Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 33_สมชาย รามสูต

33_สมชาย รามสูต

Published by Hommer ASsa, 2021-05-05 04:23:57

Description: 33_สมชาย รามสูต

Search

Read the Text Version

รายงานการศกึ ษา เรอ่ื ง ประสิทธภิ าพการจัดการภัยพิบตั ิและการตอบโตส้ ถานการณ์ ฉุกเฉินในการปฏบิ ัติงานรว่ มเครอื ขา่ ยในกรอบอาเซยี น (ASEAN Economic Commumity: AEC) ของสานกั งานปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัยจงั หวัดตาก จัดทาโดย นายสมชาย รามสูต รหัสประจาตวั นักศึกษา 33 เอกสารฉบบั นเี้ ป็นสว่ นหนง่ึ ในการศึกษาอบรม หลักสตู ร นกั บรหิ ารงานปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั (นบ.ปภ.) ร่นุ ที่ 10 วิทยาลยั ป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั กรมป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัย

ก คำนำ ในอดีตที่ผ่านมา ได้เกิดภัยพิบัติทางธรรมชาติมากมายทั่วโลก ซ่ึงการเกิดภัยธรรมชาติแต่ละคร้ัง ถือว่าเลวร้ายอย่างหนัก จึง ทาให้ประเทศสมาชิกอาเซียน ทั้งหมด 10 ประเทศ ได้แก่ ไทย มาเลเซีย เวียดนาม พม่า กัมพูชา ฟิลิปปนิ ส์ อินโดนีเซีย ลาว สิงคโปร์ และบรูไน ได้เล็งเห็นปัญหา และร่วมมือกันต้ังคณะกรรมการ จัดการภัยพิบัตอิ าเซียน (ASEAN Committee on Disaster Management : ACDM) ขึ้น พร้อมกับไดจ้ ัดการ ประชมุ ประจาปีขน้ึ คร้งั แรกในเดอื นธันวาคม พ.ศ. 2546 ณ เมืองบันดาเสรี เบการ์วนั ประเทศบรูไน พร้อมกับมี การจดั ประชุมข้ึนทุกปี โดยเจา้ ภาพการประชมุ จะเวียน ตามลาดบั ตัวอักษรภาษาองั กฤษ ของช่ือประเทศสมาชกิ เป้าหมายหลักของประสิทธิภาพการจัดการภัยพิบัติและการตอบโต้สถานการณ์ฉุกเฉินในการ ปฏิบัตงิ านร่วมเครือข่ายในกรอบอาเซียน (ASEAN Economic Commumity: AEC) ของสานักงานปอ้ งกันและ บรรเทาสาธารณภัยจังหวัดตาก ภายใตก้ ารจัดการภัยพบิ ัติในกรอบของอาเซียน เพอ่ื กาหนดกรอบความร่วมมือ กาหนดยุทธศาสตร์ในการบริหารจัดการ แผนงานโครงการและกิจกรรมเร่งด่วนตามลาดับก่อนหลัง เพ่ือลดภัย พิบัติ ดังน้ัน งานสาคัญเร่งดว่ น คือ การสร้างกรอบการทางานบริหารจัดการภัยพบิ ัตใิ นภมู ิภาคอาเซียน ภายใต้ กรอบการดาเนินงานน้ีจะมีการพัฒนาความตกลงในภูมิภาคว่าด้วยการจัดการ ภัยพิบัติ และการทางานในภาวะ ฉุกเฉนิ , พัฒนามาตรฐานการทางานช่วยเหลือในยามเกิดภยั พิบัตติ ามความตกลง, เสริมสร้างประสิทธภิ าพในการ ทางานแต่ละประเทศสมาชิกเพื่อช่วย เหลือแบบฉุกเฉินฉับพลันในยามเตรียมพร้อมและป้องกันภัยพิบัติ ชว่ ยเหลือกรณีเกิดภาวะวิกฤต สาหรับแผนปฏิบัติการภายใต้ความตกลงฯ ของคณะกรรมการจัดการภยั พบิ ัตกิ ับ อาเซียน ประจาปี พ.ศ. 2553 – พ.ศ. 2558 (ค.ศ. 2010- ค.ศ. 2015) ไดม้ ีการกาหนดไว้ 4 ด้าน เพ่อื การปฏบิ ัติ ให้เป็นไปในทิศทางเดียวกันของชาติสมาชิก ได้แก่ 1. การประเมินความเส่ียง การแจ้งเตือนล่วงหน้า 2. การ เตรยี มความพรอ้ มและตอบโต้ 3. การป้องกนั และบรรเทาภยั พิบัติ 4. การบูรณะฟื้นฟู ดงั น้ัน จึงมีความจาเป็นท่ีจะต้องทาการศึกษาค้นคว้าว่า ประสิทธิภาพการจัดการภัยพบิ ัติและการ ตอบโต้สถานการณ์ฉุกเฉินในการปฏบิ ัตงิ านร่วมเครือข่ายในกรอบอาเซียน (ASEAN Economic Commumity: AEC) ของสานักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดตาก เพื่อนาข้อมูลที่ได้จากกากศึกษากลไกท่ีมี ประสิทธิภาพเพ่ือลดความเสียหายจากภัยพิบัติต่อชีวิตและทรัพย์สินของสังคมเศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อม ของ จงั หวดั ตาก โดยกรอบของอาเซียนโดยครอบคลุมท้ัง 1) ก่อนเกิดภัยพิบัติ 2) ขณะเกิดภยั พบิ ัติ 3) หลังเกิดภัย พิบัติ และศึกษาความร่วมมือทางด้านวิชาการ การเสริมสร้างศักยภาพของหน่วยงานและบุคลากร โดยเน้น หลักการ ใช้ทรัพยากรที่มีอย่างจากัดให้เกิดประโยชน์สูงสุด ในการช่วยเหลือภายใต้การดาเนินในกรอบของการ พัฒนาอย่างยัง่ ยืน เป็นข้อมูลพ้นื ฐานมาปรบั ปรุงการปฏบิ ัติงานให้เกิดผลสาเร็จตามเป้าหมายต่อไปในอนาคต สมชาย รามสตู มีนาคม 2557

ข กติ ตกิ รรมประกาศ ประสิทธิภาพการจัดการภัยพิบัติและการตอบโต้สถานการณ์ฉุกเฉินในการปฏิบัติงานร่วม เครือข่ายในกรอบอาเซียน (ASEAN Economic Commumity: AEC) ของสานักงานป้องกันและ บรรเทาสาธารณภัยจงั หวัดตาก ครั้งน้ี สาเรจ็ ไดด้ ้วยความกรุณาจากหลายทา่ น ขอขอบพระคุณอาจารย์ที่ปรึกษา ดร.ปิยวัฒน์ ขนิษฐบุตร และอาจารย์ นางวรชพร เพชรสุวรรณ ที่กรุณาใหค้ าแนะนาในการศกึ ษาครงั้ นี้ ขอขอบคณุ หวั หน้าสานกั งานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจงั หวัดตาก และ ข้าราชการในสังกดั พร้อมดว้ ย นายก เทศบาล/อบต. ปลัดเทศบาลตาบล/เมือง หวั หนา้ ฝ่ายปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั อบต./เทศบาล เจา้ พนักงานป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั อบต./เทศบาล จังหวัดตากทุกท่านที่ให้ความ ช่วยเหลอื เป็นอยา่ งดยี ่งิ ในการเก็บข้อมูล ตลอดจนเอกสาร จนทาใหก้ ารศกึ ษาคร้งั นล้ี ลุ ่วงไปด้วยดี นายสมชาย รามสตู นบ.ปภ. 10 เลขที่ 33 มนี าคม 2557

ค บทสรปุ ผบู้ ริหาร การศึกษาวิจัย เร่ือง “ประสิทธิภาพการจัดการภัยพิบัติและการตอบโต้สถานการณ์ ฉุกเฉินในการปฏิบัติงานร่วมเครือข่ายในกรอบอาเซียน อาเซียน (ASEAN Economic Commumity: AEC) ของสานักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดตาก“ ในคร้ังน้ี เพื่อวิเคราะห์ความสาเร็จใน การบริหารจัดการการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบสาธารณภัย ใน 3 ด้าน คือด้านงบประมาณ ด้าน บุคลากร และด้านเคร่ืองมือ เครื่องใช้ เคร่ืองจักรกลยานพาหนะ พบว่า ในด้านบุคลากร ด้าน งบประมาณ และ ด้านเคร่ืองมือ เคร่ืองใช้ เคร่ืองจักรกล ยานพาหนะ ท่ีจะสามารถสนับสนุนการ ปฎิบตั ิงานของขา้ ราชการและหนว่ ยงานเครือข่าย ในพน้ื ทคี่ วามรบั ผิดชอบ ไดอ้ ยา่ งทนั ท่วงที ซ่ึงตามแผน ปฎิบัติการฉุกเฉินการป้องกันและแก้ไขปัญหาสาธารณภัย ประจาปี 2557 สานักงานป้องกันและบรรเทา สาธารณภัยตาก ได้บูรณาการสรรพกาลังต่างๆ มีการแบ่งมอบหน้าที่การปฎิบัติงานอย่างชัดเจน ตั้งแต่ ก่อนเกิดภัย ขณะเกดิ ภัย และหลังภยั ส้ินสุดลง ด้านงบประมาณ ซึ่งตามปกติแล้วงบประมาณในการช่วยเหลือผู้ประสบภัยน้ัน จังหวัด โดยผู้ว่าราชการจังหวัดมีเงินทดรองราชการตามระเบียบกระทรวงการคลังฯ ในการให้ความช่วยเหลื อ ผู้ประสบภัยในส่วนน้ีไว้แล้ว แต่ก็มีความจาเป็นต้องสนับสนุนบุคลากรพร้อมเครื่องมือ เคร่ืองใช้ เครอื่ งจกั รกลยานพาหนะเพื่อเร่งให้ความช่วยเหลือด้านสาธารณภัยในพื้นที่จังหวัดตามความจาเป็นต้องมี งบประมาณเพื่อเปน็ คา่ ใชจ้ า่ ยในการปฎิบตั ิงาน แตย่ ังติดขัดในข้อระเบียบ/กฎหมาย ทาให้ไม่คล่องตัวเกิด ความล่าชา้ ด้านบุคลากรมีความสาคัญเนื่องจากบุคลากรเป็นกาลังความสาคัญในกาขับเคลื่อนการ บริหารจดั การการปฎบิ ัตงิ านปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัย ให้ความช่วยเหลือผู้ประสบสาธารณภัย จึงมี การเตรียมความพร้อมด้านบุคลากร ส่งเสริมสนับสนุนให้มีความรู้และพัฒนาทักษะ ความสามารถอย่าง ตอ่ เน่ือง ด้านเครื่องมือ เคร่ืองจักรกลยานพาหนะ มีความสาคัญอย่างมากจากสาเหตุการเกิด สาธารณภยั มคี วามรุนแรงและขยายเป็นวงกวา้ ง แต่ละคร้ังเป็นเวลานาน และบางครัง้ จงั หวดั ร้องขอรับการ สนบั สนุนความช่วยเหลือจากหน่วยงานข้างเคียงและเครือข่าย พร้อมๆ กัน หลายจังหวัด ทาให้เครื่องมือ เครื่องใช้ เคร่ืองจักรกล ยานพาหนะท่ีมีอยู่ไม่เพียงพอ และไม่สามารถสนับสนุนได้อย่างรวดเร็วเท่าที่ควร การจดั หาเพิม่ เติมเป็นไปได้ยาก เนอ่ื งจาก เปน็ ครภุ ัณฑ์ และเครื่องมือเคร่ืองใช้ เครื่องจักรกล ยานพาหนะ มีราคาแพงไมส่ ามารถดาเนินการจดั หาเองได้ ตอ้ งรอการสนับสนนุ จากหนว่ ยงานส่วนกลาง (กรม ปภ.)

ค ในการนี้ หวังว่าการศึกษาในครั้งนี้ จะเป็นประโยชน์ต่อหน่วยงานด้านการสนับสนุน จงั หวดั ให้มปี ระสทิ ธภิ าพจัดการภยั พิบัติและการตอบโต้สถานการณ์ฉุกเฉินในการปฏิบัติงานร่วมเครือข่าย ในกรอบอาเซียน (ASEAN Economic Commumity: AEC) สานักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย จังหวัดตากผู้ประสบภัยต่างๆ และผู้บริหารของหน่วยงาน เพ่ือใช้ประกอบการพิจารณาวางแนวทางใน การเตรียมความพร้อมป้องกัน และใช้ทรัพยากรท่ีมีอย่างจากัดให้เกิดประโยชน์สูงสุด ในการช่วยเหลือ ผ้ปู ระสบภัยให้เกิดความรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพภายใต้การดาเนินในกรอบของการพัฒนาอย่างยั่งยืน ยง่ิ ข้ึนต่อไป สมชาย รามสตู นบ.ปภ.10 เลขที่ 33

ง สารบญั คำนำ หน้า กิตติกรรมประกำศ ก บทสรุปของผบู้ ริหำร ข สำรบญั ค ง บทที่ 1 บทนา 1 1.1 ควำมเป็นมำและสถำนกำรณ์ปัจจุบนั 1 1.2 เหตุผลและควำมจำเป็นในกำรศึกษำและคำถำมในกำรวจิ ยั 2 1.3 วตั ถุประสงคข์ องกำรวจิ ยั 2 1.4 วธิ ีกำรและขอบเขตของกำรวจิ ยั 2 1.5 นิยำมศพั ท์ 3 1.6 ผลที่คำดวำ่ จะไดร้ ับ 3 1.7 ขอ้ จำกดั ของกำรศกึ ษำ 3 บทที่ 2 กรอบแนวคดิ ทฤษฎี และงานวจิ ยั ทเ่ี กย่ี วข้อง 4 2.1 แนวคิดและทฤษฎีดำ้ นกำรจดั กำรสำธำรณภยั 4 2.2 แนวคดิ และทฤษฎีกำรมีส่วนร่วม 7 2.3 แผนป้ องกนั และบรรเทำสำธำรณภยั จงั หวดั ตำก พ.ศ. 2553-2557 17 2.4 กฏหมำยที่เก่ียวขอ้ ง 21

สำรบญั (ต่อ) ง 2.5 งำนวจิ ยั ท่ีเกี่ยวขอ้ ง หนำ้ 2.6 สรุปทฤษฎีและแนวคิดในกำรจกั กำรสำธำรณภยั 23 บทที่ 3 วธิ ีการดาเนินการวจิ ยั 26 3.1 รูปแบบกำรวจิ ยั 3.2 ประชำกรและกลุ่มตวั อยำ่ ง 28 3.3 เครื่องมือกำรวจิ ยั 28 3.4 กำรเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล 28 3.5 วธิ ีรวบรวม 28 3.6 กำรวเิ ครำะห์ขอ้ มูล 30 30 บทที่ 4 การวเิ คราะห์ผลการศึกษา 30 4.1 ประเดน็ กำรวเิ ครำะหข์ อ้ มูลส่วนท่ี 1 31 4.2 ประเดน็ กำรวเิ ครำะหข์ อ้ มลู ส่วนท่ี 2 31 สรุปขอ้ เสนอแนะ 31 38 บทที่ 5 สรุป อภิปราย ข้อเสนอแนะ 39 5.1 บทสรุปผลกำรศึกษำ 39 5.2 ขอ้ เสนอแนะในเชิงนโยบำย 41 5.3 อภิปรำยผลกำรศึกษำขอ้ เสนอแนะ 41 5.4 ขอ้ เสนอแนะในกำรศกึ ษำ 43

ง สำรบญั (ต่อ) หนำ้ 5.5 แนวทำงกำรปฏิบตั ิของสำนกั งำนป้ องกนั 44 และบรรเทำสำธำรณภยั จงั หวดั และองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน 45 46 5.6 ขอ้ เสนอแนะในกำรศึกษำคร้ังต่อไป 49 บรรณำนุกรม 50 ภำคผนวก 54 ภำคผนวก แบบสัมภำษณ์ 58 แบบกำรเสนอโครงร่ำงกำรศกึ ษำ ประวตั ิผวู้ จิ ยั

บทที่ 1 บทนำ 1.1 ควำมเป็นมำของเรื่องและสถำนกำรณ์ปจั จบุ ัน ในอดีตที่ผ่านมา ได้เกิดภัยพิบัติทางธรรมชาติมากมายท่ัวโลก ซ่ึงการเกิดภัยธรรมชาติแต่ละครั้งถือว่า เลวร้ายอย่างหนัก จึง ทาให้ประเทศสมาชิกอาเซียน ทั้งหมด 10 ประเทศ ได้แก่ ไทย มาเลเซีย เวียดนาม พม่า กัมพูชา ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย ลาว สิงคโปร์ และบรูไน ได้เล็งเห็นปัญหา และร่วมมือกันตั้งคณะกรรมการ จัดการภัยพบิ ตั ิอาเซียน (ASEAN Committee on Disaster Management : ACDM) ข้ึน พร้อมกับได้จัดการ ประชมุ ประจาปขี ึ้นคร้งั แรกในเดือน ธันวาคม พ.ศ. 2546 ณ เมืองบนั ดาเสรี เบการ์วัน ประเทศบรูไน พร้อม กบั มีการจดั ประชุมขึ้นทุกปี โดยเจ้าภาพการประชุมจะเวียน ตามลาดับตัวอักษรภาษาอังกฤษ ของชื่อประเทศ สมาชิก เปา้ หมายหลกั ของคณะกรรมการจดั การภัยพิบัติอาเซียน คือ ร่วมกันจัดทาโครงการจัดการภัยพิบัติใน ภูมิภาคอาเซียน หรือ ASEAN Regional Programme on Disaster Management (ARPDM ) เพื่อกาหนด กรอบความรว่ มมือ กาหนดยทุ ธศาสตรใ์ นการบริหารจดั การ กาหนดงานและกจิ กรรมเร่งด่วนตามลาดบั กอ่ นหลัง เพ่อื ลดภัยพบิ ตั ิ ดังน้ัน งานสาคัญเร่งด่วนของ ARPDM คือ การสร้างกรอบการทางานบริหารจัดการภัยพิบัติใน ภูมภิ าคอาเซยี น ภายใต้กรอบการดาเนินงานน้ีจะมีการพัฒนาความตกลงในภูมิภาคว่าด้วยการจัดการ ภัยพิบัติ และการทางานในภาวะฉุกเฉิน, พัฒนามาตรฐานการทางานช่วยเหลือในยามเกิดภัยพิบัติตามความตกลง, เสริมสร้างประสทิ ธิภาพในการทางานของคณะทางานในแต่ละประเทศสมาชิกเพ่อื ช่วย เหลือแบบฉกุ เฉนิ ฉับพลัน ในยามเกิดภยั พิบตั ิ และ จดั กิจกรรมซ้อมรับมือภยั พบิ ตั ใิ นอาเซียนอย่างสม่าเสมอ สาหรับแผนปฏิบัติการภายใต้ความตกลงฯ ของคณะกรรมการจัดการภัยพิบัติกับอาเซียน ประจาปี พ.ศ. 2553 – พ.ศ. 2558 (ค.ศ. 2010- ค.ศ. 2015) ไดม้ กี ารกาหนดไว้ 4 ด้าน เพอื่ การปฏิบัตใิ ห้เป็นไปในทิศทาง เดยี วกนั ของชาตสิ มาชิก ไดแ้ ก่ 1. การประเมนิ ความเส่ียง การแจ้งเตือนล่วงหน้า 2. การเตรียมความพร้อมและ ตอบโต้ 3. การปอ้ งกนั และบรรเทาภยั พิบตั ิ 4. การบูรณะฟ้ืนฟู สาหรับประเทศไทยได้ดารงตาแหน่งประธานคณะกรรมการอาเซียนด้านการจัดการภัย พิบัติ ใน พ.ศ. 2555 และไทยก็ได้รบั มอบหมายให้เป็นประเทศแกนนาในการดาเนินกิจกรรมลาดับท่ี 5 คือ วันจัดการภัย พิบัติของอาเซียน (ASEAN Day for Disaster Management - ADDM) โดย ได้มีการกาหนดให้ทุกวันพุธท่ี สองของเดือนตลุ าคมของทุกปี เป็นวันจัดการภัยพิบัติของอาเซียน และมติท่ีประชุมระดับรัฐมนตรีอาเซียน เม่ือ วันที่ 7 ธันวาคม พ.ศ. 2548 ณ กรุงพนมเปญ ประเทศกัมพูชา ได้กาหนดให้ประเทศสมาชิกอาเซียนทุก ประเทศเข้าร่วมกิจกรรมวันจัดการภัยพิบัติ ของอาเซียน ท้ังในระดับประเทศและระดับภูมิภาค โดยมี วัตถุประสงค์หลัก เพ่ือหาแนวทาง การดาเนินการในการลดภัยพิบัติ และเตรียมการสาหรับการจัดกิจกรรมวัน จัดการภยั พบิ ตั ิ รวมถงึ การวางแผนงานสาหรับปตี ่อไป ดังนั้น จึงมีความจาเป็นทจ่ี ะตอ้ งทาการศกึ ษาคน้ ควา้ ว่า ประสิทธภิ าพการจัดการภัยพิบัติและการตอบ โตส้ ถานการณ์ฉกุ เฉินในการปฏิบตั ิงานรว่ มเครอื ข่ายในกรอบอาเซียน (ASEAN Economic Commumity: AEC) ของสานักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดตาก มีแนวทางการบริหารจัดการด้านใดบ้างที่จะนาไปสู่ ความสาเรจ็ เพ่ือนาข้อมูลที่ได้ เป็นข้อมูลพืน้ ฐานมาปรบั ปรุงการปฏบิ ัตงิ านให้เกิดผลสาเร็จตามเป้าหมายต่อไป ในอนาคต

2 1.2 เหตุผลและควำมจำเปน็ ในกำรศกึ ษำและคำถำมในกำรวิจัย เพ่ือนาข้อเท็จจริงพร้อมทั้งปัญหาและอุปสรรคในการปฏิบัติงานไปใช้เป็นแนวทาง การทบทวน ปรับปรุงแผนการเตรียมความพร้อมในการจัดการภัยพิบัติและการตอบโต้สถานการณ์ฉุกเฉินในการ ปฏิบัติงานร่วมเครือข่ายในกรอบอาเซียน (ASEAN Economic Commumity: AEC) ของสานักงาน ป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัยจังหวดั ตาก ให้มีประสิทธิภาพย่งิ ขน้ึ 1.3 วตั ถุประสงค์ของกำรศกึ ษำ 3.1 เพ่ือศึกษากลไกที่มีประสิทธิภาพเพื่อลดความเสียหายจากภัยพิบัติต่อชีวิตและทรัพย์สินของ สงั คมเศรษฐกิจ และส่ิงแวดล้อม ของจังหวัดตาก โดยกรอบของอาเซียนโดยครอบคลุมท้ัง 1) ก่อนเกิดภัย พบิ ัติ 2) ขณะเกิดภยั พิบตั ิ 3) หลงั เกิดภยั พบิ ัติ 3.2 เพ่ือศึกษาความร่วมมือทางด้านวิชาการ การเสริมสร้างศักยภาพของหน่วยงานและบุคลากร โดยเน้นหลักการ ใช้ทรัพยากรที่มีอย่างจากัดให้เกิดประโยชน์สูงสุด ในการช่วยเหลือภายใต้การดาเนินใน กรอบของการพฒั นาอย่างยงั่ ยนื 1.4 วธิ กี ำรและขอบเขตของกำรศึกษำ การศึกษาคร้งั นี้ ผู้ศึกษาได้กาหนดขอบเขตของการศกึ ษาดังน้ี 1) ศึกษาโดย การวิจัยเชิงคณุ ภาพ (Qualitative Research) ใช้ชุดคาถาม (Questionnaire) เป็น เคร่อื งมือในการวิจัยวิธกี ารศึกษาจัดเก็บรวบรวมข้อมลู ใชแ้ บบสอบถามกบั กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ ขา้ ราชการ และเจ้าหน้าที่ของสานักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดตาก และเจา้ หนา้ ทอ่ี งคก์ รปกครอง สว่ นท้องถ่นิ ท่เี กี่ยวข้องท่ีอยู่ในพ้นื ทร่ี ับผิดชอบและนาข้อมูลจากแบบสอบถามมาวิเคราะหข์ ้อมลู 2) ขอบเขตการศึกษา (ขอบเขตดา้ นเน้ือหา) 2.1 การพัฒนาประเทศดา้ นการจัดการภยั พบิ ัตเิ พื่อลดความเสี่ยงจากภยั พิบัตภิ ายใตก้ รอบความ รว่ มมอื ระหว่างอาเซยี น 2.2กลไกสาคัญในการเตรยี มรับมือและชว่ ยเหลือผูป้ ระสบภัยยามฉกุ เฉิน 2.3 การปฏบิ ตั ิงานของบุคลากร พร้อมด้วยสนิ ทรัพย์และขีดความสามารถในพน้ื ที่ 3)ขอบเขตด้านระยะเวลา ระยะเวลาในการศึกษา 3 เดือน ตงั้ แต่เดอื นมกราคม – มนี าคม 2557 4)ขอบเขตด้านตวั แปร 4.1) ตัวแปรตน้ ได้แก่ เพศ อายุ ตาแหนง่ ประสบการณป์ ฏิบัติงาน ระดับการศกึ ษา และปัจจยั จากการไดร้ บั การสนับสนนุ ดา้ นต่าง ๆ เช่น ด้านงบประมาณ บุคลากร อุปกรณ์ เครือ่ งมือเครื่องจกั รกล ยานพาหนะ 4.2) ตัวแปรตาม ได้แก่ ประสทิ ธิภาพการจดั การภยั พิบตั แิ ละการตอบโต้สถานการณ์ฉุกเฉินใน การปฏิบัตงิ านร่วมเครือข่ายในกรอบอาเซียน (ASEAN Economic Commumity: AEC) ของสานกั งาน ป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัยจงั หวัดตาก

3 1.5 นยิ ำมศัพทเ์ ฉพำะท่ใี ชใ้ นกำรวิจัย ประชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี น (ASEAN Economic Commumity: AEC) คณะกรรมการจัดการภัยพบิ ตั ิอาเซียน (ASEAN Committee on Disaster Management : ACDM) คณะกรรมการจัดการภยั พิบัติภูมภิ าคอาเซยี น ASEAN Regional Programme on Disaster Management (ARPDM ) วนั จัดการภยั พบิ ตั ิของอาเซยี น (ASEAN Day for Disaster Management - ADDM) 1.6 ประโยชนท์ ีค่ ำดวำ่ จะไดร้ ับ 1.6.1 นาผลการวจิ ัยเพอ่ื เป็นฐานข้อมลู เบ้ืองตน้ เสนอจงั หวดั นาไปวางแผนในการจดั ทาแผน ปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัยจังหวดั ตาก 1.6.2 นาผลการวจิ ัยเสนอจงั หวดั เพอื่ เป็นข้อมูลในการกาหนดยทุ ธศาสตรด์ ้านการป้องกันและ บรรเทาสาธารณภัยจงั หวดั ตาก 1.7 ขอ้ จำกดั ของกำรศกึ ษำ การศึกษาคร้ังนี้เป็นความคดิ เห็นของผตู้ อบแบบสอบถาม แบบสมั ภาษณ์เท่านนั้

4 บทท่ี 2 แนวคดิ ทฤษฎี ระเบียบกฎหมำย และงำนวจิ ยั ทเี่ ก่ียวข้อง การศกึ ษาเรื่อง “ประสิทธภิ าพการจัดการภัยพิบัติและการตอบโตส้ ถานการณฉ์ ุกเฉินในการปฏบิ ตั ิงานร่วม เครอื ข่ายในกรอบอาเซียน (ASEAN Economic Commumity: AEC) ของสานักงานป้องกนั และบรรเทา สาธารณภัยจงั หวดั ตาก” มีแนวคิดทฤษฎรี ะเบียบกฎหมายที่ใชใ้ นการศึกษาและงานวิจัยทเี่ ก่ียวข้องดงั นี้ 2.1แนวคิดและทฤษฎดี ้านการจดั การสาธารณภัย 2.2 แนวคิดการมสี ่วนรว่ มของประชาชน 2.2.1 ความหมายของการมสี ่วนรว่ ม 2.2.2 แนวคดิ การมสี ว่ นร่วมของประชาชน 2.2.3 ทฤษฎีการบรหิ ารการมีสว่ นรว่ ม 2.3 กฏหมายท่เี กี่ยวข้อง 2.4 แผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวดั ตาก พ.ศ. 2553 - 2557 2.5 งานวจิ ัยท่เี ก่ยี วข้อง งานวิจยั ทีเ่ กี่ยวกบั การมสี ว่ นร่วมของประชาชน 2.6 สรุปผลกรอบแนวคิดและทฤษฎีด้านการจดั การสาธารณภัย 2.1 แนวคิดและทฤษฎีด้ำนกำรจดั กำรสำธำรณภัย แนวคิดการจัดการสาธารณภยั วัฐจกั รการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั ประกอบดว้ ยการป้องกันและลดผลกระทบ การ เตรียมความพรอ้ ม การบรหิ ารจัดการในภาวะฉุกเฉนิ และการจัดการหลงั เกิดภยั ภัยพิบัติจากธรรมชาติ และภยั จากการกระทาของมนษุ ย์ ได้สรา้ งความสูญเสียให้แกช่ ีวติ และทรัพย์สินของประชาชนและของรฐั เปน็ อย่างมาก ดังนน้ั จงึ ควรเตรยี มพร้อมป้องกันภัยพบิ ัติ ทั้งในเร่ืองคนและเครื่องมือไว้ให้พรอ้ มสาหรบั การ เผชิญเหตุสาธารณภยั รวมท้งั จัดระบบการบริหารจดั การในสถานการณ์ฉุกเฉิน การบรหิ ารงานในภาวะวิกฤตหมายถึง ภาวะท่ีมีกรณีหรือเหตุการณ์เกิดข้ึนทาใหเ้ กิดความเสียหาย แกช่ วี ิตและทรัพยส์ นิ ของประชาชน หรอื ของรฐั อยา่ งกวา้ งขวางรนุ แรง หรือทาให้เกิดความเสียหายตอ่ ภาพลกั ษณ์และชือ่ เสยี งของประเทศชาติ รัฐบาลในภาพรวม หรือบุคคลในรัฐบาล รวมถึงเหตกุ ารณ์ทสี่ ง่ ผล เสยี ต่อเสถยี รภาพทางการเมือง สงั คม เศรษฐกจิ อย่างรุนแรงดว้ ย ซงึ่ ลักษณะของภาวะวกิ ฤต มสี าเหตจุ าก ท้งั ธรรมชาติ และการกระทาของกล่มุ คน โดยเฉพาะอุทกภัย ภัยสารเคมแี ละวตั ถุอันตราย ปัจจยั ทส่ี าคัญทสี่ ง่ ผลสาเร็จในการบริหารจัดการ ไดแ้ ก่ - การจัดองค์กรรบั ผดิ ชอบในทกุ ระดับ - การค้นหาและช่วยเหลอื ผปู้ ระสบภยั - การรักษาความสงบเรียบรอ้ ยในพ้ืนท่ี

5 - การตอบสนองความจาเป็นพ้ืนฐานดา้ นปจั จัยส่ี (ท่มี า : คมู่ อื วิทยากรโครงการหนง่ึ ตาบลหน่งึ ทีมกู้ภัย กรมป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั หน้า 1-9) ทฤษฎีด้านการจัดการสาธารณภัย สาธารณภยั หมายถึง อัคคีภัย วาตภัย อุทกภัย ตลอดจนภัยอนื่ ๆ อนั มมี าเป็นสาธารณะ ไมว่ า่ เกิดจาก ธรรมชาติหรอื มผี ้ทู าใหเ้ กิดข้ึน กอ่ ใหเ้ กดิ อันตรายต่อชีวิตร่างกายของประชาชนหรอื ความเสียหายแก่ ทรัพย์สินของประชาชนหรือรฐั การจัดการสาธารณภัย ในแต่ละภัยทเ่ี กดิ ขึน้ จะใชห้ ลักปฏิบัตใิ นการป้องกนั บรรเทา และฟน้ื ฟูสาธารณภยั ที่อาจจะ เกดิ ขึน้ แบ่งเป็น 3 ระยะ คือ กอ่ นเกดิ ภยั จะต้องมีระบบการเตรียมการป้องกันลว่ งหน้า เพ่ือไม่ให้ สาธารณภยั เกิดขน้ึ พร้อมระบุหนว่ ยงานท่เี ก่ียวข้องในการปฏบิ ัตงิ านเม่อื เกิดภยั ขณะเกดิ ภัย เป็นขั้นตอน และวธิ ีการปฏบิ ตั ิเม่ือเกดิ สาธารณภยั ข้ึน โดยจะต้องระดมทรัพยก์ าลังจากทุกภาคส่วน เพอ่ื ระงับภยั และ ลดผลกระทบต่อชวี ิตและทรัพยส์ นิ ของประชาชนใหเ้ กิดความเสยี หายนอ้ ยที่สุด พรอ้ มกาหนดผู้บญั ชาการ เหตุการณห์ นว่ ยงานท่ีต้องรับผดิ ชอบอยา่ งชดั เจนและหลงั เกดิ ภยั เม่ือสาธารณภยั ผา่ นพ้นไปแล้ว จะต้อง เร่งฟืน้ ฟูบรู ณะความเสยี หายให้เข้าส่ภู าวะปกตโิ ดยเรว็ ที่สุด พรอ้ มระบุหน่วยงาน ท่เี กี่ยวข้องในการ ดาเนนิ การให้ชดั เจน (ท่มี า : คู่มอื วทิ ยากรโครงการหนึ่งตาบลหนึง่ ทีมก้ภู ยั กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั หน้า 10-18) กระบวนการการดาเนนิ งานป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั พิจารณาเป็นข้นั ตอน ดงั น้ี ขัน้ ท่ี 1 การดาเนนิ การก่อนเกิดภัย (Prevention and Preparedness) เป็นการดาเนนิ การป้องกันและ ลดผลกระทบจากภัยพบิ ัติ และเตรยี มพรอ้ มเผชิญเหตุ ไดแ้ ก่ การศึกษา ค้นควา้ วิจัย และวเิ คราะห์ความ เส่ยี ง การแจง้ เตือนภัย มีการจัดทาแผนอานวยการ/แผนป้องกันภัย โดยจัดทาเป็นแผนปฏิบตั กิ าร (Action Plan)/แผนโครงการการวางแผนปอ้ งกัน เช่น การวางระบบกน้ั นา้ เขื่อน ฯลฯ การกาหนดปอ้ งกนั ภยั และ วางระบบปฏิบตั ิงาน และจัดให้มีการฝึกอบรม/จัดเตรียมบุคลากรและเครือ่ งมืออุปกรณ์ตา่ งๆ ให้พร้อม ตลอดเวลา สามารถนาไปใชไ้ ดอ้ ยา่ งปลอดภัย และควรมีการให้ความรกู้ บั ชุมชน และประชาชนในเร่ืองภยั พบิ ัตติ า่ งๆ ข้ันท่ี 2 การดาเนินงานขณะเกดิ ภยั (Response Rescue Relief and Mitigation) เปน็ การดาเนนิ งาน ขณะที่เกดิ ภยั พิบตั ิในสภาวะฉุกเฉินทีจ่ ะตอ้ งเขา้ ไประงบั ภัย และใหก้ ารชว่ ยเหลือผู้ประสบภยั อยา่ ง ทนั ท่วงที ข้ันท่ี 3 การดาเนินงานภายหลงั การเกิดภยั (Recovery and Development) เปน็ การฟ้ืนฟพู ้นื ท่ปี ระสบ ภัยพบิ ัติ โดยการให้ความช่วยเหลอื ด้านอาชีพ สงิ่ สาธารณปู โภค บรกิ ารของรัฐ ฯลฯ ใหก้ ลบั คืนสู่สภาพเดมิ และเสริมสร้างความรู้ใหก้ ับชุมชน ประชาชน เพื่อเตรยี มความพร้อมป้องกันภัยพบิ ตั ิที่อาจเกิดขน้ึ ใน อนาคต รวมถึงเปา้ หมายสาคัญในการดาเนินการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยด้วย อย่างไรก็ตาม ใน ปจั จุบนั ไม่ไดใ้ ห้ความสาคญั เท่าท่ีควรในการนามาปฏิบตั ใิ ช้อย่างเหมาะสม การแจง้ เตือนภัยล่วงหนา้ เป็นการแจ้งใหบ้ ุคคล กลุ่มคน หรือประชาชนโดยทัว่ ไปใหไ้ ดร้ บั ขอ้ มลู ข่าวสารทเ่ี กีย่ วกบั ภยั ที่มีหรอื กาลงั จะ มาและสิ่งท่ีสามารถจะกระทาได้ เพ่ือปอ้ งกันหลีกเลี่ยงหรือลดความรนุ แรงของภัยที่จะเกิดข้นึ โดยมี วัตถุประสงค์ของการเตือนภัยล่วงหนา้ ดงั น้ี

6 1. เพอื่ แจ้งใหท้ ราบเก่ยี วกับภยั ทีก่ าลังจะเกิดข้ึน และสงิ่ ท่ีมีความเสีย่ งจากภัยน้ันๆ สภาพแวดล้อม และ ความตอ้ งการตา่ งๆ 2. เพื่อให้คาแนะนาเกย่ี วกับ 2.1 วิธกี ารในการปอ้ งกนั (Means of Prevention) เชน่ การเนา่ เสียของแหล่งน้าอันเนื่องจากการ ปนเป้ือนของแบคทีเรยี หรือเชอ้ื โรคตา่ งๆ หรอื จากการกระทาของมนุษย์ เช่น การทาเหมืองแร่ เป็นต้น 2.2 วิธกี ารในการเตรยี มพร้อม (Means of Preparedness) เช่น การเตอื นวา่ มพี ายุฝนฟา้ คะนองรนุ แรง อาจมนี ้าทว่ มฉับพลัน ให้เตรยี มตัวทจ่ี ะอพยพไปอยู่ยงั ทีป่ ลอดภยั 2.3 วิธกี ารในการบรรเทา (Means of Mitigation) เช่น การใหเ้ สริมกระสอบทรายเพื่อป้องกนั นา้ ทว่ ม 2.4 วิธีการตอบสนองต่อภาวะคุกคาม (Means of Response) เช่น การเตอื นถึงภาวะที่นา้ กาลังจะลน้ เขอื่ นก้ันน้าต้องมีการเสริมความสงู และความแข็งแรงของเขือ่ น อย่างเร่งดว่ น 3. เพ่ือบอกให้ทราบถึงสงิ่ ที่บุคคลหรอื ชุมชนนัน้ ควรปฏบิ ัติ เช่น 3.1 ควรทาอะไร (What to do) เมอ่ื เกดิ ภัย เชน่ เกบ็ ขา้ วของให้พน้ จากนา้ ท่วม 3.2 ควรทาเมอื่ ไร (When) เช่น การเสริมกระสอบทรายเม่อื มีน้าไหลเขา้ มา 3.3 ควรทาอยา่ งไร (How) เชน่ ควรมีการเกบ็ อาหารไว้เป็นเสบียงเพ่อื ไม่ให้ขาดแคลนอาหาร 3.4 ใคร (Who) ควรทาอะไรในภาวะท่ีมีภยั 3.5 ควรไปที่ไหน (Where) เชน่ เมอ่ื มนี า้ ท่วมใหอ้ พยพไปอย่ทู ส่ี ูง 4. สง่ิ ท่คี วรคานงึ ถงึ เกีย่ วกับการเตือนภัยล่วงหน้า 4.1 แจง้ ใหป้ ระชาชนทราบถึงความหมายของสัญญาณเตือนภยั 4.2 แจง้ ให้ประชาชนในชุมชนได้รับทราบถึงความเป็นไปหรือขา่ วลา่ สุด 4.3 ปา้ ยประกาศข้อมูลหรอื ข่าวสารควรตดิ ไวบ้ ริเวณสถานท่ีราชการ วัด โรงเรยี น รา้ นคา้ ประจาหมูบ่ า้ น สถานโี ดยสารตา่ งๆ หรอื สถานทคี่ นมองเห็นไดช้ ัดหรือเปน็ ท่ีท่ีคนชมุ นมุ กันหรอื ผ่านไปมาบ่อยๆ 4.4 จดั ต้งั คณะกรรมการสาหรบั ใหข้ อ้ มลู ข่าวสาร เพ่ือตรวจสอบเตรียมงานสาหรับการสง่ หรอื แจกจา่ ย ข้อมลู เกยี่ วกับพยากรณ์อากาศ การแจง้ เตือนภัยลว่ งหน้า และดแู ลเกย่ี วกบั เร่ืองภัยพิบัติต่างๆ ของชมุ ชน ไม่วา่ จะเปน็ ภยั จากธรรมชาติหรือภัยทีม่ นุษย์กอ่ ขนึ้ เอง 4.5 กาหนดบทบาทและความรบั ผดิ ชอบของหนว่ ยงานหรือคนในชุมชนจะมบี ทบาทแตกต่างกนั ไป ในการ รเิ รมิ่ จดั การและรบั ผิดชอบต่อหนา้ ที่ต่างๆ ในการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั ของชุมชน บทบาทและ ความรบั ผิดชอบน้ี อาจจะเปน็ บทบาทหลกั ท่ีมีหนา้ ทโ่ี ดยตรง หรือบทบาทรองที่มหี น้าท่สี นับสนนุ ให้ความ ชว่ ยเหลือ ความรนุ แรงของสาธารณภัย ระดับความรนุ แรงของสาธารณภยั ตามแผนการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ.2553-2557 แบง่ เปน็ 4 ระดบั โดยมีผู้รบั ผิดชอบตามระดบั ความรนุ แรง ดังนี้

7 ระดบั ควำม ลักษณะภัยและควำม กำรจัดกำรสำธำรณภัย รุนแรงของ รุนแรง สำธำรณภยั สาธารณภยั ทเ่ี กดิ ข้ึนทั่วไป ผอู้ านวยการท้องถิ่น ผู้อานวยการอาเภอ สามารถ 1 หรอื มีขนาดเลก็ ควบคุมสถานการณ์และจดั การระงับภัยไดโ้ ดยลาพัง 2 สาธารณภัยขนาดกลาง ผู้อานวยการท้องถน่ิ ผู้อานวยการอาเภอ ไมส่ ามารถ ควบคมุ สถานการณ์ได้ ผูอ้ านวยการจงั หวัด เขา้ ควบคมุ สถานการณ์ 3 สาธารณภัยขนาดใหญท่ ่ีมี ผอู้ านวยการจังหวดั ไมส่ ามารถควบคุมสถานการณ์ได้ ผลกระทบรุนแรง ผอู้ านวยกลาง และ/หรือผู้บัญชาการปอ้ งกนั และ กวา้ งขวาง หรือสาธารณภัย บรรเทาสาธารณภัยแหง่ ชาติ เขา้ ควบคมุ สถานการณ์ ท่ีจาเปน็ ต้องอาศยั ผ้เู ชีย่ วชาญหรืออุปกรณ์ พเิ ศษ 4 สาธารณภัยขนาดใหญ่ท่ีมี นายกรัฐมนตรีหรอื รองนายกรฐั มนตรที ่นี ายกรัฐมนตรี ผลกระทบร้ายแรงอยา่ งย่ิง มอบหมาย ควบคมุ สถานการณ์ (ทมี่ า : แผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ.2553-2557 ) จากแนวคดิ เก่ยี วกับการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั สรปุ ไดว้ ่า การปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั หมายถึง การเตรียมความพร้อมในการบรหิ ารจัดการสาธารณภยั ซง่ึ แบ่งเปน็ 3 ขนั้ ตอน คือ 1) ก่อนเกิดภยั 2) ขณะเกิดภยั 3) ภัยสิ้นสุด เปน็ การบรู ณะฟื้นฟูให้กลับสสู่ ภาพเดมิ 2.2 แนวคิดและทฤษฎีเกย่ี วกบั กำรมีสว่ นรว่ ม 2.2.1 ความหมายของการมสี ่วนร่วม นิรันดร์ จงวุฒเิ วศย์ ไดใ้ ห้ความหมายของการมีสว่ นร่วมว่าเป็นการเกี่ยวข้องทางด้าน จติ ใจและอารมณ์ของบคุ คลหนง่ึ ในสถานการณ์กลุ่มซ่ึงผลของการเก่ียวข้องดังกลา่ วเปน็ เหตุเรา้ ใจใหก้ ารทา การให้บรรลุจดุ มงุ่ หมายของกลุ่มนน้ั กับการเกิดความรูส้ ึกรว่ มรับผดิ ชอบกบั กล่มุ ด้วยส่วนปารชิ าต วลยั เสถียร ปำริชำต วลยั เสถียรไดใ้ ห้ความหมายของการมสี ่วนรว่ มใน 2ลกั ษณะกลา่ วคอื

8 1. การมีส่วนร่วมในลักษณะท่ีเป็นกระบวนการของการพัฒนาโดยให้ประชาชนมีส่วนร่วมใน กระบวนการพฒั นาต้ังแตเ่ รม่ิ ตน้ จนสน้ิ สดุ โครงการ เชน่ การรว่ มกันค้นหาปัญหา การวางแผนการตัดสินใจ การระดมทรัพยากรและเทคโนโลยีท้องถิ่น การบริหารจัดการ การติดตามประเมินผล รวมถึงการรับ ผลประโยชน์ที่เกิดข้ึนจากโครงการ โดยท่ีโครงการพัฒนาดังกล่าวจะต้องมีความสอดคล้องกับวิถีชีวิตและ วัฒนธรรมของชมุ ชน 2. การมสี ว่ นรว่ มทางการเมืองซึ่งสามารถจาแนกได้เป็น๒ ประเภทคอื 2.1 การส่งเสริมสิทธิและพลังอานาจของพลเมืองโดยประชาชนหรือชุมชน เพื่อพัฒนาขีด ความสามารถในการจัดการเพ่ือรักษาผลประโยชน์ของกลุ่ม ควบคุมการใช้และการกระจายทรัพยากรของ ชุมชน อนั จะก่อใหเ้ กิดกระบวนการและโครงสรา้ งท่ีประชาชนในชนบทสามารถแสดงออกซึ่งความสามารถ ของตน และได้รบั ผลประโยชน์จากการพัฒนา 2.2 การเปลีย่ นแปลงกลไกการพฒั นาโดยรัฐมาเป็นการพัฒนาท่ีประชาชนมีบทบาทหลัก โดยการกระจายอานาจในการวางแผนจากสว่ นกลางมาสู่สว่ นภมู ิภาค เพ่ือให้ภูมิภาคมีลักษณะเป็นเอกเทศ ให้มีอานาจทางการเมือง การบริหาร มีอานาจต่อรองในการจัดการทรัพยากรโดยอยู่ในมาตรฐานเดียวกัน และประชาชนสามารถตรวจสอบได้ ซ่ึงอาจกล่าวได้ว่าเป็นการคืนอานาจในการพัฒนาให้แก่ประชาชน เพอื่ ใหม้ ีสว่ นร่วมในการกาหนดอนาคตของตนเอง และวัชรา ไชยสาร วัชรำ ไชยสำรได้ให้ความหมาย การมีส่วนร่วมทางการเมือง (Political Participation) หมายถึง “การกระทาใดๆ ก็ตามที่เกิดขึ้นโดยความเต็มใจ ไม่ว่าจะประสบความสาเร็จหรือไม่ ไม่ว่าจะมี การจัดการอย่างเป็นระเบียบหรือไม่ และไม่ว่าจะเกิดขึ้นเป็นครั้งคราวหรือต่อเน่ืองกัน จะใช้วิธีการที่ ถูกต้องตามกฎหมายหรือไม่ เพอื่ ผลในการทีจ่ ะมีอิทธผิ ลตอ่ การเลอื กนโยบายของรัฐหรือต่อการบริหารงาน ของรัฐ หรือต่อการเลือกผู้นาทางการเมืองของรัฐบาล ไม่ว่าจะเป็นไปในระดับท้องถิ่นหรือระดับชาติก็ ตาม”และวรรณธรรม กาญจนสวุ รรณ กลา่ วถงึ วรรณธรรม กำญจนสวุ รรณ กลา่ วไว้ว่าการมีสว่ นรว่ มทางการเมอื ง หมายถงึ “การมีส่วน ร่วมในการกระทา (Activity) ของแต่ละบุคคล ซ่ึงมีอิทธิพลต่อการตัดสินนโยบายของรัฐบาล การมีส่วน รว่ มท่ีมาจากแตล่ ะบคุ คล โดยตรงต่อการตัดสินนโยบายของรัฐบาล เรียกว่าการมีส่วนร่วมโดยตนเอง และ การมีสว่ นรว่ มซ่งึ มีอิทธพิ ลตอ่ การตัดสนิ นโยบายทางอ้อม เรยี กว่า การมสี ว่ นรว่ มโดยการถกู ระดม” 2.2.2 แนวคดิ เรอื่ งการมีสว่ นร่วม แนวคิดเกี่ยวกบั การมีสว่ นรว่ มของประชาชนมีนกั วิชาการทั้งไทยและตา่ งประเทศได้ให้แนวคิด ใน กระบวนการมสี ว่ นร่วมไวห้ ลายหลากสามารถพจิ ารณาได้ ดังนี้ อำภรณพ์ นั ธ์ จันทร์สว่ำง กล่าวว่า การมีส่วนร่วมเป็นผลมาจากการเห็นพ้องต้องกันใน เรื่องความต้องการ และทิศทางการเปล่ียนแปลงและความคิดเห็นพ้องต้องกันน้ัน ต้องมีมากพอจนเกิด การริเร่ิมโครงการเพื่อการปฏบิ ตั ิ คือตอ้ งเห็นพ้องต้องกันเป็นส่วนใหญ่ท่ีจะเข้าร่วมปฏิบัติการน้ัน โดยคน ท่มี ารว่ มกนั จะมคี วามตระหนักถงึ การเปล่ียนแปลงทเี่ กิดขึน้ สว่ นสขุ มุ นวลสกุล สุขุม นวลสกุล ได้กล่าวถึงลักษณะหรือรูปแบบการเข้ามามีส่วนร่วมทางการเมืองที่ สาคญั ในประเทศประชาธิปไตย อาจแบง่ ได้เป็น 4 รูปแบบ คอื 1. การเขา้ มามีส่วนร่วมในกลุ่มผลประโยชน์ 2. การเขา้ มามีส่วนรว่ มในพรรคการเมือง

9 3. การเขา้ มามีสว่ นรว่ มในการเลอื กตัง้ 4. การเข้ามามสี ่วนรว่ มในการแสดงความคิดเห็น และวิพากษ์วิจารณ์รัฐบาล และทวีทอง หงษว์ วิ ตั น์ ได้อธบิ ายถึง ทวีทอง หงษ์วิวัตน์ ได้อธิบายการมีส่วนร่วมของประชาชนไว้ดังน้ี คือ “การท่ีประชาชน หรอื ชุมชนพฒั นาขดี ความสามารถของตนในการจัดการและควบคุมการใช้และการกระจายทรัพยากรและ ปจั จัยการผลิตทีม่ ีอยใู่ นสังคมเพื่อประโยชนต์ ่อการดารงชีพทางเศรษฐกิจและสังคม ตามความจาเป็นอย่าง สมศักด์ิศรีในฐานะสมาชิกสังคม ในการมีส่วนร่วมของประชาชนได้พัฒนาการรับรู้ และภูมิปัญญาซึ่ง แสดงออกในรูปของการตัดสินใจในการกาหนดชีวิตของตน อย่างเป็นตัวของตัวเอง”และสมบัติ ธารงธัญ วงศ์ สมบัติ ธำรงธัญวงศ์กล่าวไว้ว่า อาจพิจารณาจากคุณลักษณะ การกระทาทางการเมือง จากพฤติกรรมการมีส่วนร่วมทางการเมืองของบุคคล ซ่ึงเร่ิมต้นจากการมีส่วนร่วมน้อยสุดไปสู่การท่ีสนใจ ในทางการเมืองมากท่สี ดุ สามารถแยกพิจารณาได้เปน็ ลาดบั ดงั นี้ คือ 1. ในการแสดงความสนใจต่อกิจกรรมทางการเมือง การที่บุคคลจะแสดงความสนใจต่อ กิจกรรมทางการเมือง ย่อมแสดงว่าบุคคลน้ันได้รับปัจจัยกระตุ้นทางการเมืองจากสิ่งแวดล้อมพอสมควร จนกระทั่งเกิดความสนใจท่ีจะเข้าไปมีส่วนร่วมทางการเมืองด้วยตนเอง บุคคลที่คาดหวังว่าจะสร้าง ความสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมทางการเมืองอย่างมีประสิทธิภาพ จะต้องอุทิศความพยายามเพื่อรวบรวม ข้อมูลข่าวสารเก่ียวกับการเมือง เพ่ือเพิ่มพูนความรู้ทางการเมืองของตน กิจกรรมเหล่านี้เป็นรากฐาน เบ้ืองต้น จาเป็นในการร่วมกระทากิจกรรมต่างๆ ทางการเมือง ซึ่งบางคนอาจจะให้ความสนใจเพียง เล็กน้อย หรือบางคนไม่ให้ความสนใจการเมืองเลย การที่บุคคลได้รับปัจจัยกระตุ้นทางการเมืองมาก และ จะย่งิ ทาให้บคุ คลนั้นมีโอกาสมีสว่ นร่วมทางการเมอื งมากย่งิ ข้ึนต่อไปอีก 2. ในการใช้สิทธิเลือกตั้ง โดยท่ัวไปประชาชนไปใช้สิทธิเลือกตั้ง จะต้องมีความเข้าใจ มี ความรู้ และตระหนักในคุณค่าและความสาคัญในการเลือกตั้ง ในการออกไปใช้สิทธิเลือกต้ังประกอบด้วย หลักการใหญ่ๆ มีอยู่สองประการคือ ประการแรกเป็นการตัดสินใจว่า จะออกไปใช้สิทธิเลือกตั้งหรือไม่ ประการที่สอง การตดั สนิ ใจว่าจะเลอื กตวั บุคคลที่สมัครหรือเลือกพรรค ซ่ึงเหตุทั้งสองประการนี้ ข้ึนอยู่กับ กระบวนการความเข้าใจ ความรู้ทางการเมืองของแต่ละบุคคล และปัจจัยการกระตุ้นทางการเมืองจาก สิ่งแวดล้อมเป็นสาคัญ โดยท่ัวไปบุคคลจะรับรู้ข่าวสารล่วงหน้าว่าจะมีการเลือกตั้งเมื่อใด ทุกคนจึงได้มี โอกาสในการตัดสนิ ใจไว้ลว่ งหนา้ ก่อนออกไปเลือกตั้ง 3. ในการรเิ ร่มิ ประเดน็ พดู คุยทางการเมอื ง โดยธรรมชาติของมนุษยจ์ ะให้ความสนใจเก่ียวกับ ส่ิงทเ่ี ปน็ ประโยชนต์ อ่ ตนเอง บุคคลทค่ี ดิ ว่าตนไม่ได้รับประโยชน์อย่างใดอย่างหน่ึง จากระบบการเมืองก็ไม่ สนใจในทางการเมือง แม้กระทั่งในการพูดคุยทางการเมือง แต่บุคคลท่ีรู้และเข้าใจว่าระบบการเมืองบาง คนก็ไม่สนใจการเมือง แม้กระทั่งการพูดคุยเร่ืองทางการเมือง แต่บุคคลท่ีรู้และเข้าใจว่าระบบการเมืองมี ความสาคัญและมีประโยชน์ต่อสังคมอย่างไรบ้าง จะให้ความสนใจทางการเมืองมากขึ้น โดยเฉพาะการ แลกเปลี่ยนความคดิ เห็นเกี่ยวกับปจั จยั ทางการเมอื งท่ีมีผลกระทบตอ่ ระบบการเปล่ียนแปลงทางสังคมและ เศรษฐกิจ ดังน้ันระดับความสนใจเก่ียวกับการริเริ่ม พูดคุยทางการเมืองของแต่ละบุคคลจึงแตกต่างกัน ออกไป บางคนก็ไม่สนใจ บางคนก็สนใจบ้าง บางตนก็สนใจมาก บางคนเป็นผู้รับฟัง บางคนเป็นผู้นาใน การเสนอความคิดเห็นเก่ียวกับประเด็นทางการเมือง และเป็นผู้ท่ีมีโอกาสเข้าไปมีส่วนร่วมในการต่อสู้ทาง การเมอื งมากกวา่ ผูท้ ่ีเป็นเพียงผู้รับฟงั ความคิดเหน็ ของผูอ้ ่ืน

10 4. ในการชักจูงให้ผู้อื่นใช้สิทธิเลือกต้ังผู้ท่ีตนสนับสนุน การแสดงออกในการชักจูงให้ผู้อื่นไป ใชส้ ิทธเิ ลอื กตัง้ บคุ คลท่ีตนสนับสนนุ นบั เปน็ ความก้าวหน้าอกี ขั้นหน่ึงของผทู้ ีส่ นใจเขา้ ไปมสี ่วนร่วมทางการ เมือง ลกั ษณะของการแสดงออกเช่นนี้มีลักษณะคล้ายกับเป็นหัวคะแนนของผู้สมัครเข้าแข่งขันรับเลือกต้ัง ทางการเมือง เปน็ การบง่ บอกถงึ ความผูกพนั ทางการเมืองท้ังนี้เหตเุ พราะว่า ได้แสดงความคิดเห็น และเช่ือ ว่าผู้ทีต่ นสนับสนนุ นั้นจะเปน็ นักการเมืองทีด่ ี สามารถสรา้ งสรรคป์ ระโยชน์แกส่ งั คมไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ 5. ในการติดเคร่ืองหมายหรือติดสติ๊กเกอร์ เป็นการแสดงออกอย่างเปิดเผยให้บุคคลท่ัวไป ได้รบั รวู้ า่ ตนนนั้ ใหก้ ารสนบั สนุนพรรคการเมืองใด หรอื บุคคลซ่ึงเป็นคแู่ ขง่ ทางการเมืองใด ทั้งนี้เพราะว่าการ ติดเคร่ืองหมายที่เป็นสัญลักษณ์ของพรรคหรือผู้สมัคร ย่อมเป็นการประกาศตนเองในฐานะผู้สนับสนุนอย่างชัดเจน การกระทาเช่นน้ี อาจมีผลโน้มน้าวผู้ท่ีใกล้ชิด ซ่ึงยังไม่ได้ตัดสินใจว่าจะให้การสนับสนุนพรรคใดหรือผู้สมัครผู้ใด ให้ เข้ามาสนบั สนุนเชน่ เดียวกับตนได้ 6. การติดตอ่ กบั นักการเมืองหรือผ้นู าทางการเมือง การดาเนินการทางการเมืองโดยท่ัวไป มี ประชาชนเพียงส่วนน้อยท่ีติดต่อกับนักการเมืองหรือผู้นาทางการเมืองโดยตรง การติดต่อกับผู้นาทางการ เมืองนั้น อาจกระทาได้โดยการส่งจดหมาย โทรเลข โทรศพั ท์ หรือการติดต่อพูดคุยโดยตรง อาจเป็นปัจจัย สาคัญท่ีทาให้บุคคลเกิดความสนใจในทางการเมืองมากข้ึน จนเปลี่ยนฐานะจากผู้ที่สนใจการเมืองให้การ สนับสนุน เป็นการเขา้ ร่วมสูก่ ารต่อส้ทู างการเมืองโดยตรงกไ็ ด้ 7. ในการบริจาคเงินสนับสนุน เป็นการแสดงออกถึงการยอมรับสนับสนุนทางการเมือง ท่ี สาคญั ทัง้ น้เี พราะในระบอบประชาธิปไตย การเคล่ือนไหวทางการเมือง โดยเฉพาะในการรณรงค์และการ แข่งขันเลือกต้ัง เป็นกระบวนการท่ีมีค่าใช้จ่ายมาก การที่มีบุคคลร่วมบริจาคเงินย่อมแสดงถึงความมุ่งมั่น ในการสนบั สนนุ อยา่ งจริงจงั และอาจนาไปสู่การพัฒนาเป็นผู้ท่ีเข้าร่วมต่อสู้ทางการเมืองโดยตรง ในฐานะ ท่เี ป็นสมาชกิ คนสาคญั ของพรรคก็เปน็ ได้ 8. ในการเข้าร่วมประชุมหรือชุมนุมทางการเมือง เป็นการแสดงออกทางการเมืองท่ีมี ความสาคัญมากย่ิงขึ้นอีก เพราะเป็นการแสดงออกถึงความเห็นพ้องและความผูกพัน ในการเข้าร่วม ประชมุ หรอื การเขา้ รว่ มชมุ นมุ ย่อมเปน็ การแสดงออกท้ังทางกายและทางใจ เป็นการร่วมให้กาลังใจแก่ผู้ท่ี มคี วามคดิ เหน็ ทางการเมอื งเชน่ เดียวกนั 9. ในการร่วมรณรงค์ทางการเมือง เป็นกิจกรรมที่สาคัญในการขยายการสนับสนุนจาก ประชาชนทั่วไป ในการร่วมรณรงค์ทางการเมอื งน้ัน เป็นการแสดงออกซง่ึ การมีภารกิจร่วมกันของผู้ที่สนใจ ทางการเมือง การร่วมรณรงค์ทางการเมืองจะเกิดข้ึนได้ ก็เม่ือบุคคลมีความม่ันใจและมีความรู้สึกท่ีดีต่อ พรรคการเมือง ผู้สมัครแข่งขันทางการเมืองต้องแสดงให้เห็นว่าตนเอง มีส่วนร่วมในความสาเร็จของการ ต่อสู้ทางการเมือง การณรงค์อาจจะกระทาได้หลายกรณี เช่น ในการส่งจดหมาย การพิมพ์จดหมาย การ ติดโปสเตอร์แผ่นป้าย หรือในการแนะนาเพื่อชักชวนให้ประชาชนเกิดความสนใจที่จะให้การสนับสนุน ต่อไป 10. ในการเข้าร่วมเป็นสมาชิกสาคัญของพรรคการเมือง ซ่ึงเป็นการแสดงออกทางการเมือง อยา่ งชดั เจนวา่ ตนเองนน้ั สังกัดพรรคการเมอื งใด เป็นการยอมรบั ภารกจิ ในฐานะสมาชิกพรรคท่ีจะต้องคอย ช่วยเสรมิ สร้างความเข้มแขง็ ให้แก่พรรค การขยายความศรัทธาให้แพร่หลายในหมู่ประชาชน เพ่ือผลักดัน ให้พรรคหรอื ผู้สมคั รรบั เลือกตั้งของพรรคไดร้ บั ชัยชนะในการเลอื กต้งั 11. ในการเข้าร่วมประชุมแกนนาของพรรค เป็นการแสดงออกซึ่งการมีส่วนร่วมทางการ เมืองในระดับสูง บุคคลท่ีจะเข้าไปมีบทบาทในการร่วมประชุมแกนนาของพรรค หรือเข้าร่วมประชุม วางแผนกลยุทธ์ของพรรคได้ โดยท่ัวๆ ไปจะต้องผ่านการเป็นสมาชิกพรรคที่มีบทบาทสาคัญของพรรค จน

11 พรรคเกิดความไว้วางใจและมีความเช่ือม่ันว่า จะช่วยเสริมสร้างกิจกรรมของพรรคให้มีความเข้มแข็งและ สามารถทจี่ ะเอาชนะคู่แข่งขนั ได้ 12. ในการร่วมระดมทุน เป็นกิจกรรมท่ีสาคัญของสมาชิกระดับสูง ท่ีจะต้องอยู่ในฐานะที่จะ ระดมทุนใหแ้ ก่พรรค หรอื ผ้สู มคั รรบั เลือกตง้ั ได้ นอกจากจะต้องเป็นผู้ท่ีมีความสามารถแล้ว ก็ยังต้องเป็นผู้ ทมี่ ีฐานะทางเศรษฐกิจและสังคมดดี ้วย 13. ในการเสนอตัวเขา้ เป็นคแู่ ข่งขนั ทางการเมือง เป็นการแสดงออกทางการเมืองท่ีสาคัญยิ่ง ทั้งน้ีก็เพราะว่าการเสนอตัวเป็นคู่แข่งขันทางการเมือง เพื่อให้ประชาชนพิจารณาให้ความไว้วางใจ บุคคล นั้นจะต้องเป็นบุคคลท่ีมีความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ และสามารถทาให้ประชาชนเช่ือมั่นได้ว่าจะเป็นผู้นา ความสาเรจ็ และการที่มชี วี ติ ท่ดี ียง่ิ ข้นึ มาส่ปู ระชาชนโดยทั่วไป 14. ในการดารงตาแหน่งทางการเมือง เป็นการแสดงออกทางการเมืองในระดับสูงสุด เป็น ผลจากการได้รับชัยชนะจากการเสนอตัวเข้าแข่งขันทางการเมือง การแสดงบทบาทในฐานะท่ีดารง ตาแหน่งทางการเมือง นับได้ว่ามีความสาคัญอย่างยิ่ง เพราะจะมีผลกระทบต่อความศรัทธาเช่ือม่ันของ ประชาชนในระยะยาว ถ้าผู้ดารงตาแหน่งทางการเมืองมีความสามารถในการพัฒนาประเทศ ทาให้ ประชาชนมีชีวิตท่ีดีและมีความสุข จะทาให้พรรคได้รับความไว้วางใจมากยิ่งข้ึน ซ่ึงจะส่งผลต่อไปให้ได้รับ การเลอื กต้งั ในครงั้ ตอ่ ไปและศภุ ชัย ยาวะประภาษ ศุภชัย ยำวะประภำษได้สนบั สนนุ การมีส่วนร่วมขององคก์ ารชุมชนสรุปไดว้ ่า 1. การมีส่วนร่วมเป็นเป้าหมายอยู่ในตัวเอง ประชาชนมีสิทธิและหน้าที่ที่จะเข้าร่วมในการ ดาเนินงาน (การวางแผน การปฏิบัติ และการจัดวาง)ตามโครงการท่ีมผี ลตอ่ ความเปน็ อยู่ของเขา 2. การมีส่วนร่วมเป็นแนวทางท่ีก่อให้เกิดผลดีแก่โครงการ คือ ถ้าประชาชนมีส่วนร่วมโดย การนาเอาทกั ษะภายในและทรัพยากรต่าง ๆ ผลประโยชน์ของชุมชนเป็นหลักการในการดาเนินงาน ผลท่ี ไดจ้ ะตอบสนองความตอ้ งการตามการจัดลาดบั ความสาคญั ของชมุ ชน 3. การมีส่วนร่วมเป็นกิจกรรมที่มีแรงเสริมอยู่ในตัว ซึ่งกระตุ้นให้คนเข้าร่วมในเรื่องท่ี เก่ียวกบั วถิ ชี ีวิตของเขา การมีส่วนรว่ มสร้างการการพ่ึงพาตนเอง และจิตสานึกการร่วมมือกันในชุมชนและ เป็นกระบวนการเรยี นรทู้ ป่ี ระชาชนสามารถทาเอง และถอื เป็นกจิ กรรมทเี่ กีย่ วข้องกับปัญหาของเขาส่วน ชัยพร พานิชอัตรา สรุปว่า ชัยพร พำนิชอัตรำ กล่าวว่า แนวความคิดที่จะให้ประชาชนมีบทบาทในการให้ความ รว่ มมอื รกั ษาความสงบเรยี บรอ้ ยภายในทอ้ งท่ีรว่ มกับเจา้ หน้าทีต่ ารวจ แท้จรงิ แล้วเปน็ สงิ่ ท่ีเกิดขึ้นพร้อมกับ ความจาเป็นที่จะต้องมีเจ้าหน้าที่ตารวจ ดังเช่น การก่อรูปของหน่วยงานตารวจในประเทศอังกฤษหรือ สหรฐั อเมริกาลว้ นแต่เป็นผลมาจากความเรียกร้องของประชาชนที่จะให้มีผู้พิทักษ์คุ้มครองความปลอดภัย ในชีวิตและทรัพย์สินเป็นสาคัญ แต่ถึงกระน้ันก็ตามบทบาทของประชาชนในการป้องกันปราบปราม อาชญากรรมจะประสบผลสาเร็จมิได้เลยถ้าไม่ได้รับทราบความช่วยเหลือหรือสนับสนุนเจ้าหน้าที่ตารวจ ท้องท่ี ซึ่งเป็นผู้รับผิดชอบใกล้ชิดรักษาความเรียบร้อยแก่ประชาชน ทั้งเจ้าหน้าท่ีตารวจพึงระลึกเสมอว่า การที่ประชาชนให้ความร่วมมือกับตารวจในการป้องกันปราบปรามอาชญากรรมนั้น เป็นไปในรูป อาสาสมัครด้วยความเต็มใจของประชาชน ดังน้ันเพื่อเป็นหลักประกันในความสาเร็จแห่งภารกิจระหว่าง ตารวจกับประชาชนในการรณรงค์ต่ออาชญากรรม นับเป็นความจาเป็นอย่างย่ิงยวดที่หน่วยงานตารวจ จะต้องให้มีหน่วยป้องกัน อาชญากรรมประจาสถานีตารวจท้องที่ ประสานกิจกรรมปฏิบัติแนะนา ประชาชนในการป้องกันอาชญากรรม บทบาทของชุมชนในการป้องกันอาชญากรรมถือได้ว่าสาคัญมาก

12 และเป็นหวั ใจของการปอ้ งกันอาชญากรรม เพราะเป็นความรับผิดชอบร่วมกันของประชาชนทุกคนในการ สอดส่องดแู ลความปลอดภยั ในชมุ ชน ทอ่ี ยอู่ าศยั ของตน ตลอดจนแจง้ เหตุด่วนเหตุร้ายแก่เจ้าหน้าท่ีตารวจ ซ่ึงการร่วมมือหรือความรับผิดชอบร่วมกันมีแนวทางปฏิบัติดังนี้คือการโครงการเพ่ือนบ้านเตือนภัย สาย ตรวจประชาชน และการตรวจตราบ้านเมือง เป็นตน้ วิรัช ชนิภาวรรณไดอ้ ธบิ ายถึง วิรัช ชนิภำวรรณ ได้กล่าวถึงกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนในกระการพัฒนา ชนบทว่า ประชาชนควรเข้าไปมีส่วนร่วม ในด้านค้นหาปัญหา และหาสาเหตุของปัญหา ด้านการวางแผน ดาเนินกจิ กรรม การลงทุน และการปฏิบตั ิงาน การติดตามประเมินผล” 2.2.3 ทฤการมสี ่วนรว่ ม ตนิ ปรัชญพฤทธ์ิ ได้จาแนกทฤษฎีการมสี ่วนร่วมออกเปน็ 2 กลุม่ ใหญ่ ดงั ต่อไปนคี้ ือ 1. ทฤษฎีความเปน็ ผแู้ ทน (Representative) ทฤษฎีนเี้ น้นความเป็นผู้แทนของผู้นา และถือ ว่าการมีส่วนร่วมในการเลือกต้ังหรือถอดถอนผู้นา เป็นเครื่องหมายของการท่ีจะให้หลักประกันกับการ บริหารงานท่ีดี อย่างไรก็ตามทฤษฎีน้ี เน้นเฉพาะการวางโครงสร้างสถาบัน เพื่อเป็นเคร่ืองมือในการให้ผู้ ตามเข้ามามีส่วนร่วมในการตัดสินใจขององค์กรอย่างแท้จริง ผู้ท่ีมีส่วนร่วมอย่างแท้จริงในการตัดสินใจ ไดแ้ ก่บรรดาผู้นาตา่ ง ๆ ท่ีเสนอตวั เขา้ มาสมัครรบั เลือกต้ัง สว่ นผู้ตามน้นั เปน็ เพียงไม้ประดบั เท่านน้ั 2. ทฤษฎีประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วม (Participatory democracy) ทฤษฎีนี้การมีส่วน ร่วม มีวตั ถุประสงค์ไม่เฉพาะแค่การเข้าไปพิจารณาเลือกตั้ง หรือถอดถอนผู้นาเท่าน้ัน แต่ยังรวมไปถึงการ เข้าไปมีส่วนร่วมในทุกข้ันตอนของการวางนโยบาย ย่ิงกว่านั้น ทฤษฎีน้ียังมองการมีส่วนร่วมเป็นการให้ การศึกษา และพฒั นาการกระทาทางการเมืองและสงั คมทม่ี คี วามรับผิดชอบนั้นคือการไม่ยอมให้มีส่วนร่วม ที่นับวา่ เป็นการคกุ คามต่อเสรภี าพของผู้ตาม ขั้นตอนกำรมสี ่วนร่วมของชุมชน การเข้ามามีส่วนร่วมของประชาชนในชุมชน เพื่อการกระทากิจกรรมใดกิจกรรมหน่ึงให้เกิด ประโยชน์ต่อชมุ ชนนน้ั มีนกั วิชาการไดเ้ สนอแนวคดิ ถงึ ข้นั ตอนการมีสว่ นรว่ มของชมุ ชน ดงั น้ี อภิญญำ กังสนำรักษ์ได้นาเสนอข้ันตอนการมีส่วนร่วมของชุมชนว่า ชุมชนต้องมีส่วนร่วมใน 4 ขน้ั ตอน คอื 1. การมสี ่วนร่วมในการริเร่ิมโครงการ ร่วมค้นหาปัญหาและสาเหตุของปัญหาภายในชุมชน ร่วมตัดสินใจ กาหนดความต้องการและร่วมลาดับความสาคัญของความตอ้ งการ 2. การมีส่วนร่วมในข้ันการวางแผน กาหนดวัตถุประสงค์ วิธีการ แนวทางการดาเนินงาน รวมถึงทรพั ยากรและแหล่งวทิ ยากรท่ีจะใช้ในโครงการ 3. การมสี ว่ นร่วมในขั้นตอนการดาเนินโครงการ ทาประโยชน์ใหแ้ ก่โครงการ โดยร่วมช่วยเหลือ ดา้ นทุนทรพั ย์ วัสดอุ ปุ กรณ์ และแรงงาน 4. การมีส่วนร่วมในการประเมินผลโครงการ เพ่ือให้รู้ว่าผลจากการดาเนินงานบรรลุ วัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้หรือไม่ โดยสามารถกาหนดการประเมินผลเป็นระยะต่อเนื่องหรือประเมินผล รวมท้ังโครงการในคราวเดยี วกไ็ ด้ สว่ น อคนิ รพีพัฒน์ ได้แบ่งข้ันตอนการมีสว่ นรว่ มออกเปน็ 4 ขน้ั ตอน คอื 1. การกาหนดปญั หา สาเหตุของปญั หา ตลอดจนแนวทางแก้ไข 2. การตัดสินใจเลือกแนวทางและวางแผนพฒั นาแก้ไขปญั หา 3. การปฏบิ ัติงานในกิจกรรมการพฒั นาตามแผน 4. การประเมนิ ผลงานกิจกรรมการพฒั นา

13 ขน้ั ตอนการเข้ามามสี ว่ นร่วมของชุมชน วริ ัช วิรัชนภิ าวรรณได้สรุปและนาเสนอขั้นตอนการ มสี ว่ นรว่ มใน 2 ลกั ษณะ ได้แก่ ลักษณะที่ 1 มีขน้ั ตอนดงั น้ี 1.การคดิ 2. การตดั สนิ ใจ 3. การวางแผน 4. การลงมอื ปฏิบตั ิ ลักษณะที่ 2 มีขั้นตอนดังนี้ 1. การกาหนดปัญหา 2. การวางแผน 3. การดาเนินงาน 4. การประเมนิ ผล 5. การบารุงรักษา และพฒั นาให้คงไว้ จากแนวคิดเก่ียวกับข้ันตอนการมีส่วนร่วมของชุมชนท้ังหมดสรุปได้ว่า ข้ันตอนของการเข้า มามีส่วนรว่ มของชมุ ชนน้ันมี 6 ขนั้ ตอน ไดแ้ ก่ 1. การคน้ หาปญั หา สาเหตุของปัญหา และแนวทางแก้ไข 2. ตัดสนิ ใจกาหนดความตอ้ งการ 3. ลาดบั ความสาคัญ 4. วางแผน กาหนดวตั ถุประสงค์ วิธกี าร แนวทางการดาเนินงาน ทรัพยากร 5. ดาเนินงานตามโครงการ และ/หรอื สนับสนุนการดาเนินงาน 6. ประเมินผล รูปแบบกำรมีส่วนร่วมของชุมชนในกำรป้องกันและบรรเทำสำธำรณภัย พีรพล ไตรทศำวิทย์ กล่าวถึงความสาคัญและประโยชน์ของการมีส่วนร่วมของ ประชาชนตามรัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 ไว้ในหลายๆ ดา้ นกล่าวว่า เช่น 1. ด้านข้อมูลข่าวสาร สิทธิได้รับข้อมูลข่าวสารสาธารณะในความครอบครองของหน่วย ราชการหรือราชการส่วนท้องถิ่น หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ ตามมาตรา 58 และมีสิทธิได้รับข้อมูลคา ช้ีแจง และเหตุผลจากหน่วยงานราชการ ก่อนอนุญาตหรือดาเนินโครงการ หรือกิจกรรมใด ๆ ที่มี ผลกระทบต่อคุณภาพส่ิงแวดล้อม สุขภาพอนามัย คุณภาพชีวิตหรือส่วนได้เสียสาคัญอ่ืนใด ที่เกี่ยวกับตน หรือชมุ ชนในทอ้ งถิ่น และมีสิทธิแสดงความคิดเห็นของตนในเรื่องดังกล่าว ท้ังน้ีตามกระบวนการรับฟังความ คดิ เห็นของประชาชนตามที่กฎหมายบัญญตั มิ าตรา 59 2. ด้านการพิจารณาการปฏิบัติราชการทางการปกครอง สิทธิมีส่วนร่วมในกระบวนการ พิจารณาของเจ้าหน้าที่ของรัฐ ในการปฏิบัติราชการทางการปกครองอันมีผลกระทบต่อสิทธิและเสรีภาพ ของตน ตามกฎหมายมาตรา 60 3. ด้านกาหนดนโยบาย รัฐต้องส่งเสริมและสนับสนุน การมีส่วนร่วมของประชาชนในการ กาหนดนโยบายการตัดสินใจทางการเมือง การวางแผนพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคมและการเมือง รวมท้ัง การตรวจสอบการใช้อานาจรฐั ทกุ ระดบั ตามมาตรา 76

14 4. ดา้ นการบารุงรกั ษาทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม รัฐตอ้ งสง่ เสริมและสนับสนุน ให้ ประชาชนมีส่วนร่วมในการสงวน บารุงรักษาและใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและความ หลากหลายทางชีวภาพอย่างสมดุล ตามมาตรา 79 5. ด้านการคัดเลือกผู้แทนองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น สมาชิกสภาท้องถิ่นต้องมาจากการ เลือกต้ัง คณะผู้บริหารท้องถ่ินหรือผู้บริหารส่วนท้องถิ่นให้มาจากการเลือกต้ังโดยตรง ของประชาชนหรือ มาจากความเห็นชอบของสภาทอ้ งถน่ิ ตามมาตรา 385 วรรค 2 6. ด้านการตรวจสอบและควบคุมการปฏิบัติงาน ราษฎร์ผู้มีสิทธิเลือกต้ังในองค์กรปกครอง ส่วนท้องถ่ินมีจานวนไมน่ อ้ ยกว่าสามในส่ีของจานวนผ้มู ีสิทธิออกเสียงเลือกต้ังท่ีมาลงคะแนนเห็นว่าสมาชิก สภาท้องถ่ินนั้น ไม่สามารถดารงตาแหน่งต่อไป ให้สมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่นน้ัน พ้นจาก ตาแหน่งตามมาตรา 286 7. ด้านการออกกฎหมาย ราษฎร์ผู้มีสิทธิออกเสียงเลือกต้ังในองค์กรปกครองท้องถิ่นใดมี จานวนไม่น้อยกว่าก่ึงหนึ่งของจานวนผู้มีสิทธิออกเสียเลือกต้ังในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นนั้น มีสิทธิ เข้าชื่อต่อประธานสภาท้องถิ่น เพ่ือให้สภาท้องถ่ินพิจารณาออกข้อบัญญัติท้องถิ่นได้ ตามกฎหมายมาตรา 287 สว่ นไพรตั น์ เดชะรนิ ทร์ ไดส้ รุปไว้ ไพรัตน์ เดชะรินทร์ ท่ีกล่าวไวว้ ่า ลักษณะของการมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนา มี ดงั นี้ รว่ มทาการศกึ ษา ค้นควา้ ปญั หา และสาเหตุของปัญหาท่ีเกิดขึ้นในชุมชน รวมตลอดจนความต้องการ ของชุมชน ร่วมคิดหาและสร้างรูปแบบและวิธีการพัฒนา เพ่ือแก้ไขและลดปัญหาของชุมชนหรือเพื่อ สร้างสรรค์ส่ิงใหม่ท่ีเป็นประโยชน์ต่อชุมชน หรือสนองความต้องการของชุมชน ร่วมวางนโยบายหรือ แผนงานหรือโครงการหรือกิจกรรมเพ่ือขจัดและแก้ไขปัญหาและสนองความต้องการของชุมชน ร่วมการ ตัดสินใจการใช้ทรัพยากรท่ีมีจากัดให้มีประโยชน์ต่อส่วนรวม ร่วมจัดหรือปรับปรุงระบบการบริหารการ พัฒนาให้มีประสิทธิภาพ ร่วมการลงทุนในกิจกรรมโครงการของชุมชนตามขีดความสามารถของตน ร่วม ปฏบิ ตั ิตามนโยบายแผนงาน โครงการและกิจกรรมให้บรรลุตามเป้าหมาย ร่วมควบคุม ติดตามประเมินผล และร่วมบารงุ รักษาโครงการและกิจกรรมท่ไี ด้ทาไวโ้ ดยเอกชนและรฐั บาลให้ใชป้ ระโยชนไ์ ด้ตลอดไป ไพรัตน์ เตชะรินทร์ ได้กล่าวถึงลักษณะการมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาชนบท ดังน้ี 1. ร่วมกันทาการศึกษา ค้นคว้าปัญหา และสาเหตุของปัญหาท่ีเกิดขึ้นในชุมชน รวม ตลอดจนความต้องการของชุมชน 2. ร่วมคิดและสร้างรูปแบบและวิธีการพัฒนาเพ่ือแก้ไขและคิดปัญหาของชุมชน หรือเพ่ือ สรรสรา้ งสงิ่ ใหม่ทม่ี ีประโยชนต์ อ่ ชุมชนหรือสนองความตอ้ งการของชุมชน 3. ร่วมวางนโยบายหรือแผนงานหรือโครงการหรือกิจกรรมเพ่ือขจัดและแก้ไขปัญหาและ สนองความต้องการของชุมชน 4.รว่ มการตัดสินใจ การใช้ทรัพยากรท่มี จี ากดั ให้เปน็ ประโยชน์ต่อสว่ นรวม 5. รว่ มจดั หรอื ปรับปรุงระบบบริหารงานพฒั นาใหม้ ีประสทิ ธิภาพ และประสทิ ธผิ ล 6.รว่ มลงทนุ ในกิจกรรมโครงการของชุมชนตามขดี ความสามารถของตนเอง 7.ร่วมปฏบิ ตั ติ ามนโยบายแผนงานโครงการและกิจกรรมใหบ้ รรลตุ ามเป้าหมาย 8. ร่วมควบคุม ติดตามประเมินผล และร่วมบารุงรักษาโครงการและกิจกรรมที่ได้ทาไว้โดยเอกชน และรฐั บาลให้ได้ประโยชน์ได้ตลอดไปซง่ึ สอดคลอ้ งกบั แนวคิดของปรัชญาเวสารชั ช์ โดยได้กล่าวถึงลักษณะการมีส่วนร่วม ของประชาชนดงั น้ี

15 - รว่ มแสดงความคดิ เห็น - รว่ มสละทรัพยากรวสั ดุ - รว่ มสละแรงงาน - รว่ มสละเวลา ส่วน สุกรำนต์ โรตนวงค์ และคณะได้ให้หลักการในการพิจารณาให้ประชาชนได้มีส่วน ร่วมในโครงการพัฒนาต่าง ๆ คือ 1. ประเภทของกลุ่มเป้าหมายผู้เข้าร่วม เนื่องจากในสังคมไทยมีความเหล่ีอมล้าทางชนชั้น และความแตกต่างทางวฒั นธรรม ความหลากหลายทางชนชั้น ความเข้าใจต่อลักษณะของผู้มีส่วนร่วมเป็น เรื่องสาคัญ และแยกแยะกลุ่มเป้าหมาย เพื่อให้การจัดกระบวนการได้สอดคล้องกับวัฒนธรรมของ ผู้เข้าร่วมที่จะมีบทบาทการมีส่วนร่วมในทุกระดับได้อย่างแท้จริง โดยไม่ถูกครอบงาจากกลุ่มเป้าหมายที่มี ความเหนอื กวา่ ทงั้ ดา้ นขอ้ มูล เงินตราและอานาจ 2. ลกั ษณะการเขา้ รว่ มต้องมีหลายรปู แบบ คือตอ้ งมคี วามยืดหยุ่นท้งั ระยะเวลา ขอบเขตการ เขา้ รว่ ม พน้ื ฐานการเขา้ ร่วม โดยพจิ ารณาจากพ้นื ฐานของวัฒนธรรมของผู้เข้าร่วมและโครงสร้างของสังคม ของผเู้ ขา้ รว่ ม ซ่งึ ควรจะเรมิ่ ตน้ จากบุคคล ชุมชน ทัง้ ทางตรงและทางอ้อม 3. ประเภทการเข้าร่วม เริ่มต้นต้ังแต่ก่อนตัดสินใจ ซ่ึงต้องมีหลากหลายวิธีการ ต้ังแต่การ โน้มนา้ วตัดสินใจ การใหก้ ารศึกษา การรับฟังความคิดเห็นของประชาชน การร่วมมือกัน การให้ประชาชน ตัดสินใจ และภายหลังการตัดสินใจต้องมีส่วนร่วมท้ังดาเนินการ และการได้ประโยชน์ การประเมินผล ตดิ ตามการแกไ้ ข 4. ผลของการเข้าร่วม จะประเมินผลว่าผู้เข้าร่วมได้รับการปฏิบัติอย่างไร และก่อให้เกิด ความรว่ มมอื ระหว่างรฐั กับประชาชนพียงใด และนรินทร์ชัย พัฒนพงศา ได้กล่าวถึงลักษณะการมีส่วนร่วมท่ีประยุกต์จาก Bareness มี ประเดน็ สาคญั ทต่ี อ้ งพิจารณาอยู่ 10 ประการดังต่อไปน้ี 1. มีคณะผู้บริหารการมีส่วนร่วม พิจารณาเพื่อวางแนวทางในการดาเนินงานให้เหมาะสมที่ จะใหบ้ ุคคลใด บุคคลหนึ่งหรือกลุ่มใดกลุ่มหน่ึง เข้ามามีส่วนร่วมเมื่อใด และโดยวิธีใด คณะผู้บริหารควรมี ตวั แทนผู้ไดร้ ับผลกระทบเปน็ จานวนมากพอควร มีความหลากหลายมากพอ 2. ระยะเวลาและสถานท่ีในการมีส่วนร่วมกับโครงการ ควรให้ผู้มีส่วนได้–ส่วนเสียเข้ามามี ส่วนรว่ มให้ต่อเนือ่ ง ครบวงจรชีวติ ของโครงการตงั้ แตเ่ รมิ่ ต้น จนยตุ โิ ครงการ หรือหากคณะผู้บริหารเห็นว่า เหมาะสมอาจจัดให้มีส่วนร่วม ในกิจกรรมที่แต่ละคนเกย่ี วข้องจริงๆ 3. การมสี ่วนรว่ มน้ี ตามธรรมชาติอาจเกิดข้ึนไม่สม่าเสมอหรือตลอดเวลาก็ได้ เช่น เวลาเกิด ภัยพิบัติน้าท่วม แต่ละคนก็มาช่วยเหลือกัน แต่เมื่อหมดภัยแล้ว ก็กลับไปแยกกันอยู่เช่นเดิม แต่ถ้าหากมี พื้นท่ีภัยพิบัติกว้างขวางอาจต้องการตัวแทนประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมแก้ไขปัญหาในเวลาท่ียาวนานขึ้น อาจจะใช้วิธกี ารแจ้งขา่ วทางจดหมายไปยังประชาชนทวั่ ไปกไ็ ด้ 4. จะใหก้ ารมสี ว่ นรว่ มเปน็ เปา้ หมายปลายทาง หรือจะให้เป็นแนวทาง คือจะให้เพียงบุคคลต่าง ๆ ก็บรรลุวตั ถุประสงคบ์ างสิง่ แล้ว หรือ จะพิจารณาว่าการมีส่วนร่วมเป็นแนวทางที่ต้องทาให้ดี โดยตอบให้ได้ วา่ “หลงั จากการมีส่วนร่วมแล้ว จะมอี ะไรดขี ึน้ อะไรควรเกิดขึ้นอีกบ้างโดยคานึงถึงกระบวนการที่ต้องดาเนิน ไปอย่างมีคุณภาพ ซงึ่ ทาให้เกดิ ความสาเร็จไดด้ ยี ิ่งข้ึน 5. การมีสว่ นร่วมนัน้ มีมิติทัง้ ด้านปริมาณและคุณภาพ ดังตอ่ ไปน้ี

16 5.1 ทางด้านปริมาณ เช่น ถ้ามคี นเข้ามามีสว่ นร่วมมากก็ควรทาให้ความสัมพันธ์ระหว่างกันดี ข้ึนดว้ ย และเม่อื ความสัมพันธ์ดขี ้นึ แล้ว กจ็ ะทาใหเ้ กดิ การรวมตวั ดีขนึ้ ดว้ ย 5.2 ทางดา้ นคุณภาพ การมสี ว่ นรว่ มควรมมี ติ ิทีจ่ ะชว่ ยขดั ขวางความสมั พันธ์ท่ีไม่เท่าเทียมกัน ระหว่างบคุ คล หรอื ความเปน็ นาย เป็นบ่าวกัน ควรเปล่ียนเป็นให้มีส่วนร่วมอย่างเสมอภาคกัน ก็จะถือได้ ว่าเปน็ การมสี ว่ นรว่ มทีม่ คี ุณภาพ 6. สถานการณ์การมีส่วนร่วมนั้น ต้องคานึงว่าการมีส่วนร่วมที่แข็งขัน มิใช่เกิดขึ้นจากการ ออกคาสัง่ แต่จะต้องสร้างขึน้ เอง ดงั นั้นการทีจ่ ะมีผู้สั่งว่าให้มารว่ มกนั ใหเ้ ตม็ ท่ี แล้วกม็ คี นมาร่วม คงไม่คอย เกิดข้ึนได้ วิธีการมีส่วนร่วมต่างๆ ต้องใช้ความพยายามเพื่อให้เกิดความเป็นน้าหนึ่งใจเดียวกัน ให้เกิด แนวคิดประชาสังคม มีจิตสานึกและให้ความเคารพทางความคิดจนกระทั่งเป็นวิถีชีวิตประจาวันของ ประชาชน 7. การมีสว่ นร่วมเปน็ กระบวนการทางสังคมและทางการศึกษา ซ่ึงหากเกิดขึ้นได้คือให้มีการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกันไปด้วยจะเป็นเสมือนการให้การศึกษาแก่สังคมและประชาชนที่ยังไม่มี โอกาสไดร้ ู้เรยี นด้วย 8. การมีส่วนร่วมรับรู้สภาพปัญหาโดยมีส่วนร่วมจะทาให้คนในชุมชนได้รู้สภาพท่ีเป็นจริง มากขึ้น การมีส่วนร่วมเพ่ือค้นหาปัญหา ทาให้เมื่อเห็นปัญหาแล้วจะนาความมุ่งม่ันท่ีจะคิดหาทางแก้ไป ดว้ ยกันและรว่ มกนั แก้ปัญหานั้นๆ 9. คนท่ีอยรู่ ว่ มกันในชุมชนสว่ นใหญ่ มิได้ใชช้ ุมชนเป็นเพียงทีร่ วมคนคล้ายเอาก้อนหินมากอง รวมกันเท่านั้น แต่คนในชุมชนหน่ึงๆ มักมีความผูกพันเอื้ออาทรต่อกัน มีค่านิยมร่วมกันและมีความ รับผดิ ชอบต่อชมุ ชนด้วยกัน 10. ควรทาใหก้ ารมสี ่วนร่วมมลี ักษณะปนอารมณ์ขันประกอบไปบ้าง เพราะในสังคมไทยการ มีอารมณ์ขันนั้น จะช่วยให้บรรยากาศการมีส่วนร่วมดูเป็นกันเอง ดังนั้นในการประชุมถ้าใช้อารมณ์ขัน ดนตรี กฬี า เกมส์ เข้าร่วมด้วยจะสร้างอารมณ์การมีส่วนรว่ มใหเ้ พ่ิมขน้ึ ได้ นอกจากนี้ สุชำดำ จักรพิสุทธิ์ ได้ศึกษาเรื่องชุมชนกับการมีส่วนร่วมจัดการศึกษาสรุป ได้ว่า การมีสว่ นรว่ มของชมุ ชน แบ่งออกไดเ้ ป็น 2 ลักษณะ ได้แก่ 1. ลักษณะการมีส่วนร่วมจากความเกี่ยวข้องทางด้านเหตุผล โดยการเปิดโอกาสใหส้ ังคม องค์กรต่างๆ ในชุมชน ประชาชนมีบทบาทหลักตามสิทธิหน้าท่ีในการเข้ามามีส่วนร่วมในการดาเนินงาน ต้ังแต่การคิดริเริ่ม การพิจารณาตัดสินใจ วางแผน การร่วมปฏิบัติและการรับผิดชอบในผลกระทบท่ี เกิดขึ้น รวมทั้งส่งเสริม ชักนา สนับสนุนให้การดาเนินงานเกิดผลประโยชน์ต่อชุมชนตามจุดมุ่งหมายท่ี กาหนดดว้ ยความสมัครใจ 2. ลักษณะการมีส่วนร่วมจากความเกี่ยวข้องทางด้านจิตใจ เป็นการมีส่วนร่วมของชุมชนที่ เก่ียวข้องทางด้านจิตใจ อารมณ์ รวมทั้งค่านิยมของประชาชน เป็นเครื่องช้ีนาตนเองให้เข้ามามีส่วนร่วม แสดงความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ การกระทาให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้ ทาให้ผู้ที่เข้ามามีส่วนร่วม เกิดความผูกพัน มีความรู้สึกรับผิดชอบต่อกิจกรรมท่ีดาเนินงานด้วยความสมคั รใจ จากแนวคิดและทัศนะที่ได้กล่าวมาข้างต้นท้ังหมด สามารถแยกประเด็นสรุปได้ว่า การมี สว่ นรว่ มของประชาชนเกิดข้นึ จากเป้าหมายทต่ี ้องการ คา่ นยิ ม ความเช่ือ วัฒนธรรมประเพณี ความผูกพัน การเสริมแรง โอกาส ความสามารถ การสนับสนุน ความคาดหมายในสิ่งที่ต้องการ โดยมีพื้นฐานของการมี สว่ นร่วม ดงั น้ี 1. การมสี ว่ นร่วมบนพ้นื ฐานของเหตผุ ล

17 2. การมสี ว่ นรว่ มบนพื้นฐานของคา่ นิยม 3. การมีส่วนรว่ มบนพ้นื ฐานของประเพณี 4. การมสี ว่ นรว่ มบนพน้ื ฐานของความผูกพัน ความเสนห่ า โดยสรุป การมีส่วนร่วมนั้น เกิดจากจิตใจที่ต้องการเข้าร่วมในกิจกรรมใดกิจกรรมหน่ึง เพื่อให้ บรรลุถึงวัตถุประสงค์ของกลุ่มคนที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตทางสังคม ซ่ึงการเร้าให้คนในชุมชนเข้ามามีส่วน ร่วมน้ัน ผู้ดาเนินงานจะต้องมีความเข้าใจในวิธีการดาเนินชีวิต ค่านิยม ประเพณี ทัศนคติของบุคคล เพอ่ื ให้เกดิ ความสมัครใจเข้าร่วมกิจกรรม 2.3 แผนป้องกันและบรรเทำสำธำรณภัยจังหวดั ตำก พ.ศ. 2553 - 2557 การจดั ต้งั ศนู ย์ ศูนยป์ ฏิบัติการส่วนหน้า กรณเี กดิ ภยั พบิ ตั จิ ากอทุ กภัยขนาดใหญม่ ีความรุนแรงกวา้ งขวางอาจครอบคลุมพืน้ ท่ี หลายจังหวดั หรือ เมอ่ื ได้รบั การร้องขอ สานกั งานป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั จงั หวดั ตาก จะจัดให้มี ศูนย์ปฏิบัตกิ ารสว่ นหนา้ พร้อมท้ังระดมสรรพกาลงั และทรัพยากรที่มอี ยสู่ นับสนนุ การปฏิบัตงิ านร่วมกบั ศนู ยอ์ านวยการเฉพาะกจิ ฯ ระดบั จังหวัด ตามความเหมาะสมกบั สถานการณ์ เพ่ือแกไ้ ขสถานการณ์ภยั พบิ ตั ใิ นพนื้ ที่จังหวัดให้กลับสภู่ าวะปกตโิ ดยเรว็ โดยมีผูอ้ านวยการศนู ย์ปฏบิ ตั ิการสว่ นหน้า รบั ผดิ ชอบใน การประสานการปฏิบัตริ ะหว่างผอู้ านวยการกลางกับผู้อานวยการจงั หวัด ควบคุมการปฏิบตั งิ านของ เจา้ หน้าท่ี เจ้าพนักงานอาสาสมคั ร ในความรบั ผดิ ชอบท้ังหมดโดยมีโครงสรา้ งและภารกิจ แบ่งเปน็ 4 ฝ่าย ดังน้ี (1) ฝ่ายอานวยการ ประกอบดว้ ย ชดุ ประสานงาน ชุดข้อมลู และรายงานผล ชุดประชาสัมพนั ธ์ ชุดสอ่ื สารและโทรคมนาคมชดุ การเงนิ และบญั ชี (2) ฝ่ายปฏบิ ัตกิ ารฉุกเฉิน ประกอบด้วย ชดุ ค้นหาและกภู้ ัย ชดุ อพยพ ผ้ปู ระสบภัย ชุดรกั ษาพยาบาล ชดุ รักษาความสงบเรียบร้อย ชุดจัดการผู้เสยี ชีวิต (3) ฝา่ ยสงเคราะหผ์ ปู้ ระสบภัย ประกอบด้วย ชดุ จดั หาท่ีอยอู่ าศยั ชุดรบั - แจกจา่ ยสง่ิ ของบริจาค ชดุ จัดหาอาหารและน้าดมื่ ชดุ สารวจความเสียหายและความตอ้ งการ (4) ฝา่ ยประสานการช่วยเหลอื ประกอบด้วย ชุดซอ่ มแซมเส้นทางคมนาคม ชดุ รอ้ื ถอนซากปรักหกั พงั ชดุ ซอ่ มแซมระบบสาธารณูปโภค ชุดขนสง่ การเฝ้าระวงั และติดตามสถานการณ์ 1) จัดเจ้าหน้าท่ีเฝ้าระวังและติดตามสภาพอากาศจากกรมอุตุนยิ มวิทยา และคา เตือนจากกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั อยา่ งใกลช้ ดิ ตลอด 24 ช่วั โมงพรอ้ มท้ังเฝา้ ระวังติดตาม สถานการณ์ขอ้ มูลการพยากรณ์อากาศ แผนท่ีอากาศ ภาพถ่ายดาวเทยี ม เรดารก์ ลมุ่ ฝน ปริมาณนา้ ในลุ่ม น้าสายหลัก ฯลฯ จากข้อมลู ในเวบ็ ไซนข์ องหนว่ ยงานท่เี กี่ยวข้อง ได้แก่ ศนู ยเ์ ตือนภยั พิบัตแิ หง่ ชาติ (www.ndwc.go.th.)กรมอุตุนิยมวิทยา (www.tmd.go.th.) กรมชลประทาน (www.rid.go.th.) กรมปอ้ งกัน และบรรเทาสาธารณภยั (www.disaster.go.th.) อย่างสม่าเสมอ 2) ประสานจังหวดั เครือข่าย ใหต้ รวจสอบขอ้ มูลปริมาณน้าฝน ระดับนา้ ใน แม่นา้ สงู หรอื ต่ากว่าตลง่ิ รวมทั้งบรเิ วณพ้ืนที่ลมุ่ ท่ีมักจะเกิดน้าทว่ มขังในพื้นที่ เป็นระยะๆ 3) ประเมินความเสี่ยงภยั จากสาธารณภยั หรอื ความเปน็ ไปไดท้ ีจ่ ะเกิด สา ธารณภัยขนาดใหญม่ ีความรุนแรงกวา้ งขวางอาจครอบคลุมพน้ื ที่หลายอาเภอหรอื หลายจังหวดั และ รายงานข่าวสถานการณ์ไปยงั ศนู ย์อานวยการเฉพาะกิจ ระดับกลมุ่ จงั หวัด ของศนู ย์ป้องกันและบรรเทา

18 สาธารณภัยเขต (ระบชุ อ่ื ศูนย์ ปภ.เขต) ทางวิทยุสือ่ สาร คล่ืนความถี่ 150.150 MHz พร้อมทัง้ รายงาน ผอู้ านวยการกลาง ทราบทนั ที 4) รายงานสถานการณ์สาธารณภัยตอ่ ผ้อู านวยการกลาง และ/หรือ ผู้บัญชาการ ป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาตทิ ุกระยะต่อเน่ืองจนกว่าสภาวะของภัยพบิ ัตจิ ะคลคี่ ลายหรือยตุ ิลง หนว่ ยงานหลกั ได้แก่ สานักงานปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัยจงั หวดั ตาก หนว่ ยงานสนบั สนุน หนว่ ยงานเครอื ข่าย ขั้นปฏบิ ัติการในภาวะฉกุ เฉิน ให้ปฏิบตั ิดังน้ี เมอื่ เกิดสาธารณภยั ขนาดกลาง (ความรุนแรงระดับ 2)ใหป้ ฏบิ ตั ิ ดังน้ี เม่ือเกิดอุทกภยั ทีม่ ีสถานการณส์ าธารณภัยขนาดกลาง (ความรนุ แรงระดับ 2) ขยายเป็น บรเิ วณกวา้ ง ซ่ึงอาจครอบคลุมพื้นท่หี ลายตาบลหรอื อาเภอ ผู้อานวยการจังหวดั จะเข้าควบคุมสถานการณ์ กรณสี าธารณภัยขนาดใหญ่ หรอื สาธารณภยั ที่จาเป็นต้องอาศัยผเู้ ชยี่ วชาญหรอื อุปกรณ์ พเิ ศษ (ความรุนแรงระดบั 3) ผอู้ านวยการกลาง และ/หรอื ผ้บู ญั ชาการปอ้ งกนั และบรรเทา สาธารณ ภัยแหง่ ชาติ เขา้ ควบคมุ สถานการณ์ กรณีเกดิ อุทกภัยที่มีสถานการณส์ าธารณภัยขนาดใหญ่ หรอื สาธารณภยั ท่จี าเปน็ ต้องอาศยั ผ้เู ชย่ี วชาญหรอื อุปกรณ์พิเศษ (ความรนุ แรงระดับ ๓) มีผลกระทบรุนแรงกว้างขวางเกนิ ขดี ความสามารถของ จังหวดั จะควบคุมสถานการณไ์ ด้ หรือเมือ่ จังหวดั ร้องขอรับการสนับสนนุ ผู้อานวยการกลาง และ/หรือผู้ บัญชาการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยภยั แหง่ ชาตเิ ขา้ ควบคุมสถานการณ์ ใหร้ อรับคาสง่ั จากผอู้ านวยการ กลาง (อธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั ) ในการสนบั สนนุ การปฏบิ ัติในการเผชิญเหตุสาธารณภยั แตล่ ะดา้ นอยา่ งเรง่ ดว่ น การควบคุมสถานการณ์ในภาวะฉุกเฉนิ การควบคุมสถานการณ์ ให้ใช้แผนการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัยระดับกลมุ่ จงั หวดั ของสานักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั จงั หวัดตาก พ.ศ.2553-2557 เปน็ กรอบแนวทางในการ ปฏิบตั ิ และใหป้ ฏิบตั ิ ดังน้ี 1) การรับแจ้งเหตุและการรายงานตวั 1.1) จดั เจ้าหนา้ ที่ประสานงานเพ่ือประสานการปฏบิ ตั เิ ข้ารว่ มกับจงั หวัดในพ้นื ที่ ที่เกิดภยั 1.2) จดั เจ้าหนา้ ที่รับรายงานตวั เจ้าหน้าท่ี เจา้ พนกั งาน และอาสาสมคั รตา่ งๆ ทม่ี าร่วม ปฏิบัติงาน โดยรบั รายงานท่ี เข้ารว่ มปฏิบตั ิภัยจงั หวัดในพืน้ ท่ีทเ่ี กิดภยั เพื่อศนู ย์อานวยการเฉพาะกจิ ฯ ระดบั กลุม่ จังหวดั ของสานกั งานปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัยตาก ก่อนเข้าพน้ื ที่ 1.3) ก่อนเข้าร่วมปฏิบตั งิ านในพ้ืนทที่ ี่เกดิ ภยั ให้รายงานตวั ตอ่ ผบู้ ญั ชาการเหตุการณ์ใน เขตพน้ื ที่ และรับมอบหมายภารกิจและพ้นื ทีร่ บั ผดิ ชอบ ไปปฏิบตั ิ 2) การปฏบิ ัติการค้นหาและกู้ภยั เนน้ การค้นหาผู้รอดชีวติ การรักษาพยาบาลผูบ้ าดเจ็บ อาหาร น้าดม่ื ยารกั ษาโรค เส่ือ ผา้ จดั ต้งั บา้ นพักชว่ั คราว การจดั การศพ และใหด้ าเนนิ การจดั ตั้งหนว่ ยเผชิญสถานการณ์เพื่อการค้นหา และก้ภู ัย โดยจดั เตรียมเจา้ หนา้ ที่ เคร่อื งมอื เคร่อื งใช้ อปุ กรณ์ก้ชู ีพกู้ภยั เครอื่ งมือสื่อสาร ยานพาหนะ ฯลฯ เพ่ือการคน้ หาและกู้ภยั เพื่อสนับสนุนการปฏบิ ัติงานของจังหวัดในพื้นทท่ี เี่ กิดภัย ประกอบดว้ ย 2.1) ชดุ เคลอื่ นที่เร็ว (ERT) เป็นหนว่ ยเคล่อื นที่เร็วที่สามารถออกไประงับและบรรเทา ภัยไดท้ ันที ประกอบดว้ ย ชุดปฏบิ ัติการค้นหา กู้ชีพกู้ภยั และช่วยเหลอื ผู้ประสบภัย

19 2.2) ชุดสนับสนุน เตรยี มพร้อม ณ ที่ตั้ง สามารถเคล่อื นท่ีไปเสริมกาลัง ชดุ เคลื่อนที่ เรว็ ไดท้ ันทเี มื่อไดร้ ับการร้องขอ 3) การช่วยเหลือผู้ประสบภยั ให้สนบั สนุนการปฏบิ ตั กิ าร ดงั นี้ 3.1) จดั หาและจดั สง่ เคร่ืองอุปโภคบริโภคขัน้ พ้ืนฐานทจี่ าเป็น เชน่ น้าดม่ื ขา้ วสาร อาหารแหง้ เคร่ืองนงุ่ ห่ม และยารกั ษาโรคฯลฯ สาหรับแจกจ่ายและช่วยเหลอื ประชาชนผ้ปู ระสบภัยใน พนื้ ทห่ี รอื ตามที่ไดร้ บั การรอ้ งขอร่วมกบั จังหวัดท่ีประสบภัยจัดตั้งศนู ย์พักพิงฯ 3.2) จัดสถานที่พักชวั่ คราว (บา้ นน็อคดาวนเ์ ต็นทย์ กพนื้ ) เพอื่ ให้ผู้ประสบภยั พกั อาศยั หรอื ตามท่ีได้รับการร้องขอ 3.3)จัดชุดเผชญิ สถานการณ์วิกฤต (Emergency Response Team : ERT)และอาสาสมัคร อื่นๆ เพ่ือเตรยี มพร้อมสนับสนุนการปฏบิ ัติงานด้านการปอ้ งกนั และบรรเทา สาธารณภยั 3.4) จัดเตรยี มระบบวทิ ยสุ อ่ื สารเคล่อื นทส่ี ามารถใช้งานในพนื้ ทีท่ ี่ประสบภยั ไดท้ นั ที เมือ่ ไดร้ บั การร้องขอ 3.5) จัดเครอื่ งจักรกล ยานพาหนะ เรอื ท้องแบน เคร่ืองสบู น้า ตลอดจนเคร่ืองมือ วัสดุ อุปกรณ์ในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยไวใ้ ห้พร้อมเข้าพืน้ ท่ีได้ทันทีและเพียงพอต่อการสนบั สนนุ การปฏิบัติงาน 3.6) จัดเตรยี มบญั ชผี เู้ ชี่ยวชาญ บญั ชีเคร่อื งจักรกล ยานพาหนะ รถผลติ น้าดืม่ เครอ่ื งมอื วสั ดอุ ุปกรณ์ของหน่วยงานภาคเี ครอื ข่ายทุกภาคส่วน ทั้งภาครฐั รัฐวิสาหกจิ เอกชน องค์กร ปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ เพื่อบรู ณาการการปฏิบัติงานระหว่างหน่วยงานทเ่ี กย่ี วข้อง 3.7) จดั หานา้ มันเชอ้ื เพลิงสารองไว้ใหเ้ พยี งพอต่อการปฏิบตั ิงานในสถานการณ์ฉุกเฉนิ 3.8) ประสานการปฏิบตั ิกับหน่วยงานตา่ ง ๆ ในระดบั จังหวดั ระดับภูมภิ าครวมท้ัง องค์การสาธารณกุศล อาสาสมคั ร ในพ้นื ที่ เพื่อการใหค้ วามช่วยเหลือผู้ประสบภยั เป็นไปอย่างมเี อกภาพ รวดเร็ว ท่ัวถงึ 3.9) รวบรวมข้อมูลความเสียหายที่เกิดขนึ้ ความต้องการของผปู้ ระสบภัย จดั หาปัจจัยส่ี ท่ีจาเป็น และจดั ทาบัญชไี ว้เป็นหลกั ฐาน 3.10) สนับสนนุ การซอ่ มแซมสิ่งสาธารณปู โภค และสิง่ สาธารณะประโยชน์ท่ีไดร้ บั ความ เสียหาย เช่น เสน้ ทางคมนาคม ระบบไฟฟ้า ประปา ใหส้ ามารถใชก้ ารไดร้ วมทง้ั การร้อื ถอนซากปรกั หักพัง และการทาความสะอาดสถานท่ีหรอื ตามที่ไดร้ บั การร้องขอ 3.11) รายงานเหตสุ ถานการณ์ และการระงับ บรรเทาภัย ต่อผู้อานวยการศูนย์อานวยการ เฉพาะกจิ ผู้อานวยการกลาง ตามลาดับทราบทุกระยะอย่างต่อเน่ืองจนกว่าสภาวะของภัยพิบตั ิจะคลค่ี ลาย หรอื ยุติลง การส่ือสารในภาวะฉุกเฉิน 1) จัดตงั้ ศนู ยส์ ่ือสาร และจัดให้มรี ะบบสื่อสารหลกั ระบบส่ือสารรอง และระบบสื่อสาร อื่นๆ ทจ่ี าเป็นให้ใชง้ านไดต้ ลอด 24 ชวั่ โมง ให้สามารถเชื่อมโยงระบบส่ือสารดงั กลา่ วกับหน่วยงานอน่ื ได้ ปกติ โดยเร็ว ท่วั ถงึ ทุกพน้ื ท่ี 2) ใช้โครงข่ายสื่อสารทางโทรศัพท์ โทรสาร และวิทยุสอ่ื สารเป็นหลัก หนว่ ยงานหลกั ที่วางระบบสื่อสารในภาวะฉกุ เฉิน ไดแ้ ก่ สานักงานป้องกันและบรรเทา สาธารณภัยตาก 2.1 โทรศพั ท์หมายเลข 0-5551-5975 2.2 โทรสารหมายเลข 0-5551-5975

20 หนว่ ยงานสนับสนุน ไดแ้ ก่ หน่วยงานเครอื ขา่ ย 3) คลื่นวิทยุส่อื สารในภาวะฉกุ เฉนิ ความถหี่ ลัก 150.150 MHz การประสานกับหนว่ ยงานท่ีเก่ียวขอ้ ง ในภาวะฉุกเฉิน เมื่อเกิดเหตุสาธารณภัยขึ้น หรือมีการประกาศเขตภัยพิบัติใน พื้นท่ีจังหวัดในเขตรับผิดชอบให้ศนู ย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั เขต 1 ปทุมธานี ประสานการปฏบิ ัติกบั อาสาสมคั ร มลู นธิ ิ องค์การสาธารณกุศล และหนว่ ยงานท่ีเกี่ยวขอ้ งในพื้นที่ เพอื่ สนับสนุนการปฏิบัตขิ อง จงั หวัดทปี่ ระสบภยั การรายงานข้อมลู ขา่ วสารในภาวะฉกุ เฉนิ 1) ประสานและตดิ ตามรายงานสรปุ สถานการณส์ าธารณภัยจากจังหวัด พรอ้ ม ทง้ั ตรวจความถูกต้องของข้อมูล 2) รายงานและสรปุ สถานการณ์อทุ กภัย ไปยังผู้อานวยการกลาง(อธิบดกี รม ปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย) ทราบทกุ ขนั้ ตอนเปน็ ระยะๆ จนกวา่ ภยั จะยุติ หน่วยงานหลัก สานักงานปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด หน่วยงานสนับสนุน ได้แก่ ภาคีเครือข่าย การประชาสัมพนั ธข์ ้อมูลข่าวสาร 1) จัดแถลงข่าวและสรปุ สถานการณ์อทุ กภยั ผา่ นส่ือต่างๆ ให้ หนว่ ยงานทุกภาค ส่วน ส่อื มวลชน และประชาชนไดร้ ับทราบสถานการณภ์ ยั ทุกวัน เป็นระยะๆ เพื่อมิใหเ้ กดิ ความสบั สนและ ต่นื ตระหนกจนกวา่ สถานการณ์ภัยจะยตุ ิ 2) ประชาสัมพนั ธค์ วามเคล่ือนไหวของสถานการณ์อุทกภยั ทคี่ าดว่าจะเกดิ หรือ เกิดภัยพบิ ัตใิ ห้ส่วนราชการและประชาชนไดร้ บั รู้และเข้าใจสถานการณ์ ผา่ นช่องทางการส่ือสารต่างๆ เชน่ โทรทศั น์ วิทยุ หอกระจายขา่ ว วทิ ยชุ ุมชน ฯลฯ เพื่อประชาสัมพันธใ์ ห้ประชาชนรับทราบสถานการณ์ที่ ถูกต้อง ลดความตืน่ ตระหนก และสบั สนในสถานการณ์ภยั พบิ ัติ หนว่ ยงานหลกั ไดแ้ ก่ สานักงานปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัยจังหวดั ตาก หนว่ ยงานสนบั สนุน ได้แก่ ภาคเี ครอื ขา่ ย กรณสี าธารณภัยขนาดใหญ่ที่มีผลกระทบเกินขีดความสามารถของศูนย์ป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัยเขต กรณเี กิดอุทกภยั ทมี่ ีสถานการณ์สาธารณภัยขนาดใหญท่ ี่มีผลกระทบรา้ ยแรงอย่าง ย่ิง (ความรุนแรงระดับ 4) ขยายเปน็ บรเิ วณกวา้ ง ซงึ่ อาจครอบคลมุ พน้ื ทีห่ ลายอาเภอหรือหลายจังหวัดมี ผลกระทบรุนแรงกว้างขวางต่อชีวิตและทรัพยส์ นิ ของประชาชนจานวนมาก ให้วิเคราะห์และประเมนิ ศกั ยภาพของทรพั ยากรที่มอี ยู่ในการเตรยี มพรอ้ มเผชญิ เหตุแล้วพบวา่ เกินขดี ความสามารถของศูนย์ ปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัยเขต ใหร้ ายงานตอ่ ผู้อานวยการกลาง ทราบทันที ประกาศยุตภิ ยั เม่ือภยั พิบัติที่เกิดขน้ึ ในพ้นื ท่จี ังหวดั ยุติแลว้ หรือมีการประกาศยตุ ภิ ัย ให้ยกเลิกศูนย์อานวยการเฉพาะกิจฯ ระดับกลุ่มจงั หวัดแลว้ สง่ มอบหนา้ ท่ีความรบั ผดิ ชอบให้จังหวัดประสานการปฏบิ ัติต่อไป ขัน้ ปฏบิ ัตกิ ารหลงั เกิดภยั มแี นวทางปฏิบัติดังน้ี การฟน้ื ฟบู รู ณะ

21 1) การฟืน้ ฟผู ปู้ ระสบภยั ใหส้ นับสนนุ การปฏบิ ัติงานของหน่วยบรรเทาทุกขเ์ พื่อ ช่วยเหลอื ผู้ประสบภัย ตามที่ไดร้ ับการรอ้ งขอ 2) การฟน้ื ฟโู ครงสรา้ งพ้ืนฐานและส่งิ แวดล้อมสนบั สนุนการปฏบิ ัติ ดังนี้ 2.1) ซอ่ มแซมสถานทรี่ าชการ โรงเรยี น สถานศกึ ษา วดั โบราณสถาน สถานท่รี าชการ และสถานทท่ี ่องเทย่ี ว และสาธารณูปโภคตา่ งๆ ตามท่ีไดร้ บั การรอ้ งขอ 2.2) ทาความสะอาดบ้านเรือน ชุมชน และส่ิงสาธารณะประโยชน์ใน พน้ื ทปี่ ระสบภยั และขนย้ายขยะมูลฝอยตามที่ได้รับการร้องขอ 2.3) ฟ้นื ฟสู ถานทีท่ ่องเทย่ี วตามทีไ่ ด้รับการร้องขอ 2.4 กฎหมำยทเี่ ก่ียวขอ้ ง การศึกษาเรื่อง “ประสทิ ธิภาพการจดั การภยั พิบตั ิและการตอบโต้สถานการณ์ฉุกเฉินในการ ปฏบิ ตั งิ านร่วมเครอื ขา่ ยในกรอบอาเซียน (ASEAN Economic Commumity: AEC) ของสานักงาน ปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั จังหวดั ตาก” มกี ฎหมายท่เี ก่ียวข้อง คือพระราชบัญญัติป้องกนั และ บรรเทาสาธารณภยั พ.ศ. 2550 ไดก้ าหนดขอบเขตและหน้าทีข่ องผู้ที่เก่ยี วข้องกับการดาเนินการปอ้ งกัน และบรรเทาสาธารณภัย ไว้ดงั นี้ มาตรา 11 ใหก้ รมป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั เปน็ หน่วยงานกลางของรฐั ในการดาเนนิ การ เก่ียวกับการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั ของประเทศ โดยมอี านาจหนา้ ที่ ดังต่อไปนี้ 1) จัดทาแผนการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั แห่งชาตเิ สนอ กปภ.ช. เพอ่ื ขออนุมัติต่อ คณะรัฐมนตรี 2) จัดให้มีการศกึ ษาวิจัยเพือ่ หามาตรการในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั ให้มี ประสทิ ธิภาพ 3) ปฏิบตั กิ าร ประสานการปฏิบัติ ใหก้ ารสนับสนนุ และช่วยเหลือหนว่ ยงานของรฐั องค์กร ปกครองส่วนท้องถ่ิน และหน่วยงานภาคเอกชน ในการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั และใหก้ าร สงเคราะห์เบ้ืองต้นแก่ผู้ประสบภยั ผไู้ ดร้ ับภยันตราย หรอื ผู้ได้รับความเสยี หายจากสาธารณภัย 4) แนะนา ให้คาปรึกษา และอบรมเก่ยี วกับการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแก่หนว่ ยงาน ของรัฐ องคก์ รปกครองสว่ นท้องถนิ่ และหน่วยงานภาคเอกชน 5) ตดิ ตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการดาเนนิ การตามแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ในแตล่ ะระดบั 6) ปฏิบัติการอ่ืนใดตามท่ีบัญญัติไว้ในพระราชบัญญัติน้ีหรือกฎหมายอ่นื หรอื ตามท่ี ผู้บัญชาการ นายกรัฐมนตรี กปภ.ช. หรือคณะรัฐมนตรีมอบหมาย เมือ่ คณะรัฐมนตรีอนมุ ัติแผนการปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติตาม (1) แลว้ ให้ หนว่ ยงานของรัฐและองค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิน่ ทเี่ ก่ยี วขอ้ งปฏบิ ตั กิ ารใหเ้ ป็นไปตามแผนดงั กลา่ ว ในการจัดทาแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติตาม (1) ใหก้ รมป้องกันและบรรเทา สาธารณภยั รว่ มกับหน่วยงานของรฐั ที่เกย่ี วข้องและตวั แทนองคก์ รปกครองสว่ นท้องถิน่ แต่ละประเภทมา ปรกึ ษาหารือและจัดทา ทั้งนี้ จะจดั ใหห้ นว่ ยงานภาคเอกชนเสนอข้อมลู หรอื ความเหน็ เพื่อประกอบการ พิจารณาในการจัดทาแผนดว้ ยกไ็ ด้ เพอ่ื ประโยชนใ์ นการปฏิบัติหนา้ ท่ีตาม (3) (4) (5) และ (6) กรมป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัยจะจัดให้มศี นู ย์ป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัยขึ้นในบางจังหวัดเพ่อื ปฏบิ ตั ิงานใน จงั หวัดน้นั และจังหวดั อ่ืนที่อยู่ใกลเ้ คียงกนั ไดต้ ามความจาเป็น และจะให้มีสานักงานป้องกันและบรรเทา

22 สาธารณภัยจังหวัดขน้ึ เพื่อกากับดูแลและสนับสนุนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยในจงั หวัดหรือ ตามทผ่ี ้อู านวยการจงั หวดั มอบหมายด้วยก็ได้ มาตรา 12 แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั แห่งชาติตามมาตรา 11 (1) อยา่ งน้อยตอ้ งมี สาระสาคญั ดังต่อไปนี้ 1) แนวทาง มาตรการ และงบประมาณที่จาเป็นต้องใชใ้ นการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย อยา่ งเป็นระบบและต่อเน่ือง 2) แนวทางและวิธีการในการให้ความชว่ ยเหลอื และบรรเทาความเดือดร้อนทีเ่ กิดขน้ึ เฉพาะ หน้าและระยะยาวเม่ือเกิดสาธารณภยั รวมถึงการอพยพประชาชน หน่วยงานของรัฐ และองคก์ รปกครอง สว่ นท้องถ่นิ การสงเคราะห์ผูป้ ระสบภยั การดแู ลเกย่ี วกับสาธารณสุข และการแก้ไขปัญหาเก่ียวกับการ สื่อสารและการสาธารณูปโภค 3) หนว่ ยงานของรัฐและองค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่ินทร่ี ับผิดชอบในการดาเนินการตาม (1) และ (2) และวธิ กี ารให้ได้มาซึ่งงบประมาณเพอ่ื การดาเนนิ การดังกลา่ ว 4) แนวทางในการเตรยี มพร้อมดา้ นบุคลากร อุปกรณ์ และเครือ่ งมือเครื่องใชแ้ ละจัดระบบการ ปฏบิ ัติการในการดาเนนิ การป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั รวมถึงการฝกึ บุคลากรและประชาชน การกาหนดเรื่องตามวรรคหน่ึง จะต้องกาหนดให้สอดคล้องและครอบคลมุ ถึงสาธารณภยั ตา่ งๆ โดยอาจกาหนดตามความจาเป็นแห่งความรนุ แรงและความเส่ยี งในสาธารณภยั ด้านนัน้ และในกรณที ี่มี ความจาเป็นตอ้ งมีการแก้ไขหรอื ปรบั ปรุงกฎหมาย ระเบยี บ ขอ้ บังคับ หรอื มติของคณะรัฐมนตรีทีเ่ กยี่ วข้อง ใหร้ ะบไุ ว้ในแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั แหง่ ชาตดิ ว้ ย มาตรา 13 ให้รัฐมนตรเี ปน็ ผู้บัญชาการมีอานาจควบคุมและกากับการปอ้ งกนั และบรรเทา สาธารณภัยทว่ั ราชอาณาจักรใหเ้ ปน็ ไปตามแผนการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาตแิ ละ พระราชบัญญัตินี้ ในการนี้ ให้มอี านาจบังคับบัญชาและส่ังการผ้อู านวยการ รองผู้อานวยการ ผชู้ ่วย ผอู้ านวยการ เจ้าพนักงาน และอาสาสมัครได้ท่ัวราชอาณาจักร ให้ปลดั กระทรวงมหาดไทยเป็นรองผู้บญั ชาการมหี นา้ ที่ชว่ ยเหลอื ผ้บู ญั ชาการในการปอ้ งกันและ บรรเทาสาธารณภัย และปฏิบัติหน้าท่ีตามท่ีผู้บัญชาการมอบหมายโดยให้มีอานาจบังคบั บญั ชาและส่งั การ ตามวรรคหนึ่งรองจากผู้บัญชาการ มาตรา 14 ให้อธิบดเี ปน็ ผอู้ านวยการกลางมหี น้าทปี่ อ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัยทั่ว ราชอาณาจักร และมีอานาจควบคุมและกากบั การปฏบิ ัตหิ น้าท่ีของผอู้ านวยการ รองผอู้ านวยการ ผูช้ ่วย ผอู้ านวยการ เจ้าพนักงาน และอาสาสมัครได้ทัว่ ราชอาณาจักร มาตรา 15 ให้ผวู้ ่าราชการจังหวัดเป็นผอู้ านวยการจังหวดั รบั ผดิ ชอบในการป้องกันและบรรเทา สาธารณภัยในเขตจังหวัด โดยมีอานาจหน้าทด่ี ังต่อไปน้ี 1) จัดทาแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจงั หวดั ซึง่ ต้องสอดคล้องกบั แผนการ ปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ 2) กากบั ดแู ลการฝึกอบรมอาสาสมัครขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 3) กากบั ดแู ลองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ใหจ้ ดั ให้มวี ัสดุ อปุ กรณ์ เคร่ืองมอื เครือ่ งใช้ ยานพาหนะ และส่ิงอื่น เพื่อใช้ในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั ตามทกี่ าหนดในแผนการป้องกันและบรรเทา สาธารณภยั จงั หวดั

23 4) ดาเนนิ การใหห้ น่วยงานของรัฐและองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ให้การสงเคราะหเ์ บ้ืองต้นแก่ ผปู้ ระสบภยั หรือไดร้ บั ภยันตรายหรือเสยี หายจากสาธารณภัยรวมตลอดท้ังการรักษาความสงบเรยี บรอ้ ย และการปฏิบัติการใดๆ ในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั 5) สนบั สนนุ และให้ความชว่ ยเหลอื แก่องค์กรปกครองสว่ นท้องถ่ินในการป้องกันและบรรเทา สาธารณภยั 6) ปฏบิ ัตหิ นา้ ท่ีอื่นตามทีผ่ ู้บัญชาการและผู้อานวยการกลางมอบหมาย มาตรา16 แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจงั หวัดตามมาตรา 15(1) อยา่ งน้อยต้องมี สาระสาคัญตามมาตรา 12 และสาระสาคญั อ่ืนดังต่อไปน้ี 1) การตั้งศนู ย์อานวยการเฉพาะกจิ เม่ือเกิดสาธารณภัยขึ้น โครงสรา้ ง และผ้มู อี านาจ สง่ั การ ดา้ นตา่ งๆ ในการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั 2) แผนและขน้ั ตอนขององค์กรปกครองส่วนท้องถนิ่ ในการจดั หาวสั ดุ อปุ กรณ์ เคร่ืองมือ เครอื่ งใช้ และยานพาหนะ เพื่อใช้ในการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั 3) แผนและขน้ั ตอนขององค์กรปกครองสว่ นท้องถน่ิ ในการจดั ใหม้ ีเคร่ืองหมายสัญญาณ หรอื สง่ิ อ่นื ใด ในการแจง้ ให้ประชาชนได้ทราบถึงการเกิดหรือจะเกิดสาธารณภยั 4) แผนปฏบิ ตั ิการในการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัยขององค์กรปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ 5) แผนการประสานงานกับองค์กรสาธารณกุศล 2.5 งำนวิจยั ทเี่ กี่ยวขอ้ ง ผลงานวจิ ัยที่เก่ียวข้องกับการศกึ ษา ประสิทธิภาพการจดั การภัยพิบัติและการตอบโตส้ ถานการณ์ ฉกุ เฉนิ ในการปฏบิ ัติงานร่วมเครือขา่ ยในกรอบอาเซียน (ASEAN Economic Commumity: AEC) ของ สานกั งานป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัยจงั หวัดตาก งานวจิ ัยท่ีเกี่ยวข้องกบั การมีส่วนรว่ มของประชาชนจากการศกึ ษาค้นควา้ งานเอกสารงานวิจัยทเ่ี ก่ียวข้อง กับการมสี ่วนรว่ ม มีผศู้ ึกษาไว้ดงั นี้ สกนธ์ จันทรกั ษ์ให้ความเหน็ ว่าการมีสว่ นร่วมเกิดจากแนวความคิดสาคัญ 3 ประการ คอื 1) ความสนใจและความกังวลร่วมกัน ซ่ึงเกิดจากความสนใจ และความห่วงกังวล ส่วน บคุ คลซึง่ บงั เอิญพ้องตอ้ งกัน กลายเปน็ ความสนใจและความหว่ งกังวลร่วมกันของส่วนรวม 2) ความเดือดร้อนและความพึงพอใจร่วมกัน ท่ีมีอยู่ต่อสถานการณ์ที่เป็นอยู่น้ันผลักดันให้ พงุ่ ไปสกู่ ารรวมกลุ่ม วางแผนและลงมอื กระทารว่ ม 3)การตกลงใจรว่ มกนั ทีจ่ ะเปล่ียนแปลงกล่มุ หรอื ชมุ ชนไปในทศิ ทางทพี่ ึงปรารถนา การ ตดั สนิ ใจร่วมกันนตี้ อ้ งรนุ แรงมากพอที่จะทาให้เกดิ ความริเริ่มกระทาการท่ีสนองตอบความเห็นชอบของคน สว่ นใหญท่ ่เี กี่ยวขอ้ งกับกิจกรรมน้ัน ๆ วิทวัส แก้วทะนงได้ศึกษาการมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการทรัพยากรน้าในพ้ืนที่ลุ่ม น้าปากพนงั จงั หวัดนครศรีธรรมราช พบว่า ประชาชนในพื้นที่ลุ่มน้าปากพนังเคยมีส่วนร่วมในการจัดการ ทรัพยากรน้าค่อนข้างน้อย ทั้งขั้นตอนและรูปแบบการมีส่วนร่วมในการจัดการทรัพยากร โดยที่ เพศ อายุ รายได้ และระดับการศึกษา เป็นปัจจัยหลักที่มีผลต่อการมีส่วนร่วมในขั้นตอนต่างๆ ของการจัดการ

24 ทรพั ยากรน้า โดยปัจจัยท่ีมีผลตอ่ ความต้องการเข้ามามีส่วนร่วมของประชาชนในท้องถ่ินมีความต้องการท่ี จะเข้ามามสี ่วนร่วมในการจัดการทรัพยากรนา้ ในพน้ื ที่ลุ่มน้าปากพนัง จงั หวัดนครศรีธรรมราช แพรว ตรีรัตน์ได้ศึกษาการมีส่วนร่วมของประชาชนในการอนุรักษ์ทรัพยากรน้า : กรณีศึกษา ตาบลบา้ นต๋อม อาเภอเมอื ง จังหวัดพะเยา ผลการค้นควา้ แบบอิสระ พบว่า การมีส่วนร่วมของ ประชาชนในการอนุรักษ์ทรัพยากรน้าของประชาชนไม่สามารถอนุรักษ์ทรัพยากรน้าได้ด้วยตนเอง จะต้อง มีการร่วมกับหน่วยงานภาครัฐจึงจะสาเร็จได้ ประชาชนยังขาดความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับการอนุรักษ์ ทรัพยากรน้า ประชาชนขาดความร่วมมือในการเข้าร่วมกิจกรรมเกี่ยวกับการอนุรักษ์น้าท่ีชุมชนจัดข้ึน ประชาชนไม่มีอานาจในการจัดการทรัพยากรน้าในชุมชน และขาดงบประมาณในการดาเนินการเกี่ยวกับ การอนุรกั ษท์ รัพยากรนา้ กุนฑลี ภัคธนกุล ได้ศึกษาการมีส่วนร่วมของประชาชนในการบริหารจัดการน้าแม่สา อาเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ ผลการศึกษา พบว่า การมีส่วนร่วมของประชาชนในการบริหารจัดการน้า แม่สา ภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง พิจารณาแต่ละด้าน พบว่า ด้านที่ประชาชนมีส่วนร่วมในระดับปาน กลาง ได้แก่ ด้านร่วมปรึกษาค้นคว้าหาปัญหา ด้านร่วมตัดสินใจในการใช้ทรัพยากรน้า และด้านร่วมดูแล อนุรักษ์แหล่งน้า ขณะที่ด้านให้ความร่วมมือกับหน่วยราชการ และด้านร่วมวางงาน หรือโครงการซ่ึง ประชาชนมีส่วนรว่ มอยู่ในระดบั นอ้ ย ประภำพรรณ จันทร์ศริ ิไดก้ ล่าวถงึ แนวทางการมสี ว่ นร่วมไว้ดงั ตอ่ ไปน้ี 1. ร่วมคิด คือ ร่วมในการประชุมปรึกษาหารือซ่ึงกันและกันในการวางโครงการวิธีการ ดาเนินงานการติดตามตรวจสอบและการดูแลรักษาเพื่อให้กิจกรรมโครงการต่าง ๆ ที่ได้กระทาน้ันสาเร็จ ผลตามวัตถปุ ระสงคท์ ่ีไดว้ างแผนเอาไว้ 2. ร่วมกันติดสินใจ คือ เม่ือมีการประชุมปรึกษาหารือแล้วจะต้องร่วมกันตัดสินใจที่จะทา กิจกรรมหรือหาแนวทางท่ีดีที่สุดหรือเหมาะสมที่สุด ว่าเรื่องใดมีความสาคัญมากท่ีสุด เรื่องท่ีควรทาก่อน และกจิ กรรมอันใดท่ีควรทาทีหลงั เป็นต้น 3. ร่วมกันปฏิบัติตามโครงการ คือ เมื่อร่วมกันคิด ร่วมกันตัดสินใจท่ีจะทากิจกรรมแล้ว จะต้องเข้าร่วมในการดาเนินตามโครงการ เชน่ การร่วมกันออกแรงร่วมเงินบรจิ าคทรพั ย์ เป็นต้น 4. ร่วมติดตามประเมินผล โครงการ คือ เม่ือโครงการสิ้นสุดลงแล้วทุกคนจะต้องมีส่วนร่วมใน การตรวจตราดแู ลรกั ษาประเมินผลโครงการว่ามีความสาเร็จตามวัตถปุ ระสงค์มากน้อยเพียงใด กิตติวรรณ ธีระตระกูล ศึกษาวิจัยเร่ือง การมีส่วนร่วมของประชาชนเกี่ยวกับการปกครอง ส่วนท้องถ่ินในเขตเทศบาลตาบลตราด ผลการศึกษา พบว่า ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมเก่ียวกับการ ปกครองส่วนท้องถ่ินในรูปแบบการเลือกตั้งมากท่ีสุด รองลงมา คือ การมีบทบาทในชุมชน การประท้วง การสื่อสารทางการเมือง การเก่ียวข้องกับกลุ่มการเมือง พฤติกรรมการมีส่วนร่วมทางการเมืองมีลักษณะ ของการเอื้อต่อการกระจายอานาจ เนื่องจากประชาชนให้ความสนใจเข้ามามีส่วนร่วมในรูปแบบของการ เลือกตั้งและการมีบทบาทในชุมชมค่อนข้างสูง มีผลต่อการกาหนดนโยบายสาธารณของผู้บริหารและ ผู้สมัครเลอื กตงั้ เปน็ ผ้บู รหิ าร พชั รินทร์ รตั นวภิ ำไดศ้ ึกษาการมีสว่ นร่วมในการป้องกันและแก้ไขปัญหามลพิษทางอากาศ ของสมาชกิ องคก์ รชุมชนในเขตเทศบาลนครเชยี งใหม่ ผลการศกึ ษาสรุปได้ว่า ดา้ นข้อมูลพ้ืนฐานท่ัวไป เป็น เพศหญิงช่วงอายุ 41-50 ปี ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพรับจ้าง มีความเห็นเก่ียวกับสภาพปัญหามลพิษทาง อากาศ ของสมาชิกองค์กรชุมชนในเขตเทศบาลนครเชียงใหม่นั้น ส่วนใหญ่จะพบปัญหาในด้านแหล่ง มลพษิ ทเี่ กิดจากยานพาหนะอย่ใู นระดับสงู และมลพิษท่ีเกิดจากเตาเผาขยะและเตาเผาศพอยู่ในระดับปาน

25 กลาง โดยเสนอการมสี ่วนร่วมที่ควรจะเป็นในอนาคตควรเร่งการรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ เกี่ยวกับอันตราย และผลกระทบจากมลพษิ และสรา้ งจติ สานกึ ความตระหนักในการดูแลรกั ษาสภาพแวดล้อม กรรณิกำ ชมดี สรุปว่า การมีส่วนร่วมของประชาชน หมายถึงความร่วมมือของ ประชาชนไม่ว่าของปัจเจกบุคคลหรือกลุ่มคนท่ีเห็นพ้องต้องกัน และเข้ามาร่วมรับผิดชอบเพื่อดาเนินการ พัฒนา และเปล่ียนแปลงไปในทางที่ต้องการโดยการกระทาผ่านกลุ่มหรือองค์กร เพื่อให้บรรลุถึงความ เปล่ยี นทพี่ ึงประสงค์ จีระพัฒน์ หอมสุวรรณได้ให้ความหมายการมีส่วนร่วมของประชาชนหมายถึง “การที่ ประชาชนได้เข้าไปมีส่วนร่วมในกระบวนการพัฒนา ตั้งแต่การระบุปัญหา การวิเคราะห์ถึงสาเหตุแห่ง ปัญหา การดาเนินการแก้ไขปัญหา การติดตามผล และการได้ร่วมรับผลประโยชน์จากโครงการน้ัน ร่วมกนั ” ทศพล กฤตพสิ ฐิ ได้ให้ความหมายของการมีส่วนร่วมที่เน้นในรูปกลุ่ม/องค์กร หรือชุมชนไว้ ว่า หมายถึง “การทีป่ จั เจกบคุ คล กลมุ่ หรือชุมชน มคี วามเห็นพ้องต้องกนั ในเร่อื งทมี่ ผี ลกระทบใดๆ ต่อการ ดาเนินชีวิตของตนเองแล้วมีการแสดงให้เห็นถึงความต้องการร่วมกันท่ีจะเปล่ียนแปลงให้เป็นไปตาม วัตถุประสงค์ของตน จนมาสู่การตัดสินใจกระทาการเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์นั้น ๆ มีความร่วมมือและ รับผิดชอบในกิจกรรมการพัฒนาท่ีเป็นประโยชน์ต่อสังคม โดยในขั้นตอนต่าง ๆ ของการดาเนินกิจกรรม น้ัน ๆ มกี ลุ่ม หรอื องคก์ รชุมชนรองรบั ประชาชนท่เี ขา้ รว่ มมีการพัฒนาภูมิปัญญา และการรับรู้สามารถคิด วิเคราะห์ และตัดสินใจเพ่ือกาหนดการดาเนินชีวิตของตนเองได้ ประชาชน หรือชุมชนได้พัฒนาขีด ความสามารถของตน ในการจัดการควบคุมการใช้และการกระจายทรัพยากรท่ีมีอยู่ เพ่ือประโยชน์ต่อการ ดารงชพี ทางเศรษฐกิจและสังคม ตามความจาเปน็ อยา่ งสมศกั ดศ์ิ รีในฐานะสมาชิกของสงั คม” สุภำพ แก้วตำทิพย์ การศึกษาการมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาการมีส่วนร่วมของ คณะกรรมการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียนสังกัดเทศบาลเมืองปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช ผลการวิจยั พบวา่ 1. การมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาของคณะกรรมการจัดการศึกษาข้ันพื้นฐาน โรงเรียน ในสังกัดเทศบาลเมืองปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช โดยรวมอยู่ในระดับดีมาก เม่ือพิจารณาราย ด้าน คือ การร่วมมือด้านวิชาการ ด้านงบประมาณ ด้านการบริหารงานบุคคล ด้านการบริหารทั่วไป กอ็ ยใู่ นระดบั ดีมากเช่นกนั 2. เปรียบเทียบ การมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาของคณะกรรมการจัดการศึกษาข้ัน พื้นฐาน โรงเรียนเทศบาลเมืองปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช ระหว่างองค์ประกอบของ คณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน มีความแตกตา่ งกนั อย่างมนี ยั สาคัญทางสถติ ิที่ .01 ทพิ ยภ์ ำเวชช์ ณ เชยี งใหม่ ไดท้ าการศึกษา การมีส่วนร่วมของประชาคมในการดาเนินงาน ขององค์การบริหารส่วนตาบล : กรณีศึกษาองค์การบริหารส่วนตาบลสันพระเนตร อาเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ “พบว่าสมาชิกประชาคมทั้งในระดับหมู่บ้านและตาบลต่างมีความเห็นว่าประชาคมเป็น เสมือนตัวแทนของประชาชน ท่ีสามารถแก้ไขปัญหาของชุมชนได้ดีกว่ารูปแบบของภาคราชการโดยเสนอ แผนงาน/โครงการของชุมชนต่อองค์การบริหารส่วนตาบล จะทาให้โครงการต่าง ๆ ได้รับการผลักดันให้ เกดิ ขึ้นอยา่ งเป็นรปู ธรรม” วโิ รจน์ รูปดีไดก้ ล่าวถงึ เรื่องน้วี า่ ปจั จัยที่มผี ลตอ่ การมสี ว่ นรว่ มของประชาชนพอสรปุ ไดด้ ังนี้

26 1. ความเกรงใจผูท้ ม่ี ีสถานภาพท่ีสูงกว่า 2. ความตอ้ งการเปน็ กลุม่ พวก 3. ความเช่อื ถอื ในตัวผูน้ า 4. ความใกลช้ ิดกบั เจ้าหนา้ ทีข่ องรัฐ 5. การคานึงถงึ ผลประโยชน์และผลตอบแทน 6. การยอมรับแบบอย่าง 7. ความไม่พอใจในสภาพแวดล้อม 8. การยอมรับในอานาจของรฐั 9. ฐานะทางเศรษฐกจิ ศิรนิ ภำสภำพรวจนำได้อธิบายว่า “การมีส่วนร่วมทางการเมืองคือเป็นกิจกรรมต่างๆท่ีกระทา โดยความสมัครใจของสมาชิกในสังคมเพื่อมีส่วนร่วมในการที่จะเลือกผู้นาของตนและกาหนดนโยบาย สาธารณะโดยการกระทาน้ันอาจจะกระทาโดยทางตรงหรือทางอ้อมก็ได้กิจกรรมเหล่าน้ีประกอบด้วยการ ลงคะแนนเสียงในการเลือกต้ังการติดตามข่าวสารทางการเมืองการพูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดเห็นทางการ เมืองการร่วมประชุมเพ่ือกาหนดนโยบายและแสดงความคิดเห็นทางการเมืองการให้เงินสนับสนุนโครงการ และการติดต่อสัมพันธ์กับผู้แทนราษฎรส่วนบุคคลที่ไม่ยุ่งเกี่ยวกับกิจกรรมเหล่าน้ีคือพวกท่ีเฉยเมยทาง การเมืองซ่ึงเปน็ ภาวะท่บี ุคคลถอนตวั จากกิจกรรมทางการเมืองหรือรู้สึกเฉยๆไม่แยแสทางการเมือง” 2.6 สรปุ ทฤษฎแี ละแนวคดิ ในกำรจักกำรสำธำรณภัย กรอบแนวคิดในการศกึ ษาครัง้ น้ี อาศยั หลักการบรหิ ารจดั การประสิทธิภาพพการจัดการภัยพิบัติและการ ตอบโตส้ ถานการณฉ์ ุกเฉินในการปฏบิ ัติงานร่วมเครือข่ายในกรอบอาเซียน (ASEAN Economic Commumity: AEC) ของสานกั งานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจงั หวัดตาก โดยสอดคลอ้ งกับแผน ปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ ร่วมกบั แนวคดิ ทฤษฎีทเี่ กี่ยวข้อง ตวั แปรอสิ ระ ตวั แปรตาม ปจั จยั สว่ นบคุ คล ไดแ้ ก่ ประสทิ ธภิ าพการจดั การภัยพิบัตแิ ละ 1. เพศ การตอบโตส้ ถานการณ์ฉกุ เฉินในการ 2. อายุ ปฏบิ ตั งิ านร่วมเครือข่ายในกรอบ 3. ระดบั การศึกษา อาเซียน (ASEAN Economic 4. ตาแหน่ง Commumity: AEC) ของสานกั งาน 5. ประสบการณ์ ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจงั หวัด ตาก ปัจจยั จากการไดร้ ับการ สนับสนุนดา้ นตา่ งๆ ดงั น้ี - ด้านบคุ ลากร - งบประมาณ - อุปกรณ์ เครื่องมือ เคร่ืองจักรกล ยานพาหนะ - การบญั ชาการเหตกุ ารณ์ ในภาวะฉกุ เฉิน

27 สรปุ จากการรวบรวมงานวจิ ัยทีเ่ ก่ยี วข้อง จะเห็นไดว้ า่ การศึกษาเรื่องการมสี ่วนรว่ มของ ประชาชนในการบรหิ ารงาน ส่วนใหญจ่ ากผลการศกึ ษามีความสอดคลอ้ งกนั ไปในแนวทางเดยี วกนั คอื การ มสี ว่ นรว่ มของประชาชนในการบรหิ ารงานมีระดับตา่ ไปหากลาง ซ่งึ มีสาเหตุมาจากหลาย ๆ ปัจจัย เชน่ ประชาชนขาดความรู้ ความเข้าใจในกระบวนการบริหารงาน ขาดความรคู้ วามเข้าใจในสิทธิการมีส่วนร่วม ในด้านต่าง ๆ ทสี่ ามารถทาได้ในขอบเขตของกฎหมาย และไม่มีการเปิดโอกาสใหป้ ระชนเข้ามีสว่ นรว่ มใน การกาหนดกจิ กรรมหรือ ดา้ นเศรษฐกจิ ดา้ นสงั คมและความม่นั คงของมนษุ ย์ ด้านสาธารณสุข และด้าน ศาสนาและวฒั นธรรม ให้ประชาชนมีส่วนรว่ มในการแสดงความคิด รว่ มสละแรงงาน สละเวลาและร่วม แสดงความคิดเห็น พงึ่ ตนเอง รว่ มงานแผนงานนโยบายเพ่ือพฒั นาชุมชนให้เกิดความปลอดภยั ดั้งน้ัน จะเห็นได้ว่าแนวคิดและทฤษฎีด้านการจัดการสาธารณภัย แนวคิดการมีส่วนร่วมของ ประชาชนที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัยที่นามากล่าวไว้ข้างต้นน้ัน ยังไม่สามารถตอบคาถามให้ทราบว่า ประสิทธิภาพการจัดการภัยพิบัติและการตอบโต้สถานการณ์ฉุกเฉินในการปฏิบัติงานร่วมเครือข่ายใน กรอบอาเซียน (ASEAN Economic Commumity: AEC) ของสานักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย จังหวัดตาก ประกอบด้วยปัจจัยด้านใดบ้างและมีปัญหาอุปสรรคด้านใดบ้าง ให้การปฏิบัติงานไม่เป็นไป ตามแผนฯ ท่ีกาหนดไว้ ด้วยเหตุนี้ผู้วิจัยจึงมีความต้องการที่จะศึกษาว่า มีแนวทางในการบริหารจัดการ ด้านใดบ้างท่ีจะทาให้งานด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยสามารถปฏิบัติได้อย่างมี ประสิทธิภาพ การจัดการภัยพิบัติและการตอบโต้สถานการณ์ฉุกเฉินในการปฏิบัติงานร่วมเครือข่ายในกรอบอาเซียน (ASEAN Economic Commumity: AEC) ของสานกั งานปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดตาก เพ่ือ นาขอ้ มลู ทีไ่ ด้รับเพอื่ เป็นฐานข้อมูลในการจดั ทาแผนการปฏิบัตงิ านใหเ้ กิดผลสาเรจ็ ตามเป้าหมายตอ่ ไป

28 บทท่ี 3 วธิ ดี ำเนนิ กำรวจิ ัย ในการวิจัยครั้งนี้ เป็นการศึกษาประสิทธิภาพการจัดการภัยพิบัติและการตอบโต้สถานการณ์ ฉุกเฉินในการปฏิบัติงานร่วมเครือข่ายในกรอบอาเซียน (ASEAN Economic Commumity: AEC) ของ สานักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดตาก โดยใช้รูปแบบการวิจัย เชิงคุณภาพ (Qualitative Research)และใช้แบบสอบถามจากกลุม่ ตัวอย่างและวเิ คราะห์ทางสถติ ิ มีรายละเอยี ดดงั นี้ 3.1 รูปแบบการวิจัย 3.2 ประชากรและกลุ่มตวั อยา่ ง 3.3 เครื่องมือการวจิ ัย 3.4 การเก็บรวบรวมข้อมูล 3.5 วธิ ีรวบรวม 3.6 การวิเคราะหข์ อ้ มูลและสถติ ทิ ใ่ี ช้ในการวเิ คราะหข์ ้อมลู 3.1 รปู แบบกำรวจิ ยั การศกึ ษาวจิ ัยคร้ังน้ีเป็นงานวิจยั ในเชงิ คณุ ภาพ (Qualitative Research) 3.2 ประชำกรและกลุ่มตวั อย่ำง ขอบเขตประชากรที่ใชใ้ นการศึกษา ได้แก่ 1) ข้าราชการที่ปฏิบัติงานในสานักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดตาก จานวน 20 คน และเจ้าหนา้ ท่ที เี่ ก่ยี วขอ้ ง จานวน 20 คน 2) ข้าราชการที่ปฏิบัติงานใน หน่วยงาน อปท.จังหวัดตาก จานวน 20 คน และเครือข่ายที่ เกย่ี วข้อง จานวน 20 คน ขอบเขตและพืน้ ท่ีการศึกษา พ้ืนที่ จังหวัดตากที่อยู่ในเขตรับผิดชอบของสานกั งานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวดั ตาก ขอบเขต ระยะเวลาในการศึกษา 3 เดอื น ต้ังแต่ เดือน มกราคม – มีนาคม 2557 3.3 เครือ่ งมอื ทใ่ี ช้ในกำรเก็บรวบรวมขอ้ มลู ในการสร้างเครอื่ งมอื ที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้ศึกษาได้ศึกษาแนวคิด ทฤษฎี กรอบแนวคิด ในการศกึ ษา และตวั แปรทใี่ ชใ้ นการศกึ ษาเพ่ือเปน็ แนวทางในการสร้างเครื่องมือ ดังนี้ 3.3.1) ความคิดเห็นเก่ียวกับการใช้งานระบบวิเคราะห์ประสิทธิภาพการจัดการภัยพิบัติและการ ตอบโต้สถานการณ์ฉุกเฉินในการปฏิบัติงานร่วมเครือข่ายในกรอบอาเซียน (ASEAN Economic Commumity: AEC) ของสานักงานป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัยจังหวดั ตาก ผู้ศึกษาใช้วิธีการวิจัยเชิงสารวจ (Survey Research) โดยใช้ชุดคาถาม(Questionnaire) เป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างโดยประชากร (Population) ของการศึกษา คือ ข้าราชการ เจ้าหน้าท่ีของสานักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดตาก โดยเจาะจงเฉพาะผู้ท่ี ปฏิบัติงานด้านการป้องกันและช่วยเหลือผู้ประสบภัย เป็นการศึกษาถึงปัจจัยส่วนบุคคล เช่น เพศ อายุ ตาแหน่ง ระยะเวลาท่ีปฏิบัติงานด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ประสบการณ์เก่ียวกับการ

29 บรรเทาสาธารณภัย ท่เี คยมปี ระสบการณ์ มีผลต่อความพร้อมในการป้องกันและแก้ไขปัญหาภัยพิบัติ เป็น การออกแบบชุดคาถาม ประกอบด้วย เนื้อหา 3 ส่วน ดงั น้ี 1. ชดุ คาถามมีทงั้ หมด 2 ตอน ดงั นี้ ตอนที่ 1ชดุ คาถามเกีย่ วกับขอ้ มลู ส่วนตวั ของผตู้ อบแบบสอบถาม ตอนที่ 2ชุดคาถามเก่ียวกับแนวคิด ประสบการณ์ การมีส่วนร่วมในการประสิทธิภาพการจัดการภัยพิบัติ และการตอบโต้สถานการณ์ฉุกเฉินในการปฏิบัติงานร่วมเครือข่ายในกรอบอาเซียน (ASEAN Economic Commumity: AEC) ของสานักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดตากในการป้องกันและแก้ไข ปัญหาภัยพิบัติฉุกเฉิน 2.ชุดคาถามน้ีมีวัตถุประสงค์นามาใช้ในการศึกษาวิจัยเท่านั้น ซ่ึงจะไม่มีผลกระทบต่อผู้ตอบชุด คาถามหรือหน่วยงานของท่าน และจะไม่มีการเปิดเผยข้อมูลเป็นรายบคุ คลแตอ่ ยา่ งใด ผู้วิจยั หวังเป็นอยา่ งย่ิงวา่ จะได้รับความอนุเคราะห์จากท่าน ในการตอบชุดคาถามครั้งน้ีเป็นอย่างดี ขอบคุณทุกท่านท่ีได้ตอบชุดคาถามนี้ตามความเป็นจริง และตรงกับความเห็นของท่านมากที่สุด คาตอบ ของทา่ นจะเก็บไวเ้ ป็นความลับและจะใช้สาหรับการทาวิจยั ครั้งนเ้ี ท่านน้ั ขนั้ ตอนการสรา้ งเครื่องมือและการทดสอบคุณภาพเครอื่ งมือมีขั้นตอนดงั นี้ 1. ศึกษาเน้ือหา แนวคดิ ทฤษฎี และจากเอกสารและผลการวิจยั ทเี่ กย่ี วข้อง 2. กาหนดขอบเขตและโครงสร้างของเนื้อหาของแบบสอบถามที่ใช้ในการศึกษาวิจัยเพ่ือให้ ครอบคลุมตามวตั ถุประสงคก์ ารวิจัยในการสรา้ งเคร่อื งมอื การวจิ ยั 3. ดาเนนิ การสรา้ งขอ้ คาถามของชดุ คาถาม 4. นาชุดคาถามมีขั้นตอนดังนี้ท่ีผู้วิจัยสร้างขึ้น หลังจากน้ันนาไปให้อาจารย์ท่ีปรึกษาตรวจสอบ และแก้ไขเพื่อให้มีความชัดเจน ในเรื่องภาษาและการส่ือความหมาย และความตรงในเนื้อหา (Content Validity) และวัตถุประสงค์ของการวัด และนาไปให้อาจารย์ที่ปรึกษาที่ควบคุมงานวิจัยทาการตรวจสอบ ความถูกตอ้ งของการใชภ้ าษา และความตรงในเน้ือหา 5. นาเคร่ืองมือการวิจัยไปทดลองใช้กับประชากรท่ีมีลักษณะคล้ายกับกลุ่มตัวอย่างเพื่อหาความ เทย่ี งตรงของเครอื่ งมอื 6. ปรบั ปรงุ แก้ไขตามคาแนะนาของอาจารยท์ ี่ปรกึ ษา 7. จัดพมิ พช์ ดุ คาถามฉบับสมบูรณ์และนาไปใชจ้ ริงเพื่อเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู กบั กลมุ่ ตัวอยา่ ง 3.3.2 การตรวจสอบคณุ ภาพของเครื่องมอื ในการหาคุณภาพของเคร่อื งมอื ผู้วจิ ยั ไดด้ าเนนิ การตามข้ันตอน ดงั นี้ 1. ขอคาแนะนาจากอาจารยท์ ี่ปรึกษาเพื่อตรวจสอบเคร่ืองมือท่สี รา้ งไว้ 2. หาความถูกต้อง (Validity) โดยการนาชดุ คาถามท่ีสร้างเสรจ็ เสนออาจารย์ทปี่ รึกษา 3. นาชุดคาถามท่ีได้ปรับปรุงแก้ไขแล้วเสนอต่ออาจารย์ท่ีปรึกษาเพื่อขอความเห็นชอบและ จดั พิมพช์ ุดคาถามฉบับสมบรู ณ์ เพอื่ ใชแ้ จกกลุ่มตัวอย่างจริงในการวจิ ยั ตอ่ ไป

30 3.4 กำรเกบ็ รวบรวมข้อมลู การเกบ็ ขอ้ มูลจากชุดคาถาม กล่มุ ตวั อย่าง ไดแ้ ก่ 1) ข้าราชการที่ปฏิบัติงานในสานักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดตาก จานวน 20 คน และ เจ้าหน้าทท่ี เี่ กย่ี วข้อง จานวน 20 คน 2) ข้าราชการท่ีปฏิบัติงานใน หน่วยงาน อปท.จังหวัดตาก จานวน 20 คน และเครือข่ายที่เก่ียวข้อง จานวน 20 คน 3.5 วิธีรวบรวม 1) ใชว้ ิธกี ารศกึ ษาจากเอกสารท่ีเกย่ี วข้อง (document research) 2) การสารวจสภาพพนื้ ที่ศกึ ษา (survey study) 3.6 กำรวิเครำะหข์ ้อมูล การวจิ ยั คร้งั น้ี ผ้วู จิ ัยได้เก็บรวบรวมข้อมลู จากชุดคาถามตามขั้นตอนต่อไปนี้ 1. เตรยี มทีมงานในการเก็บรวบรวมขอ้ มลู 2. การกาหนดวัน เวลา ในการจัดส่งและตอบชุดคาถาม ผู้วิจัยได้จัดทีมงานและทาการนัดหมาย กับผูต้ อบชุดคาถามลว่ งหนา้ 3. การจัดเตรียมวสั ดุ อุปกรณ์ที่ตอ้ งใชเ้ พอื่ การตอบชดุ คาถามและการเดินทาง เช่น ดินสอ ปากกา กระดาษจดบนั ทึก ชดุ คาถามและยานพาหนะ 4. ข้ันตอนการรวบรวมข้อมูลชุดคาถาม และตรวจความสมบูรณ์ของชุดคาถาม หลังจากน้ันนา ข้อมลู จากชดุ คาถามแตล่ ะชุดไปวเิ คราะห์และรวบรวมสรปุ เชงิ รอ้ ยแก้ว ข้อมูลที่ได้จากชุดคาถาม ผู้วิจัยได้นามาวิเคราะห์ ข้อมูลเก่ียวกับปัจจัยส่วนบุคคลกับตัวแปร ประสิทธิภาพการจัดการภัยพิบัติและการตอบโต้สถานการณ์ฉุกเฉินในการปฏิบัติงานร่วมเครือข่ายใน กรอบอาเซียน โดยใช้การพรรณนาเพือ่ อธิบาย รายละเอยี ด ความสัมพนั ธ์ของขอ้ มูล

31 บทท่ี 4 ผลของกำรศกึ ษำวิเครำะห์ บทนี้จะเป็นการวิเคราะห์และอภิปรายผลการวิจัยที่จะแยกการอธิบายออกเป็นสองส่วน ส่วนที่ 1 แบบสอบถามเกี่ยวกับข้อมูลส่วนตัวด้านปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ 1. เพศ 2.อายุ 3.ระดับ การศึกษา 4.ตาแหน่ง 5. ประสบการณ์ ออกแบบสอบถามจะเป็นการบรรยายเพื่อวิเคราะห์ ผลการวิจัยที่จะตอบวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ส่วนท่ี 2 ชุดคาถามขอ้ มลู เกี่ยวข้องกบั แนวคิด ประสบการณ์ ทฤษฎีการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย การมี ส่วนร่วม การบัญชาการเหตุการณ์จะเป็นการวิเคราะห์ผลการวิจัยที่ตอบวัตถุประสงค์ 2.1 เพื่อศึกษากลไกที่มีประสิทธิภาพเพื่อลดความเสียหายจากภัยพิบัติต่อชีวิตและทรัพย์สิน ของสังคมเศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อม ของจังหวัดตาก โดยกรอบของอาเซียนโดยครอบคลุมทั้ง 1) ก่อนเกิดภัยพิบัติ 2) ขณะเกิดภัยพิบัติ 3) หลังเกิดภัยพิบัติ ในพ้ืนที่จังหวัดท่ีรับผิดชอบ ด้านใดบ้าง 2.2 เพื่อศึกษาความร่วมมือทางด้านวิชาการ การเสริมสร้างศักยภาพของหน่วยงานและ บุคลากร โดยเน้นหลักการ ใช้ทรัพยากรท่ีมีอย่างจากัดให้เกิดประโยชน์สูงสุด ในการช่วยเหลือภายใต้ การดาเนินในกรอบของการพัฒนาอย่างย่ังยืน มีอะไรบ้าง อย่างไร 4.1ประเด็นกำรวิเครำะหข์ ้อมลู สว่ นที่ 1. ดงั นี้ เก็บข้อมลู จากกล่มุ ตวั อย่าง ผู้ทปี่ ฏิบัติงานด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยของข้าราชการ เจ้าหน้าที่สานักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยตาก ข้าราชการ เจ้าหน้าที่ ขององค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่นท้ังหมดจานวน 80 คน พบว่า ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย จานวน 59 คน เพศหญิง จานวน 29 คน มี อายุระหว่าง 20-29 ปี จานวน 20 คน อายุ 30-39 ปี จานวน 20 คน อายุ 40-49 ปี จานวน 20 คน และ อายุ 50-59 ปี จานวน 20 คน เป็นหัวหน้ากลุ่มงาน/หัวหน้าฝ่าย จานวน 20 คน ข้าราชการ จานวน 20 คน ลูกจ้างประจา จานวน 20 คน และพนักงานราชการ จานวน 20 คน เคยมีประสบการณ์ทางาน เกย่ี วกับการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบสาธารณภยั ทงั้ หมด จานวน 80 คน จากกลุม่ ตวั อย่าง ผูท้ ่ปี ฏบิ ตั งิ านดา้ นการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัยของข้าราชการ เจ้าหน้าที่ สานักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยตาก ข้าราชการ เจ้าหน้าที่ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ทงั้ หมดเคยมีประสบการณ์ทางานเก่ียวกับการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบสาธารณภัยและทางานด้านการ ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยมาแล้วทั้งหมดเข้าใจกระบวนการและข้ันตอนต้ังแต่ ข้ันตอนการเตรียม ความพรอ้ มและลดภัยพิบตั กิ อ่ นเกดิ ขณะเกดิ สถานการณฉ์ กุ เฉิน และขน้ั ตอนการฟื้นฟบู รู ณะ 4.2 ประเด็นกำรวิเครำะห์ส่วนท่ี 2. เก่ียวข้องกับแนวคิด ประสบการณ์ ทฤษฎีการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย การมีส่วนร่วม การบัญชาการเหตุการณจ์ ะเปน็ การวิเคราะห์ผลการวิจัยท่ีตอบวัตถปุ ระสงค์ ผวู้ ิจัยไดส้ มั ภาษณโ์ ดยใช้ชดุ คาถาม 1) ข้าราชการที่ปฏิบัติงานในสานักงานป้องกันและบรรเทาสา ธารณภยั จังหวัดตาก และเจา้ หน้าทท่ี ี่เก่ยี วขอ้ ง จานวน 40 คน 2) ข้าราชการท่ีปฏิบัติงานใน หน่วยงาน อปท.จังหวัดตาก จานวน 40 คน ซึ่งผู้วิจัยได้ทาการเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยชุดคาถาม จากกลุ่มตัวอย่าง

32 แลว้ นามาวิเคราะห์และประมวลผลข้อมลู สาหรับตอบปัญหาการวิจัย และวัตถุประสงค์การวิจัย พร้อมท้ัง นาเสนอผลการวิเคราะหข์ อ้ มูลโดยมรี ายละเอียด ดงั ต่อไปน้ี 4.2.1.ด้านภารกิจ หน้าท่ี ความรับผิดชอบหลักของสานักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดตาก และองค์กรปกครองสว่ นท้องถิน่ 1. ภาครฐั และเครือข่ายในภมู ิภาค มีส่วนร่วมในการรวบรวมข้อมูลลักษณะท่ีต้ัง และจัดเตรียมข้อมูลแผน ทช่ี มุ ชน เพ่ือรองรบั การพฒั นาเข้าสู่ประชาคมอาเซียนอยา่ งไร คาตอบของผ้ใู ห้สมั ภาษณ์ นายสิทธชิ ัย อนิ สงค์ เจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยอบต. ด่านแม่ละเมา อ.แมส่ อด จงั หวดั ตาก กล่าวว่าได้คานึงถึงการวางผังเมืองและพ้ืนท่ีเส่ียงภัยของ อบต. ด่าน แม่ละเมา อ.แม่สอด จังหวัดตาก ไว้ในแผนการพัฒนา 3 ปีของ อบต.แล้ว ซ่ึงสอดคล้องกับเจ้าพนักงาน ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย อบต.ในเขตพ้ืนที่ อ.อุ้มผาง อ.พบพระ อ.ท่าสองยาง อ.สามเงา อ.บ้าน ตาก อ.เมืองตากและ อ.วงั เจ้า จ.ตาก ประเด็นดังกล่าวข้างต้นผู้วิจัยเห็นว่า ชุดคาถามสรุปว่า สอดคล้องตรงกันกับเจ้าหน้าท่ีของ สานกั งานปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัยจงั หวดั ตากท่ใี ห้ อบต.ในพนื้ ทจี่ งั หวัดตากจัดทาแผนพัฒนา อบต. และแผนด้านการปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั บรรจไุ ว้เพือ่ รองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนในแผน 3 ปีด้วยซึ่งมีความเหน็ ท่ีสอดคลอ้ งกนั และผู้บรหิ ารได้อนุมตั ใิ ชแ้ ผน 3 ปแี ล้ว 2. ท่านคิดว่า ความรู้ ความสามารถ ทักษะและสมรรถนะของบุคลากร จาเป็นต่อการพัฒนาเพ่ือรองรับ การเขา้ ส่ปู ระชาคมอาเซียน หรอื ไม่ อย่างไร คาตอบของผ้ใู หส้ มั ภาษณ์ นายนรากร แสวงบุญ เจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณ เทศบาลตาบลวังเจ้า อ.วังเจ้า จังหวัดตาก กล่าวว่า มีความจาเป็นต้องพัฒนาการทางานให้ทันความเจริญ ของโลกที่เปล่ียนแปลงไป ต้องแสวงหาความรู้ ความสามารถ ทักษะและสมรรถนะของบุคลากร ของ เทศบาลและ อบต.ทุกแห่งความก้าวหน้าและพัฒนาความรู้ ความสามารถ ซึ่งสอดคล้องกับเจ้าพนักงาน ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย อบต.ในเขตพื้นที่ อ.อุ้มผาง อ.พบพระ อ.ท่าสองยาง อ.สามเงา อ.บ้าน ตาก อ.เมอื งตากและ อ.แม่สอด จ.ตาก ประเด็นดังกล่าวข้างต้นผู้วิจัยเห็นว่า ชุดคาถามสรุปว่า ความคิดด้านการเสริมสร้างทักษะและ สมรรถนะของบุคลากร ด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยมีความเห็นสอดคล้องตรงกันกับ เจ้าหน้าท่ีของสานักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดตาก และ อบต.ในพื้นที่จังหวัดตากว่าควร อย่างยิ่งที่ต้องเตรียมความพรอ้ ม 3. ทา่ นคดิ ว่าการป้องกนั และแกไ้ ขปัญหาสาธารณภัยเป็นหน้าที่ของรฐั เพอ่ื เตรยี มเขา้ ส่ปู ระชาคมอาเซยี น คาตอบของผู้ให้สัมภาษณ์ นายนพรุจ จิ้นมาพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย อบต. ตาก ตก อ.บ้านตาก จังหวัดตาก กล่าวว่าจริงๆ แล้วจะบอกว่าเป็นหน้าที่โดยตรงก็ใช่แต่ได้คานึงถึงการจัดการ สาธารณภัยถ้าจะให้สาเร็จจะต้องมีการร่วมกันทุกภาคส่วนน่าจะสามารถแก้ปัญหาสาธารณภัยได้อย่างดี ซึ่งสอดคล้องกับ นโยบายของทุกองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน และเจ้าหน้าท่ีป้องกันและบรรเทาสาธารณ ภยั จงั หวดั ตาก ทเ่ี ปน็ หน่วยงานประสานในการแกไ้ ขปญั หาให้จังหวดั ตาก ประเด็นดังกล่าวข้างต้นผู้วิจัยเห็นว่า ชุดคาถามสรุปว่า สอดคล้องตรงกันกับเจ้าหน้าที่ของ สานักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดตากและเจ้าหน้าท่ีที่เกี่ยวข้องทุก อบต. เทศบาล ว่าเป็น หน้าท่ภี ารกิจที่รัฐต้องเป็นหน่วยงานหลกั ในการประสานและบูรณาการทุกภาคส่วนเข้าช่วยกันทางานด้าน การป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัย

33 4.ท่านเตรียมความพร้อมการมีส่วนร่วมในกลุ่มกิจกรรมต่างๆในด้านการป้องกันเพื่อรองรับการเข้าสู่ ประชาคมอาเซยี นในชุมชน/หมบู่ ้านเชน่ สมาชกิ อปพร. อสม. ชรบ.อ่ืน ๆ อย่างไร คาตอบของผู้ให้สัมภาษณ์ นายเอกสิทธ์ิภิรมย์กิจ เจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย จังหวัดตาก กล่าวว่าได้คานึงถึงการเตรียมความพร้อมการมีส่วนร่วมในกลุ่มกิจกรรมต่างๆในด้านการ ป้องกันเพ่ือรองรบั การเขา้ สูป่ ระชาคมอาเซียน เช่นมีงบประมาณในการเพิ่มสมาชิกอปพร. อสม. ชรบ. ให้ ค่าตอบแทนของเจ้าหน้าท่ีที่ปฏิบัติงานในการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบสาธารณภัยเหมาะสมและ เพียงพอต่อสถานการณ์ปัจจุบันซ่ึงสอดคล้องกับเจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย อบต.ในเขต พื้นท่ี อ.อุ้มผาง อ.พบพระ อ.ท่าสองยาง อ.สามเงา อ.บา้ นตาก อ.เมอื งตากและ อ.วังเจ้า จ.ตาก ประเด็นดังกล่าวข้างต้นผู้วิจัยเห็นว่า ชุดคาถามสรุปว่า สอดคล้องตรงกันกับเจ้าหน้าที่ของ สานักงานปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดตากที่ให้ อบต.ในพื้นท่ีจังหวัดตากให้สามารถทาให้องค์ท่ี อยู่ใกล้ชิดประชาชนมากท่ีสุดดูแลทุกสุขของประชนได้อย่างทั่วถึงในการแก้ไขปัญหาสาธารณภัยข้ัน พน้ื ฐานในการชว่ ยเหลือตนเองทาใหช้ มุ ชนใหเ้ ขม้ แขง็ 5. ควรมกี ารคดั เลอื กขา้ ราชการใหมแ่ ละในการเล่ือนตาแหน่งในทุกระดับควรมีความรู้และทักษะพื้นฐานท่ี จาเป็นต่อการปฏิบตั ิงานเพอื่ พร้อมเข้าสปู่ ระชาคมอาเซียน หรือไม่ อยา่ งไร คาตอบของผู้ให้สัมภาษณ์ นายประทีป พันธ์ุสังวร เจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย สานักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดตาก กล่าวว่าในโลกยุคปัจจุปันมีความเจริญมากคนมาก ข้ึนหากสามารถคัดเลือกข้าราชการใหม่และในการเลื่อนตาแหน่งในทุกระดับควรมีความรู้และทักษะ พื้นฐานที่จาเป็นต่อการปฏิบัติงานเพ่ือพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ในทุกด้านก็จะทาให้งานช่วยเหลือ และป้องกันบรรเทาสาธารณภัยสามารถลดการสูญเสียชีวิตและทรัพย์ได้อย่างมาก ซ่ึงสอดคล้องกับเจ้า พนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย อบต.ในเขตพ้ืนที่ อ.อุ้มผาง อ.พบพระ อ.ท่าสองยาง อ.สามเงา อ.บ้านตาก อ.เมืองตากและ อ.วังเจ้า จ.ตาก อปท.ทุกแห่งมีความเห็นม่ีเหมือนกันเพียงแต่อาจจะไม่มี งบประมาณเพียงพอ ประเดน็ ดงั กลา่ วขา้ งต้นผูว้ ิจัยเห็นว่า ชุดคาถามสรุปว่า อปท.ทุกแห่งมีความเห็นสอดคล้องตรงกัน และสอดคลอ้ งกับเจา้ หน้าที่ของสานักงานป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดตากที่มีนโยบายให้ อปท. ในพ้นื ท่ีจังหวดั ตากทกุ ระดบั ควรมีความรูแ้ ละทักษะพื้นฐานท่จี าเปน็ ตอ่ การปฏิบัตงิ าน ประเด็นดังกล่าวข้างต้นผู้วิจัยเห็นว่า ในภาพรวม ด้านภารกิจ หน้าท่ี ความรับผิดชอบหลักของ สานกั งานปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั จังหวัดตากและองค์กรปกครองสว่ นท้องถิน่ ผวู้ ิจัยคิดว่าประชากร กลมุ่ ตวั อย่างสรุปวา่ ขา้ ราชการและเจ้าหน้าท่ีปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั อบต. มีความรู้ ความเข้าใจ แผนปฏิบัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาควรมีการสอดแทรกความรู้เก่ียวกับประชาคมอาเซียนไว้ใน หลักสูตรอบรมต่างๆของจังหวัดและจัดอบรมภาษาอังกฤษพ้ืนฐานและภาษาอังกฤษเฉพาะด้านความ จาเป็นแก่ข้าราชการในสังกัด สอดคล้องตรงกันกับเจ้าหน้าที่ของสานักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณ ภัยจังหวดั ตากท่ใี ห้ อบต.ในพื้นที่จังหวัดตากจัดทาแผนพัฒนา อบต.และแผนด้านการป้องกันและบรรเทา สาธารณภัย เพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนโดยบรรจุไว้ในแผน 3 ปีด้วย หน่วยงานได้รับการ สนับสนุนงบประมาณ การให้ความช่วยเหลือผู้ประสบสาธารณภัยได้เพียงพอค่าตอบแทนของเจ้าหน้าท่ีที่ ปฏิบัติงานในการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบสาธารณภัยเหมาะสมและเพียงพอต่อสถานการณ์ปัจจุบัน หน่วยงานได้รับการสนับสนุนงบประมาณ การให้ความช่วยเหลือผู้ประสบสาธารณภัยได้เพียงพอ

34 ค่าตอบแทนของเจ้าหน้าท่ีที่ปฏิบัติงานในการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบสาธารณภัยเหมาะสมและ เพยี งพอต่อสถานการณป์ จั จบุ ัน 4.2.2. ด้านปจั จัยในการตรียมความพร้อมสูป่ ระชาคมอาเซียน ปี 2558 ในการปฏบิ ัติ การแก้ไข ปัญหา ด้านงบประมาณ,ด้านบุคลากร,และด้านเครื่องมือ เครื่องจักรกล ยานพาหนะ มีประสิทธิภาพตาม เป้าหมายท่ีกาหนดไว้ตามแนวทางการพัฒนาการป้องกันสาธารณภัยอย่างยั่งยืนในระดับภูมิภาคภายใต้ กรอบอาเซยี น. 1.ทา่ นร่วมแสดงความคิดเห็นในโครงการ/แผนงาน/กจิ กรรม ด้านงบประมาณ ที่ควรแก้ไขปรับปรุงในงาน ด้านการป้องกันสาธารณภัย อยา่ งไร คาตอบของผูใ้ หส้ มั ภาษณ์ เจ้าหนา้ ที่วิเคราะหน์ โยบายและแผน เทศบาลตาบลวังเจ้า จ.ตากกล่าว ว่า การเบิกจ่ายงบประมาณในการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบสาธารณภัย ไม่ว่าจะเป็นการช่วยเหลือด้าน การเงนิ หรอื ส่ิงของใหแ้ กผ่ ูป้ ระสบภัย ควรมีข้อปรับปรุงแกไ้ ขระเบยี บกฎหมายให้รวดเร็วเพราะผู้ประสบสา ธารณภัยมีความเดือดร้อนเป็นอย่างมาก ส่วนงบประมาณจะถูกจัดสรรให้จังหวัด ในส่วนของท้องถิ่งมี งบประมาณด้านสาธารณภัยมีไม่เพียงพอ ท่ีประสบภัยจะได้รับการช่วยเหลือ ต้องอาศัยงบประมาณจาก กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เท่านั้น ทาให้แหล่งงบประมาณในการสนับสนุนการให้ความ ชว่ ยเหลอื ยงั ไมค่ ล่องตัว ซง่ึ แตล่ ะ อบต.มคี วามเหน็ ทค่ี ลา้ ยกนั ประเดน็ ดงั กลา่ วขา้ งตน้ ผวู้ ิจัยเหน็ วา่ ประชากรกลุม่ ตวั อย่างมคี วามคิดเห็นเกย่ี วกับความสาเร็จใน การบริหารจัดการการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบสาธารณภัย ของสานักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณ ภัยจังหวัดตาก ด้านงบประมาณ กรณีเกิดสาธารณภัยขนาดใหญ่หน่วยงานของท่านสามารถจัดการสา ธารณภยั ไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ หน่วยงานได้รบั การสนับสนุนงบประมาณการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบ สาธารณภัยเพียงพอ ขั้นตอนการเบิกจ่ายงบประมาณเกี่ยวกับการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยมีความ รวดเร็วทนั เวลา และคา่ ตอบแทนของเจ้าหน้าทีท่ ่ปี ฏบิ ัตงิ านในการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยเหมาะสม และเพียงพอต่อสถานการณ์ปัจจุบัน เพียงแต่หากเกิดภัยขนาดเล็กไม่ค่อยคล่องตัวเนื่องจากยังขาด งบประมาณในการช่วยเหลือ 2. ท่านมีส่วนเสนอและการจัดหา วัสดุ อุปกรณ์กู้ชีพกู้ภัย ยานพาหนะต่างๆในการเตรียมพร้อมในแก้ไข ปญั หาสาธารณภัยในพ้นื ท่ีอย่างไร คาตอบของผู้ให้สัมภาษณ์ นายทศพล มากแก้วพนักงานราชการ อบต.วังหมัน อ.สามเงา จ.ตาก คิดว่า ทรัพยากร เคร่ืองมือ เครื่องจักรกลและอุปกรณ์ในงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ถือเป็น ปจั จัยสาคัญ ท่ีส่งเสริมให้การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยของหน่วยงานมีประสิทธิภาพแต่อาเภอและ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นยังมีน้อย ควรจัดหา สนับสนุนเพ่ิมเติม ส่วนเจ้าหน้าท่ีป้องกันและบรรเทาสา ธารณภัยของ เทศบาลตาบลหนองบัวใต้ อ.เมือง จ.ตากเห็นด้วยแต่ควรที่จะมีการอบรมการใช้เครื่องมือ ให้แก่เจ้าหน้าที่ผู้ใช้งานอย่างสม่าเสมอเพ่ิมทักษะการใช้เครื่องมือใหม่ๆในการกู้ชีพกู้ภัยเพื่อให้พร้อมรับ สถานการณ์ เชน่ -บญั ชีเคร่ืองมือ อปุ กรณ์ และยานพาหนะ ของห่วยงานได้แก่ 1) ด้านการกู้ภัย ประกอบด้วย รถยนต์กู้ภัย รถบรรทุก รถเครน รถเคร่ืองช่วยหายใจพร้อมอุปกรณ์ รถไฟฟ้า ส่องสวา่ งพรอ้ มเสาสูง รถเครอ่ื งกาเนิดไฟฟา้ และรถขุดตัก ไฮดรอลกิ 2) ด้านการดับเพลิง ประกอบด้วย รถดับเพลิง รถดับ ไฟป่า รถบรรทุกน้าดับเพลิง เครื่องสูบน้าดับเพลิง และ เคร่อื งยงิ น้าดับเพลงิ ความดันสูง

35 3) ด้านการช่วยเหลือและฟื้นฟูบูรณะ ประกอบด้วย รถบรรทุกขนาดเล็ก-กลาง-ใหญ่ รถบรรทุกติดตั้ง เครื่อง ขุดเจาะบ่อบาดาล รถบรรทุกเทท้าย รถแทร็กเตอร์ตีนตะขาบ รถตักล้อยาง รถตักตีนตะขาบ รถบรรทกุ น้า เครื่องสูบน้า เครื่องสูบโคลน เรือท้องแบน เรือยาง ยานโฮเวอร์คราฟท์ รถฟาร์มแทรกเตอร์ และรถบดล้อยาง 4) ด้านการสนับสนุนการปฏิบัติงาน ประกอบด้วย รถตรวจการณ์ รถอานวยการส่ือสาร รถบรรทุกเคร่ือง สูบน้า ระยะไกล รถบรรทุกขยะขนาดเล็ก รถบรรทุกขนาดเล็ก รถบริการน้ามันหล่อล่ืน รถบริการซ่อม เคล่ือนทเ่ี ร็ว รถบรรทกุ แบบตูค้ อนเทนเนอรอ์ เนกประสงค์ รถหวั ลาก เครื่องยนต์เรอื และสะพานเบลีย์ 5) ดา้ นการฟน้ื ฟู ประกอบดว้ ย บา้ นพกั ชว่ั คราว สาหรบั ผู้ประสบภัย ทั้งแบบบ้านน็อกดาวนแ์ ละเต็นท์ยกพืน้ ซ่ึงสรุปในการจัดหา วัสดุ อุปกรณ์กู้ชีพกู้ภัย ยานพาหนะต่างๆมีความเห็นท่ีตรงกันว่าควรมีแต่ท้ังน้ี ขึ้นอยกู่ บั ฐานะทางการเงนิ ของแต่ละเทศบาลหรือ แต่ละ อบต. ประเด็นดังกล่าวข้างต้นผู้วิจัยเห็นว่า กลุ่มตัวอย่างมีความคิดเห็นเก่ียวกับประสิทธิภาพการจัดการ ภัยพิบัติและการตอบโต้สถานการณ์ฉุกเฉินในการปฏิบัติงานร่วมเครือข่ายในกรอบอาเซียน (ASEAN Economic Commumity: AEC) ของสานักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดตาก ด้าน เครื่องมือ เครื่องจักรกล ที่ใช้ในการปฏิบัติงานป้องกันและแก้ไขปัญหาสาธารณภัยมีความเหมาะสม จานวนวัสดุ อุปกรณ์ เคร่ืองมือ เคร่ืองใช้ มีเพียงพอต่อการปฏิบัติงานในภาวะฉุกเฉิน เครื่องมือ เครื่องใช้ วัสดุ อุปกรณ์ ในการปฏิบตั งิ านมีคณุ ภาพและมีประสิทธิภาพ เชน่ รถบรรทกุ นา้ เรือทอ้ งแบน เครื่องสูบน้า เป็นต้น และวัสดุ อุปกรณ์ เคร่ืองมือ เครื่องใช้ ต่างๆ ได้มีการตรวจเช็คเพื่อให้มีสภาพใช้งานได้ดี มี ประสทิ ธิภาพตลอดเวลา ดงั นี้ 1) จานวนวัสดุ อุปกรณ์ เคร่ืองมือ เคร่ืองใช้ มีเพียงพอต่อการปฏิบัติงาน ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 2) จานวนวัสดุ อุปกรณ์ เครอ่ื งมอื เคร่ืองใช้ มีเพียงพอต่อการปฏบิ ตั ิงานในภาวะฉกุ เฉนิ 3) วัสดุ อุปกรณ์ เคร่ืองมือ เคร่ืองใช้ต่างๆ ที่ใช้ในการปฏิบัติงานป้องกันและแก้ไขปัญหาอุสาธารณภัยมี ความเหมาะสม 4) วสั ดุ อุปกรณ์ เครื่องมอื เคร่ืองใช้ ในการปฏิบัตงิ านมีคุณภาพและมีประสิทธิภาพ เช่นรถบรรทุกน้า เรือ ท้องแบน เคร่อื งสูบนา้ เป็นตน้ 5) วัสดุ อุปกรณ์ เครอ่ื งมอื เครือ่ งใช้ตา่ งๆ ได้มีการตรวจเช็ค เพ่อื ให้มสี ภาพใชง้ านได้ดีตลอดเวลา 3. ท่านมีส่วนร่วมในการเสนอแนวทางแก้ไขและป้องกันปัญหาการพัฒนาบุคคลากรด้านการป้องกันและ แกไ้ ขปญั หาสาธารณภัยภาครัฐ ที่อาจเกดิ ขึน้ ในอนาคตภายใตก้ รอบ อาเซยี น อย่างไร คาตอบของผู้ให้สัมภาษณ์ ปลัด อบต.แม่ต่ืน อ.แม่ระมาด จ.ตาก ว่าการเตรียมความพร้อมด้าน บุคลากร มีการส่งเจ้าหน้าท่ีไปอบรม และมีการจัดอบรมเจ้าหน้าท่ีในหน่วยงาน เช่น-การอบรมมิสเตอร์ เตือนภัยการอบรมอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือนการอบรมหนึ่ง ตาบลหน่ึงทีมกู้ชีพกู้ภัยการฝึกซ้อม แผนปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย และงานตามแผนหากเกดิ /หลงั เกดิ สาธารณภัย เชน่ การบริจาคเงิน / วสั ดุ และสง่ิ ของเพอื่ ปอ้ งกนั และบรรเทาความรุนแรงจากการเกิดสาธารณภัย และมีความรู้ความเข้าใจต่อ แผน การ ป้อง กัน และบรร เทา สา ธาร ณภัย ของ เท ศบา ลเป็ นอย่ าง ดี แล ะจา กกา รท อดแ บบชุ ดคา ถา ม สานักงานปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวดั ตากและองค์กรกรปกครองส่วนท้องถิ่นมีเห็นไปในทิศทาง เดียวกนั ประเด็นดงั กลา่ วข้างตน้ ผู้วจิ ยั พบวา่ ประชากรกลุ่มตัวอย่างมีความคิดเหน็ เกย่ี วกับประสิทธภิ าพ การจดั การภยั พบิ ัตแิ ละการตอบโตส้ ถานการณ์ฉุกเฉินในการปฏบิ ตั ิงานร่วมเครือข่ายในกรอบอาเซียน

36 (ASEAN Economic Commumity: AEC) ของสานกั งานป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัยจงั หวัดตากและ องค์กรปกครองสว่ นท้องถน่ิ ด้านบคุ ลากร โดย มกี ารประสานความร่วมมอื ทด่ี ีในการปฏิบัติงานของ เจ้าหน้าทใ่ี นหน่วยงาน และหนว่ ยงานอนื่ ที่เกี่ยวข้องตามแผนฯ ข้าราชการเจา้ หนา้ ท่ีมคี วามรู้ ความเข้าใจ แผนการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดตาก พ.ศ.2553-2557 ขา้ ราชการและเจ้าหนา้ ทม่ี ีความรู้ ความเข้าใจแผนปฏิบตั กิ ารป้องกันและแก้ไขปญั หาสาธารณภยั ประจาปีของ สานกั งานป้องกันและบรรเทา สาธารณภยั ตาก และมีการจัดฝึกซ้อมแผนปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ระดับจงั หวดั ใหแ้ กเ่ จา้ หน้าที่ ในหนว่ ยงานรว่ มกบั หนว่ ยงานอนื่ ท่ีเกย่ี วข้องตามแผนฯ และจานวนเจา้ หนา้ ที่ที่ปฏิบัตงิ านให้ความ ช่วยเหลอื ผูป้ ระสบสาธารณภัย มีจานวนเพียงพอ ในการปฏิบตั หิ น้าท่มี ีประสทิ ธภ์ าพในการใหค้ วาม ช่วยเหลือผปู้ ระสบภยั ของจงั หวดั ในเขตความรับผิดชอบของสานักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย จงั หวดั ตากมีประสิทธ์ภาพ ดังน้ี 1) จานวนเจา้ หนา้ ทท่ี ป่ี ฏิบัติงานใหค้ วามช่วยเหลือผปู้ ระสบสาธารณภัย มจี านวนเพียงพอ 2) ข้าราชการและเจ้าหนา้ ท่ี มคี วามรู้ ความเข้าใจแผนปฏิบัตกิ ารป้องกนั และแกไ้ ขปัญหา 3) ข้าราชการเจ้าหน้าที่มีความรู้ ความเข้าใจ แผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด ของสานักงาน ป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั จงั หวัดตาก (พ.ศ. 2553 – 2557) 4) มีการจัดฝึกซ้อมแผนป้องกันและแก้ไขปัญหาสาธารณภัยจังหวัดของ สานักงานป้องกันและบรรเทา สาธารณภัยจังหวัดตาก ให้แก้เจ้าหน้าที่ในหน่วยงานร่วมกับหน่วยงานอ่ืน ท่ีมีส่วนเก่ียวข้องตามแผนฯ. มี การประสานความร่วมมือท่ีดีในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าท่ีในหน่วยงาน และหน่วยงานอ่ืนท่ีเกี่ยวข้อง ตามแผนมกี ารจดั ฝกึ ซ้อมแผนปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัยระดบั จังหวดั 4.ท่านร่วมดาเนนิ การระบบการบญั ชาการฉุกเฉนิ เม่อื เกิดสถานการณฉ์ ุกเฉนิ อย่างไร คาตอบของผู้ให้สัมภาษณ์ ปลัดเทศบาลตาบลแม่จัน อ.อุ้มผาง จ.ตาก หากมีสถานการณ์ภัย เกิดข้นึ ในพ้นื ท่ีมีความจาเป็นอย่างมากท่ีต้องมีผู้บัญชาการในการส่ังการในพ้ืนที่เพ่ือที่จะลดผลกระทบจาก ภัยท่ีเกิดใหร้ ะงับไปอย่างรวดเร็วและทาให้ลดผลกระผบต่อทรัพย์สินและชีวิตแต่ท้ังน้ีผู้ที่จะเป็นบัญชาการ ในเหตุการนั้นได้ต้องมีความเข้าใจและประสบการด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเป็นอ ย่างดี ส่วนเจา้ หน้าที่ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เทศบาลตาบลแม่จัน อ.อุ้มผาง จ.ตาก เห็นว่าการท่ีจะเป็น ผบู้ ญั หาการในสถานการณ์ฉุกเฉินได้ต้องเป็นไปตามกระบวนการที่กฏหมายกาหนด ซึ่ง สอดคล้องกันทุกๆ เทศบาลและ ทุก อบต. ประเด็นดังกล่าวข้างต้นผู้วิจัย พบว่า ประชากรกลุ่มตัวอย่างเข้าใจกฏหมายและระเบียบการ ปฏิบัติตามพรบ.ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2550 และแผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยชาติ เพ่ือไม่ให้เกิดความสับสนในทางปฏิบัติ และเพื่อให้เกิดความน่าเชื่อถือแก่จังหวัดต่อการเข้าสนับสนุนการ ปฏบิ ัติงานในอนาคตผอู้ านวยการทุกระดบั ชัน้ ต้องศึกษาและทาความเขา้ ใจถงึ บทบาทหนา้ ท่ีอยา่ งทอ้ งแท้ 5.ท่านเข้าร่วมฝึกอบรมกับหน่วยงานด้านป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยในการเตรียมพร้อมรับมือกับสา ธารณภยั หรือไมอ่ ยา่ งไร คาตอบของผู้ให้สัมภาษณ์ หัวหน้าสานักงานปลัดเทศบาลตาบลพบพระ อ.พบพระจ.ตาก ได้เข้า ร่วมการฝึกซ้อมแผนด้านบรรเทาสาธารณภัยทุกครั้งและสนับสนุนให้เจ้าหน้าที่ทุกระดับเข้ารับการอบรม และซ้อมแผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย และ หน่วยงานก็จัดเตรียมงบประมาณส่วนหน่ึงเพื่อ สนับสนุนงานด้านสาธารณภัยทุกปี ซึ่งสอดคล้องกับองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินในพ้ืที่จังหวัดตากและ

37 สอดคลอ้ งกบั นโยบายของกรมปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัยมีนโยบายให้ท้องถิ่นช่วยเหลือตนเองให้มาก ทส่ี ุดกอ่ นทจ่ี ะรอ้ งขอความชว่ ยเหลือไปทจ่ี ังหวดั ประเด็นดังกล่าวขา้ งตน้ ผ้วู ิจยั เห็นวา่ การเข้าร่วมฝกึ อบรมของเจา้ หนา้ ทเี่ กยี่ วกับงานด้านการ ปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัยกบั หนว่ ยงานด้านปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั ในการเตรียมพร้อม รบั มือกบั สาธารณภัย หรือการบูรณาการในการแกไ้ ขปญั หาในการจัดการสาธารณภยั โดยการมสี ว่ นร่วม ของทุกภาคสว่ นการมีสว่ นร่วมในการป้องกันและแกไ้ ขปัญหาสาธารณภยั ในเขตพ้นื ที่ จงั หวดั ตาก เป็นสิ่งที่ ดที าใหอ้ งค์กรปกครองส่วนท้องถน่ิ สามารถจัดการกับสาธารณภยั ทีจ่ ะเกิดได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพและมี คณุ ภาพ ประเดน็ ดงั กลา่ วข้างต้นผวู้ จิ ยั เห็นวา่ ประสิทธิภาพ การจัดการภยั พบิ ัติและการตอบโต้ สถานการณ์ฉกุ เฉนิ ในการปฏิบัติงานรว่ มเครือขา่ ยในกรอบอาเซียน (ASEAN Economic Commumity: AEC) ของสานักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั จงั หวัดตากและองค์กรปกครองสว่ นท้องถ่ินภาพรวม ด้านปัจจยั ในการตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซยี น ปี 2558 ในการปฏบิ ตั ิ การแก้ไขปญั หา ด้าน งบประมาณ,ดา้ นบคุ ลากร,และด้านเครื่องมือ เครื่องจักรกล ยานพาหนะ มีประสทิ ธภิ าพตามเป้าหมายที่ กาหนดไวต้ ามแนวทางการพัฒนาการปอ้ งกันสาธารณภัยอยา่ งยัง่ ยนื ในระดบั ภูมิภาคภายใตก้ รอบอาเซียน. ทงั้ มติ ดิ า้ นเศรษฐกิจ สงั คม และสง่ิ แวดล้อม ก็จะทาให้การบรหิ ารจัดการงานด้านสาธารณภัยบรรลุ วัตถุประสงค์ พอสรุปไดด้ ังนี้ -เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยมีสว่ นรว่ มในการสอดสอ่ งดแู ลงานดา้ นสาธารณภยั -เจ้าหน้าทท่ี ี่เกี่ยวข้องงานปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั มีการแลกเปลย่ี นความรู้ ข้อมลู ข่าวสารเก่ยี วกับ ประกาศแจ้งเตือนภัยจากหอกระจายข่าวในหมบู่ า้ น เกี่ยวกบั การเฝ้าระวงั ภยั ทีจ่ ะเกดิ เพื่อเป็นการป้องกนั และบรรเทาความเสยี หายจากสาธารณภยั ทอี่ าจจะเกดิ ข้ึน -เจ้าหนา้ ทท่ี ีเ่ กย่ี วข้องงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั มีสว่ นร่วมทากิจกรรมในองค์กร เพ่อื ป้องกันและ บรรเทาความรุนแรงจากการสาธารณภัยตามทแี่ ต่ละ อบต.รบั ผดิ ชอบ ฯลฯ -เจา้ หน้าทที่ เ่ี ก่ยี วข้องงานป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั มีสว่ นร่วมในการเผยแพร่ขา่ วสาร และความรู้ที่ เป็นประโยชน์ในการป้องกนั เฝา้ ระวังและบรรเทาความรุนแรงจากการเกิดภยั -เจา้ หน้าที่ทีเ่ กย่ี วข้องงานป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั มีสว่ นรว่ มในการจัดทาแผนป้องกันและบรรเทา สาธารณภัยของจงั หวัดและอปท.มีการร่างแผนทีข่ องหมบู่ ้านท้งั สถานทีเ่ กดิ ภยั หรือเคยเกิดในอดตี พร้อม ทง้ั สถานทีป่ ลอดภัยไว้สาหรับการอพยพในกรณีฉกุ เฉิน -เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องงานปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั มีส่วนร่วมในการฝกึ ซ้อมแผนป้องกนั และอพยพ ประชาชนเพ่ือเป็นการเตรยี มความพร้อม -เจา้ หนา้ ท่ที ีเ่ กย่ี วข้องงานปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัยมีส่วนร่วมในการสารวจข้อมูลพ้ืนฐานของชมุ ชน ดา้ นสังคม และเศรษฐกจิ อย่างสม่าเสมอและต่อเนือ่ ง แนวทำงกำรป้องกันและแก้ไขปัญหำสำธำรณภยั พน้ื ที่จงั หวัดตำกตำมกรอบ อำเซียนของสำนักงำน ป้องกันและบรรเทำสำธำรณภยั และองคก์ รปกครองส่วนท้องถิ่น ดังน้ี 1) จัดต้ังศูนย์เตือนภัยพิบัติ หรือศูนย์อานวยการเฉพาะกิจ ภายในชุมชนหรือองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ในพื้นที่ เพื่อเปน็ การเตรียมพร้อม เฝ้าระวังรับสถานการณภ์ ยั หากเกิดเหตุการณ์ 2) มกี ารอบรมและใหค้ วามรู้เก่ียวกับภัย โดยการส่งเสริมให้ประชาชนในพ้ืนที่มีจิตสานึกที่ดีในการป้องกัน และบรหิ ารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม เพ่อื ใหช้ ุมชนมีความเข้มแขง็ และมศี ักยภาพ

38 3) ใหม้ ีการอบรมใหค้ วามรเู้ ก่ยี วกับการใช้งานเครือ่ งมือและอปุ กรณแ์ จ้งเตอื นภยั แกเ่ จ้าหน้าท่อี งค์กรปกครองส่วนท้องถนิ่ และผนู้ าชมุ ชนตลอดจนประชาชนในพืน้ ทเ่ี สี่ยงนา้ ท่วม 4) จดั ทาแผนปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัยชุมชน 5) ฝึกซ้อมแผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเป็นประจาทุกปี เพื่อให้มีความรู้และสร้างความตระหนัก ใหก้ ับประชาชน เปน็ การเตรยี มความพรอ้ มด้านการเฝ้าระวังและป้องกันสาธารณภยั มากข้ึน 6. มอบหมายหน้าที่ให้ผู้นาชุมชนหรืออาสาสมัครในชุมชนมีหน้าที่ในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เช่น หน้าท่ีแจ้งข่าวสาธารณภัย (มิสเตอร์เตือนภัย) หน้าที่ช่วยเหลือฉุกเฉิน(เจ้าหน้าที่กู้ชีพกู้ภัยประจา หมูบ่ ้าน) 7) ควรมีการขุดลอกคูคลองและลาน้าที่ต้ืนเขินเพ่ือหากเกิดสถานการณ์น้าสามารถไหลได้สะดวกและ สามารถกกั เก็บน้าเพ่อื ใช้อปุ โภคบรโิ ภค เพื่อการเกษตรและเลย้ี งสัตว์ 8) มีการกาหนดสถานท่ีสาหรับการอพยพประชาชนในกรณีท่ีเห็นว่าหากประชาชนผู้ประสบภัยจะได้รับ อนั ตราย 9) ควรมีการก่อสรา้ งพนังกั้นน้าถาวรบริเวณริมนา้ แม่ปงิ ท่ีตลิง่ คอ่ นข้างตา่ เมอ่ื เกดิ กรณีฉุกเฉนิ เขื่อนภูมพิ ล จาเป็นต้องระบายน้า ซึ่งจะสามารถกันน้าลน้ ตลง่ิ เข้าท่วมบ้านเรอื นประชาชนได้ • สรปุ ข้อเสนอแนะของเจำ้ หน้ำท่ีสำนักงำนปอ้ งกันและบรรเทำสำธำรณภัยและเจ้ำหนำ้ ท่ีปอ้ งกนั ของ อปท เก่ียวข้องกับงำนด้ำนสำธำรณภยั 1) ต้องการให้มีการอบรมให้ความร้เู กี่ยวกับการใชง้ านเคร่อื งมอื และอปุ กรณ์แจ้งเตือนภยั แกเ่ จ้าหน้าทอ่ี งคก์ รปกครองสว่ น ท้องถน่ิ ในพื้นท่เี สย่ี งสาธารณภยั 2) ต้องการให้มีการจัดตัง้ ศูนย์เตอื นภัยพิบัติ หรือศูนย์อานวยการเฉพาะกจิ ในองค์กรปกครองสว่ นท้องถนิ่ ในพ้นื ท่ี เพือ่ เปน็ การเตรียมพร้อม เฝ้าระวังรบั สถานการณ์ภยั หากเกดิ เหตุการณ์ 3) ต้องการให้หน่วยงานท่เี ก่ียวขอ้ งให้การสนบั สนุนนา้ เพ่อื การอุปโภคบริโภคในชว่ งเกดิ ภยั 4) ต้องการใหห้ นว่ ยงานที่เกยี่ วข้องเขา้ มาสนบั สนนุ การจดั ทาแผนป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั ชมุ ชน และจดั ให้มีการจดั ฝกึ ซ้อมแผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเปน็ ประจาทุกปี เพ่ือให้มคี วามรู้และสรา้ ง ความตระหนักให้กบั ประชาชน เปน็ การเตรียมความพร้อมด้านการเฝา้ ระวังและป้องกนั สาธารณภยั มาก ข้นึ 5) ต้องการใหม้ ีการติดต้ังหอกระจายขา่ วหรอื เสยี งตามสายทวั่ ทกุ หมบู่ ้านภายในชมุ ชนพร้อมทง้ั ใหม้ ีการ ตรวจสอบสภาพการใชง้ านอย่างสมา่ เสมอ 6) ตอ้ งการให้มีการอบรมให้ความรแู้ ละการแจ้งเตือนภยั กบั ผู้นาชุมชนครบทกุ ตาบลเพื่อให้ชมุ ชนเกิดการ บริหารจัดการในการแจ้งเตือนภยั อยา่ งมีประสิทธิภาพ ตลอดจนเกิดความตระหนกั และม่งุ มนั่ ทจี่ ะเสริม สร้างความเขม้ แขง็ เพอื่ ลดความเสี่ยงภยั ในชุมชนเพ่มิ มากข้ึน

39 บทท่ี 5 บทสรปุ และข้อเสนอแนะ 5.1 บทสรุปผลกำรศึกษำวิจยั ในการศึกษาวิจัย เรื่อง “ประสิทธิภาพการจัดการภัยพิบัติและการตอบโต้สถานการณ์ฉุกเฉินใน การปฏิบตั ิงานร่วมเครือข่ายในกรอบอาเซยี น (ASEAN Economic Commumity: AEC) ของสานักงาน ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดตาก มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์และศึกษาศึกษากลไกที่มี ประสิทธิภาพเพื่อลดความเสียหายจากภัยพิบัติต่อชีวิตและทรัพย์สินของสังคมเศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อม ของจังหวัดตาก โดยกรอบของอาเซียนโดยครอบคลุมทั้ง 1) ก่อนเกิดภัยพิบัติ 2) ขณะเกิดภัยพิบัติ 3) หลงั เกิดภัยพิบัตแิ ละ เพือ่ ศึกษาความร่วมมือทางด้านวิชาการ การเสริมสร้างศักยภาพของหน่วยงานและ บคุ ลากร โดยเน้นหลักการ ใช้ทรัพยากรท่ีมีอย่างจากัดให้เกิดประโยชน์สูงสุด ในการช่วยเหลือภายใต้การ ดาเนินในกรอบของการพัฒนาอย่างย่ังยนื โดยมี แนวคิดและทฤษฎีด้านการจัดการสาธารณภัย แนวคิดการมีส่วนร่วมของประชาชน แผนป้องกัน และบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดตาก พ.ศ. 2553 - 2557 งานวิจัยท่ีเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมของเจ้าหน้าท่ี สรุปผลกรอบแนวคิดและทฤษฎีด้านการจัดการสาธารณภัย ของ สานักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณ ภัย เป็นเครื่องมือท่ีใช้ในการปฏิบัติงาน ด้ังน้ัน การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาวิเคราะห์และหาแนวทางใน การปฏิบัติงาน ประกอบด้วย ด้านงบประมาณ ด้านบุคลากร และด้านเคร่ืองมือ เคร่ืองจักรกล ท่ีจะ สามารถสนับสนุนการปฏิบัตงิ าน ด้านการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั การวิเคราะห์ข้อมูล ดงั น้ี จากการเกบ็ ข้อมลู จากกลมุ่ ตวั อยา่ ง ผทู้ ปี่ ฏบิ ตั ิงานด้านการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั ของ ขา้ ราชการ เจา้ หนา้ ท่ี สานักงานปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวดั ตาก ข้าราชการ เจ้าหนา้ ท่ี ของ องค์กรปกครองสว่ นท้องถ่นิ ท้ังหมดจานวน 80 คน พบวา่ ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย จานวน 59 คน เพศหญงิ จานวน 29 คน มีอายุระหวา่ ง 20-29 ปี จานวน 20 คน อายุ 30-39 ปี จานวน 20 คน อายุ 40-49 ปี จานวน 20 คน และอายุ 50-59 ปี จานวน 20 คน เป็นหัวหน้ากลุ่มงาน/หัวหน้าฝา่ ย จานวน 20 คน ข้าราชการ จานวน 20คน ลกู จา้ งประจา จานวน 20คน และพนกั งานราชการ จานวน 20คน เคยมี ประสบการณ์ทางานเก่ียวกบั การใหค้ วามชว่ ยเหลอื ผู้ประสบสาธารณภยั ท้งั หมด จานวน 80 คน สรปุ ผลการศึกษา ปัจจยั ทแ่ี ตกต่างกัน คือ เพศ อายุ การศึกษา ตาแหน่ง โดยผู้ตอบชุดคาถาม มีประสบการณ์ หรือเข้ารับการอบรมเรื่องการจัดการสาธารณภัย การวิเคราะห์ถึงข้อมูลการมีส่วนร่วม องค์กรปกครอง สว่ นท้องถิ่นและหน่วยราชการ 3 ด้าน ไม่มีความแตกตา่ งกนั ไม่วา่ จะเป็นเพศอะไร ดงั นี้คอื 1.ดา้ นการมีส่วนร่วม 1.1 ร่วมคิด เช่น การประชุมระดมความคิดเพ่ือเสนอปัญหาของชุมชนเพ่ือขอรับงบประมาณ สนับสนุนการประชมุ ประจาเดอื นและการร่วมเขยี นโครงการ ร่วมปรกึ ษาหารือในกิจกรรมโครงการต่าง ๆ ของชมุ ชน 1.2 ร่วมสร้าง /ทา/ ปฏิบัติ เช่นการจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ การลงมือติดต้ังระบบป้องกันสาธารณ ภัยในกลุม่ ให้ความรว่ มมอื เป็นอย่างดี

40 1.3 ร่วมใช้ / รับประโยชน์ในชีวิตประจาวันการสร้างอาชีพและรายได้ โดยไม่วิตกกังวลเรื่อง ผลกระทบตอ่ สาธารณภัย 1.4 รว่ มดแู ลรกั ษา พิจารณาจากกจิ กรรมท่มี ีสว่ นร่วมผู้ตอบแบบสัมภาษณ์ ยินดีที่จะจ่ายเงิน คา่ บารุงสมาชิก 2. ดา้ นปัจจยั ในการป้องกนั และแก้ปัญหาสาธารณภยั 2.1 จดั หาเคร่ืองอปุ โภค บรโิ ภคเพือ่ ตรียมพรอ้ มรับสถานการณ์ 2.2 จดั หาเครือ่ งมือ ยานพาหนะและอปุ กรณแ์ จง้ เตอื นภัย 2.3 ต้องการให้มีการติดตั้งหอกระจายข่าวหรือเสียงตามสายทั่วทุกหมู่บ้านภายในชุมชนพร้อม ท้งั ใหม้ ีการตรวจสอบสภาพการใชง้ านอย่างสม่าเสมอ 2.4 จัดหาสะพานช่ัวคราว (Barring) ทีสามารถเคลื่อนย้ายได้จากหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง เพ่ือให้ ความชว่ ยเหลอื ประชาชนในการอพยพเคลือ่ นยา้ ยออกจากพน้ื ท่เี กิดภยั อยา่ งรวดเร็วเพื่อลดความสูญเสยี 3. ดา้ นแนวทางการปอ้ งกันและแก้ปญั หาสาธารณภัยแบบย่ังยนื 3.1 จัดตั้งศูนย์เตือนภัยพิบัติ หรือศูนย์อานวยการเฉพาะกิจ ภายในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในพ้ืนท่ี เพ่ือเปน็ การเตรียมพรอ้ ม เฝ้าระวงั รับสถานการณภ์ ัย หากเกดิ เหตุการณ์ 3.2 มีการอบรมและให้ความรู้เก่ียวกับภัย โดยการส่งเสริมให้เจ้าหน้าที่ในพื้นท่ีมีจิตสานึกท่ีดีใน การป้องกันและบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม เพ่ือให้ชุมชนมีความเข้มแข็งและมี ศกั ยภาพ 3.3ให้มีการอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการใช้งานเคร่ืองมือ และอุปกรณ์แจ้งเตือนภัยแก่เจ้าหน้าท่ี องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถนิ่ 3.4 จัดทาแผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย และจัดให้มีการจัดฝึกซ้อมแผนป้องกันและ บรรเทาสาธารณภัยเป็นประจาทุกปี เพื่อให้มีความรู้และสร้างความตระหนักให้กับเจ้าหน้าท่ี เป็นการ เตรยี มความพร้อมดา้ นการเฝ้าระวังและปอ้ งกนั สาธารณภัยมากขึน้ 4. พิจารณาด้านบุคลากรด้านงบประมาณ ด้านเคร่ืองมือ เครื่องจักรกล ยานพาหนะพบว่าด้าน บุคลากร ผู้บริหารให้ความสาคัญในการช่วยเหลือผู้ประสบสาธารณภัย จึงส่งเสริมให้มีความพร้อมด้าน บคุ ลากรตลอดจนการสง่ เสรมิ ให้มกี ารฝกึ ซอ้ มแผนป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดอยา่ งตอ่ เนื่อง ด้านงบประมาณการจดั สรรงบประมาณเก่ียวกบั การช่วยเหลอื ผปู้ ระสบภยั น้นั มีจานวนมาก แต่ งบประมาณจะถกู จัดสรรใหจ้ ังหวดั ท่ปี ระสบภัยจะได้รับงบประมาณจากกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณ ภัย เท่านน้ั ทาให้แหล่งงบประมาณในการสนบั สนนุ การให้ความช่วยเหลือยังไม่คลอ่ งตัว และบางกรณยี งั ติดขดั ในเรื่องของระเบยี บการเบกิ จ่ายเงิน(เงนิ ทดรองราชการ) ด้านเครือ่ งมือ เครื่องจักรกล ยานพาหนะมีอย่ใู นปจั จบุ ันอาจไม่เพยี งพอซ่ึงจะไมส่ ามารถ ชว่ ยเหลือผ้ปู ระสบภยั ได้อยา่ งรวดเร็ว มีประสทิ ธภิ าพ จงึ ทาให้ความพร้อมดา้ นเคร่ืองมืออยู่ในระดับต่าสุด

41 5.2 ขอ้ เสนอแนะในเชิงนโยบำย 1. จำกผลกำรศึกษำท่ีได้รับในด้ำนงบประมำณ การเบิกจ่ายงบประมาณในการให้ความ ชว่ ยเหลอื ผ้ปู ระสบสาธารณภัย ไม่ว่าจะเป็นการช่วยเหลือด้านการเงินหรือส่ิงของให้แก่ผู้ประสบภัย ควรมี ข้อปรับปรุงแก้ไขระเบียบกฎหมาย หรือระเบียบของการเบิกจ่ายเงินช่วยเหลือผู้ประสบภัยให้เป็นไปด้วย ความรวดเร็ว ถูกต้อง และเป็นธรรม ง่ายต่อการปฏิบัติ เพื่อสนับสนุนช่วยเหลือผู้ประสบภัยในเขตพ้ืนท่ี รับผิดชอบ 2. ด้ำนบุคลำกร ควรพัฒนาอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับแนวทางและหลักเกณฑ์ การให้ความ ชว่ ยเหลอื ผู้ประสบสาธารณภัยตามระเบียบเงนิ ทดรองราชการ เพ่ือช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน ฯ ให้แก่เจ้าหน้าที่ท่ีปฏิบัติงานด้านการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัย สานักงานป้องกันและบรรเทาสา ธารณภัยจังหวัด และองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินเพื่อให้เกิดทักษะและสามารถให้คาแนะนา ช่วยเหลือ ผู้ประสบภัยได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว เป็นธรรมและทั่วถึง อีกทั้งเพ่ือเป็นการประชาสัมพันธ์ให้ประชาชน รับทราบโดยเฉพาะในเรื่องการช่วยเหลือด้านการเงินฉพาะหน้า มิใช่เป็นการชดใช้ค่าเสียหายแต่อย่างใด เพอ่ื ให้เกดิ ภาพลักษณท์ ีดีตอ่ องคก์ ร และสรา้ งความเขา้ ใจในการทางานรว่ มกัน 3. ด้ำนเครื่องมือ เคร่ืองจักรกล ยำนพำหนะ ท่ีอาเภอและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นยังมีน้อย ควรจัดหา สนับสนุนเพิ่มเติม เพื่อรองรับกับสถานการณ์สาธารณภัยที่มีแนวโน้มทวีความรุนแรงอย่าง ต่อเนื่อง และควรจัดฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ให้มีทักษะในการใช้อุปกรณ์หรือเทคโนโลยีต่างๆอย่างสม่าเสมอใน กรณเี ร่งดว่ น จาเปน็ ต้องมกี ารประสานขอความชว่ ยเหลอื ดา้ นอุปกรณจ์ ากหนว่ ยงานอนื่ ในพ้นื ทด่ี ว้ ย 4. ด้ำนระเบียบกฎหมำย 4.1 แผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยระดับจังหวัด พ.ศ. 2553-2557 เป็นเพียง หลักการกว้างๆ แต่ในทางปฏิบัติจริงน้ันมีรายละเอียดแต่ละขั้นตอนที่ซับซ้อน มีปัจจัยเง่ือนไขต่างๆ มากมาย เปน็ แผนปฏิบตั ิการในภาวะปกติ ให้สอดคล้อง พรบ.ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2550 และแผนปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัยชาติ เพื่อไม่ให้เกิดความสับสนในทางปฏิบัติ และเพ่ือให้เกิดความ น่าเช่ือถือแก่จังหวัดต่อการเข้าสนับสนุนการปฏิบัติงานในอนาคตผู้อานวยการทุกระดับชั้นต้องศึกษาและ ทาความเขา้ ใจถึงบทบาทหนา้ ทีอ่ ย่างท้องแท้ 4.2 ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายในระยะยาว 1)ปรบั เปลี่ยนแนวคิดการบริหารจัดการสาธารณภัยในเชิงรุก โดยเพิ่มการป้องกันและลด ผลกระทบและเตรยี มความพรอ้ มรบั ภัยจากการปฏิบัติในเชงิ รับ 2) ผลักดันให้เกิดการบูรณาการ ในการบริหารจัดการสาธารณภัยเพ่ือให้การทางาน เปน็ ไปในลกั ษณะของการรวมแผน แบบบรู ณาการ ทงั้ ในยามปกตแิ ละยามเกดิ เหตุภยั อยา่ งแทจ้ ริง 3) ความมีการปรับปรุงระเบียบ กฏหมาย พรบ. และกฏหมายท่ีเกี่ยวข้อง เพ่ือแก้ไข ปัญหา อุปสรรค การปฏิบัติงานตามแผนและนโยบายท่ีไม่ชัดเจน และให้การปฏิบัติงานสอดคล้องกับ สถานการณ์ปจั จบุ ัน 5.3 อภิปรำยผลกำรศึกษำ ประสิทธิภาพการจดั การภัยพบิ ัตแิ ละการตอบโตส้ ถานการณฉ์ กุ เฉินในการปฏบิ ัตงิ านร่วมเครือขา่ ยในกรอบ อาเซียน (ASEAN Economic Commumity: AEC) ของสานักงานป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั จังหวัดตาก ประเดน็ สาคัญจะต้องได้รบั คาแนะนาจากผทู้ ม่ี ีความร้แู ละหนว่ ยงานทเี่ ก่ยี วข้องกบั การพัฒนาหรอื เปน็ ผูน้ าการระดม

42 ความคดิ อยา่ งดี ต่อการพัฒนาท้องถิ่นของตนเอง จะนามาซึ่งการพฒั นาอย่างย่งั ยืนโดยแท้จรงิ เปรยี บเสมือนการท่ีมีทั้ง ทนุ และปัญญาในเวลาทีเ่ หมาะสม ย่อมกอ่ เกิดผลติ ภัณฑ์ท่ีมีคณุ ภาพเยี่ยม จะไดอ้ ะไรจากการมีสว่ นรว่ มของทกุ ภาคสว่ นในการบรหิ ารจัดการสาธารณภยั ในส่วนของสานักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยและองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิ่น - มสี ่วนร่วมในการบริหารจัดการ - เป็นเวทใี นการเสนอแนวความคดิ เห็น - เปน็ เวทใี นการแก้ไขปัญหา ในส่วนของภาคราชการ - มีการกระจายอานาจการบรหิ ารจัดการมากข้ึน - เกิดการจดั การแบบบูรณาการนาทุกภาคส่วนที่เกยี่ วข้องเข้ามามสี ่วนร่วม - ลดข้ันตอนในการปฏิบัติงาน การเตรยี มความพร้อมดา้ นบุคลากรและเครือ่ งมอื อปุ กรณ์ ขององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน 1)การเตรียมความพรอ้ มด้านบคุ ลากร (1) การอบรมมสิ เตอรเ์ ตือนภยั เพ่ือให้ทาหนา้ ที่ในการแจ้งเตือนภัยใหก้ บั ชุมชนในภาวะปกติทาหน้าที่ ตดิ ตามข่าวสารพยากรณ์อากาศ หรือการประกาศแจ้งเตอื นภัย รวมท้งั ประสานความร่วมมือกับผใ้ หญ่ บา้ น/อบต./คณะกรรมการหมู่บ้าน พรอ้ มท้งั ให้ความรูแ้ ก่ประชาชนในเรื่องการเกิดดินโคลนถล่ม และ วิธกี ารปฏบิ ตั ติ ัวเมอ่ื เกดิ ภัยเม่ือเข้าชว่ งฤดูฝน ทาหนา้ ที่ตดิ ตามขา่ วพยากรณ์อากาศ ตรวจกระบอกวัด ปรมิ าณน้าฝน พร้อมทจี่ ะดาเนินการแจง้ เตือนประชาชนเพ่ือให้อพยพไปยังทป่ี ลอดภัยได้ทนั ที โดย สานกั งานปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั จงั หวดั ตากแจ้งให้องค์กรปกครองสว่ นท้องถ่ินที่อยใู่ นพื้นทเ่ี สีย่ ง อุทกภัยเป็นผ้คู ัดเลอื กตวั แทนของหมู่บ้านเข้ารับการอบรมโครงการอาสาสมัครแจง้ เตือนภัย “มสิ เตอร์ เตือนภยั ” เพื่อเป็นการเตรยี มความพร้อมในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย การแจ้งเตือนภัย และ การปฏิบัตติ นเมื่อเกิดภัยให้กับประชาชนในพ้ืนทเ่ี สีย่ งดินถลม่ และอุทกภยั (2) การอบรมอาสาสมคั รป้องกนั ภัยฝ่ายพลเรอื น เพ่ือให้องค์การบรหิ ารส่วนตาบล และ เทศบาลทุกแหง่ มสี มาชิก อปพร. พร้อมปฏบิ ตั ิงานไมน่ อ้ ยกว่ารอ้ ยละ 2 ของประชากรหรือไม่น้อยกวา่ 50 คนในองค์การบริหารส่วนตาบลท่มี ปี ระชากรไม่ถงึ 2,500 คน เพ่อื ให้เปน็ ไปตามนโยบาย กระทรวงมหาดไทย (3) การอบรมหน่งึ ตาบลหนึ่งทมี กชู้ ีพกู้ภัยสานักงานป้องกันแลบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดตาก ไดจ้ ัด อบรมโดยใหเ้ ทศบาลและองค์การบริหารสว่ นตาบลทเ่ี สยี่ งต่อการเกดิ อุทกภัย คดั เลือกผ้แู ทนตาบลละ 10 คน (4) การฝกึ ซ้อมแผนปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั โดยสานักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั จงั หวัด ตาก ไดจ้ ดั ใหม้ ีการฝึกซ้อมแผนวิกฤตการณ์ (5) การอบรมเครือข่ายแจ้งเหตธุ รณีพิบัติ ภัยจากดนิ ถลม่ กรมทรพั ยากรธรณไี ด้ทาการสารวจพ้นื ทเ่ี สี่ยงภยั ดนิ ถลม่ เพื่อใหป้ ระชาชนในพื้นที่เสี่ยงตอ่ ธรณีพบิ ตั ิภยั โดยเฉพาะพ้ืนทีเ่ สยี่ งภัยดินถลม่ ได้มคี วามรคู้ วาม เขา้ ใจ ถงึ สาเหตุและปจั จยั ต่างๆ ของการเกิดดนิ ถลม่ พรอ้ มวธิ ีการวดั ปรมิ าณนา้ ฝนและการแจง้ เตือนภัย เมอ่ื ปริมาณนา้ ฝนถึงจุดวิกฤติ โดยให้ตระหนักถึงความเสยี่ งทอ่ี าจเกดิ ขนึ้ วา่ มีมากน้อยเพียงไร การจัดทา รายช่อื ท่ีอยู่พร้อมด้วยหมายเลขโทรศัพท์ของประชาชนทีร่ ่วมเป็นเครอื ข่าย ประกอบกับแผนทีต่ าแหน่ง บา้ นเครอื ขา่ ย และแผนการเฝ้าระวังการแจ้งเตอื นภัยล่วงหน้า เพ่ือการประชาคมและติดต่อแจ้งเตือนภยั ได้อยา่ งรวดเรว็ และทนั เหตุการณ์


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook