ประมวลโครงการพระราชดำริ ในพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัว รัชกาลท่ี ๙
คำนำ โครงการพระราชดำริในพระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช เป็น โครงการท่ีเกิดข้ึนจากพระปรีชาสามารถใน ศาสตร์ต่างๆของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่ หวั ฯ เช่น โครงการพัฒนาด้านการเกษตร โครงการพัฒนาดา้ นแหล่งน้ำ โครงการพัฒนา ด้านส่ิงแวดล้อม ด้านส่งเสริมอาชีพ ด้าน สาธารณสขุ ดา้ นคมนาคม/สอ่ื สาร ดา้ นสง่ เสรมิ อาชพี ด้านสังคม/การศกึ ษา และโครงการ พัฒนาแบบบูรณาการ ซ่ึงทุกโครงการมี จุดมุ่งหมายท่สี ำคัญคือเพื่อให้ราษฎร “อย่ดู ี กินดแี ละมีความผาสุก” ในการจัดทำ E-books ประมวล โครงการพระราชดำริ คร้ังนี้ เพ่อื เป็นการ เผยแพร่พระอัจฉริยะภาพ และพระมหา กรุณาธิคุณที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภูมิพลอดุลยเดช ได้พระราชทานแก่ปวง ราษฎรไทยทงั้ หลาย ตั้งแตท่ รงเสด็จขึน้ เถลิง ถวัลย์สิริราชสมบัติ จวบจบกระท่ังทุกวันน้ี ขอพระองค์ทรงพระเจรญิ ยิง่ ยนื นาน สำนกั งานโครงการ โรงเรียนการศกึ ษาทางไกลอนิ เทอร์เน็ต ธันวาคม ๒๕๕๖
สารบญั โครงการพระราชดำริ กษัตริย-์ เกษตร 2 นกั พัฒนาผู้ยิ่งใหญ่ 10 ทฤษฎีการพฒั นา ศูนยก์ ารพฒั นา นำ้ เพ่ือชีวติ 38 การบำบดั นำ้ เสยี 44 การแก้ไขปัญหานำ้ ทว่ ม 50 ภูมพิ ลังแผน่ ดิน 56 ทรัพยากรธรรมชาต ิ 63 การปลกู ป่า 70 เพื่อผเู้ จบ็ ปว่ ยในชนบท 77 สงั คมสงเคราะห์ 84 การศกึ ษาของชาติ 91 พระอจั ฉรยิ ภาพ 98 ด้านการส่อื สาร 105 เพือ่ ความม่ันคงของชาต ิ 112 บรรณานุกรม
โครงการพระราชดำริ กษัตรยิ -์ เกษตร นกั พัฒนาผู้ยง่ิ ใหญ่ ทฤษฎกี ารพัฒนา ศนู ยก์ ารพฒั นา น้ำเพอื่ ชีวิต การบำบดั นำ้ เสยี การแก้ไขปัญหาน้ำทว่ ม ภูมพิ ลงั แผน่ ดิน ทรพั ยากรธรรมชาติ การปลกู ป่า เพื่อผูเ้ จ็บปว่ ยในชนบท สงั คมสงเคราะห์ การศกึ ษาของชาติ พระอัจฉรยิ ภาพ ด้านการส่ือสาร เพื่อความมน่ั คงของชาติ
กษัตรยิ ์ - เกษตร โครงการพระราชดำริ การเกษตรจติ รลดา พ ระราชวังอันเป็นที่ประทับแห่งพระมหากษัตริย์ทั่วโลก ทั้งในอดีตและปัจจุบันจะเต็ม ไปดว้ ยสง่ิ ท่สี วยงามแตภ่ ายในสวนจติ รลดา พระราชวงั ดสุ ิต อนั เปน็ ทีป่ ระทบั แห่งพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ วั กลบั เตม็ ไปด้วยบ่อปลา นาข้าว ฝูงโค โรงสี และโรงงานอตุ สาหกรรมต่างๆ ที่เก่ียวกบั ผลผลิตทางการเกษตร ทั้งน้ี เน่อื งจาก พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัว ทรงสนพระราชหฤทยั และ ทรงให้ความสำคัญ ในการเกษตรเป็นอย่างมาก เพราะประชาชนส่วนใหญ่ของประเทศเป็น เกษตรกร จงึ ทรงมพี ระราชดำรใิ หจ้ ัดตงั้ โครงการเกี่ยวกับการเกษตรสวนจิตรลดาขึน้ โดยใชพ้ นื้ ที่ บริเวณพระราชวังดุสิตเป็นที่ตั้งของโครงการ เพ่ือเป็นการทดลองและเป็นตัวอย่างสำหรับนำไป ปฏิบัติ พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หวั ทรงเลย้ี งปลาหมอเทศมาตง้ั แตป่ ี พ.ศ. ๒๔๙๕ ที่สระวา่ ยน้ำ หนา้ พระทีน่ งั่ อดุ ร ในบริเวณพระท่นี ั่งอัมพรสถาน แลว้ ได้พระราชทานพนั ธปุ์ ลาหมอเทศ ให้กำนนั และผู้ใหญ่บ้านนำไปเล้ียงเพื่อขยายพันธุ์แก่ราษฎร รวมท้ังได้ทรงเล้ียงปลานิลท่ีมกุฎราชกุมาร แห่งญ่ีปนุ่ ทูลเกลา้ ฯ ถวายจำนวน ๕๐ ตวั ไวใ้ นบอ่ ปลาบริเวณสวนจติ รลดา และไดพ้ ระราชทาน พันธ์ุปลาชนิดน้ีไปขยายพันธ์ุท่ัวราชอาณาจักร ส่วนในด้านของข้าว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ
3 ใหจ้ ัดทำนาข้าวทดลองเพอื่ ปลูกขา้ วพันธุต์ ่างๆ โดยทรงขบั ควายเหลก็ และทรงหวา่ นเมลด็ พันธข์ุ า้ ว ดว้ ยพระองค์เอง รวมทั้งไดก้ รณุ าโปรดเกลา้ ฯ ใหท้ ดลองปลกู ข้าวไร่ชนดิ หยอดหลุมอกี ดว้ ย นอกจากนี้แล้วได้ทรงพระกรุณราโปรดเกล้าฯ ให้จัดตั้งโรงสีข้าวทดลอง โรงบดและ อัดแกลบขึ้นเพื่อเป็นตัวอย่างแก่เกษตรกร การเลี้ยงโคนม การตั้งโรงงานผลิตนมผงอัดเม็ด โรงผลิตน้ำผลไม้ โรงหล่อเทียนหลวง โรงกล่ันแอลกอฮอล์ การจัดทำป่าไม้สาธิตและอ่ืนๆ อีกมากมาย ภายในบริเวณที่ประทับสวนจิตรลดา ท้ังน้ี เพื่อเป็นโครงการทดลองและโครงการ ตัวอย่างด้านการเกษตร และเมื่อได้บรรลุผลอันเป็นประโยชน์ รวมท้ังอยู่ในวิสัยท่ีเกษตรกร ส่วนใหญ่จะสามารถนำไปปฏิบัติได้ จะพระราชทานผลท่ีได้รับจากการทดลองให้แก่เกษตรกร นำไปใชใ้ นการเพาะปลูกต่อไป
4 การเกษตรแบบย่ังยืน พ ระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ ัว ทรงให้ความสำคญั ในเร่ืองการเกษตรกรรม ซ่งึ เป็นอาชีพ หลักของชาวไทยมานานแล้ว ทรงใช้หลักการพัฒนาการเกษตร ท่ีส่งเสริมให้เกษตรกรสามารถ พง่ึ ตนเองได้ และทรงเนน้ มใิ หเ้ กษตรกรพง่ึ พาพชื เกษตรแตเ่ พยี งอยา่ งเดยี ว วธิ กี ารพฒั นาการเกษตร ของพระองค์ คือ การทีส่ ง่ เสริมใหใ้ ช้ประโยชน์จากธรรมชาตใิ หม้ ากท่ีสดุ และใชอ้ ย่างประหยดั ดว้ ย ซงึ่ เป็นการลดค่าใชจ้ ่ายในการทำกินของเกษตรกรใหเ้ หลือนอ้ ยทส่ี ดุ โดยอาศยั การพึ่งพาธรรมชาติ เป็นปัจจัยสำคัญ สำหรับวิธีการที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงแนะนำให้ปฏิบัติมีตั้งแต่การสนับสนุน ให้เกษตรกรปลูกพืชหมุนเวียน ประเภทตระกูลถั่ว เพ่ือลดค่าใช้จ่ายเร่ืองปุ๋ยเคมีซ่ึงมีราคาแพง และมผี ลกระทบต่อคุณภาพของดินในระยะยาว นอกจากนย้ี ังเน้นในเรอื่ งการคน้ ควา้ ทดลอง เพ่ือ หาพันธ์ุพืชใหม่ๆ มาปลูก รวมท้ังการศึกษาเกี่ยวกับแมลงศัตรูพืช ตลอดจนทั้งพันธ์ุสัตว์ต่างๆ ทีเ่ หมาะสมแก่การเล้ียง และแนะนำใหเ้ กษตรกรนำไปปฏบิ ัตไิ ด้ด้วยตนเอง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงเห็นว่าการพัฒนาฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติ จะมีผล โดยตรงตอ่ การพฒั นาการเกษตร เพ่อื เป็นรากฐานของการพฒั นา เพื่อเปน็ รากฐานของการพฒั นา ประเทศในระยะยาว จึงทรงสนพระราชหฤทัยอยา่ งยิ่งต่อการเพ่ิมประสิทธิภาพการผลิตอยา่ งมาก ท่ีสุดและยาวนานทสี่ ุด โดยไม่กอ่ ใหเ้ กดิ ผลกระทบตอ่ ส่งิ แวดลอ้ ม จึงได้พระราชทานพระราชดำร ในการทำเกษตรแบบย่ังยืนแก่เกษตรกร ซ่ึงนอกจากจะเป็นการเพิ่มผลผลิตอย่างมีประสิทธิภาพ โดยไม่ต้องลงทนุ สูงแล้วยังไมท่ ำลายส่งิ แวดลอ้ มอกี ด้วย
5 ทฤษฎีใหม่ โ ครงการบรหิ ารจดั การ ท่ีดินเพื่อการเกษตร หรือ ทฤษฎีใหม่ เป็นโครงการ อันเนื่องมาจากพระราชดำริ ที่ จ ะ ช่ ว ย ใ ห้ ป ร ะ ช า ช น ใ น ชนบทมีชีวิตความเป็นอยู่ท่ี ดีในลักษณะ พอมีพอกิน ได้เร่ิมที่ วัดมงคลชัยพัฒนา ตำบลห้วยบง อำเภอเฉลิม พระเกียรติ จังหวัดสระบุรี เปน็ แห่งแรก เมือ่ ปี พ.ศ. ๒๕๓๕ มีแนวทางในการปฏิบัตดิ ว้ ยการแบง่ พ้ืนทถ่ี อื ครองทางการเกษตร ซง่ึ โดยเฉล่ยี แล้วเกษตรกรแตล่ ะครอบครัวจะมที ด่ี ินประมาณ ๑๐ – ๑๕ ไร่ ด้วยการแบ่งพ้ืนท่ี ท่มี ีอยอู่ อกเป็น ๓ ส่วน ส่วนแรกรอ้ ยละ ๓๐ หรือประมาณ ๓ ไร่ ขดุ เป็นสระสำหรับกักเกบ็ น้ำ ไว้ใช้ในการเพาะปลกู รวมทง้ั ใชเ้ ปน็ แหลง่ เพาะเลีย้ งปลาและสตั ว์น้ำอ่นื ๆ สำหรับนำไปบริโภคหรอื ขายเป็นการเพ่ิมรายได้ให้แก่ครอบครัว สำหรับส่วนท่ีสองร้อยละ ๖๐ หรือประมาณ ๑๐ ไร่ ใช้เป็นพ้ืนที่ทำการเกษตรด้วยการทำนาข้าว ๕ ไร่ และปลูกพืชไร่หรือพืชสวนตามแต่สภาพ ของดนิ รวมทัง้ สภาพอากาศ ๕ ไร่ นอกจากนี้ รอ้ ยละ ๑๐ ในส่วนทีส่ ามเปน็ เนอ้ื ทีป่ ระมาณ ๒ ไร่ จัดเป็นทีอ่ ยอู่ าศัย ทำทาง สำหรับเดนิ หรอื ใชก้ บั ยานพาหนะ ปลกู พืชผักสวนครัวเลี้ยงสตั ว์ รวมพ้ืนทที่ ้ังหมด ๑๕ ไร่ แบง่ เฉล่ีย สัดส่วนโดย พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานแนว พระราชดำริ อนั เปน็ หลักสำคัญย่งิ ในการดำเนนิ การ คอื วิธีการนส้ี ามารถใช้ปฏิบัติไดก้ ับเกษตรกร ผูเ้ ป็นเจ้าของทด่ี ินท่ีมีจำนวนนอ้ ยไม่เกนิ ๑๕ ไร่ เพือ่ ม่งุ เน้นใหเ้ กษตรกรมีความเพยี งพอในการ เลี้ยงตัวเองและครอบครัวในลักษณะพอมีพอกิน ทฤษฎีใหม่เป็นโครงการอันเน่ืองมาจาก พระราชดำริท่ีเกิดจากพระปรีชาสามารถอันเฉียบแหลมแห่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระมหากษัตรยิ ไ์ ทยไมเ่ คยทรงหยดุ นงิ่ ในพระราชดำริ และการระดมสรรพกำลังทง้ั ปวงเพอ่ื ความ ผาสุกของอาณาประชาราษฎร์
6 การปลกู ข้าว พ ระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงสนพระราชหฤทัยในเร่ืองข้างเป็น อยา่ งมาก เนอ่ื งจากขา้ วเป็นอาหารหลกั ของชาวไทย และเป็นสนิ ค้าออกท่ีสำคัญ ของประเทศไดม้ กี ารทำนาเพอื่ ปลกู ขา้ ว มาแต่โบราณ รวมทั้งปัจจุบันยังมีการ ปลกู ข้าวเป็นอาชพี จึงไดท้ รงหาวิธที ีจ่ ะ นำเทคโนโลยีสมัยใหม่มาใช้ในการ ทำนา เพื่อเป็นการเพิ่มผลผลิตและ คณุ ภาพให้สูงข้ึน โดยได้ทรงพระกรณุ า โปรดเกลา้ ฯ ใหจ้ ดั ทำแปลงนาขา้ วทดลองในสวนจติ รลดา ตัง้ แต่ปี ๒๕๐๔ เมอื่ ไดพ้ ันธข์ุ ้าวท่ดี ี มีผลผลิตสูง จะพระราชทานให้เกษตรกรนำไปปลูกเพื่อขยายพันธุ์ต่อไป รวมทั้งใช้เป็นพันธุ์ข้าว ในพระราชพิธจี รดพระนงั คลั แรกนาขวญั ด้วย นอกจากนาขา้ วในพนื้ ทีร่ าบแลว้ พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยูห่ ัว ยังมีพระราชดำริให้ศกึ ษา วิจัยเก่ียวกับพันธุ์ข้าวที่ใช้ปลูกบนภูเขาและหุบตลอดจนที่ดอน เน่ืองจากพ้ืนท่ีดังกล่าวมีความ แห้งแล้งต้องอาศัยน้ำฝนในการปลูกข้าวที่ปลูกจึงต้องมีสภาพที่แตกต่างจากนาข้าวในพื้นท่ีราบ ปัจจุบันข้าวท่ีใช้ปลูกเป็นพันธ์ุข้าวตามพระราชดำริล้วนแล้วแต่ให้ผลผลิตสูงคุณภาพดีและ เหมาะสมกบั สภาพดินฟา้ อากาศ ส่วนนาทีร่ า้ งเน่อื งจากประสบปญั หาฝนแลง้ นำ้ ท่วม ศัตรพู ืช รบกวน ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ดำเนินการตามโครงการพัฒนาเกษตรกรรมเบ็ดเสร็จ ตามพระราชดำริ เพอื่ แก้ไขปญั หาใหแ้ กร่ าษฎร สำหรบั เคร่อื งมอื ท่ใี ช้ในการทำนา พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ทรงคิดค้นหาวธิ ใี นการ พฒั นาใหท้ ันสมัยอย่างเชน่ เครอื่ งสบู นำ้ แตเ่ ดิมใช้ระหดั ไม้ซ่ึงช้าและล้าสมัย ได้พระราชทาน พระราชดำรใิ ห้ใชเ้ ครอ่ื งเรือติดท้ายแทน รวมทง้ั การนำเครอื่ งทุ่นแรงในการปลูกข้าวมาใช้ ได้แก่ ควายเหล็กที่ใช้ในการพรวนดิน เตรียมดินและปลกู ข้าว เครื่องนวดข้าว สีข้าว และอนื่ ๆ จากการ ทพี่ ระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยูห่ ัวทรงทมุ่ เทพระราชหฤทัยและพระราชดำริในการปรับปรงุ พนั ธข์ุ า้ ว ใหม้ คี ุณภาพและผลผลติ ทส่ี ูงขน้ึ ตลอดจนเหมาะสมกับสภาพภูมปิ ระเทศ รวมทง้ั พฒั นาการปลกู ในด้านอุปกรณ์เครื่องมือต่างๆ ให้ทันสมัย ทำให้ข้าวไทยได้รับการยอมรับจากนานาประเทศ เกษตรกรผ้ปู ลูกมีรายไดเ้ พิ่มสงู ขนึ้
7 พระบารมีแผ่ไพศาล พ ระบารมีและพระ มหากรุณาธิคุณแห่งพระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มิใช่ เพียงแต่แผ่ปกคลุมพสกนิกร ชาวไทย ที่ประกอบอาชีพใน ทางการเกษตรเท่าน้ัน ยังได้ แผ่ไพศาลไปยังพสกนิกรชาว ลาว ซงึ่ เปน็ ประเทศเพือ่ นบา้ น ท่ีมีความสัมพันธ์อันดีต่อกัน มาช้านาน โดยได้ทรงมีพระ มหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าฯ พระราชทานโครงการศนู ย์พฒั นาและบรกิ ารด้านการเกษตร ให้แก่ สาธารณรัฐประชาธปิ ไตยประชาชนลาวตามท่ี นายไกรสอน พมวหิ าร อดีตประธานประเทศลาว กราบบังคมทูลขอพระราชทาน โดยทรงมอบให้สำนกั งานคณะกรรมการพิเศษ เพือ่ ประสานงาน โครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดำริ ร่วมกับหน่วยงานต่างๆ ท่ีเก่ียวข้องท้ังฝ่ายไทยและลาว ดำเนนิ การ ดว้ ยการใชพ้ ้ืนท่บี รเิ วณบ้านนายาง เมืองนาทรายทอง แขวงนครเวยี งจันทน์ ซึง่ มีเน้ือท่ี ๓๒๕ ไร่ เป็นท่ีต้ังโครงการและพระราชทานนามว่าโครงการศูนย์พัฒนาและบริการการด้าน การเกษตรหว้ ยซอน-ห้วยซว้ั โครงการศูนย์พัฒนาและบริการการด้านการเกษตรห้วยซอน-ห้วยซ้ัว ที่พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว ได้พระราชทานแก่สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ตามท่ีอดีตประธาน ประเทศลาวได้ขอพระราชทานน้ันมีผลให้เกษตรกรชาวลาวในเขตพ้ืนท่ีโครงการมีฐานะความเป็น อยู่ที่ดีข้ึน เน่ืองจากสามารถพัฒนาอาชีพด้านการเกษตรให้มีผลผลิตสูงคุณภาพดีเป็นท่ีต้องการ ของตลาด เพราะมีแหล่งนำ้ เพือ่ การเกษตรอยา่ งพอเพียง ได้รับการสนับสนนุ พนั ธพุ์ ชื พนั ธุส์ ัตว์ ตลอดจนความรู้ที่สามารถนำไปปรับปรุงระบบการเกษตรให้ดีข้ึน มีเส้นทางการลำเลียงผลผลิต ออกสู้ตลาดท่ีสะดวก รวมท้ังได้มีการขยายความรู้ด้านการเกษตรแผนใหม่ตามพระราชดำริ จากศูนย์น้ีไปยังหมู่บ้านต่างๆ อีกเป็นจำนวนมาก พระบารมีแห่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ของราชอาณาจักรไทยได้แผ่ขยายไปยังพสกนิกรของประเทศเพ่ือนบ้าน ซึ่งชาวลาวทุกคนน้อม รำลกึ ในพระมหากรณุ าธคิ ุณเป็นอยา่ งยงิ่
8 พระเกยี รตคิ ุณอันย่ิงใหญ่ การพฒั นาแหลง่ นำ้ เพอ่ื การเพาะปลกู เป็นงานท่ีมคี วามสำคัญและเปน็ ประโยชน์อยา่ งยิ่ง ในการชว่ ยใหเ้ กษตรกรสามารถเพาะปลูกไดต้ ลอดปี พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หวั จงึ ทรงให้ความ สนพระราชหฤทัยเกยี่ วกบั การพฒั นาแหล่งน้ำเป็นอยา่ งมาก ซ่งึ โครงการพฒั นาแหล่งน้ำอันเน่ือง มาจากพระราชดำริ ได้กอ่ ให้เกดิ ประโยชนแ์ กป่ ระเทศชาติ และประชาชน เนือ่ งจากชว่ ยให้พนื้ ที่ เพาะปลูกมีน้ำใช้อย่างเพียงพอ ทำให้เศรษฐกิจของประเทศและฐานะความเป็นอยู่ของเกษตรกร ดีข้ึน โดยเหตุนี้ องค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ จึงได้ขอพระราชทานพระบรม ราชานุญาต ทูลเกลา้ ฯ ถวายเหรียญ อกรคิ อลา เมื่อวันท่ี ๖ ธนั วาคม ๒๕๓๘ ในฐานะทที่ รงเป็น พระมหากษัตริย์พระองค์แรกของโลก ท่ีทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจในการรักษาน้ำ เพ่ือความ มน่ั คงด้านอาหาร นอกจากในเรื่องของนำ้ แล้ว พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ยังทรงห่วงใยในเรื่องของดินทใ่ี ช้ ในการเพาะปลกุ จงึ ไดพ้ ระราชทานพระราชดำรเิ กย่ี วกบั การใชห้ ญา้ แฝกซง่ึ เปน็ พชื พน้ื บา้ นของไทย เพ่ือป้องกันการชะล้างพังทลายของดิน และอนุรักษ์ความชุ่มช้ืนไว้ในดิน ทำให้สภาพของดินมี ความเหมาะสมแก่การเพาะปลูก ธนาคารโลกจึงได้ทูลเกล้าฯ ถวายแผ่นเกียรติบัตร เพื่อสดุดี พระเกียรติคุณในฐานะที่ทรงมุ่งม่ันในการพัฒนาและส่งเสริมการใช้หญ้าแฝกในการอนุรักษ์ดิน
9 และน้ำ รวมทง้ั สถาบันวิจยั ข้าวระหว่างประเทศ ได้ทลู เกล้าฯ ถวายเหรยี ญสดุดี เม่อื วนั ท่ี ๕ มถิ ุนายน ๒๕๓๙ ในฐานะทท่ี รงทุ่มเทพระราชหฤทยั และพระราชดำริ ในการส่งเสริมการปลกู ขา้ ว ด้วยการปรับปรงุ พันธ์ุขา้ วใหม้ คี ุณภาพและผลผลติ ทส่ี ูงขน้ึ จนเป็นทยี่ อมรบั จากนานาประเทศ นอกจากน้ีแล้วโครงการต่าง ๆ อันเน่ืองมาจากพระราชดำริ พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ ัว ยงั ได้รบั การประกาศเกยี รตคิ ณุ และรางวัลดีเด่นหลายโครงการ อาทิ โครงการหลวง ได้รบั รางวัล แมกไซไซ ประจำปี ๒๕๓๑ ในฐานะองคก์ รดีเด่น สาขาส่งเสริมความเขา้ ใจอนั ดรี ะหวา่ งประเทศ โครงการพัฒนาและรณรงค์การใช้หญ้าแฝกในการอนุรักษ์ดิน ได้รับรางวัล อินเตอร์เนชั่นแนล เมอริท อวอร์ด ปี พ.ศ. ๒๕๓๖ จากธนาคารโลก กังหันชยั พฒั นา ได้รับรางวัลท่ี ๑ ประจำปี ๒๕๓๖ จากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแหง่ ชาติ โครงการสิ่งแวดล้อมแห่งสหประชาชาติ ทลู เกลา้ ฯ ถวายเหรียญทองเกยี รติยศด้านสง่ิ แวดล้อม เมอ่ื วันท่ี ๒ พฤศจกิ ายน ๒๕๓๕ นับเปน็ ความภาคภูมิใจ ของพสกนิกรชาวไทยทกุ หมู่เหลา่ เป็นอยา่ งย่ิง
นกั พัฒนาผู้ยง่ิ ใหญ่ ทฤษฎีการพฒั นา ศูนย์การพัฒนา นักพฒั นาผู้ยงิ่ ใหญ่ พ ระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงเป็นพระมหากษัตริย์พระองค์เดียวในโลก ที่ทรง ตรากตรำพระวรกายเพ่ือพสกนิกร ด้วยการบำเพ็ญพระราชกรณียกิจน้อยใหญ่ เพื่อความผาสุก ของอาณาประชาราษฎร์ ทรงมีพระราชหฤทัยมุ่งมั่นที่จะแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของราษฎร เสมอื นหนงึ่ เปน็ ความทุกขข์ องพระองค์ ทรงพระอจั ฉริยภาพในด้านตา่ งๆ พระราชทานโครงการ อันเน่ืองมาจากพระราชดำริในการพัฒนาชาติและประโยชน์สุขของทุกคน พระราชดำริเร่ิมแรก อันเป็นโครงการช่วยเหลอื ประชาชน เริ่มขึน้ ตง้ั แต่ปี พ.ศ. ๒๔๙๔ ทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ ให้ กรมประมงนำพันธุ์ปลาหมอเทศจากปีนัง ซึ่งได้รับจากผู้เช่ีวชาญด้านการประมงขององค์การ อาหารและเกษตรแหง่ สหประชาชาติเขา้ ไปเล้ียงในสระนำ้ พระทนี่ ่ังอมั พรสถานและต่อมาเมอ่ื วนั ที่ ๗ พฤศจกิ ายน ๒๔๙๕ ทรงพระราชทานพนั ธป์ุ ลาหมอเทศนี้แกก่ ำนันและผใู้ หญบ่ า้ นทว่ั ประเทศ นำไปเล้ียงแพรข่ ยายพนั ธ์ุแกร่ าษฎรในหมู่บา้ นต่างๆ เพอื่ จกั ไดม้ อี าหารโปรตนี รับประทานเพิม่ ขึ้น รวมทง้ั การจำหน่ายเพอื่ เป็นรายไดอ้ กี ด้วย โครงการทนี่ ับได้ว่าเป็น โครงการพัฒนาชนบท โครงการแรกเกดิ ข้ึนในปี พ.ศ.๒๔๙๕ โดย พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ วั ทรงพระกรณุ าโปรดเกล้าฯ พระราชทานรถบลูโดเซอรใ์ หแ้ กต่ ำรวจ ตระเวนชายแดนค่ายนเรศวร ไปสรา้ งถนนเข้าไปยังบา้ นหว้ ยมงคล ตำบลหนิ เหล็กไฟ อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เพ่ือให้ราษฎรสามารถสัญจรไปมาและนำผลผลิตทางการเกษตรออกมา จำหนา่ ยยงั ชมุ ชนภายนอกไดส้ ะดวกยิ่งขน้ึ จากนั้นในปี พ.ศ. ๒๔๙๖ ได้พระราชทานพระราชดำรสั ใหส้ ร้างอา่ งเก็บน้ำเขาเตา่ อำเภอหวั หนิ จังหวดั ประจวบครี ขี นั ธ์ เพ่อื บรรเทาความเดอื ดร้อนของ ราษฎรจากการขาดแคลนน้ำอุปโภค บริโภค ซ่ึงเป็นโครงการพระราชดำริทางด้านชลประทาน
11 แหง่ แรกของพระองค์ และนบั แตน่ ั้น มาโครงการอันเนื่องมาจากพระราช ดำริ เพ่อื พฒั นาประเทศชาตแิ ละขจัด ปัญหาความเดือดร้อนของประชาชน ได้เกดิ ข้นึ เกือบ ๓,๐๐๐ โครงการ จึง สมควรแล้วที่จะเทิดทูนพระองค์ทรง เปน็ พระมหากษตั รยิ น์ กั พฒั นาผยู้ ง่ิ ใหญ่ ในโลกปจั จบุ นั โครงการพระราชดำริ หรือท่ี เรียกว่าโครงการอันเนื่องมาจาก พระราชดำริ ทเ่ี รม่ิ มาตง้ั แตป่ ี ๒๔๙๕- ๒๕๕๖ มที ง้ั ส้นิ ๔,๔๔๗ โครงการ แบง่ ออกได้เป็น ๘ ประเภท คือ โครงการพัฒนาดา้ นการเกษตร สิ่งแวดล้อม สาธารณสุข สง่ เสรมิ อาชพี พฒั นาแหลง่ น้ำ สวสั ดิการสังคม คมนาคม ส่อื สาร และอ่ืนๆ ซงึ่ ทกุ โครงการเปน็ โครงการ ท่ีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงวางแผนพัฒนาและพระราชทานพระบรมราชานุญาต ใหร้ ฐั บาลรว่ มดำเนนิ การตามพระราชดำริ รวมทง้ั ไดท้ รงร่ามทรงงานกับหน่วยงานของรฐั อย่างไร กต็ าม ทรงมีพระราชดำรสั อย่เู สมอว่า พระราชดำริของพระองคเ์ ป็นเพียงขอ้ เสนอแนะเท่านัน้ เม่ือรัฐบาลได้ทราบแล้วควรไปพิจารณาวิเคราะห์กลั่นกรองตามหลักวิชาการก่อน หากมี ความเป็นไปได้และเป็นประโยชน์เห็นสมควรทำ เป็นเร่ืองที่ต้องพิจารณาตัดสินใจเอง และใน กรณีทว่ี เิ คราะหพ์ ิจารณาแล้วเหน็ ว่าไม่เหมาะสมกล็ ม้ เลกิ ได้ โครงการอนั เน่อื งมาจากพระราชดำริ พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัวทุกโครงการ โดยเฉพาะ อย่างยิ่งโครงการท่ีเกี่ยวกับการพัฒนาและอนุรักษ์แหล่งน้ำ ได้สร้างความเจริญรุ่งเรืองให้แก่ ประเทศชาติอยา่ งอเนกอนันต์ ก่อให้เกิดความสุขสันตร์ ม่ เย็นแกอ่ าณาประชาราษฎรท์ ุกหมูเ่ หล่า โดยถ้วนหน้า ดังจะเห็นไดจ้ ากการท่ี องค์การอาหารและเกษตรแหง่ สหประชาชาติ ไดท้ ลู เกล้าฯ ถวายเหรียญ อกรคิ อลา แดพ่ ระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั เม่ือวันที่ ๖ ธันวาคม ๒๕๓๘ เนอื่ งจาก ทรงเป็นกษัตริย์พระองค์แรกของโลก ท่ีทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจในการรักษาน้ำ เพื่อความ มัน่ คงด้านอาหาร พระบารมแี ละพระเมตตาธคิ ณุ แห่งพระองค์ ไดห้ ลง่ั ไหลสจู่ ติ ใจพสกนกิ ร สรา้ ง ความชุม่ ชืน้ สราญประดจุ ดังสายธารทใ่ี ห้ความช่มุ ฉ่ำแก่แผน่ ดิน
12 โครงการอันเน่อื งมาจากพระราชดำริ โ ครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดำริ พระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ที่เป็นการช่วยเหลือผู้ประสบความ ทุกขย์ ากเดือดรอ้ นตลอดจนการพฒั นาเพ่ือความเจริญของ บา้ นเมอื ง ท่ไี ดเ้ ริม่ มาตัง้ แต่ปี พ.ศ. ๒๔๙๔ จนถงึ ปัจจุบัน มีท้งั หมดเกือบ ๔,๔๔๗ โครงการ สามารถแบ่งออกได้เปน็ ๘ ประเภท คือ โครงการพฒั นาด้านการเกษตร ส่ิงแวดล้อม สาธารณสขุ สง่ เสรมิ อาชีพ พฒั นาแหลง่ นำ้ สวัสดกิ ารสังคม คมนาคม สือ่ สาร และอื่นๆ ซึ่งแต่เดิมมชี ่อื รยี กทีแ่ ตกตา่ ง กนั ไป ได้แก่ โครงการตามพระราชประสงค์ เปน็ โครงการ ท่ีทรงศึกษาทดลองปฏิบัติเป็นการส่วนพระองค์ เมื่อทรง แน่พระราชหฤทัยว่าโครงการนั้นๆ ได้ผลดีเป็นประโยชน์ แก่ราษฎรอย่างแท้จรงิ จึงโปรดเกล้าฯ ใหร้ ัฐบาลเข้ามารบั งานนัน้ ไปดำเนินการต่อไป สำหรบั โครงการหลวง เปน็ โครงการทีพ่ ระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอย่หู วั ทรงเจาะจงดำเนนิ การ เพอ่ื พฒั นาและบำรงุ รักษาตน้ น้ำลำธาร ในบริเวณป่าเขาทางภาคเหนือเพื่อบรรเทาอกุ ทกภยั ในท่ี ลมุ่ ลา่ ง รวมท้งั การพฒั นาชาวเขาใหอ้ ยู่ดีกนิ ดี เลิกการปลูกฝิ่นและตดั ไมท้ ำลายป่า หันมาปลกู พืช เศรษฐกจิ หมนุ เวยี นโดยมีตลาดรองรบั ทำให้ชาวเขาท่เี ขา้ มาอยูใ่ นโครงการหลวงมีฐานะความเป็น อยทู่ ด่ี ี ดว้ ยการปลูกพืชเมอื งหนาวแทนฝิ่น ปลกู บา้ นเรอื นอยู่อาศัยถาวร ทำใหก้ ารตัดไมท้ ำลายปา่ เพื่อทำไร่เล่ือนลอยหรืออยู่อาศัยหมดไป ก่อให้เกิดเศรษฐกิจที่ดีและมีความม่ันคงปลอดภัยแก่ ประเทศชาติ นอกจากน้ีแล้วยงั มีโครงการในพระบรมราชานุเคราะห์ หมายถึงโครงการท่ีพระบาทสมเด็จ พระเจา้ อยูห่ วั ไดพ้ ระราชทานข้อแนะนำและแนวพระราชดำรใิ หเ้ อกชนไปดำเนินการและโครงการ ตามพระราชดำรเิ ปน็ โครงการท่ีทรงวางแผน ทรงเสนอแนะให้รัฐบาลร่วมดำเนินการ ซง่ึ โครงการ พระราชดำรินีป้ ัจจบุ ันเรยี กว่า โครงการอนั เน่อื งมาจากพระราชดำริ ท่ีมีกระจายอย่ทู ว่ั ทกุ ภูมภิ าค ของประเทศ มลี ักษณะเปน็ โครงการพัฒนาดา้ นต่างๆ ทั้งในระยะสน้ั และระยะยาว โดยโครงการ ทกุ โครงการทเ่ี กิดจากพระราชดำริแห่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ ัว สามารถทำให้ราษฎรทุกหมู่ เหล่ามฐี านะความเปน็ อยทู่ ีด่ ี พ้นจากความทุกขย์ ากเดือดร้อน ตลอดจนภยั พิบัติต่างๆ และประเทศ ชาติมคี วามม่นั คงทางด้านเศรษฐกิจ
13 การทดลองเพ่ือการพัฒนา พ ระบาทสมเด็จพระเจ้า อยู่หัว ทรงพระราชดำริว่าถ้า หากกล่มุ เกษตรกรตา่ งๆ ทท่ี ำนา ข้าวมีเครื่องสีข้าวเป็นของตนเอง จะช่วยใหม้ ีรายไดเ้ พมิ่ ข้นึ จึงทรง พระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตั้ง โรงสีข้าวตัวอย่างข้ึนสวนจิตรลดา เพื่อหาวิธีการสีข้าวให้เสียหาย น้อยท่ีสุดและเก็บรักษาข้าวได้ นานท่ีสุด โดยพระราชทาน พระราชดำริในการสร้างเครื่องสีข้าวที่มีขนาดเล็กแต่มีประสิทธิภาพสูง สามารถแยกปลายข้าว และข้าวออกจากกันได้ จากน้ันพระราชทานให้กลุ่มเกษตรกรต่างๆ เพ่ือไปดำเนินงานในรูป สหกรณ์ บริการสีข้าวเปลือกให้แก่เกษตรกรที่เป็นสมาชิกภายในหมู่บ้านทำให้ต้นทุนการผลิต ลดตำ่ ลง เมื่อครงั้ ท่เี กิดภาวะน้ำนมดบิ ล้นตลาดในปี พ.ศ. ๒๕๑๒ เกษตรกรผเู้ ลีย้ งโคนมไดร้ บั ความ เดอื ดร้อนเปน็ อย่างมาก เน่อื งผลติ ไดเ้ กินความตอ้ งการของตลาด และน้ำนมดิบไมส่ ามารถที่จะ เกบ็ ไวไ้ ด้ พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอย่หู ัว จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตั้งโรงผลิตนมผงข้ึนใน สวนจิตรลดา เพ่ือรับซื้อน้ำนมดิบจากผู้เล้ียงโคนมมาแปรสภาพเป็นนมผงซ่ึงจะเก็บไว้ได้นาน และนอกจากนมผงแล้วยังผลติ นมเมด็ ทอฟฟนี่ ม นมข้นหวาน นมสดปราศจากไขมัน เนยแข็ง เนยสด ไอศกรีม และอน่ื ๆ ทใี่ ชน้ มเป็นวตั ถดุ ิบ ทำให้ปัญหาความเดอื ดร้อนของผู้เลย้ี งโคนม จาก การทีจ่ ำหน่ายน้ำนมดิบไมไ่ ดห้ มดส้นิ ไป นอกจากน้ีแล้ว พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ยังทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จัดต้ัง โรงผลติ นำ้ ผลไม้ขน้ึ ในสวนจิตรลดา เมือ่ ปี พ.ศ. ๒๕๓๓ เพ่อื ทดลองผลติ นำ้ ผลไม้ต่างๆ เป็นการ ช่วยเกษตรผปู้ ลกู ไมผ้ ลทม่ี ีผลไม้เหลือจากการจำหนา่ ยหรือจำหน่ายไม่ได้ราคาท่ีดี รวมทงั้ สง่ เสริม ให้ประชาชนมีนำ้ ผลไม้ท่ีมีคณุ ภาพดืม่ ในราคาที่ถูก ปัจจุบนั ความเดือดร้อนของเกษตรกรสว่ นใหญ่ ไดห้ มดสิ้นไป ท้งั น้ี เนื่องจากพระมหากรณุ าธิคุณและพระวจิ ารณญาณอันกว้างไกลแห่งพระบาท สมเด็จพระเจา้ อยูห่ ัว ผไู้ มท่ รงหยดุ นิง่ ในการช่วยเหลอื อาณาประชาราษฎร์
14 การพัฒนาประเทศ ก ารพัฒนาประเทศ โดยมีแผน พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เป็น กรอบกำหนดนโยบายและแนวทางซ่ึงได้ เรม่ิ มาต้งั แต่ปี พ.ศ. ๒๕๐๔ มสี ว่ นทำให้ เศรษฐกิจของประเทศไทย ขยายตัวได้ อย่างรวดเร็ว ระบบเศรษฐกิจและสังคม เปล่ียนแปลงไป ทงั้ ในแง่โครงสร้างการผลติ และรายได้ รวมทง้ั มาตรฐานชีวติ ความเป็น อยู่ แตอ่ ย่างไรกต็ ามผู้ท่อี ยูใ่ นชนบทห่างไกล และประกอบอาชีพเกษตรกรรมส่วนใหญ่จะยากจน เนื่องจากขาดความรู้และปัจจัยในการผลิต ขาดน้ำในการเพาะปลกู ขาดแคลนท่ีดินทำกนิ และดนิ ขาดความอดุ มสมบูรณ์ หากปลอ่ ยสถานการณ์ เช่นนม้ี ีอย่ตู ่อไป จะทำลายความมั่นคงของประเทศ ท้ังในด้านเศรษฐกจิ สังคม และการเมืองอย่าง ไม่มีทางหลกี เล่ียง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงทราบปัญหาเหล่าน้ีเป็นอย่างดี จากการเสด็จ พระราชดำเนินไปทรงเย่ียมราษฎรในทุกภูมิภาค โดยเฉพาะอย่างย่ิงในถ่ินทุรกันดารห่างไกล ความเจรญิ และคมนาคม จึงทรงมพี ระราชหฤทัยม่งุ มน่ั ท่จี ะแกไ้ ขปัญหาความเดอื ดรอ้ นของราษฎร ทมี่ ผี ลต่อการพฒั นาประเทศ โดยทรงเนน้ การพฒั นาใหเ้ กิดความพออยูพ่ อกนิ และพระราชดำริ แรกเรมิ่ ท่ีมีลักษณะเปน็ กจิ กรรม หรอื โครงการช่วยเหลอื ราษฎร ไดเ้ รมิ่ ตั้งแตป่ ี พ.ศ.๒๔๙๔ โดยได้ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานพนั ธุ์ปลาฃท่ที รงเลีย้ งไว้ในสระน้ำ ณ พระที่นง่ั อัมพรสถาน ใหแ้ กก่ ำนันผูใ้ หญ่บา้ นทัว่ ประเทศ เพอ่ื นำไปเล้ียงขยายพนั ธ์แุ จกจ่ายให้แก่ราษฎร จากน้ัน ทรงมีพระราชกรณียกิจเกีย่ วกบั การพฒั นา เพ่ือสรา้ งความเป็นอยู่ทด่ี ใี หแ้ ก่ราษฎร ในพน้ื ท่ตี ่างๆ ท่วั ประเทศ ทรงใชพ้ ระราชวงั ซึ่งเป็นท่ีประทับ เป็นทค่ี น้ คว้าทดลองงานทุกดา้ นที่ เกี่ยวกับการพัฒนา เพอ่ื ช่วยเหลอื ผูท้ ี่ประสบความทุกข์ยากเดอื ดรอ้ น ซ่ึงการชว่ ยดังกล่าวเปน็ ไป ในรปู แบบของโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดำริ มอี ยเู่ กอื บ ๔,๔๔๗ โครงการ ต่อมารัฐบาลได้ ตระหนักถึงความสำคัญและประโยชน์จากโครงการพระราชดำริ จึงได้วางระบบการดำเนินงาน สนองพระราชดำริ ในปี พ.ศ. ๒๕๒๔ เพอ่ื เปน็ แนวทางใหห้ นว่ ยงานตา่ งๆ ถอื ปฏบิ ตั ิ ซึง่ จากการท่ี พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัว ทรงมพี ระราชหฤทยั มุ่งมั่นในการชว่ ยเหลอื ราษฎรผยู้ ากไร้ และจาก พระราชดำริท่ีพระราชทานให้ผู้รับผิดชอบไปดำเนินการ นับเป็นประโยชน์ต่อประเทศชาติเป็น อยา่ งมาก
15 การพัฒนาชนบท พ ระบาทสมเด็จพระเจ้า อย่หู ัว ได้เสด็จพระราชดำเนินเย่ยี ม ราษฎรในชนบทท่ัวทุกภาคของ ประเทศ จึงทำให้ทรงทราบเป็น อย่างดีถึงปัญหาหลักที่สำคัญของ ชาวชนบท คอื การขาดแคลนความรู้ ความสามารถ ในเร่ืองพ้ืนฐานที่ จำเป็นต่อการดำรงชีวิต เฉพาะ อย่างยิ่งการขาดความรู้เกี่ยวกับการ ทำการเกษตรอยา่ งมีหลักวิชา ท้ังยงั ไมร่ จู้ กั ปรบั ปรุงรักษาคุณภาพของปจั จยั การผลิตท่ีสำคัญ เชน่ ดนิ ประกอบกับธรรมชาติแวดล้อม ท่มี ีผลต่อการผลติ ทางการเกษตร ตา่ งมสี ภาพเส่อื มโทรมลงตลอดเวลา เป็นผลให้การพฒั นาชนบท ท่ีผา่ นมา ไม่บรรลุตามเป้าหมายได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว จึงทรงมีพระราชดำริที่จะแก้ปัญหาของชนบท ด้วยวิธีการ ต่างๆ ตามลกั ษณะของปัญหาและสภาพทางกายภาพ ตลอดจนสงั คมจติ วทิ ยาแห่งชมุ ชนนนั้ ๆ เพอ่ื พฒั นาสภาพชนบทใหด้ ขี ึ้น และการทจี่ ะบรรลเุ ปา้ หมายดังกลา่ ว พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั ทรงยึดปัญหาสภาพแวดล้อมของแต่ละพ้ืนท่ีเป็นหลักรวมทั้งให้ผู้อยู่ในชุมชนน้ันๆแก้ปัญหาหลัก ของชนบท ด้วยการรวมตัวกันเปน็ กลุ่ม โดยเฉพาะการรวมตัวกันในรปู ของสหกรณ์ และหลักการ ที่สำคญั อีกประการหนงึ่ คอื การพฒั นานั้นจะตอ้ งทำอย่างค่อยเป็นคอ่ ยไป ไม่รบี ร้อนท่ีจะให้เกดิ ผลในทางความเจริญอยา่ งรวดเรว็ การพัฒนาชนบทตามโครงการพระราชดำริน้ัน เป็นกิจกรรมที่กระจายครอบคลุมอย่าง กว้างขวางในพ้ืนท่ีต่างๆ ท่ัวทุกภาคของประเทศ โดยเฉพาะพ้ืนที่ล้าหลังและทุรกันดาร จาก เปา้ หมายของการพฒั นาชนบท ที่ทรงม่งุ เน้นในเร่ืองพื้นฐานการพ่งึ ตนเองของประชาชนในชนบท ตลอดจนความรใู้ นการทจี่ ะใช้พัฒนาทรพั ยากรทม่ี อี ยู่ใหเ้ ป็นประโยชน์สูงสดุ ทำให้ชนบทภายใต้ โครงการพฒั นาตามแนวพระราชดำริ มีความเจรญิ กา้ วหนา้ และประชาชนพนื้ ทห่ี ่างไกลทุรกนั ดาร มสี ภาพชวี ติ ความเป้นอยทู่ ี่ดีข้ึนอย่างเหน็ ได้ชัด ทัง้ นี้ เปน็ ผลมาจากพระมหากรุณาธคิ ุณ และสาย พระเนตรที่ยาวไกลแห่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ ัว พระมหากษตั ริยท์ ี่ไม่เคยทรงหยดุ นง่ิ ในการ ชว่ ยเหลือประชาชน
16 ทฤษฎกี ารพฒั นา นับ แตท่ ี่ พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว ทรงขึ้นครองสิริ ราชสมบัติ จนถึงปจั จบุ นั เปน็ เวลา ที่ยาวนานกว่า ๖๐ ปี พระองคไ์ ด้ ทรงงานหนักอยา่ งต่อเนื่อง เพ่อื ยก ะดับคุณภาพชีวิตและสภาพความ เป็นอยู่ของพสกนิกรทุกหมู่เหล่า ให้ดีขึ้นทุกดา้ น โดยเฉพาะอยา่ งย่งิ ผู้ยากไร้ด้อยโอกาสในชนบทท่ีห่าง ไกล ดว้ ยโครงการอนั เน่อื งมาจาก พระราชดำริท่ีมมี ากเกอื บ ๔,๔๔๗ โครงการ ซึง่ ทุกโครงการมีแนวคิดและทฤษฎีในการปฏบิ ตั ทิ เี่ กิด จากพระอัจฉรยิ ภาพ พระปรชี าสามารถ ตลอดจนพระวสิ ัยทศั นอ์ ันกว้างไกล พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ทรงคิดค้นดดั แปลง ปรับปรงุ และแทไ้ ขให้การพฒั นาในด้าน ต่างๆ ตามโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ เป็นส่ิงท่ีดำเนินการไปได้โดยง่าย ไม่ยุ่งยาก ซับซอ้ น สอดคลอ้ งกับสภาพความเปน็ อยู่ และระบบนิเวศนโ์ ดยสว่ นรวมของธรรมชาติ ตลอดจน สภาพทางสังคมของชุมชนนน้ั ๆและนอกเหนอื ไปจากการทำทกุ อย่างให้งา่ ยแล้วการนำความรจู้ ริง ในความเป็นไปแห่งธรรมชาติ และกฎเกณฑ์ของธรรมชาติมาใช้ในการแก้ปัญหา นับว่าเป็น หลักการและแนวปฏิบัตทิ ่สี ำคัญยงิ่ อกี สว่ นหน่ึง แนวคดิ และทฤษฎกี าพัฒนาอนั เนอื่ งมาจากพระราชดำริ ในพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หวั ท่ถี อื วา่ เป็นลักษณะพเิ ศษที่นา่ สนใจอีกประการหนึ่ง คือ การมุ่งเน้นใหผ้ ลของการดำเนินงานนัน้ ตกถงึ มือประชาชนโดยตรงเปน็ เบอ้ื งแรก เพื่อให้สภาพการพออยพู่ อกนิ เป็นการปูพ้นื ฐานไปส่กู าร อยดู่ ีกินดีตอ่ ไปในอนาคต นอกจากน้แี ลว้ แนวความคดิ และทฤษฎีดงั กลา่ วยังมีลกั ษณะของการไม่ ตดิ ตำรา คอื เปน็ การพัฒนาท่ีอนุโลมและรอมชอมกับสภาพแหง่ ธรรมชาติ รวมทง้ั สภาพของสังคม จิตวทิ ยาแห่งชมุ ชน โดยเหตนุ ี้ โครงการอันเนอื่ งมาจากพระราชดำรทิ ุกโครงการ จึงประสบความ สำเรจ็ และยังประโยชน์ให้แกป่ ระชานชนอย่างแท้จริง
17 แนวทางการพฒั นา โ ครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชดำรขิ องพระบาทสมเด็จพระเจา้ อย่หู ัวเปน็ การดำเนินงาน ทม่ี ุ่งพัฒนาชนบท และช่วยเหลอื ประชาชนผยู้ ากไรท้ มี่ เี กือบ ๔,๔๔๗ โครงการ ไดย้ ังประโยชน์สขุ ให้แก่อาณาประชาราษฎร์เป็นอย่างมากซ่ึงการดำเนินงานตามโครงการอันเนืองมาจากพระ ราชดำริ เพ่ือช่วยเหลอื ประชาชนในชนบทใหม้ ีฐานะความเป็นอยู่ที่ดี จะทรงเนน้ การพฒั นาทีม่ ุ่ง สรา้ งความเขม้ แขง็ ในลักษณะการพ่งึ ตนเองเป็นสำคญั และเปน็ การชว่ ยเหลอื แก้ไขปญั หาเฉพาะ หนา้ ท่ีกำลังประสบอยู่ จากน้ันจะเป็นหนา้ ที่ของประชาชนท่ีจะชว่ ยเหลือตนเองตอ่ ไป สำหรับการที่จะทำให้ประชาชนพ่ึงตนเองได้นั้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงมี พระราชดำริวา่ การเสรมิ สร้างสงิ่ ทีช่ าวบา้ นชาวชนบทขาดแคลนและเป็นความตอ้ งการ คือ ความรู้ ในการทำเกษตร โดยใช้เทคโนโลยสี มัยใหม่เป็นสง่ิ ทเี่ หมาะสม จงึ ทรงให้จัดต้ังศูนยศ์ กึ ษาการพัฒนา อนั เนอื่ งมาจากพระราชดำริขนึ้ ในทุกภมู ิภาคของประเทศ เพื่อเปน็ สถานทศ่ี กึ ษา ทดลอง วิจัย และ แสวงหาแนวทางตลอดจนวิธีการพัฒนาด้านต่างๆ ท่ีเหมาะสมและสอดคล้องกับสภาพแวดล้อม แล้วนำไปแนะนำให้ชาวบ้านทำตาม ในลักษณะท่ีชาวบ้านสามารถนำไปปฏิบัติและได้ผลอย่าง แท้จริง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงให้ความสำคัญในเร่ืองภูมิปัญญาท้องถ่ิน ดังน้ัน การพัฒนาใดๆ ก็ตามจะเปน็ ลกั ษณะคอ่ ยเป็นค่อยไป โดยคำนึงถงึ สภาพทอ้ งถน่ิ น้นั ๆ เป็นหลกั ทุกครั้งที่เสด็จแปรพระราชฐาน จะมีพระราชกระแสรับส่ังสอบถามข้อมูลจากชาวบ้านโดยตรง ทรงรับฟงั ความคิดเห็นท่ีชาวบา้ นกราบบังคมทลู เสนอแนะและนำมาพจิ ารณา เน่ืองจากทรงพระ ราชดำรวิ า่ การพัฒนาใดๆ ก็ตาม จะต้องดำเนนิ การแลว้ ให้ชาวบา้ นรบั ได้ การพัฒนาควรเตรยี ม ความพรอ้ มของคนเสยี ก่อน โดยเหตุน้ี โครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชดำรทิ กุ โครงการ จงึ ประสบ ผลสำเรจ็ ในการพัฒนาชนบท และช่วยเหลือผยู้ ากไรอ้ ย่างแทจ้ ริง
18 หลักการของโครงการ ก ารดำเนินงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราช ดำรทิ กุ โครงการ เพอื่ ใหบ้ รรลวุ ัตถุประสงค์ พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว ทรงเน้นอยู่เสมอว่าโครงการของพระองค์ น้ัน เป็นโครงการท่ีมุ่งช่วยเหลือเพ่ือแก้ไขปัญหาเฉพาะ หน้าท่ีเป็นความเดือดร้อนของราษฎรท่ีกำลังประสบอยู่ นอกจากนี้แลว้ แล้วชว่ ยเหลอื หรอื การพัฒนา จะต้องเป็นไป ตามขั้นตอน ตามลำดับความจำเป็นและประหยัด ทั้งน้ี เพ่อื ให้มรี ากฐานทีม่ ่นั คงก่อน แลว้ จงึ ดำเนินการเพอื่ ความ เจริญก้าวหน้าในลำดับต่อๆ ไปเนื่องจากทรงมีพระราช ประสงคท์ ี่จะให้การช่วยเหลือ เป็นไปตามความจำเปน็ และความเหมาะสมกับสถานภาพ เพ่อื ที่ราษฎรเหลา่ นั้น จะสามารถพ่ึงตนเองได้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั ทรงเหน็ ว่าโครงการอนั เนื่องมาจากพระราชดำริ เพือ่ พระ ราชทานความช่วยเหลอื ราษฎร จะตอ้ งสรา้ งสิ่งทีช่ าวบ้านชนบทขาดแคลนและเปน็ ความตอ้ งการ น่ันกค็ ือ ความรู้ในการทำมาหากิน การทำเกษตรโดยใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ มีตัวอย่างของความ สำเร็จให้เห็นได้ศึกษา จึงพระราชทานพระราชดำริให้จัดตั้งศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเน่ืองมาจาก พระราชดำริข้ึนในทุกภูมิภาคของประเทศไทย เพ่ือเป็นสถานท่ีศึกษาทดลองวิจัยและแสวงหา ความรู้ทางเทคนิควิชาการสมัยใหม่ ท่ีราษฎรสามารถเข้าใจและนำไปปฏิบัติได้ในวิธีท่ีประหยัด เหมาะสม และสอดคล้องกับสภาพแวดล้อม ในการประกอบอาชีพของราษฎรท่ีอาศัยอยู่ในภูมิ ประเทศนัน้ ๆ โครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดำริ นอกจากจะมงุ่ เน้นในการช่วยเหลือและแก้ไขปัญหา เฉพาะหน้าท่เี ป็นความเดอื ดรอ้ นของราษฎร ในลักษณะของการเป็นไปตามขัน้ ตอน ตามลำดบั ความจำเปน็ และประหยดั รวมท้ังการชว่ ยเหลือเปน็ ไปในรูปแบบของการพ่ึงตนเองได้ ตลอดจน การให้ความร้ดู า้ นเทคโนโลยสี มัยใหม่ เพอ่ื นำไปพฒั นาการประกอบอาชีพเปน็ การเพิ่มรายไดแ้ ล้ว พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ยังได้ทรงเน้นในเร่ืองการอนุรักษ์และพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติ การสง่ เสริมและปรับปรุงคณุ ภาพสงิ่ แวดลอ้ มอกี ดว้ ย ดังนน้ั จงึ กลา่ วได้ว่า โครงการอนั เนื่องมาจาก พระราชดำริ ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทุกโครงการ ได้ยังประโยชน์สูงสุดให้แก่อาณา ประชาราษฎรแ์ ละความมัน่ คงของประเทศชาติอย่างแท้จรงิ
19 เพอื่ พงึ่ ตนเอง โ ครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดำริ ของ พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยูห่ วั ทกุ โครงการ ทีม่ ีอยเู่ กือบ ๔,๔๔๗ โครงการ เป็นทยี อมรบั ของประชาชน จนสามารถดำเนินการได้เป็น ผลสำเร็จ ท้งั นี้ เนอ่ื งมากจากการท่พี ระบาท สมเดจ็ พระเจา้ อยู่หวั ทรงปลกู แนวทางพระราช ดำริให้ประชาขนยอมรับและนำไปปฏิบัติอย่าง ตอ่ เน่ือง โดยให้วงจรการพฒั นาดำเนนิ ไปตาม ครรลองธรรมชาติ ดว้ ยการใหป้ ระชาชนรับรใู้ น สง่ิ ท่คี วรรูจ้ นสามารถนำไปปฏิบัตดิ ว้ ยตนเองได้ นอกจากนี้แล้ว ทรงสร้างความสนใจ แกป่ ระชาชน ด้วยการพระราชทานชือ่ โครงการ ท่ีแปลกชวนใหต้ ดิ ตามอยู่เสมอ เชน่ โครงการ แก้มลงิ โครงการแกลง้ ดิน โครงการเส้นทาง เกลือ โครงการนำ้ ดไี ลน่ ำ้ เสยี หรือโครงการปา่ เปียก เปน็ ต้น รวมทงั้ ทรงให้เวลาในการประเมนิ ค่า หรอื ประประเมนิ ผล ดว้ ยการศกึ ษาหาขอ้ มูลตา่ งๆ วา่ โครงการอนั เนอื่ งมาจากพระราชดำริของ พระองค์น้นั เปน็ อยา่ งไร สามารถนำไปปฏบิ ัติได้หรือไม่ ตลอดจนทรงใหศ้ ูนยศ์ กึ ษาการพัฒนาอนั เนื่องมาจากพระราชดำริ เปน็ แหล่งสาธิตทีใ่ หค้ วามรแู้ ก่ประชาชน แนวพระราชดำริท้ังหลาย แสดงถึงพระวิริยะอุตสาหะท่ี พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงทุ่มเทพระราชหฤทยั พระสติปัญญาความสามารถ ตรากตรำพระวรกายเพอ่ื ค้นคว้าหาแนวทาง การพฒั นา เพ่ือใหพ้ สกนกิ รทั้งหลายไดม้ ีความร่มเยน็ เปน็ สุข สามารถพึ่งตนเองได้ โดยไม่เปน็ ภาระแกส่ งั คมซงึ่ การพฒั นาทรพั ยากรบคุ คลของประเทศใหพ้ งึ่ ตนเองไดน้ ้ีเปน็ งานทห่ี นกั ทำไดย้ าก และตอ้ งใชเ้ วลานาน แตพ่ ระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หวั สามารถทรงทำได้บรรลสุ ำเร็จ นับเปน็ พระมหากรุณาธิคณุ อย่างย่ิง
20 การพัฒนาเพ่ือพึ่งตนเอง ก ารพัฒนาทั้งด้านอาชีพและ ส่งเสริมการเกษตร เพื่อให้เกษตรกร สามารถดำรงชีพอยู่ได้อย่างมั่นคงเป็น ปึกแผ่นตามโครงการอันเน่ืองมาจาก พระราชดำริทุกโครงการนั้น พระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงดำเนินการ แนะนำสาธิตให้ประชาชนดำเนินรอยตาม เบอื้ งพระยคุ ลบาท เปน็ ไปตามหลกั การ พฒั นาสงั คมและชมุ ชนอยา่ งแทจ้ ริง กลา่ วคอื ทรงม่งุ ช่วยเหลอื พฒั นาให้เกดิ การพง่ึ ตนเองไดข้ อง คนในชนบทเปน็ หลกั โดยไมท่ รงใช้วิธีการสัง่ การใหป้ ฏิบัตติ าม เพราะไมอ่ าจชว่ ยให้คนเหลา่ นน้ั พึง่ ตนเองได้ ทรงเนน้ ให้พง่ึ ตนเองและชว่ ยเหลอื ตนเองเปน็ สำคญั ดว้ ยการใช้หลกั การมสี ่วนร่วม ของประชาชน และหลกั สำคญั อกี ประการหนง่ึ คือ ทรงใช้หลกั ประชาธิปไตยในการดำเนินการ นอกจากน้ีแลว้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั ทรงยดึ หลักสภาพของท้องถิ่นเปน็ แนวทาง ในการดำเนินงานตามโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ เพราะทรงตระหนักดีว่าการเปลี่ยน แปลงใดๆ ที่ดำเนนิ การโดยฉบั พลัน อาจก่อให้เกดิ ผลกระทบตอ่ คา่ นยิ ม ความคนุ้ เคยและการ ดำรงชีพเป็นอย่างมาก โดยทรงเน้นว่าการพัฒนาจะต้องเป็นไปตามภูมิประเทศของภูมิศาสตร์ และภมู ิประเทศทางสงั คมศาสตร์ในสังคมวทิ ยา รวมท้งั ทรงมพี ระราชดำริที่สำคญั ประการหนงึ่ คอื การสร้างความแข็งแกร่งให้ชมุ ชน ดว้ ยการสรา้ งโครงสรา้ งพน้ื ฐานหลกั ท่จี ำเป็นตอ่ การผลติ รวมท้งั การส่งเสริมหรือสรา้ งเสริมสิ่งทชี่ าวชนบทขาดแคลน และเปน็ ความต้องการอยา่ งสำคญั คือ ความรู้ ดา้ นต่าง ๆ สำหรบั แนวทางในการปฏิบตั นิ ัน้ พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ วั ทรงเลอื กใชเ้ ทคนคิ วธิ กี าร ต่างๆ หลายประการ เพือ่ บรรลถุ งึ เป้าหมายท่ีทรงมุ่งหวงั ซงึ่ ไดแ้ ก่ การรวมกลุ่มประชาชนเพือ่ แก้ไข ปญั หาหลักของชมุ ชนซงึ่ เป็นรากฐานสำคัญประการหนง่ึ ของการพัฒนาพ่งึ ตนเอง การสง่ เสรมิ โดย กระต้นุ ผนู้ ำชุมชนให้เปน็ ผู้นำในการพัฒนา นอกจากนีแ้ ล้วการส่งเสรมิ การพัฒนาเพอ่ื พ่งึ ตนเองนน้ั จะต้องทำอยา่ งค่อยเป็นค่อยไป ไมร่ บี ร้อนท่ีจะใหเ้ กดิ ผลในทางความเจรญิ อยา่ งรวดเรว็ ซ่งึ การ พัฒนาชนบทหรือการพัฒนาทรัพยากรบุคคลของประเทศให้พ่ึงตนเองได้นี้เป็นหนักและท้าทาย ความสามารถ แตพ่ ระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ ัว ทรงสามารถทำให้บรรลผุ ลสำเร็จอย่างแทจ้ รงิ
21 เพอื่ ผ้ยู ากไร้ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อย่หู วั ทรงมพี ระมหากรณุ าธิคณุ ตอ่ พสกนกิ ร ทีป่ ระสบความทกุ ข์ ยากเดอื ดรอ้ นและยากไร้เสมอมา ทรงมพี ระราชดำริในการชว่ ยเหลอื เพื่อเป็นการบรรเทาความ เดือดร้อน และมีชีวิตความเป็นอยทู่ ี่ดขี ึ้น แต่การชว่ ยเหลอื ของพระองคจ์ ะต้องให้ราษฎร มสี ว่ น ในการช่วยเหลือตนเองด้วย โดยไม่คอยหวังพ่ึงรัฐบาลหรือผู้อื่นเพียงอย่างเดียว ทรงนำภาษิต มาเปรียบเทียบกบั การชว่ ยเหลือว่า เราไมค่ วรใหป้ ลาแก่เขา แต่ควรจะให้เบ็ดตกปลา และสอนให้ รู้จักวิธีตกปลาจะดีกว่า เนื่องจากพระองค์ทรงมีพระราชประสงค์จะให้ทุกคนยืนหยัดด้วยตนเอง และช่วยตนเองได้ สิ่งที่ทรงตระหนักดีถึงความต้องการของราษฎรที่อยู่ในท้องถิ่นทุรกันดารห่าง ไกล คือ น้ำที่ใช้ในการเพาะปลกู และน้ำดื่มน้ำใช้ จึงพระราชทานพระราชดำรใิ นการพัฒนาแหลง่ น้ำทว่ั ประเทศ เม่อื ครั้งที่ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อย่หู วั เสด็จพระราชดำเนินไปทรงเย่ียมราษฎรท่จี ังหวัด สกลนคร ทรงได้รับฎีกาจากผู้ใหญ่บ้านนาผางว่า หมู่บ้านนาผางและหมู่บ้านใกล้เคียงซ่ึงอยู่ใน หุบเขา ขาดแคลนน้ำดมื่ น้ำใชแ้ ละการคมนาคมไมส่ ะดวก จึงเสด็จพระราชดำเนินไปทอดพระเนตร ดว้ ยพระองคเ์ อง ซ่งึ ต้องเสด็จพระราชดำเนนิ ด้วยพระบาทไปตามทางแคบๆ ท่ลี ดเลยี้ วเป็นระยะ ทางเกอื บ ๓ กิโลเมตร เมื่อเสด็จฯ ไปถึงทรงมีพระราชดำรัสกบั ราษฎรในหมูบ่ า้ นถึงความเดอื ดร้อน ทไี่ ด้รบั ประกอบกับการทอดพระเนตรแผนที่เพื่อการตรวจสอบ และทรงปรกึ ษากับผทู้ ีต่ ามเสด็จ เก่ยี วกับการช่วยเหลือ ซึง่ ตอ่ มาบ้านนาผางตลอดจนหมูบ่ ้านใกล้เคยี งมีเส้นทางคมนาคมท่ีสะดวก
22 และแหล่งนำ้ สำหรบั การเพาะปลูก ตลอดจนการอุปโภคบริโภค ทำให้ชวี ิตความเป็นอยู่ของราษฎร ดีขนึ้ เปน็ อย่างมาก โครงการตา่ งๆ ที่พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หวั ทรงตัดสินพระราชหฤทยั ดำเนนิ การ เพอื่ เป็นการบรรเทาความทุกข์ยากของราษฎร จะทรงให้การสนับสนุนโครงการเหล่านั้นอย่างเต็มที่ โดยทรงปรึกษาหาข้อมูลจากผู้เช่ียวชาญก่อน แล้วจึงพิจารณาดำเนินโครงการ ท่ีทรงมีความ ชำนาญเปน็ อย่างมาก ไดแ้ ก่ โครงการสรา้ งแหล่งน้ำ โครงการทำบอ่ เล้ียงปลา โครงการส่งเสรมิ การ ปลูกพชื ทดแทนการปลูกฝน่ิ การเกษตรแบบผสมผสาน การอนุรักษด์ ินและน้ำด้วยการปลูกหญ้า แฝก และการเล้ียงสัตว์ โดยเฉพาะโครงการทฤษฎีใหม่อันเนื่องมาจากพระราชดำริ ได้ช่วยให้ เกษตรกรทีม่ ที ดี่ ินทำกินไม่มาก ไดใ้ ช้ที่ดนิ ในการทำนา ปลกู ไม้ล้มลกุ ไมผ้ ล พืชผกั สวนครวั และ เลี้ยงสัตว์ สามารถดำรงชีวิตในลักษณะพอมีพอกนิ ได้ตลอดไป ศนู ย์ศึกษาการพฒั นา ก ารดำเนินงาน โครงการ อันเนื่องมาจากพระราชดำริทุก โครงการ พระบาทสมเด็จพระเจ้า อยู่หัว ทรงเน้นให้การพัฒนาเป็น ตามข้ันตอน โดยจะต้องทำให้ ชุมชนมีความเข้มแข็งก่อนแล้วจึง มีการพัฒนาต่อไปเพ่ือให้ราษฎร สามารถพง่ึ ตนเองได้ ขณะเดยี วกนั ก็ต้องอนุรักษ์และพัฒนาทรัพยากร สิ่งแวดล้อม ส่งเสริมความรู้ เทคโนโลยีวชิ าการทนั สมยั พรอ้ ม ๆ กันไปด้วย อย่างไรก็ตามในการ
23 ดำเนนิ งานโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดำรนิ ้ัน จะตอ้ งคำนงึ ถงึ สภาพแวดลอ้ มทางภมู ิศาสตร์ และสังคมวทิ ยาของแตล่ ะทอ้ งถน่ิ ทม่ี คี วามแตกตา่ งกันดว้ ย พร้อมกบั ได้พระราชทานพระราชดำริ ใหจ้ ัดต้งั ศูนยศ์ กึ ษาการพฒั นาในภูมภิ าคต่างๆ รวม ๖ ศนู ย์ สำหรบั วัตถุประสงคข์ องศูนยก์ ารศกึ ษาการพัฒนาน้ี ได้แก่ การศึกษา ค้นควา้ ทดลอง วิจัย เพ่อื แสวงหาแนวทางและวิธีการพฒั นาในดา้ นตา่ งๆ ใหเ้ หมาะสมสอดคลอ้ งกับสภาพแวดลอ้ มที่ แตกตา่ งกัน เป็นศูนยก์ ลางการแลกเปลีย่ นส่ือสารระหวา่ งนักวิชาการ นักปฏบิ ัติและประชาชน เพ่ือ นำผลจากกาศกึ ษาค้นคว้าทดลองวิจัยทีไ่ ดผ้ ลแล้วไปใชป้ ระโยชน์ในพื้นที่จริง นอกจากน้ี ยงั เป็น แบบอย่างของการพัฒนาแบบผสมผสาน ทั้งในด้านการดำเนินงานและการบริหารท่ีเป็นระบบ ตลอดจนการประสานงานระหว่างหน่วยราชการต่างๆ รวมท้ังเป็นศูนย์บริการแบบเบ็ดเสร็จผู้ท่ี เขา้ ไปศกึ ษาดงู านภายในศนู ย์ จะทราบเรื่องทั้งหมดและสามารถนำไปปฏบิ ัติเองได้ ศูนย์การศกึ ษาการพัฒนาอนั เน่ืองมาจากพระราชดำริ ทั้ง ๖ ศนู ย์ ได้แก่ ศนู ยศ์ กึ ษาการ พฒั นาเขาหินซอ้ น จังหวัดฉะเชิงเทรา ศูนยศ์ ึกษาการพัฒนาหว้ ยทราย จังหวดั เพชรบุรี ศูนยศ์ ึกษา การพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบน จงั หวัดจันทบรุ ี ศูนยศ์ ึกษาการพฒั นาภูพาน จังหวดั สกลนคร ศูนยศ์ กึ ษา พัฒนาหว้ ยฮอ่ งไคร้ จังหวดั เชียงใหม่ และศูนย์ศึกษาการพฒั นาพิกุลทอง จังหวัดนราธวิ าส โดย แต่ละศูนย์มหี นา้ ทใี่ นการศึกษา ค้นควา้ ทดลอง วิจยั และสาธติ การพฒั นาท่ีดนิ ทำกนิ ฟนื้ ฟูสภาพ ป่าเสือ่ มโทรมและป้องกันไฟไหม้ปา่ ปรับปรุงสภาพแวดลอ้ มด้านการประมงชายฝัง่ ศึกษาและ ทดลองงานพัฒนาการเกษตรต่างๆ รวมทั้งการพัฒนาพื้นท่ีต้นน้ำลำธาร และการแก้ไขปัญหา ดนิ พรุในภาคใต้
24 ศูนยศ์ กึ ษาการพัฒนาเขาหินซ้อน พ ระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชดำเนินไปทรงเปิดศาลบวร ราชานุสาวรีย์ พระบาทสมเดจ็ พระปิน่ เกลา้ เจ้าอย่หู วั ณ ตำบลเขาหินซ้อน อำเภอ พนมสารคาม จงั หวดั ฉะเชิงเทรา เมือ่ วนั ที่ ๘ มกราคม ๒๕๒๒ ทอดพระเนตรสภาพ ดินบรเิ วณนน้ั ซึ่งส่วนใหญ่เปน็ ดนิ ทรายจดั มีการชะล้างพังทลายของดินในระดับสูง การปลูกพืชต่างๆ ไม่ได้ผลเท่าท่ีควร เนื่องจากดินขาดความอุดมสมบูรณ์ ราษฎรได้รับความเดือดร้อนเป็นอย่างมาก จึงทรงมี พระราชดำรใิ หใ้ ช้ท่ดี นิ จำนวน ๒๖๔ ไร่ ทีต่ ำบลเขาหนิ ซ้อน ซ่งึ มีผ้นู อ้ มเกล้าฯ ถวาย จดั ต้งั เปน็ ศนู ย์ศกึ ษาการพัฒนาเพ่อื ศึกษาวจิ ัยการปรบั ปรุงคุณภาพของดนิ การดำเนินงานของศูนย์ศึกษาการพัฒนาเขาหินซ้อนตามแนวพระราชดำริ ได้แก่ การพัฒนา ปรับปรุงดินการใช้วิธีธรรมชาติในการป้องกันศัตรูพืช การศึกษาความเหมาะสมของการใช้ ประโยชน์ท่ีดินในการปลูกผลไม้ต่างๆ การปลุกและการบำรุงรักษาป่าเพื่ออนุรักษ์ส่ิงแวดล้อม การสง่ เสรมิ และสาธิตการปลกู ไม้ผล สง่ เสรมิ การทำทุ่งหญ้าเลี้ยงสตั ว์ ปรบั ปรุงบำรุงพันธ์สุ ัตว์ จดั ตง้ั ธนาคารโค-กระบือ อบรมดา้ นการเพาะเล้ยี งสัตวน์ ้ำ และด้านศิลปาชีพ เพื่อเป็นอาชีพหลัก และอาชีพเสริม ศนู ยศ์ ึกษาการพฒั นาเขาหนิ ซอ้ น อำเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชงิ เทรา ท่ีจดั ตงั้ ขน้ึ ตาม พระราชดำรพิ ระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หวั เพ่อื แกไ้ ขปัญหาความเดือดร้อนของราษฎร เกีย่ วกับ การเพาะปลกู ไม่ไดผ้ ล เน่ืองจากดินมสี ภาพเปน็ ดินทรายขาดความอดุ มสมบรู ณ์ ได้พลกิ ฟนื้ ดินใน จังหวัดฉะเชงิ เทราและจงั หวดั ต่างๆ ในภาคตะวนั ออก ทั้งในดา้ นการเลย้ี งปศุสตั ว์ เลย้ี งปลาและ สตั ว์น้ำอื่นๆ ตลอดจนงานจกั สานและทอผ้าทเ่ี ปน็ หตั ถกรรมพนื้ บา้ นทำใหร้ าษฎรซง่ึ เคยมฐี านะ ยากจนกลบั มชี ีวิตความเปน็ อยู่ทีด่ ขี น้ึ ทัง้ นี้ เป็นเพราะมหากรณุ าธิคณุ แห่งพระบาทสมเด็จพระเจ้า อยู่หัว ท่ีได้พระราชทานพระราชดำริในการแก้ไข เพ่ือเป็นการแก้ปัญหาความเดือดร้อนของ ราษฎร
25 ศนู ยก์ ารศึกษาพฒั นา หว้ ยทราย บ ริเวณเขตพระราช นเิ วศน์มฤคทายวนั ตำบลสาม พระยา อำเภอชะอำ จังหวดั เพชรบุรี ซึ่งพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวพระราชทานให้ เป็นทีห่ ลวงเมื่อปี พ.ศ. ๒๔๖๖ เป็นพ้ืนที่ที่อุดมสมบูรณ์ไปด้วย ป่าไม้และสัตว์ป่านานาชนิด โดยเฉพาะอยา่ งยิง่ เน้ือทราย จึงไดช้ อ่ื วา่ หว้ ยทราย ต่อมา ราษฎรได้เข้ามาอยู่อาศัยและ ทำกินโดยบุกรุกแผ้วถางป่าเพื่อทำไร่เลื่อนลอย ทำให้ป่าไม้ท่ีอุดมสมบูรณ์ถูกทำลายจนเกือบ หมดส้นิ ไป เกิดปญั หาฝนไม่ตกต้องตามฤดูกาล มลี กั ษณะเปน็ พ้นื ที่อับฝน ดินขาดการบำรงุ รกั ษา จนเสอื่ มคณุ ภาพเพาะปลูกอะไรไมไ่ ด้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชดำเนินไปทอดพระเนตรและรับส่ังว่า หาก ปลอ่ ยทง้ิ ไวจ้ ะกลายเปน็ ทะเลทรายในท่ีสุดจึงได้พระราชทานพระราชดำริให้พฒั นาพนื้ ทแ่ี ห่งน้เี ปน็ ศนู ยศ์ กึ ษาการพัฒนาปา่ ไม้อเนกประสงค์ โดยใหร้ าษฎรทเี่ ขา้ ทำกินอยู่เดมิ ได้มีสว่ นร่วมในการดแู ล รักษาป่า ใชป้ ระโยชน์จากป่าด้วยการไม่ทำลายปา่ อีกตอ่ ไปการป้องกนั ไฟป่าระบบปา่ เปียก รวมทง้ั ให้มีการศึกษารูปแบบการพัฒนาเกษตรกรรมควบคู่ไปกับการปลูกป่า เพื่อให้ราษฎรสร้างรายได้ จากผลผลติ ในปา่ ดว้ ยการเผาถา่ น เล้ยี งสตั ว์ และการเพาะปลกู พืชชนดิ ต่างๆ เมื่อได้พระราชทานพระราชดำริแล้ว ศูนย์ศึกษาพัฒนาห้วยทรายอันเน่ืองมาจาก พระราชดำริ จงึ ไดเ้ กิดขนึ้ และไดเ้ รมิ่ ดำเนินการตง้ั แตว่ ันท่ี ๕ เมษายน ๒๕๒๖ ด้วยการฟนื้ ฟสู ภาพ ป่าเส่อื มโทรมใหก้ ลับสสู่ ภาพเดิม ก่อสรา้ งอา่ งเกบ็ นำ้ พรอ้ มระบบส่งนำ้ การจัดระบบการใช้ทดี่ นิ และการจดั สรรทีอ่ ย่อู าศัย การส่งเสรมิ อาชพี แก่ราษฎรในการปลกู พชื แบบผสมผสานควบคู่ไปกับ การเลยี้ งสัตว์ การเพาะเล้ยี งและขยายพนั ธ์ุสัตว์ปา่ ซงึ่ ขณะน้ีไดม้ ีการปล่อยเนอื้ ทราย เกง้ ละออง ละมั่ง กลับคนื สู่ปา่ ธรรมชาติแล้ว ปจั จุบันศูนยศ์ ึกษาพฒั นาห้วยทรายอันเนอ่ื งมาจากพระราชดำริ พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอย่หู ัว ไดช้ ว่ ยพลกิ ฟ้นื ดินท่แี หง้ แล้งให้กลบั สู่ความชมุ่ ชนื้ และความอดุ ม สมบรู ณข์ องปา่ ไมเ้ หมือนดงั เชน่ ในอดีตทผี่ า่ นมา
26 อ่าวค้งุ กระเบน เ ม่อื ครั้งท่ี พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยูห่ ัวเสด็จพระราชดำเนิน ไปประกอบพิธีเปิดพระบรมราช นุสาวรีย์สมเด็จพระเจ้าตากสิน มหาราช ทจ่ี ังหวัดจนั ทบรุ ี วันที่ ๒๘ ธนั วาคม ๒๕๒๔ ไดท้ อด พระเนตรเห็นพ้ืนท่ีบริเวณอ่าว คุ้งกระเบน ซ่ึงเป็นแหล่งการ ประมงใหญ่แห่งหน่ึงของจังหวัด จันทบุรีมีสภาพเส่ือมโทรม ป่า ชายเลนถูกบุกรุกทำลายทรัพยากรสัตว์น้ำลดลง ราษฎรได้รับความเดือดร้อน จึงพระราชทาน พระราชดำริในการแก้ไข และได้มีการจัดตั้งศูนย์การศึกษาการพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบน อันเน่ือง มาจากพระราชดำริ ทบ่ี รเิ วณอา่ วคุ้งกระเบน ตำบลสนามไชย อำเภอท่าใหม่ จงั หวัดจนั ทบรุ ี เพือ่ ดำเนนิ การ ศนู ย์ศกึ ษาการพฒั นาอ่าวคงุ้ กระเบนท่จี ัดต้ังขึ้น มีหนา้ ที่ในการศึกษา ค้นคว้า ทดลองและ สาธิตการพัฒนาปรับปรุงสภาพแวดล้อมด้านการประมงชายฝั่ง เพื่อยกระดับฐานะความเป็นอยู่ อาชพี และรายไดข้ องราษฎร ในพืน้ ที่บริเวณอ่าวคุ้งกระเบนและชมุ ชนโดยรอบให้สงู ข้นึ รวมทง้ั การ อนรุ ักษส์ ภาพแวดล้อมและทรพั ยากรธรรมชาติ โดยไดม้ ีการสง่ เสรมิ การเลย้ี งกุง้ ทะเล กุง้ กุลาดำ และการเลี้ยงหอย การปลกู ไม้ผล ไม้ประดบั การเล้ียงปศสุ ตั ว์ การปลูกปา่ ชายเลน การเผยแพร่ ความรู้ในด้านการพัฒนาและอนุรักษ์ดิน รวมท้ังการส่งเสริมให้เกษตรกรรวมตัวกันจัดตั้งเป็น สหกรณเ์ พ่อื สรา้ งอำนาจการตอ่ รองดา้ นการตลาด จากพระราชดำรขิ อง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอย่หู วั เพือ่ พฒั นาดา้ นอาชีพการประมงและ การเกษตรในเขตพื้นที่ชายฝ่ังของจังหวัดจันทบุรี ด้วยการจัดต้ังศูนย์ศึกษาการพัฒนาอ่าว คงุ้ กระเบน ทำให้ราษฎรทอ่ี าศัยอย่ใู นพ้นื ทอี่ า่ วคงุ้ กระเบน มีอาชีพทม่ี ัน่ คง รายได้ที่แนน่ อนฐานะ ความเปน็ อย่ทู ด่ี ขี ้นึ สภาพป่าชายเลนท่ีถกู ทำลายกลับสมบูรณเ์ หมอื นดงั เดิม ธรรมชาตแิ ละสภาพ แวดล้อมสวยงามเหมาะการทอ่ งเทีย่ ว อันเป็นผลดีตอ่ เศรษฐกิจและสงั คมเปน็ อย่างมาก นบั เปน็ พระมหากรณุ าธิคุณ
27 ศูนยศ์ ึกษาการพฒั นา หว้ ยฮอ่ งไคร้ จ ากการท่ีได้มกี ารบกุ รกุ ทำลายป่าไม้ เพ่อื บุกเบิกพ้ืนที่ทำกินหรือลักลอบตดั ไม้ เพอื่ ปอ้ น โรงงานอุตสาหกรรมและเผาถ่าน เป็นสาเหตุสำคัญท่ีทำให้พ้ืนท่ีต้นน้ำลำธารทางภาคเหนือของ ประเทศ ตกอยู่ในสภาพเส่ือมโทรม ก่อให้เกิดผลเสียหายอย่างใหญ่หลวง ซึ่งพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว ทรงมีความห่วงใยเป็นอยา่ งมาก และไดพ้ ระราชทานพระราชดำรใิ นการแกไ้ ข ดว้ ย การจัดตงั้ เป็น ศนู ยศ์ กึ ษาการพัฒนาหว้ ยฮอ่ งไคร้ ณ บรเิ วณพน้ื ที่ปา่ ขนุ แม่กวง อำเภอดอยสะเก็ด จังหวดั เชียงใหม่ โดยมีพระราชประสงคท์ จ่ี ะใหศ้ ูนยท์ จ่ี ดั ตงั้ ขนึ้ น้ี เป็นศนู ยก์ ลางในการศกึ ษาเพ่ือ หารปู แบบการพัฒนาทเ่ี หมาะสม สำหรับการอนุรกั ษพ์ ืน้ ท่แี หล่งตน้ น้ำลำธาร ขณะเดยี วกนั กใ็ ห้ ผทู้ ี่อยใู่ นบรเิ วณน้ีไดร้ บั ประโยชนจ์ ากการทำกนิ ศูนยศ์ กึ ษาการพัฒนาห้วยฮอ่ งไคร้ อนั เนื่องมาจากพระราชดำริ ไดเ้ ร่มิ ดำเนนิ การมาตง้ั แตป่ ี พ.ศ. ๒๕๒๕ โดยมหี น้าท่ใี นการศกึ ษา ค้นคว้า ทดลอง วิจยั และแสวงหาแนวทาง ตลอดจนวธิ ีการ พฒั นาดา้ นตา่ งๆ ที่เหมาะสมสำหรับการปรับปรุงต้นนำ้ ลำธาร แล้วนำไปเผยแพรใ่ หร้ าษฎรนำไป ปฏบิ ตั ติ อ่ ไป ซง่ึ งานท่ีส่วนราชการตา่ งๆ เขา้ ไปร่วมปฏบิ ัติ ได้แก่ การพัฒนาแหลง่ น้ำและปา่ ไม้ การเกษตรแบบประณตี การเลยี้ งปศสุ ัตวแ์ ละโคนม การประมง การพัฒนาทดี่ ิน และการส่งเสริม การเกษตรอุตสาหกรรม โดยศนู ยศ์ กึ ษาการพฒั นาหว้ ยฮ่องไคร้ มีศนู ยส์ าขาประกอบดว้ ย ศนู ย์ บรกิ ารพฒั นาและขยายพันธุไ์ มด้ อกไม้ผล โครงการพฒั นาเบ็ดเสรจ็ ลุ่มนำ้ สาขาแม่น้ำปิง โครงการ พฒั นาพนื้ ที่ป่าขนุ แมก่ วง และโครงการพฒั นาดอยตุง
28 ศูนยศ์ ึกษาการพัฒนาห้วยฮ่องไคร้ ทพ่ี ระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หวั พระราชทานพระราช ดำรใิ นการจดั ต้ังนบั วา่ เปน็ ศูนยก์ ลางในการสาธิต อบรมและเผยแพร่ความรู้แกท่ ุกคน ทางดา้ น รูปแบบของการพฒั นาพ้ืนท่ีป่าต้นน้ำลำธารท้ังในด้านอนุรักษ์พัฒนาและใช้ประโยชน์การส่งเสรมิ อาชีพทางการเกษตรแก่ราษฎรในพ้ืนท่ี ด้านการเพราะปลกู เลยี้ งสตั ว์ และการทำอตุ สาหกรรม การเกษตร ทำให้ราษฎรมฐี านะความเป็นอยู่ที่ดีและไม่ทำลายปา่ ไม้ เพราะปา่ ไมใ้ ห้ประโยชน์แก่ ทกุ คน ศนู ยศ์ ึกษาการพัฒนาห้วยฺฮอ่ งไคร้ จึงเปน็ พระราชดำรหิ น่งึ ในการอนุรกั ษ์ธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม ควบคู่ ไปกับการช่วยเหลือพสกนิกรของพระองค์ พระมหากรุณาธิคุณท่ีทรงมีต่อ อาณาประชาราษฎร์เป็นส่งิ ทที่ กุ คนต้องสำนกึ และจดจำตลอดไป ศนู ย์ศกึ ษาการพัฒนาพกิ ุลทอง จ ากการทพี่ น้ื ท่ีส่วนใหญข่ องจังหวดั นราธิวาส เปน็ ท่ีลมุ่ ตำ่ มีนำ้ ขังตลอดปแี ละมีสภาพเป็น ดนิ พรุ เมือ่ ระบายน้ำออกจะแปรสภาพเปน็ กรดจัด เพราะปลกู อะไรไมไ่ ด้ผล ทำใหร้ าษฎรมีฐานะ ความเปน็ อยูท่ ่ียากจนและประสบความเดือดรอ้ นเปน็ อย่างมาก เม่ือพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ ัว ทรงทราบและเสดจ็ ไปทอดพระเนตรสภาพพื้นท่ี ดังกลา่ ว จงึ ทรงมพี ระราชดำริทจ่ี ะแก้ไขด้วยการ ปรับปรงุ ดนิ พรุ ท่ไี มส่ ามารถใชป้ ระโยชนอ์ ะไรใหใ้ ชป้ ระโยชน์ได้อยา่ งเตม็ ท่ี พรอ้ มกบั ได้มพี ระราช
29 กระแสรบั สงั่ ใหพ้ จิ ารณาพัฒนาพื้นทีด่ ินพรุ รวมท้ังการพฒั นาชีวิตความเป็นอยขู่ องราษฎรใหด้ ขี ้นึ จึงได้มกี ารจัดต้ังศูนย์ศกึ ษาการพฒั นาพกิ ลุ ทองขึน้ เม่อื วนั ที่๖มกราคม๒๕๒๕ที่ตำบลกะลุวอเหนอื อำเภอเมือง จังหวดั นราธวิ าส สำหรบั ศนู ยศ์ กึ ษาการพัฒนาพกิ ลุ ทอง อันเน่ืองมาจากพระราชดำริ นอกจากจะมหี นา้ ทใี่ น การศึกษาและพัฒนาที่ดินท่ีมีปัญหาในพื้นท่ีป่าพรุ ให้สามารถนำมาใช้ประโยชน์ทางการเกษตร และอน่ื ๆ แลว้ ยงั เป็นศูนย์กลางการฝึกอบรมพัฒนาอาชพี ทง้ั ดา้ นการเกษตรและศลิ ปหัตถกรรม ตลอดจนการพัฒนาสภาพความเป็นอยู่ทางด้านเศรษฐกิจและสังคมของหมู่บ้านต่างๆ ให้ดีข้ึน ซ่งึ การดำเนนิ การไดแ้ ก่ การปรับปรุงแก้ไขสภาพดินและนำ้ ทีมปี ญั หาในพนื้ ทพ่ี รุ การฟืน้ ฟสู ภาพ ป่าไม้ การส่งเสรมิ การเลี้ยงปลาน้ำจดื ในกระชงั การเลี้ยงสตั ว์ การปลูกพชื อาหารสตั ว์ การปลกู ขา้ ว ยาง ไมด้ อกไม้ประดับ พชื ผักตา่ งๆ และไม้โตเร็ว เมื่อได้มกี ารศึกษา วิจยั และทดลองจนไดผ้ ลแลว้ จึงแนะนำให้ราษฎรนำไปปฏบิ ตั ิ การดำเนินงานของศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทอง ที่ผ่านมาได้ทำให้ดินพรุ ซ่ึงเป็นดินท่ี เพาะปลูกอะไรไมไ่ ด้ กลบั สามารถใชป้ ระโยชนท์ างดา้ นการเกษตรและอน่ื ๆ ได้ ชว่ ยให้ราษฎร ซ่ึงเคยยามจนกลับมีฐานะความเป็นอยู่ดีขึ้น จึงเป็นสิ่งแสดงให้เห็นประจักษ์อย่างเด่นชัดถึง พระราชหฤทยั แห่ง พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยูห่ วั ท่ีทรงมุง่ มัน่ ผูกพนั ในทกุ ขส์ ุขของราษฎร ทรง ช่วยเหลือชาวชนบทท่ียากไร้ ดว้ ยการพลกิ ผนื ดนิ ทไี่ ร้ประโยชน์ใหก้ ลบั มปี ระโยชน์ จากพระปรีชา สามารถอันสูงเลิศที่บ่งบอกถึงพระอัจฉริยภาพ ตลอดจนพระวิริยะอุตาสาหะที่ทรงทุ่มเท พระสติปัญญาตรากตรำพระวรกาย เพื่อค้นคว้าหาแนวทางในการแก้ไขปัญหาความเดือดร้อน ของอาณาประชาราษฎร์ นับเปน็ พระมหากรณุ าธิคณุ อนั ใหญห่ ลวงหาทส่ี ุดมไิ ด้
30 การเลี้ยงสัตว์ พ ระบาทสมเด็จพระเจ้า อยหู่ ัว ทรงสนพระราชหฤทัยในกิจการ เ กี่ ย ว กั บ ก า ร เ ก ษ ต ร ใ น ทุ ก ด้ า น รวมท้ังดา้ นปศสุ ตั ว์ ทกุ ครัง้ ที่เสดจ็ พระราชดำเนินเย่ียมราษฎร ใน ท้องถ่ินทุรกันดารห่างไกลจากการ คมนาคม จะมีพระราชดำริเก่ียวกบั การเลย้ี งสตั ว์ ทง้ั ในด้านปศสุ ตั วแ์ ละ สัตวป์ ีก พรอ้ มทั้งพระราชทานพันธ์ุ ของสตั วใ์ หร้ าษฎรนำไปเลีย้ งเพ่อื ขยายพันธุ ์ เนือ่ งจากทรงเหน็ ว่าในพน้ื ทท่ี เ่ี พาะปลูก ควรจะเล้ียง สตั วค์ วบค่กู ันไปด้วย เพราะมลู ของสตั ว์สามารถใชใ้ นการปรับปรงุ บำรุงดนิ ซ่ึงจะชว่ ยให้ผลผลิต ทางดา้ นการเกษตรมีปริมาณเพม่ิ ข้ึน และหากมีมลู สัตวม์ ากเพียงพออาจจะนำไปหมกั เพือ่ เป็นก๊าซ ชีวภาพ สำหรับใชเ้ ปน็ พลงั งานแสงสวา่ งและความรอ้ นภายในบา้ นไดอ้ ีกดว้ ย นอกจากนแ้ี ล้ว ในพน้ื ที่บางแห่ง มีพื้นทีส่ ำหรบั การเพาะปลูกนอ้ ย หรอื ไมเ่ หมาะสมแกก่ าร เพาะปลูกพืช พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยูห่ วั ทรงมพี ระราชดำรใิ ห้ดำเนินการในลักษณะการพฒั นา การเล้ียงสตั ว์ทกุ รปู แบบ เช่น โครงการพฒั นาการเล้ียงสตั ว์ท่ีจงั หวัดแมฮ่ อ่ งสอน เป็นตน้ หรอื บางแห่งมพี ้นื ทม่ี าก แต่ดนิ ไมด่ ีเพาะปลกู อะไรไมไ่ ดผ้ ล จงึ ทรงมพี ระพระราชดำริให้ปรบั ปรุงจดั ทำ เปน็ ทงุ่ หญ้าสาธารณะสำหรบั เลี้ยงสัตว์ เพ่ือใหเ้ กษตรกรใชเ้ ล้ยี งสตั วร์ ว่ มกันโดยพยายามทำพื้นทที่ ่ี ซ่ึงไร้ประโยชน์ในด้านการเพาะปลูก ให้เกิดประโยชน์ในการเลี้ยงสัตว์มากท่ีสุด ซ่ึงจะทำให้ เกษตรกรอยไู่ ดแ้ ละมีชีวิตท่ดี ีข้นึ โครงการพัฒนาการเล้ียงสัตว์ อันเนื่องมาจากพระราชดำริ ซึ่งมีทั้งการสาธิตการเล้ียง การส่งเสริมให้เกษตรกรรู้จักการปลูกพืชอาหารสัตว์ การให้บริการด้านพันธุ์สัตว์ การป้องกัน กำจดั โรค รวมทั้งการแจกจ่ายสตั ว์พนั ธ์ุดีใหแ้ กเ่ กษตรกรตลอดจนการให้เชา่ ซอ้ื โค-กระบอื เพือ่ ใช้ แรงงงานในการเพาะปลูก ได้ยังประโยชนใ์ หแ้ กเ่ กษตรกรอย่างมากมายมหาศาล ทำใหเ้ กษตรกร มีพนั ธส์ุ ัตว์ที่ดีนำไปเลยี้ งและขยายพันธ์ุ เพื่อการบรโิ ภคในครัวเรอื นและนำไปจำหน่ายเป็นรายได้ รวมทั้งการพัฒนาการเลี้ยงสัตว์ควบคู่ไปกับการเพาะปลูก ซึ่งพระราชดำริแห่ง พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว ในด้านการพัฒนาการเลี้ยงสัตว์ ได้ช่วยเหลือเกษตรกรรายย่อยหรือเกษตรกรที่ ยากจน ใหม้ ฐี านะความเป็นอยทู่ ดี่ ขี ึ้นเปน็ อย่างมาก
31 การเล้ียงโคนม พ ระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัว ทรงสนพระราชหฤทยั เกีย่ วกบั การเล้ยี งโคนมเป็นอยา่ งมาก เนื่องจากนมเป็นอาหารท่ีสำคัญอย่างหนึ่งท่ีคนส่วนใหญ่นิยมบริโภค และในอดีตท่ีผ่านมา ประเทศไทยต้องเสียเงินมาจากต่างประเทศเป็นจำนวนมาก เนื่องจากยังไม่มีการเลี้ยงโคนมใน ประเทศไทยอย่างจริงจัง จึงทรงมีพระราชดำริที่จะส่งเสริมให้มีการเล้ียงโคนม และเมื่อเสด็จ พระราชดำเนินไปทรงเยือนประเทศเดนมาร์ค ในปี พ.ศ.๒๕๐๓ ทรงมีพระราชดำรัสกับสมเด็จ พระเจ้าเฟรเดอรคิ ที่ ๙ เพ่อื ทรงขอรับการช่วยเหลือในเรอื่ งผเู้ ชย่ี วชาญและพนั ธโุ์ คนม ซ่ึงทรงไดร้ บั การสนับสนุนเป็นอย่างดี จนมีการจัดต้ังฟาร์มโคนมไทย-เดนมาร์ค ข้ึน ท่ีอำเภอปากช่อง จังหวดั นครราชสมี า เมือ่ เดือนมกราคม ๒๕๐๕ นอกจากน้ี เพ่อื เป็นการสง่ เสริมการเลีย้ งใหแ้ พรห่ ลาย จึงโปรดเกลา้ ฯ ให้สรา้ งโรงโคนมข้ึน บรเิ วณสวนจิตรลดา เพื่อเปน็ การทดลองกจิ การดา้ นนี้ โดยชน้ั แรกมีโคนมอยเู่ พียง ๖ ตวั และ ได้รีดนมเพื่อจำหน่ายให้แก่ข้าราชบริพารในสวนจิตรลดา ต่อมามีโคเพิ่มข้ึนและนมมีจำนวนมาก จึงนำออกจำหน่ายให้แก่ประชาชนท่ัวไป ซึ่งการจัดตั้งโรงเลี้ยงโคนมในสวนจิตรลดาน้ี ได้เป็น ตัวอย่างให้ผู้สนใจตั้งโรงเล้ียงโคนมหลายแห่ง โดยเฉพาะท่ีจังหวัดราชบุรีและจังหวัดพระนคร ศรีอยธุ ยามีการเล้ยี งจำนวนมากจนเกนิ ความต้องการทีจ่ ะบริโภคในเวลานัน้ เพ่ือเป็นการช่วยเหลอื เกษตรกรผเู้ ลีย้ ง พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หวั จึงทรงโปรดเกล้า ให้สร้างโรงงานผลิตนมผงข้นึ ในสวนจติ รลดา เพ่อื รับซอ้ื น้ำนมสดจากผเู้ ลยี้ งท่มี ีปัญหาในดา้ นการจำหนา่ ย
32 สำหรับโรงงานผลิตนมผงน้ี พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัว พระราชทานชอ่ื วา่ สวนดุสิต และเสดจ็ พระราชดำเนินไปทรงเปดิ โรงงานดังกลา่ ว เมื่อวันที่ ๗ ธันวาคม ๒๕๑๒ และหลังจาก เปดิ โรงงานผลิตนมผงสวนดุสติ ไมน่ าน กลมุ่ สหกรณ์ผู้เล้ียงโคนมจงั หวัดราชบุรี ไดท้ ูลเกล้าฯ ถวาย เงินจำนวน ๑ ลา้ นบาท เพอ่ื จัดตงั้ โรงงานผลติ นมผงข้ึนในจังหวัดราชบรุ ี ปจั จบุ นั การเล้ยี งโคนมได้ แพร่หลายกลายเป็นอาชีพหลักของเกษตรกรท่ีทำเงินรายได้ให้แก่ผู้เล้ียงและอุตสาหกรรมต่อเนื่อง อย่างมากมาย รวมทัง้ ประชาชนมีนมทุกรูปแบบ ตลอดจนนมผงอดั เม็ดบริโภคอย่างท่วั ถงึ ไม่ขาด แคลนในราคาถูก ทัง้ น้ี เป็นผลมาจากพระราชดำริท่ปี รชี าชาญ และสายพระเนตรที่ยาวไกลแห่ง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ที่ทรงงานอย่างหนักตลอดเวลาเพ่ือความผาสุกของอาณา ประชาราษฎร์ การประมง พ ระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว นอกจากจะทรงทุ่มเทพระราชหฤทัยให้แก่งานพัฒนา แหลง่ น้ำ เพ่อื ทจี่ ะทรงแกไ้ ขปญั หาความเดอื ดรอ้ น เก่ยี วกบั การขาดแคลนนำ้ ใหแ้ กพ่ สกนกิ รของ พระองค์ ท่ีประกอบอาชีพทางด้านการเกษตรให้มีน้ำสำหรับการเพาะปลูกโดยไม่ขาดแคลนแล้ว ยังทรงมพี ระราชดำรวิ ่า แหลง่ น้ำตา่ งๆ ทางธรรมชาติทม่ี ีอยหู่ รอื บอ่ น้ำท่ขี ุดขึ้น ควรจะมกี ารเพาะ เลยี้ งสัตวน์ ำ้ โดยเฉพาะอยา่ งยิง่ ปลาเพื่อเปน็ อาหาร เนื่องจากปลาเปน็ อาหารทม่ี โี ปรตนี มาก จงึ
33 ทรงมีพระราชดำรทิ ีจ่ ะสง่ เสริมให้มีการเล้ียงปลานำ้ จดื โดยไดพ้ ระราชทานพระบรมราชานญุ าต ให้ดดั แปลงสระวา่ ยน้ำที่พระราชวงั ไกลกังวล อำเภอหวั หนิ จงั หวัดประจวบคีรีขันธ์ เปน็ บอ่ เลีย้ ง ปลาเพ่ือเป็นตัวอยา่ ง จากนั้น ในวันที่ ๒๘ เมษายน ๒๔๙๖ ซ่ึงครบรอบปีที่ ๔ แห่งพระราชพธิ รี าชาภเิ ษกสมรส พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยูห่ ัวและสมเด็จพระนางเจา้ ฯพระบรมราชนิ นี าถทรงปล่อยปลาหมอเทศ ปลาแรดและปลากะโหล้ งบอ่ นัน้ เมอ่ื ปลาโตจนไดข้ นาด จึงไดพ้ ระราชทานจากบ่อหลวง พรอ้ ม ดว้ ยหนงั สอื คู่มือว่าด้วยการเลย้ี งแก่ราษฎรเพ่อื นำไปขยายพันธ์ุตอ่ ไป และเมื่อทรงพิจารณาเห็นวา่ ปลาชนดิ ใดเลี้ยงง่าย เป็นประโยชนแ์ กร่ าษฎร จะทรงพยายามหาพันธุม์ าพระราชทาน อย่างเช่น ปลานิล ทม่ี กุฎราชกุมารแห่งญ่ีปนุ่ ไดท้ ูลเกลา้ ฯ ถวายพันธุ์ปลาน้ี ในคราวเสด็จเยือนประเทศไทย ปี พ.ศ.๒๕๐๗ ได้พระราชทานใหร้ าษฎรนำไปเลีย้ งในเวลาต่อมาจนขยายพันธุ์ไปทั่วประเทศ และ เป็นอาหารท่นี ิยมบริโภคกันเป็นอย่างมาก โครงการพฒั นาการประมงตามพระราชดำริ ได้กระจายออกไปอย่างกว้างขวาง เกษตรกร หันมาสนใจการเลย้ี งปลาเพ่ิมมากขึน้ ทงั้ การเลย้ี งเพื่อการบริโภคในครวั เรือน การเลย้ี งเปน็ อาชพี เสริม เป็นอาชีพหลัก นับว่าได้ก่อประโยชน์ในการพัฒนาอาชีพ และความเป็นอยู่ของราษฎร ให้ดีข้ึน รวมทั้งการมีอาหารโปรตีนจากปลาบริโภคกันอย่างทั่วถึง เป็นการแก้ไขปัญหาการ ขาดแคลนอาหารโปรตีนได้เป็นอยา่ งดี นอกจากนี้ เปน็ การสนับสนุนคำกลา่ วทวี่ า่ ในน้ำมีปลา ในนามีข้าว อีกด้วย ท้ังน้ี เป็นผลมาจากพระปรีชาสามารถและสายพระเนตรท่ียาวไกลแห่ง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอย่หู ัว ท่ีทรงมีพระราชดำริในการส่งเสริมให้ราษฎรเล้ียงปลามาเกือบ ๕๐ ปี
34 ธนาคารโค-กระบือ ธ นาคารโค-กระบือ เป็นโครงการอันเนื่องมาจาก พระราชดำริ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อย่หู วั ท่ที รงมพี ระราช ประสงค์จะช่วยเหลือเกษตรกร ทีย่ ากจน ได้มโี ค-กระบือเปน็ ของตัวเองสำหรับใช้ผลิตข้าว โดยไม่ต้องไปเสียค่าเช่าใน อัตราที่สูง เป็นการแบ่งเบา ภาระของเกษตรกร รวมทง้ั เป็นการประหยัดนำ้ มนั เช้อื เพลิง และลดต้นทุนการผลติ จากการใช้ เคร่ืองจักรกลแทนโค-กระบือ ซ่ึงรัฐบาลโดยกรมปศุสัตว์ได้เร่ิมดำเนินการ โครงการธนาคารโค- กระบือตามพระราชดำริ มาตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๒๒ ด้วยการใช้กระบือของกรมปศุสัตว์จำนวน ๒๐๘ ตวั ไปชว่ ยเหลอื เกษตรกรผู้ยากจน ในพืน้ ทีร่ าบเชิงเขาจังหวดั ปราจีนบุรี โดยการให้เช่าซอื้ และผ่อนส่งระยะยาว ๓ ปี ธนาคารโค-กระบอื ตามพระราชดำริ ได้ใหบ้ รกิ ารแก่เกษตรกรทีย่ ากจนใน ๓ ลกั ษณะคือ การใหเ้ ชา่ ซ้ือผ่อนสง่ ระยะยาว โดยธนาคารจะจัดหาโค-กระบือ มาจำหน่ายให้ในราคาถูก และผอ่ น สง่ เงนิ ใหธ้ นาคารในระยะเวลา๓ปีหากเกษตรกรทไี่ ม่มีโค-กระบือใช้งานและไมป่ ระสงค์ทจี่ ะเชา่ ซือ้ อาจจะขอเช่าโค-กระบือจากธนาคารไปใช้งานได้ในอัตราเช่าที่ถูกกว่าเอกชนมาก หรือจะยืมโค- กระบือ เพศเมยี จากธนาคาร ไปใช้เล้ยี งเพ่ือผลติ ลูกกไ็ ด้ โดยการแบ่งลูกทคี่ ลอดออกมาคนละครง่ึ กับธนาคาร นอกจากน้ีแลว้ เกษตรกรทยี่ ากจน ไม่สามารถท่ีจะช่วยตนเองได้ ทางธนาคารจะให้ ยืมโค-กระบือไปใช้งานโดยไม่ตอ้ งเสียคา่ เชา่ สำหรับประโยชน์ท่ีเกิดจากธนาคารโค-กระบือ ตามพระราชดำริ ได้ส่งผลโดยตรงกับ เกษตรกรท่ยี ากจนคือ ได้ชว่ ยเหลอื ใหเ้ กษตรกรสามารถมปี จั จยั การผลติ เป็นของตนเอง ไมต่ อ้ งเสีย ค่าเช่าโค-กระบือในอัตราสูง เป็นหลักประกันอย่างหน่ึง ซึ่งเอ้ืออำนวยให้การผลิตเกิดผลอย่าง เตม็ เมด็ เตม็ หนว่ ย นอกจากนแ้ี ลว้ การใชโ้ ค-กระบอื เปน็ แรงงานในการผลิตขา้ ว เป็นสงิ่ ท่ีเหมาะสม กับเกษตรกรทีม่ ฐี านะยากจน และมพี น้ื ท่ีทำกนิ ขนาดเล็ก รวมท้ังการใช้แรงงานโค-กระบือ ในการ เพาะปลกู ขา้ ว เป็นการใช้พลงั งานจากธรรมชาติ แทนการใชน้ ำ้ มันเชอื้ เพลิง ซง่ึ เปน็ ทรพั ยากรทีน่ ับ วันจะเหลือนอ้ ยลงและมีราคาสงู ขึ้น
35 ธนาคารข้าว พ ระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หัว ไดเ้ สด็จฯ สู่ภมู ภิ าคต่างๆ ในทอ้ งถน่ิ ชนบทของประเทศไทย เป็นจำนวนเกือบ ๕๐ ปี จึงทรงเห็นสภาพความยากจนเดือดร้อนของพสกนิกร และเข้า พระราชหฤทัยอย่างลึกซึ้งแจ่มชัดถึงสาเหตุแห่งปัญหาโดยเฉพาะอย่างยิ่งการขาดแคลนข้าวของ ชาวนาท้ังๆ ท่ีปลูกข้าวเอง แต่ไม่มีข้างท่ีจะบริโภคและทำพันธ์ุ จึงแก้ปัญหาโดยการกู้ยืมจาก พ่อคา้ คนกลาง ซง่ึ อาจก้ยู ืมเปน็ ขา้ วหรือเป็นเงิน และตอ้ งเสียดอกเบย้ี ในอตั ราท่สี งู มาก ในบาง กรณตี อ้ งกู้ยมื โดยวิธกี ารขายข้าวเขียว ซึ่งเปน็ ผลใหผ้ กู้ ้เู สยี เปรียบอยา่ งมาก ทำใหผ้ ลผลติ ขา้ วที่ได้ ไม่เพียงพอต่อการบริโภคและชำระหน้ี ในที่สุดก็กลายเป็นผู้ที่มีหนี้สินพอกพูนตกอยู่ในสภาพ ยากจน ไมส่ ามารถชว่ ยเหลือตนเองได้ พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยูห่ วั จึงทรงพยายามทำทกุ วถิ ีทางเพ่อื ใหเ้ กษตรกร พน้ จากการ เป็นหนส้ี นิ และมีขา้ วบริโภคโดยไม่ขาดแคลน และทรงพระราชดำรวิ ่า ธนาคารข้าว จะเปน็ วิธี หนึ่งท่ีแก้ปญั หาดงั กล่าวน้ไี ด้ จึงทรงสนับสนุนให้มีการจดั ตัง้ ธนาคารขา้ วขน้ึ เปน็ ครั้งแรกในปี พ.ศ. ๒๕๑๙ ที่หมบู่ า้ นชาวไทยภเู ขาเผ่ากระเหรีย่ ง อำเภอจอมทอง จังหวัดเชยี งใหม่ โดยไดพ้ ระราชทาน ขา้ วเปลอื กจำนวนหนง่ึ ให้แก่ผ้ใู หญ่บ้านเพ่ือเป็นทุนเรมิ่ ดำเนินกิจการธนาคารข้าว และได้พระราช ทานแนวทางการดำเนินงานไว้ ด้วยการให้มีคณะกรรมการคัดเลือกจากราษฎรในหมู่บ้านเป็น
36 ผู้เก็บรักษาพิจารณาจำนวนข้าวที่จะให้ยืมและรับข้าวคืน เม่ือราษฎรยืมข้าวไปใช้บริโภคเก็บ เก่ียวข้าวได้แล้ว จะต้องนำมาคืนธนาคารพร้อมกับดอกเบ้ีย ซึ่งข้าวท่ีเป็นดอกเบี้ยจะเป็นของ ส่วนรวม ธนาคารข้าว เปน็ โครงการอนั เน่อื งมาจากพระราชดำริ ในเชงิ การให้สวัสดกิ ารสงั คมและ ช่วยเหลือผู้ที่เดือดร้อน โดยราษฎรมีแหล่งข้าวกลางของหมู่บ้าน ท่ีสามารถกู้ยืมไปบริโภคหรือ ทำพันธุ์ ซงึ่ เสียดอกเบ้ยี ในอัตราต่ำกวา่ การกู้จากพ่อคา้ คนกลาง รฐั บาลไดส้ นองพระบรมราโชบาย ขยายขอบเขตการดำเนินงานธนาคารข้าวออกไปทั่วประเทศ ธนาคารข้าวท่ีประสบความสำเร็จ มิได้บรรลุเพียงจุดหมายพ้ืนฐาน ในการบรรเทาความเดือดร้อนจากการขาดแคลนข้าวบริโภค เท่านัน้ แตย่ งั ไดส้ ร้างกิจกรรมต่อเนื่องอื่นๆ ทสี่ ง่ ผลต่อการพัฒนาคณุ ภาพ สร้างการมีส่วนรว่ ม ภาวะผนู้ ำ ความสมคั รสมานสามคั คีและความรว่ มมือในระดบั ชมุ ชนอีกด้วย ปาลม์ นำ้ มนั ป าล์มน้ำมันเป็นพืชเศรษฐกิจท่ีสำคัญชนิดหน่ึง ซึ่งมีการปลูกกันมากในภาคใต้ของ ประเทศไทย โดยได้มีการนำเข้ามาปลกู ในเชิงการค้าต้ังแตป่ ี พ.ศ. ๒๕๑๑ ทจี่ ังหวัดกระบ่ี จากนั้น ได้มีการปลูกอยา่ งแพรห่ ลาย ตอ่ มาเกษตรกรสวนปาลม์ ต่างประสบกับปญั หาราคาผลผลติ ตกตำ่
37 การขนสง่ ไปยังโรงงาน รวมท้ังขาดความรู้ ในการปลกู การดแู ลรกั ษา การให้ปยุ๋ และการกำจดั ศตั รพู ชื เนอ่ื งจากปาลม์ นำ้ มนั เปน็ พชื ทมี่ ถี น่ิ กำเนดิ ในทวปี แอฟรกิ าลกั ษณะภมู อิ ากาศทแ่ี ตกตา่ งกนั ทำให้ได้ผลผลิตท่ีไม่ดีและต้นทุนในการปลูกสูง เกษตรกรจึงต้องประสบกับความเดือดร้อนเป็น อยา่ งมาก เมื่อพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ ัว ทรงทราบจากการเสด็จพระราชดำเนินไปทอดพระเนตร สวนปาล์มน้ำมันของนิคมอุตสาหกรรมสร้างตนเองพัฒนาภาคใต้ในปี พ.ศ. ๒๕๑๘ ด้วยสาย พระเนตรท่ียาวไกลและพระอัจฉริยภาพ จึงได้พระราชทานพระราชดำริในการแก้ไข ด้วยการ ส่งเสริมให้เกษตรกรสวนปาล์มรายย่อยรวมตัวกันทำการสกัดน้ำมันปาล์มในรูปของโรงงานขนาด เล็กท่ีใช้เงินลงทุนต่ำ เป็นการแก้ปัญหาราคาผลผลิตตกต่ำ รวมท้ังลดต้นทุนเก่ียวกับค่าขนส่ง นอกจากนี้ วสั ดุต่างๆ ทเี่ หลอื จากการสกดั นำ้ มันแล้ว ยงั นำไปใชป้ ระโยชนใ์ นการเลยี้ งสัตว์ ทำปุ๋ย หรอื ทำเปน็ เช้ือเพลิงได้อกี ดว้ ย โครงการสง่ เสริมอตุ สาหกรรมนำ้ มนั ปาล์มขนาดเลก็ อนั เน่อื งมาจากพระราชดำริ ได้ดำเนิน การมาตง้ั แตป่ ี พ.ศ. ๒๕๒๗ หลงั จากท่ไี ดพ้ ระราชทานแนวพระราชดำริ เมอ่ื วนั ท่ี ๒ ตุลาคม ๒๕๒๖ ณ พระตำหนงั ทกั ษิณราชนเิ วศน์ จงั หวดั นราธิวาส ซึ่งนอกจากการแปรรปู น้ำมันปาลม์ ดิบ ให้เป็นนำ้ มนั ปาลม์ บรสิ ทุ ธ์ิ โดยโรงงานท่ีเกษตรกรรวมตัวกันตั้งข้ึนแลว้ ยงั ได้พระราชทานพระราช ดำรใิ ห้นำนำ้ มนั ปาลม์ ทส่ี กดั ได้ ไปผลติ เปน็ น้ำมนั ปรุงอาหาร เนยขาว เนยเทยี ม สบู่ และผงซักฟอก เพือ่ จำหนา่ ยหรือใชใ้ นครอบครัว ซ่ึงโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริน้ี ได้ช่วยใหเ้ กษตรกร สวนปาลม์ มีฐานะความเปน็ อยูท่ ่ดี ีขน้ึ นับเป็นพระมหากรุณาธิคณุ อย่างย่งิ
นำ้ เพ่อื ชวี ิต นำ้ เพ่อื ชีวิต จ ากการท่ี พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ ัว ทรงห่วงใยในทุกข์สขุ ของอาณาประชาราษฎร์ จงึ เสดจ็ พระราชดำเนนิ ไปทรงเย่ยี มพสกนกิ รทุกหมเู่ หล่าในพ้ืนที่ตา่ งๆ ท่วั ประเทศ ทำให้ทรงทราบ ถงึ ปัญหาความเดือดรอ้ นของราษฎร ซงึ่ ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพทางการเกษตรและมฐี านะความ เป็นอยู่ท่ยี ากจน ทรงประจกั ษ์ว่า น้ำเป็นปญั หาทีส่ ำคัญ จงึ ทรงเริ่มงานจัดการลุม่ น้ำอยา่ งจรงิ จัง ในพ้ืนท่ีต้นน้ำลำธาร ตามโครงการหลวงพัฒนาต้นน้ำเพื่อรักษาพื้นท่ีต้นน้ำลำธาร เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๐๗ นอกจากน้ี ทรงมีพระราชดำริพระราชทานแก่กรมชลประทานและหน่วยงานต่างๆ ท ่ี เก่ียวข้อง ตลอดจนผู้เชี่ยวชาญในการหาวิธีนำน้ำไปใช้ประโยชน์ทางอื่น หรือท่ีใดไม่สามารถจะ เกบ็ กกั นำ้ ธรรมชาติไวใ้ ช้ในยามขาดแคลน กท็ รงศกึ ษาหาวิธีการทำฝนเทียมขนึ้ ใช้จนเปน็ ผลสำเรจ็ ทั้งนี้ เน่ืองจาก พระบาทสมเด็จพรเจ้าอยู่หวั ทรงมพี ระราชดำรวิ ่า น้ำเป็นส่ิงสำคญั สำหรับ การเพาะปลกู ด้วยเหตุนี้จึงทรงทุ่มเทพระราชหฤทยั ให้แก่งานพัฒนาแหลง่ นำ้ เพ่อื ที่จะทรงแก้ไข ปัญหาเก่ียวกับการขาดแคลนน้ำให้แก่พสกนิกรของพระองค์ ท่ีประกอบอาชีพทางการเกษตร ทรงเชื่อม่ันว่า เมื่อประชาชนในชนบทท่ีประกอบอาชีพทางการเกษตรมีน้ำเพ่ือการเพาะปลูกโดย ไม่ขาดแคลนหรือมากจนเกินไป ประชาชนเหล่านี้จะมีฐานะความเป็นอยู่ท่ีดีข้ึนทำให้การพัฒนา ชนบทในทุกด้านได้รับความสำเร็จตามไปด้วย ซึ่งโครงการพัฒนาแหล่งน้ำอันเน่ืองมาจาก พระราชดำริท่ีมีอยู่เป็นจำนวนมาก ได้ก่อให้เกิดประโยชน์แก่ประชาชนและประเทศชาติอย่าง เอนกประการ
39 ฝนหลวง จ ากการท่ีการเพาะปลูกซึ่งเป็นอาชีพหลักของชาวไทยส่วนใหญ่ขึ้นอยู่กับน้ำ และพื้นที่ เกษตรกรรมกว่าร้อยละ ๘๒ ตอ้ งอาศยั น้ำฝนเปน็ สำคญั ปใี ดท่ีฝนไมต่ กต้องตามฤดูกาลย่อมกอ่ ให ้ เกิดความแหง้ แล้ง ทำให้พืชตา่ งๆ ทปี่ ลกู ไวไ้ ดร้ บั ความเสยี หาย ดงั นั้น ด้วยความหว่ งใยในพสกนิกร ทปี่ ระกอบอาชีพทางเกษตร พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หวั จึงทรงมพี ระราชดำริที่จะช่วยเหลอื เพื่อแก้ไขปัญหาความเดอื ดรอ้ นดังกลา่ ว และจากการทีไ่ ด้เสดจ็ พระราชดำเนิน ไปทรงเยย่ี มราษฎร ในภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ โดยเครอื่ งบนิ พระท่นี ง่ั เม่อื ปี พ.ศ. ๒๔๙๘ ทรงสงั เกตว่ามีกลมุ่ เมฆ ปกคลมุ เหนอื พ้นื ทร่ี ะหว่างเสน้ ทางการบิน แตไ่ ม่สามารถก่อและรวมตัวกันจนเกิดฝนตกได้ จึงทรง มีพระราชดำริและมั่นพระทยั วา่ น่าจะมลี ทู่ างทางวทิ ยาศาสตรด์ ดั แปรสภาพอากาศมาชว่ ยให้เกิด การกอ่ และรวมตัวของเมฆทำใหเ้ กดิ ฝนตกได้ นนั่ คอื การกำเนิดโครงการ “ฝนหลวง” ในเวลาต่อมา ซงึ่ ได้มกี ารทดลองทำฝนหลวงข้ึนเป็น ครัง้ แรกในประเทศไทย เม่อื วันท่ี ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๑๒ ด้วยการปฏบิ ัตกิ ารทดลองทำฝนเทยี มกับ เมฆในทอ้ งฟ้าเหนอื พืน้ ดินบรเิ วณอทุ ยานแห่งชาติเขาใหญ่ อำเภอปากชอ่ ง จังหวัดนครราชสีมา โดยการใช้น้ำแขง็ แห้งโปรยทีย่ อดของกลมุ่ ก้อนเมฆปรากฏว่าหลงั จากปฏิบัตกิ ารประมาณ๑๕นาท ี ก้อนเมฆบริเวณน้ันได้มีการรวมตัวกันอย่างหนาแน่นเกิดเป็นฝนตกลงมา และได้มีการพัฒนา ค้นคว้าศึกษาวิจัย จนสามารถบังคับฝนให้ตกลงยังพื้นท่ีท่ีต้องการได้ นอกจากน้ีแล้ว ยังทรงมี พระราชดำริให้สร้างจรวดบรรจุสารเคมียิงจากพื้นดินเข้าสู่เมฆ รวมทั้งการใช้เคร่ืองพ่นสารเคมี อัดแรงกำลงั สูง ยิงจากยอดเขาส่ฐู านก้อนเมฆโดยตรง เพื่อช่วยใหเ้ มฆทต่ี ามปกติลอยปกคลมุ เหนือ ยอดเขา สามารถรวมตวั หนาแนน่ จนเกิดฝนตกสบู่ ริเวณภูเขา แลว้ ไหลไปสพู่ ้นื ราบตอ่ ไป
40 การพฒั นาแหล่งน้ำผวิ ดิน พ ระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หวั ทรงใหค้ วาม สำคญั แก่นำ้ เป็นอยา่ งมาก เพราะทรงถือวา่ ถ้ามนี ้ำ คนอยู่ได้ ถา้ ไม่มนี ำ้ คนอยู่ไม่ได้ โดยเฉพาะอย่างยิง่ นำ้ เพือ่ การเกษตร จงึ ได้พระราชทานพระราชดำริใน การพัฒนาแหล่งน้ำผิวดินซ่ึงเป็นแหล่งน้ำธรรมชาติ ให้ส่วนราชการต่างๆ ท่ีเกี่ยวข้องไปดำเนินการ เพื่อไขปัญหาการขาดแคลนน้ำ มีทั้งการสร้างอ่าง เกบ็ นำ้ ฝายทดนำ้ การขดุ ลอกหนองบึงธรรมชาติ และ การขดุ สระน้ำ ซ่ึงจะทำให้มนี ำ้ เพยี งพอต่อการเพาะ ปลูกและอปุ โภคบรโิ ภค โดยอ่างเกบ็ นำ้ จะมีพระราช ดำริในการสรา้ งเขอ่ื นดนิ ใชง้ บประมาณไมม่ ากนกั ดว้ ย การนำดินมาบดอดั ใหแ้ น่นเปน็ ตวั เชือ่ ม นอกจากการสร้างเขื่อนและอ่างเก็บน้ำแล้ว จะต้องสร้างอาคารระบายน้ำล้นเพื่อควบคุมระดับ น้ำในอ่างเก็บนำ้ และสร้างท่อสง่ นำ้ จากอ่างเก็บนำ้ ทตี่ ัวเขือ่ น สำหรับควบคมุ น้ำท่ีจะจา่ ยให้กบั พ้ืนท่ีเพาะปลูก ซ่ึงอ่างเก็บน้ำท่ีสร้างข้ึนตามแนวพระราชดำรินี้ ช่วยให้เกษตรกรมีน้ำเพื่อการ เพาะปลกู ไดต้ ลอดทงั้ ปี รวมทั้งยังเปน็ แหล่งนำ้ เพ่อื การอปุ โภค การแกไ้ ขปญั หานำ้ ท่วม และเปน็ แหลง่ เพาะเลยี้ งสัตวน์ ้ำอกี ดว้ ย ส่วนฝายทดนำ้ ตามพระราชดำริ คือ สงิ่ กอ่ สรา้ งท่ีสร้างปิดขวางทาง น้ำไหล เพื่อทดนำ้ ที่ไหลมาใหม้ รี ะดบั สงู ขนึ้ จนสามารถผันน้ำเข้าไปตามคคู ลองสำหรบั สง่ นำ้ ให้แก่ พนื้ ท่เี พาะปลูกบรเิ วณสองฝัง่ นำ้ ได้สะดวก พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงตระหนักถึงปัญหาการขาดแคลนน้ำในไร่นาและการ อุปโภคบริโภค ซงึ่ นับวนั จะรุนแรงมากขนึ้ การสร้างอา่ งเกบ็ นำ้ ฝายทดนำ้ หรอื การขดุ ลอกแหลง่ นำ้ ธรรมชาติไม่อาจจะจดั หาแหลง่ นำ้ ให้แกร่ าษฎรได้เพยี งพอจึงพระราชทานแนวพระราชดำริในการ ขุดสระน้ำในไร่นาของเกษตรกร เพ่ือให้มีน้ำไว้ใช้ได้ตลอดท้ังปี พระราชดำริดังกล่าวมีชื่อว่า ทฤษฎีใหม่ โดยเริ่มดำเนินการเป็นแห่งแรกที่บริเวณพ้ืนท่ีใกล้วัดมงคลชัยพัฒนา จังหวัดสระบุรี ต่อมาได้มีการขยายผลไปยังพ้ืนท่ีต่างๆ ทั่วประเทศ ยังประโยชน์แก่อาณาประชาราษฎร์เป็น อย่างยง่ิ
41 อ่างเก็บนำ้ พ ระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หวั ทรงพระราช ดำริวา่ นำ้ ทไ่ี หลมาจากร่องน้ำลำธารตามธรรมชาต ิ จากภูเขาหรือเนินสูง จะไหลมาอย่างแรงในช่วง หน้าน้ำ จนก่อให้เกิดอุทกภัย และจะเกิดการ ขาดแคลนน้ำในช่วงหน้าแล้ง หากมีการกักเก็บไว้ ในยามที่น้ำหลาก จะช่วยบรรเทาความเดือดร้อน ของราษฎร จากการขาดแคลนน้ำอุปโภคบริโภค และใช้ในการเกษตร ในยามที่เกิดความแห้งแล้ง รวมทง้ั เป็นการปอ้ งกันอทุ กภัย จึงทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯ พระราชทานพระราชดำริในการสรา้ ง อ่างเก็บน้ำ โดยอ่างเก็บน้ำแห่งแรกได้สร้างข้ึนท่ี เขาเต่า อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เม่ือ พ.ศ. ๒๕๐๖ จากนัน้ ไดม้ กี ารสรา้ งอ่างเก็บน้ำในพน้ื ทต่ี า่ งๆ ทว่ั ทุกภาคของประเทศ อา่ งเกบ็ นำ้ ทพี่ ระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั พระราชทานพระราชดำรใิ นการสร้าง สว่ นใหญ่ จะเปน็ อา่ งเก็บนำ้ ขนาดเล็ก ด้วยการสรา้ งเขอื่ นดนิ ปิดก้ันระหว่างหุบเขาหรือเนินสงู เพ่อื กกั เกบ็ น้ำ ท่ีไหลมาจากร่องงน้ำธรรมชาติในช่วงฤดูฝน จากนั้นในช่วงหน้าแล้งจะปล่อยน้ำท่ีเก็บกักไว้ใน อา่ งนำ้ ไปตามทอ่ สง่ นำ้ สไู่ รน่ าของเกษตรกรสำหรบั ใชใ้ นการเพาะปลกู เลย้ี งสตั ว์และอปุ โภคบรโิ ภค นอกจากนี้บริเวณอ่างเก็บน้ำยังใช้เป็นท่ีเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ เพ่ือขยายพันธุ์และบริโภคอีกด้วย โดยอา่ งเก็บน้ำทจ่ี ะสรา้ งทกุ แหง่ ไดพ้ ระราชทานพระราชดำริใหพ้ จิ ารณาถงึ พน้ื ท่หี ม่บู า้ นยากจนท ่ี ราษฎรขาดแคลนนำ้ มากเปน็ อันดับแรก พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ ัว ทรงพระวริ ยิ ะอุตสาหะอยา่ งแรงกล้า และมีพระราชปณธิ าน แน่วแน่ในการแก้ปัญหาความเดือดร้อนของราษฎร ในเร่ืองการขาดแคลนน้ำ นอกจากจะ พระราชทานพระราชดำริในการสร้างอ่างเก็บน้ำแล้ว ยังได้เสด็จพระราชดำเนินไปทรงตรวจ สถานทีท่ จ่ี ะก่อสร้าง เพ่ือทอดพระเนตรความเหมาะสมและประโยชน์ทร่ี าษฎรจะได้รับ เมื่อมีการ กอ่ สรา้ งกจ็ ะเสด็จฯ ไปทรงตดิ ตามผลการดำเนินงาน ถงึ แมเ้ ข่ือนและอ่างเก็บน้ำบางแหง่ จะอยใู่ น ถ่ินทุรกันดารห่างไกลไม่มียานพาหนะไปถึง จะทรงพระดำเนินด้วยพระบาทไปตามทางขรุขระ หรือสูงชัน เป็นระยะทางหลายกิโลเมตรก็มิได้ทรงย่อท้อ นับเป็นพระมหากรุณาธิคุณแก่อาณา ประชาราษฎร์อยา่ งหาทส่ี ุดไมไ่ ด้
42 เข่ือนปา่ สกั ชลสทิ ธิ์ เ ขอ่ื นปา่ สกั ชลสทิ ธเ์ิ ป็นโครงการ ท่ีเกิดจากพระราชดำริของพระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว อีกโครงการ หนึ่งเพื่อแก้ไขปัญหาความเดือดร้อน ของราษฎรในล่มุ น้ำป่าสักโดยเฉพาะ อย่างย่ิงจังหวัดลพบุรีและสระบุรี ที่ต้องประสบกับภาวะความแห้งแล้ง ขาดแคลนน้ำในการเพาะปลูกและ อุปโภคบริโภคในหน้าแล้ง รวมท้ัง ต้องผจญกับอุทกภัยในหน้าฝน จาก การที่ปริมาณน้ำในแม่น้ำป่าสักลน้ ตลิง่ แลว้ ไหลไปท่วมพืน้ ท่ีอย่อู าศยั และทำกนิ สำหรบั แม่น้ำปา่ สักน้ี เปน็ แม่นำ้ สาขาสายสำคญั ของแม่นำ้ เจ้าพระยา ต้นน้ำเร่ิมทอ่ี ำเภอ ดา่ นซา้ ยจงั หวดั เลย ไหลผ่านจังหวัดเพชรบูรณ์ ลพบุรี สระบรุ ี และไปบรรจบกับแมน่ ำ้ เจ้าพระยา ที่จงั หวดั พระนครศรอี ยุธยา ซึง่ กรมชลประทานเคยมีโครงการตง้ั แตป่ ี ๒๕๐๘ ท่จี ะกอ่ สร้างเขอื่ น เกบ็ กักแม่นำ้ ป่าสัก เพอ่ื แกป้ ัญหาดงั กล่าว แตไ่ มส่ ามารถทจี่ ะดำเนนิ การได้ เน่อื งจากมีอปุ สรรค หลายอยา่ ง จนกระท่ัง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงทราบถึงความเดือดร้อนของราษฎร จึง พระราชทานพระราชดำริ เม่ือวันท่ี ๑๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๓๒ ให้กรมชลประทานศึกษาความ เหมาะสมของโครงการเข่ือนเก็บกักแม่น้ำป่าสัก เพ่ือแก้ปัญหาภัยแล้งและบรรเทาความรุนแรง ของอุทกภัย ภายหลังท่ีกรมชลประทานได้สนองพระราชดำริด้วยการศึกษาความเหมาะสมแล้ว คณะรฐั มนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ ๓ พฤษภาคม ๒๕๓๗ ใหด้ ำเนินงานโครงการพัฒนาลุ่มนำ้ ป่าสัก โดยได้เร่ิมงานก่อสรา้ งวนั ท่ี ๒ ธันวาคม ๒๕๓๗ เขื่อนปา่ สักชลสิทธิ์ เปน็ เข่อื นดินสรา้ งปดิ ก้ันแม่นำ้ ปา่ สัก บรเิ วณแก่งเสือเตน้ ตำบลหนองบัว อำเภอพัฒนานคิ ม จังหวัดลพบรุ ี ตดิ ต่อกับบา้ นคำพราน อำเภอวังมว่ ง จังหวดั สระบุรี ขณะนี้ การกอ่ สรา้ งเสร็จสมบรู ณแ์ ล้ว และใหป้ ระโยชนอ์ ย่างอเนกประการ ทง้ั ในดา้ นการเปน็ แหลง่ น้ำ เพ่ือการอุปโภคบริโภคตลอดจนการเพาะปลูก รวมท้ังเป็นแหล่งน้ำเพื่อการอุตสาหกรรม แหล่ง เพาะพนั ธ์ปลาน้ำจดื ขนาดใหญ่ และยงั สามารถปอ้ งกันอทุ กภยั ให้แก่พนื้ ทีร่ ิมแมน่ ้ำปา่ สกั ในเขต จงั หวดั สระบุรี ลพบุรี อยธุ ยา เร่อื ยลงมาจนถึงกรุงเทพมหานครได้อย่างดีอีกดว้ ย
43 เขอื่ นคลองท่าด่าน พ ระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัว ทรงทราบถงึ ความเดือดรอ้ นของราษฎร ที่อาศัยอยู่บริเวณ สองฝั่งแม่น้ำนครนายก จากการถูกน้ำท่วมในช่วงหน้าฝน และภาวการณ์ขาดแคลนน้ำใน ช่วงหน้าแล้ง ทั้งน้ี เนื่องจากแม่น้ำนครนายกซ่ึงมีแหล่งต้นน้ำอยู่ในเขตอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ ไหลผ่านพื้นท่ีสี่อำเภอของจังหวัดนครนายก ไปบรรจบกับแม่น้ำปราจีนบุรีเป็นแม่น้ำบางปะกง จะมปี รมิ าณนำ้ มากในฤดูฝนทำให้เกดิ นำ้ หลาก จนทว่ มบา้ นเรอื นและไร่นาของราษฎรไดร้ บั ความ เสียหายเกอื บทุกปี สว่ นหน้าแล้งน้ำจะแห้งจนไมเ่ พียงพอต่อการเพาะปลูก พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว จึงได้ทรงพระราชทานพระราชดำริในการแก้ไข ด้วยการ ให้กรมชลประทานพิจารณาก่อสร้างเขื่อนเพ่ือปิดก้ันน้ำ ท่ีบ้านคลองด่าน ตำบลหินต้ัง อำเภอ เมอื งนครนายก เพ่อื ชะลอความรุนแรงของน้ำที่หลากลงมา และกกั เกบ็ ไวใ้ ชใ้ นหน้าแล้ง โดยสรา้ ง เข่ือนคอนกรีตบดอัดและเขื่อนดินปิดก้ันคลองท่าด่านสามารถกักเก็บน้ำได้ประมาณ ๒๓๐ ลูกบาศกเ์ มตรซง่ึ ได้เริม่ ดำเนนิ การมาต้ังแต่ปี๒๕๓๙นอกจากตวั เขื่อนแลว้ ยังมอี าคารระบายนำ้ ล้น ลำน้ำเดิมและคลองชลประทาน สำหรับจ่ายน้ำให้แก่เกษตรกรในพ้ืนท่ีสองฝ่ังแม่น้ำและคลอง ชลประทาน เขือ่ นคลองทา่ ด่าน ได้รบั พระราชทานช่ือใหม่ว่า “เขอื่ นขนุ ดา่ นปราการชล” เมอื่ วันที่ ๕ มิถุนายน ๒๕๔๙ โครงการเข่ือนคลองท่าด่านอันเน่ืองมาจากพระราชดำริ พระบาทสมเด็จ พระเจา้ อยหู่ ัว เม่อื สรา้ งเสรจ็ แล้วจะสามารถส่งน้ำใหพ้ ื้นทเี่ พาะปลูกกวา่ ๑๘๕,๐๐๐ ไร่ ราษฎร มนี ำ้ เพือ่ การอุปโภคบริโภค ๑๖ ลา้ นลกู บาศกเ์ มตรตอ่ ปี ชว่ ยบรรเทาปญั หาดนิ เปรยี้ วและปัญหา อุทกภัย นอกจากน้ียังมีปลาและสัตว์น้ำในอ่างเก็บน้ำ เพ่ือการบริโภคไม่น้อยกว่าปีละ ๕๘ ลา้ นตัน นับเป็นพระมหากรณุ าธิคณุ อย่างยิ่งตอ่ พสกนิกรทีอ่ าศยั อยบู่ ริเวณสองฝงั่ แมน่ ำ้ นครนายก ไดห้ ลุดพ้นจากปัญหาความเดอื ดร้อน จากภาวะนำ้ ท่วมในหน้านำ้ และขาดแคลนนำ้ ในหน้าแล้ง
การบำบัดน้ำเสีย ทฤษฎกี ารบำบัดน้ำเสีย ปั ญหาภาวะมลพษิ มผี ลกระทบ ต่อสิ่งแวดล้อมของชุมชนเป็นอย่างมาก และนบั วันจะทวเี พ่ิมมากขึน้ การดำรงชีพ ของทกุ คนในปัจจุบัน ต้องเผชิญกบั ภาวะ วิกฤตอันเกิดจากส่ิงแวดล้อมเส่ือมโทรม ท่ีรุนแรงข้ึนตลอดเวลาสาเหตุสำคัญ ประการหนง่ึ คอื ชุมชนต่างๆ ยังขาดระบบ บำบัดน้ำเสียและการกำจัดขยะมูลฝอย ที่ดี และมปี ระสิทธภิ าพดว้ ยเหตนุ ้ีโครงการ วจิ ัยและพัฒนาส่ิงแวดลอ้ มแหลมผกั เบ้ีย อันเนอื่ งมาจากพระราชดำรทิ ่ตี ำบลแหลมผักเบีย้ อำเภอ บ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี ซึ่งเป็นโครงการศึกษาวิจัยวิธีการบำบัดน้ำเสีย และการกำจัดขยะ มลู ฝอยจึงไดเ้ ร่ิมขึ้น ในเขตเทศบาลและเขตใกล้เคียงเขา้ เป็นระบบท่อส่งน้ำเสยี ไปยงั สถานสี บู นำ้ เสียที่คลองยางที่สามารถรองรับปริมาณน้ำเสียได้ถึง ๑๐,๐๐๐ ลูกบาศก์เมตรต่อวัน ก่อนที่จะ ระบายไปส่รู ะบบบำบัดน้ำเสียทต่ี ำบลแหลมผักเบ้ีย เม่ือน้ำเสียในเขตเทศบาลเมืองเพชรบุรี ได้ไหลตามท่อระบายน้ำไปยังสถานีสูบน้ำเสียที่ คลองยาง เพื่อลดความสกปรกของน้ำแล้ว จากน้ันจะสูบน้ำเสียจากคลองยางไปสู่บริเวณบำบัด น้ำเสียแหลมผกั เบยี้ เพ่ือบำบัดน้ำเสียและกำจดั ขยะกอ่ นทจ่ี ะระบายลงสู่ป่าชายเลนตอ่ ไป นอกจากนี้ แลว้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั มีพระราชดำริให้มีการบำบัดน้ำเสยี ดว้ ยระบบบึงชวี ภาพโดย
45 การใหน้ ้ำเสยี ไหลผ่านบ่อดนิ ต้ืนๆ ทปี่ ลกู พชื ประเภทกกพันธุต์ ่างๆ ระบบกรองนำ้ ด้วยหญา้ และ ระบบกรองนำ้ เสยี ด้วยปา่ ชายเลน ซง่ึ นำ้ เสยี ทไ่ี หลผ่านระบบดังกล่าว จะไดร้ บั การบำบัดจนเปน็ น้ำดีตามมาตรฐานเช่นกัน นับว่าเป็นแนวทางพระราชดำริท่ีเป็นแบบฉบับแก่ชุมชนทั้งหลาย ทั่วประเทศ ที่จะได้ดำเนินการเจริญรอยตามพระยุคลบาท โดยยึดการดำเนินงานตามแนว พระราชดำรทิ แี่ หลมผกั เบย้ี จังหวดั เพชรบุรีเปน็ ต้นแบบตอ่ ไป นำ้ ดีไลน่ ้ำเสยี จ ากการที่น้ำในแม่น้ำเจ้าพระยา ตลอดจนคลองต่างๆ ในกรุงเทพมหานคร มีการเน่าเสียจนถึงขั้นอันตรายนั้น เพ่ือเป็น การหาทางแก้ปญั หาดงั กลา่ ว พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอย่หู ัว จงึ เสด็จพระราชดำเนินพร้อม สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราช กมุ ารี ไปทอดพระเนตรสภาพนำ้ เนา่ เสยี ตาม คลองท้ังหลายในกรุงเทพมหานครทั้งท่ีบริเวณ ประตูน้ำปากคลองเทเวศร์ คลองแสนแสบ และคลองลาดพรา้ ว เม่ือวันท่ี ๔ เมษายน ๒๕๒๘ พรอ้ มกบั ได้พระราชทานพระราชดำริว่า การจดั ระบบควบคุมระดับน้ำในคลองสายต่างๆ สมควรวางระบบให้ถูกต้องตามสภาพการณ์ และ ลักษณะภูมิประเทศ โดยอาศัยแรงโน้มถ่วงของโลกให้มากที่สุด เพ่ือประหยัดค่าใช้จ่ายในการ ควบคุมระดับน้ำตามลำคลองเหล่าน้ี ต่อมาจงึ ได้บงั เกดิ กรรมวิธใี นการบำบัดนำ้ เสีย ตามแนวพระราชดำริ นำ้ ดีไล่นำ้ เสียขนึ้ คือ การเปดิ ประตูอาคารควบคุมน้ำ รับน้ำจากแม่นำ้ เจ้าพระยาในช่วงจงั หวะน้ำขน้ึ แล้วระบายออกสู่ แม่น้ำเจ้าพระยาตอนระยะนำ้ ลง ซ่งึ มผี ลทำให้นำ้ ในลำคลองตา่ งๆ มโี อกาสได้ไหลถา่ ยเทกนั ไปมา มากขึ้นกว่าเดิม เกิดการหมุนเวียนของน้ำที่มีสภาพเน่าเสียและมีกลิ่นเหม็นกลายเป็นน้ำท่ีดีข้ึน พระราชดำริบำบัดน้ำเสีย ด้วยการทำให้เจือจางโดยให้น้ำดีไล่น้ำเสียเป็นวิธีการที่ง่าย ประหยัด พลงั งานและค่าใช้จา่ ย รวมท้งั สามารถใชไ้ ด้ตลอดเวลาในทกุ แหง่ แสดงใหเ้ หน็ ถงึ พระปรีชาสามารถ ในพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอย่หู วั ทางด้านการแกไ้ ขปัญหาสงิ่ แวดลอ้ ม เพือ่ ความผาสกุ ของอาณา ประชาราษฎร์ทัง้ หลายอย่างแท้จริง
46 บึงมกั กะสัน บึงมักกะสัน เป็นบึงขนาดใหญ่อีกแห่งหนึ่งของกรุงเทพมหานคร ซ่ึงการรถไฟแห่ง ประเทศไทยไดข้ ุดขึ้นในปี พ.ศ. ๒๔๗๔ เพื่อใช้เปน็ แหลง่ ระบายนำ้ และรองรบั นำ้ เสีย รวมท้งั น้ำมนั เครอื่ งจากโรงงานรถไฟมกั กะสนั เปน็ เวลานานหลายปี จึงทำให้บงึ มักกะสนั ตืน้ เขนิ ประกอบ กับชมุ ชนต่างๆ ท่ีอยู่ใกลบ้ ึงมักกะสนั ได้ท้ิงขยะมลู ฝอย และสง่ิ ปฏกิ ลู ลงในบึงมักกะสัน จงึ เกิด ปญั หาภาวะส่งิ แวดล้อมเสื่อมโทรม และการเน่าเสยี ของนำ้ ทัง้ ในด้านกลิน่ และแหลง่ เพาะเชื้อโรค เมอื่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั ทรงทราบถึงปัญหาทเ่ี กิดข้นึ และทรงตระหนกั ถงึ ภายแห่งภาวะ มลพิษดงั กล่าว ที่พสกนิกรของพระองคไ์ ด้ประสบและจะมคี วามรุนแรงยงิ่ ข้นึ หากมิได้รับการแกไ้ ข อยา่ งทนั ทว่ งที จงึ ได้พระราชทานพระราชดำริ เมอ่ื วนั ที่ ๑๕ เมษายน ๒๕๒๘ ใหห้ นว่ ยงานต่างๆ รว่ มกนั ปรบั ปรงุ บึงมักกะสัน เพ่อื ใช้ประโยชนใ์ นการช่วยระบายนำ้ และบรรเทาสภาพน้ำเสีย ในรปู แบบ ของเครื่องกรองน้ำธรรมชาติ โดยทรงเน้นใหท้ ำการปรับปรงุ อย่างประหยัด และไม่ก่อใหเ้ กดิ ความ เดอื ดร้อนแกป่ ระชาชน ซง่ึ แนวพระราชดำริทรงให้ทำโครงการแบบง่ายๆ โดยการสบู น้ำจากคลอง สามเสนเข้าสบู่ ึงมกั กะสันทางหนึ่ง แลว้ ใหส้ บู ออกอีกทางหน่ึงเพอื่ ใหน้ ำ้ หมุนเวียน สว่ นภายใน บึงให้คงมีผักตบชวาอยู่ เพราะผัดตบชวาสามารถทำให้น้ำสะอาดขึ้นได้ ปัจจุบันบึงมักกะสันได้ กลายเปน็ แหลง่ น้ำท่สี ะอาด เป็นแหล่งเพาะเลย้ี งปลายขนาดใหญ่ รวมท้งั พชื นำ้ อืน่ ๆ และผกั ตบชวา ที่อยใู่ นบึงกน็ ำมาทำปยุ๋ หมัก เช้อื เพลงิ และอุตสาหกรรมในครัวเรอื น จงึ นับเปน็ พระมหากรุณาธิคณุ อย่างใหญห่ ลวงแก่ชาวไทยทั้งมวล
47 บงึ พระราม ๙ บึ งพระราม ๙ เป็นบงึ ขนาดใหญอ่ ยู่ใจกลางกรุงเทพมหานคร มเี นื้อท่ปี ระมาณ ๑๓๐ ไร ่ ไดเ้ กดิ ปัญหามลพษิ จากการเน่าเสียของน้ำอย่างรนุ แรง พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั ทรงห่วงใย ในความเดอื ดร้อนของราษฎร จึงไดพ้ ระราชทานพระราชดำรใิ นการแก้ไข ด้วยการใชเ้ ครอื่ งเตมิ อากาศลงไปในนำ้ เพราะการใชว้ ธิ ีการทางธรรมชาติแตเ่ พยี งอย่างเดียว ไม่เพียงพอในการบำบดั น้ำเสยี ใหด้ ีขึ้นได้ ซง่ึ ลกั ษณะของระบบการบำบัดน้ำเสยี บึงพระราม ๙ ตามแนวพระราชดำรนิ ้ี เป็นระบบการใชเ้ ครอ่ื งจักรกลเตมิ อากาศ มาช่วยเพม่ิ ออกซเิ จนละลายนำ้ เพือ่ ใหแ้ บคทีเรียชนดิ ท ี่ ใชอ้ อกซเิ จนช่วยย่อยสลายสารอินทรยี ใ์ นน้ำได้ ระบบบำบัดน้ำเสียแบบสระเตมิ อากาศ เป็นระบบบำบดั นำ้ เสียทางชีววิทยา เร่มิ จากการ สบู นำ้ เสยี จากคลองลาดพรา้ วท่อี ยู่ติดกับบึงพระราม ๙ เขา้ ไปบอ่ เติมอากาศ ซ่งึ จะมีการเติมอากาศ ดว้ ยเคร่ืองเติมอากาศตลอดเวลา น้ำเสียจะถูกกกั เก็บในบ่อเตมิ อากาศนาน ๑๖ ชวั่ โมง จากนนั้ จะไหลไปยังบ่อก่ึงไร้อากาศ เพ่ือบำบัดสารอินทรีย์ที่หลงเหลือจนกลายเป็นน้ำใสสะอาด แล้ว ระบายลงสคู่ ลองลาดพรา้ วตามเดิม ซึง่ วธิ ีการบำบดั นำ้ เสยี ระบบน้คี วบคุมดแู ลไดง้ า่ ย ค่าใช้จา่ ยตำ่ ไม่มีปัญหาในเร่ืองกล่ินเน่าเหม็น จึงนับเป็นพระปรีชาสามารถท่ีส่งผลให้พสกนิกรทั้งหลายม ี คุณภาพชีวติ และสภาพแวดลอ้ มทีด่ ี
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124