Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Community Nursing 2 (1,3,5,6)_6231901108

Community Nursing 2 (1,3,5,6)_6231901108

Published by Jutharat JK, 2021-12-02 02:23:36

Description: Community Nursing 2 (1,3,5,6)_6231901108

Keywords: ทฤษฎีครอบครัว,การพยาบาลครอบครัว,การพยาบาลชุม,community nurse,หลักการเยี่ยม,พัฒนาการครอบครัว

Search

Read the Text Version

Community Nursing 2 MISS JUTHARAT CHAOSANAM ID 6231901108 MIDTERM EXAMINATION 2564 (TOPIC 1-6)

Community Nursing 2 ชุมชนดี สุขภาพดี ชีวีมีสุข

หน้าลิขสิทธิ์ ชื่อหนังสือ Community Nursing 2 จัดทำโดย RK Ken zip พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2564 ห้ามมิให้ผู้ใดนำส่วนใดส่วนหนึ่งหรือทั้งหมดของหนังสือเล่มนี้ ไป ทำการคัดลอกเพื่อนำไปแจกจำหน่ายต่อ โดยขอสงวนสิทธิ์ตาม กฎหมาย

คำนำ หนังสือเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา การพยาบาลชุมชน2 (Community Nursing 2) รหัสวิชา 1901321 จัดทำขึ้นเพื่อศึกษาทำความเข้าใจและทบทวน เกี่ยวกับเนื้อหาแนวคิดและหลักการของการพยาบาลชุมชน บทบาทของพยาบาล ชุมชนในการดูแลสุขภาพ การพยาบาลอนามัยครอบครัว รวมถึงทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง กับการพยาบาลครอบครัว หลักการเยี่ยมและส่งเสริมสุขภาพครอบครัว ให้มีความรู้ ความเข้าใจในเนื้อหาเพื่อสามารถนำไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยในหนังสือเล่มนี้ได้ จัดทำแบบสรุปของเนื้อหาในหัวข้อที่ 1, 3, 5 และ 6 ตามบทเรียนในรายวิชาการ พยาบาลชุมชน2 ประจำภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 หากหนังสือเล่มนี้มีข้อผิดพลาดประการใด ผู้จัดทำต้องขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย จุฑารัตน์ ชาวสนาม ผู้จัดทำ

สารบัญ STNETNOC FO ELBAT แนวคิ ดและหลั กการของการพยาบาลชุ มชน 1 บทบาทของพยาบาลชุ มชนในการดูแลสุขภาพ คุณภาพ และ มาตรฐานของการพยาบาลชุ มชน ก า ร พ ย า บ า ล อ น า มั ย ค ร อ บ ค รั ว 3 แนวคิ ดและหลั กการดูแลสุขภาพครอบครัว พัฒนาการครอบครัวและแนวคิ ดทฤษฎี 5 ที่ เกี่ ยวข้อง หลั กการเยี่ยมและส่งเสริมสุขภาพครอบครัว 6

แนวคิดและหลักการของ การพยาบาลชุมชน บทบาทของพยาบาลชุมชนในการดูแล สุขภาพและมาตรฐานของการพยาบาล ชุมชน

แ น ว คิ ด แ ล ะ ห ลั ก ก า ร ข อ ง ก า ร พ ย า บ า ล ชุ ม ช น ความหมายของการพยาบาลชุมชน องค์การอนามัยโลก (World Health Organization, WHO, 2017) ให้คำความหมายของการพยาบาลชุมชนว่าเป็นสาขาการพยาบาลเฉพาะด้านที่รวมเอา ทักษะของการพยาบาลการสาธารณสุข หน้าที่การช่วยเหลือทางด้านสังคม ซึ่งเป็น ส่วนหนึ่งของการดูแลสุขภาพชุมชน เพื่อการส่งเสริมสุขภาพ การปรับปรุง สภาพ แวดล้อมทางกายภาพและทางสังคม โดยเป็นการดูแลอย่างต่อเนื่องในการดูแลเพื่อ ให้ฟื้ นฟูจากความเจ็บป่วยและความพิการ การพยาบาลชุมชนเป็นศาสตร์ที่ผสมผสานศาสตร์ด้านการพยาบาลและ การสาธารณสุขมาประยุกต์ให้บริการครอบคลุม4มิติครอบคลุมทั้งด้านการส่งเสริม สุขภาพ ป้องกันโรค การรักษาเบื้องต้นและ การฟื้ นฟูสุขภาพ กลุ่มเป้าหมายในการให้การพยาบาลชุมชนเน้นการดูแลสุขภาพของประชาชน โดยมีกลุ่มเป้าหมายครอบคลุมตั้งแต่ระดับบุคคล ครอบครัว กลุ่มคนและชุมชนทุกเพศ ทุกกลุ่มวัยตั้งแต่เกิดจนระยะสุดท้ายของชีวิตทั้งกลุ่มที่มีภาวะสุขภาพดีภาวะเสี่ยงต่อ การเกิดปัญหาสุขภาพที่อยู่ในชุมชน

หลักการพยาบาลชุมชน The recognized need of individuals, families and communities จัดบริการรายบุ คคล ครอบครัว และชุ มชน ทำงานโดยเน้นความ ต้ องการด้านสุขภาพของบุ คคลครอบครัวและชุ มชนเป็นพื้ นฐาน มี วัตถุประสงค์ หลั กคื อการใช้มาตรการด้านสุขภาพของประชาชน Knowledge and understanding of the objectives and policies of the agency facilities goal achievement รู้และเข้าใจวัตถุประสงค์ และนโยบายขององค์ กรจะนำไปสู่ความสำเร็จ เข้าใจในวัตถุประสงค์ และนโยบายของหน่วยงานจึงจะทำงานให้บรรลุได้ CHN considers the family as the unit of service ครอบครัวเป็นหน่วยบริการของการพยาบาลชุ มชน เป็นช่องทางที่ สำคั ญในให้บริการสุขภาพ ซึ่ งการบริการของพยาบาลชุ มชนควรเน้น ให้ครอบครัวมีส่วนร่วมในการจัดการกั บปั ญหาของตนเอง Respect for the values, customs and beliefs of the clients เคารพในความเชื่ อและวัฒนธรรม ประเพณี ของผู้รับบริการ จะช่วย ให้การดูแลสุขภาพมีประสิทธิภาพมากขึ้ น เกิ ดความยั่งยืนและมีค่ าใช้จ่าย ไม่สูงเกิ นความจำเป็น เป็นบริการสำหรับทุกคนโดยไม่คำนึงถึ งเชื้ อชาติ ความเชื่ อ หรือสถานะทางเศรษฐกิ จและสังคมของผู้รับบริการด้วย

CHN integrated health education and counseling as vital parts of functions บริการผสมผสานของการให้ สุขศึ กษาและการให้ คำปรึกษา เพื่ อส่งเสริมและสนับสนุนให้ชุ มชนเข้าใจและมองเห็นปั ญหาสุขภาพ ตนเองและนำมากำหนดแนวทางแก้ ไขปั ญหาเพื่ อพัฒนาสุขภาพของ ประชาชนต่ อไป Collaborative work relationships with the co-workers and members of the health team facilities accomplishments of goals การทำงานร่วมกั นของที มสุขภาพจะนำไปสู่ความสำเร็จตามเป้าหมาย Periodic and continuing evaluation provides the means for assessing the degree to which CHN goals and objectives are being attained ประเมินผลงานเป็นระยะและต่ อเนื่ อง โ ด ย ป ร ะ เ มิ น จ า ก ก า ร ใ ห้ คำ ปรึกษา การสังเกต และการจดบันทึ ก Continuing staff education program quality services to client and are essential to upgrade and maintain sound nursing practices in their setting บุ คลากรควรได้ รับการพัฒนาอย่างต่ อเนื่ อง โดยวางแผนการพัฒนาใน ประเด็นที่ มาจากความสนใจของบุ คลากรและความต้ องการด้านสุขภาพ ของชุ มชน

Utilization of indigenous and existing community resources maximizing the success of the efforts of the Community Health Nurses การทำงานที่ เชื่ อมโยงการใช้ทรัพยากรที่ มีอยู่ในชุ มชน เพื่ อให้ ได้ ประโยชน์สูงสุด เพื่ อเพิ่มความตระหนักรู้ของประชาชนในความ ต้ องการด้านสุขภาพ และการดูแลสุขภาพของตนเอง Active participation of the individual, family and community in planning and making decisions for their health care needs, determine, to a large extent, the success of the CHN programs เน้นการสร้างการมีส่วนร่วมและการตั ดสินใจของบุ คคล ครอบครัวและ ชุ มชน Supervision of nursing services by qualified by CHN personnel provides guidance and direction to the work to be done การนิเทศติ ดตามบริการพยาบาลจากกรอบมาตรฐานของการ พยาบาลชุ มชน เพื่ อการทำงานที่ มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล Accurate recording and reporting serve as the basis for evaluation of the progress of planned programs and activities and as a guide for the future actions การบันทึ กและรายงานที่ ถูกต้ องเป็นพื้ นฐานของการประเมินความ ก้ าวหน้าและเพื่ อวางแผนแก้ ไขในอนาคต นอกจากนี้การบันทึ กสามารถ ใช้ในการศึ กษาและวิจัย และเป็นเอกสารทางกฎหมายได้

หน้าที่ของพยาบาลชุมชน (RESPONSIBILITIES OF COMMUNITY NURSES) ด้านบริการ ตามขอบเขตความรับผิดชอบลักษณะบริการเป็นบริการครบถ้วน (COMPREHENSIVE CARE) ผสมผสานบริการ 4 มิติ เน้นการส่งเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค การรักษา เบื้องต้น และการฟื้ นฟูสุขภาพ และการดูแลอย่างต่อเนื่อง (CONTINUUM OF CARE) ด้านการบริหาร ให้การดำเนินงานบรรลุวัตถุประสงค์ด้วยการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์สูงสุดทั้ง กำลังคน เวลาและงบประมาณ จัดทำแผนงานพัฒนาสุขภาพชุมชน โดยการประสานงาน สร้างการมีส่วนร่วม กำหนดแนวทางการพัฒนาคุณภาพการบริการให้เป็นไปตามมาตรฐาน และคุณภาพการพยาบาลในชุมชน ติดตาม นิเทศงาน และประเมินผลการทำงาน ด้านวิชาการ ใจัดการข้อมูลสุขภาพและใช้ข้อมูลเพื่อการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ศึกษาวิจัยหรือมีส่วนร่วมใน การทำวิจัยแสวงหาความรู้ใหม่มาพัฒนาสุขภาพชุมชน รวมถึงการพัฒนานวัตกรรมด้าน สุขภาพ

บทบาทของพยาบาลชุมชน (ROLE OF COMMUNITY NURSES) บทบาทของพยาบาลที่ปฏิบัติงานในชุมชนสรุปได้10 บทบาท ดังนี้ (สำนักการพยาบาลสำนักงานปลัดกระทรวงกระทรวงสาธารณสุข.,2556) ผู้ให้การดูแลสุขภาพ (health care provider) ทั้งผู้ป่วยและผู้ที่ไม่ป่วยจึงเป็นการให้บริการ แบบครบถ้วนผสมผสานทั้งด้านการส่งเสริมสุขภาพ การฟื้ นฟูสภาพ การป้องกันโรค การรักษาและการฟื้ นฟูสภาพ แก่ ครอบครัว กลุ่มคน และชุมชน ทั้ง ในชุมชน บ้าน โรงเรียน โรงงาน และในสถานบริการสุขภาพ โดยเน้นการส่งเสริมสุขภาพและป้องกัน โรคเป็นสำคัญ ผู้ให้ความรู้ด้านสุขภาพ (health educator) พยาบาลอนามัยชุมชนต้องมีคุณสมบัติเด่นในเรื่องการให้สุขศึกษาในรูปแบบต่างๆให้เหมาะสมกับ กลุ่มเป้าหมายมากที่สุด โดยการให้ข้อมูลให้กลุ่มเป้าหมายนำไปตัดสินใจและช่วยเหลือตัวเองได้ เป็นที่ปรึกษา (counselor) ช่วยเหลือให้บุคคลพัฒนาความสามารถในการควบคุมและดูแลตนเองทั้งสุขภาพกายและสุขภาพจิต และให้คำปรึกษาทางสุขภาพกับทีมสหสาขาวิชาชีพอื่ นๆด้วย ผู้ประสานงาน (coordinators) เป็นผู้ติดต่อประสานงานเพื่อช่วยเหลือและสร้างความไว้วางใจ เพื่อให้การช่วยเหลือในเวลาที่ เหมาะสมและกิจกรรมดูแลสุขภาพประชาชนทั้งกลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยให้สอดคล้องกับ ปัญหาและความต้องการของผู้รับบริการ

ผู้พิทักษ์ผลประโยชน์และสิทธิผู้ใช้บริการ (advocate) ทำให้ประชาชนรับทราบข้อมูลและสิทธิประโยชน์ที่ตนควรจะได้รับ ผู้จัดการดูแล (care Manager) โดยการวางแผน กำหนดทิศทาง ติดตาม ควบคุมกำกับและการเป็นตัวแทนของชุมชน โดยจัดการ ดูแลที่มีคุณภาพได้มาตรฐาน ต้องประเมินปัญหาและความต้องการของประชาชน ร่วมวางแผน ดำเนินการแก้ไข ติดตามสนับสนุนให้บรรลุเป้าหมาย ผู้นำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลง ( leader/change agent) สร้างการมีส่วนร่วมของชุมชน กำหนดแผนงานและนโยบายในการพัฒนาสุขภาพประชาชน และการ เป็นแบบอย่างการมีสุขภาพดี โดยพยาบาลชุมชนเป็นผู้กระตุ้น โน้มน้าวให้ชุมชนเกิดการ เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมสุขภาพที่ดีขึ้น ผู้วิจัยและนวตกร (researcher/innovator) เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลง มีการใช้เครื่องมือ อุปกรณ์การสื่อสารระบบใหม่ ทำให้มีเครือข่าย ทางสังคมที่ส่งผลต่อวิถีชีวิตและพฤติกรรมสุขภาพแบบใหม่ โดยทำงานให้สอดคล้องต่อนโยบาย และกระตุ้นให้เกิดนวัตกรรมในการดูแลและจัดการสุขภาพชุมชน (ยุวดี เกตสัมพันธ์, 2561)

รูปแบบการจัดบริการพยาบาลชุมชน (Service Profile) รูปแบบการจัดบริการพยาบาลชุมชน มี 2 รูปแบบ คือ การพยาบาลในสถานบริการสุขภาพ และการพยาบาลนอกสถานบริการสุขภาพ การพยาบาลในสถานบริการสุขภาพ การพยาบาลนอกสถานบริการสุขภาพ ที่เน้นการให้บริการเบ็ดเสร็จ ครอบคลุม ส่งเสริมการดูแลให้อยู่ 1. การพยาบาลสาธารณสุข (PUBLIC HEALTH NURSING) ในภาวะปกติ ป้องกันการเจ็บป่วย การจัดการบริการสุขภาพขั้น พื้นฐานให้ครอบคลุมการพัฒนาคุณภาพชีวิตและศักยภาพของ มุ่งเน้นการให้บริการสุขภาพแก่บุคคล ครอบครัว และชุมชน ชุมชน ซึ่งเป็นการบริการสุขภาพ ดังนี้ โดยกระตุ้นให้คนในชุมชนสามารถดูแลสุขภาพที่ไม่ซับซ้อน ของตนเองได้ส่งเสริม ป้องกัน รักษา ฟื้ นฟู 1.การดูแลในภาวะสุขภาพปกติ (wellness care) 2. การพยาบาลครอบครัว (FAMILY HEALTH NURSING) ที่เน้นการให้บริการเบ็ดเสร็จ ครอบคลุม ส่งเสริมการดูแลให้อยู่ ในภาวะปกติ ป้องกันการเจ็บป่วย การจัดการบริการสุขภาพขั้น เป็นการพยาบาลที่บ้านของผู้ป่วยหรือผู้รับบริการที่บ้าน อา พื้นฐานให้ครอบคลุมการพัฒนาคุณภาพชีวิตและศักยภาพของ จะเป็นการดูแลอย่างต่อเนื่องหลังจากที่ผู้ป่วยจำหน่ายออก ชุมชน ซึ่งเป็นการบริการสุขภาพ ดังนี้ จากโรงพยาบาล การเยี่ยมผู้ป่วยและครอบครัวเพื่อให้ บริการพยาบาล เพื่อส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันการเจ็บป่วย 2. การให้การรักษาโรคเบื้องต้น (primary medical care) และฟื้ นฟูสภาพร่างกายและจิตใจ โดยเฉพาะพยาบาลชุมชนที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลส่งเสริมสุข 3. การพยาบาลอาชีวอนามัย (OCCUPATIONAL HEALTH ภาพตำบลจะต้องทำหน้าที่ในการรักษาพยาบาลเบื้องต้นเป็น NURSING) การบริการ/พยาบาลในสถานประกอบการ) หลักโดยการให้การวินิจฉัย การรักษาโรคไม่ซับซ้อน การ ปฐมพยาบาล การทำหัตถการต่างๆตามขอบเขตหน้าที่ที่สภา เน้นการส่งเสริมพฤติกรรมการทำงานที่ถูกต้องและปลอดภัย การพยาบาลกำหนด มีการป้องกันอุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้นได้ขณะทำงาน การป้องกัน โรคหรือการเจ็บป่วยอันเนื่องมาจากการทำงาน การคัดกรอง 3. บริการสุขภาพอย่างต่อเนื่อง (continuing care) สุขภาพ การค้นหา และการให้การรักษาโรคเบื้องต้นรวมไปถึง การปฐมพยาบาล เน้นการวางแผนการจำหน่วย (discharge planning) และ การส่งต่อ (refer) จัดการระบบการดูแลต่อเนื่อง ศูนย์การ 4. การพยาบาลอนามัยโรงเรียน (SCHOOL HEALTH NURSING) ดูแลต่อเนื่อง (continuity of care, COC) การดูแลสุขภาพ ผู้สูงอายุระยะยาว (long term care, LTC) ให้ความรู้ด้านสุขภาพอนามัย การป้องกันโรคต่างๆ การส่ง เสริมสุขภาพ ที่เหมาะสมในวัยเรียน การให้ภูมิคุ้มกันโรค การคัด การพยาบาลที่เชื่อมต่อ กรองสุขภาพและภาวะโภชนาการ การดูแลกระตุ้นพัฒนาการตาม (INTERFACE SERVICES) วัย การดูแลความสะอาดปากและฟัน สุขอนามัยส่วนบุคคล สุขาภิบาลอาหารและสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน การปฐมพยาบาล การพยาบาลที่เชื่อมต่อระหว่างสถานบริการ และการรักษาพยาบาลเบื้องต้น เป็นต้น สุขภาพกับชุมชน

\"การพัฒนาคุณภาพ การพยาบาลชุมชน\" Hospital การประกันคุณภาพการพยาบาล Accreditation (HA) (quality assurance in nursing, QA) การจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นกระบวนการดําเนินงานอย่างมีแบบแผนและมีกิจกรรมที่เป็นขั้นตอน สำหรับชุมชน (Health Promotion ต่อเนื่ องเป็นระบบในการวัดและประเมินคุณภาพบริการพยาบาลนี้เพื่ อ for the Community) รักษาไว้ซึ่งระดับคุณภาพตามที่วิชาชีพ/องค์กรหรือหน่วยงานคาดหวัง การเสริมพลังชุมชน (Community (สำนักการพยาบาล สํานักงานปลัดกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข, Empowerment) 2554) กระบวนการดูแลผู้ป่วย เป็นการดูแล Primary Care Award (PCA) เป็นระบบ ต่อเนื่อง (Continuity of Care, พัฒนาคุณภาพหน่วยปฐมภูมิ COC) การพัฒนาคุณภาพการพยาบาลชุมชน ที่เกี่ยวข้องคือ เกณฑ์ หมวดที่ 4 การจัดบริการครอบคลุม โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลติดดาว (รพ.สต.ติดดาว) โดย ประเภทและประชากรทุกกลุ่มวัย (บริการ มาตรฐาน ประกอบด้วย 5 หมวด (สำนักสนับสนุนระบบสุขภาพปฐมภูมิ, ดี)การจัดบริการตามสภาพปัญหาของ 2562) พื้นที่ การจัดบริการในสานบริการ ทันต สาธารณสุข แพทย์แผนไทย บริการใน หมวดที่ 1 การนำองค์กรและการจัดการดี (บริหารดี) มีภาวะผู้นำ ชุมชน rationale drug use (RDU), มีแผนปฏิบัติการด้านสุขภาพ มีระบบบริหารการจัดการที่สำคัญ long term care (LTC) หมวดที่ 2 การให้ความสำคัญกับประชากร ชุมชน และผู้มีส่วนได้ หมวดที่ 5 ผลลัพธ์ (ประชาชนมีสุขภาพดี) ส่วนเสีย (ประสานงานดี ภาคีมีส่วนร่วม) เช่นมีข้อมูลกลุ่มเป้าหมาย ประกอบไปด้วย บทบาทของบุคคลและ ดำเนินงานโครงการร่วมกัน สร้างชุมนและภาคี ครอบครัวในการดูแลตนเอง ผลลัพธ์ตาม เครือข่ายเข้มแข็ง ตัวชี้วัดนวัตกรรมการวิจัยและการจัดการ ความรู้ หมวดที่ 3 การมุ่งเน้นทรับพยากรบุคคล (บุคลากรดี) วิเคราะห์ ประเมิน สร้างความสุข และความพึงพอใจในคนทำงาน

มาตรฐานการบริการพยาบาลในชุมชน เป็นเครื่องมือสำคัญของพยาบาลในชุมชนที่ใช้ในการกำหนดกิจกรรมการพยาบาลในชุมชน เพื่อให้บริการพยาบาลเกิดผลสัมฤทธิ์สูงสุดตามความคาดหวังและตามบริบทของแต่ละพื้นที่ หมวดที่ 1 การจัดบริการ หมวดที่ 2 การจัดบริการ หหมวดที่ 3 การจัดบริการ พยาบาลในชุมชน พยาบาลในสถานบริการ พยาบาลต่อเนื่ อง เ ป็ น ก า ร กำ ห น ด ม า ต ร ฐ า น ก า ร บ ริก า ร พ ย า บ า ล เ ป็ น ก า ร กำ ห น ด ม า ต ร ฐ า น ก า ร เ ป็ น ก า ร กำ ห น ด ม า ต ร ฐ า น ก า ร ต า ม ก า ร พ ย า บ า ล สุ ข ภ า พ ข อ ง ก ลุ่ ม ป ร ะ ช า ช น บ ริก า ร พ ย า บ า ล ต า ม ก า ร พ ย า บ า ล ที่ บ ริก า ร พ ย า บ า ล ต า ม บ ริก า ร ให้กับ ประชาชนในสถานบริการ พ ย า บ า ล ที่ ใ ห้ แ ก่ ป ร ะ ช า ช น ใ น ม า ต ร ฐ า น ก า ร บ ริก า ร พ ย า บ า ล ชุ มชนเพื่ อให้เกิดความต่อเนื่ อง อ น า มั ย ห ญิ ง ตั้ ง ค ร ร ภ์ ม า ต ร ฐ า น ก า ร บ ริก า ร พ ย า บ า ล ใ น ก า ร ดู แ ล ตรวจรักษาโรคเบื้ องต้น   ม า ต ร ฐ า น ก า ร บ ริก า ร พ ย า บ า ล ม า ต ร ฐ า น ก า ร บ ริก า ร พ ย า บ า ล ม า ร ด า แ ล ะ ท า ร ก ห ลั ง ค ล อ ด ผู้ ป่ ว ย ที่ บ้ า น ม า ต ร ฐ า น ก า ร บ ริก า ร พ ย า บ า ล เด็กปฐมวัย 0-5 ป ม า ต ร ฐ า น ก า ร บ ริก า ร พ ย า บ า ล เ ด็ ก วั ย เ รีย น แ ล ะ วั ย รุ่น ม า ต ร ฐ า น ก า ร บ ริก า ร พ ย า บ า ล ก ลุ่ ม วั ย ทำ ง า น ม า ต ร ฐ า น ก า ร บ ริก า ร พ ย า บ า ล ผู้ สู ง อ า ยุ ม า ต ร ฐ า น ก า ร บ ริก า ร พ ย า บ า ล ผู้ ป่ ว ย ร ะ ย ะ สุ ด ท้ า ย ม า ต ร ฐ า น ก า ร บ ริก า ร พ ย า บ า ล ก ลุ่ ม ป ร ะ ช า ก ร ย้ า ย ถิ่ น ม า ต ร ฐ า น ก า ร บ ริก า ร พ ย า บ า ล ผู้ ป่ ว ย ที่ ต้ อ ง ดู แ ล พิ เ ศ ษ

การพยาบาล อนามัยครอบครัว: แนวคิดและหลักการดูแลสุขภาพครอบครัว

ครอบครัว ครอบครัว คือ กลุ่มคนตั้งแต่ 2 คนขึ้นไปที่อาศัยอยู่ร่วม กัน หรืออาจไม่ได้อาศัยอยู่ร่วมกัน แต่คนเหล่านั้นมีความคิด ว่าตนเป็นส่วนหนึ่งของครอบครัว และมีการก่อตั้งขึ้นเป็น ครอบครัว มีความเกี่ยวข้องในการดำเนินชีวิตของกันและกัน มีเป้าหมายการดำเนินชีวิตร่วมกัน มีการพึ่งพิงกันทางสังคม เศรษฐกิจ และมีการติดต่อสื่อสาร แลกเปลี่ยนความรู้สึกกัน อย่างต่อเนื่อง โดยกลุ่มคนเหล่านี้จะมีการรักษาวัฒนธรรมเดิม และอาจ สร้างสรรค์วัฒนธรรมเพิ่มเติม ให้เหมาะสมกับการดำเนินชีวิต ซึ่ง กลุ่มคนเหล่านั้นอาจมีความสัมพันธ์กันทางสายโลหิต การสมรส ทาง กฎหมาย หรือมีความผูกพันการทางอารมณ์และจิตใจ โดยแต่ละ ครอบครัวมีโครงสร้าง รูปแบบ และลักษณะเฉพาะที่แตกต่างกัน ตามการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม ประเพณี เศรษฐกิจและสังคม

ป ร ะ เ ภ ท ข อ ง ค ร อ บ ค รั ว ครอบครัวในอดีต เป็นการ ครอบครัวเดี่ยว (Nuclear family) หมายถึง อยู่รวมกันของบุคคลที่มี ครอบครัวที่ประกอบด้วยสามี ภรรยาและบุตร ความสัมพันธ์กันทางสาย โลหิตหรือทางการสมรส ครอบครัวขยาย (Extended family) หมายถึง ครอบครัว ได้แก่ บิดา มารดา บุตร รวม ที่ประกอบด้วยเครือญาติอาศัยอยู่ร่วมกัน ประกอบไปด้วย ถึงเครือญาติที่อาศัยอยู่ร่วม คน 3 รุ่น คือ รุ่นปู่-ย่า ตา-ยาย รุ่นบิดา-มารดา และรุ่นบุตร กัน อาศัยอยู่ในครอบครัวเดียวกัน ครอบครัวปัจจุบัน ผลจาก ครอบครัวเลี้ยงเดี่ยว ที่มีเฉพาะบิดาหรือมารดาที่เลี้ยงบุตรตามลำพัง การเปลี่ยนแปลงทางสังคม ครอบครัวที่มีสมาชิกในครอบครัวเพียงคนเดียว และความเจริญก้าวหน้าทาง ครอบครัวที่อยู่ร่วมกันเฉพาะญาติพี่น้อง เทคโนโลยี ทำให้ประเภทของ ครอบครัวที่คู่ครองเป็นเพศเดียวกัน ครอบครัวเปลี่ยนปลงไปจาก ครอบครัวที่ประกอบด้วยสมาชิกที่ไม่ได้เป็นเครือญาติหรือไม่ได้เป็น เดิม สายเลือดเดียวกันอยู่ร่วมกัน เช่น ครอบครัวที่รับเด็กเป็นบุตร บุญธรรม ครอบครัวที่เป็นเพื่อนกัน สามีภรรยาที่อยู่ร่วมกัน โดยมิได้ จดทะเบียนสมรส เป็นต้น

หน้าที่ ของครอบครัว (Family functions) การผลิตสมาชิกใหม่ (Reproductive function การให้ความรักความเอาใจใส่ (Affective function) การอบรมเลี้ยงดู(Socialization function) การเผชิญปัญหาของครอบครัว (Family coping function) การดูแลทางด้านเศรษฐกิจ (Economic function) การดูแลสุขภาพครอบครัว (Health care function) การจัดหาสิ่งจำเป็นพื้นฐานทางกายภาพสำหรับสมาชิก (Provision of physical necessities)

แ ผ น ภู มิ ค ร อ บ ค รั ว / ผั ง เ ค รื อ ญ า ติ แ ล ะ แ ผ น ผั ง นิ เ ว ศ ค ร อ บ ค รั ว (Genogram & Ecomap) 1) แผนภูมิครอบครัว (Genogram) เป็นแผนภูมิแสดงให้เห็นภาพความซับซ้อนของรูปแบบ ครอบครัวในช่วงเวลาที่สำคัญ โดยมากมักจะเขียนความสัมพันธ์ของสมาชิก 3 รุ่นขึ้นไป แผนภูมินี้แสดงรายละเอียดเกี่ยวกับเหตุการณ์ต่าง ๆ ของชีวิต ได้แก่ การเกิด การตาย การ สมรส การหย่าร้าง การเจ็บป่วย เป็นต้น นอกจากนี้ยังแสดงให้เห็นถึงลักษณะของสมาชิกใน ครอบครัว ได้แก่ เชื้อชาติ ศาสนา ฐานะทางสังคม อาชีพ เป็นต้น ซึ่งเป็นสิ่งที่ช่วยให้มองเห็น พฤติกรรมของสมาชิกและปัญหาของครอบครัวได้ 2) แผนผังนิเวศครอบครัว / แผนที่ระบบนิเวศ (Ecomap) เป็นแผนภูมิแสดงความ เกี่ยวข้องระหว่างครอบครัวและระบบอื่น ๆ ในสิ่งแวดล้อมด้านนิเวศวิทยาของครอบครัวซึ่ง แสดงตามคำบอกเล่าของสมาชิกในครอบครัว โดยวงกลมตรงกลางแทนครอบครัวที่ศึกษา วงกลมเล็กรอบด้านจะแทนประชากรและระบบอื่น เช่น โรงเรียน หรือสถานที่ทำงาน แผนผัง นิเวศครอบครัวเป็นการวิเคราะห์เครือข่ายครอบครัว ครอบครัวเป็นระบบนิเวศน์หนึ่งที่รักษา สมดุลระหว่างสิ่งแวดล้อมภายในและภายนอกครอบครัว บางครั้งครอบครัวต้องปรับตัวให้เป็น ระบบเปิด เพื่อรับการช่วยเหลือจากสิ่งแวดล้อมภายนอกครอบครัว ได้แก่ ชุมชน เพื่อนบ้าน เพื่อนร่วมงาน เป็นต้น ซึ่งต้องพิจารณาใน 3 ประเด็น คือ 1) การรับรู้ความรู้สึกใกล้ชิดของครอบครัวกับบุคคล/กลุ่มคนต่าง ๆ ภายนอกครอบครัว 2) แหล่งประโยชน์ที่พึ่งพาได้ในกรณีที่ครอบครัวประสบปัญหา 3) แหล่งประโยชน์นั้นง่ายต่อการติดต่อและการเข้าถึงหรือไม

แนวคิ ดการพยาบาลครอบครัว การพยาบาลครอบครัว เป็นการปฏิบัติการพยาบาลโดยอาศัยแนวคิดการดูแลสุขภาพ แบบองค์รวม และการมีส่วนร่วมของสมาชิกทุกคนในครอบครัว ในทุกขั้นตอนของการดูแล ตั้งแต่ การประเมินภาวะสุขภาพของสมาชิกในครอบครัว การกำหนดปัญหา วางแผนการ พยาบาล การลงมือปฏิบัติ และการประเมินผล เพื่อให้ครอบครัวสามารถดูแลตนเองได้อย่าง ต่อเนื่อง จนสามารถยกระดับภาวะสุขภาพของตนเองให้เข้าสู่ภาวะปกติหรืออยู่ในภาวะที่ดีที่สุด สามารถดำเนินชีวิตอย่างมีความสุขตามอัตภาพ และตายอย่างสมศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ค ว า ม ห ม า ย ก า ร พ ย า บ า ล ค ร อ บ ค รั ว แ ล ะ พ ย า บ า ล ค ร อ บ ค รั ว การพยาบาลครอบครัว หมายถึง การพยาบาลที่ให้กับครอบครัวและสมาชิกครอบครัว ทั้ง ในภาวะสุขภาพดีและเจ็บป่วย เพื่อส่งเสริมสุขภาพและลดความทุกข์ทรมานจากการเจ็บป่วย ของครอบครัวและสมาชิกครอบครัว ช่วยให้สมาชิกและครอบครัวปรับเข้าสู่ภาวะสมดุลและ ปฏิบัติบทบาทหน้าที่ครอบครัวได้อย่างเหมาะสม และคงไว้ซึ่งความมีศักดิ์ศรีของครอบครัว (จินตนา วัชรสินธุ์, 2555) พยาบาลครอบครัว หมายถึง พยาบาลวิชาชีพที่ให้การดูแลองค์รวมที่มุ่งให้สมาชิกและ ครอบครัวสามารถจัดการดูแลส่งเสริมสุขภาพในทุกภาวะสุขภาพ และเผชิญความเจ็บป่วยหรือ ภาวะวิกฤตได้ และเน้นการทำงานร่วมกันกับผู้ป่วยและครอบครัว โดยอาจปฏิบัติงานทั้งที่บ้าน ของผู้ป่วยกับครอบครัวและที่สถานบริการสุขภาพ

หลั กสำคั ญการพยาบาลครอบครัว 1. การพยาบาลครอบครัวต้องคำนึงถึงประสบการณ์การป่วยของครอบครัวทั้งในอดีต ปัจจุบัน และ อนาคต 2. การพยาบาลครอบครัวต้องให้ความสำคัญกับสัมพันธภาพระหว่างสมาชิกในครอบครัว 3. การพยาบาลครอบครัวครอบคลุมทั้งสมาชิกที่เจ็บป่วยและแข็งแรง 4. พยาบาลครอบครัวต้องสื่อสาร ให้ข้อมูลแก่สมาชิกในครอบครัวอย่างครอบคลุม ไม่เบี่ยงเบนข้อมูล 5. การมีส่วนร่วมของครอบครัวในการดูแลสุขภาพเป็นสิ่งสำคัญในการพยาบาลครอบครัว พยาบาล ควรส่งเสริมและสนับสนุนผู้ป่วยและครอบครัวให้มีส่วนร่วมในการดูแล และตัดสินใจเกี่ยวกับวิธีการ จัดการดูแลครอบครัว 6. การเสริมสร้างพลังอำนาจให้สมาชิกในครอบครัวมีความสำคัญต่อสมาชิกที่ป่วย พยาบาลจึงควร เน้นการเสริมสร้างพลังอำนาจครอบครัวให้เป็นเป้าหมายหลักของการพยาบาลครอบครัว 7. การพยาบาลครอบครัวต้องคำนึงถึงวัฒนธรรมของชุมชนและของครอบครัว พยาบาลต้องให้การ พยาบาลครอบครัวที่มีวัฒนธรรม ความเชื่อ ค่านิยม และการปฏิบัติในการดูแลสุขภาพที่แตกต่างกัน 8. การพัฒนาการประสานงานระหว่างครอบครัว พยาบาล และทีมสุขภาพเป็นสิ่งสำคัญสำหรับการพยา บาลครอบครัว เพราะการประสานงานแสดงถึงการให้เกียรติครอบครัว ทำให้ครอบครัวเกิดผลลัพธ์การ ดูแลที่ดีเกิดประสบการณ์ด้านบวก และก่อให้เกิดความพึงพอใจในการพยาบาลครอบครัว

บ ท บ า ท พ ย า บ า ล ค ร อ บ ค รั ว 1. ผู้ให้การดูแลสุขภาพ (Health care provider) 2. ผู้ค้นหาผู้ป่วย (Case finder) 3. ผู้ให้ความรู้ด้านสุขภาพ (health educator) 4. ผู้ให้คำปรึกษา (Counselor) 5. ผู้ร่วมงาน (Collaborator) 6. ผู้ประสานงาน (Coordinator) 7. ผู้จัดการดูแล (Care Manager) 8. ผู้รักษาประโยชน์หรือพิทักษ์สิทธิ์ของผู้รับบริการ (Client advocate) 9. ผู้นำ/ผู้นำการเปลี่ยนแปลง (leader/change agent) 10. ผู้วิจัยและนวตกร (researcher/innovator)

บ ท บ า ท พ ย า บ า ล ค ร อ บ ค รั ว 1 2 การดูแลครอบครัวในฐานะครอบครัวเป็น การดูแลครอบครัวในฐานะครอบครัวเป็น บริบท ผู้รับบริการ (Family as client) (Family as context) การดูแลครอบครัวในฐานะครอบครัวเป็นผู้รับ การดูแลครอบครัวในฐานะครอบครัวเป็น บริการ จะเน้นครอบครัวในภาพรวมเป็นหน่วย บริบทหนึ่งของผู้ป่วย จะเน้นให้การดูแล ของการดูแลมากกว่าให้ความสำคัญกับการ สมาชิกแต่ละคนในครอบครัวที่เป็นผู้เจ็บป่วย ดูแลสุขภาพของสมาชิกแต่ละคน หรือมีปัญหาสุขภาพก่อนให้การดูแล ครอบครัวทั้งหมด 3 4 การดูแลครอบครัวในฐานะครอบครัวเป็น การดูแลครอบครัวในฐานะองค์ประกอบของ ระบบ สังคม/เป็นหน่วยหนึ่งของสังคม (Family as a system) (Family as a component of society) เน้นที่ครอบครัวเป็นผู้รับบริการ และ การที่ครอบครัวเป็นหน่วยหนึ่งของสังคม ทำให้ ครอบครัวจะถูกมองว่าเป็นระบบที่เกิดจากการ สังคมมีบทบาทในการกำหนดสภาพ มีปฏิสัมพันธ์ของสมาชิกในครอบครัวมากกว่า ครอบครัว การเปลี่ยนแปลงของสังคมจะมีผลต่อ การรวมตัวกันของสมาชิกแต่ละคน โดยจะ การดำเนินชีวิตของครอบครัว และกระทบไปยัง เน้นให้การดูแลทั้งสมาชิกแต่ละคนและ ครอบครัวอื่ นๆ ครอบครัวในภาพรวมไปพร้อม ๆ กัน

ก า ร พ ย า บ า ล ค ร อ บ ค รั ว โดยใช้ชุ มชนเป็นฐาน ปรัชญาและแนวคิดของการพยาบาลครอบครัวโดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มีดังนี้ 1. การให้บริการดูแลและการรักษาพยาบาลตัวอย่างต่อเนื่องในสถานที่ที่ผู้ป่วยมี ความคุ้นเคย ซึ่งมักจะเป็นบ้านของผู้ป่วยหรือครอบครัว 2. ผู้ป่วยและครอบครัวเป็นผู้รับผิดชอบโดยตรง กับการตัดสินใจ ที่เกี่ยวข้องกับการดูแลสุขภาพของผู้ป่วย 3. ปฏิบัติการพยาบาลองค์การดูแลผู้ป่วยให้เป็นไปตามแผนการ รักษาที่มีประสิทธิผล (effective treatment) มากกว่าการใช้ เครื่องมือหรือเทคโนโลยีที่มีความซับซ้อนและยุ่งยาก เป้าหมายของการพยาบาลครอบครัวโดยใช้ชุมชนเป็นฐาน คือ การช่วยให้ผู้ป่วยได้รับการ ดูแลและรักษาพยาบาลอย่างเต็มศักยภาพในบ้านของผู้ป่วยเอง การช่วยให้ผู้ป่วยและครอบครัว สามารถจัดการกับปัญหาสุขภาพที่เกิดขึ้นอย่างฉับพลันและเรื้อรัง การช่วยให้ผู้ป่วยมีคุณภาพ ชีวิตที่ดีขึ้นภายใต้สภาพแวดล้อมที่เหมาะสม และการลดความถี่ในการกลับเข้ารักษาในโรง พยาบาลโดยไม่จำเป็น

องค์ประกอบสำคัญของปฏิบัติการพยาบาลครอบครัวที่ใช้ชุมชนเป็นฐาน 1. การดูแลตนเอง (Self-care) การดูแลรักษาที่บ้าน ผู้ป่วยและครอบครัวเป็นผู้รับผิดชอบการดูแล ผู้ป่วยโดยตรง การพยาบาลจึงเกี่ยวข้องกับการให้การดูแลผู้ป่วยเมื่อมีการเยี่ยมบ้าน (home visit) ร่วมกับการติดตามและประเมินผลการพยาบาล 2. การดูแลด้านป้องกัน (Preventive care) เน้นการป้องกันระดับทุติยภูมิและตติยภูมิเป็นหลัก นั่น คือ มุ่งการคัดกรอง (screening) และจับสัญญาณแรกเริ่ม (early detection) ของภาวะเสี่ยงที่จะ ทำให้พยาธิสภาพและอาการของผู้ป่วยทวีความรุนแรงยิ่งขึ้น การปรับปรุงสภาพแวดล้อม การฟื้ นฟู สุขภาพผู้ป่วยให้กลับสู่ปกติโดยเร็ว และป้องกันการเกิดภาวะทุพพลภาพให้น้อยที่สุด 3. การดูแลและให้การพยาบาลอย่างต่อเนื่อง (Continuity care) เนื่องจากจะช่วยให้ผู้ป่วยได้รับการ ดูแลตามแผนการรักษา เป็นการช่วยฟื้ นฟูสุขภาพของผู้ป่วยให้กลับสู่ภาวะปกติหรือใกล้เคียงปกติและ ช่วยป้องกันการเกิดภาวะทุพพลภาพ 4. การประสานความร่วมมือ (Collaboration) เพื่อร่วมการประเมินและวางแผนในการดูแลและจัดการ แก้ไขปัญหาสุขภาพของผู้ป่วย การประสานความร่วมมือนี้จึงเป็นสิ่งสำคัญที่พยาบาลควรให้ความ สำคัญ เนื่องจากพยาบาลมักเป็นผู้ที่สังเกตเห็นการเปลี่ยนแปลงก่อนใคร พยาบาลจึงมีบทบาทสำคัญ ในการเป็นสื่อกลาง เชื่อมโยงและประสานการดูแลผู้ป่วยกับทีมสหสาขาเพื่อให้การดูแลเกิดประโยชน์ สูงสุดแก่ผู้ป่วย

พัฒนาการครอบครัวและ แนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง

5 ทฤษฎีการพยาบาลครอบครัว การพยาบาลครอบครัว เป็นการดูแลครอบครัวโดยการบูรณาการทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง 3 กลุ่ม ทฤษฎี ได้แก่ ทฤษฎีครอบครัวตามมุมมองสังคมศาสตร์(Family Social Science Theories) ทฤษฎีครอบครัวบำบัด(Family Therapy Theories) และทฤษฎีทางการพยาบาล (Nursing Conceptual Frameworks) มาเป็นแนวทางในการดูแลครอบครัว ทฤษฎีครอบครัวบ าบัดมุ่ง เน้นที่การปัญหาหรือความผิดปกติของของครอบครัวเป็นหลักโดยอธิบายครอบครัวตามพลวัต ของครอบครัว ในขณะที่ทฤษฎีครอบครัวตามมุมมองสังคมศาสตร์เป็นทฤษฎีที่ให้ข้อมูลเกี่ยวกับ ปรากฏการณ์ของครอบครัวได้ดีที่สุด ความแตกต่างของทฤษฎีครอบครัวตามมุมมองสังคมศาสตร์ทฤษฎีครอบครัวบ าบัด และ ทฤษฎีทางการพยาบาลในการพยาบาลครอบครัว

5 ทฤษฎีครอบครัวตามมุมมองสังคมศาสตร์ เป็นทฤษฎีที่ให้ข้อมูลเกี่ยวกับปรากฏการณ์ของครอบครัวได้ดีที่สุด ช่วยในการอธิบาย ครอบครัวตามการทำหน้าที่และพลวัตของครอบครัว I. ทฤษฎีระยะพัฒนำกำรครอบครัวหรือวงจรชีวิต (Family Development Theory หรือ Life Cycle Theory) พัฒนาโดย ดูวาลล์ (Duvall) ตั้งแต่ ปี ค.ศ. 1957 สาระสำคัญของทฤษฎีนี้คือ ครอบครัวเป็นระบบกึ่งปิดที่เกิดจากปฏิสัมพันธ์ของบุคคล ซึ่งหมายถึง ระบบครอบครัวมิได้แยกออกจากสังคมโดยเด็ดขาด ยังคงมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมภายนอกระบบ ตลอดเวลา แต่ปฏิสัมพันธ์มิได้เป็นไปอย่างมีอิสระ สมาชิกภายนอกครอบครัวมิได้รับการยอมรับให้เข้า- ออกในระบบครอบครัวได้เท่ากับสมาชิกในครอบครัว และปฏิสัมพันธ์นี้จะถูกมิติของเวลากำหนดให้ เปลี่ยนแปลงไปเป็นวงจรชีวิตครอบครัว ที่เริ่มจากจุดหนึ่งไปสู่อีกจุดหนึ่งตามระยะเวลาที่เหมาะสม ความหมายของครอบครัวตามกรอบทฤษฎีพัฒนาการ พิจารณาได้ 2 ประเภท คือ ประเภทที่ 1 ครอบครัวเป็นหน่วยที่มีปฏิสัมพันธ์ของบุคคล ประเภทที่ 2 ครอบครัวเป็นระบบกึ่งปิด เนื่องจากครอบครัวมิได้แยกจากระบบอื่นๆในสิ่งแวดล้อมอย่าง เด็ดขาด ครอบครัวมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมอย่างมีขอบเขต ข้อตกลงเบื้องต้นของทฤษฎีพัฒนาการครอบครัว 1. แต่ละครอบครัวพัฒนาและเปลี่ยนแปลงไปตามช่วงระยะเวลา 2. บุคคลมีวุฒิภาวะและมีปฏิสัมพันธ์กับบุคคลอื่น รวมทั้งมีพฤติกรรมและปฏิกิริยาตอบสนองต่อสิ่ง แวดล้อม 3. ครอบครัวและสมาชิกในครอบครัวจะมีพฤติกรรมที่เฉพาะซึ่งถูกกำหนดโดยครอบครัว และโดย บริบทของวัฒนธรรมและสังคมที่เขาดำรงอยู่ 4. ครอบครัวจะมีจุดเริ่มต้นและสิ้นสุด

5 ระยะพัฒนาการครอบครัว ดูวาลล์แบ่งขั้นตอนของพัฒนาการในวงจรชีวิตครอบครัวออกเป็น 8 ขั้นตอน ดังนี้ (สุริยา ฟองเกิด สรวงทิพย์ ภูกฤษณา และ สืบตระกูล ตันตลานุกูล, 2559; Kaakinen, 2018 a) ระยะที่ 1 ระยะเริ่มต้นชีวิตครอบครัว (beginning families / marital stage) หรือเริ่มชีวิตคู่ นับแต่ เริ่มสมรสจนกระทั่งตั้งครรภ์บุตรคนแรก ในระยะนี้เป็นการร่วมกันสร้างฐานะและปรับตัว ระยะที่ 2 ระยะเริ่มเลี้ยงดูบุตร (early childbearing families) เริ่มตั้งแต่มีบุตรคนแรกจนบุตรอายุ 30 เดือน หรือ 2 ขวบครึ่ง ระยะนี้ครอบครัวมีภาระในการดูแลบุตรวัยทารก และปรับตัวต่อบทบาท บิดา มารดา ระยะที่ 3 ระยะมีบุตรวัยก่อนเรียน (families with preschool children) ระยะนี้เป็นช่วงบุตรคน แรกอายุ 30 เดือน หรือ 2 ขวบครึ่ง ถึง 6 ปี ระยะนี้ครอบครัวมีภาระในการดูแลบุตรวัยก่อนเรียน เตรียมความพร้อมทางสังคมให้บุตรก่อนเข้าโรงเรียน ขณะเดียวกันอาจต้องเริ่มดูแลบุตรคนต่อไป ระยะที่ 4 ระยะมีบุตรวัยเรียน (families with school children) ระยะนี้บุตรคนแรกอายุ 6-13 ปี ครอบครัวมีภาระในการจัดหาสิ่งเอื้ออำนวยต่อการเรียนรู้ของบุตร ดูแลให้มีการพัฒนาทางด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และเป็นบุคคลที่มีเหตุผล ขณะเดียวกันอาจต้องดูแลบุตรคนต่อไป ระยะที่ 5 ระยะมีบุตรวัยรุ่น (families with teenage) บุตรคนแรกอายุ 13-20 ปี ระยะนี้เน้นการดูแล เพื่อชี้แนะการวางตัว ค่านิยมของสังคม และการดำเนินชีวิตประจำวัน ระยะที่ 6 ระยะที่บุตรแยกออกไปสร้ำงครอบครัวใหม่ (families launching young adults) ตั้งแต่ บุตรคนแรกจนถึงบุตรคนสุดท้ายแยกจากพ่อแม่ครอบครัวไป โดยระยะนี้จะต้องชี้แนะและให้ความช่วย เหลือครอบครัวที่ก าลังเริ่มต้น สนับสนุนครอบครัวใหม่ให้พึ่งตนเองได ระยะที่ 7 ระยะครอบครัววัยกลางคน (middle aged parents/ families of middle years) บุตรแยก ครอบครัวออกไปหมดแล้ว เป็นระยะครอบครัวที่เป็น “รังร้าง” มีเพียงสามีภรรยาอยู่ด้วยกันเพียงสอง คน จนถึงวัยเกษียณจากหน้าที่การงาน บางครอบครัวเริ่มรับบทบาทของการเป็น ปู่ ย่า ตา ยาย ระยะที่ 8 ระยะครอบครัววัยสูงอำยุ (middle in retirement and old age/ aging families) เริ่มจาก ระยะเกษียณจนถึงการสูญเสียชีวิตของคู่สามีภรรยา นับเป็นจุดสุดท้ายของครอบครัว

5 การประเมินครอบครัวโดยใช้ทฤษฎีระยะพัฒนาการ จะเน้นที่วงจรชีวิตครอบครัวที่ทำให้เกิดภาวะ เครียดรวมทั้งปัญหาสุขภาพที่เกิดขึ้น ควรจะครอบคลุมสิ่งต่อไปนี้ 1) ระยะพัฒนาการของครอบครัว และภารกิจของครอบครัวในแต่ละระยะพัฒนาการเหมาะสมหรือไม่ 2) ประวัติครอบครัว ประวัติพัฒนาการและประวัติสุขภาพอื่น ๆ 3) ครอบครัวต้นกำเนิด เพื่อให้ทราบประวัติสุขภาพความเจ็บป่วยของรุ่นปู่ย่า ตายาย และบิดามารดา เป้าหมายของการพยาบาลครอบครัวตามทฤษฎีระยะพัฒนาการครอบครัว คือช่วยให้สมาชิกใน ครอบครัวปฏิบัติหน้าที่ตามภารกิจในแต่ละขั้นตอนของพัฒนาการได้สมบูรณ์ ช่วยให้ครอบครัวพัฒนาไป สู่อีกขั้นตอนหนึ่ง ถ้าการปฏิบัติตามภารกิจไม่สมบูรณ์จะทำให้ครอบครัวไม่สามารถทำหน้าที่ได้ตามปกติ

5 พัฒนกิจของครอบครัว ระยะพัฒนาการ พัฒนกิจ ระยะเริ่มต้นชีวิตครอบครัว - การสร้างความพึงพอใจ รักใครซึ่งกันและกันระหว่างคู่สมรส (beginning families /marital - การสร้างสัมพันธภาพกับเครือญาติทั้งสองฝ่าย stage) - การวางแผนครอบครัว การกำหนดระยะเวลาที่จะมีบุตร และการเต รียมเป็นบิดา มารดา ระยะเริ่มเลี้ยงดูบุตร สิ่งสำคัญในระยะนี้คือ การปรับตัวของคู่สมรสที่จะอยู่ร่วมกัน ตอบ (early childbearing families) สนองความต้องการซึ่งกันและกัน และมีจุดมุ่งหมายในอนาคตร่วม ตั้งแต่บุตรคนแรกจนบุตรอายุ 30 กัน เดือน หรือ 2 ขวบครึ่ง - การปรับบทบาท การเตรียมตัวเป็นบิดามารดา - การสร้างสัมพันธภาพที่ดีระหว่างบิดามารดาและบุตร บิดามารดา จำเป็นต้องเรียนรู้พฤติกรรมการแสดงออกของบุตร - ดำรงไว้ซึ่งการสื่อสารและสัมพันธภาพที่ดีระหว่างคู่สามีภรรยา - จัดแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบของสมาชิกในครอบครัวเพื่อให้ สามารถเลี้ยงดูบุตรและตอบสนองความต้องการของบุตร ระยะมีบุตรวัยก่อนเรียน - จัดสภาพบ้านเรือนและสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสมต่อการส่งเสริม (families with preschool children) พัฒนาการของบุตร และให้มีความปลอดภัยจากอุบัติเหตุและภาวะ เสี่ยงต่าง ๆ รวมทั้งการป้องกันการติดเชื้อ ตลอดจนเอื้อของเล่นที่ บุตรคนแรกอายุ 30 เดือน หรือ 2 เหมาะสมตามวัยแก่บุตร ขวบครึ่ง ถึง 6 ปี - อบรมสั่งสอนบุตร ให้บุตรได้มีการเรียนรู้ที่ถูกต้องเกี่ยวกับระบบ สังคมสิ่งแวดล้อมภายนอกครอบครัว ตลอดจนเป็นแบบอย่างทาง เพศทั้งชายและหญิงให้กับบุตร - กรณีที่มีบุตรคนที่สองในระยะนี้ ครอบครัวจะต้องปรับระบบแบบ แผนการด าเนินชีวิต ต้องสามารถตอบสนองความต้องการของ บุตรคนแรกและเตรียมตัวบุตรคนแรกไม่ให้เกิดปฏิกิริยาอิจฉาน้อง (sibling rivalry) - บิดามารดาควรเตรียมบุตรให้พร้อมก่อนเข้าโรงเรียน โดยค่อย ๆ สร้างความคุ้นเคยต่อสิ่งแวดล้อมใหม่ๆ ให้กับเด็ก รวมทั้งการสอน ระเบียบวินัย - ดำรงไว้ซึ่งสัมพันธภาพที่ดีภายในครอบครัว ทั้งในระหว่างคู่สมรส และระหว่างบิดามารดาและบุตร ตลอดจนสมาชิกอื่น ๆ ในสังคม

5 พัฒนกิจของครอบครัว ระยะพัฒนาการ พัฒนกิจ ระยะมีบุตรวัยเรียน - การอบรมสั่งสอนบุตร และส่งเสริมบุตรในการศึกษา การสร้าง (families with school children) สัมพันธภาพที่ดีกับเพื่อน - คงไว้ซึ่งสัมพันธภาพที่ดีระหว่างคู่สมรส (บิดามารดา) บุตรคนแรกอายุ6-13 ปี - ตอบสนองความต้องการด้านสุขภาพของสมาชิกในครอบครัว ระยะมีบุตรวัยรุ่น - การสร้างดุลยภาพหรือความสมดุลระหว่างความเป็นอิสระ และ (families with teenage) ความรับผิดชอบของวัยรุ่นเพื่อเตรียมเป็นผู้ใหญ่ตอนต้น - คงไว้ซึ่งสัมพันธภาพและการสื่อสารที่ดีในครอบครัว โดยเฉพาะ บุตรคนแรกอายุ 13-20 ปี การเปิดโอกาสให้มีการพูดคุยปรึกษาซึ่งกันและกัน หรือมีการพูดจา อย่างเปิดเผยระหว่างบิดามารดาและบุตรวัยรุ่น - อบรมบทบาทที่เหมาะสมในสังคม ถ่ายทอดแนวทางในการดำเนิน ชีวิตและจริยธรรมแก่บุตรวัยรุ่น เพื่อเตรียมวัยรุ่นให้เป็นผู้ใหญ่ที่ดี ของสังคมในอนาคต ระยะที่บุตรแยกออกไปสร้าง - การปรับตัวของบิดามารดาเมื่อบุตรเริ่มแยกครอบครัวใหม่ ครอบครัวใหม่ - คงไว้ซึ่งสัมพันธภาพและการสื่อสารที่ดีระหว่างสมาชิกใน (families launching young adults) ครอบครัว ถึงแม้จะมีการแยกไปมีครอบครัวใหม่ รวมทั้งคงไว้ซึ่ง สัมพันธภาพที่ดีกับครอบครัว เขยหรือสะใภ้ บุตรคนแรกจนถึงบุตรคนสุดท้าย - คงไว้ซึ่งกิจกรรมกับชุมชนและเพื่อนบ้าน ตลอดจนการใช้เวลาว่าง แยกจากครอบครัวไปเกิด “รังร้าง” ให้เป็นประโยชน์ (empty nest) - ดูแลบิดามารดาที่สูงอายุ ตลอดจนให้การช่วยเหลือดูแลผุ้เจ็บป่วย ซึ่งอาจเป็นสามีหรือภรรยา - ปรับบทบาทการเป็นปู่ย่า ตายาย ได้อย่างเหมาะสม ให้การ สนับสนุนและแนะนำปรึกษาแก่คู่บิดามารดาใหม่ในการเลี้ยงดู บุตร(หลาน)

5 พัฒนกิจของครอบครัว ระยะพัฒนาการ พัฒนกิจ ระยะครอบครัววัยกลางคน - การส่งเสริมสุขภาพให้แข็งแรง รวมทั้งการจัดการดูแลสิ่งแวดล้อม (middle aged parents/ ให้เหมาะสม - คงไว้ซึ่งสัมพันธภาพที่ดีระหว่างสมาชิกในครอบครัว โดยเฉพาะ families of middle years) ระหว่างบิดา มารดาที่สูงวัยกับบุตรที่แยกไปมีครอบครัวใหม่ รวมทั้ง หลาน บุตรแยกครอบครัวออกไปหมด - คงไว้ซึ่งสัมพันธภาพและความพึงพอใจของคู่สมรส เนื่องจากระยะนี้ จนถึงวัยเกษียณจากหน้าที่การงาน เป็นระยะที่ยาวที่สุดของชีวิตครอบครัว อาจใช้ระยะเวลา 16-18 ปี - วางแผนการดำเนินชีวิตหลังเกษียณอายุการทำงาน ได้แก่ การ วางแผนเกี่ยวกับสุขภาพ งานอดิเรก และกิจกรรมในสังคม ระยะครอบครัววัยสูงอายุ - ปรับความพึงพอใจต่อสภาพที่อยู่และสิ่งแวดล้อม (middle in retirement - ปรับค่าใช้จ่ายให้เหมาะสมกับสภาพเศรษฐกิจที่ลดลง - คงไว้ซึ่งสัมพันธภาพที่ดีกับคู่สมรส and old age/ aging families) - การปรับตัวเผชิญการสูญเสียได้อย่างเหมาะสม กรณีคู่สมรสเสียชีวิต - คงไว้ซึ่งสัมพันธภาพที่ดีกับสมาชิกครอบครัวหลายรุ่น เริ่มเมื่ออายุของคู่สมรส 65 ปี (Intergenerational families) ผู้สูงวัยหลายคนมีความสุขที่ได้เห็น ขึ้นไปหรือเกษียณจากงานจนถึง เมื่อมีการสูญเสียชีวิตของคู่สมรส ลูกหลานสืบสกุลต่อไป - เตรียมตัวเผชิญชีวิตในวาระสุดท้ายได้อย่างมั่นคง

5 ปัจจัยเสี่ยงและปัญหาตามระยะพัฒนาการครอบครัว ระยะพัฒนาการ ปัจจัยเสี่ยง ปัญหาสุขภาพ ระยะเริ่มต้นชีวิตครอบครัว - ขาดความรู้การวางแผนครอบครัว - การตั้งครรภ์เร็วเกินไป และระยะเริ่มเลี้ยงดูบุตร - แต่งงานเมื่ออายุยังน้อย (premature pregnancy) - ขาดความรู้เกี่ยวกับบทบาท สถานภาพ - ล้มเหลวในชีวิตสมรส ครอบครัวที่มีเด็กวัยเรียน สมรส เพศสัมพันธ์ และการปรับตัว - ทารกน้ำหนักน้อย (Low – birth - ขาดความรู้การดูแลระยะตั้งครรภ์ weight infant) - ได้รับสารอาหารไม่เพียงพอ - ความพิการแต่กำเนิด - บริโภคนิสัยไม่เหมาะสม - บาดเจ็บจากการคลอด (birth - การสูบบุหรี่ ดื่มเหล้า ติดยา injuries) - ตั้งครรภ์แรกก่อนอายุ 16 ปีหรือมากกว่า - อุบัติเหตุ 35 ปี - ทารกเสียชีวิต - มีประวัติความดันโลหิตสูง - อวัยวะอุ้งเชิงกรานอักเสบ/ติดเชื้อ - ติดเชื้อใน ร ะหว่างตั้งครรภ์ เช่น - เด็กที่เกิดมาปัญญาอ่อน หัดเยอรมัน ซิฟิลิส AIDS - ปัจจัยทางพันธุกรรม - พฤติกรรมผิดปกติ เบี่ยงเบน - ภาวะสังคมเศรษฐกิจไม่ดี - ปัญหาในการพูดและการมองเห็น - ขาดความปลอดภัยภายในบ้าน - โรคติดต่อ - ปัญหาฟันผุ - ไม่มีสิ่งเร้าภายในบ้าน - ปัญหาที่โรงเรียน - บิดามารดาทำงานนอกบ้านและมีการใช้ - ไร้ความสามารถในการเรียนรู้ สถานเลี้ยงเด็กไม่เหมาะสม - มะเร็ง - สิ่งแวดล้อมที่ไม่ถูกสุขลักษณะ - บาดเจ็บ - เด็กที่ได้รับการทารุณหรือถูกทอดทิ้ง - โรคเรื้อรัง - มีบุตรหลายคน มีบุตรถี่เกินไป - ความเชื่อมั่นในครอบครัวต่ า - การติดเชื้อซ้ำ อุบัติเหตุและการรักษาใน โรงพยาบาล - บิดามารดาขาดวุฒิภาวะไม่สามารถ รับผิดชอบครอบครัวได้ - ไม่ตระหนักในปัญหาสุขภาพ - ความเชื่อเกี่ยวกับการลงโทษทางกาย - ไม่ระมัดระวังในการเก็บสารพิษภาวะ ทุพโภชนาการ

5 ปัจจัยเสี่ยงและปัญหาตามระยะพัฒนาการครอบครัว ระยะพัฒนาการ ปัจจัยเสี่ยง ปัญหาสุขภาพ ครอบครัวที่มีวัยรุ่นและระยะแยก - วิถีชีวิตและรูปแบบ พฤติกรรมที่นำไปสู่ - การบาดเจ็บและการตายหมู่ ครอบครัวใหม่ โรคเรื้อรัง - การติดเหล้าและยาเสพติด - ขาดทักษะการแก้ปัญหา - การตั้งครรภ์ที่ไม่พึงปรารถนา - คุณค่าของครอบครัวต่อการแข่งขัน - โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และก้าวร้าว - การฆ่าตัวตาย - ปัจจัยทางด้านสังคมเศรษฐกิจที่นำไปสู่ - ภาวะซึมเศร้า สัมพันธภาพระหว่างกลุ่ม - คุณค่าของครอบครัวต่อการยืดหยุ่นหรือ ไม่ยืดหยุ่น - พฤติกรรมการปฏิเสธ - ความขัดแย้งระหว่างบิดามารดาและเด็ก - แรงกดดันที่จะทำตามความคาดหวังของ ครอบครัว ครอบครัวที่มีเด็กวัยเรียน - ไม่มีสิ่งเร้าภายในบ้าน - พฤติกรรมผิดปกติ เบี่ยงเบน - บิดามารดาทำงานนอกบ้านและมีการใช้ - ปัญหาในการพูดและการมองเห็น - โรคติดต่อ สถานเลี้ยงเด็กไม่เหมาะสม - ปัญหาฟันผุ - สิ่งแวดล้อมที่ไม่ถูกสุขลักษณะ - ปัญหาที่โรงเรียน - เด็กที่ได้รับการทารุณหรือถูกทอดทิ้ง - ไร้ความสามารถในการเรียนรู้ - มีบุตรหลายคน มีบุตรถี่เกินไป - มะเร็ง - ความเชื่อมั่นในครอบครัวต่ า - บาดเจ็บ - การติดเชื้อซ้ำ อุบัติเหตุและการรักษาใน - โรคเรื้อรัง โรงพยาบาล - บิดามารดาขาดวุฒิภาวะไม่สามารถ รับผิดชอบครอบครัวได้ - ไม่ตระหนักในปัญหาสุขภาพ - ความเชื่อเกี่ยวกับการลงโทษทางกาย - ไม่ระมัดระวังในการเก็บสารพิษภาวะ ทุพโภชนาการ

5 ปัจจัยเสี่ยงและปัญหาตามระยะพัฒนาการครอบครัว ระยะพัฒนาการ ปัจจัยเสี่ยง ปัญหาสุขภาพ ครอบครัวที่มีวัยรุ่นและระยะแยก - วิถีชีวิตและรูปแบบ พฤติกรรมที่นำไปสู่ - การบาดเจ็บและการตายหมู่ ครอบครัวใหม่ โรคเรื้อรัง - การติดเหล้าและยาเสพติด - ขาดทักษะการแก้ปัญหา - การตั้งครรภ์ที่ไม่พึงปรารถนา - คุณค่าของครอบครัวต่อการแข่งขัน - โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และก้าวร้าว - การฆ่าตัวตาย - ปัจจัยทางด้านสังคมเศรษฐกิจที่นำไปสู่ - ภาวะซึมเศร้า สัมพันธภาพระหว่างกลุ่ม - คุณค่าของครอบครัวต่อการยืดหยุ่นหรือ ไม่ยืดหยุ่น - พฤติกรรมการปฏิเสธ - ความขัดแย้งระหว่างบิดามารดาและเด็ก - แรงกดดันที่จะทำตามความคาดหวังของ ครอบครัว ครอบครัวผู้ใหญ่วัยกลางคน - ความดันโลหิตสูง การสูบบุหรี่ - โรคระบบหัวใจและหลอดเลือด - ระดับไขมันในเลือดสูง เช่น coronary artery disease - เบาหวาน น้ำหนักมาก และ stroke - ขาดการออกก าลังกาย ความเครียด - มะเร็ง - การใช้ยาเม็ดคุมกำเนิด - ทารกพิการ - เพศ เชื้อชาติ และปัจจัยกรรมพันธุ์ - อุบัติเหตุ - พื้นที่ทางภูมิศาสตร์ ถิ่นที่อยู่อาศัย - ฆาตกรรม การฆ่าตัวตาย - อายุ การว่างงาน - ความเจ็บป่วยทางด้านจิตใจ - การรับประทานอาหารกากใยต่ำ การ ดื่มสุรา การได้รับแสงอาทิตย์ รังสี น้ำหรือ อากาศเป็นพิษ - ชนชั้นทางสังคม ถิ่นที่อยู่อาศัย - ภาวะซึมเศร้า ครอบครัวผู้ใหญ่วัยกลางคน - อายุ การเกษียณจากงาน - โรคเหงือกและฟัน - ขาดการออม - ความสับสนด้านจิตใจ - ภาวะซึมเศร้า ปฏิกิริยาของยา - ความสามารถในการมองเห็นและ - คู่สมรสถึงแก่กรรม การได้ยินลดลง - ความผิดปกติของขบวนการเผา - ความดันโลหิตสูง - โรคติดเชื้อ ผลาญ - ไข้หวัด ปอดบวม - ระดับแคลเซียมสูง โรคเรื้อรัง - บาดเจ็บจากการพลัดตกหกล้ม - รายได้ลด หรือไฟไหม้ น้ำร้อนลวก ภาวะซึมเศร้า - ภาวะทุพโภชนาการ โรคเรื้อรัง - ขาดการออกก าลังกาย - ตายอย่างไม่มีศักดิ์ศรี - ขาดการเตรียมตัวตาย

5 แนวทางการดูแลครอบครัวตามระยะพัฒนาการ ระยะพัฒนาการ แนวทางการพยาบาลครอบครัว ระยะเริ่มต้นชีวิตครอบครัว - รับฟังคำบอกเล่าของสมาชิกภายในครอบครัวด้วยความเห็นอก เห็นใจและจริงใจ ระยะเริ่มเลี้ยงดูบุตร - ร่วมกับครอบครัวค้นหาปัญหา พิจารณาหาสาเหตุและหาทางแก้ไข ปัญหาต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเกี่ยวกับการปรับตัว การปฏิบัติตน ตามบทบาทหน้าที่ในครอบครัว การสื่อความหมาย การศึกษาความ ต้องการและอารมณ์ของคู่สมรส ตลอดจนการวางแผนครอบครัว พร้อมทั้งร่วมกันหาทางแก้ไข - แนะนำให้รับบริการด้านการปรึกษาหารือแก่คู่สมรส (marriage counseling) ที่มีอยู่ในชุมชน - ประสานงานกับหน่วยบริการอื่นเพื่อส่งต่อครอบครัวให้ได้รับ บริการที่เหมาะสม - ให้กำลังใจและประคับประคองจิตใจของคู่สมรสในการเผชิญ ปัญหาต่าง ๆ ในครอบครัว - หากตั้งครรภ์ ให้ความรู้และคำแนะนำเกี่ยวกับการปฏิบัติตน การ ดูแลตนเองในระหว่างตั้งครรภ์ และให้บริการการฝากครรภ์ - ให้ความรู้แก่ครอบครัวเกี่ยวกับการปฏิบัติตนของมารดาและการ เลี้ยงดูทารก รวมทั้งวิธีการสังเกตอาการผิดปกติและการช่วยเหลือ ขั้นต้น - จัดให้มีบริการดูแลสุขภาพอนามัยแก่มารดาและทารกรวมทั้งการ วางแผนครอบครัวในชุมชน - ให้คำแนะนำเกี่ยวกับการให้นม อาหารเสริม และภูมิคุ้มกันโรคตาม วัยของเด็ก - จัดให้มีบริการให้คำปรึกษาแก่ครอบครัว - เยี่ยมบ้านเพื่อติดตามผลคำแนะนำและประเมินพัฒนาการของเด็ก

5 แนวทางการดูแลครอบครัวตามระยะพัฒนาการ ระยะพัฒนาการ แนวทางการพยาบาลครอบครัว ระยะมีบุตรวัยก่อนเรียน - ให้ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันโรคติดเชื้อและการพยาบาลดูแล - แนะนำเรื่องอาหารและการรับภูมิคุ้มกันตามวัย ระยะมีบุตรวัยเรียน - แนะนำเกี่ยวกับการจัดสภาพแวดล้อมและเครื่องใช้ต่าง ๆ ให้ ปลอดภัยแก่เด็กรวมทั้งวิธีป้องกับอุบัติเหตุ - ให้ความรู้เกี่ยวกับการวางแผนครอบครัวและแนะนำให้ไปรับบริการ ที่เหมาะสม - แนะนำให้บิดามารดาสนใจในพฤติกรรมของบุตรและหาทางแก้ไข ด้วยวิธีการนุ่มนวลพร้อมทั้งให้แสดงพฤติกรรมที่เป็นแบบอย่างที่ดี แก่บุตร - รับฟังและให้คำปรึกษาเกี่ยวกับความคับข้องใจในครอบครัว - แนะนำให้ครอบครัวเตรียมตัวเด็กให้พร้อมสำหรับการเข้าเรียน - ส่งต่อครอบครัวไปรับบริการที่เหมาะสม - แนะนำและให้ความรู้แก่เด็ก ผู้ปกครองและบุคลากรของโรงเรียน เกี่ยวกับการป้องกันอุบัติเหตุตลอดจนการปฐมพยาบาล - แนะน าและให้ความรู้เรื่องการป้องกันโรค การปฏิบัติตัวเมื่อเจ็บ ป่วย โภชนาการ การรักษาความสะอาดของร่างกาย และเพศศึกษา - แนะนำให้บิดามารดาเตรียมตัวบุตรให้พร้อมสำหรับการเข้าเรียนทั้ง ร่างกายและจิตใจ - แนะนำให้บิดามารดาให้ความสนใจช่วยเหลือเรื่องการเรียนของ บุตรและส่งเสริมในสิ่งที่บุตรมีความถนัด - แนะนำให้บิดามารดาคอยสอดส่องดูพฤติกรรมของบุตรและ พยายามแก้ไขตั้งแต่เริ่มต้นด้วยการให้เหตุผลและชี้วิธีปฏิบัติที่ถูก ต้องแก่เด็ก รวมทั้งประพฤติตนให้เป็นแบบอย่างที่ดีแก่บุตร - ประสานงานระหว่างบ้านกับโรงเรียนและหน่วยงานอื่นๆในการ แก้ไขปัญหาของเด็ก - ส่งต่อเด็กและครอบครัวที่มีปัญหาไปรับบริการที่เหมาะสม

5 แนวทางการดูแลครอบครัวตามระยะพัฒนาการ ระยะพัฒนาการ แนวทางการพยาบาลครอบครัว ระยะมีบุตรวัยรุ่น - การให้ความรู้แก่เด็กวัยรุ่นเกี่ยวกับเพศศึกษา และการป้องกันโรค ที่เกี่ยวกับเพศสัมพันธ์ ระยะแยกครอบครัวใหม่และ - จัดบริการตรวจสุขภาพเพื่อให้มีการรักษาแต่เริ่มแรก ระยะครอบครัววัยกลางคน - จัดบริการให้คำปรึกษาแก่ครอบครัวและบุคคลวัยรุ่น - ส่งต่อครอบครัวไปรับบริการที่เหมาะสม ระยะครอบครัววัยสูงอายุ - ประสานงานกับหน่วยงานอื่นในชุมชนเพื่อจัดให้มีกิจกรรมสำหรับ วัยรุ่นที่เหมาะสม - การดูแลสุขภาพโดยการจัดบริการตรวจสุขภาพหรือส่งต่อให้ ครอบครัวได้รับบริการตรวจสุขภาพในสถานบริการอื่น เพื่อค้นหา ความผิดปกติเพื่อให้การดูแลแก้ไขก่อนจะมีการเจ็บป่วยมากเกินไป - แนะนำครอบครัวเกี่ยวกับการพักผ่อน การออกกำลังกาย การรับ ประทานอาหารที่มีประโยชน์ และการใช้เวลาว่าง - จัดบริการให้คำปรึกษาหรือเพื่อรับฟังปัญหาและร่วมหาทางแก้ไข - จัดบริการดูแลสุขภาพแก่ผู้สูงอายุทั้งในสถานบริการและที่บ้าน - ให้คำแนะนำในการจัดสภาพบ้านเรือนให้ถูกสุขลักษณะ ปลอดภัย จากอุบัติเหตุและโจรกรรม - ให้คำแนะนำเกี่ยวกับอาหาร การพักผ่อน และการออกกำลังกายที่ เหมาะสมกับสภาพร่างกาย - แนะนำให้บุตรหลานให้การดูแลช่วยเหลือผู้สูงอายุตามความ สามารถ - จัดบริการให้คำปรึกษาเพื่อรับฟังปัญหาและร่วมหาทางแก้ไข - ประสานกับหน่วยงานต่าง ๆ ในชุมชนเพื่อให้การดูแลผู้สูงอายุเป็น ไปอย่างมีประสิทธิภาพ - ส่งต่อผู้สูงอายุไปรับบริการต่าง ๆ ตามความเหมาะสม เช่น เข้ารับ การสงเคราะห์จากหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งทางราชการและเอกชน - แนะนำให้ผู้สูงอายุปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ ที่ตนสนใจตามความ สามารถเพื่อใช้เวลาให้เป็นประโยชน

5 II. ทฤษฎีระบบ (System Theory) ทฤษฎีนี้นำเสนอโดย von Bertalanffy นักชีววิทยา ในปี ค.ศ. 1986 แนวคิดของทฤษฎีระบบ คือสิ่งต่าง ๆ ในโลกดำรงอยู่อย่างเป็นระบบ ปรากฎการณ์ทั้งทางชีวภาพและ กายภาพจะมีลักษณะเหมือนกัน คือ ความเป็นระบบ คำว่า “ระบบ” หมายถึงกลุ่มของบุคคลที่มี ปฏิสัมพันธ์ต่อกัน ทำงานร่วมกันเพื่อบรรลุเป้าประสงค์เฉพาะกลุ่ม ในแต่ละระบบจะมีระบบย่อยที่มี โครงสร้างและหน้าที่เฉพาะ มีความสัมพันธ์กับระบบใหญ่ โดยการทำงานของระบบย่อยก็จะมี วัตถุประสงค์เฉพาะเช่นกัน ระบบเป้าหมายที่ต้องการศึกษา คือ ครอบครัว ส่วนสิ่งแวดล้อม ครอบครัว ได้แก่ สังคม วัฒนธรรมจะเป็นระบบที่ใหญ่กว่าครอบครัว (supra system) องค์ประกอบของระบบ 1. สิ่งนำเข้า (Input) 2. กระบวนการ (Process) 3. ผลผลิต (Output) 4. การประเมินผล (Evaluation) 5. การส่งข้อมูลย้อนกลับ (Feedback) ชนิดของระบบ 1. ระบบเปิด หมายถึงระบบที่มีการแลกเปลี่ยนสสาร พลังงาน หรือข่าวสาร กับสิ่งแวดล้อมตลอดเวลา เป็นระบบที่ต้องการการปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมตลอดเวลาเพื่อดำรงดุลยภาพของระบบหรือเพื่อการ อยู่รอดของระบบ 2. ระบบปิด เป็นระบบที่อยู่ได้ด้วยตัวเอง ไม่จำเป็นต้องพึ่งพาหรือแลกเปลี่ยนสสาร พลังงาน หรือ ข่าวสารกับสิ่งแวดล้อม ซึ่งในสภาพความเป็นจริงนั้นไม่มีสิ่งมีชีวิตใดในโลกที่สามารถอยู่ได้ในระบบปิด จะ ต้องมีการแลกเปลี่ยนพลังงานกับสิ่งแวดล้อมภายนอกไม่มากก็น้อย

5 ระบบครอบครัว 1. ระบบคู่ครอง (spouse system) 2. ระบบบิดามารดา - บุตร (parent child system) 3. ระบบพี่น้อง (sibling system) 4. ระบบย่อยอื่น ๆ (other subsystem)ที่อยู่ในครอบครัว ได้แก่ ระบบเครือญาติ ปู่ย่า ตายาย ลุงป้า น้า หลาน โดยเฉพาะในครอบครัวขยาย คุณสมบัติของระบบครอบครัว 1. ครอบครัวเป็นระบบเปิดทางสังคมวัฒนธรรม 2. ครอบครัวมีการเปลี่ยนแปลงและมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง 3. สมาชิกครอบครัว มีความต้องการพึ่งพาซึ่งกันและกันในระดับใดระดับหนึ่ง 4. ครอบครัวมีขอบเขตที่มีลักษณะเปิดหรือปิด 5. ครอบครัวเป็นกลุ่มสมาชิกที่มีภารกิจร่วมกัน 6. ระบบครอบครัวมีความสามารถที่จะเปลี่ยนแปลงได้ แนวคิดสำคัญของทฤษฎีระบบเมื่อ นำมาประยุกต์ใช้กับครอบครัว แนวคิดที่ 1 ระบบครอบครัวเป็นส่วนหนึ่งของระบบใหญ่ (supra system) และประกอบด้วยหลายระบบย่อย แนวคิดที่ 2 ครอบครัวทั้งระบบเป็นมากกว่าผลรวมของระบบย่อย แนวคิดที่ 3 การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับสมาชิกคนใดคนหนึ่งจะมีผลกระทบต่อสมาชิกคนอื่น แนวคิดที่ 4 ครอบครัวสามารถสร้างความสมดุลระหว่างการเปลี่ยนแปลงและความมั่นคง แนวคิดที่ 5 พฤติกรรมของสมาชิกจะเข้ำใจได้ดีที่สุดในแนวคิดความเป็นเหตุผลซึ่งกันและกัน

5 III. ทฤษฎีโครงสร้างและหน้าที่ (Structural Functional Theory) โครงสร้าง หมายถึง ความสัมพันธ์ของหน่วยต่าง ๆ หรือองค์ประกอบย่อยต่าง ๆที่อยู่ร่วมกัน โครงสร้างครอบครัว จึงหมายถึง วิธีที่ครอบครัวจัดระบบย่อยในครอบครัว และความสัมพันธ์ซึ่งกัน และกันในแต่ละระบบ มิติหรือความหมายของโครงสร้างครอบครัวจะแตกต่างกันไปขึ้นกับแนวคิดของ นักทฤษฎี ในมิติโครงสร้างพื้นฐานครอบครัวจะแบ่งเป็น 4 มิติย่อยที่มีปฏิสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน มี ปฏิสัมพันธ์กันอย่างต่อเนื่องทั้งในสิ่งแวดล้อมภายนอกและภายในระบบของครอบครัว รายละเอียดของโครงสร้างทั้ง 4 มิติ มีดังนี้ มิติที่ 1 โครงสร้างบทบาท (role structure) บทบาทเป็นพฤติกรรมที่บุคคลประพฤติตามสถานภาพ ที่ตนดำรงอยู่ หรือมีบทบาทตามตำแหน่งหน้าที่ (role position) มิติที่ 2 ระบบค่านิยม (value systems) เป็นระบบความคิดความเชื่อที่เกิดจากการเรียนรู้ในครอบครัว หรืออาจมีอิทธิพลมาจากสิ่งแวดล้อมภายนอกครอบครัว มิติที่ 3 กระบวนการสื่อสาร (communication patterns processes) แสดถึงความสามารถใน การแสดงออกของสมาชิกแต่ละคนที่จะสื่ อสารให้ผู้อื่ นในครอบครัวรับรู้ถึงความรู้สึก มิติที่ 4 โครงสร้างอำนาจ (power systems) หมายถึงการที่สมาชิกคนใดคนหนึ่งสามารถที่จะควบคุม พฤติกรรมสมาชิกคนอื่นๆ ในครอบครัว

5 แนวคิดของหน้าที่ (Concept of function) หน้าที่ของครอบครัวจึงหมายถึง กิจกรรมที่ต้องปฏิบัติตามบทบาทที่ได้รับ ซึ่งเกี่ยวข้องโดยตรงกับ โครงสร้างของครอบครัว ครอบครัวมีหน้าที่จะต้องปฏิบัติตามบทบาทที่สังคมคาดหวัง การแสดงบทบาท ของครอบครัวจะเป็นไปตามตำแหน่งหน้าที่ของแต่ละบุคคล หน้าที่หลักสำคัญของครอบครัวที่จะต้อง พิจารณาในการศึกษาหรือให้การดูแลครอบครัวมี 5 ประการ คือ ประการที่ 1 หน้าที่ด้านความรักความเอาใจใส่แก่ครอบครัว (affective function) ประการที่ 2 หน้าที่ในการอบรมเลี้ยงดู (socialization function) ประการที่ 3 หน้าที่ในการผลิตสมาชิกใหม่ (reproductive function) ประการที่ 4 หน้าที่ในด้านเศรษฐกิจ (economic function) ประการที่ 5 หน้าที่ในการดูแลสุขภาพ (health care function) ประเด็นหลักสำหรับทฤษฎีโครงสร้างและหน้าที่คือ ครอบครัวมีโครงสร้างหลัก 4 ประการ คือ โครงสร้างบทบาท ระบบค่านิยม กระบวนการสื่อสาร และโครงสร้างอำนาจที่แสดงให้เห็นกระบวนการ ปฏิสัมพันธ์ในครอบครัวและผลที่เกิดจากปฏิสัมพันธ์ในครอบครัวก็คือ การที่ครอบครัวทำหน้าที่หลัก สำคัญ คือ หน้าที่ด้านความรักความเอาใจใส่ การอบรมเลี้ยงดู การผลิตสมาชิกใหม่ การหารายได้และการ ดูแลสุขภาพ

5 IV. ทฤษฎีวิกฤติหรือ รูปแบบ ABCX (ABCX Model of Family Stress) ภาวะวิกฤต หมายถึงภาวะคับขัน หรือภาวะที่มีการเปลี่ยนแปลงจากปกติ เป็นผลกระทบของ สถานการณ์บางอย่างที่เกิดขึ้น จนทำให้บุคคลและครอบครัวเกิดความเครียดอย่างรุนแรงจนเสียสมดุล ทางอารมณ์และไม่สามารถแก้ปัญหาเหมือนเช่นในเวลาปกติได้ (Figley & Kiser, 2012) สาเหตุของภาวะวิกฤติของครอบครัว 1. ภาวะวิกฤติจากการเปลี่ยนแปลงตามพัฒนาการ เป็นภาวะที่เกิดขึ้นเมื่อบุคคลมีการเปลี่ยนแปลง ทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ 2. ภาวะวิกฤตจากเหตุการณ์เป็นภาวะวิกฤติที่เกิดจากเหตุการณ์ที่ไม่ได้คาดคิดไว้ล่วงหน้า - เกิดจากการเจ็บป่วยและอุบัติเหตุ - เกิดจากสิ่งแวดล้อม - เกิดจากภาวะด้านจิตใจและสังคม ประเด็นหลักสำหรับทฤษฎีโครงสร้างและหน้าที่คือ ครอบครัวมีโครงสร้างหลัก 4 ประการ คือ โครงสร้างบทบาท ระบบค่านิยม กระบวนการสื่อสาร และโครงสร้างอำนาจที่แสดงให้เห็นกระบวนการ ปฏิสัมพันธ์ในครอบครัวและผลที่เกิดจากปฏิสัมพันธ์ในครอบครัวก็คือ การที่ครอบครัวทำหน้าที่หลัก สำคัญ คือ หน้าที่ด้านความรักความเอาใจใส่ การอบรมเลี้ยงดู การผลิตสมาชิกใหม่ การหารายได้และการ ดูแลสุขภาพ ทฤษฎีวิกฤติหรือ รูปแบบ ABCX เป็นทฤษฎีที่มุ่งเน้นความสัมพันธ์ของปัจจัยในครอบครัวที่เกิดภาวะวิกฤติมองครอบครัวเป็นระบบ โดยมีแนวคิดว่าทุกครอบครัวต่างประสบปัญหาที่แตกต่างกัน รูปแบบการปรับตัว Double ABCX model 2 ระยะมีตัวแปรสำคัญ ดังนี้ (Hanson et al., 2005; Kaakinen et al., 2015) 1. ระยะการรับมือชั่วคราว (Adjustment phase) เมื่อครอบครัวเผชิญกับการเสียสมดุลจากสถานการณ์วิกฤติใด ๆ (stressor; A)การปรับตัวหรือการ ปฏิกิริยาสนองตอบต่อสถานการณ์วิกฤติดังกล่าวจะขึ้นอยู่กับทุนทางสังคมหรือแหล่งประโยชน์ของ ครอบครัว (resources; B) ครอบครัวจะเกิดการรับรู้หรือตีความ (perception; C) ต่อเหตุการณ์ส่ง ผลทำให้ครอบครัวเผชิญกับภาวะวิกฤติ (crisis; X)

5 2. ระยะการปรับตัวถาวร (Adaptation phase) ครอบครัวที่เผชิญกับเหตุการณ์วิกฤติและผ่านระยะการรับมือชั่วคราวไปแล้ว แต่ครอบครัว ยังไม่สามารถแก้ไขเหตุการณ์วิกฤตินั้นได้หรือแก้ไขได้ไม่ดีหรือเหตุการณ์นั้นก่อให้เกิดปัญหาเพิ่ม มากขึ้น (aA) ส่งผลให้ครอบครัวเกิดภาวะวิกฤติต่อเนื่อง แหล่งประโยชน์และแหล่งสนับสนุนใหม่ (bB) ของครอบครัวจะมีผลต่อระดับความรุนแรงของภาวะวิกฤติและระดับความรุนแรงของผลกระ ทบที่จะเกิดขึ้น ทำให้ครอบครัวเกิดการรับรู้ใหม่และมีผลต่อระบบความเชื่อของครอบครัว (cC) ต่อ ความสัมพันธ์ระหว่างแหล่งช่วยเหลือกับปัจจัยความต้องทั้งหมดของครอบครัวที่เกิดขึ้นต่อ สถานการณ์วิกฤตินั้น เกิดเป็น Double ABC-X model ของวิกฤตการณ์ครอบครัว

5 V. ทฤษฎีชีวนิเวศวิทยา (Bioecological Systems theory) พัฒนาขึ้นโดย ยูรีบรอนเฟนเบรนเนอร์ (Urie Bronfenbrenner) เชื่อว่าพัฒนาการของมนุษย์ ไม่สามารถเกิดขึ้นได้เพียงลำพัง ต้องอาศัยระบบอื่น ๆ ด้วย กล่าวคือ การพัฒนาของมนุษย์เป็นผล จากการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างการเจริญเติบโตของมนุษย์และการเปลี่ยนแปลงของสถานที่ที่บุคคลนั้น อาศัยอยู่และสิ่งแวดล้อมที่ซับซ้อน (nested systems) ที่แบ่งเป็น 4 ระบบ ได้แก่ สิ่งแวดล้อมระบบ เล็ก (micro-system) สิ่งแวดล้อมระบบกลาง (meso-system) สิ่งแวดล้อมระบบภายนอก (exo- system) และสิ่งแวดล้อมระบบใหญ่ (macrosystem) องค์ประกอบของทฤษฎีชีวนิเวศวิทยา (PPCT model) 1. กระบวนการ (Process) คือ การมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคลที่เป็นศูนย์กลางของระบบกับบริบท แวดล้อมรอบตัว 2. บุคคล (Person) ต้องมีการพิจารณาคุณลักษณะของบุคคลทั้งหมด 4 ด้าน - ด้านความต้องการ (demand characteristics) - ทรัพยากรภายใน (bioecological resources) - ด้านการแสดงออก (dispositions) - ด้านลักษณะทางประชากร (demographic characteristics) 3. บริบทแวดล้อม (Context) หน้าที่ในการผลิตสมาชิกใหม่ (reproductive function) หมายถึงสิ่ง แวดล้อมที่อยู่รอบตัวของบุคคล บริบทแวดล้อมมีความซับซ้อนแบ่งออกเป็น 4 ระบบ - ระบบเล็ก (micro-systems) - ระบบกลาง (meso-systems) - ระบบภายนอก (exo-systems) - ระบบใหญ่ (macro-systems) 4. เวลา (Time) คือองค์ประกอบที่ใช้ในการอธิบายการเปลี่ยนแปลงหรือความสอดคล้องที่เกิดขึ้น

5 ทฤษฎีครอบครัวบำบัด (Family Therapy Theory) ทฤษฎีครอบครัวบำบัดได้รับการพัฒนาขึ้นเพื่อทำงานร่วมกับครอบครัวที่มีปัญหา ดังนั้นจึงเน้น ที่ปัญหาของครอบครัวเป็นหลัก และมองครอบครัวว่ามีความสัมพันธ์กับระบบอื่น ๆ Family Therapy แนวคิด Theories - มองครอบครัวว่าเป็นระบบเปิด มีความเกี่ยวข้องกับระบบสังคม ทฤษฎีการบำบัดครอบครัวเชิง วัฒนธรรม สมาชิกในครอบครัวต้องเผชิญกับความต้องการที่ โครงสร้าง เปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่องจากทั้งภายในและภายนอกครอบครัว (Structural Family Therapy - จุดเน้นของทฤษฎีอยู่ที่ระบบครอบครัวทั้งหมด ที่คำนึงถึงระบบ Theory) ย่อยในครอบครัว ขอบเขตของแต่ละบุคคล การรวมกลุ่ม ตลอดจน รูปแบบและกฎระเบียบของครอบครัว ทฤษฎีการบำบัดครอบครัวเชิง - แผนภูมิความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกในครอบครัวแสดงถึงพลวัต ระบบ (Family Systems และขอบเขตระหว่างระบบย่อยต่าง ๆ นักบำบัดพยายามขจัดความ Therapy Theory) สัมพันธ์ที่ผิดปกติภายในครอบครัวและทำให้กลับมามีสุขภาพที่ดีขึ้น ทฤษฎีการให้คำปรึกษา - มุ่งเน้นการส่งเสริมให้ยอมรับความแตกต่างระหว่างบุคคลจาก ครอบครัวเชิงการสื่อสาร สมาชิกในครอบครัว (Communication Family - สมาชิกในครอบครัวจะได้รับการสนับสนุนให้ทบทวนตนเองและ Therapy Theory) ครอบครัว เพื่อให้ได้รับข้อมูลเชิงลึกและได้ทำความเข้าใจตนเองและ ครอบครัวทั้งในอดีตและปัจจุบัน - การบำบัดตามแนวคิดนี้ต้องการใช้ระยะเวลาที่ยาวนาน - มองว่าครอบครัวเป็นระบบที่มีพฤติกรรมแบบโต้ตอบหรือเชื่อม โยงกัน และมีกระบวนการสื่อสารกันภายในสมาชิกครอบครัว - มุ่งเน้นปัจจุบันมากกว่าอดีต - การบำบัดมุ่งเน้นไปที่การสร้างการสื่อสารที่ชัดเจน สอดคล้องกัน และการเปลี่ยนแปลงกฎของครอบครัว

5 ทฤษฎีการให้คำปรึกษาครอบครัวเชิงการสื่อสาร (Communication Family Therapy Theory) แนวคิดซาเทียร์โมเดล (Satir model) Virginia Satir เป็นบุคคลสำคัญและถือว่าเป็น “มารดาแห่งการบำบัดด้วยครอบครัว” แนวคิด ของซาเทียร์โมเดล (Satir model) เป็นแนวทางในการปฏิบัติเพื่อให้บุคคลและครอบครัวเข้าใจในความ คิดและพฤติกรรมของตนเองและผู้แวดล้อมใกล้ชิด มีเป้าหมายเพื่อให้บุคคลและครอบครัวเลือกและ กำหนดวิถีแนวทางชีวิตด้วยตนเอง เน้นการเปลี่ยนแปลงจากภายในของบุคลด้วยตัวบุคคลเอง แนวคิด ซาเทียร์โมเดลเป็นทฤษฎีการบำบัดที่เน้นระบบครอบครัว โดยมี 3 องค์ประกอบ (ดารุณีจงอุดมการณ์, 2558) องค์ประกอบ คำอธิบาย 1. บุคคล บุคคลมีธรรมชาติที่เหมือนกัน ทั้งนี้ความแตกต่างเกิดขึ้นจากกา รพัฒนาและเติบโของแต่ละบุคคล บุคคลต้องค้นพบข้อดีและการ 2. การปรับตัว มองมุมบวกด้วยตนเอง เพื่อให้เกิดความภาคภูมิใจในตนเอง 3. ความเชื่อเกี่ยวกับ บุคคลมีศักยภาพในการปรับตัวและพัฒนาตนเอง ปัญหาจะไม่ใช่ การเปลี่ยนแปลง ปัญหา หากบุคคลสามารถปรับตัวและลดผลกระทบที่เกิดขึ้นได้ การ ปรับตัวที่เกิดขึ้นแสดงถึงระดับการมีคุณค่าในตนเอง 1. การเปลี่ยนแปลงสามารถเกิดขึ้นได้ตลอดเวลา 2. ความหวังเป็นสิ่งสำคัญที่จะนำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง 3. การมองปัญหาของบุคคลให้เน้นมุมมองด้านบวกและมองความ เป็นไปได้ในการเปลี่ยนแปลงอย่างมีเป้าหมาย แทนการมองปัญหา หรือพยาธิสภาพ 4. การเปลี่ยนแปลงและดูแลครอบครัวให้เริ่มที่บุคคลเข้าใจตัวตน (self) ซึ่งเป็นวิธีการที่ดีที่สุด 5. เป้าหมายในการดูแลมีดังนี้ - เพิ่มความรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง - บุคคลสามารถเลือกทางเลือกได้ด้วยตนเอง - บุคคลเป็นผู้รับผิดชอบต่อสิ่งที่ตนเองกระทำและเลือก - บุคคลสามารถปรับตัวได้อย่างสอดคล้องกลมกลืน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook