Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การจัดทำแผนการสอนวิชาภาษาไทย ม.ปลาย

การจัดทำแผนการสอนวิชาภาษาไทย ม.ปลาย

Published by bandun252817, 2020-06-12 04:30:57

Description: การจัดทำแผนการสอนวิชาภาษาไทย ม.ปลาย

Search

Read the Text Version

แผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ ประกอบวิชาภาษาไทย รายวิชาบังคบั /เลือก ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย รหัสวิชา พท 31001 ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอท่าบอ่ สำนกั งานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยจงั หวดั หนองคาย สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศกึ ษาธิการ

แผนการจดั ประสบการณ์การเรียนรู้ กกกกกกกแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ รายวิชา พท31001 ภาษาไทย ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เป็นการนำรายวิชานี้สู่การปฏิบัติจริงของครูผู้สอน ด้วยการวางแผนออกแบบการจัดประสบการณก์ ารเรียนรู้ไว้ ลว่ งหน้า วา่ ครูผสู้ อนจะจดั กจิ กรรมการเรียนรูใ้ ห้บรรลุมาตรฐานการเรยี นรู้ ตัวช้ีวดั และจุดประสงค์ ด้วยรูปแบบ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ONIE MODEL อย่างไร ซึ่งครูผู้สอนรายวิชานี้ทกุ คนต้องศึกษา และจัดประสบการณ์ การเรียนร้ใู ห้เปน็ ไปตามกรอบของการจดั การศกึ ษาตามหลักสตู รการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 จงึ จะทำให้การจัดประสบการณ์การเรยี นรู้ในรายวชิ าน้ี มีประสิทธภิ าพและเกิดประสิทธิผล กกกกกกกแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้รายวิชา พท31001 ภาษาไทย ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ประกอบด้วย 18 แผน ดงั น้ี กกกกกกก1. แผนการจัดประสบการณก์ ารเรียนรู้ เร่ืองท่ี 1 การปฐมนเิ ทศ 2. แผนการจดั ประสบการณ์การเรียนรู้ เร่ืองที่ 2 การฟัง และดู 3. แผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ เร่ืองท่ี 3 การฟัง และดู 4. แผนการจัดประสบการณ์การเรยี นรู้ เรือ่ งที่ 4 การพดู 5. แผนการจดั ประสบการณก์ ารเรียนรู้ เร่ืองท่ี 5 การพูด 6. แผนการจัดประสบการณ์การเรยี นรู้ เร่ืองท่ี 6 การอา่ น 7. แผนการจัดประสบการณ์การเรยี นรู้ เรื่องที่ 7 การอ่าน 8. แผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ เรอ่ื งที่ 8 การอ่าน 9. แผนการจดั ประสบการณ์การเรียนรู้ เรอ่ื งที่ 9 การเขียน 10. แผนการจดั ประสบการณ์การเรยี นรู้ เรือ่ งท่ี 10 การเขยี น 11. แผนการจดั ประสบการณ์การเรียนรู้ เรอ่ื งที่ 11 การเขยี น 12. แผนการจดั ประสบการณ์การเรียนรู้ เรือ่ งที่ 12 หลักการใชภ้ าษา 13. แผนการจัดประสบการณ์การเรยี นรู้ เร่ืองที่ 13 หลกั การใช้ภาษา 14. แผนการจดั ประสบการณก์ ารเรียนรู้ เรอื่ งท่ี 14 หลักการใช้ภาษา 15. แผนการจดั ประสบการณ์การเรยี นรู้ เรื่องที่ 15 หลกั การใชภ้ าษา 16. แผนการจดั ประสบการณ์การเรียนรู้ เรื่องท่ี 16 วรรณคดี และวรรณกรรม 17. แผนการจัดประสบการณก์ ารเรยี นรู้ เรอ่ื งท่ี 17 วรรณคดี และวรรณกรรม 18. แผนการจัดประสบการณ์การเรยี นรู้ เรื่องที่ 18 ภาษาไทยกับช่องทางการ ประกอบอาชีพ โดยมรี ายละเอยี ดดงั นี้

แผนการจดั ประสบการณก์ ารเรียนรู้ กลมุ่ สาระความรพู้ ืน้ ฐาน รายวชิ า ภาษาไทย พท31001 ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย แผนการจัดการเรียนรู้เรอื่ งที่ 1 การปฐมนิเทศ เวลา 6 ชว่ั โมง สอนวนั ที่ …….……เดือน …………………พ.ศ.………......... ภาคเรียนที่ ………ปีการศึกษา……….. มาตรฐานการเรียนรรู้ ะดบั ความรู้ ความเขา้ ใจในการเรยี นวชิ าภาษาไทย พท31001 ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย เกี่ยวกบั รายละเอยี ดคาอธิบายรายวิชา กจิ กรรมการเรียนการสอน ขอ้ ตกลง และข้นั ตอนการปฏบิ ตั ิกจิ กรรมใหเ้ ปน็ ไปตาม วัตถุประสงคก์ ารเรียนรู้ เพ่ือให้ผเู้ รยี นบรรลผุ ลตามทีค่ าดหวงั และช่วยใหก้ ิจกรรมการเรียนการสอนมปี ระสทิ ธิภาพ ตวั ชว้ี ัด 1. เพอ่ื ใหผ้ ู้เรยี นมีความเขา้ ใจแนวทางการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอน ในรายวิชา รายวิชา ภาษาไทย พท31001 ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย 2. เพอ่ื เตรียมตวั ลว่ งหน้าในการเรยี น และมสี ว่ นร่วมในกจิ กรรมการเรียนการสอนอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ 3. เพอ่ื ทดสอบความรพู้ น้ื ฐานเดิมของผเู้ รียน และเปน็ แนวทางในการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ สาระการเรยี นรู้ การปฐมนเิ ทศ 1. รายละเอยี ดคาอธิบายรายวิชา ภาษาไทย พท31001 ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย 2. หลกั เกณฑ์การวดั ผล และการใหค้ ะแนนรายวชิ า ภาษาไทย พท31001 ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย 3. ข้อตกลงเก่ียวกับหลกั การ ขอ้ ปฏิบัตแิ ละกฎระเบยี บในการเรียนการสอนในห้องเรยี น กระบวนการจัดการเรยี นรู้ 1. ขนั้ กำหนดสภาพปัญหาความต้องการในการเรียนรู้ 1.1 ครกู ลา่ วทักทายผเู้ รยี น และแนะนาตวั เอง โดยบอกชอ่ื นามสกุล และชอ่ งทางการติดต่อ 1.2 ครสู อบถามผเู้ รียนถงึ กจิ กรรมทที่ าในระหว่างปดิ ภาคเรียนทผ่ี า่ นมา และนาเข้าสู่เรอื่ งทจ่ี ะเรยี น 1.3 ครแู จ้งให้ผเู้ รยี นทราบวา่ ในภาคเรยี นนจ้ี ะได้เรียน รายวชิ า ภาษาไทย พท31001 2. ข้นั แสวงหาข้อมลู และจัดการเรยี นรู้ 2.1 ครชู แ้ี จงรายละเอียดคาอธบิ ายรายวิชา ภาษาไทย พท31001 ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย ท่จี ะ เรยี นในภาคเรยี นน้ี จานวน 6 เรอ่ื ง คือ การฟัง การดู การพดู การอ่าน การเขยี น หลกั การใช้ภาษา และวรรณคดี วรรณกรรม ครูแจง้ ตัวช้ีวดั และอภปิ รายถึงเน้อื หา ทจี่ ะเรียนร่วมกนั กบั ผเู้ รยี น

2.2 ครู และผเู้ รยี นตกลงหลกั เกณฑก์ ารวดั ผล และการใหค้ ะแนนในสว่ นต่าง ๆ รว่ มกัน จากคะแนนเตม็ 100 คะแนน อัตราสว่ นคะแนนระหว่างภาคต่อปลายภาค = 60 : 40 เปน็ ดงั นี้ 1. คะแนนระหวา่ งเรียน 60 คะแนนแบ่งเกบ็ ดงั น้ี 1.1 คะแนนด้านความรู้ 30 คะแนน 1.2 คะแนนด้านทกั ษะ (โครงงาน/ชนิ้ งาน) 20 คะแนน 1.3 คะแนนดา้ นคณุ ลกั ษณะทพี่ งึ ประสงค์ 10 คะแนน 2. คะแนนปลายภาคเรียน 40 คะแนน ดงั น้ี เกณฑก์ ารประเมินผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนด้านความรู้ ของผเู้ รยี นท่ศี กึ ษา หลกั สตู รรายวิชา ภาษาไทย พท31001 มีดงั นี้ หมายถงึ ผเู้ รยี นมคี ะแนนสอบปลายภาคเรยี น ตง้ั แต่ 12.00 – 40.00 หรอื ร้อยละ 30 ของคะแนนเตม็ ขนึ้ ไป ไมผ่ า่ น หมายถงึ ผเู้ รยี นมีคะแนนสอบปลายภาคเรยี น ต้งั แต่ 0.00 – 11.99 หรือ รอ้ ยละ 0.00 – 29.99 ของคะแนนเตม็ ขนึ้ ไป การตดั สินผลการเรยี น รายวิชา ภาษาไทย พท31001 จะนาคะแนนระหว่างภาคมารวมกับคะแนนปลาย ภาคเรียน และจะตอ้ งได้คะแนนไม่น้อยกวา่ ร้อยละ 50 จึงจะถือวา่ ผ่าน ทัง้ นี้ ผ้เู รียนต้องเข้าสอบปลายภาคเรยี นดว้ ย แล้วนาคะแนนไปเปรียบเทียบกบั เกณฑ์ทก่ี ำหนดใหค้ ่าระดบั ผลการ เรยี นเป็น 8 ระดบั ดงั น้ี ได้คะแนนร้อยละ 80 – 100 ใหร้ ะดับ 4 หมายถงึ ดเี ย่ียม ไดค้ ะแนนรอ้ ยละ 75 – 79 ใหร้ ะดบั 3.5 หมายถึง ดมี าก ไดค้ ะแนนร้อยละ 70 – 74 ใหร้ ะดบั 3 หมายถึง ดี คะแนนร้อยละ 65 – 69 ให้ระดบั 2.5 หมายถงึ ค่อนขา้ งดี ไดค้ ะแนนร้อยละ 60 – 64 ใหร้ ะดบั 2 หมายถงึ ปานกลาง ไดค้ ะแนนร้อยละ 55 – 59 ใหร้ ะดบั 1.5 หมายถึง พอใช้ ไดค้ ะแนนร้อยละ 50 – 54 ใหร้ ะดบั 1 หมายถงึ ผา่ นเกณฑข์ ั้นต่ำทกี่ ำหนด ได้คะแนนรอ้ ยละ 0 – 49 ใหร้ ะดบั 0 หมายถงึ ต่ำกว่าเกณฑ์ขัน้ ต่ำท่ีกำหนด 2.3 ข้อตกลง ข้อปฏบิ ัติ และกฎระเบยี บในการเรียนการสอนในหอ้ งเรยี น ดงั น้ี 1. ผเู้ รยี นตอ้ งเข้าเรยี นไม่ต่ำกว่า 80 เปอรเ์ ซ็นต์ ของเวลาเรยี นทง้ั หมด 2. ผเู้ รียนไมพ่ ดู คุยเสยี งดงั หรอื สง่ เสยี งรบกวนเพ่ือนในเวลาเรียน 3. ผเู้ รียนต้องเขา้ เรียนให้ตรงเวลา 4. หากมีความจาเปน็ ต้องหยุดเรียน ต้องขออนญุ าตครผู ู้สอนก่อนทุกครง้ั 5. ไม่นาอาหารมารบั ประทานในหอ้ งเรียนขณะครสู อน 6. หากมีข้อสงสยั ขณะเรยี น ใหส้ อบถามครูไดท้ ันที 3 2.4 ครชู ้ีแจงรายละเอยี ดการพบกลมุ่ วนั เวลา สถานท่ใี หผ้ ู้เรียนทราบ

3. ขน้ั ปฏบิ ตั ิ และนาไปประยกุ ตใ์ ช้ 3.1 ครูใหผ้ ู้เรยี นแนะนาตวั ให้ครู และเพ่อื น ๆ ทกุ คนในหอ้ งเรียนไดร้ จู้ ัก 3.2 ครแู จกแบบทดสอบก่อนเรียน รายวิชา ภาษาไทย พท31001 ใหผ้ เู้ รยี นทาจากนนั้ ตรวจแบบทดสอบ พร้อมบันทึกคะแนนไว้ และรว่ มกนั สรุปถงึ การทาแบบทดสอบ กอ่ นเรียน รายวิชา ภาษาไทย พท31001 4. ขั้นประเมินผลการเรียนรู้ 4.1 ครถู ามผู้เรยี นเกี่ยวกบั เรือ่ งท่คี รกู ลา่ วมาขา้ งต้น วา่ มเี รอ่ื งอะไรบ้างมรี ายละเอียดทสี่ ำคญั อยา่ งไร (เรอื่ งทจ่ี ะเรียน หลกั เกณฑ์การใหค้ ะแนน กฎระเบียบ ขอ้ ตกลง ขอ้ ควรปฏบิ ตั ิ กตกิ าในการเรยี นการสอน) 4.2 ครูถามผเู้ รียนว่าพบกล่มุ วนั ไหน เวลาไหน และที่ไหน 4.3 ครซู กั ถามผเู้ รยี นวา่ มขี ้อสงสัยหรือไม่ 4.4 ครมู อบหมายใหผ้ ูเ้ รียนศกึ ษาเรอ่ื งท่จี ะเรียนในครง้ั ต่อไปลว่ งหน้า (เรื่อง การฟงั และการดู) การวัดผลประเมนิ ผล วิธีการวัด ประเมนิ จากการสงั เกต การซกั ถาม ตอบคาถาม และแบบทดสอบกอ่ นเรียน เครื่องมอื ไดแ้ ก่ แบบประเมนิ และแบบทดสอบก่อนเรียน เกณฑก์ ารวดั ผา่ น ตอ้ งทาแบบทดสอบกอ่ นเรียน ได้คะแนนไมน่ ้อยกว่าร้อยละ 50 ของคะแนนเต็ม สอื่ และแหล่งเรยี นรู้ 1. แบบทดสอบกอ่ นเรียน รายวชิ า ภาษาไทย พท31001 ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย 2. ใบความรู้ เอกสารประกอบการปฐมนิเทศ

บันทกึ หลังสอน 1. ปญั หาหรืออปุ สรรคในการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 2. แนวทางการแกป้ ญั หาหรอื อุปสรรค …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…… 3. การปรบั ปรุงแผนการจัดประสบการณก์ ารเรยี นรู้ เรื่อง การปฐมนเิ ทศ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….………… ลงชอ่ื …………………………………………………… (……………………………………………………) ตำแหน่ง…………………………………………………. ความคิดเหน็ ของผนู้ ิเทศที่ไดร้ ับมอบหมายจากผบู้ ริหาร ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ลงช่ือ………………………………………………..…… (……………………………………………………) ตำแหน่ง…………………………………………………. ความคิดเหน็ ของผ้บู รหิ ารสถานศึกษา ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………..………………… ลงชือ่ ………………………………………………..…… (……………………………………………………) ตำแหนง่ ………………………………………………….

แผนการจัดประสบการณ์การเรยี นรู้ กล่มุ สาระความรูพ้ นื้ ฐาน รายวิชา ภาษาไทย พท31001 ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย แผนการจัดการเรยี นรูเ้ ร่ืองที่ 2 การฟงั และการดู เวลา 6 ช่ัวโมง สอนวันที่ …….……เดือน …………………พ.ศ.………......... ภาคเรยี นท่ี ………ปกี ารศกึ ษา……….. มาตรฐานการเรียนรูร้ ะดบั ความรู้ ความเข้าใจในการเรียนวิชาภาษาไทย พท31001 ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย เก่ยี วกบั รายละเอียดคาอธบิ ายรายวชิ า กจิ กรรมการเรียนการสอน ขอ้ ตกลง และขนั้ ตอนการปฏิบตั ิกจิ กรรมให้เปน็ ไปตาม วัตถปุ ระสงค์การเรยี นรู้ เพื่อใหผ้ เู้ รยี นบรรลผุ ลตามทีค่ าดหวงั และชว่ ยใหก้ จิ กรรมการเรยี นการสอนมปี ระสทิ ธภิ าพ ตวั ชีว้ ัด 1. เพอื่ ใหผ้ ้เู รยี นมีความเข้าใจแนวทางการจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอน ในรายวิชา รายวชิ า ภาษาไทย พท31001 ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย 2. เพอ่ื เตรียมตัวลว่ งหน้าในการเรยี น และมสี ว่ นรว่ มในกิจกรรมการเรียนการสอนอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ 3. เพอื่ ทดสอบความรพู้ ้ืนฐานเดิมของผเู้ รียน และเป็นแนวทางในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ การปฐมนเิ ทศ 1. รายละเอียดคาอธิบายรายวิชา ภาษาไทย พท31001 ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย 2. หลกั เกณฑ์การวัดผล และการใหค้ ะแนนรายวชิ า ภาษาไทย พท31001 ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 3. ข้อตกลงเก่ียวกบั หลักการ ข้อปฏิบัติและกฎระเบียบในการเรียนการสอนในห้องเรยี น กระบวนการจัดการเรียนรู้ 1. ข้นั กำหนดสภาพปญั หาความต้องการในการเรยี นรู้ 1.1 ครกู ลา่ วทักทายผเู้ รยี น และแนะนาตวั เอง โดยบอกช่ือ นามสกลุ และช่องทางการติดต่อ 1.2 ครสู อบถามผเู้ รียนถงึ กจิ กรรมทที่ าในระหวา่ งปิดภาคเรยี นทผ่ี ่านมา และนาเขา้ สู่เรอ่ื งทจี่ ะเรยี น 1.3 ครแู จ้งใหผ้ เู้ รยี นทราบว่า ในภาคเรียนนจี้ ะได้เรียน รายวชิ า ภาษาไทย พท31001 2. ข้นั แสวงหาขอ้ มูล และจดั การเรียนรู้ 2.1 ครูชีแ้ จงรายละเอียดคาอธิบายรายวชิ า ภาษาไทย พท31001 ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย ท่จี ะ เรียนในภาคเรยี นน้ี จานวน 6 เร่อื ง คอื การฟงั การดู การพดู การอ่าน การเขยี น หลกั การใช้ภาษา และวรรณคดี วรรณกรรม ครแู จ้งตัวช้ีวัด และอภปิ รายถงึ เน้ือหา ทจี่ ะเรียนรว่ มกันกบั ผเู้ รยี น

2.2 ครู และผเู้ รยี นตกลงหลกั เกณฑก์ ารวัดผล และการใหค้ ะแนนในสว่ นต่าง ๆ รว่ มกัน จากคะแนนเตม็ 100 คะแนน อตั ราสว่ นคะแนนระหวา่ งภาคต่อปลายภาค = 60 : 40 เปน็ ดังนี้ 1. คะแนนระหว่างเรียน 60 คะแนนแบ่งเกบ็ ดงั น้ี 1.1 คะแนนดา้ นความรู้ 30 คะแนน 1.2 คะแนนดา้ นทกั ษะ (โครงงาน/ชนิ้ งาน) 20 คะแนน 1.3 คะแนนดา้ นคุณลกั ษณะทีพ่ งึ ประสงค์ 10 คะแนน 2. คะแนนปลายภาคเรียน 40 คะแนน ดงั น้ี เกณฑ์การประเมินผลสัมฤทธิท์ างการเรียนด้านความรู้ ของผเู้ รยี นท่ศี กึ ษา หลกั สตู รรายวิชา ภาษาไทย พท31001 มีดงั นี้ หมายถงึ ผเู้ รยี นมีคะแนนสอบปลายภาคเรยี น ตง้ั แต่ 12.00 – 40.00 หรอื ร้อยละ 30 ของคะแนนเตม็ ขนึ้ ไป ไมผ่ า่ น หมายถงึ ผเู้ รยี นมีคะแนนสอบปลายภาคเรยี น ต้งั แต่ 0.00 – 11.99 หรือ รอ้ ยละ 0.00 – 29.99 ของคะแนนเตม็ ขน้ึ ไป การตดั สินผลการเรียน รายวิชา ภาษาไทย พท31001 จะนาคะแนนระหว่างภาคมารวมกับคะแนนปลาย ภาคเรียน และจะตอ้ งได้คะแนนไมน่ อ้ ยกวา่ ร้อยละ 50 จึงจะถือวา่ ผ่าน ทัง้ นี้ ผ้เู รียนต้องเข้าสอบปลายภาคเรยี นดว้ ย แล้วนาคะแนนไปเปรียบเทียบกบั เกณฑ์ทก่ี ำหนดใหค้ ่าระดบั ผลการ เรยี นเป็น 8 ระดบั ดังนี้ ได้คะแนนรอ้ ยละ 80 – 100 ใหร้ ะดับ 4 หมายถงึ ดเี ย่ียม ไดค้ ะแนนร้อยละ 75 – 79 ใหร้ ะดบั 3.5 หมายถึง ดมี าก ไดค้ ะแนนรอ้ ยละ 70 – 74 ใหร้ ะดบั 3 หมายถงึ ดี คะแนนร้อยละ 65 – 69 ให้ระดบั 2.5 หมายถงึ ค่อนขา้ งดี ไดค้ ะแนนรอ้ ยละ 60 – 64 ใหร้ ะดบั 2 หมายถึง ปานกลาง ไดค้ ะแนนร้อยละ 55 – 59 ใหร้ ะดบั 1.5 หมายถึง พอใช้ ไดค้ ะแนนร้อยละ 50 – 54 ใหร้ ะดบั 1 หมายถงึ ผา่ นเกณฑข์ ั้นต่ำทกี่ ำหนด ได้คะแนนรอ้ ยละ 0 – 49 ใหร้ ะดบั 0 หมายถงึ ต่ำกว่าเกณฑ์ขัน้ ต่ำท่ีกำหนด 2.3 ข้อตกลง ขอ้ ปฏบิ ัติ และกฎระเบยี บในการเรียนการสอนในหอ้ งเรยี น ดงั น้ี 1. ผเู้ รยี นตอ้ งเขา้ เรยี นไมต่ ่ำกว่า 80 เปอรเ์ ซ็นต์ ของเวลาเรยี นทง้ั หมด 2. ผเู้ รยี นไมพ่ ดู คุยเสียงดงั หรอื สง่ เสียงรบกวนเพ่ือนในเวลาเรียน 3. ผเู้ รียนต้องเข้าเรียนให้ตรงเวลา 4. หากมีความจาเปน็ ต้องหยุดเรียน ต้องขออนญุ าตครผู ู้สอนก่อนทุกครง้ั 5. ไม่นาอาหารมารบั ประทานในหอ้ งเรียนขณะครสู อน 6. หากมีข้อสงสยั ขณะเรยี น ใหส้ อบถามครูไดท้ ันที 3 2.4 ครชู ้ีแจงรายละเอียดการพบกลมุ่ วนั เวลา สถานทใ่ี หผ้ ู้เรียนทราบ

3. ขน้ั ปฏบิ ตั ิ และนาไปประยกุ ตใ์ ช้ 3.1 ครูใหผ้ ูเ้ รียนแนะนาตัวใหค้ รู และเพ่อื น ๆ ทกุ คนในหอ้ งเรยี นได้รจู้ ัก 3.2 ครแู จกแบบทดสอบก่อนเรยี น รายวชิ า ภาษาไทย พท31001 ให้ผเู้ รยี นทาจากนั้นตรวจแบบทดสอบ พรอ้ มบนั ทกึ คะแนนไว้ และร่วมกนั สรปุ ถงึ การทาแบบทดสอบ กอ่ นเรยี น รายวิชา ภาษาไทย พท31001 4. ขน้ั ประเมินผลการเรยี นรู้ 4.1 ครูถามผ้เู รยี นเก่ยี วกบั เร่อื งท่ีครูกลา่ วมาข้างตน้ ว่ามเี รอื่ งอะไรบ้างมรี ายละเอียดทสี่ ำคัญอย่างไร (เรอื่ งทจ่ี ะเรียน หลกั เกณฑ์การให้คะแนน กฎระเบยี บ ข้อตกลง ขอ้ ควรปฏบิ ัติ กตกิ าในการเรียนการสอน) 4.2 ครถู ามผเู้ รียนวา่ พบกลุ่มวันไหน เวลาไหน และทีไ่ หน 4.3 ครซู กั ถามผเู้ รียนวา่ มีข้อสงสัยหรอื ไม่ 4.4 ครูมอบหมายใหผ้ ู้เรียนศกึ ษาเรื่องท่จี ะเรียนในครงั้ ตอ่ ไปล่วงหน้า (เรื่อง การฟงั และการดู) การวดั ผลประเมินผล วิธกี ารวดั ประเมินจากการสงั เกต การซกั ถาม ตอบคาถาม และแบบทดสอบกอ่ นเรียน เคร่อื งมือ ไดแ้ ก่ แบบประเมนิ และแบบทดสอบกอ่ นเรียน เกณฑก์ ารวดั ผา่ น ต้องทาแบบทดสอบกอ่ นเรียน ได้คะแนนไม่น้อยกวา่ รอ้ ยละ 50 ของคะแนนเต็ม สอื่ และแหล่งเรยี นรู้ 1. แบบทดสอบกอ่ นเรียน รายวชิ า ภาษาไทย พท31001 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 2. ใบความรู้ เอกสารประกอบการฟังและการดู

ใบความรู้ เร่ืองการฟังและดู การเลอื กสอ่ื ในการฟังและดู สงั คมปัจจุบนั ช่องทางการนาเสนอขอ้ มูลใหด้ แู ละฟังจะมมี ากมาย ดงั นัน้ ผเู้ รยี นควรรจู้ กั เลอื กทจี่ ะดุ และฟัง เม่อื ไดร้ บั รูข้ อ้ มูลแลว้ การรจู้ กั วเิ คราะห์ วจิ ารณ์ เพอ่ื นาไปใชใ้ นทางสรา้ งสรรค์ เป็นสงิ่ จาเป็น เพราะผลทตี่ ามมาจากการดูและฟังจะเป็นผลบวกหรอื ลบแก้สงั คม ก็ขน้ึ อยูก่ บั การนาไปใชน้ เี่ อง นนั ่ คอื ผลดจี ะเกดิ แกส่ งั คมกเ็ ม่อื ผดู้ ูและฟังนาผลทไี่ ดน้ นั้ ไปใชอ้ ยา่ งสรา้ งสรรค์ หรอื ในปัจจุบนั จะมสี านวนทใี่ ชก้ นั อย่างแพร่หลายว่าคดิ บวกนนั ่ เอง เม่อื รูจ้ กั หลกั ในการดูและฟังแลว้ ควรจะรูจ้ กั ประเภทเพอ่ื แยกแยะในการนาไปใชป้ ระโยชน์ ซ่งึ อาจ สรุปประเภทไดด้ งั น้ี 1. สอ่ื โฆษณา สอ่ื ประเภทน้ผี ฟู้ ังตอ้ งรจู้ ดุ มุ่งหมาย เพราะสว่ นใหญ่จะเป็นการส่อื ใหค้ ลอ้ ยตาม อาจไมส่ มเหตุสมผล ผฟู้ ังต้องพจิ ารณาไตรต่ รองกอ่ นซอ้ื หรอื กอ่ นตดั สนิ ใจ 2. ส่อื เพ่อื ความบนั เทงิ เชน่ เพลง, เร่อื งเลา่ ซง่ึ อาจมกี ารแสดงประกอบดว้ ย เช่น นทิ าน นยิ าย หรอื ส่อื ประเภทละคร ส่อื เหล่าน้ีผรู้ บั สารตอ้ งระมดั ระวงั ใชว้ จิ ารณญาณประกอบการตดั สนิ ใจกอ่ นทจี่ ะซ้อื หรอื ทาตาม ปัจจบุ นั รายการโทรทศั น์จะมกี ารแนะนาว่าแตล่ ะรายการเหมาะกบั กล่มุ เป้าหมายใด เพราะเช่อื กนั ว่าถ้าผใู้ ดขาดความคดิ ในเชงิ สรา้ งสรรค์แลว้ สอ่ื บนั เทงิ อาจสง่ ผลรา้ ยต่อสงั คมได้ เชน่ ผดู้ ูเอาตวั อย่าง การจ้,ี ปลน้ , การข่มขนื กระทาชาเรา และแมแ้ ต่การฆ่าตวั ตาย โดยเอาอยา่ งจากละครทดี่ ูกเ็ คยมมี าแลว้ 3. ขา่ วสาร ส่อื ประเภทน้ผี รู้ บั สารต้องมคี วามพรอ้ มพอสมควร เพราะควรต้องรูจ้ กั แหลง่ ข่าว ผนู้ า เสนอข่าว การจบั ประเดน็ ความมเี หตมุ ผี ล รจู้ กั เปรยี บเทยี บเน้ือหาจากทม่ี าของข่าวหลาย ๆ แห่ง เป็นตน้ 4. ปาฐกฐา เน้ือหาประเภทนผ้ี รู้ บั สารต้องฟังอยา่ งมสี มาธเิ พ่อื จบั ประเดน็ สาคญั ใหไ้ ด้ และก่อน ตดั สนิ ใจเชอ่ื หรอื นาขอ้ มลู ส่วนใดไปใชป้ ระโยชน์ตอ้ งมคี วามรพู้ น้ื ฐานในเรอ่ื งนนั้ ๆอยบู่ า้ ง 5. สุนทรพจน์ ส่อื ประเภทน้สี ่วนใหญจ่ ะไม่ยาว และมใี จความทเ่ี ขา้ ใจงา่ ย ชดั เจน แตผ่ ฟู้ ังจะต้อง รูจ้ กั กลนั่ กรองสง่ิ ทดี่ ไี ปเป็นแนวทางในการปฏบิ ตั ิ สรปุ การฟังอยา่ งสรา้ งสรรคน์ ้ีจะต้อง รูจ้ ดุ มงุ่ หมายของสารทดี่ ูและฟังนัน้ รบั ฟังและดอู ยา่ งตงั้ ใจและทาความเขา้ ใจ รูจ้ กั สรุปและเลอื กนาไปใชป้ ระโยชน์ หลกั และแนวทางการฟังและดูอยา่ งสรา้ งสรรค์ 1. ตอ้ งเขา้ ใจความหมาย หลกั เบอ้ื งตน้ จองการจบั ใจความของสารทฟี่ ังและดนู ัน้ ต้องเขา้ ใจ ความหมายของคา สานวนประโยคและขอ้ ความทบ่ี รรยายหรอื อธบิ าย 2. ตอ้ งเขา้ ใจลกั ษณะของขอ้ ความ ขอ้ ความแตล่ ะขอ้ ความตอ้ งมใี จความสาคญั ของเรอ่ื งและ ใจความสาคญั ของเรอ่ื งจะอย่ทู ปี่ ระโยคสาคญั ซง่ึ เรยี กวา่ ประโยคใจความ ประโยคใจความจะปรากฏอยใู่ น ตอนใดตอนหน่งึ ของขอ้ ความ โดยปกตจิ ะปรากฏอย่ใู นตอนต้น ตอนกลาง และตอนทา้ ย หรอื อยู่ตอนต้น

และตอนทา้ ยของขอ้ ความผรู้ บั สารตอ้ งรูจ้ กั สงั เกต และเขา้ ใจการปรากฏของประโยคใจความในตอนต่าง ๆ ของขอ้ ความ จงึ จะชว่ ยใหจ้ บั ใจความไดด้ ยี ง่ิ ขน้ึ 3. ต้องเขา้ ใจในลกั ษณะประโยคใจความ ประโยคใจความ คอื ขอ้ ความทเ่ี ป็นความคดิ หลกั ซง่ึ มกั จะมเี น้ือหาตรงกบั หวั ขอ้ เร่อื ง เชน่ เรอ่ื ง “สนุ ขั ” ความคดิ หลกั คอื สนุ ขั เป็นสตั วเ์ ลย้ี งทรี่ กั เจา้ ชอง แตก่ าร ฟังเรอ่ื งราวจากการพูดบางทไี ม่มหี วั ขอ้ แต่จะพดู ตามลาดบั ของเน้ือหา ดงั นัน้ การจบั ใจความสาคญั ต้องฟัง ใหต้ ลอดเร่อื งแลว้ จบั ใจความวา่ พุดถงึ เรอ่ื งอะไร คอื จบั ประเดน็ หวั เรอ่ื ง และเร่อื งเป็นอยา่ งไรคอื สาระสาคญั หรอื ใจความสาคญั ของเร่อื งนัน่ เอง 4. ตอ้ งรูจ้ กั ประเภทของสาร สารทฟี่ ังและดมู หี ลายประเภท ต้องรูจ้ กั และแยกประเภทสรปุ ของ สารไดว้ า่ เป็นสารประเภทขอ้ เทจ็ จรงิ ขอ้ คดิ เหน็ หรอื เป็นคาทกั ทายปราศรยั ข่าว ละคร สารคดี จะได้ ประเดน็ หรอื ใจความสาคญั ไดง้ า่ ย 5. ตอ้ งตคี วามในสารไดต้ รงตามเจตนาของผสู้ ง่ สาร ผสู้ ง่ สารมเี จตนาทจ่ี ะสง่ สารต่าง ๆ กบั บางคน ต้องการใหค้ วามรู้ บางคนตอ้ งการโนม้ น้าวใจ และบางคนอาจจะต้องการสง่ สารเพอ่ื สอ่ื ความหมายอ่นื ๆ ผฟู้ ังและดตู อ้ งจบั เจตนาใหไ้ ด้ เพอ่ื จะไดจ้ บั สารและใจความสาคญั ได้ 6. ตงั้ ใจฟังและดใู หต้ ลอดเรอ่ื ง พยายามทาความเขา้ ใจใหต้ ลอดเร่อื ง ยงิ่ เรอ่ื งยาวสลบั ซบั ซอ้ นยง่ิ ต้องตงั้ ใจเป็นพเิ ศษและพยายามจบั ประเดน็ หวั เรอ่ื ง กรยิ าอาการ ภาพและเครอ่ื งหมายอ่นื ๆ ดว้ นความ ตงั้ ใจ 7. สรปุ ใจความสาคญั ขนั้ สุดทา้ ยของการฟังและดเู พ่อื จบั ใจความสาคญั กค็ อื สรุปใหไ้ ดว้ า่ เรอ่ื ง อะไร ใคร ทาอะไร ทไ่ี หน เม่อื ไร อยา่ งไรและทาไม หรอื บางเร่อื งอาจจะสรุปไดไ้ ม่ครบทงั้ หมดทงั้ น้ีย่อม ขน้ึ กบั สารทฟ่ี ังจะมใี จความสาคญั ครบถ้วนมากนอ้ ยเพยี งใด วจิ ารณญาณในการฟังและดู พจนานุกรมฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถานไดใ้ หค้ วามหมายของ วจิ ารณญาณไวว้ ่าปัญญาทสี่ ามารถรูห้ รอื ใหเ้ หตผุ ลทถ่ี ูกตอ้ ง คาน้ีมาจากคาวา่ วจิ ารณ์ หรอื วจิ ารณ์ คาหนง่ึ ซง่ึ แปลว่า การคดิ ใครค่ รวญโดยใช้ เหตผุ ลและคาว่า ญาณ คาหนงึ่ ซง่ึ แปลว่าปัญหาหรอื ความรใู้ นชนั้ สงู วจิ ารณญาณในการฟังและดู คอื การรบั สารใหเ้ ขา้ ใจเน้ือหาสาระใชป้ ัญญาคดิ ใครค่ รวญโดยอาศยั ความรู้ ความคดิ เหตผุ ล และประสบการณ์ประกอบแลว้ สามารถนาไปใชไ้ ดอ้ ยา่ งเหมาะสม การฟังและดใู หเ้ กดิ วจิ ารณญาณนัน้ มขี นั้ ตอนในการพฒั นาเป็นลาดบั บางทกี อ็ าจเป็นไปอยา่ ง รวดเรว็ บางทกี ต็ ้องอาศยั เวลา ทงั้ น้ีย่อมขน้ึ อยกู่ บั พน้ื ฐานความรู้ ประสบการณ์ของบคุ คลและความ ย่งุ ยากซบั ซอ้ นของเรอ่ื งหรอื สารทฟี่ ัง ขนั้ ตอนการฟังและดอู ยา่ งมวี จิ ารณญาณมดี งั น้ี 1. ฟังและดใู หเ้ ขา้ ใจเรอ่ื ง เมอ่ื ฟังเรอ่ื งใดกต็ ามผฟู้ ังจะตอ้ งตงั้ ใจฟังเรอ่ื งนัน้ ใหเ้ ขา้ ใจตลอดเร่อื ง ให้ รูว้ า่ เน้ือเร่อื งเป็นอยา่ งไร มสี าระสาคญั อะไรบา้ ง พยายามทาความเขา้ ใจรายละเอยี ดทงั้ หมด 2. วเิ คราะหเ์ รอ่ื ง จะต้องพจิ ารณาวา่ เรอ่ื งเป็นเรอ่ื งประเภทใดเป็นขา่ ว บทความ เรอ่ื งสนั้ นิทาน นยิ าย บทสนทนา สารคดี ละคร และเป็นรอ้ ยแกว้ หรอื รอ้ ยกรอง เป็นเรอ่ื งจรงิ หรอื แต่งขน้ึ ต้องวเิ คราะห์ ลกั ษณะของตงั ละคร และกลวธิ ใี นการเสนอสารของผสู้ ่งสารใหเ้ ขา้ ใจ

3. วนิ จิ ฉยั เรอ่ื ง คอื การพจิ ารณาเรอ่ื งทฟ่ี ังวา่ เป็นขอ้ เทจ็ จรงิ ความรสู้ กึ ความคดิ เหน็ และผสู้ ง่ สาร หรอื ผพู้ ดู ผแู้ สดงมเี จตนาอยา่ งไรในการพูดการแสดง อาจจะมเี จตนาทจ่ี ะโนม้ น้าวในจรรโลงหรอื แสดงความ คดิ เหน็ เป็นเร่อื งทมี่ เี หตมุ ผี ลมหี ลกั ฐานน่าเช่อื ถอื หรอื ไม่และมคี ุณค่ามปี ระโยชน์เพยี งใด สารทใี่ หค้ วามรู้ สารทใ่ี หค้ วามรบู้ างครงั้ กเ็ ขา้ ใจง่าย แต่งบางครงั้ ทเี่ ป็นเรอ่ื งสลบั ซบั ซอ้ นกจ็ ะเขา้ ใจยาก ตอ้ งใชก้ าร พนิ จิ พเิ คราะหอ์ ยา่ งลกึ ซง้ึ ทงั้ น้ียอ่ มขน้ึ กบั เร่อื งทเ่ี ขา้ ใจงา่ ยหรอื เขา้ ใจยาก ผรู้ บั มพี น้ื ฐานในเร่อื งทฟี่ ัง เพยี งใด ถ้าเป็นข่าวหรอื บทความเกย่ี วหบั เกษตรกรผมู้ อี าชพี เกษตรย่อมเขา้ ใจงา่ ย ถา้ เป็นเร่อื งเก่ยี วกบั ธรุ กจิ นักธุรกจิ กจ็ ะไดเ้ ขา้ ใจง่ายกว่าผมู้ อี าชพี เกษตร และผพู้ ดู หรอื ผสู้ ง่ สารกม็ สี ว่ นสาคญั ถ้ามคี วามรใู้ น เร่อื งนัน้ เป็นอยา่ งดรี ูว้ ธิ เี สนอ กจ็ ะเขา้ ใจไดง้ า่ ย ขอ้ แนะนาในการรบั สารทใี่ หค้ วามรโู้ ดยใชว้ จิ ารณญาณมดี งั น้ี 1. เม่อื ไดร้ บั สารทใี่ หค้ วามรเู้ รอ่ื งใดต้องพจิ ารณาว่าเร่อื งนัน้ มคี ุณคา่ หรอื มปี ระโยชน?ควรแกก่ ารใช้ วจิ ารณญาณมากนอ้ ยเพยี งใด 2. ถา้ เรอ่ื งทต่ี ้องใชว้ จิ ารณญาณไมว่ ่าจะเป็นข่าว บทความ สารคดี ข่าว หรอื ความรเู้ รอ่ื งใดกต็ าม ตอ้ งฟังดว้ ยความตงั้ ใจจบั ประเดน็ สาคญั ใหไ้ ด้ ต้องตคี วามหรอื พนิ จิ พจิ ารณาว่า ผสู้ ง่ สารต้องการสง่ สารถงึ ผรู้ บั คอื อะไร และตรวจสอบหรอื เปรยี บเทยี บกบั เพอ่ื น ๆ ทฟ่ี ังรว่ มกนั มาว่าพจิ ารณาได้ตรงกนั หรอื ไม่ อยา่ งไร หากเหน็ วา่ การฟังและดขู องเราตา่ งจากเพ่อื นดอ้ ยกว่าเพ่อื นจะไดป้ รบั ปรงุ แก้ไขใหม้ ปี ะสทิ ธภิ าพ การฟังพฒั นาขน้ึ 3. ฝึกการแยกแยะขอ้ เทจ็ จรงิ ขอ้ คดิ เหน็ เจตคตขิ องผพู้ ดู หรอื แสดงทม่ี ตี อ่ เร่อื งทพ่ี ดุ หรอื แสดงและ ฝึกพจิ ารณาตดั สนิ ใจว่าสารทฟ่ี ังและดนู ัน้ เช่อื ถอื ไดห้ รอื ไม่ และเชอ่ื ถอื ไดม้ ากนอ้ ยเพยี งใด 4. ขณะทฟี่ ังควรบนั ทกึ สาระสาคญั ของเร่อื งไว้ ตลอดทงั้ ประเดน็ การอภปิ รายไวเ้ พอ่ื นาไปใช้ 5. ประเมนิ สารทใ่ี หค้ วามรวู้ ่า มคี วามสาคญั มคี ุณค่าและประโยชน์มากนอ้ ยเพยี งใด มแี งค่ ดิ อะไรบา้ ง และผสู้ ่งสารมกี ลวธิ ใี นการถา่ ยทอดทด่ี นี ่าสนใจอย่างไร 6. นาคณุ คา่ ประโยชน์ขอ้ คดิ ความรแู้ ละกลวธิ ตี ่าง ๆ ทไ่ี ดจ้ ากการฟังไปใชใ้ นการดาเนนิ ชวี ติ ประจาวนั การประกอบอาชพี และพฒั นาคุณภาพชวี ติ พฒั นาชมุ ชนและสงั คมไดอ้ ยา่ งเหมาะสม สารทโ่ี น้มนา้ วใจ สารทโี่ นม้ นา้ วใจเป็นสารทเ่ี ราพบเหน็ ประจาจากส่อื มวลชน จากการบอกเลา่ จากปากหน่งึ ไปส่ปู าก หน่ึง ซง่ึ ผสู้ ง่ สารอาจจะมจี ดุ มุ่งหมายหลายอยา่ งทงั้ ทด่ี ี และไม่ดี มปี ระโยชน์หรอื ใหโ้ ทษจุดมุ่งหมายทใ่ี ห้ ประโยชน์กค็ อื โนม้ น้าวใจใหร้ กั ชาตบิ า้ นเมอื ง ใหใ้ ชจ้ ่ายอย่างประหยดั ใหร้ กั ษาสงิ่ แวดลอ้ ม ใหร้ กั ษาสา ธารณสมบตั แิ ละประพฤตแิ ต่สง่ิ ทด่ี งี าม ในทางตรงขา้ มผสู้ ่งสารอาจจะมจี ดุ มงุ่ หมายใหเ้ กดิ ความเสยี หาย มุ่งหมายทจี่ ะโฆษณาชวนเช่อื หรอื ปลุกปัน่ ยุยงใหเ้ กดิ การแตกแยก ดงั นัน้ จงึ ตอ้ งมวี จิ ารณญาณ คดิ พจิ ารณาใหด้ กี วา่ สารนัน้ เป็นไปในทางใด การใชว้ จิ ารณญาณสารโนม้ น้าวใจควรปฏบิ ตั ดิ งั น้ี 1. สารนนั้ เรยี กรอ้ งความสนใจมากนอ้ ยเพยี งมด หรอื สรา้ งความเชอ่ื ถอื ของผพู้ ดู มากน้อยเพยี งใด

2. สารทนี่ ามาเสนอนัน้ สนองความตอ้ งการพน้ื ฐานของผฟู้ ังและดุอยา่ งไรทาใหเ้ กดิ ความปรารถนา หรอื ความวา้ วุ่นขน้ึ ในใจมากน้อยเพยี งใด 3. สารไดเ้ สนอแนวทางทส่ี นองความต้องการของผฟู้ ังและดหู รอื มสี ง่ิ ใดแสดงความเหน็ ว่าหากผู้ฟัง และดยู อมรบั ขอ้ เสนอนัน้ แลว้ จะไดร้ บั ประโยชน์อะไร 4. สารทนี่ ามาเสนอนัน้ เรา้ ใจใหเ้ ช่อื ถอื เก่ยี วกบั สงิ่ ใด และต้องการใหค้ ดิ หรอื ปฏบิ ตั อิ ยา่ งไรต่อไป 5. ภาษาทใ่ี ชใ้ นการโน้มน้าวใจนัน้ มลี กั ษณะทาใหผ้ ฟู้ ังเกดิ อารมณอ์ ย่างไรบา้ ง สารทจ่ี รรโลงใจ ความจรรโลงใจ อาจไดจ้ ากเพลง ละคร ภาพยนตร์ คาประพนั ธ์ สนุ ทรพจน์ บทความบางชนดิ คา ปราศรยั พระธรรมเทศนา โอวาท ฯลฯ เมอ่ื ไดร้ บั สารดงั กลา่ วแลว้ จะเกดิ ความรสู้ กึ สบายใจ สขุ ใจ คลาย เครยี ด เกดิ จนิ ตนาการ มองเหน็ ภาพและเกดิ ความซาบซง้ึ สารจรรโลงใจจะชว่ ยยกระดบั จติ ใจมนุษยใ์ ห้ สงู ขน้ึ ประณีตขน้ึ ในการฝึกใหม้ วี จิ ารณญาณในสารประเภทน้คี วรปฏบิ ตั ดิ งั น้ี 1. ฟังและดดู ว้ ยความตงั้ ใจ แต่ไมเ่ คร่งเครยี ดทาใจใหส้ บาย 2. ทาความเขา้ ใจในเน้อื หาทส่ี าคญั ใชจ้ นิ ตนาการไปตามจุดประสงคข์ องสารนนั้ 3. ตอ้ งพจิ ารณาว่าสง่ิ ฟังและดใู หค้ วามจรรโลงในดา้ นใด อยา่ งไรและมากนอ้ ยเพยี งใด หากเร่อื ง นัน้ ตอ้ งอาศยั เหตุผล ต้องพจิ ารณาว่าสมเหตสุ มผลหรอื ไม่ 4. พจิ ารณาภาษาและการแสดง เหมาะสมกบั รูปแบบเน้ือหาและผรู้ บั สารหรอื ไมเ่ พยี งใด หลกั การฟังและดทู ดี่ ี หลกั การฟังและดูทด่ี มี แี นวทตี่ ้องปฏบิ ตั ิหลายประการดว้ ยกนั ซง่ึ ผฟู้ ังและดจู ะตอ้ งปฏบิ ตั ติ ามการ ฟังและดจู งึ จะประสบความสาเรจ็ หลกั การฟังและดทู ด่ี มี ดี งั น้ี 1. ฟังและดใู หต้ รงตามความมุ่งหมาย การฟังแต่ละครงั้ จะตอ้ งมจี ดุ มงุ่ หมายในการฟังและดู ซง่ึ อาจจะมจี ุดมงุ่ หมายอยา่ งใดอย่างหนึง่ โดยเฉพาะหรอื มจี ดุ มุ่งหมายหลายอยา่ งพรอ้ มกนั กไ็ ด้ จะต้องเลอื กฟัง และดใู หต้ รงกบั จุดมุ่งหมายทไี่ ดต้ งั้ ไวแ้ ละพยายามทจี่ ะให้การฟังและดแู ต่ละครงั้ ไดร้ บั ผลตามจุดมงุ่ หมายท่ี กาหนด 2. มคี วามพรอ้ มในการฟังและดู การฟังและดูจะไดผ้ ลจะตอ้ งมคี วามพรอ้ มทงั้ รา่ งกายจติ ใจและ สตปิ ัญญา คอื ตอ้ งมสี ุขภาพดที งั้ ร่างกาย และจติ ใจไม่เหน็ดเหน่ือยไมเ่ จบ็ ป่วยและไม่มจี ติ ใจเศรา้ หมอง กระวนกระวาย การฟังและดจู งึ จะไดผ้ ลดี และต้องมพี น้ื ฐานความรใู้ นเร่อื งนนั้ ดพี อสมควร หากไมม่ พี ้นื ฐาน ทางความรู้ สตปิ ัญญากย็ ่อมจะฟังและดูไม่รเู้ ร่อื งและไมเ่ ขา้ ใจ 3. มสี มาธใิ นการฟังและดู ถ้าหากไมม่ สี มาธิ ขาดความตงั้ ใจย่อมจะฟังและดไู ม่รเู้ ร่อื ง การรบั รูแ้ ละ เขา้ ใจจะไมเ่ กดิ ดงั นัน้ จะต้องมคี วามสนใจ มคี วามตงั้ ใจและมสี มาธใิ นการฟังและดู 4. มคี วามกระตอื รอื รน้ ในการฟังและดู ผทู้ ม่ี จี ดุ มงุ่ หมายในการฟังและดมู องเหน็ คณุ ค่าและ ประโยชน์ของการฟังและดู ยอ่ มจะมคี วามกระตอื รอื รน้ มคี วามพรอ้ มทจ่ี ะรบั รูแ้ ละทาความเขา้ ใจเพ่อื จะใหไ้ ด้ ประโยชน์สงู สดุ จากการฟังและดูนัน้ ผมู้ คี วามกระตอื รอื รน้ ใฝ่ใจใครร่ ยู้ อ่ มมปี ระสทิ ธภิ าพในการฟังและดสู งู

5. ฟังและดโู ดยไมม่ อี คติ ในการฟังจะตอ้ งทาใจเป็นกลางไม่มอี คตติ ่อผพู้ ูด ไมม่ อี คตติ ่อเร่อื งทพ่ี ูด หากมอี คตเิ พราะไมช่ อบเร่อื ง ไม่ศรทั ธาผพู้ ดู กจ็ ะทาใหไ้ ม่พรอ้ มทจี่ ะรบั รูแ้ ละเขา้ ใจในเรอ่ื งนัน้ จะทาใหก้ าร ฟังและดไู ม่ประสบผลสาเรจ็ 6. รูจ้ กั สรุปและจดบนั ทกึ สาระสาคญั ในการฟังและดูเพอ่ื ความรแู้ ละเพอ่ื การนาไปใช้ นาไปปฏบิ ตั ิ บางครงั้ มคี วามจาเป็นทตี่ อ้ งสรุปสาระสาคญั ทจ่ี ะนาไปใชแ้ ละนาไปปฏบิ ตั ิ พร้อมทงั้ จดบนั ทกึ เพ่อื จะไดไ้ มล่ มื หรอื เมอ่ื ตอ้ งการใชจ้ ะไดน้ ามาใชไ้ ด้ คณุ สมบตั ขิ องผฟู้ ังและดทู ดี่ ี ผฟู้ ังและดทู ดี่ คี วรปฏบิ ตั ดิ งั น้ี 1. สามารถปฏบิ ตั ติ ามหลกั การฟังและดทู ดี่ ไี ด้ ผฟู้ ังและดทู ด่ี จี ะต้องสามารถทจ่ี ะปฏบิ ตั ติ าม หลกั การฟังและดูทด่ี ี คอื ฟังและดูใหต้ รงจดุ มงุ่ หมาย เตรยี มความพรอ้ มในการฟังและดตู งั้ ใจและ กระตอื รอื รน้ ไม่มอี คตแิ ละรูจ้ กั สรปุ สาระสาคญั ของเรอ่ื งทฟี่ ังและดนู นั้ ได้ 2. มมี ารยาทในการฟังและดู มารยาทในการฟังและเป็นสง่ิ ทจ่ี ะช่วยสรา้ งบรรยากาศทด่ี ใี นการฟัง และดู เป็นมารยาทของการอยู่รว่ มกนั ในสงั คมอย่างหนง่ึ หากผฟู้ ังและดูไมม่ มี ารยาท การอยรู่ ว่ มกนั ใน ขณะทฟ่ี ังและดู ย่อมไม่ปกตสิ ขุ มบี รรยากาศทไ่ี ม่เหมาะสมและไม่เอ้อื ตอ่ ความสาเรจ็ ตวั อย่างเชน่ ขณะที่ ฟังและดกู ารบรรยายถ้ามใี ครพดู คุยกนั เสยี งดงั หรอื กระทาการทส่ี รา้ งความไมส่ งบรบกวนผอู้ น่ื บรรยากาศ ในการฟังและดนู ัน้ ยอ่ มไม่ดี เกดิ ความราคาญตอ่ เพ่อื นทนี่ ัง่ อย่ใู กลจ้ ะไดร้ บั การตาหนวิ า่ ไม่มมี ารยาท ขาด สมบตั ผิ ดู้ ี แต่ถ้าเป็นผมู้ มี ารยาท ยอ่ มไดร้ บั การยกย่องจากบคุ คลอน่ื ทาใหก้ ารรบั สารดว้ ยการฟังและดู ประสบความสาเรจ็ โดยงา่ ย 3. รูจ้ กั เลอื กฟังและดใู นสงิ่ ทเ่ี ป็นประโยชน์ ผฟู้ ังและดทู ดี่ จี ะตอ้ งรูจ้ กั เลอื ก ฟังและดใู นสงิ่ ทจี่ ะเป็น ประโยชน์ตอ่ ตนเอง ครอบครวั ชุมชนและสงั คม โดยเลอื กฟังและดูจากบุคคลและส่อื ในเรอ่ื งทจี่ ะเป็น ประโยชน์ต่ออาชพี ชวี ติ ความเป็นอย่แู ละความรบั ผดิ ชอบในสงั คม เม่อื ฟังและดสู งิ่ ใดแลว้ ตอ้ งนาไปใชไ้ ดเ้ กดิ ประโยชนใ์ นการพฒั นาอาชพี พฒั นาคณุ ภาพชวี ติ และพฒั นาสงั คม มารยาทในการฟังและการดู การฟังและดจู ะสมั ฤทธผิ ์ ลนัน้ ผฟู้ ังตอ้ งคานงึ ถงึ มารยาทในสงั คมดว้ ย ยงิ่ เป็นการฟังและดใู นท่ี สาธารณะยงิ่ ต้องรกั ษามารยาทอยา่ งเครง่ ครดั เพราะมารยาทเป็นเครอ่ื งกากบั พฤตกิ รรมของคนในสงั คม ควบคมุ ใหค้ นในสงั คมประพฤตติ นใหเ้ รยี บรอ้ ยงดงาม อนั แสดงถงึ ความเป็นผดู้ แี ละเป็นคนทพี่ ฒั นาแลว้ การฟังและดูในโอกาสต่าง ๆ เป็นพฤตกิ รรมทางสงั คม ยกเวน้ การฟังและดจู ากส่อื ซง่ึ อาจฟังและดู อยตู่ ามลาพงั แต่ในบางครงั้ การฟังและดูบทเรยี นจากสอ่ื ทางไกลกม็ กี ารฟังและดกู นั เป็นกลุม่ ร่วมกบั บุคคล อน่ื ดว้ ย จาเป็นตอ้ งรกั ษามารยาท เพ่อื มใิ หเ้ ป็นการรบกวนสมาธขิ องผทู้ ค่ี นในกลมุ่ และสมาธขิ องผทู้ ก่ี าลงั พดู หรอื แสดงใหเ้ ราดว้ ย การรกั ษามารยาทในขณะทฟี่ ังและดเู ป็นการแสดงถงึ การมสี มั มาคารวะต่อผพู้ ูด หรอื ผแู้ สดง หรอื ต่อเพ่อื นผฟู้ ังดว้ ยกนั แบะตอ่ สถานทผี่ มู้ มี ารยาทยงั จะไดร้ บั ยกยอ่ งว่าเป็นผมู้ วี ฒั นธรรมดี งามอกี ดว้ ย มารยาทมนการฟังและดใู นโอกาสตา่ ง ๆ มดี งน้ี 1. การฟังและดเู ฉพาะหน้าผใู้ หญ่

เมอ่ื ฟังและดเู ฉพาะหนา้ ผใู้ หญไ่ มว่ ่าจะอยแู่ ตล่ าพงั หรอื มผี อู้ ่นื ร่วมอยู่ดว้ ยกต็ าม จะตอ้ งสารวมกริ ยิ า อาการใหค้ วามวนใจดว้ ยการสบตากบั ผพู้ ูด ผทู้ สี่ อ่ื สารใหก้ นั ทราบ ถ้าเป็นการสนทนาไม่ควรชงิ พดู ก่อนทค่ี ู่ สนทนาจะพูดจบ หรอื ถ้ามปี ัญหาขอ้ สงสยั จะถามควรใหผ้ พู้ ูดจบกระแสความก่อนแลว้ จงึ ถาม หากมเี พ่อื น ร่วมฟังและดูอยูด่ ว้ ยต้องไมก่ ราการใดอนั จะเป็นการรบกวนผอู้ ่นื 2. การฟังและดใู นทปี่ ระชุม การประชุมจะมปี ระธานในทปี่ ระชุมเป็นผนู้ าและควบคมุ ใหก้ ารประชมุ ดาเนนิ ไปดว้ ยดี ผเู้ ขา้ ร่วม ประชุมตอ้ งใหค้ วามเคารพตอ่ ประชาชน ในขณะทป่ี รานหรอื ผรู้ ่วมประชมุ คนอ่นื พดู เราตอ้ งตงั้ ใจฟังและดู หากมสี าระสาคญั กอ็ าจจดบนั ทกึ ไวเ้ พ่อื จะไดน้ าไปปฏบิ ตั ิ หรอื เป็นขอ้ มลู ในการอภปิ รายแสดงความคดิ เหน็ ไมค่ วรพดู กระซบิ กบั คนขา้ งเคยี ง ไมค่ วรพูดแซงขน้ึ หรอื แสดงความไม่พอใจใหเ้ หน็ ควรฟังและดจู นจบ แลว้ จงึ ใหส้ ญั ญาณขออนุญาตพดู ดว้ ยการยกมอื หรอื ขออนุญาต ไมค่ วรทากจิ ธุระสว่ นตวั ในทปี่ ระชมุ หรอื ดู การสาธติ และไมท่ าสง่ิ อ่นื ใดทจ่ี ะเป็นการรบกวนทป่ี ระชมุ 3. การฟังและดใู นทส่ี าธารณะ การฟังและดูในทส่ี าธารณะเป็นการฟังและดทู มี่ คี นจานวนมากในสถานทที่ เี่ ป็นหอ้ งโถงกวา้ งไมม่ มี า้ นัง่ เชน่ โรงภาพยนตร์ โรงละคร และในสถานทที่ เ่ี ป็นลานกวา้ ง อาจจะมหี ลงั คาหรอื ไมม่ กี ไ็ ด้ เชน่ สนาม โรงเรยี น สนามกฬี า ลานต่าง ๆ ในชุมชน ขณะทฟ่ี ังและดไู ม่ควรกระทาการใด ๆ ทจ่ี ะก่อความราคาญ สรา้ งความวุ่นวายใหแ้ ก่บคุ คลทชี่ มหรอื ฟังร่วมอยู่ดว้ ย ขอ้ ควรระวงั มดี งั น้ี การฟังและดูในโรงภาพยนตรห์ รอื โรงละคร 1.รกั ษาความสงบ ไม่ใชเ้ สยี งพดู คยุ และกระทาการใด ๆ ทจ่ี ะทาใหเ้ ร่อื งรบกวนผอู้ ่นื และไมค่ วรนาเดก็ เลก็ ๆ ทไี่ รเ้ ดยี งสาเขา้ ไปดหู รอื ฟังดว้ ยเพราะอาจจะรอ้ งหรอื ทาเสยี งรบกวนผอู้ ่นื ได้ 2.ไมค่ วรนาอาหารของขบเคย้ี ว ของทม่ี กี ลน่ิ แรงเขา้ ไปในสถานทน่ี ัน้ เพราะเวลาแก้ห่ออาหาร รบั ประทาน ของขบเคย้ี วกจ็ ะเกดิ เสยี งดงั รบกวนผอู้ น่ื และของทมี่ กี ลนิ่ แรงกจ็ ะทาใหก้ ลน่ิ รบกวนผอู้ ่นื ดว้ ย เพราะโรง ภาพยนตรห์ รอื โรงละครการถา่ ยเทของอากาศไมส่ ะดวก 3.ไมเ่ ดนิ เขา้ ออกบอ่ ย เพราะในสถานทนี่ ัน้ จะมดื เวลาเดนิ อาจจะเหยยี บหรอื เบยี ดผรู้ ่วมฟังดว้ ย หากจาเป็น ควรเลอื กทนี่ ัง่ ทส่ี ะดวกตอ่ การเดนิ เขา้ ออก เชน่ นงั ่ ใกลท้ างเดนิ เป็นตน้ 4.ไมค่ วรแสดงกริ ยิ าอาการทไ่ี ม่เหมาะไมค่ วรระหวา่ งเพ่อื นตา่ งเพศในโรงมหรสพ เพราะเป็นเร่อื งส่วนบคุ คล ขดั ตอ่ วฒั นธรรมประเพณีไทย ไม่ควรแสดงกริ ยิ า อาการดงั กลา่ วในทสี่ าธารณะ 5.ไม่ควรส่งเสยี งดงั เกนิ ไปเมอ่ื ชอบใจเป็นพเิ ศษในเร่อื งทด่ี ูหรอื ฟัง เชน่ ถงึ ตอนทชี่ อบใจเป็นพเิ ศษกจ็ ะ หวั เราะเสยี งดงั ปรบมอื หรอื เป่าปาก ซ่งึ จะเป็นการสรา้ งความราคาญและรบกวนผอู้ ่นื การฟังในลานกวา้ ง สว่ นใหญจ่ ะเป็นการชมดนตรแี ละการแสดงทเี่ ป็นลกั ษณะมหกรรมบนั เทงิ ควร ปฏบิ ตั ดิ งั น้ี 1.อย่าส่งเสยี งดงั จนเกนิ ไป จะทาใหเ้ ป็นทร่ี บกวนผรู้ ว่ มชม หากถกู ใจเป็นพเิ ศษกค็ วรดูจงั หวะอนั ควรไม่ทา เกนิ พอดี 2.ไม่แสดงอาการกริ ยิ าทไี่ มส่ มควร เช่น การโยกตวั การเตน้ และแสดงทา่ ทางต่าง ๆ เกนิ พอดี 3.ไม่ด่มื ของมนึ เมาเขา้ ไปชมการแสดงหรอื ไมน่ าไปด่มื ขณะชม

4.ไมค่ วรแสดงกริ ยิ าทไ่ี ม่เหมาะสมกบั เพ่อื นตา่ งเพศหรอื เพศตรงขา้ มเพราะขดั ตอ่ วฒั นธรรมไทย และอาจผดิ กฎหมายดว้ ย 5.ควรยนื หรอื นัง่ ใหเ้ รยี บรอ้ ยไม่ควรเดนิ ไปเดนิ มาโดยไมจ่ าเป็นเพราะจะทาความวนุ่ วายใหบ้ ุคคลอน่ื

แบบทดสอบยอ่ ยครั้งที่ 1 รายวิชาภาษาไทย(พท31001) ระดับ ม.ปลาย บทท่ี 1 การฟัง การดู 1. ประเภทของส่อื แยกออกเป็นกป่ี ระเภท อะไรบ้าง ตอบ .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... 2. ให้นักศึกษาบอกหลักการฟงั และดอู ยา่ งสรา้ งสรรค์ ตอบ .................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... .................................................................................................................................... ................................................ .................................................................................................................................................................................... 3. ใหน้ ักศกึ ษาบอกความหมายของการวเิ คราะห์ และการวจิ ารณ์ ตอบ .................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... .................................................................................................................................... ................................................ ................................................................................................................................................................................. ... 4. จงบอกถึงมารยาทในการฟังและดูในทส่ี าธารณะ ตอบ ........................................................................................................................................................................ ............ .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................. .................................................. .................................................................................................................................. .................................................

5. จงสรปุ มารยาทในการฟังและการดวู ่ามีอะไรบ้าง ตอบ ............................................................................................................................................... ..................................... ....................................................................................................................................................................................

เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 รายวิชาภาษาไทย(พท31001) ระดบั ม.ปลาย บทที่ 1 การฟัง การดู 1. ประเภทของสื่อแยกออกเปน็ กป่ี ระเภท อะไรบา้ ง ตอบ 1. สอื่ โฆษณา 2. สอื่ เพื่อความบนั เทงิ 3. ขา่ วสาร 4. ปาถกฐา 5. สุนทรพจน์ 2. ใหน้ กั ศึกษาบอกหลกั การฟังและดอู ยา่ งสร้างสรรค์ ตอบ 1. ตอ้ งเข้าใจความหมาย 2. ตอ้ งเขา้ ใจลักษณะของข้อความ 3. ตอ้ งเจ้าใจในลกั ษณะประโยค ใจความ 4. ต้องรจู้ ักประเภทของสาร 5. ตอ้ งตีความในสารได้ตรงตามเจตนาของผสู้ ง่ สาร 6. ตงั้ ใจฟงั และดูให้ ตลอด เรือ่ ง 7. สรุปใจความสำคัญ 3. ใหน้ กั ศึกษาบอกความหมายของการวเิ คราะห์ และการวจิ ารณ์ ตอบ การวเิ คราะห์ หมายถึง การที่ผฟู้ ังและผูด้ รู ับสารแลว้ พิจารณาองคป์ ระกอบออกเป็นส่วน ๆ นำมาแยก ประเภท ลักษณะ สาระสำคญั ของสาร กลวิธีการนำเสนอและเจตนาของผสู้ ง่ สาร การวจิ ารณ์ หมายถึง การพจิ ารณาเทคนคิ หรอื กลวิธีที่แสดงออกมานนั้ ใหเ้ ห็นว่า นา่ คดิ นา่ สนใจ นา่ ติดตาม มีช้นั เชิงยอกยอ้ นหรอื ตรงไปตรงมา องค์ประกอบใดมคี ณุ คา่ นา่ ชมเชย องคป์ ระกอบใดนา่ ทว้ งตงิ หรือบกพร่อง อย่างไร การวจิ ารณ์สง่ิ ใดกต็ ามจงึ ตอ้ งใช้ความรมู้ เี หตุผล มหี ลกั เกณฑแ์ ละมีความรอบคอบด้วย 4. จงบอกถึงมารยาทในการฟงั และดูในที่สาธารณะ ตอบ 1. รักษาความสงบ 2. ไม่ควรนำอาหารของขบเคย้ี วของท่มี ีกล่ินแรงเขา้ ไปในสถานท่ีน้ัน 3. ไม่เดนิ เขา้ ออกบอ่ ย 4. ไมค่ วรแสดงกริ ิยาอาการทีไ่ มเ่ หมาะไมค่ วรระหวา่ งเพื่อต่างเพศในโรงมหรสพ 5. ไม่ควรสง่ เสียงดงั เกนิ ไปเม่อื ชอบใจเป็นพิเศษในเรื่องทด่ี ูหรือฟัง 5. จงสรปุ มารยาทในการฟงั และการดวู า่ มอี ะไรบ้าง ตอบ 1. ฟงั และดูด้วยความต้งั ใจ ตามมองดผู ูพ้ ดู ไมแ่ สดงออกดว้ ยอาการใด ๆ ทีบ่ อกถึงความไม่สนใจใหเ้ หน็ 2. ไมท่ ำความรำคาญแกผ่ อู้ ืน่ ทีฟ่ งั และดูดว้ ย 3. ไมแ่ สดงกรยิ าไม่เหมาะสมใด ๆ เช่น โห่ ฮา ฯลฯ 4. ถ้าจะแสดงความคิดเห็นหรือถามปัญหาขอ้ ขอ้ งใจ ควรจะขออนญุ าตกอ่ นหรอื เม่อื ทป่ี ระชมุ เปิดโอกาสให้ถาม และแสดงความคิดเหน็ 5. ไม่ควรเดนิ เขา้ หรอื เดินออกขณะที่ผู้พูดกำลังพดู หรอื กลังแสดงหากจำเป็นจรงิ ๆ ควรจะทำความเคารพประธาน ก่อน

บนั ทึกหลังสอน 1. ปญั หาหรืออปุ สรรคในการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 2. แนวทางการแก้ปญั หาหรืออปุ สรรค ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. . …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. การปรบั ปรุงแผนการจดั ประสบการณ์การเรียนรู้ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชือ่ …………………………………………………… (……………………………………………………) ตำแหนง่ …………………………………………………. ความคิดเห็นของผนู้ เิ ทศที่ไดร้ บั มอบหมายจากผ้บู รหิ าร ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ลงชอ่ื ………………………………………………..…… (……………………………………………………) ตำแหน่ง…………………………………………………. ความคิดเหน็ ของผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ลงชอื่ ………………………………………………..…… (……………………………………………………) ตำแหนง่ ………………………………………………….

แผนการจัดประสบการณก์ ารเรยี นรู้ กลุม่ สาระความรู้พ้ืนฐาน รายวิชา ภาษาไทย พท31001 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย แผนการจดั การเรียนรู้เรอื่ งท่ี 3 การพดู เวลา 6 ชวั่ โมง สอนวันที่ …….……เดอื น …………………พ.ศ.………......... ภาคเรียนท่ี ………ปกี ารศึกษา……….. มาตรฐานการเรียนรูร้ ะดบั ความรู้ ความเข้าใจในการเรยี นวชิ าภาษาไทย พท31001 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เกีย่ วกบั รายละเอียดคาอธบิ ายรายวชิ า กจิ กรรมการเรียนการสอน ขอ้ ตกลง และข้ันตอนการปฏบิ ตั ิกจิ กรรมใหเ้ ป็นไปตาม วัตถปุ ระสงค์การเรยี นรู้ เพือ่ ใหผ้ เู้ รียนบรรลผุ ลตามทคี่ าดหวงั และชว่ ยใหก้ จิ กรรมการเรียนการสอนมปี ระสทิ ธิภาพ ตวั ชวี้ ัด 1. เพอ่ื ใหผ้ เู้ รยี นมีความเข้าใจแนวทางการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอน ในรายวิชา รายวิชา ภาษาไทย พท31001 ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย 2. เพอ่ื เตรยี มตวั ลว่ งหน้าในการเรียน และมสี ว่ นรว่ มในกิจกรรมการเรียนการสอนอย่างมีประสทิ ธภิ าพ 3. เพอื่ ทดสอบความรพู้ ืน้ ฐานเดมิ ของผเู้ รียน และเปน็ แนวทางในการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ การปฐมนเิ ทศ 1. รายละเอยี ดคาอธิบายรายวิชา ภาษาไทย พท31001 ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย 2. หลกั เกณฑ์การวัดผล และการใหค้ ะแนนรายวชิ า ภาษาไทย พท31001 ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย 3. ข้อตกลงเกี่ยวกบั หลกั การ ขอ้ ปฏิบัตแิ ละกฎระเบยี บในการเรยี นการสอนในหอ้ งเรยี น กระบวนการจัดการเรยี นรู้ 1. ขน้ั กำหนดสภาพปญั หาความตอ้ งการในการเรยี นรู้ 1.1 ครกู ลา่ วทกั ทายผเู้ รยี น และแนะนาตัวเอง โดยบอกชือ่ นามสกุล และชอ่ งทางการตดิ ต่อ 1.2 ครสู อบถามผเู้ รียนถงึ กจิ กรรมทท่ี าในระหวา่ งปิดภาคเรยี นทผี่ ่านมา และนาเขา้ สู่เรอ่ื งทจี่ ะเรยี น 1.3 ครูแจ้งใหผ้ เู้ รียนทราบวา่ ในภาคเรยี นนจี้ ะได้เรยี น รายวชิ า ภาษาไทย พท31001 2. ขั้นแสวงหาข้อมลู และจดั การเรียนรู้ 2.1 ครูชแ้ี จงรายละเอยี ดคาอธบิ ายรายวิชา ภาษาไทย พท31001 ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย ที่จะ เรียนในภาคเรียนน้ี จานวน 6 เรื่อง คอื การฟงั การดู การพดู การอ่าน การเขียน หลกั การใช้ภาษา และวรรณคดี วรรณกรรม ครแู จง้ ตวั ช้วี ดั และอภปิ รายถึงเนื้อหา ทจี่ ะเรียนร่วมกันกบั ผเู้ รยี น

2.2 ครู และผเู้ รียนตกลงหลกั เกณฑก์ ารวดั ผล และการใหค้ ะแนนในสว่ นตา่ ง ๆ รว่ มกัน จากคะแนนเตม็ 100 คะแนน อตั ราสว่ นคะแนนระหวา่ งภาคตอ่ ปลายภาค = 60 : 40 เปน็ ดังนี้ 1. คะแนนระหวา่ งเรียน 60 คะแนนแบ่งเกบ็ ดงั นี้ 1.1 คะแนนดา้ นความรู้ 30 คะแนน 1.2 คะแนนด้านทกั ษะ (โครงงาน/ชิน้ งาน) 20 คะแนน 1.3 คะแนนด้านคุณลกั ษณะที่พงึ ประสงค์ 10 คะแนน 2. คะแนนปลายภาคเรยี น 40 คะแนน ดงั นี้ เกณฑ์การประเมินผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนด้านความรู้ ของผเู้ รยี นท่ศี ึกษา หลกั สตู รรายวิชา ภาษาไทย พท31001 มีดังนี้ หมายถงึ ผเู้ รียนมีคะแนนสอบปลายภาคเรียน ตง้ั แต่ 12.00 – 40.00 หรือ รอ้ ยละ 30 ของคะแนนเตม็ ขนึ้ ไป ไม่ผ่าน หมายถงึ ผเู้ รยี นมีคะแนนสอบปลายภาคเรียน ตงั้ แต่ 0.00 – 11.99 หรือ รอ้ ยละ 0.00 – 29.99 ของคะแนนเตม็ ข้ึนไป การตัดสนิ ผลการเรยี น รายวชิ า ภาษาไทย พท31001 จะนาคะแนนระหวา่ งภาคมารวมกับคะแนนปลาย ภาคเรียน และจะตอ้ งได้คะแนนไม่น้อยกว่ารอ้ ยละ 50 จึงจะถือวา่ ผ่าน ท้ังน้ี ผ้เู รียนต้องเข้าสอบปลายภาคเรียนดว้ ย แลว้ นาคะแนนไปเปรยี บเทยี บกบั เกณฑ์ทก่ี ำหนดใหค้ ่าระดบั ผลการ เรยี นเปน็ 8 ระดบั ดังน้ี ได้คะแนนรอ้ ยละ 80 – 100 ใหร้ ะดบั 4 หมายถงึ ดเี ย่ียม ได้คะแนนร้อยละ 75 – 79 ใหร้ ะดบั 3.5 หมายถงึ ดมี าก ไดค้ ะแนนร้อยละ 70 – 74 ใหร้ ะดบั 3 หมายถงึ ดี คะแนนรอ้ ยละ 65 – 69 ให้ระดบั 2.5 หมายถึง ค่อนขา้ งดี ได้คะแนนรอ้ ยละ 60 – 64 ใหร้ ะดบั 2 หมายถึง ปานกลาง ไดค้ ะแนนรอ้ ยละ 55 – 59 ใหร้ ะดบั 1.5 หมายถงึ พอใช้ ไดค้ ะแนนรอ้ ยละ 50 – 54 ใหร้ ะดบั 1 หมายถึง ผา่ นเกณฑข์ น้ั ต่ำท่ีกำหนด ได้คะแนนร้อยละ 0 – 49 ให้ระดบั 0 หมายถึง ต่ำกว่าเกณฑ์ขั้นต่ำที่กำหนด 2.3 ข้อตกลง ขอ้ ปฏิบัติ และกฎระเบยี บในการเรียนการสอนในหอ้ งเรยี น ดังนี้ 1. ผเู้ รยี นต้องเขา้ เรียนไม่ต่ำกวา่ 80 เปอรเ์ ซน็ ต์ ของเวลาเรยี นท้งั หมด 2. ผเู้ รยี นไมพ่ ูดคยุ เสียงดัง หรอื ส่งเสยี งรบกวนเพอ่ื นในเวลาเรยี น 3. ผเู้ รียนต้องเขา้ เรียนให้ตรงเวลา 4. หากมคี วามจาเปน็ ตอ้ งหยุดเรียน ต้องขออนญุ าตครผู สู้ อนกอ่ นทกุ ครง้ั 5. ไมน่ าอาหารมารบั ประทานในห้องเรียนขณะครสู อน 6. หากมีข้อสงสัยขณะเรยี น ใหส้ อบถามครไู ดท้ นั ที 3 2.4 ครชู ้ีแจงรายละเอียดการพบกลุ่ม วัน เวลา สถานท่ใี หผ้ ู้เรียนทราบ

3. ขน้ั ปฏบิ ัติ และนาไปประยกุ ต์ใช้ 3.1 ครูใหผ้ เู้ รยี นแนะนาตวั ใหค้ รู และเพ่ือน ๆ ทกุ คนในห้องเรยี นไดร้ จู้ กั 3.2 ครแู จกแบบทดสอบกอ่ นเรยี น รายวชิ า ภาษาไทย พท31001 ใหผ้ เู้ รยี นทาจากน้ันตรวจแบบทดสอบ พรอ้ มบนั ทึกคะแนนไว้ และร่วมกนั สรุปถงึ การทาแบบทดสอบ กอ่ นเรียน รายวชิ า ภาษาไทย พท31001 4. ขั้นประเมินผลการเรยี นรู้ 4.1 ครถู ามผู้เรียนเกีย่ วกบั เรอื่ งทค่ี รูกลา่ วมาขา้ งต้น ว่ามเี รอ่ื งอะไรบ้างมรี ายละเอยี ดทส่ี ำคญั อย่างไร (เรอ่ื งทจ่ี ะเรยี น หลักเกณฑ์การให้คะแนน กฎระเบยี บ ขอ้ ตกลง ข้อควรปฏบิ ัติ กตกิ าในการเรยี นการสอน) 4.2 ครถู ามผูเ้ รียนว่าพบกลมุ่ วันไหน เวลาไหน และทีไ่ หน 4.3 ครูซกั ถามผเู้ รยี นว่ามขี อ้ สงสยั หรอื ไม่ 4.4 ครูมอบหมายใหผ้ ู้เรยี นศกึ ษาเรอื่ งทีจ่ ะเรยี นในครง้ั ตอ่ ไปล่วงหน้า (เรอ่ื ง การฟงั และการดู) การวัดผลประเมินผล วิธกี ารวดั ประเมินจากการสงั เกต การซักถาม ตอบคาถาม และแบบทดสอบกอ่ นเรยี น เคร่อื งมอื ไดแ้ ก่ แบบประเมนิ และแบบทดสอบก่อนเรยี น เกณฑก์ ารวดั ผ่าน ตอ้ งทาแบบทดสอบก่อนเรียน ได้คะแนนไม่นอ้ ยกวา่ ร้อยละ 50 ของคะแนนเตม็ สือ่ และแหล่งเรียนรู้ 1. แบบทดสอบก่อนเรียน รายวิชา ภาษาไทย พท31001 ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 2. ใบความรู้ เอกสารประกอบการพูด

ใบความรู้ เรอื่ งการพดู การพดู เป็นวธิ หี น่ึงของการส่อื สาร การถา่ ยทอดความคดิ ความรู้ ความเขา้ ใจ ความรสู้ กึ หรอื ความต้องการ ดว้ ยเสยี ง ภาษา และกริ ยิ าท่าทาง เพ่อื ใหผ้ รู้ บั ฟังรบั รู้ เขา้ ใจไดต้ รงตามจดุ ประสงคข์ องผพู้ ูด การสอ่ื สารจงึ จะ บรรลผุ ลไดห้ ลกั การพูด ความหมายของการพดู ตามพจนานุกรมฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถาน พ.ศ. 2525 พดู คอื การเปล่งเสียงออกเป็นถอ้ ยคา, พดู จา การพดู เป็นการส่อื สารดว้ ยภาษา จากตวั ผพู้ ูดไปยงั ผฟู้ ัง เพ่อื ส่อื ความหมายใหผ้ อู้ น่ื ทราบความรสู้ กึ นกึ คดิ และความตอ้ งการของตน รวมทงั้ เป็นการแลกเปลยี่ นขา่ วสาร ความรู้ ความคดิ เหน็ ก่อใหเ้ กดิ ความ เขา้ ใจซ่งึ กนั และกนั ช่วยใหก้ จิ การต่างๆ ดาเนินไปดว้ ยความเรยี บรอ้ ย องคป์ ระกอบของการพดู การพดู มอี งคป์ ระกอบสาคญั อยู่ 3 ประการ ดงั น้ี ผพู้ ดู ผพู้ ดู เป็นผทู้ จี่ ะต้องถ่ายทอดความรสู้ กึ ความคดิ เหน็ ขอ้ เทจ็ จรงิ ตลอดจนทศั นคตขิ องตนสผู่ ฟู้ ัง โดยใชภ้ าษา เสยี ง อากบั กริ ยิ าและบคุ ลกิ ภาพของตนใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพมากทสี่ ดุ ผพู้ ูดจะตอ้ งคานึงถงึ มารยาทและคณุ ธรรม ในการพูดดว้ ย ส่ิงสาคัญท่ีผู้พูดจะต้องยึดไว้เป็นแนวปฏิบัติคือ ผู้พูดจะต้องรู้จักสะสมความรู้ ความคิดและ ประสบการณท์ ม่ี คี ุณค่า มปี ระโยชน์ แล้วรวบรวม เรยี บเรยี งความรู้ ความคดิ เหล่าน้ี ใหม้ รี ะเบยี บ เพ่อื ทจ่ี ะ ไดถ้ ่ายทอดใหผ้ ฟู้ ังเขา้ ใจไดโ้ ดยง่าย แจ่มแจง้ การสะสมความรู้ ความคดิ และประสบการณ์ ผพู้ ูดสามารถทา ไดห้ ลายทาง เช่น จากการอ่าน การฟัง การสงั เกต การกระทาหรอื ปฏบิ ตั ิดว้ ยตนเอง การสนทนากบั ผอู้ น่ื นอกจากน้ีแลว้ ผู้พูดจะต้องมที กั ษะ ในการพูด การคดิ การฟัง และมคี วามสนใจท่ีจะพฒั นาบุคลิกภาพอยู่ เสมอ ซง่ึ จะช่วยใหผ้ พู้ ูด เกดิ ความมนั ่ ใจในตนเอง สาระหรอื เรือ่ งราวที่พดู คอื เน้ือหาสาระทผ่ี พู้ ูดพูดออกไป ซ่งึ ผู้พูดจะต้องคานึงอยเู่ สมอว่า สาระทต่ี นพูดนัน้ จะตอ้ งมี ประโยชน์ต่อผูฟ้ ัง อกี ทงั้ ควรเป็นเร่อื งทใ่ี หม่ ทนั สมยั เน้ือหาจะต้องมคี วามชดั เจน ผู้พูดต้องขยายความคอื ความรทู้ นี่ าเสนอสู่ผฟู้ ังใหม้ คี วามกระจา่ ง ซง่ึ อาจขยายความดว้ ยการยกตวั อย่างแสดงดว้ ยตวั เลข สถติ ิ หรอื ยกหลกั ฐานตา่ ง ๆ มาอา้ งองิ การเตรยี มเน้ือหาในการพูดมขี นั้ ตอน ดงั น้ี 2.1) การเลอื กหวั ข้อเร่ือง ถา้ ผพู้ ดู มีโอกาสเลอื กเร่อื งท่ีจะพดู เอง ควรยดึ หลกั ทว่ี า่ ตอ้ ง เหมาะสม กบั ผู้พูด คอื เป็นเร่อื งที่ผู้พูดมคี วามรอบรู้ในเร่อื งนัน้ และเหมาะสมกบั ผู้ฟังเป็นเร่อื งท่ผี ู้ฟังมคี วามสนใจ นอกจากน้จี ะตอ้ งคานึงถงึ โอกาส สถานการณ์ สถานท่ี และเวลา ทก่ี าหนดใหพ้ ดู ดว้ ย 2.2) การกาหนดจดุ มุ่งหมายและขอบเขตของเร่ืองทจี่ ะพดู ผพู้ ดู จะตอ้ งกาหนด จุดมุ่งหมายในการ พูดแต่ละครงั้ ใหช้ ดั เจนว่าตอ้ งการใหค้ วามรู้ โน้มน้าวใจหรอื เพ่อื ความบนั เทงิ เพอ่ื จะไดเ้ ตรยี มเรอ่ื งให้

สอดคลอ้ งกบั จดุ มุ่งหมาย นอกจากน้ผี พู้ ูดจะตอ้ งกาหนดขอบเขตเร่อื งทจี่ ะพูดดว้ ยวา่ จะครอบคลมุ เน้ือหา ลกึ ซ้งึ มากนอ้ ยเพยี งใด 2.3) การค้นควา้ และรวบรวมความรู้ ผพู้ ดู ตอ้ งประมวลความรู้ ความคดิ ทงั้ หมดไวแ้ ลว้ แยกแยะให้ ไดว้ า่ อะไรคอื ความคดิ หลกั อะไรคอื ความคดิ รอง สง่ิ ใดทจี่ ะนามาใชเ้ ป็นเหตุผลสนบั สนุนความคดิ นัน้ ๆ และ ทส่ี าคญั ผพู้ ดู จะต้องบนั ทกึ ไวใ้ หช้ ดั เจนวา่ ขอ้ มูลทไ่ี ดม้ านนั้ มที มี่ าจากแหลง่ ใด ใครเป็นผพู้ ดู หรอื ผเู้ ขยี น ทงั้ น้ผี ูพ้ ดู จะได้ อา้ งองิ ทม่ี าของขอ้ มูลไดถ้ กู ต้องในขณะทพ่ี ดู 2.4) การจดั ระเบียบเรื่อง คอื การวางโครงเรอ่ื ง ซ่งึ จะช่วยใหก้ ารพูดไม่วกวน สบั สนเพราะผพู้ ูดได้ จดั ลาดบั ขนั้ ตอนการพูดไวอ้ ยา่ งเป็นระเบยี บ มคี วามต่อเน่ือง ครอบคลุมเน้ือหาทงั้ หมดช่วยใหผ้ ฟู้ ังจบั ประเดน็ ไดง้ า่ ย การจดั ลาดบั เน้ือเรอ่ื งจะแบง่ เป็น สามตอน คอื คานา เน้ือเร่อื งและการสรปุ ผฟู้ ัง ผพู้ ูดกบั ผฟู้ ังมคี วามสมั พนั ธก์ นั โดยผพู้ ดู ต้องเรา้ ความสนใจผูฟ้ ังดว้ ยการใชภ้ าษา เสยี ง กริ ยิ าท่าทาง บุคลกิ ภาพของตน ในขณะเดยี วกนั ผฟู้ ังกม็ สี ่วนช่วยใหก้ ารพูดของผพู้ ดู บรรลุจุดหมายไดโ้ ดยการตงั้ ใจฟัง และคดิ ตามอย่างมเี หตุผล กอ่ นจะพูดทกุ ครงั้ ผพู้ ูดตอ้ งพยายาม ศกึ ษารายละเอยี ดทเี่ ก่ยี วกบั ผฟู้ ังใหม้ าก ทสี่ ดุ เชน่ จานวนผฟู้ ัง เพศ ระดบั การศกึ ษา ความเชอ่ื และคา่ นิยม ความสนใจของผฟู้ ัง เป็นต้น การ วเิ คราะหผ์ ฟู้ ังลว่ งหน้า นอกจากจะไดน้ าขอ้ มลู มาเตรยี มการพูดใหเ้ หมาะสมแลว้ ผพู้ ดู ยงั สามารถนาขอ้ มูล นัน้ มาใชใ้ นการแก้ปัญหาเฉพาะหนา้ ทอ่ี าจจะเกดิ ขน้ึ ไดเ้ หมาะสมกบั สถานการณ์ดว้ ย จุดมุ่งหมายของการพดู โดยทวั ่ ไปแลว้ การพูดจะมจี ดุ มงุ่ หมายทส่ี าคญั ๆ อยู่ 3 ประการ 1. การพดู เพือ่ ให้ความรคู้ วามเขา้ ใจ การพูดเพ่อื จุดมงุ่ หมายน้ี เราไดฟ้ ังอย่เู ป็นประจาไมว่ า่ จะเป็นขา่ วสารจากวทิ ยุ โทรทศั น์ หรอื จากวง สนทนาในชวี ติ ประจาวนั มจี ุดมุ่งหมายทจ่ี ะใหผ้ ฟู้ ังเกดิ ความรคู้ วามเขา้ ใจในเร่อื งทไ่ี มเ่ คยรู้ ไมเ่ คยมี ประสบการณห์ รอื มคี วามรปู้ ระสบการณบ์ า้ ง แต่กย็ งั ไม่กระจา่ งชดั การพดู ประเภทน้ี ไดแ้ ก่ การรายงาน การพดู แนะนา การบรรยาย การอธบิ ายการชแ้ี จง ดงั ตวั อย่าง หวั ขอ้ เร่อื งทพ่ี ูดเพ่อื ใหเ้ กดิ ความรู้ ความเขา้ ใจ เชน่ • ทาอยา่ งไรจงึ จะเรยี นเกง่ และประสบความสาเรจ็ • ภยั แลง้ • ทาไมราคาพชื ผลทางการเกษตรจงึ ตกต่า • งามอย่างไทย • สงิ่ แวดลอ้ มเป็นพษิ

2. การพดู เพอื่ โน้มน้าวใจ การพูดเพ่อื โนม้ น้าวใจ เป็นการพดู ทมี่ จี ดุ มุ่งหมายใหผ้ ฟู้ ังเช่อื และมคี วามคดิ คลอ้ ยตาม ทาหรอื ไมท่ า ตามทผ่ี พู้ ดู ต้องการหรอื มเี จตนา ฉะนนั้ ผพู้ ดู จะต้องช้แี จง ใหผ้ ฟู้ ังเหน็ ว่า ถา้ ไมเ่ ชอ่ื หรอื ปฏบิ ตั ติ าม ทผี่ พู้ ดู เสนอแลว้ จะเกดิ โทษ หรอื ผลเสยี อย่างไร การพดู ชนดิ น้ีจะประสบความสาเรจ็ ไดด้ มี ากน้อยเพยี งไรนนั้ ขน้ึ อยู่กบั ตวั ผพู้ ดู เองวา่ มบี ุคลกิ ภาพดี ไหม มกี ารใชถ้ อ้ ยคาภาษาทง่ี ่ายแก่การเขา้ ใจของกลุ่มผฟู้ ังไหม และทส่ี าคญั คอื ผพู้ ูดจะต้องมศี ลิ ปะและ จติ วทิ ยาในการจงู ใจ ผฟู้ ังไดเ้ ป็นอยา่ งดี การพูดเพอ่ื โนม้ น้าวใจ จะเหน็ ตวั อย่างไดจ้ ากการพดู เพ่อื หาเสยี งใน การเลอื กตงั้ ไม่วา่ จะเพอ่ื เป็นหวั หนา้ ชนั้ ผแู้ ทนกลุ่ม หรอื องคก์ ารต่างๆ สมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎร (สส.) หรอื การพูดเพอ่ื รณรงคใ์ หผ้ ฟู้ ังเลกิ บุหร่ี หรอื ไมก่ ระทาสง่ิ ใดสง่ิ หนง่ึ เชน่ การพดู เพอ่ื ใหช้ ่วยกนั ประหยดั การ ใชน้ ้ามนั ไฟฟ้า นอกจากน้กี ารพูด เพอ่ื โน้มน้าวใจจะนาไปใชม้ ากในดา้ นธุรกจิ การขาย การโฆษณาเพอ่ื ให้ ผคู้ นหนั มานยิ มใชห้ รอื ซอ้ื สนิ คา้ ตนุ ตวั อยา่ งหวั ข้อเรอ่ื งทพ่ี ดู โน้มน้าวใจ • บรจิ าคโลหติ ชว่ ยชวี ติ มนุษย์ • มาเลย้ี งลกู ดว้ ยนมมารดากนั เถอะ • ฟังดนตรเี ถอะชน่ื ใจ • ชว่ ยทาเมอื งไทยใหเ้ ป็นสเี ขยี วดกี ว่า • ออกกาลงั กายวนั ละนิดชวี ติ แจ่มใส • เหรยี ญบาทมคี วามหมายเพ่อื เดก็ ยากไรใ้ นชนบท 3. การพดู เพื่อความบนั เทิง การพูดเพอ่ื จดุ มงุ่ หมายน้ีเป็นการพดู ทม่ี งุ่ ใหผ้ ฟู้ ัง เกดิ ความเพลดิ เพลนิ ร่นื เรงิ สนุกสนานผอ่ นคลาย ความตงึ เครยี ด ในขณะเดยี วกนั กแ็ ทรกเน้อื หาสาระ ทเี่ ป็นประโยชน์แกผ่ ฟู้ ังดว้ ยผพู้ ดู จะต้องเป็นบุคคลท่ี มองโลกในแงด่ ี มอี ารมณข์ นั หนา้ ตายม้ิ แยม้ แจม่ ใสไม่เป็นคนเครง่ เครยี ดเอาจรงิ เอาจงั เกนิ ไป เพราะสง่ิ เหล่าน้จี ะมผี ลต่อการสรา้ ง บรรยากาศความเป็นกนั เองใหเ้ กดิ ขน้ึ ได้ ดงั จะเหน็ ไดจ้ ากรายการตา่ งๆ ทางสอ่ื มวลชน ไมว่ ่าจะเป็นวทิ ยุ โทรทศั น์ ตวั อย่างหวั ขอ้ เร่อื งท่ีพดู เพอ่ื ความบนั เทิง • เราจะไดอ้ ะไรจากการฟังเพลงลูกทงุ่ • ทาอะไรตามใจคอื ไทยแท้ • พูดใครคดิ ว่าไมส่ าคญั • ทว่ี า่ รกั รกั นนั้ เป็นฉนั ใด หลกั การพดู ทดี่ ี ผพู้ ูดทต่ี ้องการส่อื ความเขา้ ใจกบั ผฟู้ ังใหเ้ กดิ ความสาเรจ็ ในการสง่ สารไดด้ นี ัน้ ต้องคานงึ ถงึ หลกั การพูด ดงั ต่อไปน้ี

การออกเสียงให้ถกู ต้องตามหลกั ภาษา ไดแ้ ก่ 1.1 การออกเสียงสนั้ – ยาว ต่างกนั ความหมายกต็ า่ งกนั ไปดว้ ย เชน่ เกา้ – กา้ ว, เขา้ – ขา้ ว, เทา้ – ทา้ ว ตวั อย่าง กา้ วเทา้ ไปเก้าครงั้ เขาเดนิ เขา้ ไปรบั ประทานขา้ ว เขาบาดเจบ็ ทเ่ี ทา้ 1.2 การออกเสียงคาหลายพยางคใ์ ห้ถกู ต้องตามหลกั การออกเสียง คาบางคาออกเสียงแบบ อกั ษรนา เช่น ดาริ อา่ นว่า ดา – หริ กนก อา่ นว่า กะ – หนก ดารสั อ่านวา่ ดา – หรดั ปรอท อ่านว่า ปะ – หรอด ผลติ อา่ นว่า ผะ – หลดิ บางคาไมใ่ ช่ คาสมาส แต่อา่ นออกเสียงต่อเน่ืองแบบคาสมาส เช่น ผลไม้ อ่านวา่ ผน – ละ – ไม้ พลเมอื ง อ่านว่า พน – ละ – เมอื ง เทพเจา้ อ่านว่า เทบ – พะ – เจา้ ดาษดา อา่ นว่า ดาด – สะ – ดา คาบางคาไม่นิยมออกเสียงให้มีเสียงต่อเนื่อง เช่น ทวิ ทศั น์ อา่ นว่า ทวิ – ทดั สปั ดาห์ อ่านว่า สบั – ดา ดาษดน่ื อ่านวา่ ดาด – ดน่ื วติ ถาร อา่ นวา่ วดิ – ถาน รสนิยม อ่านว่า รด – นิ – ยม คุณคา่ อา่ นว่า คนุ – ค่า 1.3 ออกเสียงให้ถกู ต้องตามความนิยม เช่น กาเนดิ อา่ นวา่ กา – เหนิด ยมบาล อา่ นว่า ยม – มะ – บาน ชกั เย่อ อ่านวา่ ชกั – กะ – เยอ่ เทศบาล อา่ นวา่ เทด – สะ – บาน

1.4 ออกเสียงคาควบกลา้ ร, ล, ว หรือเป็นอกั ษรนาให้ชดั เจนถกู ต้อง เช่น ตราด อา่ นว่า ตราดเป็น อกั ษรควบ ตลาด อา่ นว่า ตะ – หลาดเป็น อกั ษรนา จรงิ อ่านว่า จงิ เป็น อกั ษรควบไม่แท้ ปรกั หกั พงั อ่านว่า ปะ – หรกั – หกั – พงั เป็นอกั ษรนา คาต่อไปนี้ออกเสียงแบบควบแท้ทงั้ หมด เช่น ปรบั ปรงุ เปลย่ี นแปลง ปลาบปล้มื ปลอดโปร่ง พรอ้ มเพรยี ง เพราะพรง้ิ แพรวพราว เพลดิ เพลนิ พลุกพล่าน แกว่งไกว กวา้ งขวาง ไขวค่ วา้ คลุกเคลา้ คลาดเคล่อื น คลอนแคลน คาบางคาเป็นคาเรียงพยางคก์ นั ไมอ่ อกเสียงแบบควบกลา้ เช่น ปรญิ ญา ออกเสยี งวา่ ปะ – รนิ – ยา ปราชยั ออกเสยี งวา่ ปะ – รา – ไช ปรมั ปรา ออกเสยี งว่า ปะ – รา – ปะ – รา ปรนิ ิพพาน ออกเสยี งวา่ ปะ – ริ – นบิ – พาน 1.5 ไม่ควรออกเสียงให้ห้วนสนั้ ตดั คา หรือรวั ลิ้นจนฟังไมช่ ดั เจน โดยเฉพาะ คาหลายพยางค์ เช่น มหาวทิ ยาลยั ไม่ควรออกเสยี งวา่ หมา – ลยั วทิ ยาลยั ไมค่ วรออกเสยี งวา่ วดิ – ลยั ประกาศนยี บตั ร ไม่ควรออกเสยี งว่า ปะ – กาด – บดั กโิ ลเมตร ไมค่ วรออกเสยี งวา่ กโิ ล หรอื โล กโิ ลกรมั ไมค่ วรออกเสยี งว่า กโิ ล หรอื โล สวสั ดี ไมค่ วรออกเสยี งวา่ หวดั – ดี ประธานาธบิ ดี ไมค่ วรออกเสยี งว่า ปะ – ธา – นา – ดี เฉลมิ พระชนมพรรษา ไมค่ วรออกเสยี งว่า ฉะ – เหลมิ – ชน – สา 1.6 ไม่ควรใช้ภาษาพดู ภาษาตลาด ภาษาสื่อมวลชนหรอื ภาษาโฆษณา ในการพดู กบั คนทวั่ ไป ซึ่งจะ ทาให้ผ้ฟู ังเขา้ ใจยากและไม่เหมาะสมกบั กาลเทศะและบุคคล เช่น • สาวคนนัน้ จดั อย่ใู นวยั เอา๊ ะ ๆ • รฐั ธรรมนูญฉบบั น้ีอยู่ในวยั ดกึ • นายตารวจถูกเตะโด่งออกจากพน้ื ที่ • เขาวงิ่ เตน้ เพอ่ื ขอยา้ ยไปในทเี่ จรญิ • นายตารวจเต้น ถูก นสพ. คยุ้ เบอ้ื งหลงั • เจา้ หน้าทบี่ กุ คกุ ลาปางหาขอ้ มลู ปรบั ปรุงเรอื นจา

1.7 การออกเสียงคาแผลง ควรออกเสยี งให้ถกู ต้องตามหลกั ภาษาและความนิยม เช่น บาราศ ออกเสยี งวา่ บา – ราด บาราบ ออกเสยี งว่า บา – หราบ ตารวจ ออกเสยี งว่า ตา – หรวด ผนวช ออกเสยี งวา่ ผะ – หนวด สาเรจ็ ออกเสยี งวา่ สา – เหรด็ จาหน่าย ออกเสยี งวา่ จา – หน่าย แสดง ออกเสยี งวา่ สะ – แดง ถลก ออกเสยี งวา่ ถะ – หลก จรวด ออกเสยี งวา่ จะ – หรวด หลกั การพดู ท่ีดีต้องคานึงถึง 1. การใชภ้ าษา ตอ้ งเลอื กใชถ้ ้อยคาทเี่ ขา้ ใจง่ายเหมาะสมกบั วยั ของผฟู้ ัง 2. ผพู้ ดู และผฟู้ ังมจี ุดมงุ่ หมายตรงกนั ผพู้ ูดมจี ดุ มุ่งหมายทต่ี อ้ งการส่อื ความหมายไปยงั ผฟู้ ังเพ่อื ให้ เขา้ ใจเร่อื งราวตา่ ง ๆ ผฟู้ ังกม็ คี วามตงั้ ใจฟังสง่ิ ทผ่ี พู้ ดู ส่อื ความหมายให้ 3. ออกเสยี งพดู ใหช้ ดั เจน ดงั พอประมาณ อยา่ ตะโกนหรอื พูดค่อยเกนิ ไป 4. สหี นา้ ทา่ ทางยม้ิ แยม้ แจม่ ใส เป็นกนั เอง ไมเ่ ครง่ เครยี ด 5. ท่าทางในการยนื นงั ่ ควรสง่าผา่ เผย การใชท้ า่ ทางประกอบการพูดกม็ คี วามสาคญั เช่น การใชม้ อื น้ิว จะชว่ ยใหผ้ ฟู้ ังเขา้ ใจเร่อื งราวไดง้ า่ ยยงิ่ ขน้ึ 6. ต้องรกั ษามารยาทการพดู ใหเ้ คร่งครดั ในเร่อื งเวลาในการพดู พดู ตรงเวลาและจบทนั เวลา 7. พูดเรอ่ื งใกลต้ วั ใหท้ กุ คนรเู้ ร่อื ง เป็นเร่อื งสนุกสนานแต่มสี าระ และพูดดว้ ยทา่ ทางและกริ ยิ านุ่มนวล เวลาพูดต้องสบตาผฟู้ ังดว้ ย 8. ไมค่ วรพูดเร่อื งเช้อื ชาติ ศาสนา การเมอื ง โดยไม่จาเป็น และไมค่ วรพูดแต่เร่อื งของตวั เอง 9. ไม่พดู คาหยาบ นินทาผอู้ ่นื ไม่พูดแซงขณะผอู้ น่ื พูดอยู่ และไมช่ ห้ี นา้ คสู่ นทนา มารยาทในการพดู การพดู ทดี่ ไี ม่วา่ จะเป็นการพดู ในโอกาสใด หรอื ประเภทใด ผพู้ ูดต้องคานึงถงึ มารยาทในการ พดู ซ่งึ จะมสี ว่ นสง่ เสรมิ ใหผ้ พู้ ูดไดร้ บั การชน่ื ชมจากผฟู้ ัง ซง่ึ จะช่วยใหป้ ระสบผลสาเรจ็ ในการพดู มารยาทที่ สาคญั ของการพูดสรุป ไดด้ งั น้ี 1. พูดดว้ ยวาจาสุภาพ แสดงหนา้ ตาทยี่ ม้ิ แยม้ แจม่ ใส 2. ไม่พดู อวดตนขม่ ผอู้ น่ื และยอมรบั ฟังความคดิ ของผอู้ น่ื เป็นสาคญั 3. ไมก่ ลา่ ววาจาเสยี ดแทง กา้ วรา้ วหรอื พูดขดั คอบุคคลอ่นื ควรใชว้ ธิ ที ส่ี ุภาพเมอ่ื ตอ้ งการแสดงความ คดิ เหน็ 4. รกั ษาอารมณใ์ นขณะพดู ใหเ้ ป็นปกติ 5. ไมน่ าเรอ่ื งส่วนตวั ของผอู้ ่นื มาพูด

6. หากนาคากล่าวของบุคคลอ่นื มากลา่ ว ต้องระบุนามหรอื แหล่งทมี่ าเป็นการใหเ้ กยี รตบิ ุคคลที่ กล่าวถงึ 7. หากพูดในขณะทผี่ อู้ ่นื ยงั พูดไมจ่ บ ควรกล่าวคาขอโทษ 8. ไมพ่ ูดคยุ กนั ขา้ มศรี ษะผอู้ ่นื

แบบทดสอบย่อยครง้ั ท่ี 2 รายวชิ าภาษาไทย (พท31001) ระดับ ม.ปลาย บทที่ 2 การพดู 1. ให้นักศึกษายกตัวอย่างมารยาทในการพูดมา 5 ข้อ ตอบ ............................................................................................................................. ....................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................................... 2. คณุ ธรรมในการพดู คอื ตอบ .................................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... ................................................................................................................................. ................................................... 3. ลกั ษณะการพูดทดี่ ีมเี กณฑก์ ารพจิ ารณาได้อยา่ งไร ตอบ ............................................................................................................................. ....................................................... ..................................................................................................................................................... ............................... ........................................................................................................................................................................... ........ 4. การพดู แบ่งตามลกั ษณะของการใชภ้ าษาไดก้ ่ลี กั ษณะ อะไรบา้ ง ตอบ ............................................................................................................................. ....................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... ....................................................................................................................................................................................

5. การพดู ตอ่ หน้าทช่ี มุ ชนแบง่ ตามวิธีการนำเสนอมกี ป่ี ระเภท อะไรบา้ ง ตอบ ............................................................................................................................. ....................................................... .................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................... ................................................ .............................................................................................................................................. ...................................... ....................................................................................................................................................................................

เฉลยแบบทดสอบย่อยครง้ั ที่ 2 รายวิชาภาษาไทย (พท31001) ระดบั ม.ปลาย บทท่ี 2 การพูด 1. ให้นกั ศึกษายกตัวอย่างมารยาทในการพูดมา 5 ขอ้ ตอบ 1.ใชค้ ำพูดสุภาพเหมาะกบั กาลเทศะและบุคคล 2.ไมพ่ ดู จาเยาะเยย้ ถากถาง 3.ไมผ่ กู ขากการพูดและ ความคิดแตเ่ พยี งผเู้ ดยี ว 4.ไมพ่ ดู ตเิ ตยี น กล่าวหาหรือนนิ ทาผู้อืน่ ต่อหน้าชุมชน 5.ควรพดู ดว้ ยนำ้ เสียงนมุ่ นวลชวน ฟัง 2. คณุ ธรรมในการพดู คือ ตอบ การทบ่ี ุคคลจะตอ้ งมีความรบั ผิดชอบในคำพูดและสงิ่ ที่พดู ออกไป มีความจรงิ ใจ มีความบรสิ ทุ ธ์ิใจต่อผทู้ ่ีเรา พูดด้วย 3. ลกั ษณะการพูดที่ดีมเี กณฑก์ ารพจิ ารณาไดอ้ ยา่ งไร ตอบ 1.ตอ้ งมเี นือ้ หาดี 2.ตอ้ งมวี ธิ ีการถ่ายทอดดี 3.มบี ุคลกิ ภาพดี 4. การพดู แบ่งตามลกั ษณะของการใช้ภาษาไดก้ ี่ลักษณะ อะไรบ้าง ตอบ 3 ลักษณะ คือ 1. การพูดแบบเป็นทางการ 2.การพดู แบบกง่ึ ทางการ 3.การพูดแบบไมเ่ ป็นทางการ 5. การพูดตอ่ หนา้ ทชี่ มุ ชนแบง่ ตามวิธกี ารนำเสนอมกี ี่ประเภท อะไรบา้ ง ตอบ 4 ประเภท คอื 1.การพดู โดยฉบั พลัน 2.การพูดโดยอาศัยต้นร่าง 3.การพดู โดยวธิ ีการท่องจำ 4.การพูด โดยวิธีอ่านจากร่าง

บันทกึ หลังสอน 1. ปญั หาหรืออปุ สรรคในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 2. แนวทางการแก้ปญั หาหรืออุปสรรค ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. . …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. การปรบั ปรุงแผนการจดั ประสบการณก์ ารเรยี นรู้ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชือ่ …………………………………………………… (……………………………………………………) ตำแหนง่ …………………………………………………. ความคิดเห็นของผนู้ เิ ทศที่ได้รับมอบหมายจากผบู้ ริหาร ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ลงชอ่ื ………………………………………………..…… (……………………………………………………) ตำแหน่ง…………………………………………………. ความคิดเหน็ ของผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ลงช่อื ………………………………………………..…… (……………………………………………………) ตำแหน่ง………………………………………………….

แผนการจัดประสบการณก์ ารเรียนรู้ กลมุ่ สาระความรพู้ ้ืนฐาน รายวิชา ภาษาไทย พท31001 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย แผนการจัดการเรียนรูเ้ รอ่ื งที่ 4 การอา่ น เวลา 6 ชั่วโมง สอนวันท่ี …….……เดอื น …………………พ.ศ.………......... ภาคเรียนที่ ………ปกี ารศกึ ษา……….. มาตรฐานการเรยี นรรู้ ะดับ ความรู้ ความเข้าใจในการเรียนวิชาภาษาไทย พท31001 ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย เก่ยี วกบั รายละเอียดคาอธิบายรายวิชา กจิ กรรมการเรยี นการสอน ขอ้ ตกลง และขน้ั ตอนการปฏบิ ัตกิ จิ กรรมให้เป็นไปตาม วัตถปุ ระสงคก์ ารเรียนรู้ เพื่อใหผ้ เู้ รยี นบรรลผุ ลตามทีค่ าดหวงั และช่วยใหก้ ิจกรรมการเรียนการสอนมปี ระสทิ ธิภาพ ตัวชี้วัด 1. เพอ่ื ใหผ้ เู้ รียนมีความเขา้ ใจแนวทางการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอน ในรายวชิ า รายวชิ า ภาษาไทย พท31001 ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย 2. เพอื่ เตรยี มตวั ล่วงหน้าในการเรยี น และมสี ว่ นรว่ มในกิจกรรมการเรียนการสอนอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ 3. เพอื่ ทดสอบความรพู้ ืน้ ฐานเดมิ ของผเู้ รียน และเป็นแนวทางในการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ สาระการเรยี นรู้ การปฐมนเิ ทศ 1. รายละเอียดคาอธิบายรายวิชา ภาษาไทย พท31001 ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 2. หลักเกณฑก์ ารวดั ผล และการใหค้ ะแนนรายวชิ า ภาษาไทย พท31001 ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย 3. ข้อตกลงเกีย่ วกบั หลกั การ ขอ้ ปฏิบตั ิและกฎระเบยี บในการเรียนการสอนในหอ้ งเรียน กระบวนการจัดการเรียนรู้ 1. ขั้นกำหนดสภาพปัญหาความต้องการในการเรยี นรู้ 1.1 ครกู ล่าวทักทายผเู้ รียน และแนะนาตัวเอง โดยบอกช่อื นามสกุล และชอ่ งทางการติดตอ่ 1.2 ครสู อบถามผเู้ รียนถงึ กิจกรรมทท่ี าในระหวา่ งปดิ ภาคเรยี นทผี่ ่านมา และนาเข้าสูเ่ รอ่ื งทจี่ ะเรยี น 1.3 ครแู จง้ ให้ผเู้ รยี นทราบวา่ ในภาคเรยี นนจี้ ะไดเ้ รยี น รายวิชา ภาษาไทย พท31001 2. ขนั้ แสวงหาขอ้ มูล และจดั การเรียนรู้ 2.1 ครูชแ้ี จงรายละเอยี ดคาอธิบายรายวชิ า ภาษาไทย พท31001 ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย ที่จะ เรียนในภาคเรยี นนี้ จานวน 6 เรอ่ื ง คอื การฟงั การดู การพดู การอ่าน การเขยี น หลักการใช้ภาษา และวรรณคดี วรรณกรรม ครแู จง้ ตวั ชีว้ ดั และอภปิ รายถึงเน้อื หา ทจี่ ะเรียนรว่ มกันกบั ผเู้ รยี น

2.2 ครู และผเู้ รยี นตกลงหลกั เกณฑก์ ารวัดผล และการใหค้ ะแนนในสว่ นต่าง ๆ รว่ มกัน จากคะแนนเตม็ 100 คะแนน อัตราสว่ นคะแนนระหวา่ งภาคต่อปลายภาค = 60 : 40 เปน็ ดังนี้ 1. คะแนนระหว่างเรียน 60 คะแนนแบง่ เกบ็ ดงั น้ี 1.1 คะแนนดา้ นความรู้ 30 คะแนน 1.2 คะแนนดา้ นทกั ษะ (โครงงาน/ชนิ้ งาน) 20 คะแนน 1.3 คะแนนดา้ นคุณลกั ษณะที่พึงประสงค์ 10 คะแนน 2. คะแนนปลายภาคเรียน 40 คะแนน ดงั น้ี เกณฑ์การประเมินผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนด้านความรู้ ของผเู้ รยี นท่ศี กึ ษา หลกั สตู รรายวิชา ภาษาไทย พท31001 มดี ังน้ี หมายถงึ ผเู้ รยี นมีคะแนนสอบปลายภาคเรยี น ตง้ั แต่ 12.00 – 40.00 หรอื ร้อยละ 30 ของคะแนนเตม็ ขนึ้ ไป ไมผ่ ่าน หมายถงึ ผเู้ รยี นมีคะแนนสอบปลายภาคเรยี น ต้งั แต่ 0.00 – 11.99 หรือ รอ้ ยละ 0.00 – 29.99 ของคะแนนเตม็ ขน้ึ ไป การตดั สนิ ผลการเรียน รายวิชา ภาษาไทย พท31001 จะนาคะแนนระหว่างภาคมารวมกับคะแนนปลาย ภาคเรียน และจะตอ้ งได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 จึงจะถือวา่ ผ่าน ทัง้ นี้ ผ้เู รียนต้องเข้าสอบปลายภาคเรยี นด้วย แล้วนาคะแนนไปเปรียบเทียบกบั เกณฑ์ทก่ี ำหนดใหค้ ่าระดบั ผลการ เรยี นเป็น 8 ระดบั ดังนี้ ได้คะแนนรอ้ ยละ 80 – 100 ใหร้ ะดับ 4 หมายถงึ ดเี ย่ียม ไดค้ ะแนนร้อยละ 75 – 79 ใหร้ ะดบั 3.5 หมายถึง ดมี าก ได้คะแนนรอ้ ยละ 70 – 74 ใหร้ ะดบั 3 หมายถึง ดี คะแนนร้อยละ 65 – 69 ให้ระดบั 2.5 หมายถงึ ค่อนขา้ งดี ไดค้ ะแนนรอ้ ยละ 60 – 64 ใหร้ ะดบั 2 หมายถึง ปานกลาง ได้คะแนนร้อยละ 55 – 59 ใหร้ ะดบั 1.5 หมายถึง พอใช้ ได้คะแนนร้อยละ 50 – 54 ใหร้ ะดบั 1 หมายถงึ ผา่ นเกณฑข์ ั้นต่ำทกี่ ำหนด ได้คะแนนรอ้ ยละ 0 – 49 ใหร้ ะดบั 0 หมายถงึ ต่ำกว่าเกณฑ์ขัน้ ต่ำท่ีกำหนด 2.3 ขอ้ ตกลง ขอ้ ปฏิบัติ และกฎระเบยี บในการเรียนการสอนในหอ้ งเรยี น ดงั น้ี 1. ผเู้ รยี นตอ้ งเขา้ เรยี นไม่ต่ำกว่า 80 เปอรเ์ ซ็นต์ ของเวลาเรยี นทง้ั หมด 2. ผเู้ รยี นไมพ่ ดู คุยเสียงดงั หรือส่งเสียงรบกวนเพ่ือนในเวลาเรียน 3. ผเู้ รยี นต้องเข้าเรียนให้ตรงเวลา 4. หากมคี วามจาเปน็ ต้องหยุดเรยี น ต้องขออนญุ าตครผู ู้สอนก่อนทุกครง้ั 5. ไม่นาอาหารมารบั ประทานในหอ้ งเรียนขณะครสู อน 6. หากมีข้อสงสยั ขณะเรยี น ใหส้ อบถามครูไดท้ ันที 3 2.4 ครูช้ีแจงรายละเอียดการพบกลมุ่ วนั เวลา สถานท่ใี หผ้ ู้เรียนทราบ

3. ขน้ั ปฏบิ ัติ และนาไปประยุกต์ใช้ 3.1 ครูใหผ้ เู้ รยี นแนะนาตวั ให้ครู และเพือ่ น ๆ ทกุ คนในหอ้ งเรียนไดร้ จู้ ัก 3.2 ครแู จกแบบทดสอบกอ่ นเรียน รายวชิ า ภาษาไทย พท31001 ใหผ้ เู้ รียนทาจากนั้นตรวจแบบทดสอบ พรอ้ มบนั ทึกคะแนนไว้ และร่วมกันสรปุ ถงึ การทาแบบทดสอบ กอ่ นเรียน รายวชิ า ภาษาไทย พท31001 4. ขั้นประเมินผลการเรียนรู้ 4.1 ครถู ามผู้เรียนเก่ียวกบั เรื่องที่ครูกล่าวมาขา้ งตน้ ว่ามเี รอ่ื งอะไรบ้างมรี ายละเอียดทสี่ ำคัญอยา่ งไร (เรอ่ื งทจ่ี ะเรยี น หลักเกณฑก์ ารให้คะแนน กฎระเบยี บ ข้อตกลง ข้อควรปฏบิ ัติ กตกิ าในการเรยี นการสอน) 4.2 ครถู ามผูเ้ รยี นวา่ พบกลุ่มวันไหน เวลาไหน และทไี่ หน 4.3 ครูซกั ถามผเู้ รยี นวา่ มีข้อสงสัยหรือไม่ 4.4 ครูมอบหมายใหผ้ ู้เรียนศกึ ษาเร่อื งท่จี ะเรยี นในครงั้ ตอ่ ไปลว่ งหนา้ (เรอ่ื ง การฟงั และการดู) การวัดผลประเมินผล วิธกี ารวดั ประเมินจากการสงั เกต การซักถาม ตอบคาถาม และแบบทดสอบกอ่ นเรียน เคร่อื งมอื ไดแ้ ก่ แบบประเมิน และแบบทดสอบกอ่ นเรียน เกณฑก์ ารวดั ผ่าน ต้องทาแบบทดสอบกอ่ นเรียน ได้คะแนนไมน่ ้อยกว่าร้อยละ 50 ของคะแนนเต็ม สือ่ และแหล่งเรียนรู้ 1. แบบทดสอบกอ่ นเรียน รายวชิ า ภาษาไทย พท31001 ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย 2. ใบความรู้ เอกสารประกอบการอ่าน

ใบความรู้ การอ่าน การอา่ นแปลความ การอา่ นแปลความ หมายถงึ การแปลเร่อื งราวเตมิ ใหอ้ อกมาเป็นคาใหม่ ภาษาใหม่หรอื แบบใหม่ ความม่งุ หมายของการแปลความอยู่ทคี่ วามแมน่ ยาของภาษาใหมว่ ่า ยงั คงรกั ษาเน้ือหาและความสาคญั ของเรอ่ื งราวเดมิ ไวค้ รบถว้ นหรอื ไม่ สาหรบั การแปลความบทรอ้ ยกรองเป็นรอ้ ยแกว้ หรอื การถอดคาประพนั ธร์ อ้ ยกรองเป็นรอ้ ยแกว้ นัน้ ควรอ่านขอ้ ความและหาความหมายของศพั ทแ์ ลว้ เรยี บเรยี งเน้ือเรอ่ื งหรอื เน้ือหาเป็นรอ้ ยแก้วใหส้ ละสลวย โดยทเี่ น้ือเร่อื งหรอื เน้ือหานัน้ ยงั คงเดมิ และครบถว้ น เชน่ พฤษภกาสร อกี กญุ ชรอนั ปลดปลง โททนต์เสน่งคง สาคญั หมายในกายมี นรชาตวิ างวาย มลายสน้ิ ทงั้ อนิ ทรยี ์ สถติ ทวั ่ แตช่ วั ่ ดี ประดบั ไวใ้ นโลกา (สมเดจ็ พระมหาสมณเจา้ กรมพระปรมานุชจิ ชโิ นรส : กฤษณาสอนนอ้ งคาฉนั ท์) ความหมายของศพั ท์ พฤษภ = วนั กาสร = ควาย กญุ ชร = ชา้ ง ปลดปลง = ตาย โท = สอง ทนต์ = ฟัน เสน่ง = เขา นรชาติ = มนุษย์ วางวาย = ตาย มลาย = สน้ิ ไป อนิ ทรยี ์ = รา่ งกาย สถติ = คงอยู่ ประดบั = ตกแตง่ โลกา = โลก แปลความเป็นรอ้ ยแกว้ กค็ อื วยั ความและชา้ ง เม่อื ตายแลว้ ยงั มฟี ันและเขาทงั้ สองขา้ งเหลอื อยู่ สว่ นมนุษยเ์ มอ่ื ตายไปร่างกายก็ สน้ิ ไป คงเหมอื แตค่ วามชวั ่ หรอื ความดที ไ่ี ดท้ าไวเ้ ทา่ นัน้ ทยี่ งั คงอยใู่ นโลกน้ี การอ่านตีความ การอา่ นตคี วามหรอื การอ่านวนิ ิจสารเป็นการอ่านอย่างพจิ ารณาถถ่ี ว้ นดว้ ยความเขา้ ใจเพ่อื ใหไ้ ด้ ประโยชน์ หรอื เป็นไปตามวตั ถุประสงคข์ องผเู้ ขยี น จะเป็นการอ่านออกเสยี งหรอื อา่ นในใจกไ็ ด้ แต่ จดุ สาคญั อยู่ทก่ี ารใชส้ ตปิ ัญญาตคี วามหมายของคาและขอ้ ความ ทงั้ หมดรวมทงั้ สง่ิ แวดลอ้ มทุกอยา่ งท่ี เกย่ี วขอ้ งกบั ขอ้ ความทอ่ี ่าน ดงั นัน้ จงึ ต้องอาศยั การใชเ้ หตุผลและความรอบคอบในการพจิ ารณาทงั้ ถอ้ ยคา

และสงิ่ แวดลอ้ มทงั้ หมดทผี่ อู้ ่านจะตคี วามสารใด ๆ ไดก้ วา้ งหรอื แคบ ลกึ หรอื ต้นื ขนาดไหน ย่อมขน้ึ อย่กู บั ประสบการณส์ ่วนตวั และความเฉียบแหลมของวจิ ารณญาณ เป็นการอา่ นทผ่ี อู้ า่ นพยายามเขา้ ใจความหมาย ในสง่ิ ทผ่ี เู้ ขยี นมไิ ดก้ ลา่ วไวโ้ ดยตรง ผอู้ า่ นพยายามสรปุ ลงความเหน็ จากรายละเอยี ดของเรอ่ื งทอี่ า่ น การอา่ นตคี วามนัน้ ผูอ้ ่านจะตอ้ งคดิ หาเหตุผล เขา้ ใจผเู้ ขยี น รวู้ ตั ถปุ ระสงคร์ ูภ้ าษาทผี่ เู้ ขยี นใชท้ งั้ ความหมายตรงและความหมายแฝง อน่ึงขอ้ ความทงั้ รอ้ ยแก้วและรอ้ ยกรองบางบท มไิ ดม้ คี วามหมายตรง อยา่ งเดยี วแต่มคี วามหมายแฝงซอ่ นเรน้ อยู่ ผอู้ ่านต้องแปลความกอ่ นแลว้ จงึ ตคี วามใหเ้ ขา้ ใจความหมายท่ี แฝงอยู่ สารทเ่ี ราอา่ นอยู่น้ีมี 2 ประเภท คอื ประเภทรอ้ ยแกว้ และประเภทรอ้ ยกรอง ดงั นนั้ การตคี วามจงึ มี การตคี วามทงั้ สารประเภทรอ้ ยแก้วและประเภทรอ้ ยกรอง ตวั อย่างการตคี วามสารประเภทรอ้ ยกรอง “นาคมี พี ษิ เพย้ี ง สุรโิ ย เล้อื ยบ่ทาเดโช แช่มชา้ พษิ น้อยหยงิ่ ยโส แมลงป่ อง ชแู ตห่ างเองอา้ อวดอา้ งฤทธ”ิ ์ (โคลงโลกนติ )ิ โคลงบทน้ีกลา่ วถงึ สตั ว์ 2 ชนิด ทมี่ ลี กั ษณะแตกต่างกนั เปรยี บเสมอื นคน 2 จาพวก พวกแรกมี อานาจหรอื มคี วามสามารถแตไ่ ม่แสดงออกเม่อื ยงั ไมถ่ งึ เวลาอนั สมควร สว่ นพวกท่ี 2 มอี านาจหรอื ความสามารถน้อยแตอ่ วดดี กวยี กย่อง จาพวกแรก เหยยี ดหยามคนจาพวกหลงั โดยสงั เกตจากการใช้ ถอ้ ยคา เชน่ ชหู างบา้ ง พษิ น้อยบา้ ง ฉะนนั้ ควรเอาอยา่ งคนจาพวกแรก คอื มอี านาจมคี วามสามารถแตไ่ ม่ แสดงออกเมอ่ื ยงั ไมถ่ งึ เวลาอนั สมควร ขอ้ ปฏบิ ตั ใิ นการอ่านตคี วาม 1.อา่ นเรอ่ื งใหล้ ะเอยี ดแลว้ พยายามจบั ประเดน็ สาคญั ของขอ้ เขยี นใหไ้ ด้ 2.ขณะอ่านพยายามคดิ หาเหตุผล และใครค่ รวญอยา่ งรอบคอบ แลว้ นามาประมวลเขา้ กบั ความคดิ ของตนว่า ขอ้ ความนัน้ ๆ มคี วามหมายถงึ สงิ่ ใด 3.พยายามทาความเขา้ ใจกบั ถ้อยคาบางคาทเี่ หน็ ว่ามคี วามสาคญั รวมทงั้ สภาพแวดลอ้ มหรอื บรบิ ทเพอ่ื กาหนดความหมายใหช้ ดั เจนยงิ่ ขน้ึ 4.การเรยี บเรยี งถ้อยคาทไี่ ดม้ าจากการตคี วาม จะต้องมคี วามหมายชดั เจน 5.พงึ ระลกึ วา่ การตคี วามมใิ ช่การถอดคาประพนั ธ์ ซ่งึ ตอ้ งเกบ็ ความหมายของบทประพนั ธน์ นั้ ๆ มาเรยี บ เรยี งเป็นรอ้ ยแกว้ ใหค้ รบทงั้ คา และขอ้ ความ การตคี วามนัน้ เป็นการจบั เอาแต่ใจความสาคญั การตคี วาม จะต้องใชค้ วามรคู้ วามคดิ อนั มเี หตผุ ลเป็นประการสาคญั

ขอ้ ควรคานึงในการตีความ 1.ศกึ ษาประวตั แิ ละพน้ื ฐานความรขู้ องผเู้ ขยี น 2.ศกึ ษาสภาพสงั คมในสมยั ทงี่ านเขยี นนนั้ เกดิ ขน้ึ วา่ เป็นสงั คมชนดิ ใดเป็นประชาธปิ ไตยหรอื เผดจ็ การสงั คม เกษตร พาณชิ ยห์ รอื อตุ สาหกรรม เป็นสงั คมทเ่ี ครง่ ศาสนาหรอื ไมศ่ าสนาสอนไวอ้ ยา่ งไร 3.อา่ นหลาย ๆ ครงั้ และพจิ ารณาในรายละเอยี ด จะทาใหเ้ หน็ แนวทางเพมิ่ ขน้ึ 4.ไม่ยดึ ถอื สงิ่ ทต่ี นตคี วามนัน้ ถูกต้อง อาจมผี อู้ ่นื เหน็ แยง้ กไ็ ด้ ควรยดึ มนั ่ ในกรณที ตี่ รงกบั ผอู้ น่ื ว่าของเรา ถกู ตอ้ งทสี่ ดุ การอา่ นขยายความ การอ่านขยายความ คอื การอธบิ ายเพม่ิ เตมิ ใหล้ ะเอยี ดขน้ึ ภายหลงั จากไดต้ คี วามแลว้ ซ่งึ อาจใชว้ ธิ ี ยกตวั อย่างประกอบ หรอื มกี ารอา้ งอนิ เปรยี บเทยี บเน้ือความใหก้ วา้ งขวางออกไปจนเป็นทเี่ ขา้ ใจชดั เจนยงิ่ ขน้ึ ตวั อย่าง ความโศกเกดิ จากความรกั ความกลวั เกดิ จากความรกั ผทู้ ล่ี ะความรกั เสยี ไดก้ ไ็ มโ่ ศกไมก่ ลวั (พทุ ธภาษติ ) ขอ้ ความน้ีใหข้ อ้ คดิ วา่ ความรกั เป็นตน้ เหตใุ หเ้ กดิ ความโศกและความกลวั ถา้ ตดั หรอื ละความรกั ได้ ทงั้ ความโศก ความกลวั กไ็ ม่มี ขยายความ เม่อื บคุ คลมคี วามรกั ในสง่ิ ใดหรอื คนใด เขากต็ ้องการใหส้ ง่ิ นัน้ คนนัน้ คงอยใู่ หเ้ ขารกั ตลอดไป มนษุ ย์ ส่วนมากกลวั วา่ คน หรอื สง่ิ ทต่ี นรกั จะแตกสลายหรอื สญู สน้ิ จากไป แต่เม่อื ถงึ คราวทุกอย่างยอ่ มเปลยี่ นแปรไม่อาจคงอยไู่ ด้ ยอ่ มมกี ารแตกทาลาย สญู สลายไปตามสภาพ ถา้ รูค้ วามจรงิ ดงั น้ีและรูจ้ กั ละความรกั ความผูกพนั นนั้ เสยี เขาจะไม่ต้องกลวั และไม่ ตอ้ งโศกเศรา้ เสยี ใจ อกี ต่อไป การขยายความน้ีใชใ้ นกรณีทข่ี อ้ ความบางขอ้ ความ อาจมใี จความไมส่ มบรู ณ์จงึ ตอ้ งมกี ารอธบิ าย หรอื ขยายความเพ่อื ให้ เกดิ ความเขา้ ใจยงิ่ ขน้ึ การขยายความอาจขยายความเก่ยี วกบั คาศพั ทห์ รอื การใหเ้ หตผุ ลเพมิ่ เตมิ เชน่ สานวน สุภาษติ โคลงกลอนตา่ ง ๆ เป็นต้น การอ่านจบั ใจความหรอื สรปุ ความ

การอ่านจบั ใจความหรอื สรปุ ความ คอื การอา่ นทม่ี งุ่ คน้ หาสาระของเร่อื งหรอื จองหนงั สอื แตล่ ะเลม่ ท่ี เป็นส่วนใจความ สาคญั และสว่ นขยายใจความสาคญั ของเร่อื ง ใจความสาคญั คอื ขอ้ ความทมี่ สี าระคลมุ ขอ้ ความอน่ื ๆ ในยอ่ หนา้ นัน้ หรอื เร่อื งนนั้ ทงั้ หมด ขอ้ ความอน่ื ๆ เป็นเพยี ง ส่วนขยายใจความสาคญั เทา่ นนั้ ขอ้ ความหนงึ่ หรอื ตอนหนง่ึ จะมใี จความสาคญั ทส่ี ุดเพยี งหนง่ึ เดยี ว นอกนนั้ เป็นใจความรอง คาวา่ ใจความสาคญั น้ี บางทเี รยี กเป็นหลายอยา่ ง เช่น แกนหรอื หวั ใจของเร่อื ง แกน่ ของเร่อื งหรอื ความคดิ หลกั ของเร่อื ง แตจ่ ะอยา่ งไรกต็ ามใจความสาคญั คอื สง่ิ ทเี่ ป็นสาระทส่ี าคญั ทสี่ ุดของเรอ่ื งนัน่ เอง ใจความสาคญั ส่วนมากจะมลี กั ษณะเป็นประโยค ซง่ึ อาจจะปรากฏอยู่ในส่วนใดสว่ นหน่ึงของย่อ หน้ากไ็ ด้ จดุ ทพ่ี บใจ ความสาคญั ของเรอ่ื งแต่ละย่อหนา้ มากทสี่ ุดคอื ประโยคทอี่ ย่ตู อนตน้ ย่อหนา้ เพราะผเู้ ขยี นมกั จะบอก ประเดน็ สาคญั ไวก้ อ่ น แลว้ จงึ ขยายรายละเอยี ดใหช้ ดั เจน รองลงมาคอื ประโยคตอนทา้ ยยอ่ หน้า โดยผเู้ ขยี นจะบอกรายละเอยี ด หรอื ประเดน็ ย่อ ๆ ก่อน แลว้ จงึ สรุปดว้ ยประโยคทเี่ ป็นประเดน็ ไวภ้ ายหลงั สาหรบั จดุ ทพ่ี บใจความสาคญั ยากขน้ึ กค็ อื ประโยค ตอนกลางยอ่ หน้า ซง่ึ ผอู้ ่านจะต้องใชค้ วามพยายามสงั เกตใหด้ ี ส่วนจดุ ทห่ี าใจความสาคญั ยากทสี่ ดุ คอื ย่อหน้าทไี่ ม่มี ประโยคสาคญั ปรากฏชดั เจน อาจมหี ลายประโยคหรอื อาจจะอยรู่ วม ๆ กนั ในย่อหนา้ กไ็ ด้ ซง่ึ ผู้อ่านตอ้ ง สรปุ ออกมาเอง

แบบทดสอบยอ่ ยครัง้ ที่ 3 รายวิชาภาษาไทย (พท31001) ระดับ ม.ปลาย บทท่ี 3 การอ่าน 1. ใหน้ กั ศึกษาบอกขนั้ ตอนของวิจารณญาณในการอ่าน ตอบ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ 2. การอา่ นตีความคอื ตอบ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ .............................................................................................................................................................................. 3. ใหน้ กั ศกึ ษาบอกลกั ษณะของหนงั สือทเ่ี ป็นวรรณคดี ตอบ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................

4. ภาษาถนิ่ หมายถึง ตอบ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ....................................................................................................................................................................... 5. วรรณกรรมทอ้ งถ่ิน หมายถงึ ตอบ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................

เฉลยแบบทดสอบยอ่ ยครง้ั ที่ 3 รายวชิ าภาษาไทย (พท31001) ระดับ ม.ปลาย บทที่ 3 การอา่ น 1. ใหน้ ักศึกษาบอกขัน้ ตอนของวิจารณญาณในการอ่าน ตอบ 1.อ่านใหเ้ ข้าใจตลอดเรอื่ ง 2.วเิ คราะหเ์ รอื่ ง 3.ประเมินคา่ ของเร่ือง 4.นำเรอ่ื งทอ่ี ่านไปใช้ 2. การอา่ นตคี วามคอื ตอบ เป็นการอา่ นอยา่ งพจิ ารณาถี่ถว้ นด้วยความเข้าใจเพ่ือให้ได้ประโยชน์ หรอื เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของ ผูเ้ ขยี น จะเป็นการอ่านออกเสียงหรอื อ่านในใจกไ็ ด้ แต่จุดสำคญั อยทู่ กี่ ารใชส้ ตปิ ัญญาตคี วามหมายของคำและ ขอ้ ความ 3. ใหน้ ักศึกษาบอกลกั ษณะของหนงั สอื ที่เปน็ วรรณคดี ตอบ 1. มโี ครงเรอ่ื งดี ชวนอ่าน มคี ณุ ค่าสาระและมปี ระโยชน์ 2.ใชส้ ำนวนภาษาทปี่ ระณีต มคี วามไพเราะ 3. แตง่ ได้ถกู ตอ้ งตามลกั ษณะคำประพันธ์ 4.มรี สแหง่ วรรณคดที ผ่ี ้อู ่านคลอ้ ยตาม 4. ภาษาถิน่ หมายถึง ตอบ ภาษาทใ่ี ชส้ อ่ื ความหมายตามทอ้ งถ่นิ ตา่ ง ๆ ซงึ่ จะแตกตา่ งกนั ในถ้อยคำ สำเนยี งแตก่ ส็ ามารถจะ ตดิ ต่อสื่อสารกันได้ และถอื วา่ เปน็ ภาษาเดยี วกัน เพียงแต่แตกตา่ งกันตามทอ้ งถ่นิ เทา่ นั้น 5. วรรณกรรมทอ้ งถิน่ หมายถึง ตอบ เร่อื งราวของชาวบ้านทเ่ี ล่าสบื ตอ่ กนมาหลายช่ัวอายคุ นทั้งการพดู และการเขียนในรปู ของ คติ ความเช่อื และประเพณี การแสดงออกในการใชถ้ ้อยคำทมี่ หี ลากหลายรูปแบบ เชน่ นทิ านพน้ื บ้าน เพลงกลอ่ มเดก็ ปริศนา คำทาย ภาษิต คำคม บทเทศน์ และคำกล่าวในพิธีกรรมต่าง ๆ

บนั ทึกหลังสอน 1. ปญั หาหรอื อปุ สรรคในการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 2. แนวทางการแก้ปญั หาหรืออุปสรรค ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. . …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. การปรบั ปรงุ แผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชือ่ …………………………………………………… (……………………………………………………) ตำแหนง่ …………………………………………………. ความคดิ เหน็ ของผู้นิเทศท่ีไดร้ ับมอบหมายจากผู้บริหาร ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ลงชอ่ื ………………………………………………..…… (……………………………………………………) ตำแหน่ง…………………………………………………. ความคดิ เห็นของผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ลงช่ือ………………………………………………..…… (……………………………………………………) ตำแหน่ง………………………………………………….

แผนการจดั ประสบการณ์การเรยี นรู้ กลุ่มสาระความรพู้ ื้นฐาน รายวชิ า ภาษาไทย พท31001 ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย แผนการจดั การเรยี นร้เู รอ่ื งที่ 5 การเขยี น เวลา 6 ช่ัวโมง สอนวันที่ …….……เดอื น …………………พ.ศ.………......... ภาคเรยี นท่ี ………ปกี ารศึกษา……….. มาตรฐานการเรยี นรรู้ ะดบั ความรู้ ความเขา้ ใจในการเรยี นวชิ าภาษาไทย พท31001 ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย เกีย่ วกบั รายละเอียดคาอธบิ ายรายวิชา กจิ กรรมการเรียนการสอน ขอ้ ตกลง และขน้ั ตอนการปฏิบัติกจิ กรรมให้เป็นไปตาม วัตถุประสงคก์ ารเรียนรู้ เพ่ือให้ผเู้ รยี นบรรลผุ ลตามทคี่ าดหวงั และช่วยให้กจิ กรรมการเรยี นการสอนมปี ระสทิ ธิภาพ ตัวชี้วัด 1. เพอ่ื ใหผ้ ู้เรยี นมคี วามเขา้ ใจแนวทางการจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอน ในรายวชิ า รายวิชา ภาษาไทย พท31001 ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย 2. เพอ่ื เตรยี มตวั ล่วงหนา้ ในการเรยี น และมสี ่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนการสอนอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ 3. เพอ่ื ทดสอบความรพู้ น้ื ฐานเดิมของผเู้ รยี น และเปน็ แนวทางในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ สาระการเรยี นรู้ การปฐมนเิ ทศ 1. รายละเอยี ดคาอธิบายรายวิชา ภาษาไทย พท31001 ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย 2. หลักเกณฑก์ ารวดั ผล และการให้คะแนนรายวชิ า ภาษาไทย พท31001 ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย 3. ข้อตกลงเก่ียวกับหลักการ ข้อปฏบิ ัตแิ ละกฎระเบียบในการเรยี นการสอนในหอ้ งเรยี น กระบวนการจัดการเรยี นรู้ 1. ขัน้ กำหนดสภาพปัญหาความต้องการในการเรยี นรู้ 1.1 ครกู ล่าวทักทายผเู้ รยี น และแนะนาตัวเอง โดยบอกชอื่ นามสกลุ และชอ่ งทางการติดตอ่ 1.2 ครสู อบถามผเู้ รยี นถงึ กจิ กรรมทที่ าในระหว่างปดิ ภาคเรียนทผ่ี า่ นมา และนาเขา้ สเู่ ร่ืองทจี่ ะเรยี น 1.3 ครูแจ้งให้ผเู้ รยี นทราบว่า ในภาคเรยี นนจี้ ะไดเ้ รยี น รายวิชา ภาษาไทย พท31001 2. ข้นั แสวงหาข้อมลู และจัดการเรยี นรู้

2.1 ครูชีแ้ จงรายละเอยี ดคาอธิบายรายวชิ า ภาษาไทย พท31001 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ท่ีจะ เรียนในภาคเรียนนี้ จานวน 6 เรอื่ ง คอื การฟัง การดู การพดู การอ่าน การเขยี น หลักการใชภ้ าษา และวรรณคดี วรรณกรรม ครแู จ้งตัวชวี้ ดั และอภปิ รายถงึ เนอื้ หา ทจี่ ะเรียนร่วมกันกบั ผเู้ รียน 2.2 ครู และผ้เู รยี นตกลงหลกั เกณฑก์ ารวดั ผล และการใหค้ ะแนนในสว่ นตา่ ง ๆ ร่วมกนั จากคะแนนเตม็ 100 คะแนน อตั ราส่วนคะแนนระหวา่ งภาคตอ่ ปลายภาค = 60 : 40 เป็นดงั นี้ 1. คะแนนระหวา่ งเรียน 60 คะแนนแบ่งเกบ็ ดงั น้ี 1.1 คะแนนดา้ นความรู้ 30 คะแนน 1.2 คะแนนดา้ นทกั ษะ (โครงงาน/ช้นิ งาน) 20 คะแนน 1.3 คะแนนดา้ นคณุ ลกั ษณะที่พงึ ประสงค์ 10 คะแนน 2. คะแนนปลายภาคเรียน 40 คะแนน ดงั น้ี เกณฑ์การประเมนิ ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนด้านความรู้ ของผเู้ รียนทีศ่ ึกษา หลักสูตรรายวิชา ภาษาไทย พท31001 มดี งั น้ี หมายถงึ ผูเ้ รียนมีคะแนนสอบปลายภาคเรียน ตง้ั แต่ 12.00 – 40.00 หรือ ร้อยละ 30 ของคะแนนเตม็ ขึ้นไป ไมผ่ ่าน หมายถึง ผเู้ รียนมีคะแนนสอบปลายภาคเรียน ต้งั แต่ 0.00 – 11.99 หรือ รอ้ ยละ 0.00 – 29.99 ของคะแนนเตม็ ขึน้ ไป การตัดสินผลการเรยี น รายวิชา ภาษาไทย พท31001 จะนาคะแนนระหวา่ งภาคมารวมกบั คะแนนปลาย ภาคเรียน และจะตอ้ งไดค้ ะแนนไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ 50 จึงจะถือว่าผ่าน ทัง้ น้ี ผู้เรียนตอ้ งเขา้ สอบปลายภาคเรียนด้วย แล้วนาคะแนนไปเปรยี บเทยี บกับเกณฑ์ทก่ี ำหนดให้คา่ ระดบั ผลการ เรียนเปน็ 8 ระดบั ดงั น้ี ได้คะแนนรอ้ ยละ 80 – 100 ใหร้ ะดบั 4 หมายถงึ ดเี ยยี่ ม ได้คะแนนรอ้ ยละ 75 – 79 ใหร้ ะดบั 3.5 หมายถงึ ดมี าก ไดค้ ะแนนรอ้ ยละ 70 – 74 ใหร้ ะดบั 3 หมายถงึ ดี คะแนนร้อยละ 65 – 69 ให้ระดบั 2.5 หมายถึง ค่อนขา้ งดี ไดค้ ะแนนร้อยละ 60 – 64 ใหร้ ะดบั 2 หมายถงึ ปานกลาง ไดค้ ะแนนร้อยละ 55 – 59 ใหร้ ะดบั 1.5 หมายถึง พอใช้ ได้คะแนนร้อยละ 50 – 54 ใหร้ ะดบั 1 หมายถึง ผา่ นเกณฑข์ น้ั ต่ำทก่ี ำหนด ได้คะแนนรอ้ ยละ 0 – 49 ใหร้ ะดบั 0 หมายถึง ต่ำกวา่ เกณฑ์ขั้นต่ำทก่ี ำหนด 2.3 ขอ้ ตกลง ข้อปฏบิ ตั ิ และกฎระเบียบในการเรียนการสอนในหอ้ งเรยี น ดังน้ี 1. ผเู้ รียนต้องเข้าเรียนไมต่ ่ำกวา่ 80 เปอรเ์ ซน็ ต์ ของเวลาเรยี นทั้งหมด 2. ผเู้ รยี นไมพ่ ดู คยุ เสยี งดงั หรือส่งเสียงรบกวนเพือ่ นในเวลาเรียน 3. ผเู้ รยี นตอ้ งเขา้ เรียนใหต้ รงเวลา 4. หากมคี วามจาเป็นต้องหยุดเรยี น ต้องขออนญุ าตครผู ูส้ อนกอ่ นทกุ ครงั้

5. ไม่นาอาหารมารับประทานในหอ้ งเรยี นขณะครูสอน 6. หากมีข้อสงสัยขณะเรยี น ใหส้ อบถามครไู ด้ทันที 3 2.4 ครูชี้แจงรายละเอยี ดการพบกล่มุ วนั เวลา สถานท่ใี หผ้ ้เู รยี นทราบ 3. ขัน้ ปฏบิ ัติ และนาไปประยกุ ต์ใช้ 3.1 ครใู หผ้ เู้ รียนแนะนาตัวใหค้ รู และเพ่ือน ๆ ทกุ คนในหอ้ งเรียนได้รจู้ ัก 3.2 ครูแจกแบบทดสอบก่อนเรียน รายวิชา ภาษาไทย พท31001 ให้ผเู้ รียนทาจากน้ันตรวจแบบทดสอบ พรอ้ มบนั ทึกคะแนนไว้ และรว่ มกนั สรปุ ถงึ การทาแบบทดสอบ กอ่ นเรยี น รายวชิ า ภาษาไทย พท31001 4. ข้นั ประเมนิ ผลการเรยี นรู้ 4.1 ครูถามผู้เรียนเกยี่ วกบั เรื่องทค่ี รกู ลา่ วมาข้างตน้ วา่ มเี รอ่ื งอะไรบ้างมรี ายละเอยี ดทสี่ ำคญั อย่างไร (เรอื่ งทจี่ ะเรยี น หลักเกณฑ์การใหค้ ะแนน กฎระเบยี บ ข้อตกลง ข้อควรปฏบิ ตั ิ กตกิ าในการเรยี นการสอน) 4.2 ครูถามผู้เรียนว่าพบกลมุ่ วนั ไหน เวลาไหน และที่ไหน 4.3 ครูซกั ถามผเู้ รียนวา่ มขี ้อสงสยั หรือไม่ 4.4 ครมู อบหมายใหผ้ ู้เรยี นศกึ ษาเร่ืองทจี่ ะเรียนในครงั้ ตอ่ ไปล่วงหนา้ (เรอ่ื ง การฟงั และการดู) การวัดผลประเมนิ ผล วธิ ีการวัด ประเมินจากการสงั เกต การซกั ถาม ตอบคาถาม และแบบทดสอบกอ่ นเรยี น เครื่องมอื ได้แก่ แบบประเมิน และแบบทดสอบก่อนเรยี น เกณฑก์ ารวัด ผ่าน ต้องทาแบบทดสอบก่อนเรยี น ไดค้ ะแนนไมน่ ้อยกว่าร้อยละ 50 ของคะแนนเต็ม ส่อื และแหล่งเรียนรู้ 1. แบบทดสอบกอ่ นเรยี น รายวิชา ภาษาไทย พท31001 ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย 2. ใบความรู้ เอกสารประกอบการเขยี น

ใบความรู้ การเขยี นย่อความ คอื การจบั ใจความสาคญั จบั ประเดน็ สาคญั ของเรอ่ื งทไ่ี ดอ้ ่าน ไดฟ้ ังหรอื ไดด้ ูมาอย่างย่อๆแลว้ นามาเรยี บ เรยี งใหม่ใหไ้ ดค้ วามครบถว้ น สนั้ กระชบั ดว้ ยสานวนภาษาของตนเอง หลกั การเขยี นยอ่ ความ การเขยี นยอ่ ความ ควรมหี ลกั ในการเขยี น ดงั น้ี ๑. อ่านเร่อื งทจ่ี ะย่อความใหจ้ บอย่างนอ้ ย ๒ ครงั้ เพ่อื ใหท้ ราบว่าเรอ่ื งนัน้ กลา่ วถงึ ใคร ทาอะไร ท่ี ไหน อยา่ งไร เมอ่ื ไร และผลเป็นอยา่ งไร ๒. บนั ทกึ ใจความสาคญั ของเร่อื งทอ่ี ่าน เเลว้ นามาเขยี นเรยี บเรยี งใหม่ดว้ ยสานวนของตนเอง ๓. อ่านทบทวนใจความสาคญั ทเ่ี ขยี นเรยี บเรยี งแลว้ จากนัน้ แกไ้ ขใหส้ มบูรณ์ โดยตดั ขอ้ ความที่ ซา้ ซ้อนกนั ออก เพ่อื ใหเ้ น้ือหากระชบั และเช่อื มขอ้ ความใหส้ มั พนั ธก์ นั ตงั้ เเตต่ น้ จนจบ ๔. เขยี นยอ่ ความใหส้ มบรู ณ์ โดยเขยี นแบบขน้ึ ต้นของย่อความตามรปู แบบของประเภทขอ้ ความ นัน้ ๆ เชน่ การยอ่ นิทาน การยอ่ บทความ ๕. การเขยี นย่อความไมน่ ิยมใชส้ รรพยามบุรุษที่ ๑ และสรรพนามบุรษุ ท่ี ๒ คอื ฉนั คุณ ท่าน แต่จะ ใชส้ รรพนามบรุ ษุ ท่ี ๓ เช่น เขา และไม่เขยี นโดยใชอ้ กั ษรยอ่ นอกจากน้ี หากมกี ารใชค้ าราชาศพั ทต์ ้องเขยี น ใหถ้ ูกตอ้ ง ไมค่ วรตดั ทอน รปู แบบการเขยี นยอ่ ความ ๑. การยอ่ นทิ าน นยิ าย พงศาวดาร ใหบ้ อกประเภท ช่อื เรอ่ื ง ผแู้ ต่ง ทมี่ าของเร่อื งเท่าทท่ี ราบ เชน่ ๒. ย่อคาสอน คากล่าวปาฐกถา ใหบ้ อกประเภท ช่อื เรอ่ื ง เจา้ ของเรอ่ื ง ผฟู้ ัง สถานที่ และเวลาเทา่ ทจี่ ะทราบ ได้ เชน่ ๓. การเขยี นบทความทางวชิ าการ ใหบ้ อกประเภท ช่อื เรอ่ื ง เจา้ ของเรอ่ื ง ทม่ี าของเรอ่ื ง เช่น


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook