Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ศิริประภา

ศิริประภา

Published by Siriprapa Yuenyoung, 2021-01-28 04:34:30

Description: ศิริประภา

Search

Read the Text Version

คำนำ โครงงานเรอื่ งสมนุ ไพรพ้นื บานนจี้ ดั ทำขน้ึ เพือ่ เปนสวนหนง่ึ ของวชิ าการศึกษา คนควาชั้น เพื่อใหไดศึกษาหาความรูในเรื่องสมนุ ไพรพ้ืนบานและไดศึกษาอยาง เขาใจเพ่อื เปนประโยชนกับบุคคลทีมีความสนใจในเรือ่ งน้ี

สมนุ ไพรพนื้ บาน ประวตั ิความเปนมา สมุนไพรคืออะไร คำวา สมุนไพร ตามพระราชบัญญัตหิ มายความถงึ ยาทไ่ี ดจากพืช สัตว และแร ซึง่ ยังมิไดมี การผสมปรุงหรือแปรสภาพ (ยกเวนการทำใหแหง) เชน พืชก็ยังคงเปนสวนของราก ลำตน ใบ ดอก ผล ฯลฯ ยังไมไดผานขั้นตอนการแปรรูปใดๆ เชน การหั่น การบด การกล่ัน การสกัดแยก รวมท้งั การผสมกับสารอื่นๆ แตในทางการคา สมุนไพรมักจะถูกดดั แปลงในรปู แบบ ตางๆ เชน ถูก ห่ันเปนช้ินเล็กลง บดใหเปนผง อัดใหเปนแทง หรือปอกเปลือกออก เปนตน เม่ือพูดถึงสมุนไพร คนทั่วๆ ไปมักจะนึกถึงเฉพาะพืชท่ีนำมาใชประโยชนในทางยา ทั้งน้ีเพราะ สัตว และแรมีการใช นอย จะใชเฉพาะในโรคบางชนิดเทานนั้ ประวตั ิของการใชสมนุ ไพร สมุนไพร คอื ของขวัญที่ธรรมชาติมอบใหกับมวลมนุษยชาติ มนุษยเรารูจักใชสมุนไพรใน ดานการบำบดั รักษาโรค นบั แตยคุ นีแอนเดอรทลั ในประเทศอิรักปจจุบันทห่ี ลมุ ฝงศพพบวามกี ารใช สมุนไพรหลายพนั ปมาแลวที่ชาวอินเดียแดงในเม็กซโิ ก ใชตนตะบองเพชร(Peyate) เปนยาฆาเช้ือ และรักษาบาดแผล ปจจุบันพบวา ตะบองเพชรมีฤทธ์ิกลอมประสาทประมาณ 4,000 ปมาแลว ท่ี ชาวสุเมเรยี นไดเขามาตั้ งรกราก ณ บริเวณแมน้ำไทกรสิ และยเู ฟรติสปจจุบัน คือ ประเทศอิรกั ใช สมุนไพร เชน ฝน ชะเอม ไทม และมัสตารด และตอมาชาวบาบิโลเนียน ใชสมุนไพรเพิ่มเติมจาก ชาวสุเมเรียน ไดแกใบมะขามแขก หญาฝร่นั ลูกผักชี อบเชย และกระเทียม ในยุคตอมาอียิปตโบราณมี อิมโฮเทป แพทยผูมีชื่อเสียงซ่ึงตอมาไดรับการยกยองใหเปน เทพเจาแหงการรักษาโรค ของอียิปต มีตำราสมุนไพรที่เกาแก คือ Papytus Ebers ซึ่งเขียน เม่ือ 1,600 ป กอนคริสตศักราช ซึ่งคนพบโดยนักอียิปตวิทยาชาวเยอรมนั นี ช่ือ Georg Ebers ใน ตำรานี้ไดกลาวถึงตำราสมุนไพรมากกวา 800 ตำรับ และสมุนไพรมากกวา 700 ชนิด เชน วาน หางจระเข เวอรมวูด(warmwood) เปปเปอรมินต เฮนเบน(henbane) มดยอบ, hemp dagbane ละหุง mandrake เปนตน รูปแบบในการเตรียมยาในสมัยนั้น ไดแก การตม การชง ทำ เปนผง กล่ันเปนเม็ด ทำเปนยาพอก เปนขผ้ี ้ึง

นอกจากนี้ยังพบวาชาติตางๆ ในแถบยุโรปและแอฟริกา มีหลักฐานการใชสมุนไพร ตามลำดบั กอนหลังของการเริม่ ใชสมุนไพร คอื หลังจากสมุนไพรไดเจริญรุงเรืองในอียิปตแลว กไ็ ด มกี ารสบื ทอดกันมา เชน กรีก โรมนั อาหรับ อิรกั เยอรมัน โปรตุเกส สวีเดน และโปแลนดสวนใน แถบเอเซีย ตามบันทึกประวตั ิศาสตรพบวามีการใชสมุนไพรท่ีอินเดียกอน แลวสบื ทอดมาท่ีจีน มะ ละกา และประเทศไทย ประโยชนของพชื สมนุ ไพร 1. สามารถรกั ษาโรคบางชนดิ ได โดยไมตองใชยาแผนปจจุบนั ซงึ่ บางชนดิ อาจมีราคาแพง และตองเสียคาใชจายมาก อกี ทัง้ อาจหาซ้ือไดยากในทองถ่ินนั้น 2. ใหผลการรักษาไดดใี กลเคยี งกบั ยาแผนปจจบุ ัน และใหความปลอดภยั แกผใู ชมากกวาแผน ปจจบุ ัน 3. สามารถหาไดงายในทองถ่นิ เพราะสวนใหญไดจากพืชซ่ึงมีอยูทว่ั ไปทัง้ ในเมืองและ ชนบท มีราคาถูก สามารถประหยดั คาใชจายในการซ้อื ยาแผนปจจบุ ัน ท่ตี องส่งั ซ้อื จากตาง ประเทศเปนการลดการขาดดุลทางการคา 4. ใชเปนยาบำรุงรักษาใหรางกายมสี ุขภาพแข็งแรง 5. ใชเปนอาหารและปลูกเปนพชื ผักสวนครวั ได เชน กะเพรา โหระพา ขงิ ขา ตำลึง 6. ใชในการถนอมอาหารเชน ลกู จันทร ดอกจันทรและกานพลู 7. ใชปรงุ แตง กลิน่ สี รส ของอาหาร เชน ลูกจนั ทร ใชปรงุ แตงกล่ินอาหารพวก ขนมปง เนย ไสกรอก แฮม เบคอน 8. สามารถปลกู เปนไมประดับอาคารสถานทตี่ าง ๆ ใหสวยงาม เชน คนู ชมุ เห็ดเทศ 9. ใชปรุงเปนเครอ่ื งสำอางเพื่อเสริมความงาม เชน วานหางจระเข ประคำดคี วาย 10. ใชเปนยาฆาแมลงในสวนผัก, ผลไม เชน สะเดา ตะไคร หอม ยาสูบ 11. เปนพืชที่สามารถสงออกทำรายไดใหกับประเทศ เชน กระวาน ขมิ้นชนั เรว 12. เปนการอนุรักษมรดกไทยใหประชาชนในแตละทองถน่ิ รูจกั ชวยตนเองในการ นำพืช สมุนไพรในทองถิ่นของตนมาใชใหเกิดประโยชนตามแบบแผนโบราณ 13. ทำใหคนเห็นคณุ คาและกลับมาดำเนินชวี ติ ใกลชิดธรรมชาตยิ งิ่ ขึ้น 14. ทำใหเกิดความภูมใิ จในวฒั นธรรม และคุณคาของความเปนไทย สรรพคณุ สมุนไพรพื้นบาน

ตะไคร ชือ่ วิทยาศาสตร Cymbopogon citratus Stapf. วงศ GRAMINEAE ชอื่ อืน่ ๆ ภาคเหนือ : จะไค (Cha-khai) จะไค (Cha-khai) ภาคใต : ไคร (Khrai) ชวา : ซีเร (Sere) ถ่ินกำเนดิ อินโดนีเซยี ศรีลังกา พมา อนิ เดยี อเมรกิ าใต ไทย รูปลักษณะ : ไมลมลกุ ทีมีอายุไดหลายป ชอบดินรวนซยุ ปลูกได ตลอดป ใบสีเขยี วยาวแหลม ดอก ฟูสีขาว หวั โตข้นึ จากดินเปนกอๆ กล่ินหอมฉุนคอนขางรอน การปลกู : ไถพรวนดนิ และตากดนิ ไวประมาณ 7 - 10 วัน ยอยดนิ ใหละเอียด ใสปยุ คอกหรือปุย หมกั คลกุ เคลาใหเขากับดินขุดหลมุ ปลกุ ระยะ 30 x 30 เซนติเมตร กอนนำตะไครไปปลกู นำพนั ธุ ทีเ่ ตรยี มไวตัดใบออก ใหเหลือตนยาว ประมาณ 30 - 40 เซนติเมตร มาแชนำ้ ประมาณ 5 - 7 วนั เพื่อใหรากงอก รากทแ่ี กเต็มท่จี ะมีสีเหลอื งเขม นำไปปลุกในแปลงวางตนพนั ธุ ใหเอียง 45 องศา ไปดานใดดานหนึง่ แลวกลบดิน จากน้นั รดน้ำใหชมุ หลงั ปลูกไดประมาณ 30 วัน กค็ วรใสปุย สตู ร 15 - 15 - 15 หรอื 46 - 0 - 0 อตั รา 50 กโิ ลกรัม/ไร สรรพคุณและสวนที่นำมาใชเปนยา

น้ำมันจากใบและตน – แตงกล่นิ อาหาร เคร่ืองดม่ื สบู ลำตนแกหรอื เหงา – แกอาการทองอืดทองเฟอ ขับปสสาวะ แกน่ิว ขับประจำเดือน ขิง ชอ่ื วทิ ยาศาสตร : Zingiber officinale Roscoe. ช่อื วงศ : ZINGIBERACEAE ชอื่ พ้ืนเมอื ง: ขงิ แกลง, ขงิ แดง (จนั ทรบรุ )ี ขิงเผือก (เชยี งใหม) สะเอ (แมฮองสอน) ขิงบาน ขิงแครง ขิงปา ขงิ เขา ขิงดอกเดยี ว (ภาคกลาง) เกยี (จีนแตจิ๋ว) ลักษณะทัว่ ไป : ไมลมลุก สูง 0.3-1 เมตร มีเหงาใตดิน เปลอื กนอกสนี ำ้ ตาลแกมเหลอื ง เนือ้ ในสี นวลแกมเขียว มกี ลิน่ เฉพาะ แตกสาขา คลายน้วิ มือ ใบเดยี่ ว เรยี งสลบั รูปขอบขนาน แกมใบหอก กวาง 1.5-2 ซม. ยาว 15-20 ซม. ดอกชอแทงออกจากเหงา กลีบดอกสเี หลอื งแกมเขียว ใบ ประดับสีเขียวออน ผลแหง มี 3 พูสรรพคุณเหงาแกทัง้ สดและแหงใชเปนยาขบั ลม ชวยใหเจรญิ อาหาร แกอาเจยี น แกไอ ขบั เสมหะและขับเหง่ือ ผงขงิ แหงมฤี ทธข์ิ บั นำ้ ดี ชวยยอยไขมนั ลดการ บบี ตวั ของลำไส บรรเทาอาการปวดทองเกรง

บวั บก ชอ่ื วิทยาศาสตร : Centella asiatica Urban วงศ : Umbelliferae ชอ่ื สามญั : Asiatic Pennywort/Tiger Herbalชื่ออน่ื : ผกั แวน ผักหนอก รูปลกั ษณะ : ไมลมลกุ อายุหลายป เลอ้ื ยแผไปตามพ้ืนดิน ชอบท่ีช้นื แฉะ แตกรากฝอยตามขอ ไหล ทแ่ี ผไปจะงอกใบจากขอ ชูขน้ึ 3-5 ใบ ใบเดีย่ ว เรยี งสลับ รปู ไต เสนผาศูนยกลาง 2-5 ซม. ขอบใบ หยัก กานใบยาว ดอกชอ ออกท่ีซอกใบ ขนาดเล็ก 2-3 ดอก กลบี ดอกสมี วง ผลแหง แตกได สรรพคณุ และสวนทีน่ ำมาใชเปนยาใบสด - ใชเปนยาภายนอกรกั ษาแผลเปอย แผลไฟไหมน้ำรอน ลวก โดยใชใบสด 1 กำมอื ลางใหสะอาด ตำละเอยี ด คัน้ เอาน้ำทาบรเิ วณแผลบอย ๆ ใชกากพอก ดวยก็ได แผลจะสนิทและเกดิ แผลเปนชนดิ นูน (keloid) นอยลง สารที่ออกฤทธ์คิ อื กรด madecassic, กรด asiatic และ asiaticoside ซ่งึ ชวยสมานแผลและเรงการสรางเนือ้ เยื่อ ระงบั การเจรญิ เติบโตของเช้อื แบคทีเรยี ทท่ี ำใหเกดิ หนองและลดการอกั เสบ มรี ายงานการคนพบ ฤทธ์ิฆาเชื้อรา อันเปนสาเหตุของโรคกลาก ปจจุบนั มีการพฒั นายาเตรยี มชนดิ ครมี ใหทารักษา แผลอกั เสบจากการผาตดั น้ำตมใบสด - ดมื่ ลดไข รักษาโรคปากเปอย ปากเหม็น เจ็บคอ รอนใน กระหายน้ำ ขบั ปสสาวะ แกทองเสยี

ขา ชื่อวิทยาศาสตร : Languas galaga (Linn). Stuntz ช่ือวงศ: ZINGIBERACEAE ชอื่ พน้ื เมือง: ขา ขาใหญ ขาหลวง ขาหยวก (ภาคเหนือ) กฎุ กกโรหินี เสะเออเคย (แมฮองสอน) สะเชย (กะเหรย่ี ง-แมฮองสอน) ลักษณะท่ัวไป : ไมลมลกุ สงู 1.5-2 เมตร เหงามีขอและปลองชัดเจน ใบเด่ีย ใบสเี ขยี วออนสลับกัน รูปรางรยี าว ปลายแหลม ดอกออกเปนชอท่นี อ ดอกยอยขนาดเล็ก กลีบดอกสีขาว โคนติดกนั เปน หลอดส้ันๆ ปลายแยกเปน 3 กลบี กลีบใหญทสี่ ดุ มีร้ิวสแี ดง ใบประดบั รูปไข ผลแหง แตกได รปู กลมสรรพคณุ เหงาสดตำผสมกบั เหลาโรง ใชทารกั ษาโรคผิวหนงั ท่เี กิดจากเช้อื รา เชน กลาก เกลอ้ื น เหงาออนตมเอานำ้ ด่ืม บรรเทาอาการทองอดื ทองเฟอ และขับลม ขาไมมีฤทธ์ิกอกลาย พนั ธุและไมเปนพิษ

กระชาย ช่ือวทิ ยาศาสตร : Boesenbergia rotunda (Linn.) Mansf. ชือ่ วงศ : ZINGIBERACEAE ชื่อพื้นเมือง: ขิง กระชาย กะชาย วานพระอาทิตย (กรุงเทพฯ) กระแอม ระแอน (ภาคเหนือ) ขิง ทราย (มหาสารคาม) จี๊ปู ซีฟู (ฉาน-แมฮองสอน) เปาะส่ี เปาซอเราะ (กะเหรี่ยง-แมฮองสอน) ลกั ษณะท่ัวไป : ไมลมลุก ไมมลี ำตนบนดิน มีเหงาใตดิน ซ่งึ แตกรากออกไป เปนกระจุกจำนวนมาก อวบน้ำ ตรงกลางพองกวางกวาสวนหัวและทาย ใบเด่ียว เรียงสลับในระนาบเดียวกัน รูปขอบ ขนานแกมรปู ไข ตรงกลางดานในของกานใบมีรองลึก ดอกชอ ออกแทรกอยูระหวางกาบใบท่ีโคน ตน กลีบดอกสีขาวหรอื ชมพูออน ใบประดับรปู ใบหอก สีมวงแดง ดอกยอยบานคร้ังละ 1 ดอก ผล ของกระชายเปนผลแหงสรรพคณุ เหงาใชแกโรคในปาก ขบั ปสสาวะ รกั ษาโรคบิด แกปวดมวนทอง ขับระดูขาว

มะกรดู ช่อื วิทยาศาสตร Citrus hystrix DC. ชอ่ื วงศ Rutaceac ชื่อสามัญ Leech Lime, Mauritius Papeda, Kaffir Lime, Porcupine Orange ชอ่ื ทองถ่นิ ภาคเหนือ เรยี ก มะขดู , มะขนุ ภาคใต เรยี ก สมกรูด, สมมัว่ ผี เขมร เรียก โกรยเขยี ด กะเหร่ียง-แมฮองสอน เรยี ก มะขู ลกั ษณะท่วั ไป : มะกรดู เปนไมยืนตนขนาดเลก็ แตกก่ิงกาน ลำตนและกิง่ มหี นามแขง็ ใบ เปนใบ ประกอบที่มีใบยอยใบเดียว สเี ขยี วหนา มลี ักษณะคอดกิ่วทกี่ ลางใบเปนตอนๆ มีกานแผออกใหญ เทากับแผนใบ ทำใหเห็นใบเปน 2 ตอน ใบสเี ขยี วแกคอนขางหนา มีกล่นิ หอมมากเพราะมีตอม นำ้ มันอยู ดอก ออกเปนกระจุก 3–5 ดอก กลีบดอกสีขาว รวงงาย ผล มีหลายแบบแลวแตพันธุผล เล็กเทามะนาว ผิวขรขุ ระนอยกวาและไมมีจกุ ที่หัว การปลูก มะกรดู ปลูกไดดใี นดนิ ทุกชนดิ ขยายพนั ธุโดยการเพาะเมลด็ สรรพคุณทางยา :ผวิ ผลสดและผลแหง รสปรา หอมรอน สรรพคุณแกลมหนามืด แกวิงเวียน บำรุง หัวใจ ขบั ลมลำไส ขบั ระดูผล รสเปรย้ี ว มสี รรพคณุ เปนยาขบั เสมหะ แกไอ แกน้ำลายเหนียว ฟโล หิต ใชสระผมทำใหผมดกดำ ขจัดรงั แค ราก รสเยน็ จดื แกพิษฝภายใน แกเสมหะ แกลมจุกเสียด นำ้ มะกรดู รสเปร้ียว กดั เสมหะ ใชดองยามีสรรพคณุ เปนยาฟอกโลหติ สำหรบั สตรีใบ รสปราหแก ไอ แกอาเจียนเปนโลหติ แกชำ้ ใน และดับกลิ่นคาวไอ แกอาเจยี นเปนโลหติ แกช้ำใน และดับกลนิ่ คาว

วานหางจระเข ช่อื วทิ ยาศาสตร : Aloe barbadensis Mill. ช่อื วงศ: ALOACEAE ชื่อพน้ื เมือง: วานไฟไหม (ภาคเหนือ) หางตะเข (ภาคกลาง) ลักษณะทว่ั ไป : ไมลมลุกอายุหลายป สงู 0.5-1 เมตร ขอและปลองสน้ั ใบเด่ยี ว เรียงรอบตน กวาง 5-12 ซม. ยาว 0.3-0.8 เมตร อวบน้ำมาก สีเขียวออนหรือสีเขยี วเขม ภายในมีวุนใส ใตผวิ สี เขียวมีนำ้ ยางสีเหลือง ใบออนมปี ระสขี าว ดอกชอออกจากกลางตน ดอกยอย เปนหลอดหอยลง สี สม บานจากลางขน้ึ บน ผลแหง แตกไดสรรพคุณวุนสดภายในใบท่ีฝานออกใชปดพอกรักษาแผลสด แผลเรื้อรงั แผลไฟไหมน้ำรอนลวก แผลไหมเกรยี ม กินรักษาแผลในกระเพาะอาหาร และใชเปน สวนผสมในเครอ่ื งสำอาง นำ้ ยางสีเหลอื งจากใบเคยี่ วใหแหง เรยี กวา ยาดำ เปนยาระบายชนดิ เพ่มิ การบบี ตวั ของลำไสใหญ

แดงหรอื มวง กลบี ดอกสขี าว บาง ผล เปนผลสดประโยชนทางสมุนไพร : ตำรายาไทยใชผลดบิ ซึง่ มี สารแทนนนิ มาก รกั ษาอาการทองเสยี และบดิ โดยกนิ ครง้ั ละคร่งึ หรอื หนงึ่ ผล มรี ายงานวา มีฤทธิ์ ปองกันการเกิดแผลในกระเพาะอาหารของหนขู าวทถี่ ูกกระตุนดวยยาแอสไพรนิ เช่อื วาฤทธ์ิ ดงั กลาวเกดิ จากการถูกกระตุนผนงั กระเพาะอาหารใหหลง่ั สารเมือกออกมามากข้นึ จึงนำมา ทดลองรกั ษาโรคกระเพาะอาหารของคน โดยใชกลวยดิบ ห่ันเปนแวน ตากแหงบดเปนผง กินวนั ละ 4 ครง้ั ๆ ละ 1-2 ชอนแกง กอนอาหารและกอนนอน อาจทำใหเกดิ อาการทองอืด ซึ่งปองกันได โดยกินรวมกับยาขบั ลม เชน ขงิ ปองกันการเกิดแผลในกระเพาะอาหารของหนขู าวท่ีถกู กระตุนดวยยาแอสไพรนิ เชอื่ วาฤทธิ์ ดังกลาวเกิดจากการถกู กระตุนผนงั กระเพาะอาหารใหหล่ังสารเมือกออกมามากข้นึ จงึ นำมา ทดลองรกั ษาโรคกระเพาะอาหารของคน โดยใชกลวยดิบ ห่นั เปนแวน ตากแหงบดเปนผง กนิ วัน ละ 4 ครง้ั ๆ ละ 1-2 ชอนแกง กอนอาหารและกอนนอน อาจทำใหเกิดอาการทองอดื ซ่ึงปองกันได โดยกนิ รวมกับยาขับลม เชน ขงิ

กานพลู ชื่อวิทยาศาสตร : Eugenia caryophyllum Bullock & Harrison วงศ : Myrtaceae ชือ่ สามัญ : Clove ลักษณะ : ไมยนื ตน สงู 5-10 เมตร ใบเดี่ยว เรียงตรงขาม รปู วงรหี รือรปู ใบหอก กวาง 2.5-4 ซม. ยาว 6-10 ซม. ขอบเปนคลนื่ ใบออนสีแดงหรอื น้ำตาลแดง เนื้อใบบางคอนขางเหนียว ผิวมนั ดอก ชอ ออกทซี่ อกใบ กลบี ดอกสขี าวและรวงงาย กลบี เลี้ยงและฐานดอกสีแดงหนาแข็ง ผลเปนผลสด รูปไข ประโยชนทางสมนุ ไพร : ตำรายาไทย ใชดอกตมู แหงแกปวดฟน โดยใชดอกแชเหลาเอาสำลชี บุ อุด รูฟน และใชขนาด 5-8 ดอก ชงนำ้ เดือด ดมื่ เฉพาะสวนน้ำหรอื ใชเค้ยี วแกทองเสยี ขับลม แก ทองอดื เฟอ นอกจากนีใ้ ชผสมในยาอมบวนปากดับกล่นิ ปาก พบวาในน้ำมนั หอมรเหยทีก่ ล่ันจาก ดอกมสี าร eugenol ซึง่ มฤี ทธเ์ิ ปนยาชาเฉพาะที่ จึงใชแกปวดฟน และมีฤทธิล์ ดการบบี ตวั ของ ลำไส ทำใหเกิดอาการปวดทองลดลง ชวยขบั น้ำดี ลดอาการจุกเสียดทเ่ี กดิ จากการยอยไมสมบูรณ และสามารถฆาเชอ้ื แบคทเี รียหลายชนิดเชน เชอ้ื โรคไทฟอยด บดิ ชนดิ ไมมตี ัว เชอื้ หนองเปนตน นอกจากน้ียังกระตุนใหมกี ารหลัง่ เมือก และลดการเปนกรดในกระเพาะอาห]วงศ : Musaceaeช่อื สามัญ ; Banana

ลักษณะ : ไมลมลุก สงู 2-4.5 เมตร มลี ำตนใตดิน ลำตนเหนอื ดินเกดิ จากกาบใบหุมซอนกัน ใบ เด่ียว เรยี งสลับซอนกันรอบตนท่ปี ลายยอด รูปขอบขนาน กวาง 25-40 ซม. ยาว 1-2 เมตร ผิวใบ เรยี บมนั ทองใบสอี อนกวา มนี วล ดอก ชอเรียกวา หัวปลีออกทีป่ ลายยอด ใบประดับหุมชอดอกสี แดงหรือมวง กลบี ดอกสขี าว บาง ผล เปนผลสดประโยชนทางสมุนไพร : ตำรายาไทยใชผลดิบซ่ึงมี สารแทนนินมาก รกั ษาอาการทองเสียและบดิ โดยกินครง้ั ละคร่งึ หรอื หน่ึงผล มรี ายงานวา มีฤทธ์ิ ปองกันการเกิดแผลในกระเพาะอาหารของหนูขาวทถ่ี กู กระตุนดวยยาแอสไพรนิ เช่ือวาฤทธิ์ ดงั กลาวเกิดจากการถูกกระตุนผนงั กระเพาะอาหารใหหลัง่ สารเมือกออกมามากขน้ึ จงึ นำมา ทดลองรกั ษาโรคกระเพาะอาหารของคน โดยใชกลวยดิบ ห่ันเปนแวน ตากแหงบดเปนผง กินวนั ละ 4 คร้งั ๆ ละ 1-2 ชอนแกง กอนอาหารและกอนนอน อาจทำใหเกิดอาการทองอดื ซึ่งปองกันได โดยกนิ รวมกับยาขบั ลม เชน ขงิ

กระเทยี ม ชอื่ วิทยาศาสตร : Allium sativum L. วงศ : Alliaceae ช่อื สามญั : Common Garlic , Allium ,Garlic , ชอ่ื อน่ื : กระเทียม (ภาคกลาง) หอมเทียม (ภาคเหนอื ) หอมขาว (ภาคอสี าน) เทียม, หอมเทียม (ภาคใต) ลกั ษณะ : ไมพุม สงู 2-4 เมตร ก่ิงออนมีหนาม ใบประกอบชนดิ มใี บยอยใบเดยี ว เรียงสลับ รปู ไข รูปวงรหี รือรูปไขแกมขอบขนานกวาง 3-5 ซม. ยาว 4-8 ซม. เนื้อใบมีจดุ น้ำมนั กระจาย กานใบมี ครีบเล็ก ๆ ดอกเด่ยี วหรือชอ ออกท่ีปลายกิ่งและทซี่ อกใบ กลีบดอกสีขาว กลิ่นหอม รวงงาย ผล เปนผลสด กลมเกลย้ี ง ฉำ่ นำ้ ประโยชนทางสมุนไพร : ตำรายาไทยใชน้ำมะนาวและผลดองแหงเปนยาขับเสมหะแกไอ แกโรค เลอื ดออกตามไรฟน เพราะมวี ิตามินซี นำ้ มะนาวเปนกระสายยาสำหรับสมนุ ไพรทใี่ ชขบั เสมหะเชน ดปี ลีกินรวมกับยาขับลม เชน ขิง

ขเี้ หล็ก ชอ่ื วิทยาศาสตร : Cassia siamea Britt. วงศ : Leguminosae ชื่อสามัญ : Cassod Tree / Thai Copper Pod ช่ืออ่นื ขเ้ี หลก็ แกน ขเ้ี หลก็ บาน ขีเ้ หลก็ หลวง ขเี้ หลก็ ใหญลักษณะ : ไมยืนตน สูง 10-15 เมตร ใบประกอบแบบขนนก เรยี งสลบั ใบยอยรปู ขอบ ขนาน กวางประมาณ 1.5 ซม. ยาว 4 ซม. ใบออนมขี นสนี ำ้ ตาลแกมเขียว ดอกชอ ออกทป่ี ลายกิ่ง กลีบดอกสีเหลอื ง ผลเปนฝกแบนยาวและหนา ประโยชนทางสมุนไพร : ตำรายาไทยใชดอกเปนยานอนหลับ ลดความดนั โลหิตดอกตมู และใบออน เปนยาระบาย ใบแกระดขู าว แกน่ิว ขับปสสาวะ แกนแกไข ทำใหนอนหลบั รักษากามโรค ใบออน และแกนมสี ารกลุมแอนทราควิโนนหลายชนดิ จึงมฤี ทธ์เิ ปนยาระบายใชใบออนครั้งละ 2-3 กำมอื ตมกบั นำ้ 1-1.5 ถวย เตมิ เกลอื เล็กนอย ด่ืมกอนอาหารเชาครงั้ เดียว นอกจากน้ีในใบออนและดอก ตูมยงั พบสารซง่ึ มีฤทธ์กิ ดประสาทสวนกลางทำใหนอนหลับโดยใชวิธีดองเหลาด่ืมกอนนอน

คณู ชอื่ วิทยาศาสตร : Cassia fistula L. วงศ : Leguminosae ช่ือสามญั : Golden Shower Tree/ Purging Cassia ชือ่ อืน่ : ราชพฤกษ ลมแลง ลกั ษณะ : ไมยืนตน สงู 5-15 เมตร ใบประกอบแบบขนนกเรียงสลับ ใบยอยรปู ไขหรือรปู วงรี กวาง 4-8 ซม. ยาว 7-12 ซม. ดอกชอออกท่ปี ลายกิ่ง หอยเปนโคมระยา กลบี ดอกสีเหลอื ง ผลเปน ฝกกลม สนี ำ้ ตาลเขมหรอื ดำ เปลอื กแขง็ ผวิ เรยี บ ภายในมผี นังกั้นเปนหอง แตละหองมี เมลด็ 1 เมล็ด หุมดวยเนือ้ สีดำเหนียว ประโยชนทางสมุนไพร : ตำรายาไทยใชเนอ้ื หุมเมล็ดแกทองผกู ขบั เสมหะ ดอกแกไข เปนยา ระบาย แกนขับพยาธิไสเดือน พบวาเนือ้ หุมเมลด็ มีสารกลุมแอนทราควิโนน จึงมีสรรพคณุ เปนยา ระบาย โดยนำเน้ือหุมเมล็ดซ่ึงมีสีดำเหนยี ว ขนาดกอนเทาหัวแมมือ (ประมาณ 4 กรมั ) ตมกับนำ้ ใสเกลอื เล็กนอย ดื่มกอนน้ำ ดื่มกอนนอน มีขอควรระวงั เชนเดยี วกับชุมเหด็ เทศ

ชุมเห็ดเทศ ชือ่ วทิ ยาศาสตร : Senna alata Lวงศ : Leguminosaช่อื สามัญ Ringworm Busช่ืออ่ืน : ขี้คาก ลับมีนหลวง หมากกะลิงเทศ ชุมเห็ดใหญ ลักษณะ : ไมพุม สูง 1 - 3 เมตร แตกกงิ่ ออกดสนขาง ในแนวขนานกบั พื้น ใบประกอบ แบบขนนก เรยี งสลบั ใบยอยรปู ขอบขนาน รปู วงรีแกมขอบขนาน หรือรปู ไขกลบั กวาง 3-7 ซม. ยาว 6- 15 ซม. หูใบเปนรปู สามเหลีย่ ม ดอกชอ ออกทีซ่ อกใบตอนปลายกิ่ง กลีบดอกสเี หลอื งทอง ใบ ประดับ สนี ำ้ ตาลแกมเหลืองหุมดอกยอยเหน็ ชดั เจน ผลเปนฝก มคี รบี 4 ครบี เมล็ดแบน รปู สามเหลยี่ ม ประโยชนทางสมนุ ไพร : รสเบ่อื เอียน ใบตำทาแกกลากเกล้อื น โรคผวิ หนงั ดอกและใบตม รับประทานแกอาการทองผูก มีสาร แอนทราควิโนน กลยั โคซายด หลายชนิด ไดแก emodin, aloe - emodin และ rhein ใชเปนยาระบายกระตุนลำไสใหญใหบบี ตัว การทดลองในสัตว และ คน พบวา ใบแกมฤี ทธ์ิ นอยกวาใบออน นอกจากน้ีนำ้ จากใบ ยังมฤี ทธิฆ์ าเชอ้ื แบคทเี รยี ดวย

มะขาม ชอ่ื วิทยาศาสตร : Tamarindus indica L. วงศ : Leguminosae ชอื่ สามัญ : Tamarind ช่ืออนื่ : Tamarind ลักษณะ : มะขามเปนไมยืนตนขนาดกลางจนถึงขนาดใหญแตกก่งิ กานสาขามาก เปลือกตนขรขุ ระ และหนา สนี ำ้ ตาลออน ใบ เปนใบประกอบ ใบเลก็ ออกตามก่งิ กานใบเปนคู ใบยอยเปนรปู ขอบ ขนาน ปลายไบและโคนใบมน ดอก ออกเปนชอเล็กๆ ตามปลายกิง่ หนึ่งชอมี 10-15 ดอก ดอก ยอยขนาดเลก็ กลบี ดอกสเี หลืองและมีจุดประสแี ดงอยูกลางดอก ผล เปนฝกยาว รปู รางยาวหรอื โคง ยาว 3-20 ซม. ฝกออนมเี ปลือกสเี ขยี วอมเทา สีน้ำตาลเกรียม เนอ้ื ในติดกับเปลือก เม่ือแกฝก เปลยี่ นเปนเปลอื กแขง็ กรอบหักงาย สีน้ำตาล เนอ้ื ในกลายเปนสนี ำ้ ตาลหุมเมล็ด เนอ้ื มีรสเปร้ยี ว และหวาน ประโยชนทางสมุนไพร : สรรพคณุ ทางยา · ยาระบาย แกอาการทองผูก ใชมะขามเปยกรสเปรย้ี ว 10–20 ฝก (หนกั 70–150 กรมั ) จิม้ เกลอื รับประทาน แลวดืม่ น้ำตามมากๆ หรือตมน้ำใสเกลือเลก็ นอยด่ืมเปนนำ้ มะขาม · ขบั พยาธิไสเดือน นำเอาเมลด็ แกมาค่ัว แลวกะเทาะเปลือกออก เอาเน้อื ในเมล็ดไปแชนำ้ เกลอื จน นมุ รบั ประทานครัง้ ละ 20-30 เมด็ · ขับเสมหะ ใชเนอ้ื ในฝกแกหรือมะขามเปยกจ้มิ เกลอื รับประทานพอสมควร คณุ คาทางโภชนาการ ยอดออนและฝกออนมวี ติ ามนิ เอ มาก มะขามเปยกรสเปร้ียว ทำใหชุมคอ ลดความรอนของรางกายไดดี เน้ือในฝกมะขามท่แี กจดั เรยี กวา \"มะขามเปยก\" ประกอบดวยกรด อนิ ทรียหลายตวั เชน กรดทารททารริค กรดซติ ริค เปนตน ทำใหออกฤทธิ์ ระบายและลดความ

รอนของรางกายลงได แพทยไทยเช่อื วา รสเปรีย้ วนี้จะกัดเสมหะใหละลายไดดวย แมงลกั ชอ่ื วทิ ยาศาสตร : Ocimum basilicum L.f. var. citratum Back. วงศ : Labiatae ชื่อสามญั : Hairy Basil ชอ่ื อื่น : กอมกอขาว มงั ลัก ลักษณะ : แมงลกั มลี กั ษณะทรงตน ใบ ดอก และผลคลายโหระพา ตางกันทีก่ ล่ิน ใบสีเขียวออน กวา กลีบดอกสีขาวและใบประดับสีเขยี ว ประโยชนทางสมนุ ไพร : ตำรายาไทยมกั เรยี กผลแมงลกั วาเม็ดแมงลัก ใชเปนยาระบายชนิดเพม่ิ กาก เพราะเปลอื กผลมีสารเมอื กซึง่ สามารถพองตัวในน้ำได 45 เทา เหมาะสำหรับ ผูทีไ่ มชอบกิน อาหารทม่ี ีกากเชน ผกั ผลไม ใชผลแมงลัก 1-2 ชอนชา แชน้ำ 1 แกว จนพองตัวเต็มที่ กินกอน นอน ถาผลแมงลกั พองตวั ไมเตม็ ที่จะทำใหทองอืดและอุจจาระแขง็ จากการทดลองพบวาแมงลกั ทำใหจำนวนคร้งั ในการถายและปริมาณอจุ จาระเพิ่มขึ้น รวมทง้ั ทำใหอุจจาระออนตวั กวาปกติ นอกจากน้ีใบและตนสดมีฤทธ์ิขับลม เน่อื งจากมนี ้ำมันหอมระเหย

ไพล ช่ือวิทยาศาสตร : Zingiber purpureum Roscoe วงศ : Zingiberaceae ช่อื อน่ื : ปลู อย ปเู ลย วานไฟ ลกั ษณะ : ไมลมลุก สูง 0.7-1.5 เมตร มเี หงาใตดิน เปลือกนอกสนี ้ำตาลแกมเหลือง เนอ้ื ในสีเหลอื ง แกมเขยี ว มกี ลน่ิ เฉพาะ แทงหนอหรอื ลำตนเทยี มข้นึ เปนกอประกอบดวยกาบหรือโคน ใบหุมซอน กนั ใบ เดย่ี ว เรยี งสลบั รูปขอบขนานแกมใบหอก กวาง 3.5-5.5 ซม. ยาว 18-35 ซม. ดอก ชอ แทงจากเหงาใตดิน กลบี ดอกสีนวล ใบประดบั สีมวง ผล เปนผลแหง รปู กลม ประโยชนทางสมุนไพร : ตำรายาไทยใชเหงาเปนยาขับลม ขับประจำเดอื น มีฤทธริ์ ะบายออน ๆ แกบดิ สมานลำไส ยาภายนอกใชเหงาสดฝนทาแกเคล็ดยอก ฟกบวม เสนตึง เมื่อยขบ เหนบ็ ชา สมานแผล จากการวจิ ัยพบวาในเหงามีน้ำมันหอมระเหยซงึ่ มคี ุณสมบตั ิลดอาการอักเสบและบวม จงึ มีการผลติ ยาขผ้ี ้ึงผสมน้ำมนั ไพล เพอ่ื ใชเปนยาทาแกอาการเคลด็ ขดั ยอก น้ำมันไพลผสม แอลกอฮอลสามารถทากนั ยุงได นอกจากนีพ้ บวาในเหงามีสาร 4-(4-hydroxy-1-butenyl) veratrole ซ่ึงมฤี ทธิ์ขยายหลอดลม ไดทดลองใชผงไพล กบั ผปู วยเดก็ ท่ีเปนหืด สรุปวาใหผลดีทั้ง

ในรายทมี่ อี าการหอบหดื เฉียบพลันและเรอ้ื รงั เทียนบาน ชอ่ื วทิ ยาศาสตร : Impatiens balsamina L. วงศ : Balsaminaceae ช่ือสามญั : Garden Balsam ชอื่ อนื่ : เทียนดอก เทยี นสวน ลกั ษณะ : พรรณไมพวกคลมุ ดนิ ลำตนจะอุมน้ำ ลำตนจะไมตัง้ ตรงขน้ึ ไป จะเอยี งเลก็ นอย เปราะ งาย ใบมีลกั ษณะมนรี ปลายแหลม ดอกน้ันจะมีหลายสี เขน สีชมพู สแี ดง สม และขาว เปนดอก เดี่ยว จะออกตดิ กันชอหนง่ึ อาจะจะมี 2-3 ดอก กลีบดอกจะซอน ๆ กนั เปนวงกลม มีกลบี

เลย้ี ง 3 กลบี กลีบดอก 5 กลีบ กลบี ดานลางงอเปราะ มีจะงอยยืน่ ออกมาเปนหลอดเล็ก-ยาว ปลายโคงข้นึ ขนาดดอก 3-6 ซม. ประโยชนทางสมนุ ไพร : ใชรักษาฝ แผลพพุ อง ใชใบสดและดอกสดประมาณ 1 กำมือ ตำละเอียด พอกฝ หรอื คั้นน้ำทาบรเิ วณท่เี ปนฝและแผลพพุ องวันละ 3 ครง้ั (สจี ากนำ้ คน้ั จะติดอยูนาน จึงควร ระวงั การเปรอะเปอนเสือ้ ผาและรางกายสวนอื่น ๆ ) กะเพรา ช่อื วิทยาศาสตร : Ocimum sanctum L. วงศ : Labiatae ชือ่ อ่นื : กอมกอ กอมกอดง กะเพราขาว กะเพราแดง

ลักษณะ : กะเพรามี 3 พันธุ คือ กะเพราแดง กะเพราขาวและกะเพราลูกผสมระหวางกะเพราแดง และกะเพราขาว มีลกั ษณะท่ัวไปคลายโหระพา ตางกันทก่ี ลนิ่ และกิ่งกานซึง่ มขี นปกคลมุ มากกวา ใบกะเพราขาวสีเขียวออน สวนใบกะเพราแดงสเี ขยี วแกมมวงแดง ดอกยอยสีชมพูแกมมวง ดอก กะเพราแดงสีเขมกวากะเพราขาว ประโยชนทางสมุนไพร : ตำรายาไทยใชใบหรอื ทง้ั ตนเปนยาขบั ลมแกปวดทอง ทองเสีย และ คลื่นไสอาเจียน นิยมใชกะเพราแดงมากกวากะเพราขาว โดยใชยอดสด 1 กำมือ ตมพอเดือด ดม่ื เฉพาะสวนน้ำ พบวาฤทธิ์ขบั ลมเกิดจากน้ำมนั หอมระเหย การทดลองในสตั ว แสดงวาน้ำสกัดทัง้ ตนมฤี ทธิล์ ดการบบี ตัวของลำไส สารสกัดแอลกอฮอลสามารถรกั ษาแผลในกระเพาะอาหาร สาร eugenol ในใบมีฤทธ์ิขบั น้ำดี ชวยยอยไขมันและลดอาการจุกเสยี ยอ ช่ือวิทยาศาสตร : Morinda citrifolia L. วงศ : Rubiaceae ช่ือสามญั : Indian Mulberry ช่ืออ่นื : มะตาเสือ ยอบาน ลกั ษณะ : ไมยนื ตน สงู 2-6 เมตร ใบเดย่ี ว เรยี งตรงขาม รปู วงรี กวาง 8-15 ซม. ยาว 10-20 ซม. หใู บอยูระหวางโคนกานใบ ดอกชอ ออกที่ซอกใบ ฐานดอกอัดกันแนนเปนรูปทรงกลม กลีบดอกสี ขาว ผลเปนผลสด เช่อื มตดิ กันเปนผลรวม ผวิ เปนตมุ พอง ประโยชนทางสมนุ ไพร : ตำรายาไทยใชผลสดดบิ หรือหาม ฝานเปนชิน้ บาง ยางหรอื คัว่ ไฟออน ๆ ใหเหลอื ง ตมหรือชงกับนำ้ ดื่มแกคลนื่ ไสอาเจยี น

ฟกทอง ช่ือวิทยาศาสตร : Cucurbita moschata Decne. วงศ : Cucurbitaceae ชื่อสามัญ : Pumpkin ชอ่ื อื่น : หมากอึ (ภาคอสี าน) มะฟกแกว ฟกแกว (ภาคเหนอื ) มะนำ้ แกว หมกั อ้ือ (เลย) หมากฟก เหลอื ง (แมฮองสอน) น้ำเตา ภาคใต ลักษณะ : เปนพืชลมลกุ มีเถายาวเลอ้ื ยปกคลุมดนิ ลำตนมลี ักษณะกลมหรอื เปนเหลย่ี มมน ผวิ เปน รองตามความยาว มขี นออน ๆ มหี นวดสำหรับยดึ เกาะยึดบริเวณขอ ใบเปนใบเด่ยี ว มีขนาดใหญ ออกเรยี งสลับกนั โคนใบเวาคลายรปู หัวใจ ขอบใบหยกั เปนเหล่ียม 5 เหล่ยี ม มีขนทงั้ 2 ดานของ ตวั ใบดอกเปนดอกเด่ยี วสีเหลืองมขี นาดใหญ ลกั ษณะคลายระฆังหรอื กระดง่ิ ออกบริเวณงามใบผล มีขนาดใหญ มลี กั ษณะเปนพูเล็ก ๆ โดยรอบเปลอื กนอกขรขุ ระและแขง็ มสี เี ขยี วและจะ เปล่ียนเปนสีเขียวออนและ สีเหลอื งเขม และสีเหลอื งตามลำดบั เน้อื ภายในมีสีเหลืองอมเขียว สี เหลือง และสสี ม เมลด็ มีจำนวนมากซึง่ อยูตรงกลางผลระหวางเนอ้ื ฟู ๆ มีรปู รางคลายไข แบน มี ขอบนูนอยูโดยรอบ ประโยชนทางสมนุ ไพร : เนื้อฟกทองประกอบดวยแปง โปรตนี ไขมัน ฟอสฟอรสั แคลเซียม เหล็ก และ สารเบตา - แคโรทนี ซึ่งเปนสารทร่ี างกายนำไปสรางวติ ามนิ เอ เมล็ดมฟี อสฟอรสั ในปรมิ าณ

สงู รวมทัง้ แปง โปรตนี และน้ำประมาณรอยละ 40 สวนเมล็ดแหงมสี ารควิ เคอรบิทนี (Cucurbitine) เปนสารสำคัญ ซงึ่ มีฤทธ์ิฆาพยาธิไดผลดี นอกจากนน้ั ฟกทองสามารถกระตุนการ หลัง่ อินซูลนิ ซึง่ ชวยปองกันโรคเบาหวาน ความดนั โลหติ ควบคุมระดบั นำ้ ตาลในเลือด บำรงุ นยั นตา ตบั และไต เมลด็ ใชเปนยาขับพยาธิตัวตืด ปองกนั การเกิดนิว่ ในกระเพาะปสสาวะ และชวย ดบั พิษปอดบวม รากชวยแกพิษแมลงสตั วกัดตอย ยางชวยแกพิษผ่ืนคนั เรมิ และงูสวัด ออกฤทธ์ิ คือ asperuloside มะเกลือ ชื่อวิทยาศาสตร : Diospyros mollis Griff. วงศ : Ebenaceae ชอ่ื สามญั : Ebony tree ช่อื อ่นื : ผเี ผา (ฉาน-ภาคเหนอื ) มักเกลือ (เขมร-ตราด) ลกั ษณะ : ไมตนขนาดกลางถึงขนาดใหญ สูง 10-30 เมตร เรอื นยอดเปนพมุ กลม ผวิ เปลือกเปน รอยแตกสะเก็ดเล็กๆ สีดำ เปลอื กในสเี หลอื ง กระพ้ีสีขาว กง่ิ ออนมีขนนุมข้นึ ประปราย ใบ เปนใบ เดย่ี วขนาดเลก็ รปู ไขหรอื รเี รยี งตัวแบบสลับ ดอก ออกเปนชอตามซอกใบ ดอกแยกเพศตางตน ดอกตัวผูมีขนาดเลก็ สเี หลอื งออน หน่ึงชอมี 3 ดอก ผวิ เกลยี้ ง ผลออนสีเขียว ผลแกสดี ำ ผลแกจัด จะแหง มีกลบี เลี้ยงติดบนผล 4 กลีบ ผลแกราวเดอื นมิถุนายน-สิงหาคม เมลด็ แบน สเี หลอื ง 4- 5 เมล็ด ขนาดกวาง 0.5-0.7 ซม. ยาว 1-2 ซม. ขยายพนั ธุโดยการเพาะเมล็ด ประโยชนทางสมุนไพร : ผลดิบสด-ใชเปนยาถายพยาธไิ ดหลายชนดิ ถายพยาธิปากขอไดดีทส่ี ดุ เดก็ อายุ 10 ปใช 10 ผล ผูท่ีอายมุ ากกวา 10 ป ใหเพ่ิมจำนวนข้นึ 1 ผลตอ 1 ป แตสงู สดุ ไม เกิน 25 ผล คือผูทอ่ี ายุ 25 ปขึน้ ไปกิน 25 ผลเทานนั้ ลางใหสะอาด ตำพอแหลก กรองเอาเฉพาะ

น้ำผสมหัวกะทิ 2 ชอนชาตอมะเกลือ 1 ผล กนิ ครั้งเดยี วใหหมดตอนเชามืด กอนอาหาร 3 ช่ัวโมง หลังจากน้ี 3 ช่ัวโมง ถาไมถายใหกินยาระบายดเี กลอื โดยใชผงดีเกลอื 2 ชอนโตะ ละลายนำ้ ประมาณครง่ึ แกว เพอ่ื ถายพยาธิ และตวั ยาทเ่ี หลอื ออกมา สารทมี่ ีฤทธิ์คอื diospyrol diglucosideขอควรระวัง 1: ผูทหี่ ามใชมะเกลือไดแก เดก็ อายุตำ่ กวา 10 ป หญงิ มีครรภ หรอื หลงั คลอดไมเกนิ 6 สัปดาห ผูที่เปนโรคกระเพาะอาหาร หรือมอี าการปวดทอง ถายอุจจาระผิดปกติ บอยๆ และผูท่ีกำลงั เปนไข ในการเตรยี มยาตองใชผลดิบสด เตรยี มแลวกินทนั ที ไมควรเตรียมยา ครั้งละมากๆ ใชเคร่ืองบดไฟฟา จะทำใหละเอียดมาก มีตวั ยาออกมามากเกินไปขอควรระวงั 2 : เคยมรี ายงานวาถากนิ ยามะเกลอื ขนาดสงู กวาทรี่ ะบุไว หรอื เตรียมไวนาน สารสำคญั จะ เปลี่ยนเปนสารพิษช่อื diospyrol ทำใหจอรับภาพ และประสาทตาอกั เสบ อาจตาบอดได ประโยชนดานอ่ืนๆ เน้อื ไมใชทำเฟอรนิเจอรประดับมุก ผล ใหสดี ำ ใชยอมผาและแพรได เล็บมือนาง ชอื่ วทิ ยาศาสตร : Quisqualis indica L. วงศ : Combretaceae

ช่ือสามญั : Rangoon Creeper ช่ืออน่ื : จะมั่ง จาม่ัง มะจีมัง่ ลักษณะ : ไมเถาเน้อื แข็ง ตนแกมักมีกลิน่ ทเ่ี ปลย่ี นเปนหนาม ใบเดยี่ ว เรียงตรงขาม รูปวงรี หรือรปู ไขแกมขอบขนาน กวาง 5-8 ซม. ยาว 10-16 ซม. ดอกชอ ออกที่ปลายก่งิ และซอกใบบรเิ วณปลาย กิ่ง กลบี ดอกสีแดงโคนกลบี เลีย้ งเปนหลอดเรยี วยาว สเี ขยี ว ผลเปนผลแหง รูปกระสวย มเี ปลือก แข็งสีนำ้ ตาลเขม มสี นั ตามยาว 5 สนั ประโยชนทางสมนุ ไพร : ตำรายาไทยใชเนอ้ื ในเมลด็ แหงเปนยาขับพยาธิไสเดอื น สำหรับเดก็ กิน ครง้ั ละ 2-3 เมลด็ และผใู หญครง้ั ละ 4-5 เมล็ด โดยนำมาปนเปนผง ผสมกับน้ำผึ้ง ปนเปนยา ลกู กลอน หรือตมเอานำ้ ดืม่ หรอื ทอดกบั ไขกินก็ได สารท่มี ฤี ทธข์ิ ับพยาธไิ ดแกกรด quisqualic ซ่ึง เปนกรดอะมิโนชนดิ หนึ่ง

ฟาทะลายโจร ชอื่ วิทยาศาสตร : Andrographis paniculata (Burm.) Wall. ex Nees วงศ : Acanthaceae ชื่ออ่ืน : คปี งฮี (จีน) ฟาทะลายโจร หญากันงู นำ้ ลายพังพอน ลักษณะ : ไมลมลุก สงู 30-60 ซม.ทั้งตนมรี สขม ลำตนเปนสเ่ี หลีย่ ม แตกก่งิ ออกเปนพมุ เลก็ ใบ เดี่ยว เรยี งตรงขาม รูปไขหรือรปู ใบหอก กวาง 2-3 ซม. ยาว4-8 ซม. สีเขียวเขมเปนมนั ดอกชอ ออกที่ปลายกิง่ และซอกใบ ดอกยอยขนาดเล็กกลบี ดอกสีขาว โคนกลีบดอกตดิ กนั ปลายแยก ออกเปน 2 ปาก ปากบนมี 3 กลีบ มเี สนสีแดงเขมพาดตามยาว ปากลางมี 2 กลบี ผลเปนฝกสี เขียวอมนำ้ ตาล ปลายแหลม เมื่อผลแกจะแตกเปนสองซีก ดีดเมลด็ ออกมา ประโยชนทางสมุนไพร : ชาวจีนใชฟาทะลายเปนยามาแตโบราณ และมาเปนท่ีนิยมใชในปะเทศ ไทยเม่อื ไมนานมานี้ โดยใชเฉพาะใบหรือทั้งตนบนดนิ ซง่ึ เกบ็ กอนท่จี ะมีดอกเปนยาแกเจบ็ คอ แก ทองเสีย แกไข เปนยาขมเจรญิ อาหาร การศึกษาฤทธ์ลิ ดไขในสัตวทดลองพบวาสารสกดั แอลกอฮอลมีแนวโนมลดไขได รายงานการใชรกั ษาโรคอจุ จาระรวงและบิดไมมีตวั แสดงวาฟา ทะลายมปี ระสทิ ธิภาพในการรักษาเทากบั เตตราซัยคลินแตในการรกั ษาอาการเจ็บคอน้นั มีรายงาน ท้ังท่ีไดผลและไมไดผลขนาดทใี่ ชคอื พชื สด 1-3 กำมือ ตมนำ้ ด่มื กอนอาหารวันละ 3 ครง้ั หรอื ใช พืชแหงบดเปนผงละเอยี ดปนเปนยาลูกกลอนขนาดเสนผาศูนยกลางประมาณ 0.8 ซม. กินคร้งั ละ 3-6 เม็ด วนั ละ 3-4 ครั้ง กอนอาหารและกอนนอน สำหรับผงฟาทะลายที่บรรจแุ คปซูล ๆ ละ 500 มิลลิกรมั ใหกนิ ครัง้ ละ 2 เมด็ วันละ 2 คร้งั กอนอาหารเชาและเย็น อาการขางเคยี งที่ อาจพบคอื คลนื่ ไส

กระเจี๊ยบแดง ชอ่ื วิทยาศาสตร : Hibiscus sabdariffa L. วงศ : Malvaceae ชอ่ื สามญั : Roselle ช่ืออ่นื : กระเจ๊ียบ กระเจย๊ี บเปร้ยี ผกั เก็งเคง็ สมเกง็ เค็ง สมตะเลงเครง ลักษณะ : ไมพุม สงู 50-180 ซม. มหี ลายพนั ธุ ลำตนสมี วงแดง ใบเดี่ยว รูปฝามอื 3 หรือ 5 แฉก กวางและยาวใกลเคยี งกัน 8-15 ซม. ดอกเดย่ี ว ออกที่ซอกใบ กลีบดอกสชี มพหู รอื เหลืองบริเวณ กลางดอกสมี วงแดง เกสรตัวผเู ช่ือมกันเปนหลอด ผลเปนผลแหง แตกได มีกลบี เล้ยี งสแี ดงฉ่ำน้ำ หมุ ไว ประโยชนทางสมุนไพร : ตำรายาไทยใชใบและยอดออนซงึ่ มรี สเปรย้ี วแกไอ เมลด็ บำรุงธาตุ ขบั ปสสาวะ มีรายงานการทดลองในผูปวยโรคน่ิวในทอไต ซงึ่ ดืม่ ยาชงกลบี เล้ียงแหงของผล 3 กรมั ใน น้ำ 300ซีซี วันละ 3 ครัง้ ทำใหถายปสสาวะสะดวกขึ้น บางรายนวิ่ หลุดไดเอง นอกจากนีท้ ำให ผูปวยกระเพาะปสสาวะอักเสบมอี าการปวดแสบเวลาปสสาวะนอยลง

หญาหนวดแมว ช่ือวิทยาศาสตร : Orthosiphon grandiflorus Bolding วงศ : Labiatae ชอ่ื สามญั : Cat's Whisker ชื่ออ่ืน : พยบั เมฆ ลกั ษณะ : ไมพุม สูง 0.5-1 เมตร กิ่งและกานส่ีเหล่ยี มสมี วงแดง ใบ เด่ยี ว เรียงตรงขาม รปู ไขแกม ส่เี หลยี่ มขาวหลามตดั กวาง 2-4 ซม. ยาว 4-7 ซม. ขอบใบหยักฟนเลอ่ื ย ดอก ชอ ออกที่ปลายกิ่ง มี 2 พนั ธุคือพันธุดอกสีขาวและพันธุดอกสมี วงน้ำเงนิ เกสรตัวผูยน่ื พนกลบี ดอกออกมายาวมาก ผล เปนผลแหงไมแตก รปู รีขนาดเลก็ ประโยชนทางสมนุ ไพร : ตำรายาไทยใชทั้งตนเปนยาขบั ปสสาวะ แกโรคปวดตามสันหลังและบนั้ เอว ใบเปนยารกั ษาโรคเบาหวานและลดความดันโลหิต มกี ารทดลองใชใบแหงเปนยาขบั ปสสาวะ ขบั กรดยูรคิ ซ่ึงเปนสาเหตุของโรคเกาดและรักษาโรคนิ่วในไตกับผูปวยโรงพยาบาลรามาธิบดี โดย ใชใบแหงประมาณ 4 กรมั ชงกบั น้ำเดอื ด 750 ซซี ี ดม่ื ตางนำ้ ตลอดวนั ไดผลเปนที่นาพอใจของ แพทย พบวาในใบมีเกลือโปแตสเซยี มสูง ผูปวยโรคหัวใจไมควรใช

หญาคา ชือ่ วทิ ยาศาสตร : Imperata cylindrica Beauv. วงศ : Gramineae ชือ่ สามัญ : ลักษณะ : ไมลมลุก สูง 0.3-0.9 เมตร มีเหงาใตดนิ รปู รางยาวและแข็ง ใบ เด่ยี ว แทงออกจาก เหงา กวาง 1-2 ซม. ยาวไดถงึ 1 เมตรขอบใบคม ดอก ชอ แทงออกจากเหงา ดอกยอยอยูรวมกัน แนน สีเงินอมเทาจาง ผล เปนผลแหง ไมแตก

ประโยชนทางสมุนไพร : ตำรายาไทยใชรากและเหงาเปนยาขบั ปสสาวะ แกอาการกระเพาะ ปสสาวะอกั เสบ ปสสาวะแดง บำรงุ ไต ขับระดขู าว มีการศกึ ษาฤทธข์ิ บั ปสสาวะในสตั วทดลอง พบวาไดผลเฉพาะนำ้ ตมสวนราก ออยแดง ชอ่ื วิทยาศาสตร : Saccharum officinarum L. วงศ : Gramineae ชื่อสามัญ : Sugar-cane ชือ่ อื่น : ออย ออยขม ออยดำ ลักษณะ : ไมลมลุก สงู 2-5 เมตร ลำตนสีมวงแดง มไี ขสีขาวปกคลมุ ไมแตกกิง่ กาน ใบเดย่ี ว เรียงสลับ กวาง 2.5-5 ซม. ยาว 0.5-1 เมตร ดอกชอ ออกท่ปี ลายยอด สีขาว ผลเปนผลแหง ขนาดเลก็ ออย มีหลายพันธุ แตกตางกันท่คี วามสูงความยาวของขอและสีของลำตน

ประโยชนทางสมนุ ไพร : ตำรายาไทยใชลำตนเปนยาขับปสสาวะ โดยใชลำตนสด 70-90 กรัม หรอื แหง 30-40 กรัม หัน่ เปนชิ้น ตมน้ำแบงดม่ื วันละ 2 คร้งั กอนอาหาร แกไตพกิ าร หนองในและขบั นิ่ว แพทยพน้ื บานใชขับเสมหะ มีรายงานวาออยแดงมฤี ทธขิ์ ับปสสาวะในสตั วทดลอง ขลู ชอ่ื วิทยาศาสตร : Pluchea indica Less วงศ : Compositae ชอื่ สามญั : Indian Marsh Fleabane ชอ่ื อน่ื : ขลู หนวดงัว่ หนงดงว้ิ หนวดงวั หนวดวัว

ลกั ษณะ : ไมพุม สูง 1-2.5 เมตร ชอบขึน้ ในทช่ี ้นื แฉะ ใบเด่ียว เรยี งสลับ รูปไขกลบั กวาง 1-5 ซม. ยาว 2.5-10 ซม. ขอบใบหยักซฟ่ี นหาง ๆ ดอกชอ ออกท่ียอดและซอกฟน กลบี ดอกสีมวง ผลเปน ผลแหง ไมแตก ประโยชนทางสมนุ ไพร : ตำรายาไทยใชท้ังตนตมกินเปนยาขับปสสาวะ แกเบาหวาน ตมนำ้ อาบแก ผ่นื คนั นำ้ ค้ันใบสดรักษารดิ สดี วงทวาร การทดลองในสัตวและคนปกติ พบวายาชงท้ังตนมีฤทธข์ิ ับ ปสสาวะมากวายาขบั ปสสาวะแผนปจจบุ ัน (hydrochlorothiazide) และมีขอดีคือสญู เสยี เกลอื แร นอยกวา สบั ปะรด ชอื่ วิทยาศาสตร : Ananas comosus Merr. วงศ : Bromeliaceae ชอ่ื สามัญ : Pineapple ชื่ออืน่ : ขนนุ ทอง ยานัด ยานนัด บอนดั มะขะนดั มะนัด ลิงทอง หมากเกง็

ลกั ษณะ : ไมลมลกุ อายุหลายป สงู 90-100 ซม. มีลำตนอยูใตดนิ ใบ เดยี่ ว เรียงสลบั ซอนกนั ถมี่ า กรอบตน กวาง 6.5 ซม. ยาวไดถึง 1 เมตร ไมมีกานใบ ดอก ชอ ออกจากกลางตน มีดอกยอย จำนวนมาก ผล เปนผลรวม รปู ทรงกระบอก มีใบเปนกระจุกทป่ี ลายผล ประโยชนทางสมนุ ไพร : ตำรายาไทยใชเน้อื ผลเปนยาแกไอขับเสมหะ เหงาเปนยาขับปสสาวะ แก นว่ิ พบวาลำตน และผลมเี อนไซมยอยโปรตีน ชอื่ bromelain ใชเปนยาลดการอกั เสบและบวม จากการถกู กระแทกบาดแผล หรือการผาตดั โดยผลิตเปนยาเมด็ ช่ือ Ananase Forte Tablet สะแก ช่ือวทิ ยาศาสตร : Combretum quadrangulare Kurz วงศ : Combretaceae ชื่อสามัญ : ชื่ออื่น : แก ขอนแข จองแข แพง สะแก ลกั ษณะ : ไมยนื ตน สงู 5-10 เมตร ก่ิงออนเปนรปู เหลีย่ ม ใบเดี่ยว เรียงตรงขาม รปู วงรี หรอื รปู ไข กลับ กวาง 3-8 ซม. ยาว 6-15 ซม. ดอกชอ ออกทซี่ อกใบ และปลาดยอด ดอกยอยมขี นาดเลก็ กลบี ดอกสขี าว ผลแหง มี 4 ครบี เมลด็ สนี ้ำตาลแดง รปู กระสวย มี 4 สันตามยาว ประโยชนทางสมนุ ไพร : เมล็ดแก-ใชขบั พยาธิไสเดอื น และพยาธิเสนดายในเด็ก โดยใช ขนาด 1 ชอนคาว หรอื 3 กรัม ตำผสมกบั ไขทอดกนิ คร้งั เดียว ขณะทองวาง

พลู ชื่อวิทยาศาสตร : Piper betle L. วงศ : Piperaceae ช่ือสามัญ : Betel Vine ลกั ษณะ : ไมเถาเนื้อแข็ง รากฝอยออกบริเวณขอใชยึดเกาะ ขอโปงนูน ใบ เดีย่ ว เรียงสลับ รปู หัวใจ กวาง 8- 12 ซม. ยาว 12-16 ซม. มีกลิ่นเฉพาะและมรี สเผด็ ดอก ชอ ออกท่ีซอกใบ ดอกยอยขนาดเลก็ อดั แนนเปนรปู ทรงกระบอก แยกเพศ สขี าว ผล เปนผลสด กลมเลก็ เบียดอยูบนแกน พลูมีหลายพันธุ เชนพลเู หลือง พลูทองหลาง

ประโยชนทางสมนุ ไพร : ตำรายาไทยใชนำ้ ค้ันใบสดกนิ เปนยาขับลมและทาแกลมพษิ โดยใช 3-4 ใบ ขย้ีหรือตำใหละเอียด ผสมเหลาโรงเล็กนอย ทาบรเิ วณทเี่ ปน ใบมีนำ้ มันหอมระเหย ประกอบดวย สาร chavicol และ eugenol ซ่งึ มฤี ทธท์ิ ำใหชาเฉพาะท่ี สามารถบรรเทาอาการคันและฆาเช้อื โรค บางชนดิ ดวย จงึ มีการพัฒนาตำรบั ยาขีผ้ ้งึ ผสมสารสกัดใบพลขู น้ึ เพอ่ื ใชเปนยาทารักษาโรคผวิ หนัง บางชนดิ ทองพนั ช่ัง ช่อื วิทยาศาสตร : Rhinacanthus nasutus Kurz วงศ : Acanthaceae ชอื่ อน่ื : ทองคนั ชงั่ หญามันไก ลักษณะ : ไมพุมสงู 1-2 เมตร กิง่ ออนมักเปนสนั ส่เี หลีย่ ม ใบเดีย่ วเรยี งตรงขามรปู ไขหรอื รูปวงรี กวาง 2-4 ซม. ยาว 4-8 ซม. ดอกชอ ออกทซ่ี อกใบกลบี ดอกสขี าว โดคนกลีบติดกนั เปนหลอด ปลายแยกเปน 2 ปาก ปากลางมจี ุดประสีมวงแดง ผลเปนผลแหง แตกได ประโยชนทางสมนุ ไพร : ตำรายาไทยใชใบสดและรากโขลกละเอียด แชเหลาโรง 1 สัปดาหเอานำ้ ทาแกกลากเกลื้อน สารสำคญั คอื rhinacanthin และ oxymethylanthraquinone

มะหาด ชือ่ วิทยาศาสตร : Artocarpus lakoocha Roxb. วงศ : Moraceae ชอ่ื อื่น : หาด ขนุ ปา มะหาดใบใหญ ลกั ษณะ : ไมยืนตน สงู ประมาณ 30 เมตร ทรงพุมแผกวาง ใบ ด่ียว เรียงสลบั รปู ขอบขนานหรือ รปู วงรี กวาง 8-10 ซม. ยาว 10-20 ซม. หลังใบเปนมนั สเี ขยี วเขม ทองใบสาก ดอก ชอ ออกที่ ซอกใบ คอนขางกลม กานสั้น แยกเพศ อยูบนตนเดยี วกนั ผล เปนผลรวม สีเหลือง ผวิ ขรขุ ระ มี ขนนุม ประโยชนทางสมุนไพร : ตำรายาไทยใชปวกหาดเปนยาถายพยาธเิ สนดาย พยาธิไสเดอื นและพยาธิ ตวั ตืดสำหรับเด็ก สารทอี่ อกฤทธ์ิคือ 2, 4, 3, 5- tetrahydroxystillbene จากการศกึ ษาไมพบ ความเปนพิษ ขนาดท่ใี ชคือ ผงปวกหาด 3 กรัม ละลายนำ้ เย็นด่มื ตอนเชามดื หลงั จากน้นั

ประมาณ 2 ชัว่ โมงใหกนิ ยาถาย (ดเี กลอื ) นอกจากน้ียงั ใชละลายน้ำทาแกคนั “ปวกหาด” เตรยี ม โดยการเค่ยี วเน้อื ไมกบั น้ำ กรองเนื้อไมออก บีบน้ำออกใหแหง จะไดผงสนี วลจบั กันเปนกอน ยาง ไฟจนเหลอื ง เรยี กกอนนี้ไดวา ปวกหาด พญาปลองทอง ชือ่ วิทยาศาสตร : Clinacantus nutans (Burm.) Lindau วงศ : Acanthaceae ช่อื อื่น : ผักมันไก ผกั ลน้ิ เขียด พญาปลองคำ พญาปลองดำ พญายอ เสลดพังพอน เสลดพงั พอนตัว เมีย

ลักษณะ : ไมพุมรอเล้อื ย สงู 1-3 เมตร ใบเด่ยี ว เรียงตรงขาม รปู ใบหอก กวาง 1-3 ซม. ยาว 4- 12 ซม. สีเขยี วเขม ดอกชอ ออกเปนกะจกุ ทป่ี ลายกิ่ง กลีบดอกสแี ดงสม โคนกลีบ สีเขียว ติดกัน เปนหลอดยาว ปลายแยกเปน 2 ปาก ไมคอยออกดอก ผลเปนผลแหง แตกได ประโยชนทางสมนุ ไพร : ตำรายาไทยใชใบสดรักษาแผลไฟไหมน้ำรอนลวก แมลงกดั ตอย ผนื่ คนั โดยนำใบสด 5-10 ใบ ตำหรอื ขยี้ทา การทดลองในสัตวพบวาสารสกัดใบสดดวย n- butanol สามารถลดการอักเสบได มกี ารเตรยี มเปนทิงเจอรเพอ่ื ใชทารกั ษาอาการอักเสบจากเรมิ ในปาก โดยใชใบสด 1 กก. ปนละเอยี ด เติมแอลกอฮอล 70% 1 ลติ ร หมกั 7 วัน กรอง ระเหยบน เคร่อื งอังไอน้ำใหปรมิ าตรลดลงคร่งึ หนึ่ง เตมิ กลีเซอรนี เทาตัว มะนาว

ชอ่ื วทิ ยาศาสตร : Citrus aurantifolia Swing. วงศ : Rutaceae ช่ือสามญั : Common Lime ช่อื อื่น : สมมะนาว มะลิว (ภาคเหนือ) ลักษณะ : ไมพุม สงู 2-4 เมตร กง่ิ ออนมีหนาม ใบประกอบชนดิ มีใบยอยใบเดยี ว เรียงสลบั รูปไข รปู วงรีหรือรปู ไขแกมขอบขนานกวาง 3-5 ซม. ยาว 4-8 ซม. เน้อื ใบมีจดุ นำ้ มันกระจาย กานใบมี ครีบเลก็ ๆ ดอกเดยี่ วหรือชอ ออกทีป่ ลายกิง่ และที่ซอกใบ กลบี ดอกสขี าว กลิ่นหอม รวงงาย ผล เปนผลสด กลมเกล้ียง ฉำ่ น้ำ ประโยชนทางสมนุ ไพร : รายาไทยใชน้ำมะนาวและผลดองแหงเปนยาขบั เสมหะแกไอ แกโรค เลอื ดออกตามไรฟน เพราะมวี ติ ามนิ ซี นำ้ มะนาวเปนกระสายยาสำหรบั สมนุ ไพรที่ใชขับเสมหะเชน ดีปลี มะแวงเครอื ชอ่ื วิทยาศาสตร : Solanum trilobatum L. วงศ : Solanaceae ชือ่ อน่ื : แขวงเคยี ลกั ษณะ : ไมเลอื้ ย มหี นามตามก่งิ กาน ใบเดีย่ ว เรยี งสลับ รปู ไขกวาง 4-5 ซม. ยาว 5-8 ซม. ขอบ ใบเวา มีหนามตามเสนใบ ดอกชอ ออกทีป่ ลายกิง่ และซอกใบ กลบี ดอกสมี วง ผลเปนผลสด รูป กลม ผลดบิ สเี ขยี วมลี ายตามยาว เม่อื สกุ สแี ดง

ประโยชนทางสมนุ ไพร : ตำรายาไทยใชผลสดแกไอขับเสมหะ โดยใชขนาด 4-10 ผล โขลกพอ แหลกค้นั เอาน้ำใสเกลอื เล็กนอย จิบบอยๆ หรือเค้ียวกลนื เฉพาะน้ำจนหมดรสขมเฝอน มะแวง เครือเปนสวนผสมหลกั ในยาประสะมะแวงเชนกนั นอกจากนีใ้ ชขับปสสาวะแกไขและเปนยาขม เจรญิ อาหารดวย มะแวงตน ชื่อวทิ ยาศาสตร : Solanum indicum L. วงศ : Solanaceae ชื่ออืน่ :

ลักษณะ : ไมพุม สงู 1-1.5 เมตร ลำตนมีขนนุม ใบเดี่ยว เรยี งสลับรูปไขหรอื รูปขอบขนาน กวาง 4-10 ซม. ยาว 6-12 ซม. ขอบใบเวา ผวิ ใบมีขนนมุ ทัง้ สองดาน ดอกชอ ออกตามกิ่งหรือที่ ซอกใบ กลบี ดอกสีมวง ผลเปนผลสด รูปกลม ผลดบิ สเี ขียวออน ไมมีลาย เมือ่ สุกสสี ม ประโยชนทางสมนุ ไพร : ตำรายาไทยใชผลสดแกไอขบั เสมหะ รกั ษาเบาหวาน ขับปสสาวะ มกี าร ทดลองในสัตว พบวาน้ำสกัดผลมฤี ทธิล์ ดน้ำตาลในเลอื ด แตมฤี ทธ์นิ อยและระยะเวลาการออกฤทธิ์ ส้นั พบสเตดรอยดปริมาณคอนขางสงู จึงไมควรใชติดตอกนั เปนเวลานาน มะแวงตนเปนสวนผสม หลัก ในยาประสะมะแวง ซ่ึงองคการเภสชั กรรมผลติ ขึน้ ตามตำรบั ยาสามญั ประจำบานแผนโบราณ แหวหมู ชอ่ื วทิ ยาศาสตร : Cyperus rotundus L. วงศ : Cyperacear

ช่ือสามญั : Nutgrass ชื่ออน่ื : หญาขนหมู ลกั ษณะ : ไมลมลกุ อายุหลายป สงู 20-40 ซม. มีลำตนใตดนิ เปนหวั คลายหวั แหวไทย แตกแขนง ลำตนเปนเสนแข็งเหนียวอยูใตดินและงอกเปนหวั ใหมได ใบเดีย่ ว จำนวนมาก แทงออกจากหัว กวาง 2-6 มม. ยาว 5-20 ซม. ดอกชอ คลายดอกหญา สีนำ้ ตาลแดง แตกแขนงเปน 4-10 ก่งิ กาน ชอดอกเปนสามเหลย่ี มตรง ผลเปนผลแหง ประโยชนทางสมุนไพร : ตำรายาไทยใชหัวใตดินเปนยาบำรุงหัวใจ ขับเหงื่อและขับปสสาวะ การ ทดลองในสัตวพบฤทธขิ์ บั ปสสาวะ ลดไข ลดความดันโลหติ และลดการอกั เสบ ซ่งึ เชือ่ วาเกิดจาก a- cyperone นอกจากนพี้ บฤทธิ์ยับยั้งการเจรญิ เติบโตของเชื้อมาลาเรียชนดิ ฟลซพิ ารัมในหลอด ทดลองดวย

เรว ชอ่ื วทิ ยาศาสตร : Amomum xanthioides Wall. วงศ : Zingiberaceae ชอ่ื สามญั : Bustard cardamom, Tavoy cardamom ชื่ออื่น : หมากแหนง (สระบรุ ี) หมากเนงิ (อสี าน) มะอ้ี หมากอี้ มะหมากอี้ (เชยี งใหม) หนอเนง (ชัยภูมิ) ลักษณะ : เรวเปนพืชลมลุก มเี หงาหรอื ลำตนอยูในดนิ จดั เปนพชื สกลุ เดยี วกับ กระวาน ขา ขงิ ใบมลี ักษณะ ยาวเรยี ว ปลายใบแหลมและหอยโคงลง กานใบมขี นาดสนั้ ออกดอกเปนชอจากยอดที่แทงขึน้ มา จากเหงา ดอกมสี ขี าวกานชอดอกสั้น ผลมีขนสีแดงปกคลุม เมล็ดมสี นี ้ำตาล เรวมหี ลายชนดิ เชน เรวหอม เรวชาง เรวกอ ซง่ึ เรวเหลานมี้ ีลกั ษณะตนแตกตางกนั ไป ประโยชนทางสมุนไพร : น้ำมันหอมระเหยในเมล็ดเรวมฤี ทธิ์เปนยาขับลม ชวยแกอาการทองอืดทองเฟอ แนน จุกเสียด โดย ใชเมล็ดประมาณ 3 กรัม บดใหเปนผงรับประทานวันละ 3 ครง้ั และชวยขบั เสมหะ แกคลื่นเหียน อาเจียนไดดอี กี ดวย

ดีปลี ช่อื วิทยาศาสตร : Piper chaba Hunt วงศ : Piperaceae ชอ่ื สามัญ : Long Pepper ลักษณะ : ไมเถารากฝอยออกบรเิ วณขอเพื่อใชยดึ เกาะ ใบ เด่ียวรูปไขแกมขอบขนาน กวาง 3- 5 ซม. ยาว 7-10 ซม. สีเขยี วเขมเปนมนั ดอก ชอ ออกท่ซี อกใบ ดอกยอยอดั กนั แนน แยกเพศ ผล เปนผลสด มสี เี ขียว เมอื่ สุกจะเปลย่ี นเปนสแี ดง รสเผด็ รอน ประโยชนทางสมุนไพร : ตำรายาไทยใชผลแกจัดแตยงั ไมสุกตากแหงเปนยาขับลม บำรุงธาตุ แก ทองเสีย ขบั รกหลังคลอด โดยใชผล 1 กำมอื (ประมาณ 10-15 ผล) ตมเอานำ้ ดื่ม นอกจากนใ้ี ช เปนยาแกไอ โดยเอาผลแหงครึง่ ผลฝนกบั มะนาวแทรกเกลอื ใชกวาดคอหรอื จิบบอยๆ ฤทธิข์ ับลม และแกไอ เกดิ จากน้ำมนั หอมระเหยและสาร piperine พบวาสารสกัดเมทานอลมีผลยบั ยั้งการบบี ตวั ของลำไสเลก็ และสารสกดั ปโตรเลยี มอีเธอร ทำใหสตั วทดลองแทง จงึ ควรระวังการใชในสตรีมี ครรภ

นอยหนา ชอื่ วทิ ยาศาสตร : Annona squamosa L. วงศ : Annonaceae ช่อื สามญั : Sugar Apple ชื่ออืน่ : นอยแน นะนอแน หมักเขียบ ลกั ษณะ : ไมยืนตน สงู 3-5 เมตร ใบเดยี่ ว เรยี งสลับ รูปใบหอกหรอื รูปใบหอกแกมขอบขนาน กวาง 3-6 ซม. ยาว 7-13 ซม. ดอกเดีย่ ว ออกทีซ่ อกใบ หอยลง กลบี ดอกสีเหลืองแกมเขยี ว 6 กลบี เรยี ง 2 ชั้นๆ ละ 3 กลีบ หนาอวบนำ้ มีเกสรตัวผูและรงั ไขจำนวนมาก ผลเปนผลกลุม คอนขาง กลม ประโยชนทางสมุนไพร : ตำรายาไทยใชใบสดและเมลด็ ฆาเหา โดยใชเมลด็ ประมาณ 10 เมล็ด หรือใบสดประมาณ 1 กำมอื (15 กรัม) ตำใหละเอียด ผสมกบั นำ้ มนั มะพราวพอแฉะ ขย้ใี หทวั่ ศีรษะ ใชผาคลมุ โพกไวประมาณ 10 นาทีถงึ ครึ่งชั่วโมง ใชหวีสางเหาออก สระผมใหสะอาด (ระวัง อยาใหเขาตา เพราะจะทำใหตาอักเสบและแสบได) มีรายงานยืนยันวาน้ำยาท่ีคัน้ จากเมล็ดบดกับ นำ้ มันมะพราวในอัตราสวน 1:2 สามารถฆาเหาไดดีทส่ี ุด คือฆาไดถงึ 98% ใน 2 ชั่วโมง ใชรักษา หดิ กลากและเกล้ือนดวย

ยานาง ช่อื วิทยาศาสตร : Tiliacora triandra Diels วงศ : Menisspermaceae ลกั ษณะ : ไมเถา ใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปไขแกมใบหอก กวาง 2-4 ซม. ยาว 5-12 ซม. ดอกชอ ออก ตามเถาและท่ีซอกใบ แยกเพศอยูคนละตน ไมมกี ลีบดอก ผลเปนผลกลมุ ผลยอย รปู วงรปี ระโยชน ทางสมุนไพร : ตำรายาไทยใชรากตมกบั นำ้ ด่ืมเปนยาแกไขทุกชนิด การทดลองพบวาสารสกัดรากมีฤทธ์ิตานเชอื้ มาลาเรยี ชนดิ ฟลซิพารัมในหลอดทดลอง

ปลาไหลเผอื ก ชื่อวิทยาศาสตร : Eurycoma longifolia Jack วงศ : Simaroubaceae ชอื่ อ่นื : กรุงบาดาล คะนาง ชะนาง ตรึงบาดาล ตุงสอ แฮพนั ช้ัน เพียก หยกิ บอถอง หยกิ ไมถงึ เอยี นดอน ไหลเผอื กลักษณะ : ไมยืนคน สูง 4-6 เมตร ลำตนตรง ไมคอยแตกกิง่ กาน ใบประกอบ แบบขนนก เรียงสลับ ออกเปนกระจุกบรเิ วณปลายก่ิง ใบยอยรปู ไขแกมวงรี กวาง 2-3 ซม. ยาว 5-7 ซม. สีเขียวเขม ยอดและใบออนมขี นสีนำ้ ตาลแดง ดอกชอ ออกท่ีซอกใบ ดอกยอยขนาด


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook