Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการจัดทำวิทยานิพนธ์ระดับบัณฑิตศึกษา 2561

คู่มือการจัดทำวิทยานิพนธ์ระดับบัณฑิตศึกษา 2561

Published by nirut_g, 2019-06-22 04:45:14

Description: โดยสำนักบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

Search

Read the Text Version

- 47 - ในกรณีที่เป็นผู้แต่งชาวต่างประเทศ ให้ข้ึนต้นด้วยชื่อสกุล ตามด้วยอักษรย่อช่ือต้นโดย เว้น 1 ระยะ และอักษรย่อช่ือกลาง (ถ้ามี) ทั้งนี้การกลับชื่อสกุลให้ใช้ตามความนิยมของคนในชาตินั้น โดยใช้เครื่องหมายจลุ ภาค (,) คั่นระหวา่ งช่ือสกุลและอักษรย่อช่ือต้น อักษรย่อชอ่ื กลาง และกรณที ่ีผู้แต่ง มคี าต่อท้ายเช่น Jr. และ III หรือคาอื่น ๆ ก็ให้ใส่คาดังกล่าวต่อทา้ ยอักษรย่อช่ือต้นหรอื อกั ษรย่อช่ือกลาง (ถ้ามี) โดยคน่ั ดว้ ยเครื่องหมายจลุ ภาค (,) เชน่ Herren, R. V. (1994). The science of animal agriculture. Albany, Ny: Delmar Publisher. ข. กรณีหนังสือที่ไม่ปรากฏช่ือผู้แต่ง แต่มีบรรณาธิการหรือผู้รวบรวม และต้องการอ้าง ถึงหนังสือทั้งเล่ม ให้ใส่ชื่อบรรณาธิการหรือผู้รวบรวมแทนผู้แต่ง โดยงานที่เป็นภาษาไทยให้ใช้คาว่า “บรรณาธิการ” หรือ “ผู้รวบรวม” หากเป็นภาษาต่างประเทศ ให้ใช้คาย่อ “Ed.” สาหรบั บรรณาธิการ 1 คน หรือ “Eds.” สาหรับบรรณาธิการมากกว่า 1 คน และคาย่อ “Comp.” สาหรับผู้รวบรวม 1 คน หรือ “Comps.” สาหรับผรู้ วบรวมมากกว่า 1 คน ใส่ไว้หลังชือ่ ผูแ้ ต่งในเคร่ืองหมายวงเลบ็ ( ) เชน่ จรัสวัฒน์ ไตรรัตน์ (บรรณาธิการ) Forves, S. M. (Ed.) สออ้ น แสนสภุ า (ผรู้ วบรวม) Stock, G., & Campbell, J. (Eds.) ค. กรณีมีผู้แต่ง 2 คน ให้ใส่ช่ือทั้งสองคนตามลาดับท่ีปรากฏ เช่ือมด้วยคาว่า “และ” ระหวา่ งคนที่ 1 และคนที่ 2 โดยเวน้ 1 ระยะกอ่ นและหลงั เช่น นพิ นธ์ วสิ ารทานนท์ และจกั รพงษ์ เจิมศิริ. (2541). โรคผลไม.้ กรงุ เทพฯ: สานักวจิ ยั และพัฒนาการเกษตร เขตที่ 6. หากเป็นหนังสอื ทีม่ ผี แู้ ต่งชาวไทยและชาวตา่ งชาติ ใหล้ งรายการตามความนิยมของชาติ น้ัน ๆ เชน่ Thaithong, S., & Geoffrey. B. (1992). Malaria parasites. Bangkok, Thailand: Chulalongkorn University. หากเป็นภาษาอังกฤษ ให้เชื่อมด้วยเครื่องหมาย “&” โดยใช้ช่ือสกุลมาก่อน ตามด้วย อกั ษรย่อชือ่ ต้นและอกั ษรยอ่ ชื่อกลาง โดยเวน้ 1 ระยะกอ่ นและหลัง เชน่ Nathalie, D.-C., & Larry, M. (2011). Immigrants, English, and the workplace: Evaluating employer demand for language education in manufacturing Companies. Journal of Workplace Learning, 23(3), 209-223.

- 48 - ง. กรณีผู้แต่งมีตั้งแต่ 3-7 คน ให้ใส่ชื่อผู้แต่งทุกคน โดยใช้เคร่ืองหมายจุลภาค (,) ค่ัน ผู้แต่งแต่ละคน และใช้คาว่า “และ” ก่อนชื่อผู้แต่งคนสุดท้าย ในกรณีท่ีเป็นผู้แต่งชาวต่างประเทศให้ใส่ ช่ือผู้แต่งทุกคน โดยใช้เคร่ืองหมายจุลภาค (,) ค่ันระหว่างผู้แต่งแต่ละคน และใช้เครื่องหมาย “&” ก่อน ชอื่ ผู้แต่งคนสดุ ทา้ ย โดยเว้น 1 ระยะ เช่น หิรัญ หริ ัญประดิษฐ์, สุขวัฒน์ จนั ทรปรณิก และ เสรมิ สุข สลกั เพช็ ร. (2540). เทคโนโลยกี ารผลติ ทเุ รียน. กรุงเทพฯ: มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์. พิภพ ปราบณรงค.์ เดชา นนั ทพิชัย, สุธีระ ทองขาว, เจนจริ า แก้วรตั น์, ธีระพันธ์ จฬุ ากาญจน์ และ ชยั ยะ ฉตั รเวชศริ กิ ุล. (2546). รายงานฉบับ สมบรู ณโ์ ครงการออกแบบและพัฒนาระบบฐานข้อมลู เพื่อการท้องถิน่ และ พัฒนาจงั หวัดนครศรธี รรมราช กระบี่ ชุมพรและระนอง. นครศรธี รรมราช: มหาวทิ ยาลยั วลัยลกั ษณ์ ร่วมกับ สานกั งานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. Toplis, J., Dulewicz, V.l., & Fletcher, C. (1991). Psychological testing: A manager’s guide (2nd ed). London, England: Institute of Personnel Management. Gazda, F. M., Balzer, F. J., Childers, W. C., Nealy, A. U., Phelps, R. E., & Walters, R. P. (2005). Human relations development : A manual for Educators (7th ed.). Boston, MA: Pearson Educational. จ. กรณีผู้แต่งมี 8 คนขึ้นไป หากเป็นเอกสารภาษาไทยให้ใส่ช่ือและนามสกุลของผู้แต่ง ทุกคน หากเป็นเอกสารต่างประเทศให้ใส่เฉพาะชื่อสกุลของผู้แต่งทุกคน คั่นด้วยเคร่ืองหมายจุลภาค (,) ระหว่างผู้แต่งแต่ละคน และใช้เครื่องหมาย “...” (จุด 3 จุด) คั่นระหว่างผู้แต่งคนท่ี 6 และ ผู้แต่งคน สุดทา้ ย เช่น นพรัตน์ เศรษฐกลุ , เอกชัย เอกทัฬห์, พงศธ์ ร บรรณโสภษิ ฐ,์ ชยตุ ม์ สุขทพิ ย,์ ปรชี า วิทยพนั ธุ์, จีรศักด์ิ แสงศริ ,ิ ... ดาริน รุ่งกลน่ิ . (2552). ระบบสารสนเทศท้งั ภมู ิศาสตรล์ ุ่มนา้ ปากพนงั : การจัดการพื้นทีป่ า่ ต้นน้าในลุ่มนา้ ปากพนัง เพือ่ รักษาสภาพแวดล้อมและระบบนิเวศ. นครศรีธรรมราช: มหาวทิ ยาลัย วลยั ลกั ษณ.์ Watson, S., Gunasekara, G., Gedye, M., van Roy, Y., Ross, M., Longdin, L., … Brown, L. (2003). Law of business organizations (4th ed.). Auckland, New Zealand: Palatine Press.

- 49 - ฉ. กรณีผแู้ ต่งใช้นามแฝง หากทราบนามจรงิ ให้วงเล็บนามจรงิ ไว้ แต่หากไมท่ ราบให้ระบุ (นามแฝง) ตามทป่ี รากฏ เชน่ ลักษณะวดี (วมิ ล เจียมเจรญิ ) กง่ิ ฉตั ร (นามแฝง) Idris ช. กรณีผู้แต่งเป็นสถาบนั ให้ลงชื่อสถาบันน้ัน ๆ ตามท่ีปรากฏ โดยไม่ตอ้ งกลบั ชื่อ หน่วยงานใด ๆ ทัง้ สน้ิ และเว้นวรรคจากชอ่ื หน่วยใหญ่ไปหาชือ่ หน่วยงานย่อย เชน่ มหาวิทยาลัยมหิดล คณะเภสชั ศาสตร์ ภาควิชาเภสชั วิทยา การท่องเท่ยี วแห่งประเทศไทย มหาวทิ ยาลยั วลัยลักษณะ สานกั วชิ าสารสนเทศศาสตร์ ซ. หากไมป่ รากฏผ้แู ต่ง ผรู้ วบรวมหรอื บรรณาธกิ าร ใหใ้ ส่ชื่อเรอื่ งหรือชอ่ื หนังสอื แทน รายการผู้แต่ง เชน่ ชีวประวตั ิ พระหลา้ เขมปตโต 1.2 ปีที่พิมพ์ ก. ใหร้ ะบุเฉพาะตวั เลข ไมต่ ้องระบุคา พ.ศ. หรอื ค.ศ. ไวใ้ นเครอื่ งหมายวงเลบ็ ( ) เสมอ เชน่ Baxter, C. (1997). Race equality in health education. Philadelphia, PA: Balliere Tindall. ข. หากกรณีไม่มีปีพิมพ์ แต่มีปีลิขสิทธิ์ (copyright) ให้ใส่ปีลิขสิทธ์ิแทน โดยไม่ต้องใส่ ตัวอกั ษร C กากบั เช่น 2009 เปน็ ตน้ ค. หากหนา้ ปกในไมป่ รากฏปีท่ีพิมพ์ จาเป็นต้องหาปที ี่พิมพจ์ ากส่วนอ่ืน ๆ แทน เช่น คา นา หรือด้านหลงั ปกหลัง ให้ระบุไวใ้ นเคร่ืองหมายวงเลบ็ เหลย่ี ม [ ] แทน เช่น [2479]. ง. หากไม่ปรากฏปีที่พิมพ์ให้ใส่ ม.ป.ป. หมายถึง ไม่ปรากฏปีท่ีพิมพ์ สาหรับงานที่เป็น ภาษาไทย และใส่ n.d. หมายถึง no date สาหรับงานท่ีเป็นภาษาต่างประเทศแทน โดยใส่ไว้ใน เครื่องหมายวงเล็บเหล่ียม [ ] เชน่ [ม.ป.ป]. หรือ [n.d.]

- 50 - จ. หากเป็นการอ้างอิงบทความจากนิตยสาร จดหมายข่าวหรือหนังสือพิมพ์ ทั้งใน รูปแบบฉบับพิมพ์และอิเล็กทรอนิกส์ ต้องระบุปี เดือน และวันของบทความ โดยใช้เคร่ืองหมายจุลภาค (,) คน่ั สาหรับรูปแบบของการระบุให้เป็นไปตามธรรมเนียมนยิ มของภาษานั้น เช่น ไตรรตั น์ สนุ ทรประภสั สร. (8 พฤศจิกายน 2540). “อนาคตจนี -อเมรกิ า.” เดลินวิ ส,์ 6. Suthon Sukprisit. (1997), October 25). “Big fun in little China.” Bangkok Post, 1. ฉ. หากเป็นเอกสารหรือโปสเตอร์จากการประชุมหรือการสัมมนา ให้ใส่ปีและเดือนของ การจัดประชุมหรือสัมมนา โดยใช้เคร่ืองหมายจุลภาค (,) ค่ัน สาหรับรูปแบบของการระบุให้เป็นไปตาม ธรรมเนยี มนิยมของภาษาน้ันเช่นกัน ช. หากเป็นการเขยี น (posting) ลงในบล็อก (blogs) กระดานข่าว (message boards) รายช่ือในอิเล็กทรอนิกส์เมล์ เป็นต้น ให้ใช้ปีตามด้วยเดือนและวันท่ี โดยใช้เครื่องหมายจุลภาค (,) คั่น สาหรบั รูปแบบของการระบใุ หเ้ ปน็ ไปตามธรรมเนียมนิยมของภาษานน้ั เช่นกนั ซ. งานที่อยู่ระหว่างการจัดพิมพ์เผยแพร่ ให้ใช้คาว่า (กาลังจัดพิมพ์) สาหรับที่เป็น ภาษาไทย และใช้คาว่า (in press) สาหรับงานภาษาต่างประเทศ ขอ้ สังเกต ใหป้ ิดทา้ ยสว่ นสถานท่ีพิมพ์ดว้ ยเครื่องหมายมหัพภาพ (.) เสมอ 1.3 ชอื่ หนงั สอื หรือช่ือเรื่อง ก. ชอ่ื เรอื่ งหรอื ชือ่ หนังสอื ให้เขยี นตามที่ปรากฏในหนา้ ปกในของหนังสอื โดยให้พมิ พ์ ตวั หนา เช่น เทยี นฉาย กีระนันท.์ (2542). การวิเคราะหต์ ลาดแรงงาน: แนวคิดเชิงทฤษฎี. กรุงเทพฯ: จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั . ข. ชื่อเรื่องที่เป็นภาษาต่างประเทศ ให้พิมพ์อกั ษรตัวพิมพ์ใหญ่ (capital letter) เฉพาะ คาแรกของช่ือเร่ือง ชื่อเรื่องรอง (หากมมี ักปรากฏอยู่หลงั เครื่องหมายทวิภาค (:)) และช่ือเฉพาะและหาก ภายในมชี ื่อเรือ่ งท่มี คี ายอ่ ให้พิมพต์ ามทปี่ รากฏในเอกสารต้นฉบับ

- 51 - ค. หากมีชื่อรอง (sub-title) ซึ่งมักจะเป็นคาอธิบายช่ือเร่ือง ให้ใส่ตามหลังช่ือเรื่องหลัก คั่นด้วยเคร่ืองหมายทวิภาค (:) แต่หากมภี าษาตา่ งประเทศกากับ ให้ใส่เฉพาะชอ่ื ภาษาไทย เชน่ ปรชี า จาปารตั น์ และ ไพศาล ชยั มงคล. (2520). การบริหารพสั ดุ: ทฤษฎแี ละปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: ไทยวฒั นาพานชิ . Banta, G. R. (1982). Asia cropping systems research: Microeconomic evaluation Procedures. Ottawa, Canada: International Development Research Center. ง. หากชื่อเรื่องมีทั้งภาษาไทยและภาษาตา่ งประเทศ ใหใ้ ส่เฉพาะภาษาไทย เช่น หนังสือ ชื่อ “เรอื่ งราวตา่ ง ๆ เกีย่ วกับประเทศไทย (Essay on Thailand)” ใหร้ ะบดุ งั น้ี ธนพล จาดใจด.ี (2537). เรอ่ื งราวต่าง ๆ เก่ียวกบั ประเทศไทย. กรุงเทพฯ: ธนพลวทิ ยาการ. จ. สาหรับช่ือเร่ืองท่ีเป็นงานภาษาต่างประเทศที่ไม่ใช่ภาษาอังกฤษ หากต้องการใส่ชื่อที่ แปลเป็นภาษาอังกฤษ ให้ใส่ไว้ในเคร่ืองหมายวงเล็บเหล่ียม [ ] ต่อจากชื่อเรื่องภาษานั้น ๆ โดยใช้ ตวั อกั ษรปกติ เชน่ Bahaya laten komunisme di Indonesia [Dynamics of Indonesian history] ฉ. สาหรับช่ือหนังสือที่เขียนเป็นภาษาไทยแต่ชื่อเร่ืองเป็นภาษาต่างประเทศ ให้ถอดคา เป็นภาษาไทยก่อนแล้วจึงใส่ช่ือภาษาต่างประเทศไว้ในเครื่องหมายวงเล็บ ( ) โดยใช้หลักของการทับ ศพั ท์ เชน่ โนต้ บ๊คุ (Note Book) เป็นต้น ช. ข้อมลู ที่เกี่ยวกับเอกสาร เช่น ครงั้ ที่พมิ พ์ เล่มท่ีของหนังสือ ลาดับท่ีของรายงาน เป็น ตน้ ให้ใสไ่ วใ้ นเครือ่ งหมายวงเล็บ ( ) ต่อจากช่ือเรื่องโดยไม่ตอ้ งมีเครอ่ื งหมายใด ๆ ค่ัน และไมใ่ ช้ตัวอกั ษร หนากบั ข้อมลู ส่วนน้ี กลยุทธก์ ารจัดการนวัตกรรมทางธุรกิจ (พิมพ์ครัง้ ท่ี 3). Encyclopedia of psychology (Vol. 1, pp. 319-327). Advanced topics in global information management (Vol. 5, 26)

- 52 - 1.4 ครงั้ ที่พมิ พ์ ให้ใส่คร้ังท่ีพิมพ์ต้ังแต่ครั้งท่ีสองเป็นต้นไปหรือเป็นการจัดพิมพ์ใหม่ท่ีมีการแก้ไข ให้ระบุ ขอ้ ความกากับไว้ตามหลังช่ือเรื่อง โดยใส่ไว้ในเคร่ืองหมายวงเลบ็ ( ) และเว้น 1 ระยะจากช่อื เรอ่ื ง ไมว่ ่า ชือ่ เร่ืองจะอยู่ในตาแหน่งใด หากเป็นภาษาต่างประเทศให้ระบุลาดับที่ของการนับตัวเลขด้วย เช่น พิมพ์ ครัง้ ที่สอง (2nd ed.) ฉบับปรบั ปรงุ (Rev. ed.) เช่น เรอื่ งราวเกยี่ วกบั ประเทศไทย (พิมพ์คร้งั ที่ 2). Harry Potter (5th ed.). ขอ้ สังเกต หากใส่ครั้งท่ีพิมพ์หลังช่อื เร่ือง จะเว้นระยะ 1 ระยะก่อนครั้งที่พิมพ์ แต่จะใส่ เครื่องหมายมหพั ภาค (.) หลังครงั้ ที่พมิ พ์เท่านั้น และไม่ใช้ตวั อักษรเอนหรอื หนากบั ข้อมูลนี้ 1.5 สถานทีพ่ ิมพ์ ก. ให้ลงช่ือเมืองและรัฐซึ่งเป็นที่ต้ังของสานักพิมพ์ตามท่ีปรากฏในหน้าปกใน โดยหาก เป็นสานักพิมพ์ท่ีอยู่นอกประเทศสหรัฐอเมริกา ให้ใส่ชื่อเมืองและตามด้วยชื่อประเทศเป็นช่ือเต็มเสมอ ยกเว้นช่ือเมืองหรือรัฐของประเทศสหรัฐอเมริกา ให้ใส่ชื่อรัฐและตามด้วยอักษรย่อช่ือเมือง 2 ตัวที่ได้ กาหนดไว้ ค่ันดว้ ยเครื่องหมายจลุ ภาค (,) และเวน้ 1 ระยะหลงั เครอื่ งหมาย New York, NY: Lawrence Erlbaum Associates London, England: Academic Auckland, New Zealand: Calico Publishing หมายเหตุ หากเปน็ เอกสารภาษาไทยและสานักพิมพ์อยูใ่ นประเทศไทย ให้ใช้ช่ือจังหวัด หรือเมืองเท่านน้ั ไม่ต้องระบุชอื่ ประเทศ เชน่ กรุงเทพฯ: มตชิ น นครศรีธรรมราช: ดีชยั ข. หากไมป่ รากฏชอ่ื เมอื งให้ใส่ ม.ป.ท. หมายถงึ ไม่ปรากฏสถานทีพ่ ิมพ์ สาหรบั เอกสาร ท่ีเป็นภาษาไทย และ n.p. (no place) สาหรับเอกสารท่ีเป็นภาษาต่างประเทศ โดยใส่ในเคร่ืองหมาย วงเล็บเหลย่ี ม [ ] เช่น [ม.ป.ท.] หรอื [n.p.] ขอ้ สังเกต ให้ปิดท้ายส่วนสถานทพี่ ิมพด์ ้วยเคร่อื งหมายทวภิ าค (:) เสมอ โดยไมต่ ้องเว้นระยะ 1.6 สานกั พมิ พ์หรอื ผูจ้ ดั พมิ พ์ ก. ใหร้ ะบุชือ่ สานักพมิ พห์ รอื ผู้จดั พิมพต์ ามท่ปี รากฏในหน้าปกใน เชน่ เออารบ์ ิซิเนสเพลส John Wiley & Sons

- 53 - ข. หากมีหลายสานักพิมพ์ ให้ใส่ชื่อสานักพิมพ์แรกหรือช่ือสานักพิมพ์ที่พิมพ์ด้วยอักษร ตวั เข้มหรือตวั ใหญ่เป็นพิเศษ ค. หากไม่ปรากฏช่ือสานักพิมพ์ท้ังในหน้าปกใน หลังหน้าปกใน ให้ใส่ช่ือโรงพิมพ์แทน เชน่ โรงพมิ พค์ ุรสุ ภาลาดพร้าว เป็นตน้ ง. หากเป็นส่ิงพิมพ์ที่ผลิตโดยหน่วยงานของรัฐ ให้ใส่ช่ือสถาบันเป็นสานักพิมพ์ได้ เช่น สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ยกเว้นในกรณีที่เป็นหน่วยงานเดียวกันกับท่ีปรากฏในชื่อ ผู้แต่ง ให้เขียนดว้ ยคาย่อ เช่น กรมการศาสนา. (2542). วัดธรรมกาย. กรุงเทพฯ: กรมฯ. จ. ส่วนคาประกอบทัง้ หลาย เช่น สานักพิมพ์ บรษิ ัท หา้ งหุ้นส่วนจากัด Incorporation, Limited, Ltd. ให้ตัดออก เชน่ สานกั พมิ พไ์ ทยวัฒนาพานชิ จากัด ใชค้ าว่า ไทยวฒั นาพานชิ หรือ Longman Group Ltd. ใช้คาวา่ Longman Group เป็นตน้ ฉ. ในกรณีท่ีไม่ปรากฏชื่อสานักพิมพ์ หรือโรงพิมพ์ ให้ระบุคาว่า ม.ป.พ. หมายถึง ไม่ ปรากฏสานักพิมพ์ สาหรับเอกสารท่ีเป็นภาษาไทย และใช้คาว่า n.p. หมายถึง no publisher สาหรับ เอกสารทีเ่ ป็นภาษาตา่ งประเทศ โดยระบุไว้ในเครื่องหมายวงเลบ็ เหล่ียม เชน่ [ม.ป.พ.] หรือ [n.p.] ถ้าไม่ ปรากฏสานกั พิมพ์หรอื โรงพิมพ์ ลงวา่ ม.ป.พ. หรือ n.p. ขอ้ สงั เกต ให้ปดิ ทา้ ยสว่ นสถานทพ่ี มิ พด์ ้วยเครอ่ื งหมายมหัพภาค (.) เสมอ 2. การเขยี นรายการอา้ งองิ หนงั สอื พมิ พเ์ น่ืองในโอกาสพิเศษ หนังสือจดั พิมพ์เปน็ ที่ระลึกเนื่องในโอกาสพิเศษตา่ ง ๆ เช่นหนังสือใช้ในงานศพ งานทอดกฐิน งานครบรอบวันสถาปนา หนังสือประเภทน้ีให้อ้างอิงเหมือนหนังสือทั่วไป แต่เพ่ิมรายละเอียดของ หนงั สอื ไวใ้ นวงเลบ็ ตอ่ ทา้ ยจากปีท่พี ิมพ์รายการสดุ ทา้ ย รปู แบบ ชือ่ ผแู้ ต่ง./(ปที ี่พิมพ)์ ./ช่อื เร่ือง./สถานทพ่ี ิมพ์:/สานกั พมิ พ์. (รายละเอยี ดเพมิ่ เตมิ ของหนงั สอื )

- 54 - ตัวอย่าง จอ้ ย นันทวิ ชั รินทร์, ม.ล. (2541). จ้อถงึ จอ้ ย. กรุงเทพฯ: [ม.ป.พ.]. (พิมพ์ในงาน พระราชทานทานเพลิงศพ ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร. ม.ล. จอ้ ย นันทิวัชรินทร์ ธันวาคม 2541). มหาวทิ ยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธิราช. ครบรอบ 15 ปมี หาวิทยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธริ าช. (จัดพมิ พ์เนื่องในโอกาสครบรอบ 15 ปี สาขาวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธริ าช). 3. การเขียนรายการอ้างอิงสาหรบั หนังสอื แปล หนังสือท่ีแปลจากภาษาต่างประเทศเป็นภาษาไทย ให้ลงรายการเหมือนหนังสือ แต่รายการ ผู้แต่งใหใ้ ส่ชือ่ ผ้เู ขยี นภาษาเดิม และให้ใส่ชือ่ ผูแ้ ปลดา้ นหลงั รายการชื่อเรื่องเดมิ หากไม่ทราบช่ือเรื่องเดิม ใหใ้ ส่ตอ่ จากช่ือเร่ืองภาษาไทย รปู แบบ ชื่อผแู้ ตง่ ./(ปพี ิมพ์)./ชอื่ เรื่อง./แปลจาก ช่ือเรอื่ งเดมิ (ถา้ มี)./แปลโดย (ช่ือผ้แู ปล). / / / / / / / /สถานทีพ่ ิมพ์:/สานักพิมพ์. ตวั อยา่ ง เบอรเ์ นทท์, แฟรนซิล เอช. (2530). ลอร์ดน้อยฟอนเต้ิลรอย. แปลจาก Little Lord Fountleroy. แปลโดย เน่ืองน้อย ศรัทธา (บญุ เนื่อง บญุ ยเนตร) (พมิ พ์ครงั้ ท่ี 2). กรงุ เทพฯ: การพิมพ์สตรสี าร. สตีเวนสนั , วลิ เลยี่ ม. (2536). นายอนิ ทรผ์ ปู้ ดิ ทองหลังพระ. แปลจาก A Man Called Intrepid. ทรงแปลโดย พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั ภูมพิ ลอดลุ ยเดชฯ. กรุงเทพฯ: อมรินทรพ์ ร้ินต้ิง แอนด์ พบั ลชิ ชงิ่ . Grmek, M. D. (1990). History of AIDS: Emerging and Origin of Modern Pandemic. Translated by Russell C. Maulitz and Jaclyn Duffin. Princeton, NJ: University Press. หากไม่ทราบผู้แต่งเดิม ชื่อเร่ืองเดิม ให้ระบุช่ือผู้แปล ตามด้วยคาว่าผู้แปลในเคร่ืองหมาย วงเล็บ ( ) เชน่ นิดา (ผู้แปล). (2529). ครั้งหน่งึ ...ยงั จาได้ (พิมพ์ครัง้ ที่ 2). กรุงเทพฯ: ธนบรรณ.

- 55 - 4. การเขียนรายการอา้ งอิงในหนังสือกรณีต่าง ๆ 4.1 กรณีหนังสือที่ผแู้ ตง่ มฐี านันดรศกั ด์/ิ บรรดาศักด์ิ พระธรรมปิฎก (ประยุทธ์ ปยุตโต). (2541). ธรรมะกบั การทางาน (พมิ พ์ครงั้ ท่ี 5). กรงุ เทพฯ: โรงพิมพ์สหธรรมกิ . วิจติ รวาทการ, หลวง. (2541). ทางสู้ในชีวติ . กรุงเทพฯ: สร้างสรรคบ์ ุค๊ . อากาศดาเกิง รพพี ัฒน์, ม.จ. (2541). ละครแห่งชวี ติ . กรงุ เทพฯ: ดอกหญา้ . Parrott, Sir Cecil. (1977). The Serpent and the Nightingale. London, England: Faber and Faber. 4.2 กรณีหนงั สอื ที่ผู้แตง่ ใชน้ ามแฝง ชมจันทร์ (นามแฝง). (2541). อรณุ ในราตรี. กรงุ เทพฯ: คมบาง. Rowling, J. K. (1999). Harry Potter and the Chamber of Secrets. NY: Arthur A. Levine Books. 4.3 กรณีหนงั สอื ที่ผแู้ ต่งเป็นบรรณาธิการ พทิ ยา ว่องกลุ . (บรรณาธกิ าร). (2541). ไทยยคุ วฒั นธรรมทาส. กรุงเทพฯ : โครงการวถิ ที รรศน์. Stock, G, & Campbell, J. (Eds.). (2000). Engineering: The human genome: An exploration of the science and the ethics of altering, the genes we pass to children. NY: Oxford University Press. 4.4 กรณหี นงั สอื ท่ีผู้แต่งเป็นนติ ิบคุ คล สานกั งานสถติ ิแห่งชาติ. กองคลงั ข้อมลู และสนเทศสถิต.ิ (2541). สมุดรายงานสถติ ิ ภาคตะวนั ออก พ.ศ. 2541. กรุงเทพฯ: กองฯ. Office of the National Culture Commision (ONCC). (1990). Essay on Cultural Thailand. Bangkok: ONCC. 4.5 กรณีหนังสอื ท่ไี มป่ รากฏผู้แต่ง แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติฉบับท่ี 8 พ.ศ. 2540-2544. (2542). กรงุ เทพฯ: สานักงาน คณะกรรมการการศกึ ษาแหง่ ชาติ สานกั นายกรฐั มนตรี. Merriam-Webster’s collegiate dictionary (10th ed.). (1993). Spring-field, MA: Merriam-Webster.

- 56 - 5. การเขยี นรายการอ้างอิงบทความในหนงั สือ กรณีท่ีต้องการอ้างอิงบางส่วนของหนังสือ หรือบทความท่ีเขียนไว้ในหนังสือประเภทหนังสือ รวมบทความ เอกสารประกอบการสัมมนา หรือหนังสือที่แบ่งออกเป็นบท ๆ โดยที่มีเน้ือหาไม่ต่อเน่ือง สามารถเขียนรายการอา้ งองิ ไดต้ ามรปู แบบ ดังนี้ รูปแบบ ช่อื ผ้เู ขียนบทความ./(ปีพมิ พ)์ ./ชอ่ื บทความ./ใน/ช่อื ผูแ้ ตง่ (บรรณาธกิ าร)./ชอ่ื หนังสือ/(คร้ังทพ่ี ิมพ์), / / / / / / / /เลขหนา้ ทปี่ รากฏบทความจากหน้าใดถึงหนา้ ใด)./สถานทพี่ มิ พ์:/สานกั พิมพ.์ ตวั อย่าง แนง่ นอ้ ย ใจออ่ นนอ้ ม. (2539). หนว่ ยท่ี 8 แนวความคิดเกี่ยวกบั ระบบสารนิเทศ ทางการบัญช.ี ใน เอกสารการสอนชุดวิชาการรายงานทางการเงินและ ระบบสารสนเทศทางการบัญชี. (น. 343-376). นนทบรุ ี: สาขาวชิ า วิทยาการจดั การ มหาวทิ ยาลัยสุโขทัยธรรมาธริ าช. เสาวนีย์ จาเดิมเผด็จศึก. (2534). การรกั ษาภาวะจับหืดเฉียบพลนั ในเดก็ . ใน สมศักด์ิ โล่เลขา, ชลีรัตน์ ดเิ รกวฒั นาชัย และ มนตรี ตูจ้ ินดา (บรรณาธกิ าร), อมิ มูโนวิทยาทางคลินกิ และโรคภมู แิ พ้. (น. 99-103). กรงุ เทพฯ: วทิ ยาลยั กมุ ารแพทยแ์ ห่งประเทศไทย และสมาคมกมุ ารแพทย์แหง่ ประเทศไทย. Baker, F. M. & Light, O. B. (1993). Psychiatric care of Ethnic elders. In A. C. Gaw (Ed.). Culture, Ethnicity, and Mental illness. (pp. 517-552), Washington, DC: American Psychiatric Press. Roy, A. (1995). Psychiatric emergencies. In H. I. Kaplan and B. J. Stock (Eds.), Comprehensive Textbook of Psychiatry (6th ed., pp. 739-1749). Baltimore, MD: William & Wilkins. Sloan, W. (1978). Services. In Myra Nadler (Ed.), How to Start an Audiovisual Collection. (pp. 58-66). Metuchen, NJ: Scarecrow Press. ข้อสังเกต การระบุหนา้ ใหร้ ะบุคาวา่ “น.” หรือ “p.” หรือ “pp’” ก่อนระบเุ ลขหนา้ เสมอ 6. การเขยี นรายการอ้างองิ บทความจากวารสาร นติ ยสาร หนงั สือพมิ พ์ และสารานุกรม กรณีบทความปกตติ ีพิมพ์ในวารสาร ให้ลงรายการตามรายละเอยี ด ดงั น้ี ก. ชือ่ ผเู้ ขียนบทความ และชื่อวารสาร ใหใ้ ชห้ ลักเกณฑ์เกย่ี วกบั ชือ่ ผูแ้ ตง่ หนังสอื

- 57 - ข. การลงปีพิมพ์ของวารสาร ให้ใส่ปีพิมพ์ของวารสาร ในกรณีที่มีเดือน หรือวันที่และเดือน หากเป็นบทความภาษาไทย ให้ลงชื่อเดือนตามด้วยปีพิมพ์ หรือวันท่ี เดือน และปีท่ีพิมพ์ในเคร่ืองหมาย วงเล็บ ( ) เชน่ (มกราคม-มนี าคม 2554) หรอื (1 กมุ ภาพันธ์ 2554) หากเป็นบทความภาษาต่างประเทศ ให้ลงช่ือเดือนต่อจากปีพิมพ์ ค่ันด้วยเครื่องหมายจุลภาค (,) หากมีวนั ทด่ี ว้ ยให้ลงชือ่ เดือน ตามดว้ ยวนั ที่ โดยเว้น 1 ระยะ เช่น (2010, Winter) (2010, January 15) ค. การลงปีที่หรือเล่มท่ีของวารสาร ให้ใส่เฉพาะหมายเลขปีที่หรือเล่มท่ี (Volume) ของ วารสาร และใชต้ วั อักษรตัวหนาเชน่ เดยี วกับชอื่ วารสาร เช่น Health psychology, 24. ง. หากไม่มีปีที่หรือเล่มที่ให้ใส่หมายเลขฉบับท่ี (Number/Issue) แทน โดยใหใ้ สเ่ คร่ืองหมาย วงเล็บ ( ) ต่อจากปที ห่ี รือเลม่ ท่ีโดยไม่ต้องเว้นระยะ และใช้ตวั อกั ษรธรรมดา จ. ถ้าไม่มที ัง้ ปที ่หี รอื เลม่ ท่ี และฉบับที่ ไมต่ อ้ งลงรายการ ฉ. การลงเลขหน้า ให้ใส่เฉพาะหมายเลขหน้าแรกและหน้าสุดท้ายของบทความ ค่ันด้วย เครื่องหมายยติภังค์ (-) โดยไม่ต้องระบุอักษรย่อคาว่า “น.” สาหรับบทความภาษาไทย และคาว่า “p.” หรือ “pp.” สาหรับบทความภาษาต่างประเทศ หากกรณีท่ีเลขหน้าไม่ต่อเน่ืองกัน ให้ใส่เลขหนา้ ทั้งหมด โดยใช้เครอ่ื งหมายจลุ ภาค (,) คน่ั แต่ละหน้า ช. หากเอกสารเปน็ แฟม้ เอกสาร ประเภท PDF ให้ใส่เลขหน้าที่ปรากฏด้วย รปู แบบ ชอื่ ผูเ้ ขียนบทความ./(ปีพิมพ)์ ./ชอื่ บทความ./ช่ือวารสาร,/ปีที่ (ฉบบั ที่)./เลขหน้าทปี่ รากฏ. ตัวอย่าง 6.1 กรณีบทความทม่ี ีผูแ้ ต่ง 1 คน กลุ ธดิ า ทว้ มสขุ . (2538). แหล่งสารนเิ ทศบนอนิ เทอร์เนต็ . มนุษยศาสตรแ์ ละ สังคมศาสตร์, 13(2), 1-13. วชิ าญ เตชติ ธรี ะ. (2540). เอกภาพกับชวี ติ . วารสารวทิ ยาศาสตรล์ าดกระบงั , 7(3), 12-15. Jayasankaran, S. (1997). Smoke in your eyes. Review, 14(8), 20-22 Roy, A. (1982). Suicide in chronic schizophrenia. British Journal of Pshchiatry, 141, 171-177.

- 58 - 6.2 กรณีบทความทม่ี ีผแู้ ต่ง 2 คน จักรกฤษณ์ นรมติ ผดุงการ และ ทวี สวนมาลี. (2519), ความสามารถในด้านการเงนิ ของ เทศบาล กรณีของเทศบาลนครกรงุ เทพเปลี่ยนแปลงเปน็ กรุงเทพมหานคร. วารสารพฒั นบริหารศาสตร์, 16 (เมษายน 2519), 231-254. Hamed, G. R. & W. Preechatiwong. (2003). Peel strength of uncrosslinked Styrenebutadiene rubber adhered to polyester film. The Journal of Adhesion, 79, 327-348. 6.3 กรณบี ทความทีม่ ีผู้แต่ง 3-7 คน รงั สี อดุลยานุภาพ, มงคล เตชะกาพู และชัยณรงค์ โลหชิต. (2541). การกระตนุ้ รังไข่ ในลูกโคด้วยฮอรโ์ มน เอฟ เอส เอท ซา้ หลายคร้ัง. เวชชสารสตั วแพทย,์ 28 59-56. Baldwin, C. M., Bevan, C., & Beshalske, a. (2000). At-risk minority populations In a church-based clinic: Communicating basic needs. Journal of Multicultural Nursing & Health, 6(2), 26-28. Yawn. B. F., algatt-Bergstrom, P. J., Yawn, R. A., Wollan, P., Greco, M., Bleason, M., & Leona Markson. (2000). An in-school CD-ROM Asthma education program. Journal of School Health, 70, 153-157. 6.4 กรณบี ทความทม่ี ีผู้แต่ง 8 คนขึ้นไป Adebambo, A. O., Adeleke, M. A., Whetto, M., Peters, S. O. lkeobi, C. O. N. Ozoje, M. O, … Adebambo, A. (2010). Combining abilities of carcass Traits among pure and crossbred meat type chickens. International Journal of Poultry Science, 9(8), 777-783. 6.5 กรณีบทความในวารสารมเี ลขหน้าต่อเน่อื งกันไปจนจบปี (Volume) เช่น วารสารทางด้านการแพทย์ ให้ลงรายการเฉพาะปีทหี่ รือเลม่ ท่ี (Volume) ไมต่ ้องลง รายการ เดอื น หรือฉบับท่ีอกี เช่น Halpern, S. D., Ubel, P. A., & Caplan, A. L. (2002). Solid-organ transplantation In HIV-invected patients. New England Journal of Medicine, 347, 284-287.

- 59 - 6.6 กรณบี ทความจากนิตยสาร รปู แบบ ชือ่ ผ้เู ขยี นบทความ./(ป,ี เดอื นที่พิมพ)์ ./ชอ่ื บทความ./ช่อื นติ ยสาร,/ปที ่ี (ฉบบั ท)่ี ./เลขหน้าทปี่ รากฏ. ตวั อย่าง สม้ โอมือ. (2545, มนี าคม). อาหารบารงุ สมอง. Update, 20(210), 37-40. The British design awards 2009. (2010, October). ELLE Decoration, 206, 107-111. 6.7 กรณบี ทความจากหนังสือพิมพ์ รูปแบบ ชือ่ ผู้เขยี นบทความ./(ปี, เดือนท่พี มิ พ)์ ./ช่อื บทความ./ชอ่ื หนงั สอื พิมพ์,/ปที ่ี (ฉบบั ที่)./เลขหน้าทป่ี รากฏ. ก. ช่ือผเู้ ขียนบทความและหนังสอื พมิ พ์ ใหใ้ ชห้ ลักเกณฑ์เดียวกบั ชอ่ื ผแู้ ต่งหนังสอื ข. การลงปีที่หรือเล่มที่ของวารสาร ให้ใส่เฉพาะหมายเลขปีท่ีหรือเล่มท่ี (volume) ของวารสาร และใชต้ วั อกั ษรหนาเชน่ กับชือ่ วารสาร ค. หากไม่มปี ที ีห่ รือเล่มท่ใี ห้ใส่หมายเลขฉบบั ที่ (no.) แทน โดยใหใ้ สใ่ นเคร่อื งหมายวงเล็บ ( ) ตอ่ จากปที หี่ รอื เลม่ ท่ีโดยไมต่ ้องเวน้ ระยะ และใชต้ ัวอักษรธรรมดา ง. ถ้าไม่มีท้งั ปที หี่ รือเลม่ ที่ และฉบบั ท่ี ไม่ตอ้ งอักษรธรรมดา จ. การลงเลขหน้า ให้ใส่เฉพาะหมายเลขหน้าแรกและหน้าสุดท้ายของบทความ คั่นด้วย เคร่ืองหมายยัติภังค์ (-) โดยจะต้องระบุอักษรย่อคาว่า “น.” หรือ “p.” หรือ “pp.” ก่อนระบุเลขหน้า เสมอ หากกรณีท่ีเลขหน้าไม่ต่อเน่ืองกันให้ใส่เลขหน้าท้ังหมด โดยใช้เครื่องหมายจุลภาคค่ัน (,) แตล่ ะหนา้ ตัวอย่าง ไตรรตั น์ สนุ ทรประภสั สร. (2540, 8 พฤศจิกายน). อนาคตจนี -อเมรกิ า. เดลนิ ิวส์, น. 6. Greenbert, G. (2001, August 13). As good as there really such a thing as brain death. Yorker, pp. 36-41. Sukprisit, S. (1997, October 25). Big fun in little China. Bangkok Post, p. 1.

- 60 - 6.8 กรณบี ทความจากสารานุกรม กอ่ งแก้ว วีระประจกั ษ.์ (2539). ลายสือไทย. สารานุกรมสุโขทัยศึกษา. 2, น. 182-183. สญั ญชัย สวุ ังบุตร. (2537). คา่ ยกกั กันแรงงาน. สารานุกรมประวตั ิศาสตร์สากล. 2, น. 112-114. Bergmann, P. G. (1993). Relativity. In The new encyclopedia Britannica (vol. 26, pp. 501-508). Chicago, Il: Encyclopedia Britannica. 7. การเขียนรายการอ้างองิ วิทยานิพนธ์ 7.1 กรณวี ทิ ยานิพนธ์ทั่วไป ได้แก่ วิทยานิพนธ์ระดับปริญญามหาบัณฑิตและดุษฎีบัณฑิต หลักเกณฑ์การลงรายการ ในส่วนของชื่อผู้เขียนวิทยานิพนธ์ให้ใช้หลักเกณฑ์เดียวกับการลงชื่อผู้แต่งหนังสือ ในกรณีที่เป็นเอกสาร ภาษาไทย โดยต้องระบุคาว่า วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาหรับวิทยานิพนธ์ระดับปริญญาโท และคาว่า วิทยานิพนธ์ดุษฎีบัณฑิต สาหรับวิทยานิพนธ์ระดับปริญญาเอก ส่วนกรณีท่ีเป็นเอกสาร ภาษาต่างประเทศ ให้ใช้คาว่า Master’s Thesis หรือ M.S. Thesis สาหรับวิทยานิพนธ์ระดับปริญญาโท และคาว่า Ph.D. Thesis หรือ Ph.D. Dissertation สาหรับวิทยานิพนธ์ระดับปริญญาเอก ตามด้วย ช่ือประเทศ โดยใช้เครื่องหมายจุลภาค (,) ค่ันหลังชื่อวิทยานิพนธ์ และตามด้วยชื่อมหาวิทยาลัยหรือ สถาบันการศึกษาเท่านน้ั และใหพ้ มิ พอ์ ย่ภู ายในเครือ่ งหมายวงเลบ็ ( ) รูปแบบ ชอ่ื ผเู้ ขยี นวิทยานิพนธ.์ /(ปีพิมพ)์ ./ช่ือวิทยานพิ นธ์./(วิทยานิพนธป์ ริญญามหาบัณฑติ / / / / / / / /หรือวิทยานพิ นธป์ ริญญาดษุ ฎีบัณฑติ ,/ชือ่ มหาวิทยาลยั /สถาบันการศกึ ษา). ตวั อยา่ ง ช่อเพ็ญ นวลขาว. (2548). ความสัมพันธร์ ะหวา่ งการเปลยี่ นแปลงระบบนเิ วศกับแบบ แผนการผลติ และวัฒนธรรมการบริโภคอาหาร ศึกษากรณชี ุมชนขนาบนาก จังหวดั นครศรีธรรมราช. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัย วลัยลกั ษณ)์ . เกยี รตกิ าจร กุศล. (2543). รูปแบบความสมั พนั ธ์โครงสร้างเชงิ สาเหตุขององค์ประกอบ ทีม่ ีอทิ ธิพลต่อภาวะความเป็นผู้นาของคณบดี สถาบันอุดมศึกษาของรัฐ ในสังกัดทบวงมหาวิทยาลัย. (วทิ ยานิพนธ์ปริญญาดุษฎบี ณั ฑิต, จุฬาลงกรณ์ มหาวทิ ยาลยั ). Dewstow, R. A. (2006). Using the Internet to Enhance Teaching at the University of Waikato. (Master’s thesis, The University of Waikato, Hamilton, New Zealand).

- 61 - 7.2 กรณีบทคัดย่อวิทยานพิ นธ์จากหนงั สือประเภทดรรชนีและสาระสังเขป (Dissertation) รูปแบบ ช่ือผู้เขียนวิทยานิพนธ.์ /(ปีพิมพ์ของเอกสารหรือวารสาร)./ชอื่ วิทยานิพนธ.์ /(ระดับปริญญา, / / / / / / / /ชอ่ื มหาวิทยาลัย/สถาบันการศึกษา,/ ปีพมิ พ์วทิ ยานิพนธ)์ ./ชอื่ วารสาร,/ปที ,ี่ / / / / / / / /เลขหนา้ . ตัวอย่าง Olsen, G. W. (1985). Campus child care within the public supported post-secondary educational institutions in the state of Wisconsin (dare care). (Doctoral Dissertation, University of Wisconsin-Madison, 1985). Dissertation Abstract International, 47/03, 783. 8. การเขียนรายการอ้างอิงจากรายงานการประชุม รายงานการประชุมทางวิชาการ เป็นเอกสารที่รวบรวมผลงานหลาย ๆ เรื่องจากผู้เสนอ ผลงานหลาย ๆ คน จัดพิมพ์เป็นรูปเล่ม การประชุมเหล่านั้นอาจจัดเป็นครั้งคราวหรือจัดเป็นประจา มกี ารระบุรายละเอยี ดเพิ่มเติม ดังนี้ ก. ช่อื ผู้เขยี น ใช้หลักเกณฑ์เดยี วกบั การลงชอื่ ผแู้ ตง่ หนงั สือ ข. ปพี มิ พ์ให้ระบปุ จี ดั พมิ พ์รายงาน ไมใ่ ช้ปีของการประชมุ ค. ช่ือการประชมุ ให้เขยี นเตม็ หากเปน็ ภาษาต่างประเทศ อักษรตัวแรกของช่ือการประชมุ ให้ ใช้ตัวใหญ่ทั้งหมด ยกเว้นคานาหน้านาม คาบุพบทและคาสันธาน ทั้งน้ีให้ระบุคร้ังที่ของการประชุมและ วนั เดือนปีที่จัดการประชุมต่อจากช่ือประชุมให้ชัดเจน ง. เดือน ปีท่ีจัดประชุม หากเป็นเอกสารภาษาไทยให้ลง เดือน ปีท่ีจัดประชุม เอกสาร ภาษาต่างประเทศ ใหล้ ง ป,ี เดอื นท่จี ดั ประชุม เวน้ วรรค 1 ระยะหลังเครอื่ งหมายจลุ ภาค (,) จ. การลงช่ือผู้จัดประชุม ใช้หลักเกณฑ์เดียวกับการลงชื่อรวบรวมช่ือบรรณาธิการหนังสือ โดยให้ใสห่ น้าท่ขี องผูจ้ ัดประชมุ ในวงเลบ็ ตอ่ จากช่ือผจู้ ดั ประชุม ฉ. ในส่วนของสานักพิมพ์หากไม่ปรากฏ ให้ระบุหน่วยงานท่ีจัดการประชุมคร้ังนั้น พรอ้ มด้วย สถานที่จดั ประชมุ

- 62 - 8.1 บทความในเอกสารประกอบการประชมุ /สมั มนาท่พี ิมพเ์ ผยแพร่ มีรปู แบบการเขยี นรายการอา้ งองิ จะคลา้ ยคลึงกับบทความในหนงั สือ รปู แบบ ชอ่ื ผเู้ ขยี นบทความ./(ปีพิมพ์)./ชือ่ บทความ./ใน ชื่อเอกสาร/ชือ่ รายงานการประชุม/สมั มนา / / / / / / / /(เลขหน้าทปี่ รากฏ)./สถานท่พี ิมพ์:/สานักพิมพห์ รอื หนว่ ยงานทรี่ ับผิดชอบในการพิมพ์. ตวั อย่าง สชุ น ตง้ั ทวีวิพฒั นา และ บญุ ลอ้ ม ชวี ิอสิ ระกลุ . (2533). การใช้เมลด็ ทานตะวันเป็น แหล่งโปรตีนและพลังงานในอาหารสตั ว์ปกี . ใน รายงานการประชมุ ทาง วชิ าการของมหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ ครง้ั ที่ 28 (สาขาสตั วศาสตร์และ ประมง) (น. 47-59). กรงุ เทพฯ: มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์. Muller, A. L., & Ryan, R. M. (2001). The mind’s outer eye. In Alaska Symposium On Perspectives. Vol. 43: Perspectives on Perspective (pp. 237-288). Fairbanks, AK: University of Alaska Press. 8.2 บทความในเอกสาร ประกอบการประชมุ วชิ าการท่จี ดั พมิ พ์อยา่ งสมา่ เสมอ ใช้รูปแบบเดยี วกบั การลงรายการบทความในวารสาร หากกรณีเป็นบทคัดย่อ ให้เว้นวรรค 1 ระยะ และใส่คาว่า [บทคัดย่อ] สาหรับเอกสาร ภาษาไทย และใส่คาว่า [Abstract] สาหรับเอกสารภาษาต่างประเทศต่อจากชื่อบทความ และตามด้วย เคร่ืองหมายมหัพภาค (.) และหากเป็นเอกสารท่ีนาเสนอในท่ีประชุมซ่ึงสามารถสืบค้นบทคัดย่อได้จาก เว็บไซต์ของหน่วยงาน ให้ใช้ข้อความ สืบค้นบทคัดย่อจาก.......... สาหรับเอกสารภาษาไทย และให้ใช้ ขอ้ ความ Abstract retrieved from……………… สาหรับเอกสารภาษาตา่ งประเทศ 8.3 เอกสารประกอบการประชมุ ซึ่งไมไ่ ด้จัดพิมพ์เผยแพร่ และไมไ่ ด้นาเสนอในการประชุม การลงรายการชื่อผู้เขยี น ใช้หลกั เกณฑ์เดยี วกันกบั การลงชื่อบทความในหนังสือ ส่วนการ ลงเดอื น ปีทีจ่ ดั ประชุม ให้ลง ปี, เดอื นที่จัดประชมุ โดยเว้น 1 ระยะหลงั เครื่องหมายจุลภาค (,) รูปแบบ ช่ือผู้เขียน./(ปี, เดือนท่ีจัดการประชมุ )./ชื่อรายงาน/เอกสาร ใน/ชอื่ ผจู้ ัดประชมุ /(เลขหน้า) / / / / / / / /หัวขอ้ การประชุม./รายละเอยี ดเก่ยี วกับการประชมุ ,/สถานทีจ่ ดั ประชมุ .

- 63 - ตวั อย่าง Lichstein, K. L., Johnson, R. S., Womack, T. D., Dean, J. E., & Childers, C. K. (1990, June). Relaxation Therapy for Poly-pharmacy Use in Elderly Insomniacs and Noninsomniacs. In T. L. Rosenthal (Chair), Reducing Medication in Geriatric Populations. Symposium conducted at the Meeting of the First International congress of Behaioral Medicine, Uppsala, Sweden. 8.4 เอกสารทน่ี าเสนอในที่ประชุม และไมต่ ีพิมพ์ รูปแบบ ชื่อผู้เขยี น./(ปี, เดือนทจ่ี ดั การประชมุ )./ชอื่ รายงาน/เอกสาร./เอกสารนาเสนอในการประชมุ / / / / / / / /รายละเอียดเก่ียวกับการจดั ./สถานท่จี ัดประชุม. ตัวอย่าง มนตรี อิสระไกรศร.ี (2554, กรกฎาคม). การศึกษาชนดิ ของวัสดุห่อผลที่มีตอ่ การเจริญเตบิ โตคณุ ภาพและการเขา้ ทาลายโดยโรคแมลงของสม้ โอ พนั ธ์ุทองดแี ละทบั ทมิ สยาม. เอกสารนาเสนอในการประชุมวิชาการ พชื สวนแหง่ ชาติ โดยภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน. กรงุ เทพมหานคร. Crespo, C. J. (1998, March). Update on national data on asthma. Paper Presented at the Meeting of the National Asthma Education and Prevention Program, Leesburg, VA. 8.5 โปสเตอร์ทีจ่ ดั ในการประชมุ รูปแบบ ชอื่ เจ้าของผลงาน./(ป,ี เดือน)./ชือ่ งาน./การนาเสนอโปสเตอร์ในการประชุมวชิ าการ, / / / / / / / /สถานทจ่ี ดั ประชุม.

- 64 - ตวั อย่าง วาสนา จงไกรจักร. (2553, ตุลาคม). ความเหมอื นทแ่ี ตกตา่ งของปุดคางคก. การนา เสนอโปสเตอรใ์ นงานประชุมประจาปโี ครงการพฒั นาองค์ความร้แู ละ ศกึ ษานโยบายการจัดการทรัพยากรชวี ภาพในประเทศไทย (BRT), อุบลราชธาน.ี Binh, N. X., McCue, G., & O’Brien, K. (1999, October). English Language and Development at Vihn University, Nghe An Province. Poster session Presented at the Fourth International Conference on Language and Development, Hanoi, Vietnam. 8.6 รายงานการวิจัย รูปแบบ ชือ่ ผเู้ ขยี น./(ปที พ่ี มิ พ์)./ช่ืองานวิจัย (ประเภทของงานวจิ ยั เชน่ รายงานการวิจัย / / / / / / / /สถานทพี่ มิ พ์:/สานักพมิ พ.์ ตวั อยา่ ง ณรงค์ บญุ สวยขวัญ, สมใจ พมิ ล, ไพโรจน์ นวลน่มุ , นุสนธ์ สงเอียด, รชั ฎา คชแสงสันต์ และ ขจรยุทธ อจั จิกลุ . (2547). การจดั การเครือข่ายการท่องเท่ียวเชงิ นิเวศ จังหวัดนครศรธี รรมราช (รายงานการวิจยั ). นครศรีธรรมราช: มหาวิทยาลยั วลยั ลักษณ.์ 9. การเขียนรายการอา้ งอิงส่อื โสตทัศนแ์ ละสอื่ อน่ื ๆ สื่อโสตทัศน์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ประกอบด้วยวัสดุที่ไม่ตีพิมพ์ และส่ืออิเล็กทรอนิกส์ รวมถึงอุปกรณ์ต่าง ๆ ท่ีมีคุณค่าทางการศึกษา ส่ือประเภทน้ีในบางคร้ังก็ไม่จาเป็นท่ีจะต้องนามาใช้ จึง จาเป็นต้องอ้างอิงเพ่ือประกอบการนาเสนอเนื้อหาด้วย โดยมีรูปแบบการลงประเภทของส่ือที่นามา อ้างอิง เช่น แผนที่ (Map) สไลด์ (Slide) ภาพยนตร์ (Motion Picture) รายการโทรทัศน์ (Television Broadcast) วัสดบุ นั ทึกเสยี ง (Sound Recording) วีดิทศั น์ (Video Recording) เปน็ ต้น รปู แบบ ชื่อผู้จัดทา (หน้าท่ี)./(ปที ี่ผลติ )./ชอื่ เรื่อง./[ลักษณะของสื่อ]./สถานท่ผี ลติ :/หน่วยงานทีเ่ ผยแพร่

- 65 - ตัวอย่าง 9.1 วดี ิทศั น์ สารคดีส่องโลก ปลาโลมา. (2542). [วีดิทัศน์], กรุงเทพฯ: มีเดยี ออฟมเี ดยี . สานกั งานพลงั งานปรมาณูเพื่อสันต.ิ (2544). พลังงานนวิ เคลียร์ พลงั งานท่ขี ับเคล่อื น เอกภพ. [วีดทิ ัศน์]. กรงุ เทพฯ: สานกั งานพลังงานปรมาณเู พื่อสันต.ิ อยธุ ยา: สมเดจ็ พระนารายณม์ หาราช. (2520). Hospital Preparedness for Bioterrorism [videocassette]. Secaucus NJ: Network for Continuing Medical Education. 9.2 แผนที่ กรมอุทกศาสตร์ ราชนาวีไทย. (2530). ประเทศไทย: อา่ วไทย-ฝงั่ ตะวนั ออก: เกาะช้างถึงเกาะยอ. [แผนท]ี่ . กรงุ เทพฯ: กรมอุทกศาสตร์ ราชนาวีไทย. Africa. (1972). [Map]. Chicago, IL: Denoer Geppert. National Geographic Society (U.S.). (2002). Antarctuca, a New Age of Exploration. [Map]. Washington, DC: The Society. 9.3 ไมโครฟลิ ์ม อย่าเปิดประตตู ้อนรับเช้ือเอดส์. (2536). [สไลด์]. กรุงเทพฯ: โครงการป้องกนั โรคเอดส์แหง่ ชาติ. Mitchell, D. H. (1974). Mushrooms. [Microform]. Denver, CO: Poisinde. 9.4 แผนท่ี ชาตรีเฉลมิ ยุคล, ม.จ. (กากบั แสดง). (2550). ตานานสมเด็จพระนเรศวรมหาราช. [ภาพยนตร์]. กรุงเทพฯ: บรษิ ัท พร้อมมิตรโปรดักชั่น จากดั : สหมงคลฟลิ ม์ . 9.5 รายการวทิ ยุ-โทรทัศน์ ธงชยั ประสงค์สนั ต,ิ เทง่ เถดิ เทงิ และ ทอ้ ด ทองดี. (ผู้ดาเนินรายการ). (27 ธันวาคม 2552). คุณพระช่วย [รายการโทรทัศน์]. กรุงเทพฯ: สถานโี ทรทัศน์โมเดริ ์นไนน์.

- 66 - 9.6 ซดี รี อม การท่องเทยี่ วแห่งประเทศไทย. (2544). การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ. [ซีดรี อม]. กรุงเทพฯ: การทอ่ งเท่ยี วฯ. eGuide Regional online directory. (2545). [CD-ROM]. Bangkok: eGuide (Thailand). Key Mega ClipArt 15,000. [I.d.] [CD-ROM]. [n.p.]: Softkey. 9.7 แฟ้มขอ้ มลู Canal System, (1988). [Computer File]. Edwardsville, KS: Medissim. 9.8 สาระสังเขปจากฐานขอ้ มูลซดี ีรอม Kantipong P. & Panich V. (1998, May). Hepotic penicilliosisin patients without skin lesions. Clin Infect Dis. [CD-ROM]. 26, 5. Abstract From: Current Content: Clinical Medicine 1997-98. (ZM239-0035.) 10. การเขียนรายการอ้างองิ สารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ สารสนเทศอิเลก็ ทรอนิกส์นั้นนับวันจะมมี ากข้ึนโดยลาดับ โดยมีเว็บไซต์เป็นแหล่งสารสนเทศ ท่ีมีผู้ใช้มากท่ีสุด สิ่งสาคัญของการอ้างอิงสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ คือ ผู้เขียนจะต้องชี้ให้ผู้อ่านเข้าถึง สารสนเทศที่อา้ งให้มากที่สดุ โดยอ้างให้เจาะจงลงไปในตวั เอกสารท่ีใช้อา้ งอิงมากกว่าการอ้างองิ โฮมเพจ ทเี่ ข้าถึงได้ ต่อจากนั้นจึงจะบอกแหลง่ หรือทอ่ี ยู่ของสารสนเทศนั้น ๆ โดยมีหลักเกณฑ์ท่ีเพิ่มเติมในแต่ละ ส่วน แบ่งออกเปน็ ประเภทตา่ ง ๆ ดังน้ี 10.1 กลมุ่ ส่งิ พมิ พต์ อ่ เนอ่ื งออนไลน์ (Online Periodical) 10.2 กลมุ่ เอกสารท่ไี มใ่ ช่สง่ิ พมิ พต์ ่อเนือ่ ง (Nonperiodical Document on Internet) 10.3 วิทยานิพนธ์ รายงานการวิจยั และรายงานทางวิชาการ 10.4 สารสนเทศอิเลก็ ทรอนกิ ส์ประเภทอนื่ ๆ โดยมรี ายละเอยี ดการลงรายการดังน้ี ชือ่ ผ้แู ตง่ ให้ระบุช่ือผู้เขียนบทความในกรณีที่เป็นกลุ่มส่ิงพิมพ์ต่อเน่ืองออนไลน์ แต่หากไม่มีให้ระบุ ผู้รับผิดชอบหลักหรือบรรณาธิการในการสร้างแฟ้มข้อมูล เว็บไซต์ เว็บเพจ โดยใช้วีธีการเขียนตาม หลกั เกณฑ์ของการเขียนชื่อผ้แู ต่งของหนงั สอื

- 67 - ช่อื เรอื่ ง ให้ระบุชื่อเรื่องตามที่ปรากฏ สามารถใช้ช่ือแฟ้มข้อมูล ชื่อโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ช่ือเว็บไซต์ หรอื ชอื่ เวบ็ เพจกไ็ ด้ โดยระบใุ นลกั ษณะเดยี วกบั ชอ่ื เรื่องของหนังสือ แหล่งขอ้ มูลทเี่ ข้าถึงได้ ให้ระบุแหล่งท่ีเข้าถึงต่อท้ายคาว่า เข้าถึงจาก สาหรับภาษาไทย หรือ Retrieved from สาหรับภาษาต่างประเทศ แหล่งที่เข้าถึงได้ให้ระบุรายละเอียดที่เข้าแหล่งท่ีสืบได้อย่างเจาะจงที่สุด เช่น ชื่อฐานข้อมูล หากเป็นรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ให้ระบุวิธีการท่ีใช้ค้นหาสารสนเทศได้ เช่น Telnet หรือ FTP หรือ WWW ตามด้วยหมายเลข URL ท่ีเข้าถึงได้ โดยระบุรายละเอียดตั้งแต่ Site/ Path และ File ทสี่ ามารถเขา้ ถึงได้ ทัง้ น้ี 1. การพิมพ์ URL หากต้องแยกบรรทัดใหม่ให้ขึ้นบรรทัดใหม่หลังเคร่ืองหมายทับ (/) หรือ ก่อนเคร่ืองหมายมหัพภาค (.) และไม่ให้มีเคร่ืองหมายยติภังค์ (-) สาหรับการพิมพ์ที่ต้องแยกรายการ URL 2. ไม่ต้องใส่เคร่อื งหมายมหัพภาค (.) หลัง URL หรอื เว็บไซต์ 3. ข้อมูล URL หรือเว็บไซต์ทน่ี ามาอา้ งอิงควรเป็นข้อมลู วชิ าการ และอยู่ใน URL หรอื เว็บไซต์ ที่ถาวร หากไม่สามารถค้นกลับไปดูข้อมูลท่ีนามาอ้างอิงได้เน่ืองจากไม่มี URL หรือเว็บไซต์ดังกล่าวและ ไม่มีข้อมลู ฉบับพมิ พท์ ่จี ะนามาอ้างองิ เปน็ หลักฐานได้ อาจจะต้องดึงขอ้ มูลสว่ นนอี้ อกจากงานนั้น ๆ 4. ให้ใส่ URL หรอื เวบ็ ไซต์ทเี่ ช่ือมโยงไปยงั ขอ้ มูลทนี่ ามาอา้ งองิ โดยตรง หมายเลข DOI หมายเลข DOI หรือ Digital Object Identifier เป็นช่ือหรือรหัสมาตรฐานของทรัพยากร สารสนเทศในรูปดิจิทัล กาหนดข้ึนเพ่ือระบุชื่อ ตาแหน่งหรือจัดเก็บ (URL) ของทรัพยากรสารสนเทศ อิเล็กทรอนิกส์ท่ีเผยแพร่และให้บริการบนอินเทอร์เน็ต เช่น หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ บทความ อเิ ล็กทรอนกิ ส์ แฟ้มข้อมูลประเภทเสียง แฟ้มข้อมูลประเภทภาพเคล่ือนไหว เป็นตน้ การใส่รายละเอียด ให้ระบคุ าว่า doi ด้วยตวั อักษรเล็กและตามด้วยหมายเลขท่ีปรากฏโดยไมต่ อ้ งเว้นระยะ ซึง่ มีรายละเอียดของหลักเกณฑก์ ารลงรายการแตล่ ะประเภท ดังนี้ 10.1 กลุ่มสงิ่ พิมพ์ต่อเน่ืองออนไลน์ (Online Periodical) สง่ิ พิมพ์ต่อเนื่องออนไลน์ หมายถึง การอ้างบทความอิเล็กทรอนิกส์ท่ีเผยแพร่ในรูปแบบ อเิ ล็กทรอนิกส์ ได้แก่ บทความในวารสารอิเล็กทรอนิกส์ บทความอิเล็กทรอนิกส์ของรายงานการประชุม บทความในจดหมายข่าวอิเล็กทรอนิกส์ ซ่ึงสามารถสืบค้นผ่านระบบออนไลน์ การอ้างอิงใช้หลักการ พื้นฐานเช่นเดียวกับการอ้างอิงเอกสารที่เป็นสิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง แต่เพิ่มเติมข้อมูลเก่ียวกับประเภทของ สารสนเทศอิเลก็ ทรอนิกส์ และแหล่งท่ีอยขู่ องสารสนเทศอิเล็กทรอนกิ ส์

- 68 - ช่ือผูแ้ ตง่ ให้ระบุชื่อผู้เขียนบทความในกรณีที่เป็นกลุ่มสิ่งพิมพ์ต่อเน่ืองออนไลน์ แต่หากไม่มีให้ ระบุผ้รู บั ผิดชอบหลักหรือบรรณาธกิ าร ช่ือเรอื่ ง ใหร้ ะบชุ ือ่ เรื่องตามท่ปี รากฏ ปีท่,ี ฉบบั ที่ ให้ระบปุ ที ี่ (Volume) เสมอ หากไม่ใชใ่ หร้ ะบุปพี มิ พห์ รือปที เ่ี ผยแพรแ่ ฟม้ ข้อมลู หน้าที่ปรากฏ ในกรณีท่ีเป็นบทความท่ีมีการตีพิมพ์เป็นฉบับพิมพ์ด้วยให้ระบุเลขหน้า หากเป็น บทความท่ีเผยแพรเ่ ฉพาะเป็นอิเล็กทรอนกิ ส์เท่านน้ั ไมจ่ าเป็นต้องระบเุ ลขหนา้ ของบทความ กลุ่มส่งิ พมิ พ์ตอ่ เนือ่ งออนไลน์ ประกอบดว้ ย 3 ประเภท คือ ก. บทความที่ตีพิมพ์ในวารสารซ่ึงมีท้ังฉบับพิมพ์เป็นรูปเล่มและเผยแพร่ในรูปแบบ อิเล็กทรอนิกส์ในเคร่ืองหมายวงเล็บเหล่ียม [ ] ว่าข้อมูล [ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์] สาหรับเอกสาร ภาษาไทย และคาว่า [Electronic version] สาหรับเอกสารภาษาต่างประเทศ หลังช่ือบทความ โดย เว้นวรรค 1 ระยะหน้าและหลังวงเลบ็ เหลี่ยม [ ] แลว้ จึงตามดว้ ยเคร่อื งหมายมหัพภาค (,) ตัวอย่าง เจษฎา นกนอ้ ย และ วรรณภรณ์ บริพนั ธ์. (2552). การตลาดทางอนิ เตอรเ์ น็ต: โอกาส ทางเลือกและความท้าทาย [ขอ้ มูลอิเลก็ ทรอนิกส์]. วารสารบรหิ ารธุรกจิ , 32(121), 34-52. Leadbetter, J. Learning in and for interagency working: making links between practice development and structured reflection. [Electronic version]. Learning in Health Social Care, 7(4), 181-250. ข. บทความในวารสารอิเล็กทรอนิกส์ซึ่งไม่มีการจัดพิมพเ์ ปน็ รูปเลม่ ให้ลงรายการเชน่ เดียวกับ บทความในวารสาร และหากบทความนั้นมีหมายเลข DOI ที่ปรากฏ ให้ระบุต่อจากรายละเอียดของ บทความ หลังเครื่องหมายมหัพภาค (.) โดยเว้น 1 ระยะ และใช้คาย่อว่า doi ตามด้วยเคร่ืองหมาย ทวิภาค (:) โดยไม่ต้องเว้นระยะ และตามด้วยหมายเลขที่ปรากฏโดยไม่ต้องใส่เครื่องหมายมหัพภาค (.) หลังหมายเลข doi รูปแบบ ชื่อผู้แตง่ ./(ปพี ิมพ์)./ช่ือบทความ./ชือ่ วารสาร,/ปีท่ี/(ฉบับที่), เลขหน้า-เลขหนา้ ./doi:xxxx

- 69 - ตัวอยา่ ง Roger L. C. & Richard, L. H. (2010). Calcium-Permeable AMPA Receptor Dynamics Mediate Fear Memory Erasure. Science, 330(6007), 1108-1112. doi:10.1126/science.1195298 ค. บทความท่ีสืบค้นได้จากวารสารอิเล็กทรอนิกส์ และไม่ปรากฏหมายเลข DOI ให้ใส่ URL ของเว็บเพจของชื่อสง่ิ พมิ พน์ ั้น โดยไมต่ อ้ งใสท่ ีอ่ ยลู่ ึกลงไปถึงบทความหรือฐานข้อมูล เช่น รปู แบบ ชอื่ ผู้แต่ง./(ปพี ิมพ์)./ชื่อบทความ./ชอ่ื วารสาร,/ปีที่/(ฉบับท่ี), เลขหน้า-เลขหน้า./URL ของวารสาร ตัวอย่าง Cadigan, J., Schmitt, P., Shupp, R., & Swope, K. (2011, January). The holdout problem and urban sprawl: Experimental evidence. Journal of Urban Economics. 69(1), 72. Retrieved from http://journals.elsevier.com/00941190/journal-of-urban-economics/ Venables, D. (2000). How to avoid search engines. Internet Newsletter For Lawyers, (2000, January-February). Retrieved from http://www.venables.co.uk/n0001jav.htm#section9 ง. บทความในนติ ยสารทมี่ ีการเผยแพรใ่ นรูปแบบอเิ ลก็ ทรอนิกส์ รปู แบบ ชือ่ ผแู้ ตง่ ./(ป,ี เดอื นที่พมิ พ์)./ช่ือบทความ./ช่ือนิตยสาร,/ปีท่ี/(ฉบับที่), เลขหน้าท่ปี รากฏ / / / / / / / /URL หรอื เว็บไซต์ของข้อมูล ตัวอย่าง เสกสรร ประเสรฐิ กลุ . (2553, กนั ยายน). คนกับธรรมชาตติ อ้ งอยรู่ ว่ มจึงอยู่รอด: ปาฐกถาเนอ่ื งในวาระ 20 ปกี ารจากไปของสืบ นาคะเสถยี ร. สารคด,ี 26(307), 1-2, สืบคน้ จาก http://www.sarakadee.com/web/ Modules.php?name=Sections&op=viewarticle&artid=1047 Novotney, A. (2010, January). Integrated care is nothing new for these Psychologists. Monitor on Psychology, 41(1), Retrieved from http://www.apa.org/monitor

- 70 - จ. บทความประเภทจดหมายข่าวทมี่ กี ารเผยแพร่ในรูปอิเลก็ ทรอนิกส์ ตัวอยา่ ง สิทธิการ นพภยะ. (2552, มถิ นุ ายน). การเจรจาการค้าพหภุ าครี อบโดฮา 2546-2552. จดหมายข่าวจับกระแสองค์การการคา้ โลก, 6(3). สืบค้นจาก http://www.thailandwto.org/Doc/Pub/PubNews./ Newsletter_6_3.pdf Osborne, H. (2009, March 27). In other words…talking health to men. Health Literacy Consulting. Retrieved from http://www.healthliteracy.com/article.asp?PageID=8679 10.2 กลมุ่ เอกสารท่ีไมใ่ ชส่ ิ่งพิมพ์ตอ่ เนอ่ื ง (Non-periodical Document on Internet) ประกอบด้วย หนังสอื อิเล็กทรอนิกส์ และสารสนเทศจากเวบ็ ไซต์ มีรายละเอียดดงั นี้ ก. หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เป็นหนังสือประเภทต่าง ๆ ซึ่งมีทั้งฉบับพิมพ์เป็นรูปเล่ม และ เผยแพร่ในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ให้ลงรายการเช่นเดียวกับหนังสือ หากหนังสือน้ันไม่มีหมายเลข DOI ให้ใส่ URL ของเว็บเพจของช่ือสานักพิมพ์หรือผู้จัดทาเป็นหลัก โดยให้ระบุต่อจากรายละเอียดของ หนังสือหลังเคร่ืองหมายมหัพภาค (.) เว้น 1 ระยะ แต่หากว่ามีหมายเลข DOI ให้ใส่คาย่อว่า doi ตาม ดว้ ยเครอื่ งหมายทวิภาค (:) โดยไม่ต้องเว้นระยะ และตามด้วยหมายเลขที่ปรากฏ เช่น Porter, a. (2004). Precise but useless data accelerated testing and validation. Doi:10.1016/B978-075067653-3/50021-7 ข. หนังสือท่ีห้องสมุดบอกรับเป็นสมาชิก (e-book available from a Library database) ให้ลงรายการเช่นเดียวกันกับหนงั สอื และใหใ้ ส่ URL ของเว็บเพจของฐานขอ้ มลู น้นั เช่น พงษ์ ผาวจิ ติ ร. (2548). นวัตกรรมทางเศรษฐกจิ . กรงุ เทพฯ: เนชน่ั บุ๊ค สบื คน้ จาก http://www.2ebook.com Semino, E., & Short, M. (2004). Corpus stylistics: Speech, Writing and Thought Presentation in a Corpus of English Writing. London, England: Routledge. Retrieved from http://netlibrary.com ค. เอกสารในเว็บไซต์ ซึ่งมักเป็นข้อมูลท่ีมีการเปลี่ยนแปลงและมีการปรับปรุงให้ทันสมัย อยู่เสมอ จึงไม่ต้องระบุวัน เดือนปีท่ีสืบค้น และหากไม่ปรากฏปีพิมพ์ ให้ใส่ ม.ป.ป. สาหรับงานหรือ เนื้อหาที่เป็นภาษาไทย และใส่ n.d. หมายถึง no date สาหรับงานหรือเน้ือหาที่เป็นภาษาต่างประเทศ แทน ในสว่ นของผู้แตง่ ให้ระบุชื่อผู้เขียน แตห่ ากไมป่ รากฏให้ระบหุ นว่ ยงานทจี่ ัดทาหรอื ชอ่ื เร่อื งแทน

- 71 - รูปแบบ ชอื่ ผแู้ ตง่ ./(ปที ่ีพมิ พ)์ ./ช่ือนติ ยสาร,/URL หรือเวบ็ ไซต์ของข้อมูล ตัวอย่าง ปญุ ญวนั ต์ จติ ประคอง. (2554). วิวฒั นาการการเมืองการปกครองพม่า. สบื คน้ จาก http://www.midnightuniv.org/category/politics GVU. 8th www user survey. (n.d.) retrieved from http://www.cc.gatech.edu/gvu/user_surveys/survey-1997-10/ ง. เอกสารหรือสารสนเทศท่ีได้จากเว็บไซต์ในรูปแบบของแฟ้มข้อมูลประเภท PDF ให้ ระบุ URL หรือทอ่ี ยู่เวบ็ ไซต์จนถึงท่ีอยู่ของแฟม้ ข้อมูลน้นั โดยไมต่ อ้ งระบุวนั ทส่ี ืบค้น เช่น การเขยี นอา้ งอิงทางวชิ าการ. สืบคน้ จาก www.wiruch.com/ Article% 20footnote%20writing.pdf Tourism Authority of Thailand. Political developments in Thailand: statement by Thai prime minister, H.E. Mr. Abhisit Vejjajiva, Retrieved from http://www.thailand.org.il/files/wordocs/ Statementministry.pdf จ. เอกสารหรือสารสนเทศท่ีได้จากเว็บไซต์ของหน่วยงาน โครงการ คณะ สาขาวิชาใน มหาวิทยาลัย หรือหน่วยงานของรัฐบาล ซึ่งเป็นเว็บไซต์ที่มีขนาดใหญ่และมีความซับซ้อนให้ระบุช่ือ มหาวทิ ยาลัยหรอื หน่วยงาน และหน่วยงานย่อยท่ีเป็นเจ้าของเอกสารนั้น ๆ ก่อนระบุ URL หรือเวบ็ ไซต์ เช่น เดชา นันทพชิ ัย, (2546). การเขียนรายการอา้ งองิ และบรรณานุกรม. สืบคน้ จาก http://staffs.wu.ac.th~ndecha/information skill.htm Seung-chan, K. (2010). Double-sideness of double majoring. Retrieved From The Yonsei Annals Website: http://annals.yonsei.ac.kr/news/articleView.html?idxno=875

- 72 - 10.3 วิทยานิพนธ์ รายงานการวิจยั และรายงานทางวิชาการ ก. หากเป็นวิทยานิพนธ์อิเล็กทรอนิกส์ที่สืบค้นจากฐานข้อมูล เช่น ฐานข้อมูล ProQuest Dissertation and Theses database ให้ลงรายละเอียดเช่นเดียวกับฉบับพิมพ์ และตาม ด้วยท่ีมาของวิทยานิพนธ์นั้น ๆ โดยใช้คาว่า สืบค้นจาก สาหรับเอกสารภาษาไทย และคาว่า Retrieved from สาหรบั เอกสารภาษาต่างประเทศ เชน่ ณภทั ร ทศั นวสิ ุทธ์.ิ (2548). การวิเคราะหห์ าปรมิ าณโบรอนในอาหารโดยวธิ วี ัดศกั ย์ ไฟฟ้าด้วยเตตระฟลูออโรโยเรตไอออนซีเลค็ ทีฟอเิ ลค็ โทรด. สบื คน้ จาก Thai Digital Collection. Johnson, S. (2007). Financial variables and merger premiums: Evidence from bank mergers Retrieved from ProQuest Dissertation and Theses database. (UMI No. 3025476) ข. เอกสารประกอบการประชุมทางวิชาการ (Proceedings of Meetings and Symposia) ให้ลงรายการเช่นเดียวกับการลงการอ้างอิงเอกสารประกอบการประชุมวิชาการ (Proceedings) รวมถึงเอกสาร (Paper) ที่นาเสนอในที่ประชุม ตามด้วยหมายเลข DOI หากไม่มีให้ใส่ URL หรือเว็บไซตข์ องข้อมลู เช่น Junger, U. (2006, August). Processing Metadata for Electronic Journal: the Example of the German Union Catalogue of Serials. Paper Presented at The World Library and Information Congress: 72th IFLA General Conference and Council, Seoul, Korea. Retrieved from http://www.ifla.org/IV/ifla72/paper/ 123-junger-en.pdf 10.4 สารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ประเภทอืน่ ๆ ได้แก่ สารสนเทศประเภทสารานุกรม พจนานุกรม หนังสือคู่มือ วิกิ (WIKI) เป็นต้น การ ลงรายละเอียดให้ลงเช่นเดียวกับบทความในหนังสือและตามด้วยที่มาของเอกสารน้ัน ๆ โดยใช้คาว่า สืบคืนจาก สาหรับเอกสารภาษาไทย และคาว่า Retrieved from สาหรับเอกสารภาษาต่างประเทศ เชน่ โรคตดิ เช้ืออบุ ตั ิใหม่ และโรคตดิ เชอ้ื อบุ ัตซิ า้ . (2520). สารานุกรมไทย ฉบบั เฉลมิ พระเกยี รติ ในโอกาสฉลองสริ ริ าชสมบตั คิ รบ ๖๐ ปี. สืบค้นจาก http://kanchanapisek.or.th/kp6/New/sub/book/ book.php?book=24&chap=8&page=t24-8-infodetail01.html Hanegraaff, W. (2005). New Age movement. In L. Jones (Ed.), Encyclopedia of religion. Retrieved from http://find.galegroup.com/gvrl/

- 73 - ยกเว้นการลงรายละเอียดในส่วนของวิกิ ทีม่ ักจะไม่ค่อยระบุผู้เขียนและเป็นสารสนเทศ ที่มีการเปล่ียนแปลงตลอดเวลา ดังนั้นส่วนของผู้เขียนและวันที่เผยแพร่จึงไม่จาเป็นต้องระบุลงใน รายการบรรณานกุ รม แตจ่ ะตอ้ งระบวุ ันท่สี บื คืนสารสนเทศดว้ ย เชน่ มหาวทิ ยาลัยวลัยลกั ษณ์. (ม.ป.ป.). สืบค้นเมือ่ 25 พฤศจิกายน 2553, จากวกิ พิ ีเดยี http://th.wikipedia.org/wiki/มหาวิทยาลยั วลยั ลักษณ์ Network management. (n.d.). Retrieved November 20, 2010, from Wikipedia http://en.wikipedia.org/wiki/Network_management ส่วนสารสนเทศบนเว็บไซต์ประเภทข่าวประชาสัมพันธ์ (Press Release) รายงาน ประจาปี (Annual Report) เอกสารประเภทไฟล์ PowerPoint (PowerPoint Slides) การแสดงความ คิดเห็นบนบล็อก (Bolg Post) วิดิโอออนไลน์ (Online Video) เช่น Youtube Video หรือรูปแบบการ บันทึกโปรแกรมรายการวิทยุหรือใกล้เคียงกันในรูปแบบดิจิทัล (Audio Podcast) การประกาศบน facebook (Facebook post) การประกาศบน Twitter (Twitter Post) การแสดงความคิดเห็นบนวิกิ (WIKI) เป็นต้น หากเป็นการแสดงความคิดเห็น (Blog Post) ต้นฉบับ ให้ใช้คาว่า [Web Log Post] แต่ หากเป็นการตอบกลับ (Reply) หรอื แสดงความคดิ เหน็ (Comment) ทีน่ าไปยงั กระทตู้ น้ ฉบับให้ใช้คาว่า [Web Log Comment] การเขียนรายการบรรณานุกรมมีรูปแบบเดียวกับการเขียนรายการเอกสารเอกสาร แต่ ส่วนของช่ือเนื้อหาไม่ใช้อักษรตัวหนา เหมือนสิ่งพิมพ์ประเภทอื่น แต่ต้องระบุรูปแบบสารสนเทศ อิเลก็ ทรอนกิ ส์นั้นด้วย เชน่ รปู แบบ ชือ่ ผ้เู ขยี น./(ปี, เดอื น วันท)่ี ./ชื่อเน้อื หา./[รูปแบบสารสนเทศอเิ ล็กทรอนิกส์]./Retrieved / / / / / / / /from URL หรอื เวบ็ ไซต์ของขอ้ มูล ตัวอย่าง ชาญณรงค์ ราชบัวนอ้ ย. ศพั ทบ์ ัญญัติการศึกษา. [เว็บบลอ็ ก]. สืบค้นจาก http://www.sornor.org/ สนั ติ เศวตวมิ ล และ สมเกยี รติ คณุ านธิ พิ งษ์. (28 กรกฎาคม 2552). Color of life. [การบันทกึ โปรแกรมรายการวทิ ยุ] สบื คน้ จาก http://podcast.mcot.net/rss/99_rss.xml

- 74 - Siamsearch. (2553, มกราคม 21). ฝึกหัดเลน่ ระนาดเอก เพลงโยสลมั . [แฟม้ วิดโี อ]. สบื ค้นจาก http://www.youtube.com/watch?v=eMR9Oijlogg Whitney, C. Linkedln for iPhone 3.5: communication made easier. [web blog post]. Retrieved from http://blog.linkedin.com/ Nonja. (2010). In Facebook [Fan page]. Retrieved March 17, 2010, from http://www.facebook.com/pages/Nonja/190010092116 BarackObama. (2009, July 15). Launched American Graduation Initiative To help additional 5 mill. Americans graduate college by 2020: http://bitly/gcTX7 [Twitter post]. Retrieved from http://twitter.com/BarackObama/status/2651151366 Norton, R. (2006, November 4). How to train a cat to operate a light Switch [Video file]. Retrieved from http://www.youtube.com/ Watch?v=Vja83KLQXZs Van Nuys, D. (Producer). (2007, December 19). Shrink rap radio [Audio Podcast]. Retrieved from http://www.shrinkrapradio.com/ 11 การเขียนรายการอา้ งองิ สิ่งพิมพป์ ระเภทอน่ื ๆ 11.1 จุลสาร เอกสารอัดสาเนา แผ่นพับ หรือเอกสารไม่ตีพิมพอ์ ื่น ๆ จุลสาร เอกสารอัดสาเนา แผ่นพับ หรือเอกสารท่ีไม่ได้ตีพิมพ์เผยแพร่อื่น ๆ ใช้แบบแผน เดียวกับหนังสือ แต่ให้ใส่ประเภทของเอกสารไว้ในเคร่ืองหมายวงเล็บเหลี่ยม [ ] ไว้ก่อนสถานที่พิมพ์ เช่น ใช้คาว่า จุลสาร สาหรับเอกสารภาษาไทย และใช้คาว่ า Pamphlet สาหรับเอกสาร ภาษาต่างประเทศ และใช้คาว่า แผ่นพับ สาหรับเอกสารภาษาไทย และใช้คาว่า Brochure สาหรับ เอกสารภาษาตา่ งประเทศ โดยเวน้ วรรค 1 ระยะหนา้ ประเภทของเอกสาร รปู แบบ ชอ่ื ผแู้ ต่ง./(ปที ่ีพิมพ)์ ./ชือ่ เร่ือง./[จุลสาร/เอกสารอดั สาเนา/แผ่นพบั ]./สถานท่ีพมิ พ์:/สานกั พมิ พ์ ตวั อยา่ ง ธรี ะ อาชวเมธี. (2520). การเปรียบเทียบความเร็วในการเขา้ ใจจานวน ซึง่ เขียนเป็น ตวั เลขอารบกิ ตัวเลขไทย และตวั อักษรไทย. [เอกสารอัดสาเนา]. กรุเทพฯ: คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั .

- 75 - Farquharson, A. (2002). Navin Rawanchaikul: Visual artist. [Pamphlet]. Thailand: The British Council. Research and Training Centre on Independent Living. (1993). Guidelines For reporting and writing people with disabilities (4th ed.) [Brochure]. Melbourne, Vic: Author. 11.2 งานท่ไี ม่ได้ตพี มิ พ์ ก. เป็นงานที่ไม่ได้ตีพิมพ์ และไม่ได้นาเสนอให้สานักพิมพ์ตีพิมพ์ ให้ระบุคาว่า เอกสาร ไม่ตีพิมพ์ ในเอกสารภาษาไทย และระบุคาว่า Unpublished Manuscript สาหรับเอกสาร ภาษาตา่ งประเทศ รปู แบบ ชอื่ ผูเ้ ขียน./(ปีทเ่ี ขียน)./ชือ่ เรื่อง./เอกสารไม่ตพี ิมพ.์ ตัวอย่าง Ipock, E., & Street, S. (1999). Early childhook development: a new perspective. Unpublished manuscript. ข. งานท่ีไม่ได้ตีพิมพ์ของมหาวิทยาลัย โดยระบุคาว่า เอกสารไม่ตีพิมพ์ ในเอกสาร ภาษาไทย และระบุคาว่า Unpublished Manuscript สาหรับเอกสารภาษาต่างประเทศ และในกรณี ทม่ี หาวิทยาลัยไม่เป็นที่รู้จัก จาเป็นต้องระบุช่ือมหาวิทยาลยั หากสามารถใส่ชื่อเมือง หรือรัฐ ช่ือจังหวัด หรอื ช่ือประเทศต่อท้ายชอ่ื มหาวิทยาลยั โดยใช้เคร่ืองหมายจลุ ภาค (,) และเวน้ วรรค 1 ระยะคั่นระหวา่ ง ชอื่ มหาวิทยาลัยและส่วนขยายดงั กล่าว รูปแบบ ช่ือผู้เขยี น./(ปีทเี่ ขยี น)./ชอื่ เร่ือง./เอกสารไม่ตีพิมพ.์ /ชือ่ มหาวทิ ยาลัย,/สว่ นขยาย (ถา้ ม)ี . ตวั อย่าง Ryff, C. D., Lee, Y. H., & Na, K. C. (1993). Through the lens of culture: psychological well-being at mid life. Unpublished manuscript, University of Wisconsin, Madison.

- 76 - ค. สิ่งพิมพ์ท่ีอยู่ระหว่างการพิมพ์ (In press) รูปแบบการอ้างอิงใช้เหมือนกับบทความ ในวารสาร แต่ไม่ต้องระบุปีที่ ฉบับท่ีหรือเลขหน้าจนกว่าบทความจะได้รับการตีพิมพ์ และระบุคาว่า อยู่ระหว่างการพิมพ์ ในเอกสารภาษาไทย และระบุคาว่า In press สาหรับเอกสารภาษาต่างประเทศ เชน่ วีระศักดิ์ ปัญญาพรวทิ ยา. (อยูร่ ะหว่างการพมิ พ)์ . ประสทิ ธภิ าพของการสบื พันธ์ขุ อง โคนม. เชียงใหมส่ ตั วแพทยสาร. Zuckerman, M. & Kieffer, S. C. (in press). Race differences in face-ism: does facial prominence imply dominance?. Journal of Personality and Social Psychology. ง. ข้อมูลดิบท่ีได้จากการศึกษา ไม่มีชื่อของงาน ให้ต้ังหัวข้อขึ้นมาเอง และไม่ต้องพิมพ์ ตัวเอนหรือหนา เอกสารภาษาไทย ใช้คาว่า ข้อมูลดิบ ส่วนเอกสารภาษาต่างประเทศ ใช้คาว่า Unpublished raw data รูปแบบ ช่อื ผ้เู ขยี น./(ปีท่ศี ึกษาเสร็จ)./[หัวข้อที่ตงั้ ขึ้นเอง]./เอกสารไม่ตีพมิ พ.์ /ขอ้ มลู ตวั อย่าง Deaux, M., & Wise, A. R. (1993). [Auditory response latencies in rat Auditory cortex]. Unpublished raw data. จ. ส่ิงพิมพ์ที่จากัดการเผยแพร่ เป็นส่ิงพิมพ์ที่ได้มาจากแหล่งอื่น ๆ หรือมาจากการ สืบค้นผ่านระบบอินเทอร์เน็ต ให้ใช้คาว่า ได้จาก สาหรับเอกสารภาษาไทย และใช้คาว่า Available from สาหรบั เอกสารภาษาตา่ งประเทศ ก่อนช่ือและที่อยทู่ ่ีหาส่ิงพิมพ์มาได้ หรือใส่ URL แทนที่อยู่ หรือ เพิม่ เตมิ จากท่ีอยูท่ ่ีหาส่ิงพมิ พ์ได้ รูปแบบ ช่อื ผู้เขยี น./(ปี, เดอื น)./ช่ือเร่อื ง./(ได้จากชือ่ และท่ีอยู่ที่หาสิ่งพมิ พ์ได้).

- 77 - ตัวอยา่ ง Chambes, W. R. (Ed.). (2002). INAC Projects. (Available from the Isaawian Nation Arts Council). 11.3 เอกสารสิทธบิ ตั ร รปู แบบ ชอ่ื ผจู้ ดสทิ ธบิ ัตร./(ปีทีจ่ ดลิขสิทธ์ิ, เดือน วัน)./ชอ่ื สง่ิ ประดิษฐ์./ประเทศท่จี ดสทิ ธิบัตร. ตวั อยา่ ง สาธิต เกษมสนั ต,์ ม.ล. (2526, กุมภาพนั ธ์ 4). กรรมวธิ ใี นการทาออบโซลูตอัลกอฮอล์. สทิ ธบิ ตั รไทย เลขท่ี 77. Buchanan, R. A. (1979, Jan 23). Extraction of rubber or rubberlike Substances from fibrous plant materials. Us. Patent No. 4, 136, 141. 11.3 เอกสารสทิ ธิบตั ร รูปแบบ ช่อื ผู้จดสทิ ธิบัตร./(ปีทีจ่ ดลิขสิทธ,์ิ เดือน วนั )./ชือ่ สง่ิ ประดิษฐ์./ประเทศทจ่ี ดสิทธบิ ตั ร. ตัวอย่าง สาธติ เกษมสนั ต,์ ม.ล. (4 กมุ ภาพันธ์ 2526). กรรมวธิ ใี นการทาออบโซลูตอัลกอฮอล.์ สทิ ธิบัตรไทย เลขที่ 77. Buchanan, R. A. (1979, Jan 23). Extraction of rubber or rubberlike Substances from fibrous plant materials. Us. Patent No. 4, 136, 141. 11.4 เอกสารสิทธิบตั ร ในกรณีที่ต้องการอ้างเอกสารที่มีผู้กล่าวไว้แล้วในหนังสืออีกเล่มหนึ่ง โดยไม่ได้อ่าน เอกสารต้นฉบับเดิม การอ้างเช่นน้ีถือว่ามิได้เป้นการถ้างถึงเอกสรน้ันโดยตรง การลงรายการอ้างอิงหรือ บรรณานกุ รมให้ลงรายการของผ้แู ตง่ อันดับรอง เช่น

- 78 - ตวั อย่าง กหุ ลาบ มัลลิกะมาส. (2525). ความรู้ทัว่ ไปทางวรรณคดไี ทย. กรุงเทพฯ: วชั รินทร์ การพมิ พ์. Chlheart, M., Curtis, B., Atkins, P., & Haller, M. (1993). Models of Reading Alound: Dual-route and parpallel-distributed-processing Approaches. Psychological Review, 100, 589-608. 11.5 มาตรฐานผลิตภณั ฑ์อุตสาหกรรม รปู แบบ ช่ือสานกั งานมาตรฐานผลิตภณั ฑอ์ ุตสาหกรรม./(ปีที่ออกประกาศ)./ช่ือมาตรฐาน / / / / / / / /ผลิตภณั ฑ์อตุ สาหกรรม./เลขที่ มอก. ตวั อย่าง สานกั งานมาตรฐานผลิตภณั ฑ์อตุ สาหกรรม. (2548). เหล็กแผ่นรีดเย็นเคลอื บสงั กะสี โดยกรรมวิธจี ุ่มร้อน แผน่ มว้ น แผน่ ตัด และแผน่ ลกู ฟูก. มอก. 50-2548. 12 หลักเกณฑก์ ารพมิ พร์ ายการอ้างองิ และบรรณานกุ รม หลกั เกณฑใ์ นการพิมพร์ ายการอ้างอิงและบรรณานุกรม มีดังนี้ 1. วิทยานิพนธภ์ าษาไทย ใหพ้ ิมพ์คาวา่ “รายการอ้างองิ ” หรือ “บรรณานุกรม” วิทยานิพนธ์ ภาษาต่างประเทศใช้คาว่า “References” หรือ “Bibliography” กลางหน้ากระดาษ ตัวอักษรขนาด 20 พอยด์ ตวั หนา จากนน้ั เวน้ ระยะ 1 บรรทัด แล้วพมิ พ์รายการสารสนเทศท่ีนามาอา้ งองิ 2. การพิมพ์รายการอ้างอิงหรือบรรณานุกรมแต่ละรายการ ให้พิมพ์ชิดขอบกระดาษด้านซ้าย โดยไม่ต้องต้ังการพิมพ์ด้านขวา หากรายการใดไม่จบใน 1 บรรทัด ให้พิมพ์บรรทัดต่อ ๆ มาโดยย่อหน้า เข้าไป 1.6 เซนติเมตร จนจบรายการน้นั ๆ แลว้ จึงขนึ้ รายการใหม่ 3. รายการทีน่ ามาอา้ งอิง ให้แยกตามประเภทดงั น้ี 3.1 หนงั สือ 3.2 บทความในหนงั สอื วารสาร หนงั สอื พมิ พ์ สารานกุ รม 3.3 เอกสารอ่ืน ๆ เช่น เอกสารการประชมุ สัมมนา จุลสาร โสตทศั น์ เป็นต้น 3.4 สารสนเทศอเิ ล็กทรอนกิ ส์ 4. ในกรณีที่รายการทน่ี ามาอา้ งองิ ก็อาจจะไมต่ ้องแยกประเภทของเอกสารได้

- 79 - 13 การเรยี งลาดบั รายการอ้างองิ หลังจากท่ีเขียนรายการอ้างองิ หรอื บรรณานุกรมของเอกสารท่ีนามาใชอ้ ้างอิงทั้งหมดแล้ว แต่ ละรายการที่ปรากฏจะต้องเรียงลาดบั ตามลาดบั ตัวอักษรตัวแรกของรายการทป่ี รากฏ (ก-ฮ, A-Z) หากมี ภาษาอังกฤษกับภาษาไทย ให้เรยี งแยกกนั โดยให้เรียงภาษาไทยมากอ่ นเสมอ การเรยี งลาดับของรายการ อ้างองิ ทาได้ 2 ลกั ษณะ คือ 1. หากจานวนรายการไม่มาก ให้เรียงรวมทุกรายการไว้ด้วยกันโดยเรียงตามลาดับอักษรของ ผแู้ ต่ง 2. หากจานวนรายการมีจานวนมาก ควรเรียงรายการแยกตามประเภทของเอกสาร ท้ังน้ีใน การเรียงแต่ละประเภทใหเ้ รียงตามลาดับอักษรของผู้แตง่ ด้วยเช่นกัน หลกั การเรียงรายการตามลาดับตวั อักษร หลักการเรียงรายการอ้างอิงให้เรียงเอกสารภาษาไทยก่อน จากน้ันจึงเรียงเอกสาร ภาษาต่างประเทศ โดยเรียงลาดับตามลาดบั ตวั อักษรตัวแรกท่ีปรากฏตามแบบแผนของพจนานุกรมฉบับ ราชบณั ฑติ ยสถาน หรือ Dictionary ที่เปน็ ทยี่ อมรบั กนั ทวั่ ไป โดยมหี ลักการเรยี ง ดังนี้ 1. ให้เรียงทีละตวั อักษรของคานนั้ เชน่ กรกนก โมราศิลป์ เสาวนีย์ บญุ ม่ัน Brown, J. A. Browner, J. A. 2. คานาหน้าชื่อ M’ Mc หรือ Mac ให้เรียงตามรูปท่ีปรากฏ โดยไม่สนใจเคร่ืองหมาย ‘ (apostrophe) เชน่ Mcarthur Mcnell M’ Cornell 3. ช่ือสกุลท่ีมีคานาหน้านาม (article) หรือคาบุพบท (preposition) เช่น de, la, du, von ฯลฯ ใหเ้ รยี งตามกฎของภาษานั้น หากรู้วา่ เปน็ ส่วนหนึง่ ของช่ือสกลุ ใหเ้ รียงลาดับอักษรตามรูปทปี่ รากฏ 4. หากเรียงงานหลายงานท่มี ชี ่ือผ้แู ต่งคนแรกเหมือนกนั โดยใชห้ ลกั ดงั น้ี 4.1 ให้เรียงรายการท่ีมผี ู้แต่งคนเดยี วมาก่อนรายการทีม่ ีหลายคน 4.2 หากผแู้ ตง่ คนแรกซา้ กัน ใหเ้ รียงตามช่ือผแู้ ต่งคนตอ่ มา 4.3 หากผู้แตง่ เหมอื นกันหมด ให้เรยี งลาดับตามอักษรของช่ือเรื่อง 4.4 หากผู้แต่งเหมือนกัน ไม่ว่าจะเป็นผู้แต่งคนเดียวหรือหลายคน ให้เรียงตามปีพิมพ์ ต่อมา แตห่ ากปีพิมพ์ยงั ซ้ากัน ใหเ้ รยี งตามลาดบั อักษร a b c ท่กี ากบั ปพี มิ พน์ ้ัน

- 80 - 5. การเรียงรายการท่ีมีตวั เลข ซงึ่ ไมใ่ ช้ปพี มิ พ์ ให้เรยี งตามการออกเสยี งตัวเลขนั้น เช่น 80 วันรอบโลก 100ศพั ท์น่ารู้ 6. หากชอ่ื ผูแ้ ต่งเหมือนกนั ให้เรียงตามอักษรของชื่อตน้ และชอื่ กลาง เชน่ ชาญวิทย์ เกษตรศริ ิ ชาญวิทย์ จารสุ มบตั ิ Mass, M. Mass, S. A. 7. เอกสารผู้แต่งที่เป็นสถาบัน สมาคม หน่วยงาน ให้เรียงตามลาดับอักษรตัวแรกของช่ือ สถาบนั ทีส่ ะกดเตม็ โดยเรียงไปทลี ะลาดบั ต้ังแต่หน่วยงานใหญ่ถงึ หนว่ ยงานย่อย 8. การเรยี งงานที่ไม่มีผู้แต่ง ช่ือเรอ่ื งจะนามาเรียงไว้แทนช่ือผู้แต่ง ให้เรียงรายการอ้างอิงตาม อักษรของช่ือเรื่อง 14 การใช้เครื่องหมายวรรคตอนในรายการอ้างอิง 14.1 เครื่องหมายมหพั ภาค (. Full stop) ใช้ในกรณดี งั ต่อไปนี้ - เม่อื เขียนยอ่ ช่ือแรกหรือชอื่ กลางของผ้แู ต่งชาวตา่ งประเทศ เช่น Kennedy, J. F. - เมอื่ ใช้ช่ือย่อหรือคาย่อ เช่น Ed. หรอื Eds. - ใช้เม่ือจบแตล่ ะสว่ นของรายการอ้างองิ เช่น ผแู้ ตง่ ช่ือเรื่อง ปพี มิ พ์ 14.2 เครอื่ งหมายจลุ ภาค (, Comma) ใชใ้ นกรณีดังต่อไปนี้ - ค่นั ระหว่างชือ่ สกุลกับชอื่ ต้น กรณที ี่กลับช่อื สกุลของผู้แต่งชาวตา่ งประเทศ - คนั่ ระหว่างชอื่ และบรรดาศกั ดิ์ กรณขี องผูแ้ ต่งชาวไทย - ใช้คัน่ ระหวา่ งชอื่ ผู้แต่งคนที่ 1 ถงึ คนที่ 5 (กรณมี ีผู้แตง่ 3-6 คน) - ใชค้ ั่นระหวา่ งผแู้ ต่งแลปพี มิ พ์ (กรณกี ารอ้างองิ ระบบนามปี) 14.3 เคร่ืองหมายอัฒภาค (; Semi-colon) ใช้เมื่อข้อความส่วนนั้นได้ใช้เครื่องหมาย จุลภาคไปแล้ว โดยเฉพาะกรณี อ้างอิงเร่ืองเดียวกันหลาย ๆ คน เช่น several researchers (Greenberg, Domitrovich & Bumbarger, 2000; Ywwn et al., 2000) … 14.2 เครื่องหมายทวิภาค (: colon) ใช้เพื่อค่ันระหว่างชื่อสถานที่พิมพ์ (ชื่อเมือง, ช่อื รัฐ) และช่ือสานกั พิมพ์ 15 การพิมพเ์ ครอ่ื งหมายวรรคตอนสาหรับการอา้ งองิ สาหรับการพิมพ์เนื้อหาและการอ้างอิง จะเรมิ่ บรรทัดแรกของเอกสารแต่ละรายการโดยพิมพ์ ชิดขอบกระดาษด้านซ้ายบรรทัดต่อไปให้ย่อหน้า 8 ช่วงตัวอักษร เริ่มพิมพ์ตัวอักษรที่ 9 หากอ้างงาน เขียนของบคุ คลซา้ ขีดเสน้ 8 ช่วงตวั อักษรแทนนามบคุ คล และ 4 ชว่ งตัวอกั ษรแทนชือ่ หน่วยงาน

- 81 - การเว้นระยะการพมิ พห์ ลงั เครือ่ งหมายวรรคตอน มดี งั น้ี 1. การเว้นระยะ 1 ชว่ งตัวอกั ษรหลังเครอ่ื งหมายดังตอ่ ไปน้ี เคร่ืองหมาย มหพั ภาค [. Full stops] เครอ่ื งหมาย จุลภาค [, comma] เครอ่ื งหมายอฒั ภาค [; semi-colon] เครอ่ื งหมาย ทวภิ าค [: colon] เครื่องหมาย ปรัศนี [? Question mark] เคร่ืองหมาย อัศเจรยี ์ [! Exclamation mark] ยกเว้น เครือ่ งหมายมหพั ภาค (.) หลงั คาย่อตอ่ ไปน้ี ไมต่ ้องเวน้ ระยะใด ๆ หมายเลข DOI ม.ป.ป. หมายถึง ไมป่ รากฏปีพมิ พ์ ม.ป.ท. หมายถึง ไมป่ รากฏสถานทพ่ี ิมพ์ n.p. หมายถึง no place n.d. หมายถงึ no date 2. เวน้ 1 ช่วงตัวอกั ษรหนา้ และหลังเครื่องหมายดังต่อไปนี้ เครื่องหมาย นขลิขิต [( ) right parenthesis] เครอ่ื งหมาย วงเลบ็ เหลย่ี ม [[ ]] เครอื่ งหมาย อญั ประกาศ [“ ” quotation marks] เครอ่ื งหมาย แอนด์ [& ampersand] 16 การใชค้ ายอ่ ในการเขียนรายการอา้ งอิง คาย่อท่ีเป็นที่ยอมรับโดยทั่วไป โดยเฉพาะในการเขียนรายการอ้างอิงท้ังภาษาต่างประเทศ และภาษาไทย มดี ังต่อไปนี้ คาเต็ม คาย่อ ความหมาย ไม่ปรากฏปที ี่พมิ พ์ ม.ป.ป. ไม่ปรากฏปีที่พิมพ์ ไม่ปรากฏสถานทพ่ี มิ พ์ ม.ป.ท. ไมป่ รากฏสถานท่ีพิมพ์ หน้า น. เลม่ ท่ี 2 ล. 2 ผรู้ วบรวม ฉบับท่ี ฉ. บรรณาธิการ 2 เลม่ 2 ล. ครงั้ ทพี่ ิมพ์ ตอนที่ 4 ต. 4 Compiler Comp. Editor, Editors Ed., Eds. Edition ed.

- 82 - Revised Edition Rev. ed. ฉบับปรับปรุง (เวน้ วรรคระหว่าง rev. และ ed.) Third Edition 3rd ed. พิมพค์ รั้งท่สี าม (เว้นวรรคระหวา่ ง 3rd และ ed.) Translator(s) Trans. ผแู้ ปล No date n.d. ไม่ปรากฏปีท่พี ิมพ์ No place n.p. ไม่ปรากฏสถานที่พิมพห์ รือสานักพิมพ์ Page, Pages p., pp. เลขหนา้ Number No. ลาดบั ที่ Volume, Volumes Vol., Vols. ปีที่ Chapter Chap บทที่ Part Pt. ส่วน Technical Report Tech. Rep. รายงานทางวิชาการ (เว้นวรรคระหว่าง Tech. และ Rep. Supplement Suppl. สว่ นเพม่ิ เตมิ ระบบตัวเลข (วทิ ยานิพนธ์สายวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ให้ใช้แบบระบบตัวเลข) วิทยานิพนธ์สายวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีให้ใช้แบบระบบตัวเลขโดยสามารถกาหนดขี้นจาก โปรแกรม Endnote version ใดก็ได้ โดยกาหนดรายละเอียดรูปแบบการอ้างอิงเป็นแบบ IEEE โดยมี รายละเอียดเพมิ่ เตมิ ดงั น้ี 1. อา้ งองิ จากวารสาร (Journal) Author,/\"Title,\" Journal,/vol. Volume,/p./pp. Pages,/Date/Year. ช่ือผเู้ ขียนบทความ, \"ชอ่ื บทความ,/\" ชื่อวารสาร,/ปีที่ ปีทีพ่ ิมพ์,/นน. เลขหนา้ ,/เดอื นทีต่ ีพิมพ์/ปี. ตัวอยา่ ง [1] P. Chaiyasat, C. Suksawad, T. Nuruk, and A. Chaiyasat, \"Preparation and characterization of nanocomposites of natural rubber with polystyrene and styrene-methacrylic acid copolymer nanoparticles,\" Express Polymer Letters, vol. 6, pp. 511-518, Jun 2012.

- 83 - [2] A. Chaiyasat, C. Waree, K. Songkhamrod, P. Sirithip, V. Voranuch, and P. Chaiyasat, \"Preparation of polydivinylbenzene/natural rubber capsule encapsulating octadecane: Influence of natural rubber molecular weight and content,\" Express Polymer Letters, vol. 6, pp. 70-77, Jan 2012. [3] S. Teepoo, P. Chumsaeng, P. Nethan, W. Prueprang, and P. Tumsae, \"Highly Sensitive Pencil-Based Renewable Biosensor for Hydrogen Peroxide Detection With a Novel Bionanomultilayer,\" International Journal of Electrochemical Science, vol. 7, pp. 4645-4656, May 2012. [4] P. Chatchai, A. Y. Nosaka, and Y. Nosaka, \"Photoelectrocatalytic performance of WO3/BiVO4 toward the dye degradation,\" Electrochimica Acta, vol. 94, pp. 314-319, Apr 2013. [5] T. E. Tremain, “The Government Standard Linear Prediction Coding Algorithm: LPC- 10,” Speech Technology, vol 5, No. 4, pp. 12-14, July 1982. 2. อา้ งองิ จากหนังสือ กรณีที่อ้างอิงจากหนังสอื ทั้งเล่มไมต่ ้องระบเุ ลขหน้า โดยมรี ายละเอยี ดดังน้ี Author,/Title,/Edition ed./vol./Volume./ Place Published/:/Publisher,/Year. ชอ่ื ผู้แต่ง,/ชื่อเร่ือง,/คร้งั ที่ คร้ังทพี่ มิ พ์./ ปที ่ี. ปีท่ีพิมพ์./สถานทพี่ ิมพ์/:/สานกั พิมพ์, ปี. ตวั อย่าง [6 ] K. Matyjaszewski, Advances in Controlled/LiVing Radical Polymerization vol. 854. Washington : American Chemical Society, 2003. [7] C.S. Chern, Principles and Applications of Emulsion Polymerization. New Jersey : John Wiley & Sons, Inc., 2008. [8] B.A. Shenoi, Introduction to Digital Signal Processing and Filter Design, New Jersey : John Wiley & Sons, Inc., 2006.

- 84 - ในกรณีอ้างบางส่วนจากหนังสือใหร้ ะบุเลขหนา้ ไว้ โดยมีรายละเอียดดังน้ี Author, \"Title,\"/in Book Title./vol. Volume, Editor, Ed./Eds.,/ Edition ed/Place Published/:/Publisher, Year, p./pp. Pages/. ชือ่ ผแู้ ต่ง, \"ชอ่ื เร่อื งหรอื บท,\"/ใน ชื่อหนังสอื ./ ปีท.่ี ปีทพ่ี ิมพ์,/ชื่อบรรณาธิการ,/บรรณาธิการ.,/ ครั้ง ท่ี คร้ังท่ีพมิ พ์./สถานท่ีพิมพ์/:/สานักพมิ พ์,/ปี,/นน./เลขหน้า. ตวั อย่าง [9] R. J. C. Gilbert, \"Cholesterol-Dependent Cytolysins,\" in Proteins: Membrane Binding and Pore Formation. vol. 677, G. Anderluh and J. Lakey, Eds., ed, New York : Springer, 2010, pp. 56-66. 3. อ้างองิ จากรายงานสืบเนอื่ งจากการประชมุ วชิ าการ Author, \"Title,\"/in Conference Name,/Conference Location,/Year of Conference,/pp. Pages. ชอ่ื ผ้เู ขียนบทความ, \"ช่อื บทความ,\"/ใน ช่อื งานการประชมุ วิชาการ,/สถานที่จัดงาน,/ปี,/pp. เลขหน้า. ตัวอย่าง [10] R. B. Gilbert, L. W. Lake, C. J. Jablonowski, J. W. Jennings, and E. J. Nunez, \"A Procedure for Assessing the Value of Oilfield Sensors,\" in Special Reservoir Evaluation & Engineering, 2009, pp. 618-629. [11] L. A. McCullough and K. Matyjaszewski, \"Conjugated Conducting Polymers as Components in Block Copolymer Systems,\" in Molecular Crystals and Liquid Crystals, 2010, pp. 1-55. [12] K. Pattanaburiand J. Srinonchat, “Efficiency of Ordered Codebook Learning Vector Quantization for Speech Compression,” in 2nd International Conference on Information and Electronics Engineering, 2012, pp. 37-41. 4. อา้ งองิ จากงานประชุมวิชาการ Author, \"Title,\"/presented at the` Conference Name,/Conference Location,/Year. ช่ือผเู้ ขยี นบทความ, \"ชื่อบทความ,\"/นาเสนอท่ี ช่ืองานการประชมุ วิชาการ,/สถานทจี่ ัดงาน,/ปี.

- 85 - ตวั อย่าง [13] C. Ponchio, P. Meekluab and S. Maijui “Development of a photoelectrocatalytic process for an increase dissolved oxygen content in an aquarium container,” presented at the Pure and Applied Chemistry International Conference (PACCON2013), Chonburi, 2013. [14] W. Boontung, S. Moonmangmee, A. Chaiyasat and P. Chaiyasat, “Preparation of Poly (l-lactic acid) Capsule Encapsulating Urea: Influence of Types and Amounts of Stabilizer”, ,” presented at the InnoBioPlast 2013, Bangkok, 2013. 5.อา้ งองิ จาก สทิ ธิบัตร Inventor,/\"Title,\"/Country Patent Patent Number,/Issue Date,/Year. ช่ือผู้จดสทิ ธิบัตร,/\"ชื่อสิง่ ประดิษฐ์,\"/ประเทศทีจ่ ดสิทธิบัตร เลขทีส่ ิทธิบัตร,/วัน เดอื น, ป.ี ตัวอยา่ ง [15] T. G. M. van de Ven, A. Tejado, M. N. Alam, and M. Antal, \"Novel Highly Charged Non-Water Soluble Cellulose Products, Includes All Types of Cellulose Nanostructures Especially Cellulose Nanofibers, And Method of Making them,\" WO2012119229 A1, 13 Sep, 2012. [16] A. Auriol and J. Gillot, “Porous Material and Tubular Filter Made of Said Material,” US Patent, No. 4-724-078, 4 July, 1988. 6. อา้ งอิงจากวทิ ยานิพนธ์ Author,/\"Title,\"/Degree Thesis Type,/Academic Department,/University,/Place Published,/Year. ชอ่ื ผเู้ ขยี นวทิ ยานพิ นธ์,/\"ชอ่ื วทิ ยานพิ นธ์,\"/ชนดิ ของวิทยานิพนธ์,/ภาควชิ า คณะ,/มหาวทิ ยาลยั ,/ สถานท่ีตีพิมพ์,/ป.ี

- 86 - ตัวอย่าง [17] A. Chaiyasat, \"Various Aspects of Particle Formation in Emulsion Polymerization, \" Ph.D Thesis, Chemical Science and Engineering, Graduate School of Engineering, Kobe University, Kobe, 2008. [18] J. Srinonchat, “Investigation and Explotation of the Repetitiveness of Speech Signals in Speaker Dependent Coding System,” Ph.D. Thesis, Electrical Engineering, School of Computing Engineering and Information Sciences, Northumbria University, Newcastle, 2005. 7. อ้างอิงจากหนังสอื พมิ พ์ Author,/\"Title,\"/Newspaper name,/Date Month Year./pp. Pages. ช่ือผูเ้ ขียนวิทยานพิ นธ์,/\"ชอ่ื บทความ,\"/ช่ือหนังสือพมิ พ์,/วนั ที่ เดือน ปตี ีพิมพ์,/ ป,ี /หนา้ . ตัวอยา่ ง [19] มรกต ตันติเจริญ, “เทคโนโลยีชีวภาพ,” เดลินิวส์, 5 กนั ยายน 2544, หน้า 5. 8. อา้ งอิงจากสารสรเทศอิเลก็ ทรอนกิ ส์ แบบเอกสารฉบับเต็ม ( Full-Text) จากฐานข้อมูลออนไลน์ เช่น Science Direct, ABI/Inform, IEEE Xplore เป็นต้น Author,/\"Title,\"/Journal (Electronic),/vol. Volume,/Year,/pp. Pages/Available:,/|publisher name,/Database name,/(Date of searching). ชื่อผ้เู ขยี นบทความ,/\"ชอื่ บทความ,\"/ชื่อวารสาร,/ปที ,่ี / ปีทพี่ มิ พ์,/นน. เลขหน้า,/Available:,/ ชื่อผจู้ ดั พมิ พ์,/ช่อื ฐานขอ้ มลู (วนั ท่ีสบื ค้น). ตวั อย่าง [20] S. L. Goh and D. P. Mandic, “Nonlinear Adaptive Prediction of Complex-Valued Signals by Complex-Valued PRNN,” IEEE Transaction on Signal Processing (Electronic), vol. 53, 2005, pp. 1827-1856, Available: IEEE organization, IEEE Xploer (28 January 2005).

- 87 - แบบเอกสารสังเขปจากฐานข้อมูลออนไลน์ เชน่ Applied Science and Technology Plus, Science Direct เปน็ ต้น Author,/Abstract of \"Title,\" Journal (Electronic),/vol. Volume,/Year,/pp. Pages,/Available:,/ publisher name,/Database name,/(Date of searching). ชื่อผู้เขียนบทความ,/บทคัดย่อของ \"ช่ือบทความ,\"/ชอ่ื วารสาร,/ปีท,ี่ /ปที ีพ่ มิ พ์,/นน. เลขหนา้ ,/ Available:,/ช่อื ผจู้ ัดพิมพ์,/ชอื่ ฐานข้อมลู (วันทีส่ บื คน้ ). ตัวอย่าง [21] P. Pontiect, Abstract of “Fuel-Cell Material Development by Altair,” Automative Engineering International (Electronic), vol. 109, 2001, pp. 82-83, Available: UMI/Applied Science and Technology Plus (16 June 2001). 9. อา้ งอิงจากสารสนเทศประเภท World Wide Web Author,/Website Name (online),/Year,/Available: URL,/(Date of searching). ชอ่ื ผูเ้ ขยี นบทความ,/ชอ่ื website (online),/ปี,/Available: URL,/(วนั ทสี่ ืบค้น). ตวั อย่าง [22] K. Wu, What is Nano (online), 2000, Available: www.nano.org.uk/nano.html (22 October 2001). การพิมพร์ ายการเอกสารอ้างองิ สาหรับระบบตัวเลข ใหเ้ รียงหมายเลขตามลาดับที่ไดอ้ า้ งถึงใน เน้ือหาของวิทยานิพนธ์ ไม่ต้องแยกภาษาและประเภทส่ิงพิมพ์ โดยเริ่มพิมพ์หมายเลขแต่ละรายการ ชิดขอบซ้ายในวงเลบ็ [ ] กอ่ นพมิ พ์รายการเอกสารอา้ งอิง ดังตวั อย่างตอ่ ไปนี้ ตวั อย่าง การพมิ พร์ ายการอ้างอิงแบบระบบตัวเลข [1] P. Chaiyasat, C. Suksawad, T. Nuruk, and A. Chaiyasat, \"Preparation and characterization of nanocomposites of natural rubber with polystyrene and styrene-methacrylic acid copolymer nanoparticles,\" Express Polymer Letters, vol. 6, pp. 511-518, Jun 2012.

- 88 - [2] A. Chaiyasat, C. Waree, K. Songkhamrod, P. Sirithip, V. Voranuch, and P. Chaiyasat, \"Preparation of polydivinylbenzene/natural rubber capsule encapsulating octadecane: Influence of natural rubber molecular weight and content,\" Express Polymer Letters, vol. 6, pp. 70-77, Jan 2012. [3] S. Teepoo, P. Chumsaeng, P. Nethan, W. Prueprang, and P. Tumsae, \"Highly Sensitive Pencil-Based Renewable Biosensor for Hydrogen Peroxide Detection With a Novel Bionanomultilayer,\" International Journal of Electrochemical Science, vol. 7, pp. 4645-4656, May 2012. [4] P. Chatchai, A. Y. Nosaka, and Y. Nosaka, \"Photoelectrocatalytic performance of WO3/BiVO4 toward the dye degradation,\" Electrochimica Acta, vol. 94, pp. 314-319, Apr 2013. [5] T. E. Tremain, “The Government Standard Linear Prediction Coding Algorithm: LPC- 10,” Speech Technology, vol 5, No. 4, pp. 12-14, July 1982. [6 ] K. Matyjaszewski, Advances in Controlled/LiVing Radical Polymerization vol. 854. Washington: American Chemical Society, 2003. [7] C.S. Chern, Principles and Applications of Emulsion Polymerization. New Jersey: John Wiley & Sons, Inc., 2008 [8] B.A. Shenoi, Introduction to Digital Signal Processing and Filter Design, New Jersey: John Wiley & Sons, Inc., 2006 [9] R. J. C. Gilbert, \"Cholesterol-Dependent Cytolysins,\" in Proteins: Membrane Binding and Pore Formation. vol. 677, G. Anderluh and J. Lakey, Eds., ed, New York:Springer, 2010, pp. 56-66. [10] R. B. Gilbert, L. W. Lake, C. J. Jablonowski, J. W. Jennings, and E. J. Nunez, \"A Procedure for Assessing the Value of Oilfield Sensors,\" in Special Reservoir Evaluation & Engineering, 2009, pp. 618-629. [11] L. A. McCullough and K. Matyjaszewski, \"Conjugated Conducting Polymers as Components in Block Copolymer Systems,\" in Molecular Crystals and Liquid Crystals, 2010, pp. 1-55. [12] K. Pattanaburiand J. Srinonchat, “Efficiency of Ordered Codebook Learning Vector Quantization for Speech Compression,” in 2nd International Conference on Information and Electronics Engineering, 2012, pp. 37-41. [13] C. Ponchio, P. Meekluab and S. Maijui “Development of a photoelectrocatalytic process for an increase dissolved oxygen content in an aquarium container,” presented at the Pure and Applied Chemistry International Conference (PACCON2013), Chonburi, 2013.

- 89 - [14] W. Boontung, S. Moonmangmee, A. Chaiyasat and P. Chaiyasat, “Preparation of Poly (l-lactic acid) Capsule Encapsulating Urea: Influence of Types and Amounts of Stabilizer”, ,” presented at the InnoBioPlast 2013, Bangkok, 2013. [15] T. G. M. van de Ven, A. Tejado, M. N. Alam, and M. Antal, \"Novel Highly Charged Non-Water Soluble Cellulose Products, Includes All Types of Cellulose Nanostructures Especially Cellulose Nanofibers, And Method of Making them,\" WO2012119229 A1, 13 Sep, 2012. [16] A. Auriol and J. Gillot, “Porous Material and Tubular Filter Made of Said Material,” US Patent, No. 4-724-078, 4 July, 1988. [17] A. Chaiyasat, \"Various Aspects of Particle Formation in Emulsion Polymerization, \" Ph.D Thesis, Chemical Science and Engineering, Graduate School of Engineering, Kobe University, Kobe, 2008. [18] J. Srinonchat, “Investigation and Explotation of the Repetitiveness of Speech Signals in Speaker Dependent Coding System,” Ph.D. Thesis, Electrical Engineering, School of Computing Engineering and Information Sciences, Northumbria University, Newcastle, 2005. [19] มรกต ตันติเจรญิ , “เทคโนโลยชี วี ภาพ,” เดลินวิ ส,์ 5 กนั ยายน 2544, หน้า 5. [20] S. L. Goh and D. P. Mandic, “Nonlinear Adaptive Prediction of Complex-Valued Signals by Complex-Valued PRNN,” IEEE Transaction on Signal Processing (Electronic), vol. 53, 2005, pp. 1827-1856, Available: IEEE organization, IEEE Xploer (28 January 2005). [21] P. Pontiect, Abstract of “Fuel-Cell Material Development by Altair,” Automative Engineering International (Electronic), vol. 109, 2001, pp. 82-83, Available: UMI/Applied Science and Technology Plus (16 June 2001). [22] K. Wu, What is Nano (online), 2000, Available: www.nano.org.uk/nano.html (22 October 2001).

ภาคผนวก

ภาคผนวก ก จรรยาบรรณในการจดั ทาวทิ ยานพิ นธ์

- 92 - จรรยาบรรณในการจดั ทาวิทยานพิ นธ์ การคัดลอกผลงาน (Plagiarism) เป็นการขโมยเอาความคิด คาพูดและผลงานของผู้อ่ืนมาเป็น ของตน โดยไม่ให้เกียรติแก่แหล่งขอ้ มูลที่ได้มา ซึ่งนามาใช้เหมอื นเปน็ งานของตนเอง รวมท้ังการคัดลอก ผลงานของผู้อ่ืน หรือนาผลงานของผู้อื่นมาทาใหม่ ตลอดจนดาเนินการว่าจ้างให้ผู้อ่ืนทาให้ แก้ไข ดัดแปลง หรือปรับปรุงงานใหม่ คล้ายกับว่าเป็นงานของตนเอง โดยสะท้อนให้เห็นพฤติกรรม ทัศนคติ และแรงจูงใจของผู้กระทาไม่ว่าบุคคลนั้นจะต้ังใจหรือไม่ต้ังใจก็ตาม ซึ่งสามารถแบ่งออกได้ 4 ประเภท ไดแ้ ก่ 1. ตัง้ ใจคัดลอกผลงานของผูอ้ ่นื ท้งั หมด 2. คัดลอกผลงานของผอู้ ื่นโดยบงั เอิญหรือคาดไมถ่ ึง เชน่ การอา้ งองิ ไมถ่ ูกต้องหรือไมเ่ หมาะสม 3. คัดลอกผลงานของผู้อนื่ โดยไมไ่ ด้ต้งั ใจ 4. คัดลอกผลงานของตนเอง โดยนาส่วนหน่งึ หรือท้ังหมดมานาเสนอใหม่ เชน่ นาเสนอผลงานของ ตนในเรื่องเดียวกนั มากกวา่ 1 รายวชิ า การทาวิทยานิพนธ์น้ัน ผู้วจิ ยั ต้องจัดทาโดยการเขยี นวิทยานิพนธ์ด้วยตนเองหากมกี ารเขยี นดว้ ย ตนเองหรือไม่มีการอ้างอิง ที่เป็นไปตามหลักการอ้างอิงอาจอยู่ในลักษณะการคัดลอกผลงานของผู้อ่ืน อาจมคี วามผิดหรอื ไม่ปฏบิ ตั ิตามจรรยาบรรณ หรือพระราชบัญญตั ทิ ี่เก่ยี วขอ้ ง ดงั น้ี 1. จรรยาบรรณนักวิจัย ของคณะกรรมการสภาวิจัยแห่งชาติ ได้กาหนดจรรยาบรรณของนักวิจัย โดยมีแนวปฏบิ ัติ 9 ข้อ ได้แก่ 1.1 นกั วิจยั ต้องซอ่ื สตั ย์ และมีคุณธรรมในทางวิชาการและการจดั การ 1.2 นักวิจัยต้องตระหนักถึงพันธกรณีในการทาวิจัยตามข้อตกลงที่ทาไว้กับหน่วยงาน ที่สนบั สนุนการวจิ ัยและตอ่ หนว่ ยงานทต่ี นสังกัด 1.3 นักวจิ ยั ต้องมีพืน้ ฐานความรู้ในสาขาวิชาการท่ีทาวิจัย 1.4 นักวิจยั ตอ้ งมีความรับผิดชอบต่อสง่ิ ท่ีศกึ ษาวิจัย ไม่ว่าจะเป็นสิง่ ที่มชี วี ิตหรอื ไม่มีชีวติ 1.5 นกั วิจัยตอ้ งเคารพศักดศิ์ รี และสทิ ธขิ องมนษุ ยท์ ่ีใช้เปน็ ตัวอยา่ งในการวจิ ยั 1.6 นกั วจิ ยั ตอ้ งมีอิสระทางความคิด โดยปราศจากอคติในทุกขนั้ ตอนของการทาวิจัย 1.7 นกั วิจัยพึงนาผลงานวิจัยไปใชป้ ระโยชนใ์ นทางที่ชอบ 1.8 นกั วิจยั พึงเคารพความคดิ เห็นทางวิชาการของผู้อ่นื 1.9 นกั วิจยั พึงมคี วามรบั ผิดชอบตอ่ สังคมทกุ ระดับ จากจรรยาบรรณนักวิจัย หากผู้วจิ ัยไม่อ้างอิง หรือไม่เขียนด้วยตนเองก็จะมีความผิดในฐานะไม่ ปฏิบัติตามจรรยาบรรณนักวิจัย โดยเฉพาะในข้อ 1.1 ที่ระบุวา่ นักวจิ ัยต้องซ่ือสัตย์และมีคุณธรรมในทาง วิชาการและการจัดการโดยมีรายละเอียดวา่ “นักวิจัยตอ้ งมีความซ่อื สัตย์ต่อตนเอง ไมน่ าผลงานของผอู้ ื่น มาเป็นของตน ไม่ลอกเลียนแบบของผู้อื่น ต้องให้เกียรติและอ้างถึงบุคคลหรือแหล่งที่มาของข้อมูลที่ นามาใช้ในงานวิจัย ต้องซื่อตรงต่อการแสวงหาทุนวิจัย และมีความเป็นธรรมเก่ียวกับผลประโยชน์ที่ได้ จากการวจิ ยั ”

- 93 - 2. พระราชบญั ญตั ิลิขสทิ ธ์ิ พ.ศ. 2537 ในมาตรา 4 “วรรณกรรม” หมายถึง งานนิพนธ์ท่ีทาขึ้น ทุกชนิด เช่น หนังสือ จุลสาร ส่ิงเขียน สิ่งพิมพ์ ปาฐกถา เทศนา คาปราศรัย สุนทรพจน์ และให้ความ หมายความรวมถึงโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วย ดังนั้นหากผู้วิจัยเขียนวิทยานิพนธ์ และการค้นคว้าอิสระ โดยไม่อ้างอิงหรือคดั ลอกอาจเข้าขา่ ย กรณีถ้าบุคคลท่ีไม่มีสิทธ์ิใช้ประโยชน์และได้กระทาโดยการละเมิด ลิขสิทธิ์รายงานผลการวิจัย / วิชาการ ภายใต้บทบัญญัติมาตรา 27 กล่าวคือ การกระทาอย่างใดๆ แก่ งานอันมีลิขสิทธ์ิโดยไม่ได้รับอนุญาตตามมาตรา 15(5) ให้ถือว่าเป็นการละเมิดลิขสิทธ์ิถ้าได้กระทา ดังตอ่ ไปนี้ (1) ทาซา้ หรอื ดดั แปลงมคี วามหมายดงั นี้ คอื :- - การทาซ้า ตามนัยมาตรา 4 หมายรวมถึง การคัดลอกไม่ว่าโดยวิธีใด ๆ เลียนแบบ ทาสาเนา ทาแม่พิมพ์ บนั ทกึ เสยี ง บันทึกภาพ หรือบันทกึ เสียงและภาพจากตน้ ฉบับ จากสาเนาหรอื จาก โฆษณาในส่วนอันเปน็ สาระสาคญั ทั้งนี้ไม่ว่าทง้ั หมดหรือบางส่วนฯ เป็นตน้ - การดัดแปลง ตามนัยมาตรา 4 หมายรวมถึง ทาซ้าโดยการเปล่ียนรูปแบบใหม่ ปรับปรุง แก้ไขเพ่ิมเติม หรือจาลองงานต้นฉบับในส่วนอันเป็นสาระสาคัญ โดยไม่มีลักษณะเป็นการจัด ทางานขึ้นใหม่ ท้ังน้ีไม่ว่าท้ังหมดหรือบางส่วน ดังเช่น ในอนุมาตรา 1 ในส่วนท่ีเกี่ยวกับงานวรรณกรรม หรือ การรวบรวมงานวรรณกรรมโดยการคัดเลือกและจัดลาดับใหมฯ่ เปน็ ต้น (2) เผยแพร่ต่อสาธารณชน ตามนัยมาตรา 4 หมายรวมถึง การทาให้ปรากฏต่อ สาธารณชนโดยการแสดง การบรรยาย การสวด การบรรเลง การทาให้ปรากฏด้วยเสียงและหรือภาพ การกอ่ สร้าง การจาหนา่ ย หรอื โดยวิธีอน่ื ใด ซงึ่ งานท่ีได้จดั ทาข้ึน ดังนั้นหากไม่ทาตาม พ.ร.บ. ลิขสิทธ์ิย่อมเป็นการละเมิดลิขสิทธิ์อาจได้รับ “บทลงโทษ” ตามนัยทีบ่ ญั ญัติไวใ้ นมาตรา 69 - 77 “ผใู้ ดกระทาการละเมิดลิขสทิ ธ์ิฯ.............ต้องระวางโทษปรับตงั้ แต่ สองหม่ืนบาทถึงสองแสนบาท และกรณีเป็นการกระทาเพ่ือการค้า ต้องระวางโทษจาคุกตั้งแต่หกเดือน ถึงสี่ปี 3. พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ.2547 หมวด 5 ว่าด้วย วินัยและการรักษาวินัย มาตรา 37 ประกอบมาตรา 45 พบว่าข้าราชการพลเรือนในสถาบัน อุดมศึกษา “ต้องรักษาวินัยและจรรยาบรรณตามที่สภาอุดมศึกษากาหนดโดยเคร่งครัด” และอาจกาหนดให้การ ประพฤตผิ ดิ จรรยาบรรณเรือ่ งใด ๆ เปน็ ความผดิ วินยั อย่างรา้ ยแรงก็ได้ 4. พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2547 หมวด 6 ว่า ด้วยวินัยและการรักษาวินัย มาตรา 91 บัญญัติว่า “ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาต้องไม่ คัดลอกหรือลอกเลียนผลงานทางวิชาการของผู้อ่ืนโดยมิชอบ หรือนาเอาผลงานทางวิชาการของผู้อ่ืน หรือจ้างวานให้ผู้อ่ืนทาผลงานทางวิชาการเพื่อไปใช้ในการเสนอขอปรับ ปรุงการกาหนดตาแหน่งการ เล่ือนตาแหน่ง การเล่ือนวิทยฐานะ หรือการให้ได้รับเงินเดือนในระดับท่ีสูงข้ึน การฝ่าฝืนหลักเกณฑ์ ดงั กล่าวน้ี เป็นความผดิ วนิ ยั อยา่ งรา้ ยแรง

- 94 - ข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษาที่ร่วมดาเนินการคัดลอกหรือลอกเลียนผลงานของ ผู้อื่นโดยมิชอบ หรือรับจัดทาผลงานทางวิชาการไม่ว่าจะมีค่าตอบแทนหรือไม่ เพ่ือให้ผู้อ่ืนนาผลงานนั้น ไปใชป้ ระโยชนใ์ นการดาเนนิ การตามวรรคหน่งึ เป็นความผิดวนิ ยั อยา่ งร้ายแรง”

ภาคผนวก ข ใบคารอ้ งเกีย่ วกบั การจดั ทาวทิ ยานพิ นธ/์ การคน้ ควา้ อสิ ระ

- 96 - กรุณากรอกเอกสารด้วยตวั บรรจง มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ี สานกั บณั ฑิตศึกษา แบบเสนอหัวข้อและเค้าโครงวทิ ยานิพนธ์ / การค้นคว้าอสิ ระ วนั ท่ี ……..เดือน …………… พ.ศ. …….. ระดบั การศึกษา ป.โท ป.เอก ภาค ปกติ พเิ ศษ ขา้ พเจา้ (นาย/นาง/นางสาว/อื่น ๆ โปรดระบุ)………………….. ……………………… นามสกลุ ……………………………….…… รหสั ประจาตวั นกั ศึกษา □□□□□□□□□□□□ - คณะ …………............................……………………...……… สาขาวชิ า / วชิ าเอก………………………..…………………… แขนงวชิ า…………………………………..……………….……….. อยบู่ า้ นเลขที่…………………………………...……………………………………………………...………………………………… จงั หวดั ……………………………………. รหสั ไปรษณีย์ ……………โทรศพั ท…์ ………………โทรศพั ทม์ ือถือ…..……………… มีความประสงคจ์ ะขอเสนอหวั ขอ้ และเคา้ โครง ( ) วทิ ยานิพนธ์ ( ) การคน้ ควา้ อิสระ โดยไดต้ รวจสอบช่ือเร่ืองน้ีแลว้ ไม่ซ้ากบั ผอู้ ่ืน ช่ือเร่ืองภาษาไทย …………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ช่ือเรื่องภาษาองั กฤษ …………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ขอรับรองวา่ ขอ้ ความท่ีกรอกไวน้ ้ีเป็ นความจริงทุกประการ และเอกสารต่าง ๆ ท่ีแนบมาพร้อมน้ีเป็นเอกสารที่ถกู ตอ้ ง ลงชื่อ……………..………………………. (………………..……………………) นกั ศึกษา โดยมีคณะกรรมการท่ีปรึกษาวทิ ยานิพนธ์ / การคน้ ควา้ อิสระ รับรองแลว้ คือ 1. ความเห็นอาจารย์ทีป่ รึกษาวทิ ยานพิ นธ์ / การค้นคว้าอสิ ระ 2. ความเห็นประธานกรรมการบริหารหลกั สูตร เห็นควรอนุมตั ิ สาขาวชิ า ………………………………………. อื่น ๆ อนุมตั ิ ระบ…ุ ………………………………………………………….. อื่น ๆ ระบ…ุ …………………………………………………………. ………………………………………………………………………. ลงช่ือ ……………………………………….. ลงช่ือ ……………………………………….. (………………………………………..) (………………………………………..) วนั ที่ ………./ ………./ ………. วนั ท่ี ………./ ………./ ………. 3. ความเห็นคณบดี □ ทราบ / เสนอสานกั บณั ฑิตศึกษา ลงชื่อ ……………………………………….. (………………………………………..) วนั ที่ ………./ ………./ ………. ISSUE 01: (June 15,2011 ) บฑ 21


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook