที่ 2 ถึงชน้ั อนุบาลปีท่ี 3 และนำทักษะการคิดคำนวณโดยใช้ความสามารถในการบวก การลบ การคูณ และการหาร คณิตคิดเร็วของ นกั เรยี นระดับช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 ถึง ช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 3 มาใช้ในการสรา้ งเคร่ืองมือวัดและประเมินผลการ ใชน้ วัตกรรม ครัง้ ท่ี 5 4. กจิ กรรมทที่ ำ 4.1 สร้างเครือ่ งมอื การอ่านออกเสียงและการเขยี นตามคำบอก เพื่อวดั ความสามารถในการอา่ นออกเสยี ง และเขียนตามคำบอกโดยใช้ชุดคำในบัญชีคำพื้นฐานวิชาภาษาไทย ของนักเรียนระดับชั้นอนุบาลปีที่ 2 ถึง ชั้น มัธยมศกึ ษาปีที่ 3 มาใชใ้ นการวดั และประเมินผลการใช้นวตั กรรม ครั้งท่ี 5

4.2 สร้างเครื่องมือการอ่านออกเสียง เพื่อวัดความสามารถในการอ่านออกเสียงจากบทร้อยแก้วที่ กำหนดให้ ของนักเรยี นระดบั ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 1 ถงึ ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 มาใชใ้ นการวัดและประเมินผลการ ใชน้ วัตกรรม ครัง้ ที่ 5 4.3 สร้างเคร่ืองมอื การอ่านออกเสียง บอกความหมาย และคัดคำศพั ท์ เพือ่ วัดความสามารถในการท่อง คำศพั ทพ์ รอ้ มบอกความหมายตามชุดคำในบญั ชีคำพื้นฐานวิชาภาษาอังกฤษของนักเรียนระดับชนั้ อนุบาลปีท่ี 2 ถงึ ชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 3 มาใชใ้ นการวัดและประเมินผลการใช้นวตั กรรม ครัง้ ที่ 5 4.4 สร้างเคร่ืองมือการประเมนิ ความสามารถพืน้ ฐานที่จำเป็นของนักเรยี น ทกั ษะการคิดคำนวณโดยใช้ ความสามารถในการบวก การลบ การคูณ และการหาร ได้อย่างรวดเร็วและถกู ต้องของนกั เรยี นระดบั ชนั้ อนุบาลปีท่ี 2 ถึง ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 มาใช้ในการวัดและประเมินผลการใช้นวตั กรรม ครั้งท่ี 5 5. ผลที่ไดจ้ ากกิจกรรม 5.1 ได้เคร่อื งมือการอา่ นออกเสียงและการเขียนตามคำบอก เพอื่ วัดความสามารถในการอา่ นออกเสียง และเขียนตามคำบอกโดยใช้ชุดคำในบัญชีคำพื้นฐานวิชาภาษาไทย ของนักเรียนระดับชั้นอนุบาลปีที่ 2 ถึง ชั้น มธั ยมศึกษาปีที่ 3 มาใชใ้ นการวัดและประเมนิ ผลการใชน้ วัตกรรม ครงั้ ที่ 5 5.2 ได้เครื่องมือการอ่านออกเสียง เพื่อวัดความสามารถในการอ่านออกเสียงจากบทร้อยแก้วที่ กำหนดให้ ของนกั เรยี นระดับชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 1 ถงึ ช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 3 มาใช้ในการวดั และประเมินผลการ ใช้นวตั กรรม ครงั้ ที่ 5 5.3 ได้เครื่องมือการอ่านออกเสียง บอกความหมาย และคัดคำศัพท์ เพื่อวัดความสามารถในการท่อง คำศพั ทพ์ รอ้ มบอกความหมายตามชุดคำในบญั ชีคำพ้ืนฐานวิชาภาษาองั กฤษของนักเรียนระดับชัน้ อนุบาลปีที่ 2 ถงึ ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 มาใชใ้ นการวัดและประเมนิ ผลการใชน้ วตั กรรม ครัง้ ที่ 5 5.4 ได้เครอ่ื งมือการประเมินความสามารถพ้ืนฐานท่จี ำเปน็ ของนักเรียน ทักษะการคดิ คำนวณโดยใช้ ความสามารถในการบวก การลบ การคูณ และการหาร ไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ และถกู ต้องของนักเรยี นระดับชั้นอนุบาลปีท่ี 2 ถงึ ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 มาใชใ้ นการวดั และประเมินผลการใช้นวตั กรรม ครงั้ ที่ 5 6. การนำผลทไ่ี ด้ไปใช้ 6.1 นักเรียนระดบั ชั้นอนุบาลปีที่ 2 ถึง ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 ได้นำเครื่องมือไปใช้ในการอ่านออกเสียง และการเขียนตามคำบอก เพื่อวดั ความสามารถในการอา่ นออกเสียงและเขียนตามคำบอกโดยใชช้ ุดคำในบัญชี คำพน้ื ฐานวิชาภาษาไทย ครั้งที่ 5 6.2 นักเรยี นระดบั ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 1 ถงึ ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 3 ได้นำเครอื่ งมือไปใช้ในการอ่านออก เสียง เพื่อวัดความสามารถในการอา่ นออกเสยี งจากบทรอ้ ยแกว้ ทก่ี ำหนดให้ คร้งั ท่ี 5 6.3 นักเรียนระดับชั้นอนุบาลปีที่ 2 ถึง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ได้นำเครื่องมือไปใช้ในการอ่านออกเสียง บอกความหมาย และคัดคำศัพท์ เพื่อวัดความสามารถในการท่องคำศัพท์พร้อมบอกความหมายตามชุดคำใน บัญชคี ำพื้นฐานวิชาภาษาองั กฤษ ครั้งท่ี 5

6.4 นักเรียนระดับชั้นอนุบาลปีที่ 2 ถึง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ได้นำเครื่องมือไปใช้ในการประเมิน ความสามารถพืน้ ฐานทจี่ ำเป็นของนกั เรียน ทักษะการคดิ คำนวณโดยใช้ความสามารถในการบวก การลบ การคณู และการหาร ได้อยา่ งรวดเร็วและถกู ตอ้ ง ครงั้ ท่ี 5 7. อ่ืน ๆ /ปัญหา/อปุ สรรค 7.1 นักเรยี นขาดแรงจงู ใจในการใช้เคร่อื งมือ 7.2 นกั เรยี นขาดทักษะการอา่ นออกเสียงและการเขยี นตามคำบอกวิชาภาษาไทย 7.3 นกั เรยี นขาดทักษะการอา่ นออกเสียง บอกความหมาย และคัดคำศัพท์ วชิ าภาษาอังกฤษ 7.4 นักเรียนขาดทกั ษะการคดิ คำนวณโดยใช้ความสามารถในการบวก การลบ การคณู และการหาร ได้ อยา่ งรวดเร็วและถูกตอ้ ง 7.5 ขาดความร่วมมอื จากคณุ ครบู างท่าน 8. ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแกไ้ ข 8.1 คณุ ครูควรหาแนวทางในการแก้ปัญหาต่างๆที่เกดิ ขึน้ โดยการกระตนุ้ ใหน้ กั เรียนเกดิ แรงจงู ใจและ เพม่ิ ทกั ษะกระบวนการตา่ งๆให้ครบถ้วน 8.2 ผู้บริหารควรใหก้ ารติดตามผลการดำเนนิ งานในกระบวนการ PLC ตามปฏทิ นิ การปฏิบัติงานของ PLC ทกุ คร้งั ลงชอื่ ..............................................ผูบ้ นั ทกึ กิจกรรม (นายชนายทุ ธ ตรงตามคำ) วนั ที่ 26 เดือนมกราคม พ.ศ.2564 ความเหน็ ของหวั หน้างานวิชาการ ความเห็นของรองผู้อำนวยการโรงเรียน .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. ลงช่ือ............................................. ลงชอ่ื .............................................. (นายชนายทุ ธ ตรงตามคำ) (นายประทีป อรา่ มเรอื ง) หวั หนา้ งานวิชาการ รองผูอ้ ำนวยการโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ วันท.่ี ..26....เดอื นมกราคม พ.ศ.2564 วนั ท่ี...26....เดอื นมกราคม พ.ศ.2564 ความเหน็ ของผอู้ ำนวยการโรงเรยี น ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ลงชอื่ .............................................. (นายศกั ดชิ์ ัย เลิศอรณุ รัตน์) ผู้อำนวยการโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) วันที.่ ..26....เดือนมกราคม พ.ศ.2564

แบบบันทึกกิจกรรม (Logbook) ชมุ ชนการเรียนรู้ทางวชิ าชีพ (Professional Learning Community) ชือ่ กลุม่ กจิ กรรม PLUANGPROM TEAM โรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) จำนวนสมาชกิ 19 คน กจิ กรรม การพฒั นาทกั ษะความสามารถในการอ่านเขยี นเรยี นคดิ เลข ด้วยนวัตกรรมเลม่ เล็กเดก็ หรรษา โดยใช้ กระบวนการ PLUANG Model ครง้ั ที่ 7 ชอื่ กิจกรรม - ส่งเคร่อื งมือการวัดและประเมินผลการใช้นวัตกรรม ครัง้ ท่ี 5 - ตรวจสอบความถูกตอ้ งของเคร่ืองมือก่อนนำไปใชว้ ดั การใชน้ วตั กรรมครั้งที่ 5 วันที่จดั กจิ กรรม 9 เดือน กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2564 เวลา 16.00-18.00 น. รวม 2 ช่ัวโมง ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศึกษา 2563 รายช่อื สมาชิก /สมาชิกทีเ่ ข้าร่วมกจิ กรรมในครง้ั น้ี 17 คน ไมเ่ ขา้ ร่วมกจิ กรรมในครั้งน้ี 2 คน ท่ี สมาชกิ ที่เข้ารว่ มกจิ กรรม บทบาท เขา้ รว่ ม ไมเ่ ข้าร่วม 1 นายศักด์ิชัย เลิศอรณุ รัตน์ Expert  2 นายประทีป อรา่ มเรอื ง Mentor  3 นายชนายทุ ธ ตรงตามคำ Model Teacher  4 นางสาวกิตตยิ า กิมาวหา Administrator  5 นางสาวสุกัญญา มทั ธุรี Buddy  6 นางสาวศรดุ า ประไวย์ Buddy  7 นางสาวกมลพร หงษส์ ูง Buddy  8 นางกนกวรรณ แสงจง Buddy  9 นางสาวเออื้ งนภา คดิ สม Buddy  10 นางปรียาพฒั น์ แสนกล้า Buddy  11 นายราชนพ ลำภู Buddy  12 นางสาวกนกนาถ สุชาติสนุ ทร Buddy  13 นายธรี พงษ์ ดังคนึก Buddy  14 นางลัดดา นสิ สยั ดี Buddy  15 นายประเสริฐ ใจกล้า Buddy  16 นางลลิตา ฉมิ ถาวร Buddy  17 นางสาวขนิษฐา แก้วมงุ คณุ Buddy  18 พลฯจารตั น์ ลวดเงนิ Buddy  19 นางปทมุ ชาติ จุดาบุตร Buddy 

1. วัตถุประสงค์/ประเดน็ /ของการจัดกิจกรรม 1.1 เพือ่ พัฒนาทกั ษะการอ่าน เขยี น เรยี นคิดเลข ของนกั เรียนระดบั ชน้ั อนบุ าลปที ี่ 2 ถงึ ชัน้ มัธยมศึกษา ปีที่ 3 โดยใช้นวัตกรรมรูปแบบการพฒั นาทักษะความสามารถในการอ่านเขียนเรียนคิดเลข ด้วยนวัตกรรมเล่ม เล็กเด็กหรรษา โดยใช้กระบวนการ PLUANG Model 1.2 เพื่อให้ครูมีความรู้ ความเข้าใจในการจัดกิจกรรมพัฒนาทักษะการอ่าน เขียน เรียนคิดเลข โดยใช้ นวัตกรรมรปู แบบการพฒั นาทักษะความสามารถในการอ่านเขียนเรยี นคิดเลข ด้วยนวัตกรรมเลม่ เล็กเด็กหรรษา โดยใช้กระบวนการ PLUANG Model 2. สาเหตขุ องการจัดกิจกรรม 2.1 ส่งเครอ่ื งมือการวัดและประเมนิ ผลการใชน้ วตั กรรม ครง้ั ที่ 5 2.2 ตรวจสอบความถูกตอ้ งของเครอ่ื งมอื กอ่ นนำไปใช้วดั การใช้นวัตกรรมครัง้ ท่ี 5 ในวนั ที่ 9 กุมภาพันธ์ 2564 3. ความรหู้ ลกั การทนี่ ำมาใช้ 3.1 หลักการวัดประเมินผลเกี่ยวกับการตรวจสอบความเหมาะสมของเครื่องมือวัดและประเมินผล โดยเครอ่ื งมือวัดผลที่ดีจะต้องเป็นเครื่องมือทีม่ ีคุณภาพจึงจะชว่ ยให้การวดั ผลทมี่ ีความถูกต้องเชื่อถือได้ และผล การประเมนิ ทไี่ ดย้ ่อมนา่ เช่ือถือด้วย 4. กจิ กรรมท่ที ำ การดำเนินการตรวจสอบคุณภาพเครอื่ งมือวัดและประเมนิ ผลมีดงั นี้ 4.1 เครอื่ งมอื ทสี่ ามารถวดั ไดต้ ามวัตถปุ ระสงค์ท่ตี ้องการวัด คุณสมบตั ิของข้อคำถามท่ีสามารถ วัดได้ตรงตามเนื้อหาและพฤติกรรมที่ต้องการวัด และเมื่อรวบรวมข้อคำถามทุกข้อเปน็ เครื่องมือท้ังฉบับจะต้อง วัดไดค้ รอบคลมุ เนอื้ หาและพฤติกรรมท้งั หมดทีต่ ้องการวัด 4.2 คุณสมบัติของเครื่องมือวัดที่แสดงใหท้ ราบว่าเครื่องมือนั้น ให้ผลการวัดท่ีคงท่ีไม่ว่าจะใช้วัดกีค่ ร้งั ก็ ตามกับกลุ่มเดิมโดยแบบทดสอบฉบบั นนั้ จะตอ้ งวดั ลักษณะเดยี วกันหรือวัดองคป์ ระกอบรว่ มกนั มีความยาก เท่ากนั และมีระบบให้คะแนนเป็นไปในแนวทางเดียวกับกบั วัตถปุ ระสงคข์ องกิจกรรม 4.3 ความยากของข้อสอบ จะต้องเหมาะสมกับระดับช้ันที่ต้องการวัดและสอดคล้องกับนวัตกรรมทีใ่ ช้ ในการวดั ในคร้ังที่ 5 กล่าวคือ จำนวนร้อยละหรือสัดส่วนของคนทีต่ อบถูกในข้อนั้น เมื่อเปรียบเทียบกับจำนวน คนทง้ั หมดทีท่ ำขอ้ สอบน้นั จะตอ้ งอยู่ระหว่างรอ้ ยละ 40-60 4.4 ประสทิ ธิภาพของเครือ่ งมือวดั และประเมินผลในการแบง่ ผู้สอบออกเปน็ กลุม่ คอื กลุ่มทไ่ี ดค้ ะแนนสูง กลุ่มทไี่ ดค้ ะแนนต่ำ จะต้องสามารถแบง่ กลมุ่ นักเรียนได้อยา่ งถกู ตอ้ งเหมาะสมตามศักยภาพที่แทจ้ ริงของนกั เรียน 5. ผลที่ไดจ้ ากกิจกรรม ได้เคร่ืองมอื วัดและประเมนิ ผลที่มปี ระสิทธิภาพ ถกู ตอ้ ง และเหมาะสม พรอ้ มที่จะนำไปใช้ในการวัดและ ประเมนิ ผลนักเรยี นในการทดสอบคร้ังท่ี 5 ซงึ่ เปน็ เคร่อื งมือท่ีมคี ุณภาพ ชว่ ยใหก้ ารวัดผลมคี วามถูกตอ้ งเชื่อถือได้

และส่งผลให้ผลการประเมินที่ได้เช่ือถือได้ด้วย ดังนั้นเครื่องมือที่ครูสร้างขึ้นเองก่อนจะนำไปใช้จริงจึงควร ตรวจสอบคุณภาพเครื่องมอื กอ่ นทุกครงั้ 6. การนำผลที่ไดไ้ ปใช้ นำเคร่ืองมือวัดและประเมินผลท่นี ำมาตรวจสอบไปปรับปรุงแก้ไขใหถ้ ูกต้องและมีประสทิ ธิภาพตาม หลักการวัดและประเมนิ ผล และเตรียมพร้อมนำไปใชใ้ นการวัดและประเมนิ ผลการใช้นวตั กรรม คร้ังท่ี 5 ต่อไป 7. อื่น ๆ /ปญั หา/อปุ สรรค 7.1 คุณครูประจำชน้ั บางห้องทำเครอื่ งมือวัดและประเมินผลการใช้นวัตกรรมยังไมเ่ รียบร้อย ทำให้ไม่ สามารถตรวจสอบเครื่องมอื ไดใ้ นการจดั กจิ กรรม plc ครัง้ นี้ 8. ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแกไ้ ข 8.1 ชี้แจงให้คณุ ครูส่งเครอ่ื งมือให้ทนั ในรอบของการตรวจสอบเครอื่ งมอื วัดและประเมนิ ผลการใช้ นวัตกรรมในแต่ละรอบ เพอื่ ให้ผลการนำเครอื่ งมอื ไปใช้มปี ระสทิ ธภิ าพมากยิ่งข้ึน ลงชือ่ ..............................................ผบู้ ันทกึ กจิ กรรม (นายชนายทุ ธ ตรงตามคำ) วนั ที่ 9 เดอื นกมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2564 ความเห็นของหวั หน้างานวิชาการ ความเหน็ ของรองผูอ้ ำนวยการโรงเรียน .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. ลงช่ือ............................................. ลงช่ือ.............................................. (นายชนายุทธ ตรงตามคำ) (นายประทปี อร่ามเรือง) หัวหนา้ งานวชิ าการ รองผอู้ ำนวยการโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) วนั ท่ี 9 เดอื นกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564 วนั ท่ี 9 เดอื นกมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2564 ความเหน็ ของผอู้ ำนวยการโรงเรยี น ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ลงชอ่ื .............................................. (นายศักดิช์ ยั เลิศอรุณรัตน์) ผู้อำนวยการโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) วนั ท่ี 9 เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564

แบบบันทกึ กิจกรรม (Logbook) ชุมชนการเรยี นรูท้ างวิชาชีพ (Professional Learning Community) ช่ือกลุ่มกจิ กรรม PLUANGPROM TEAM โรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) จำนวนสมาชิก 19 คน กจิ กรรม การพฒั นาทักษะความสามารถในการอ่านเขยี นเรียนคดิ เลข ดว้ ยนวัตกรรมเล่มเลก็ เดก็ หรรษา โดยใช้ กระบวนการ PLUANG Model ครัง้ ท่ี 8 ชอื่ กจิ กรรม - ส่งผลการวดั และประเมินผลการใชน้ วตั กรรม ครง้ั ที่ 5 - สรุปผลการวัดและประเมนิ ผลคร้ังท่ี 5 วนั ที่จัดกจิ กรรม 2 เดอื น มนี าคม พ.ศ. 2564 เวลา 16.00-18.00 น. รวม 2 ช่ัวโมง ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2563 รายช่อื สมาชิก /สมาชิกท่เี ข้าร่วมกจิ กรรมในคร้งั นี้ 19 คน ไม่เข้ารว่ มกจิ กรรมในครั้งน้ี 2 คน ท่ี สมาชิกทเี่ ขา้ ร่วมกิจกรรม บทบาท เขา้ ร่วม ไมเ่ ขา้ รว่ ม 1 นายศกั ด์ิชยั เลิศอรุณรตั น์ Expert  2 นายประทีป อรา่ มเรือง Mentor  3 นายชนายุทธ ตรงตามคำ Model Teacher  4 นางสาวกติ ติยา กมิ าวหา Administrator  5 นางสาวสกุ ญั ญา มทั ธุรี Buddy  6 นางสาวศรุดา ประไวย์ Buddy  7 นางสาวกมลพร หงษ์สงู Buddy  8 นางกนกวรรณ แสงจง Buddy  9 นางสาวเอ้ืองนภา คิดสม Buddy  10 นางปรียาพัฒน์ แสนกลา้ Buddy  11 นายราชนพ ลำภู Buddy  12 นางสาวกนกนาถ สุชาติสนุ ทร Buddy  13 นายธรี พงษ์ ดงั คนกึ Buddy  14 นางลัดดา นสิ สยั ดี Buddy  15 นายประเสรฐิ ใจกล้า Buddy  16 นางลลิตา ฉิมถาวร Buddy  17 นางสาวขนิษฐา แกว้ มุงคณุ Buddy  18 พลฯจารัตน์ ลวดเงิน Buddy 

ท่ี สมาชิกท่ีเข้ารว่ มกิจกรรม บทบาท เขา้ ร่วม ไม่เข้ารว่ ม 19 นางปทุมชาติ จุดาบุตร Buddy  1. วัตถุประสงค/์ ประเดน็ /ของการจัดกจิ กรรม 1.1 เพ่อื พัฒนาทกั ษะการอ่าน เขยี น เรียนคิดเลข ของนักเรยี นระดบั ชั้นอนบุ าลปที ี่ 2 ถึง ชนั้ มัธยมศกึ ษา ปีที่ 3 โดยใช้นวัตกรรมรูปแบบการพัฒนาทักษะความสามารถในการอ่านเขียนเรียนคิดเลข ด้วยนวัตกรรมเลม่ เลก็ เด็กหรรษา โดยใช้กระบวนการ PLUANG MODEL 1.2 เพื่อให้ครูมีความรู้ ความเข้าใจในการจัดกิจกรรมพัฒนาทักษะการอ่าน เขียน เรียนคิดเลข โดยใช้ นวตั กรรมรูปแบบการพัฒนาทักษะความสามารถในการอ่านเขยี นเรียนคดิ เลข ด้วยนวตั กรรมเล่มเลก็ เด็กหรรษา โดยใช้กระบวนการ PLUANG MODEL 2. สาเหตุของการจดั กิจกรรม 2.1 สง่ ผลการวดั และประเมินผลการใช้นวตั กรรม ครง้ั ที่ 5 2.2 สรุปผลการวัดและประเมนิ ผล คร้ังที่ 5 3. ความรู้หลักการทน่ี ำมาใช้ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนนความสามรถในในการอ่านเขียนเรียนคดิ เลข ดว้ ยนวัตกรรมเล่มเล็กเด็กหรรษา คณะกรรมการวัดผลประเมินผลการพัฒนาทักษะความสามารถในการอ่านเขียนเรียนคิดเลข ด้วย นวัตกรรมเลม่ เล็กเด็กหรรษา ได้กำหนดเกณฑ์การประเมินตามระเบียบการวัดประเมินผลการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ปรับปรุง พทุ ธศักราช 2560 ) ดงั นี้ 3.1) เกณฑก์ ารให้คะแนนวิชาภาษาไทย 1.1 อ่านถกู ต้อง ให้ข้อละ 1 คะแนน อ่านผดิ ไมไ่ ดค้ ะแนน (คะแนนเตม็ 30 คะแนน) 1.2 เขียนถกู ต้อง ใหข้ อ้ ละ 1 คะแนน เขียนผิด ไม่ไดค้ ะแนน (คะแนนเต็ม 30 คะแนน) 1.3 ใชเ้ กณฑว์ ัดความสามารถในการอ่านออกเสียงตามระดับคะแนน (Rubric Scores) ดงั น้ี (คะแนน เตม็ 20 คะแนน) 3.2) เกณฑก์ ารให้คะแนนวิชาภาษาอังกฤษ อ่านและแปลความหมายได้ถกู ต้อง ให้ขอ้ ละ 1 คะแนน อ่านและ/หรือแปลความหมายผิด ไม่ได้คะแนน (คะแนนเตม็ 20 คะแนน) 3.3) เกณฑก์ ารให้คะแนนวิชาคณิตศาสตร์ ทำแบบทดสอบได้ถกู ตอ้ ง ให้ข้อละ 1 คะแนน คำตอบผิด 0 คะแนน (คะแนนเต็ม 20 คะแนน ใชเ้ วลาไมเ่ กนิ 20 นาที)

เกณฑ์การสรุปผล การประเมินผลความสามารถและทักษะ “การอา่ นภาษาไทย” จากนน้ั ให้นำคะแนนมาเทยี บกับเกณฑ์ ดงั นี้ เกณฑข์ องระดบั คะแนน ช่วงคะแนน การแปลผล การอา่ น รอ้ ยละ 75 - 100 (คะแนนเต็ม 50 คะแนน) ดีเยยี่ ม ร้อยละ 50 - 74 41 - 50 ดมี าก รอ้ ยละ 25 - 49 31 - 40 พอใช้ รอ้ ยละ 0 - 24 21 - 30 ปรับปรงุ 0 - 20 เกณฑ์ของระดับคะแนน การแปลผล ดีเยย่ี ม ดีมาก พอใช้ อา่ นออก ปรับปรงุ อา่ นไม่ออก เกณฑ์การสรุปผล การประเมนิ ผลความสามารถและทักษะ “การเขยี นภาษาไทย” จากน้นั ให้นำคะแนนมาเทียบกบั เกณฑ์ ดงั น้ี เกณฑ์ของระดับคะแนน ช่วงคะแนน การแปลผล การเขียน รอ้ ยละ 75 - 100 (คะแนนเตม็ 30 คะแนน) ดเี ยย่ี ม รอ้ ยละ 50 - 74 23 - 30 ดมี าก รอ้ ยละ 25 - 49 16 - 22 พอใช้ ร้อยละ 0 - 24 8 - 15 ปรับปรงุ 0–7 เกณฑข์ องระดับคะแนน การแปลผล ดเี ยย่ี ม ดมี าก พอใช้ เขยี นได้ ปรบั ปรุง เขยี นไม่ได้

เกณฑก์ ารสรปุ ผล การประเมินผลความสามารถและทกั ษะ “การอา่ นภาษาอังกฤษ” ชว่ งคะแนน เกณฑ์ของระดับคะแนน การอ่าน การแปลผล (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) ร้อยละ 75 - 100 16 – 20 ดเี ย่ยี ม รอ้ ยละ 50 - 74 11 – 15 ดมี าก ร้อยละ 25 - 49 6 – 10 พอใช้ ร้อยละ 0 - 24 0–5 ปรับปรงุ เกณฑข์ องระดับคะแนน การแปลผล ดีเยย่ี ม ดมี าก พอใช้ อา่ นออก และแปลความหมายได้ ปรับปรุง อา่ นไม่ออกและ/หรือแปลความหมายไมไ่ ด้ เกณฑก์ ารสรุปผล การประเมนิ ผลความสามารถและทกั ษะ “การคิดเลขเรว็ ” ช่วงคะแนน เกณฑข์ องระดับคะแนน การคดิ เลขเร็ว การแปลผล (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) ดเี ยีย่ ม ดมี าก ร้อยละ 75 - 100 16 – 20 พอใช้ ปรับปรุง ร้อยละ 50 - 74 11 – 15 รอ้ ยละ 25 - 49 6 – 10 ร้อยละ 0 - 24 0–5 เกณฑข์ องระดับคะแนน การแปลผล ดีเยีย่ ม ดีมาก พอใช้ สามารถคิดเลขเรว็ ไดต้ ามเกณฑ์ทีก่ ำหนด ปรับปรุง ขาดทักษะการคิดเลขเร็ว

4. กจิ กรรมทที่ ำ สรุปผลการวัดและประเมินผลการใช้เครื่องมือพัฒนาทักษะความสามารถในการอ่านเขียนเรียนคิดเลข ด้วยนวตั กรรมเล่มเล็กเดก็ หรรษา จากการสังเกต สอบถามการวัดและประเมินผลการใช้เครือ่ งมอื ของนักเรยี นทุก ระดบั ชน้ั เพอ่ื นำไปปรบั ปรุงพัฒนาเครือ่ งมือตอ่ ไป 4.1 ให้คณุ ครปู ระจำช้ันแต่ละระดบั ชนั้ รายงานผลการประเมนิ ของระดับชั้นของตนเอง ดงั นี้ - ผลการประเมนิ เปน็ คะแนนเฉล่ียรอ้ ยละของแต่ละทักษะ - ปญั หาทีพ่ บ สาเหตุของปัญหา และแนวทางการแกไ้ ขในการประเมนิ คร้งั ต่อไป 4.2 หลงั จากรายงานผลการประเมนิ ครบทกุ ช้ันแลว้ คณะครรู ว่ มกนั อภปิ รายผลการประเมิน หาแนวทาง การแก้ปัญหาร่วมกัน พร้อมทั้งบันทึกผลการอภิปรายเพื่อนำไปพัฒนาการใช้นวัตกรรมและประเมินผลการใช้ นวตั กรรม รวมทงั้ การจัดการเรยี นรู้ของตนเองในครง้ั ตอ่ ไป 4.3 ผ้บู รหิ ารสรุปผลการอภปิ รายโดยรวมและมอบหมายให้คณะครูดำเนินการนำผลการประเมนิ ในคร้ัง นไ้ี ปจัดทำเป็นรูปเล่มรายงานการประเมนิ เพือ่ นำส่งต่อไป 5. ผลทีไ่ ด้จากกิจกรรม สรุปผลการวัดและประเมินผลการใช้เครื่องมือพัฒนาทักษะความสามารถในการอ่านเขียนเรยี นคิดเลข ด้วยนวัตกรรมเล่มเล็กเด็กหรรษา การวัดและประเมินผลการใช้เครื่องมือของนักเรียนทุกระดับชั้น เพื่อนำไป ปรับปรุงพัฒนาเคร่ืองมือในการจดั กิจกรรมครั้งต่อไป ผลการประเมินเป็นคะแนนเฉลี่ยร้อยละของแต่ละทักษะ ปัญหาที่พบ สาเหตุของปัญหา และแนวทางการแก้ไข ของทุกระดับชั้นเพื่อตรวจสอบความก้าวหน้าในการใช้ นวัตกรรม 5.1 หลังจากรายงานผลการประเมนิ ครบทุกชั้นแลว้ คณะครรู ว่ มกนั อภปิ รายผลการประเมนิ หาแนวทาง การแก้ปัญหาร่วมกัน พร้อมทั้งบันทึกผลการอภิปรายเพื่อนำไปพัฒนาการใช้นวัตกรรมและประเมินผลการใช้ นวัตกรรม รวมทั้งการจดั การเรยี นร้ขู องตนเองในครัง้ ต่อไป 5.2 ผู้บริหารสรปุ ผลการอภิปรายโดยรวมและมอบหมายให้คณะครูดำเนนิ การนำผลการประเมินในคร้ัง นไ้ี ปจัดทำเป็นรูปเล่มรายงานการประเมนิ เพอ่ื นำส่งตอ่ ไป 6. การนำผลที่ได้ไปใช้ นำผลสรุปและแนวทางการแก้ปัญหาในการวัดและประเมินผลการใช้เครื่องมือพัฒนาทักษะ ความสามารถในการอ่านเขียนเรียนคิดเลข ด้วยนวัตกรรมเลม่ เลก็ เดก็ หรรษา คร้ังที่ 5 ทไี่ ด้จากการเข้าร่วม PLC ในครั้งนี้ ไปจัดทำรายงานผลการใช้เครื่องมือพัฒนาทักษะความสามารถในการอ่านเขียนเรียนคิดเลข ด้วย นวัตกรรมเล่มเล็กเด็กหรรษา สอบถามความพึงพอใจในการใช้เครื่องมือของครู สอบถามความพึงพอใจของ นกั เรยี น และนำไปปรบั ปรงุ พฒั นาเครอ่ื งมือท่ใี ชใ้ นการวัดประเมนิ ผลครั้งตอ่ ไป

7. อ่ืน ๆ /ปัญหา/อปุ สรรค 7.1 ผลการประเมนิ ในแตล่ ะระดับช้นั มีคา่ เฉลย่ี ลดลง เนอ่ื งจากความใส่ใจในการใช้นวตั กรรมของ นกั เรียนและครปู ระจำชนั้ อาจสง่ ผลตอ่ การพฒั นาทักษะในแตล่ ะด้าน 7.2 นกั เรยี นขาดทักษะการอ่าน เขยี น และคดิ คำนวณที่เป็นพ้นื ฐานเดมิ ทำให้ผลการประเมินขาด มาตรฐานตามความเหมาะสมในแต่ละระดับชนั้ 8. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข 8.1 เน้นยำ้ ใหค้ รพู ฒั นาทักษะการอ่าน เขียน และคดิ คำนวณใหม้ ีมาตรฐานสอดคลอ้ งกับระดับชน้ั ที่สอน และสอดคล้องกับนวัตกรรมทีใ่ ช้ เพอื่ ให้ผลการวัดและประเมินผลมีประสทิ ธิภาพมากยิง่ ขึ้น ลงชื่อ..............................................ผูบ้ นั ทกึ กิจกรรม (นายชนายุทธ ตรงตามคำ) วนั ที่ 2 มีนาคม พ.ศ.2564 ความเห็นของหวั หนา้ งานวชิ าการ ความเหน็ ของรองผูอ้ ำนวยการโรงเรยี น .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. ลงชื่อ............................................. ลงชอ่ื .............................................. (นายชนายุทธ ตรงตามคำ) (นายประทีป อร่ามเรอื ง) หวั หนา้ งานวชิ าการ วนั ที่ 2 มนี าคม พ.ศ.2564 รองผอู้ ำนวยการโรงเรียนบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) วนั ที่ 2 มนี าคม พ.ศ.2564 ความเหน็ ของผอู้ ำนวยการโรงเรียน ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ลงช่ือ.............................................. (นายศักดิช์ ัย เลิศอรุณรตั น์) ผู้อำนวยการโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) วนั ท่ี 2 มีนาคม พ.ศ.2564

แบบบันทกึ กจิ กรรม (Logbook) ชุมชนการเรยี นรู้ทางวชิ าชพี (Professional Learning Community) ชือ่ กลมุ่ กจิ กรรม PLUANGPROM TEAM โรงเรียนบา้ นพลวง(พรหมบำรุงราษฎร์) จำนวนสมาชกิ 19 คน กิจกรรม การพฒั นาทกั ษะความสามารถในการอา่ นเขียนเรยี นคดิ เลข ดว้ ยนวัตกรรมเล่มเล็กเดก็ หรรษา โดยใช้ กระบวนการ PLUANG Model ครง้ั ท่ี 9 ชือ่ กจิ กรรม สรา้ งเครือ่ งมือวัดและประเมนิ ผลการใช้นวตั กรรม ครั้งท่ี 6 วนั ที่จดั กจิ กรรม 9 เดือน มีนาคม พ.ศ. 2564 เวลา 16.00-18.00 น. รวม 2 ช่ัวโมง ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2563 รายช่ือสมาชกิ /สมาชกิ ท่ีเขา้ ร่วมกจิ กรรมในครง้ั นี้ 17 คน ไม่เขา้ รว่ มกิจกรรมในครัง้ น้ี 2 คน ไม่เข้ารว่ ม ท่ี สมาชกิ ทเ่ี ขา้ ร่วมกิจกรรม บทบาท เขา้ รว่ ม  1 นายศักดิ์ชัย เลิศอรุณรตั น์ Expert   2 นายประทีป อรา่ มเรือง Mentor  3 นายชนายทุ ธ ตรงตามคำ Model Teacher  4 นางสาวกติ ติยา กิมาวหา Administrator  5 นางสาวสกุ ัญญา มทั ธรุ ี Buddy  6 นางสาวศรุดา ประไวย์ Buddy  7 นางสาวกมลพร หงษส์ งู Buddy  8 นางกนกวรรณ แสงจง Buddy  9 นางสาวเอือ้ งนภา คดิ สม Buddy  10 นางปรียาพัฒน์ แสนกลา้ Buddy  11 นายราชนพ ลำภู Buddy  12 นางสาวกนกนาถ สุชาติสุนทร Buddy  13 นายธีรพงษ์ ดงั คนึก Buddy 14 นางลัดดา นสิ สยั ดี Buddy  15 นายประเสรฐิ ใจกลา้ Buddy  16 นางลลิตา ฉิมถาวร Buddy  17 นางสาวขนิษฐา แกว้ มุงคณุ Buddy  18 พลฯจารัตน์ ลวดเงนิ Buddy 19 นางปทุมชาติ จุดาบุตร Buddy 

1. วัตถปุ ระสงค์/ประเด็น/ของการจัดกิจกรรม 1.1 เพอื่ พฒั นาทักษะการอา่ น เขียน เรยี นคดิ เลข ของนักเรียนระดบั ชน้ั อนุบาลปีท่ี 2 ถึง ชนั้ มัธยมศกึ ษา ปีที่ 3 โดยใช้นวัตกรรมรูปแบบการพฒั นาทักษะความสามารถในการอ่านเขียนเรยี นคิดเลข ด้วยนวัตกรรมเล่ม เลก็ เด็กหรรษา โดยใชก้ ระบวนการ PLUANG Model 1.2 เพื่อให้ครูมีความรู้ ความเข้าใจในการจัดกิจกรรมพัฒนาทักษะการอ่าน เขียน เรียนคิดเลข โดยใช้ นวัตกรรมรปู แบบการพัฒนาทักษะความสามารถในการอ่านเขยี นเรียนคดิ เลข ดว้ ยนวัตกรรมเลม่ เล็กเด็กหรรษา โดยใชก้ ระบวนการ PLUANG Model 2. สาเหตขุ องการจดั กิจกรรม 2.1 เพอื่ นำไปใช้ในการพฒั นาทักษะการอ่าน เขียน เรยี นคิดเลข ของนักเรยี นระดับช้ันอนบุ าลปีที่ 2 ถึง ชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 คร้ังท่ี 6 2.2 เพื่อนำเครื่องมือไปใช้ในการวัดและประเมินผลการอ่าน เขียน เรียนคิดเลข ของนักเรียนระดับชนั้ อนบุ าลปที ่ี 2 ถึง ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 คร้ังที่ 6 2.3 เพื่อให้มีนวัตกรรมเครื่องมือการวัดและประเมินผลการอ่าน เขียน เรียนคิดเลข ของนักเรียน ระดับชั้นอนุบาลปที ่ี 2 ถงึ ช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี 3 ครง้ั ท่ี 6 3. ความรูห้ ลกั การทีน่ ำมาใช้ 3.1 นำบัญชคี ำพื้นฐานวชิ าภาษาไทยของนักเรียนระดับชัน้ อนุบาลปีที่ 2 ถงึ ช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 3 มาใช้ ในการสรา้ งเครอ่ื งมอื วัดและประเมนิ ผลการใชน้ วตั กรรม ครัง้ ท่ี 6 3.2 นำบทร้อยแก้วที่ประกอบไปด้วยบัญชีคำพื้นฐานของนกั เรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึง ชั้น มัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 มาใชใ้ นการสรา้ งเครอื่ งมอื วัดและประเมนิ ผลการใช้นวตั กรรม คร้งั ที่ 6 3.3 นำบัญชคี ำพ้ืนฐานวชิ าภาษาอังกฤษของนักเรียนระดับชั้นอนุบาลปที ่ี 2 ถึง ช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 3 มา ใชใ้ นการสรา้ งเครือ่ งมือวดั และประเมินผลการใช้นวตั กรรม ครงั้ ท่ี 6 3.4 นำทักษะการเตรยี มความพร้อมทางดา้ นคณิตศาสตรข์ องนกั เรียนช้นั อนุบาลปีที่ 2 ถึงชน้ั อนุบาลปีท่ี 3 และนำทักษะการคิดคำนวณโดยใช้ความสามารถในการบวก การลบ การคูณ และการหาร คณิตคิดเร็วของ นักเรยี นระดับชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 1 ถงึ ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 3 มาใช้ในการสรา้ งเครอ่ื งมอื วัดและประเมินผลการ ใชน้ วัตกรรม ครัง้ ที่ 6 4. กจิ กรรมทที่ ำ 4.1 สรา้ งเครือ่ งมอื การอ่านออกเสียงและการเขียนตามคำบอก เพ่อื วดั ความสามารถในการอ่านออกเสยี ง และเขียนตามคำบอกโดยใช้ชุดคำในบัญชีคำพื้นฐานวิชาภาษาไทย ของนักเรียนระดับชั้นอนุบาลปีที่ 2 ถึง ชั้น มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 มาใชใ้ นการวัดและประเมนิ ผลการใชน้ วตั กรรม ครงั้ ท่ี 6

4.2 สร้างเครื่องมือการอ่านออกเสียง เพื่อวัดความสามารถในการอ่านออกเสียงจากบทร้อยแก้วท่ี กำหนดให้ ของนักเรยี นระดับชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 1 ถงึ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 มาใชใ้ นการวัดและประเมินผลการ ใชน้ วตั กรรม ครง้ั ที่ 6 4.3 สรา้ งเครื่องมอื การอา่ นออกเสยี ง บอกความหมาย และคัดคำศัพท์ เพ่อื วัดความสามารถในการท่อง คำศัพทพ์ ร้อมบอกความหมายตามชุดคำในบัญชีคำพ้นื ฐานวชิ าภาษาองั กฤษของนกั เรยี นระดับช้นั อนุบาลปีที่ 2 ถึง ช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ 3 มาใชใ้ นการวดั และประเมินผลการใช้นวตั กรรม คร้ังท่ี 6 4.4 สร้างเครื่องมือการประเมินความสามารถพ้นื ฐานท่ีจำเปน็ ของนักเรยี น ทกั ษะการคดิ คำนวณโดยใช้ ความสามารถในการบวก การลบ การคูณ และการหาร ไดอ้ ย่างรวดเรว็ และถูกต้องของนักเรยี นระดบั ชั้นอนบุ าลปที ี่ 2 ถงึ ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 มาใช้ในการวดั และประเมนิ ผลการใชน้ วตั กรรม ครงั้ ท่ี 6 5. ผลที่ได้จากกิจกรรม 5.1 ได้เครอื่ งมอื การอา่ นออกเสยี งและการเขยี นตามคำบอก เพ่อื วดั ความสามารถในการอา่ นออกเสยี ง และเขียนตามคำบอกโดยใช้ชุดคำในบัญชีคำพื้นฐานวิชาภาษาไทย ของนักเรียนระดับชั้นอนุบาลปีที่ 2 ถึง ชั้น มัธยมศึกษาปที ี่ 3 มาใช้ในการวัดและประเมินผลการใช้นวัตกรรม ครั้งที่ 6 5.2 ได้เครื่องมือการอ่านออกเสียง เพื่อวัดความสามารถในการอ่านออกเสียงจากบทร้อยแก้วที่ กำหนดให้ ของนกั เรยี นระดับชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 1 ถึง ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 มาใช้ในการวัดและประเมินผลการ ใชน้ วัตกรรม ครง้ั ที่ 6 5.3 ได้เครื่องมอื การอ่านออกเสียง บอกความหมาย และคัดคำศัพท์ เพื่อวัดความสามารถในการท่อง คำศัพท์พรอ้ มบอกความหมายตามชุดคำในบญั ชีคำพน้ื ฐานวชิ าภาษาองั กฤษของนักเรยี นระดับชั้นอนุบาลปีที่ 2 ถึง ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 มาใชใ้ นการวัดและประเมนิ ผลการใชน้ วัตกรรม คร้งั ที่ 6 5.4 ไดเ้ ครอ่ื งมือการประเมนิ ความสามารถพืน้ ฐานท่ีจำเปน็ ของนกั เรียน ทกั ษะการคดิ คำนวณโดยใช้ ความสามารถในการบวก การลบ การคณู และการหาร ไดอ้ ย่างรวดเร็วและถูกตอ้ งของนักเรียนระดับชัน้ อนบุ าลปที ่ี 2 ถงึ ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 มาใชใ้ นการวดั และประเมินผลการใช้นวตั กรรม คร้ังท่ี 6 6. การนำผลท่ีไดไ้ ปใช้ 6.1 นักเรียนระดบั ชั้นอนุบาลปีที่ 2 ถึง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ได้นำเครื่องมือไปใช้ในการอ่านออกเสียง และการเขียนตามคำบอก เพื่อวดั ความสามารถในการอา่ นออกเสียงและเขียนตามคำบอกโดยใชช้ ุดคำในบัญชี คำพ้นื ฐานวิชาภาษาไทย คร้งั ที่ 6 6.2 นักเรียนระดับชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 1 ถึง ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 ได้นำเคร่อื งมอื ไปใช้ในการอ่านออก เสียง เพือ่ วดั ความสามารถในการอ่านออกเสยี งจากบทรอ้ ยแก้วทก่ี ำหนดให้ ครัง้ ท่ี 6 6.3 นักเรียนระดบั ชัน้ อนุบาลปที ี่ 2 ถึง ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 3 ได้นำเครือ่ งมอื ไปใชใ้ นการอ่านออกเสียง บอกความหมาย และคัดคำศัพท์ เพื่อวัดความสามารถในการท่องคำศัพท์พร้อมบอกความหมายตามชุดคำใน บัญชคี ำพน้ื ฐานวชิ าภาษาอังกฤษ ครงั้ ที่ 6 6.4 นักเรียนระดับชั้นอนุบาลปีที่ 2 ถึง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ได้นำเครื่องมือไปใช้ในการประเมิน ความสามารถพ้นื ฐานท่ีจำเป็นของนกั เรียน ทกั ษะการคดิ คำนวณโดยใชค้ วามสามารถในการบวก การลบ การคูณ และการหาร ได้อย่างรวดเรว็ และถกู ต้อง ครัง้ ท่ี 6

7. อ่ืน ๆ /ปญั หา/อปุ สรรค 7.1 นกั เรยี นขาดแรงจูงใจในการใช้เครือ่ งมอื 7.2 นักเรยี นขาดทักษะการอา่ นออกเสียงและการเขียนตามคำบอกวชิ าภาษาไทย 7.3 นักเรียนขาดทักษะการอ่านออกเสียง บอกความหมาย และคัดคำศัพท์ วชิ าภาษาองั กฤษ 7.4 นักเรียนขาดทักษะการคิดคำนวณโดยใช้ความสามารถในการบวก การลบ การคณู และการหาร ได้ อยา่ งรวดเร็วและถูกต้อง 7.5 ขาดความร่วมมอื จากคณุ ครบู างท่าน 8. ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแกไ้ ข 8.1 คุณครูควรหาแนวทางในการแก้ปัญหาต่างๆ ทเ่ี กิดข้นึ โดยการกระตนุ้ ใหน้ ักเรยี นเกดิ แรงจูงใจและ เพมิ่ ทกั ษะกระบวนการตา่ งๆ ให้ครบถว้ น 8.2 ผูบ้ รหิ ารควรให้การตดิ ตามผลการดำเนนิ งานในกระบวนการ PLC ตามปฏิทินการปฏบิ ัติงานของ PLC ทุกคร้ัง ลงชอื่ ..............................................ผู้บันทึกกิจกรรม (นายชนายทุ ธ ตรงตามคำ) วันท่ี 9 เดือน มนี าคม พ.ศ. 2564 ความเหน็ ของหวั หนา้ งานวิชาการ ความเหน็ ของรองผอู้ ำนวยการโรงเรียน .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. ลงชอ่ื ............................................. ลงชือ่ .............................................. (นายชนายุทธ ตรงตามคำ) (นายประทปี อรา่ มเรือง) หวั หน้างานวิชาการ รองผอู้ ำนวยการโรงเรยี นบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร์) วันที่ 9 เดือน มนี าคม พ.ศ. 2564 วนั ท่ี 9 เดอื น มนี าคม พ.ศ. 2564 ความเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน ........................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................... ลงชอื่ .............................................. (นายศกั ด์ชิ ยั เลิศอรณุ รัตน์) ผู้อำนวยการโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ วนั ท่ี 9 เดือน มีนาคม พ.ศ. 2564

แบบบนั ทึกกจิ กรรม (Logbook) ชมุ ชนการเรยี นรู้ทางวชิ าชพี (Professional Learning Community) ชอื่ กลมุ่ กิจกรรม PLUANGPROM TEAM โรงเรียนบา้ นพลวง(พรหมบำรงุ ราษฎร)์ จำนวนสมาชิก 19 คน กิจกรรม การพัฒนาทกั ษะความสามารถในการอ่านเขยี นเรียนคดิ เลข ด้วยนวตั กรรมเล่มเล็กเด็กหรรษา โดยใช้ กระบวนการ PLUANG Model คร้ังท่ี 10 ชื่อกจิ กรรม - ส่งเครอื่ งมอื การวัดและประเมนิ ผลการใช้นวตั กรรม ครั้งที่ 6 - ตรวจสอบความถกู ต้องของเคร่อื งมือกอ่ นนำไปใชว้ ัดการใชน้ วตั กรรมครงั้ ท่ี 6 วันทจี่ ัดกจิ กรรม 31 เดอื น มีนาคม พ.ศ. 2564 เวลา 16.00-18.00 น. รวม 2 ช่ัวโมง ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2563 รายช่ือสมาชกิ /สมาชกิ ทเี่ ข้าร่วมกิจกรรมในคร้ังน้ี 17 คน ไมเ่ ขา้ รว่ มกจิ กรรมในคร้ังนี้ 2 คน ไม่เข้ารว่ ม ท่ี สมาชกิ ทเ่ี ข้ารว่ มกจิ กรรม บทบาท เขา้ รว่ ม  1 นายศกั ดช์ิ ยั เลิศอรุณรตั น์ Expert   2 นายประทปี อรา่ มเรอื ง Mentor  3 นายชนายทุ ธ ตรงตามคำ Model Teacher  4 นางสาวกิตตยิ า กิมาวหา Administrator  5 นางสาวสุกัญญา มทั ธรุ ี Buddy  6 นางสาวศรุดา ประไวย์ Buddy  7 นางสาวกมลพร หงษ์สงู Buddy  8 นางกนกวรรณ แสงจง Buddy  9 นางสาวเอ้ืองนภา คดิ สม Buddy  10 นางปรียาพฒั น์ แสนกล้า Buddy  11 นายราชนพ ลำภู Buddy  12 นางสาวกนกนาถ สุชาติสนุ ทร Buddy  13 นายธรี พงษ์ ดังคนกึ Buddy 14 นางลดั ดา นสิ สยั ดี Buddy  15 นายประเสริฐ ใจกลา้ Buddy  16 นางลลติ า ฉิมถาวร Buddy  17 นางสาวขนิษฐา แก้วมงุ คณุ Buddy  18 พลฯจารัตน์ ลวดเงนิ Buddy

ท่ี สมาชกิ ทีเ่ ขา้ ร่วมกจิ กรรม บทบาท เข้ารว่ ม ไม่เข้าร่วม 19 นางปทุมชาติ จุดาบุตร Buddy  1. วัตถปุ ระสงค/์ ประเดน็ /ของการจัดกจิ กรรม 1.1 เพื่อพฒั นาทักษะการอา่ น เขียน เรียนคิดเลข ของนกั เรียนระดบั ช้ันอนุบาลปที ี่ 2 ถงึ ชน้ั มัธยมศึกษา ปีที่ 3 โดยใช้นวัตกรรมรูปแบบการพฒั นาทักษะความสามารถในการอ่านเขียนเรยี นคิดเลข ด้วยนวัตกรรมเลม่ เล็กเดก็ หรรษา โดยใช้กระบวนการ PLUANG Model 1.2 เพื่อให้ครูมีความรู้ ความเข้าใจในการจัดกิจกรรมพัฒนาทักษะการอา่ น เขียน เรียนคิดเลข โดยใช้ นวตั กรรมรปู แบบการพัฒนาทักษะความสามารถในการอ่านเขยี นเรียนคดิ เลข ด้วยนวัตกรรมเล่มเล็กเด็กหรรษา โดยใช้กระบวนการ PLUANG Model 2. สาเหตุของการจดั กิจกรรม 2.1 สง่ เคร่ืองมือการวัดและประเมินผลการใช้นวัตกรรม คร้ังที่ 6 2.2 ตรวจสอบความถูกตอ้ งของเครือ่ งมือกอ่ นนำไปใช้วัดการใช้นวัตกรรมครั้งที่ 6 ในวนั ท่ี 31 เดอื น มีนาคม 2564 3. ความรหู้ ลกั การทนี่ ำมาใช้ 3.1 หลักการวัดประเมินผลเกี่ยวกับการตรวจสอบความเหมาะสมของเครื่องมือวัดและประเมินผล โดยเครื่องมือวัดผลทด่ี ีจะตอ้ งเป็นเครือ่ งมือทม่ี ีคุณภาพจงึ จะชว่ ยให้การวัดผลที่มีความถกู ต้องเช่ือถือได้ และผล การประเมินทีไ่ ด้ยอ่ มนา่ เช่ือถอื ดว้ ย 4. กจิ กรรมท่ีทำ การดำเนนิ การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวดั และประเมนิ ผลมดี งั น้ี 4.1 เครื่องมอื ทส่ี ามารถวดั ได้ตามวตั ถุประสงค์ท่ตี ้องการวดั คุณสมบตั ขิ องข้อคำถามท่ีสามารถ วัดได้ตรงตามเน้ือหาและพฤติกรรมที่ตอ้ งการวัด และเมื่อรวบรวมข้อคำถามทุกข้อเปน็ เครื่องมอื ท้ังฉบับจะต้อง วดั ได้ครอบคลมุ เนื้อหาและพฤติกรรมทง้ั หมดทีต่ อ้ งการวดั 4.2 คุณสมบัติของเครื่องมือวัดที่แสดงใหท้ ราบว่าเครื่องมือน้ัน ให้ผลการวดั ที่คงท่ีไม่ว่าจะใช้วัดกี่คร้งั ก็ ตามกบั กลุ่มเดิมโดยแบบทดสอบฉบบั นั้นจะตอ้ งวัดลกั ษณะเดยี วกนั หรือวดั องคป์ ระกอบร่วมกนั มคี วามยาก เทา่ กัน และมรี ะบบใหค้ ะแนนเป็นไปในแนวทางเดยี วกบั กบั วตั ถุประสงค์ของกิจกรรม 4.3 ความยากงา่ ยของข้อสอบ จะตอ้ งเหมาะสมกับระดับชนั้ ท่ีตอ้ งการวดั และสอดคลอ้ งกับนวัตกรรมท่ี ใชใ้ นการวดั ในคร้งั ท่ี 6 กล่าวคือ จำนวนร้อยละหรือสัดสว่ นของคนท่ตี อบถกู ในข้อนั้น เม่อื เปรยี บเทยี บกบั จำนวน คนทัง้ หมดที่ทำขอ้ สอบนน้ั จะตอ้ งอยู่ระหว่างร้อยละ 40-60 4.4 ประสิทธิภาพของเครอ่ื งมอื วดั และประเมนิ ผลในการแบ่งผูส้ อบออกเป็นกลุ่ม คือกลมุ่ ทไ่ี ด้คะแนนสูง กลุ่มที่ได้คะแนนต่ำ จะต้องสามารถแบง่ กลมุ่ นกั เรียนได้อย่างถูกต้องเหมาะสมตามศักยภาพทแี่ ทจ้ ริงของนกั เรียน

5. ผลท่ไี ด้จากกิจกรรม ได้เครอ่ื งมือวัดและประเมนิ ผลทม่ี ีประสทิ ธภิ าพ ถูกตอ้ ง และเหมาะสม พร้อมท่ีจะนำไปใช้ในการวัดและ ประเมนิ ผลนักเรียนในการทดสอบครง้ั ท่ี 6 ซง่ึ เป็นเคร่อื งมือทม่ี ีคณุ ภาพ ช่วยให้การวัดผลมีความถูกต้องเช่ือถือได้ และส่งผลให้ผลการประเมินที่ได้เชื่อถือได้ด้วย ดังนั้นเครื่องมือที่ครูสร้างขึ้นเองก่อนจะน ำไปใช้จริงจึงควร ตรวจสอบคุณภาพเคร่อื งมือก่อนทกุ คร้ัง 6. การนำผลท่ไี ดไ้ ปใช้ นำเครื่องมือวัดและประเมินผลที่นำมาตรวจสอบไปปรับปรุงแก้ไขให้ถูกต้องและมีประสิทธิภาพตาม หลักการวดั และประเมนิ ผล และเตรียมพร้อมนำไปใชใ้ นการวัดและประเมินผลการใช้นวตั กรรม ครง้ั ท่ี 6 ตอ่ ไป 7. อื่น ๆ /ปญั หา/อปุ สรรค 7.1 คุณครปู ระจำช้นั บางชน้ั เรยี นทำเครือ่ งมอื วดั และประเมินผลการใช้นวตั กรรมยงั ไม่เรียบรอ้ ย ทำให้ ไมส่ ามารถตรวจสอบเคร่อื งมือไดใ้ นการจดั กิจกรรม plc คร้งั นี้ 8. ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแกไ้ ข 8.1 ช้แี จงให้คุณครูสง่ เครือ่ งมือให้ทนั ในรอบของการตรวจสอบเคร่ืองมอื วดั และประเมนิ ผลการใช้ นวตั กรรมในแต่ละรอบ เพื่อให้ผลการนำเครื่องมอื ไปใช้มีประสิทธิภาพมากย่ิงข้ึน ลงช่ือ..............................................ผู้บันทกึ กิจกรรม (นายชนายุทธ ตรงตามคำ) วันที่ 31 เดือน มีนาคม พ.ศ. 2564 ความเหน็ ของหัวหนา้ งานวชิ าการ ความเห็นของรองผอู้ ำนวยการโรงเรียน .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. ลงชอ่ื ............................................. ลงชอ่ื .............................................. (นายชนายุทธ ตรงตามคำ) (นายประทีป อรา่ มเรอื ง) หัวหนา้ งานวชิ าการ รองผอู้ ำนวยการโรงเรยี นบ้านพลวง(พรหมบำรุงราษฎร)์ วนั ท่ี 31 เดอื น มีนาคม พ.ศ. 2564 วันที่ 31 เดือน มีนาคม พ.ศ. 2564