Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 01_พตท.กฤชณัท จันทร์เขียว2

01_พตท.กฤชณัท จันทร์เขียว2

Published by Hommer ASsa, 2021-04-29 04:15:28

Description: 01_พตท.กฤชณัท จันทร์เขียว2

Search

Read the Text Version

รายงานการศึกษา เรื่อง ปจั จัยที่มผี ลต่อประสิทธิภาพการชว่ ยเหลือผปู้ ระสบภยั กรณศี กึ ษา : จังหวดั ปทมุ ธานี จดั ทาโดย พนั ตารวจโทกฤชณทั จันทร์เขยี ว รหสั ประจาตัวนกั ศึกษา 01 เอกสารฉบบั นีเ้ ปน็ สว่ นหนง่ึ ในการศึกษาอบรม หลกั สตู ร นกั บรหิ ารงานปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั (นบ.ปภ.) รุ่นท่ี 10 ระหวา่ งวันท่ี 7 มกราคม – 10 เมษายน 2557 วิทยาลัยปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภยั

ก คานา จากสถานการณอ์ ุทกภยั ทีเ่ กดิ ขึน้ ในพืน้ ที่จงั หวัดปทุมธานเี มื่อปี พ.ศ. 2554 หรือเรยี กวา่ “มหาอุทกภยั ” เป็นอุทกภัยที่รุนแรงทีส่ ดุ ก่อใหเ้ กดิ ความเสยี หายอย่างมากและมีผลกระทบต่อประชาชน ทาใหบ้ ้านเรือนราษฎรและทรพั ยส์ ินของประชาชนได้รับความเสียหายเป็นจานวนมาก ประชาชนและ เจา้ หน้าที่เกิดความสับสนไม่ทราบถึงระเบียบฯ หลักเกณฑ์ในการใหค้ วามชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบภยั จนทาให้ เกดิ ปญั หาการชุมนุมประทว้ งปดิ ถนน สถานทีร่ าชการ เรียกร้องเงินช่วยเหลอื เยยี วยาผู้ประสบอทุ กภัยไม่ เป็นไปตามหลกั เกณฑ์ฯ สง่ ผลให้มเี ร่ืองรอ้ งเรียนเปน็ จานวนมากจนถึงปจั จบุ นั ดงั น้ันเพอ่ื เปน็ การเตรยี มพร้อมรบั มอื ในการเยยี วยาผ้ปู ระสบภัยในอนาคต จงึ จาเปน็ ตอ้ งมีการศกึ ษาวิจัยเพ่อื พฒั นาประสิทธิภาพการช่วยเหลอื ผปู้ ระสบภยั ให้บรรลวุ ัตถปุ ระสงคแ์ ละหวังเป็น อย่างยง่ิ วา่ จะมีการนาความรู้จากการวิจัยน้ีไปประยกุ ตใ์ ช้ในการเยียวยาผ้ปู ระสบภัยได้อย่าง มีประสิทธิภาพ ตอ่ ไป พนั ตารวจโทกฤชณัท จันทรเ์ ขียว มีนาคม 2557

ข กิตกิ รรมประกาศ เอกสารการศึกษาวจิ ยั ส่วนบุคคล เรื่อง ปัจจยั ทีม่ ีผลต่อประสทิ ธิภาพ การช่วยเหลอื ผู้ประสบภัย ฉบับน้ีสาเรจ็ ลุลว่ งไดด้ เี พราะได้รับความเมตตาและความกรณุ าให้คาแนะนาจากทา่ นอาจารย์ ดร.ปิยวัฒน์ ขณิษฐาบตุ ร และอาจารยว์ รชพร เพชรสวุ รรณ อาจารย์ทป่ี รึกษางานวิจยั นกั ศกึ ษา นบ.ปภ. รนุ่ ที่ 10 อยา่ งใกล้ชดิ และขอขอบพระคณุ ท่านผ้บู ริหารกรมปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัย ตลอดจน หัวหนา้ สานกั งานปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั จังหวดั ปทมุ ธานี ทไ่ี ด้กรุณาเลือกใหผ้ ้วู จิ ยั ได้เขา้ รบั การ ฝึกอบรมในหลกั สตู รนักบรหิ ารงานป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั (นบ.ปภ.) รนุ่ ที่ 10 ในครั้งน้ี โดยเฉพาะผอู้ านวยการวิทยาลยั ปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั (นางสาวลกั ขณา มนมิ นากร) รองผูอ้ านวยการวิทยาลยั ปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัยฝา่ ยฝึกอบรม (นายวจิ ารณ์ เหลา่ ธรรมยิ่งยง) และเจ้าหนา้ ทวี่ ทิ ยาลยั ปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัยทุกท่าน นอกจากนขี้ อขอบพระคณุ ผูบ้ ริหารองค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิ่น เจา้ หนา้ ท่ี และประชาชน ในพ้นื ท่ีจงั หวัดปทมุ ธานีทุกท่าน ท่ใี หค้ วามกรุณาตอบแบบสอบถามตลอดจนเพ่ือนๆ นบ.ปภ. รุ่นที่ 10 ทกุ ทา่ น ทไ่ี ด้ให้ข้อมลู และคาแนะนาในการศกึ ษาวิ จัยในคร้ังนี้ หากเอกสารงานวิจยั สว่ นบุคคลฉบบั นี้ มีขอ้ บกพร่องผดิ พลาดประการใด ผศู้ ึกษาขอน้อมรับด้วยความเคารพ และจะนาไปปรับปรงุ แก้ไข ในโอกาส ต่อไป พันตารวจโทกฤชณัท จนั ทร์เขยี ว นกั ศึกษาหลกั สูตร นบ.ปภ. รนุ่ ท่ี 10 มีนาคม 2557

ค บทสรปุ สาหรับผบู้ ริหาร สถานการณ์ภัยพบิ ัติในปัจจบุ ันมแี นวโนม้ ความรนุ แรงและมีโอกาสเกดิ ขน้ึ ได้ตลอดเวลาสร้าง ความเสียหายแกช่ ีวิตร่างกายและทรพั ยส์ นิ ของประชาชนเปน็ จานวนมาก ทาใหก้ ารเยียวยาชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบภยั จงึ มีสว่ นสาคัญอยา่ งยง่ิ ในการบรรเทาความเดือดร้อยเบื้องต้นแกป่ ระชาชนอย่างเปน็ ธรรมทั่วถงึ และเป็นไปตามระเบียบฯที่เก่ียวขอ้ ง ดังนี้ 1. พระราชบญั ญัตปิ ้องกันและบรรเทาสาธารณภยั พ.ศ. 2550 มาตรา 30 กาหนดให้ผู้ อานาจในเขตพน้ื ทีท่ ่ีรบั ผดิ ชอบสารวจความเสยี หายจากสาธารณภัยทเี่ กดิ ขน้ึ และทาบญั ชีรายชอื่ ผปู้ ระสบภัย และทรพั ยส์ ินที่เสียหายไวเ้ ป็นหลกั ฐาน พรอ้ มออกหนงั สือรับรองใหผ้ ู้ประสบภัยไว้เปน็ หลกั ฐานในการรับการ สงเคราะหแ์ ละพ้ืนฟู หนังสือรบั รองตามวรรคหนึง่ ตอ้ งมรี ายละเอียดเกย่ี วกับการสงเคราะหแ์ ละการฟื้นฟูที่ ผูป้ ระสบภยั มสี ทิ ธไิ ด้รับจากทางราชการ พร้อมทงั้ ระบุหน่วยงานท่ีเป็นผใู้ ห้การสงเคราะหห์ รอื ฟ้ืนฟู และ สถานที่ตดิ ต่อของหนว่ ยงานนน้ั ไว้ด้วย ทงั้ นี้ ตามแบบท่ีอธิบดีกาหนด บรรดาเอกสารราชการของผปู้ ระสบภัยทส่ี ูญหายหรอื เสียหายเนอื่ งจากสาธารณภัย ท่ีเกดิ ขึ้น เมือ่ ผ้ปู ระสบภัยรอ้ งขอต่อองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินแห่งพ้ืนท่ีท่เี กดิ สาธารณภยั หรอื ทเี่ ป็นภมู ลิ าเนา ของผู้ประสบภยั ให้เป็นหน้าท่ีขององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิน่ แหง่ พืน้ ที่นั้น แจ้งให้หน่วยงานของรฐั และองค์กร ปกครองสว่ นทอ้ งถิน่ ทีเ่ ก่ียวขอ้ งทราบ และใหห้ นว่ ยงานของรัฐและองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิน่ ทเ่ี กีย่ วขอ้ งออก เอกสารทางราชการดงั กลา่ วใหใ้ หมต่ ามหลักฐานที่อยใู่ นความครอบครองของตนสง่ มอบใหแ้ ก่ผู้ประสบภยั หรือ ส่งมอบผ่านทางองค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ แห่งพน้ื ที่ท่ีเป็นผแู้ จ้ง ทั้งนี้โดยผ้ปู ระสบภัยไม่ต้องเสยี ค่าธรรมเนียม หรือคา่ บริการ แม้วา่ ตามกฎหมาย ท่เี ก่ียวกับการออกเอกสารราชการดังกล่าวจะกาหนดให้ต้องเสยี ค่าธรรมเนยี มหรือค่าบริการก็ตาม ในกรณที ่ีผปู้ ระสบภยั หรือเจ้าของหรือผูค้ รอบครองทรัพย์สินร้องขอหลกั ฐาน เพื่อรบั การสงเคราะหห์ รือบริการอน่ื ใด ใหผ้ ้อู านวยการในเขตพนื้ ทท่ี รี่ ับผดิ ชอบ ออกหนงั สอื รบั รองให้ตาม ระเบยี บท่กี ระทรวงมหาดไทยกาหนด 2. ระเบยี บกระทรวงการคลังวา่ ดว้ ยเงินทดรองราชการเพือ่ ชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบภัยพบิ ตั กิ รณี ฉุกเฉิน พ.ศ. 2556 ข้อ 25 การขอรบั การสนบั สนนุ การให้ความช่วยเหลือตามข้อ 22 และข้อ 23 ให้ทาเปน็ หนังสือซึ่งอยา่ งนอ้ ยให้มรี ายการดังต่อไปนี้ (1) ประเภทของภยั พิบัตกิ รณฉี ุกเฉิน (2) วนั เดอื น ปีท่เี กดิ ภยั พบิ ตั ิกรณีฉกุ เฉิน และวนั เดอื น ปที ี่เกดิ ความเสียหาย (3) สถานทีเ่ กิดเหตุ (ให้ระบชุ อ่ื ถนน หมูบ่ า้ น ตาบล อาเภอ) (4) จานวนผู้ประสบภัยพิบตั ิโดยประมาณ (5) ความเสยี หายโดยประมาณ เชน่ จานวนบ้านเรือนทีเ่ สยี หาย ทรัพยส์ ินทีเ่ สียหาย รวมทั้งมูลค่าความเสียหายทเ่ี กิดขึ้นโดยประมาณ จานวนผูบ้ าดเจบ็ ผ้เู สยี หาย เป็นต้น (6) การชว่ ยเหลอื แก้ไขปญั หาความเดือดร้อยเฉพาะหนา้ ท่ีไดด้ าเนนิ การไปแลว้ (7) ความต้องการในการขอรบั ความชว่ ยเหลอื หรือสนับสนนุ ใหค้ วามช่วยเหลอื

ง กรณที มี่ คี วามจาเปน็ เร่งด่วนไมอ่ าจขอรับการสนบั สนุนเปน็ หนังสอื ไดใ้ ห้ขอรบั การสนับสนุน การใหค้ วามชว่ ยเหลอื โดยเคร่ืองมอื สอ่ื สารใดๆ หรอื โดยวิธอี น่ื ใดและให้ยนื ยันเป็นหนงั สอื ในภายหลงั โดยด่วน ทส่ี ุด การขอรบั การสนับสนนุ ระหว่างสว่ นราชการตามวรรคหนงึ่ และวรรคสอง ให้ส่วนราชการทา สญั ญายืมเงินตามระเบียบของทางราชการ ข้อ 26 เพอ่ื ใหบ้ รรลุวัตถปุ ระสงค์ในการใหค้ วามชว่ ยเหลอื ผ้ปู ระสบภยั พบิ ตั ใิ หส้ ว่ นราชการ ประสานงานระหวา่ งสว่ นราชการหรอื หนว่ ยงานอื่นของรฐั ด้วยกนั กับเอกชนและองคก์ รการกศุ ล ที่เกย่ี วข้อง อยา่ งใกล้ชดิ เพ่ือใหค้ วามชว่ ยเหลอื เปน็ ไปโดยท่วั ถงึ และไมซ่ ้าซอ้ นกัน 3. หลักเกณฑว์ า่ ด้วยการใช้จ่ายเงินทดรองราชการเพ่อื ชว่ ยเหลือผู้ประสบภยั พบิ ัตกิ รณี ฉกุ เฉนิ พ.ศ. 2556 ขอ้ 5.1 ดา้ นการดารงชพี ดงั น้นั จึงมคี วามจาเป็นที่จะต้องศึกษาปจั จยั ทมี ผี ลตอ่ ประสิทธิภายการชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบภัย โดยมวี ตั ถุประสงคเ์ พ่อื ศึกษาพัฒนาบคุ ลากรเจา้ หน้าท่ขี องรฐั มีความรกู้ ับขอ้ ระเบียบฯทเ่ี กี่ยวข้องและศกึ ษา แนวทางพัฒนาประชาชนหรือผปู้ ระสบภยั มีความร้เู ก่ียวกบั ระเบียบฯทเี่ ก่ยี วขอ้ งสาหรบั วิธกี ารศึกษาใช้วธิ ี การศกึ ษาเชิงปริมาณ อันประกอบไปดว้ ยการศกึ ษาค้นควา้ ขอ้ มลู จากเอกสารทางวชิ าการและงานวิจยั ที่ เกยี่ วข้อง การเกบ็ ข้อมลู จากแบบสอบถาม โดยนาขอ้ มูลที่ได้ทั้งหมดมาประมวลผลทาการวเิ คราะหเ์ ชิงพรรณา ตามปรากฏการณ์ และเนอ้ื หาเพือ่ ตอบคาถามการวิจยั ผลการศกึ ษาคร้ังนพ้ี บว่า การศึกษาการประเมินผลเกยี่ วกบั ปัจจยั ท่มี ีผลต่อประสิทธิภาพ การชว่ ยเหลือผูป้ ระสบภยั กรณีศกึ ษา : จงั หวดั ปทุมธานี ผูศ้ ึกษาสรปุ ผลการศกึ ษาดังนี้ 1. สถานภาพทว่ั ไปของผตู้ อบแบบสอบถาม พบว่า สว่ นใหญ่เปน็ เพศชายมีอายุ 30-40 ปี มี ระดับการศกึ ษามธั ยมศึกษา และมอี าชพี รับจา้ ง 2. การศกึ ษาการประเมินผลเก่ยี วกับปัจจัยทมี่ ีผลต่อประสทิ ธิภาพการช่วยเหลอื ผ้ปู ระสบภัย กรณศี ึกษา : จังหวัดปทุมธานี พบว่า 2.1 ดา้ นการให้ความรู้ ในภาพรวมอย่ใู นระดับปานกลาง โดยรายการทม่ี ีระดับค่าเฉล่ียสงู สดุ ลงมา 3 อันดับ ไดแ้ ก่ ทา่ นมีความรู้เกี่ยวกับการปฏบิ ัตงิ านตามระเบยี บกระทรวงการคลงั ว่าด้วยเงินทดรอง ราชการเพ่อื ชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบภัยพิบตั กิ รณฉี ุกเฉนิ พ.ศ. 2546 และท่แี ก้ไขเพ่ิมเติมท่กี ระทรวงการคลงั ท่ี กาหนดขน้ึ เพ่ือเปน็ การลดขัน้ ตอน และปัญหาการเกิดข้อขัดแย้งระหวา่ งองค์การปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น หนว่ ยงานราชการทเี่ กี่ยวขอ้ ง กับประชาชนผูป้ ระสบภยั พบิ ัติ รองลงมาคือ ทา่ นได้รับความรจู้ ากการ ประชาสมั พนั ธ์และการรณรงคจ์ ากบุคลากรเจ้าหนา้ ท่อี งคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิ่นเกี่ยวกับมาตรการใชก้ ฎหมาย ระเบยี บขอ้ บงั คบั และหลกั เกณฑฯ์ ในการช่วยเหลือผปู้ ระสบภยั พบิ ัติ และท่านไดร้ ับความรเู้ ก่ยี วกับการขอ ความชว่ ยเหลอื จากบุคลากรเจ้าหน้าทอี่ งคก์ รปกครองสว่ นท้องถิน่ เม่ือมอี ุบตั ิภยั เกดิ ขน้ึ ตามลาดับ 2.2 ดา้ นการใหบ้ รกิ าร ในภาพรวมอย่ใู นระดบั ปานกลาง โดยรายการทม่ี ีระดบั ค่าเฉล่ยี สงู สุด ลงมา 3 อันดบั ได้แก่ ในชว่ งเกดิ อุบัติภยั ตา่ งๆ องคก์ รปกครองส่วนท้องถน่ิ ได้มีการจดั ชดุ บคุ ลากรเจ้าหนา้ ที่ องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ พร้อมอุปกรณ์เตรียมพรอ้ มในการชว่ ยเหลือไว้อย่างเพยี งพอและพร้อมเพรยี ง เพ่อื คอยบริการใหก้ ับประชาชนทป่ี ระสบภยั พบิ ัติ รองลงมาคือ ในการบรกิ ารช่วยเหลือการใหค้ วามรดู้ า้ นระเบยี บ และหลักเกณฑ์ฯ การช่วยเหลือผู้ประสบภัยเมื่อมีการเกิดภยั พิบตั ิ บคุ ลากรเจ้าหน้าที่องค์กรปกครองส่วน ทอ้ งถิน่ ที่ให้ความชว่ ยเหลือมเี พยี งพอต่อการใหค้ วามชว่ ยเหลือประชาชนผู้ประสบภัย

จ พบิ ตั ิ และสุดทา้ ยมรี ายการเทา่ กัน 2 รายการ คือ ในการปฏบิ ัติงานดา้ นบริการองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ ไดม้ ี การจดั ตง้ั ศูนย์วทิ ยุสื่อสาร อยเู่ วรประจาตลอด 24 ชว่ั โมง เพ่อื ชว่ ยเหลือบริการประชาชนผ้ปู ระสบภยั และ ทา่ นไดร้ บั บริการชว่ ยเหลอื จากบุคลากร เจ้าหนา้ ท่ี อปท. ในการช่วยเหลอื ผ้ปู ระสบภยั พิบตั เิ บอื้ งต้น ดา้ น เคร่อื งมืออุปกรณ์ กู้ภัยขั้นตน้ และเครอื่ งมอื อุปกรณ์รักษาพยาบาลท่ที ันสมัยเพียงพอในการบริการใหค้ วาม ช่วยเหลือเม่ือเกดิ ภัยพบิ ตั ิ ตามลาดบั 2.3 ดา้ นการมสี ่วนร่วม ในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง โดยรายการท่ีมรี ะดับคา่ เฉลีย่ สูงสดุ ลงมา 3 อนั ดับ ได้แก่ ในชว่ งเกิดภัยพบิ ตั ติ า่ งๆ ท่านมีสว่ นรว่ มในการปฏบิ ัติตามระเบียบ และหลักเกณฑ์ ฯ ตามที่หน่วยงานทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง และอปท. ได้จัดกจิ กรรมข้ึนในพื้นท่ี รองลงมาคอื ทา่ นได้เข้าร่วมอบรมเกี่ยวกับ ระเบียบ และหลกั เกณฑฯ์ ท่ี อปท. จดั ข้นึ เพ่ือใหค้ วามรูก้ ับประชาชน และเม่ือมกี ารให้ความรเู้ รื่องระเบยี บ และหลกั เกณฑฯ์ แก่องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิน่ ทา่ นมสี ่วนร่วมในการให้ความสะดวกกับเจ้าหนา้ ท่ี หรอื หนว่ ยงานที่เกี่ยวข้อง ในการปฏิบัติงาน ตามลาดบั 2.4 ในภาพรวม อยู่ในระดับปานกลาง โดยรายการท่มี ีระดับค่าเฉล่ยี สูงสดุ ลงมา 3 อนั ดบั ได้แก่ ด้านการใหค้ วามรู้ รองลงมาคือ ดา้ นการมสี ่วนร่วม และดา้ นการใหบ้ รกิ าร ตามลาดับ ข้อเสนอเชิงนโยบาย จากผลการศึกษาเกย่ี วกบั การประเมนิ ผลปัจจยั ท่มี ผี ลต่อประสิทธภิ าพ การชว่ ยเหลือผปู้ ระสบภัย กรณีศกึ ษา : จงั หวดั ปทมุ ธานี พบประเด็นท่คี วรนามาอภปิ ราย ดงั นี้ 1. ดา้ นการใหค้ วามรู้ ในภาพรวมอยู่ในระดบั ปานกลาง ซง่ึ แสดงให้เหน็ วา่ บุคลากร เจ้าหนา้ ท่ี องค์การปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน ให้ความรกู้ บั ประชาชนเก่ียวกับระเบยี บกระทรวงการคลงั ว่าดว้ ยเงนิ ทดรอง ราชการเพ่อื ชว่ ยเหลือผปู้ ระสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน พ.ศ. 2546 และท่แี กไ้ ขเพม่ิ เตมิ ที่ กระทรวงการคลงั ท่กี าหนดขนึ้ เพอ่ื เป็นการลดข้นั ตอน และปญั หาการเกิดข้อขัดแยง้ ระหว่างองคก์ ารปกครอง ส่วนท้องถ่ิน หนว่ ยงานราชการ ทเี่ กยี่ วขอ้ ง กบั ประชาชนผูป้ ระสบภัยพิบตั ิ และมีการประชาสัมพนั ธแ์ ละการ รณรงคเ์ กยี่ วกับมาตรการใช้กฎหมาย ระเบยี บข้อบงั คบั และหลักเกณฑฯ์ ในการชว่ ยเหลอื ผู้ประสบภยั พิบัติ และความร้เู ก่ียวกับการขอความชว่ ยเหลือจากบุคลากรเจ้าหน้าทอ่ี งค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน เมอื่ มอี บุ ัติภยั เกิดขึน้ 2. ด้านการให้บรกิ าร ในภาพรวมอยูใ่ นระดับปานกลาง อาจเพราะในช่วงเกิดอบุ ัตภิ ัยตา่ งๆ องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ ได้มกี ารจัดชุดบคุ ลากรเจา้ หนา้ ที่องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ พร้อมอปุ กรณ์ เตรียมพรอ้ ม ในการชว่ ยเหลือไวอ้ ยา่ งเพียงพอและพรอ้ มเพรยี ง เพอื่ คอยบริการให้กับประชาชนทปี่ ระสบภัย พบิ ัติ ในการบรกิ ารชว่ ยเหลือการให้ความรู้ด้านระเบียบ และหลักเกณฑฯ์ การชว่ ยเหลือผูป้ ระสบภยั เมือ่ มีการ เกดิ ภัยพบิ ัติ จัดเตรยี มบคุ ลากรเจา้ หน้าที่องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ ท่มี คี วามรู้ ความเข้าใจคอยใหค้ วาม ชว่ ยเหลอื อยา่ งเพยี งพอต่อการให้ความชว่ ยเหลอื ประชาชนผ้ปู ระสบภยั พิบตั ิ และ ในการปฏบิ ัติงานดา้ น บริการองคก์ รปกครองส่วนท้องถน่ิ ควรจดั ตง้ั ศนู ย์วทิ ยสุ อื่ สาร อยู่เวรประจาตลอด 24 ช่ัวโมง เพ่ือช่วยเหลอื ประชาชนผู้ประสบภยั รวมท้งั จดั เตรียมทมี กู้ชพี กภู้ ยั ขององคก์ รปกครองสว่ นท้องถน่ิ ในการชว่ ยเหลือ ผู้ประสบภัยพบิ ตั ิเบ้อื งตน้ ด้านเครอื่ งมอื อุปกรณ์ กภู้ ยั ขน้ั ต้น และเคร่ืองมืออุปกรณร์ กั ษาพยาบาลทที่ นั สมัย เพยี งพอในการบริการใหค้ วามช่วยเหลอื เม่อื เกดิ ภัยพบิ ัติ 3. ด้านการมีส่วนร่วม ในภาพรวมอยใู่ นระดบั ปานกลาง ซ่ึงแสดงวา่ ในช่วงเกิดภยั พิบัตติ ่างๆ ทา่ นมสี ว่ นร่วมในการปฏิบตั ติ ามระเบียบ และหลักเกณฑ์ฯ ตามท่ีหนว่ ยงานท่เี กีย่ วข้อง และองค์กรปกครอง สว่ นท้องถ่นิ ไดจ้ ดั กิจกรรมขน้ึ ในพ้ืนท่ี ซงึ่ ไดเ้ ขา้ รว่ มอบรมเก่ยี วกับระเบียบ และหลักเกณฑ์ฯ

ฉ ต่างๆ ท่ี องค์กรปกครองส่วนท้องถนิ่ รว่ มกบั หนว่ ยงานทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง จดั ข้นึ เพ่ือให้ความรู้กบั ประชาชน และ เจา้ หนา้ ทอี่ งค์กรตา่ งๆ และเมอ่ื มีการใหค้ วามรเู้ รอื่ งระเบยี บ และหลักเกณฑ์ ฯ แล้วสามารถช่วยเหลือพรอ้ ม ขอ้ เสนอแนะในการศึกษาครัง้ ต่อไป ควรศึกษาวจิ ยั ประเดน็ ความพงึ พอใจของผปู้ ระสบภยั ต่อการชว่ ยเหลือเยยี วยาผู้ประสบภัย ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแตล่ ะแห่งให้ชดั เจนย่งิ ขึ้น ซง่ึ จะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาการปรบั ปรุง ใหบ้ รกิ ารในการเยียวยาผปู้ ระสบภัย เพือ่ เป็นแบบอยา่ งของการพฒั นาขององค์กรปกครองสว่ นท้องถนิ่ แห่งอน่ื ตอ่ ไป พันตารวจโทกฤชณทั จนั ทร์เขยี ว นกั ศึกษาหลกั สูตร นบ.ปภ. รุ่นที่ 10 มีนาคม 2557

ช หนา้ ก สารบัญ ข ค-ฉ คานา ช-ซ กติ ตกิ รรมประกาศ บทสรปุ สาหรับผูบ้ ริหาร 1 สารบญั 1 บทที่ 1 บทนา 2 2 ความสาคัญและทีม่ าของปญั หาวจิ ยั 2 วัตถปุ ระสงค์ของการศึกษา ขอบเขตการศกึ ษา 4 ประโยชนท์ ่ีใชใ้ นการศึกษา นิยามศัพท์เฉพาะ 2 18 บทที่ 2 แนวคดิ ทฤษฎีและงานวิจยั ท่ีเกีย่ วขอ้ ง 8 แนวคดิ ทฤษฎเี กยี่ วกบั ความตอ้ งการพัฒนาบุคคลภาครัฐ 29 แนวคิดและนโยบายด้านการพฒั นาบคุ ลากรขององค์กรปกครองส่วนทอ้ งถนิ่ 10 30 แนวทางการพัฒนาองค์ความรู้สู่ประชาชน 1 30 แนวคิดเก่ียวกับความเข้มแขง็ ของชุมชน 31 งานวจิ ัยที่เกีย่ วขอ้ ง 2 31 33 บทที่ 3 ระเบยี บวิธีวิจยั 37 ประชากรและกลุ่มตัวอยา่ ง 37 ตวั แปรท่ีใช้ในการศกึ ษา 37 เครื่องมือทใี่ ชใ้ นการศกึ ษา การเก็บรวบรวมขอ้ มูล 45 การวเิ คราะห์ข้อมูล 45 แบบสอบถามเพือ่ การวิจัย 45 บทที่ 4 ผลของการศกึ ษาวิเคราะห์ สญั ลกั ษณท์ ใ่ี ช้ในการวเิ คราะหข์ ้อมลู การวิเคราะหข์ อ้ มลู ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มูล บทท่ี 5 สรุปผลการศึกษา อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ วัตถปุ ระสงคข์ องการศึกษา สมมตฐิ านของการศกึ ษา วิธีดาเนนิ การศึกษา

ซ สรปุ ผลการศึกษา 46 อภปิ รายผล 47 ข้อเสนอแนะ 48 บรรณานุกรม ประวตั ิผู้ศึกษาวิจยั

บทที่ 1 บทนา ปัจจัยทีม่ ผี ลต่อประสิทธิภาพการช่วยเหลอื ผ้ปู ระสบภัย กรณศี ึกษา : จงั หวดั ปทมุ ธานี 1. ความสาคัญและท่ีมาของปญั หาวิจยั จงั หวดั ปทุมธานี ไดเ้ กิดสถานการณ์อทุ กภัยตง้ั แต่วนั ท่ี 5 กันยายน 2554 จากสาเหตปุ รมิ าณน้าที่ ระบายมาจากภาคเหนอื ลงสู่แมน่ ้าเจา้ พระยามมี วลน้าจ้านวนมาก ท้าใหเ้ กิดนา้ ท่วมฉบั พลนั และน้าล้นตลง่ิ ในพ้นื ท่รี ิม ฝั่งแมน่ ้าเจา้ พระยา และอกี หลายอา้ เภอปรมิ าณน้าจากแมน่ ้าเจ้าพระยาจดุ ท่ีเป็นประตูระบายนา้ คลองปา่ ฝา้ ย วดั ตา้ หนกั และประตูระบายนา้ คลองบา้ นพรา้ ว อา้ เภอสามโคกเกดิ ช้ารดุ พงั ทลายและแนว คันกั้นน้ารมิ ฝ่งั แมน่ ้า เจา้ พระยาเกดิ พงั ทลายลง ทา้ ให้มมี วลน้ามหาศาลลน้ เข้าสู่พื้นทีท่ ีเ่ ปน็ ทอี่ ยู่อาศยั ของประชาชน ตลอดจนพื้นท่ี เกษตรกรรมและพน้ื ทเ่ี ศรษฐกิจได้รับความเสียหายเป็นจ้านวนมากจังหวัดปทมุ ธานี ไดป้ ระกาศพื้นท่ีประสบภัยพบิ ัติ กรณีฉุกเฉนิ (อทุ กภัย) จ้านวน 7 อา้ เภอ 60 ต้าบล 529 หมูบ่ ้าน พ้ืนท่ี ประสบภัยรุนแรงมีจา้ นวน 6 อา้ เภอ ประกอบด้วย อ้าเภอเมอื งปทุมธานี อา้ เภอสามโคก อ้าเภอลาดหลมุ แก้ว อา้ เภอธัญบุรี อา้ เภอคลองหลวง และ อ้าเภอล้าลกู กา มปี ระชาชนไดร้ บั ความเสียหายจา้ นวน 3 36,995 ครัวเรอื น มกี ารใชเ้ งินทดรองราชการในอา้ นาจ ของผวู้ ่าราชการจงั หวดั ปทุมธานีตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยเงนิ ทดรองราชการเพื่อชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบภยั พิบตั ิกรณีฉุกเฉนิ พ.ศ.2546 และท่แี กไ้ ขเพิ่มเติมจ้านวนเงนิ ท้งั สิ้น 7,549,654,216 บาท (เจ็ดพนั ห้าร้อยสสี่ บิ เก้า ล้านหกแสนหา้ หมนื่ ส่พี นั สองร้อยสิบหกบาทถว้ น) ซงึ่ การชว่ ยเหลือผู้ประสบอุทกภัยในครง้ั นน้ั มปี ญั หาและอปุ สรรค หลายประการ ดงั นนั้ จึงมคี วามจ้าเป็นที่จะตอ้ งท้าการศกึ ษาค้นควา้ ว่า มีปจั จยั ทีม่ ีผลตอ่ ประสิทธภิ าพการ เพอื่ นา้ ชว่ ยเหลือผูป้ ระสบภัยใดบา้ งทจี่ ะน้าไปสคู่ วามส้าเรจ็ ในการช่วยเหลอื ผูป้ ระสบภัยของจงั หวัดปทมุ ธานี ข้อมูลทไ่ี ด้มาปรบั ปรุงการปฏบิ ัตงิ านใหเ้ กดิ ผลสา้ เรจ็ ตามเป้าหมายตอ่ ไปในอนาคต 2. วตั ถุประสงคข์ องการศกึ ษา การศึกษาในครง้ั น้ี มีวตั ถปุ ระสงค์ดังตอ่ ไปนีค้ ือ 2.1 เพื่อศึกษาแนวทางการพฒั นาบุคลากรเจา้ หนา้ ทข่ี องรัฐมีความร้เู ก่ยี วกบั พระราชบัญญัติ ป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั พ.ศ. 2550 ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยเงนิ ทดรองราชการเพ่อื ช่วยเหลือ ผู้ประสบภยั พิบตั กิ รณีฉุกเฉิน พ.ศ. 2556 และหลักเกณฑก์ ารใชจ้ า่ ยเงินทดรองราชการเพ่อื ช่วยเหลือผ้ปู ระสบภัย พิบัติกรณีฉุกเฉิน พ.ศ. 2556 2.2 เพอ่ื ศึกษาแนวทางการพฒั นาประชาชนหรอื ผ้ปู ระสบภยั ให้มีความรู้เก่ยี วกบั หลกั เกณฑ์ การใชจ้ า่ ยเงินทดรองราชการเพอื่ ช่วยเหลือผู้ประสบภยั พบิ ตั กิ รณฉี กุ เฉนิ พ.ศ. 2556

2 3. ขอบเขตการศกึ ษา ผู้วจิ ยั ใชก้ ารวิจยั เชงิ ปริมาณส้าหรับการศึกษาในครัง้ นี้ โดยเลอื กใชว้ ธิ ีการสา้ รวจด้วยแบบสอบถามที่ สร้างขนึ้ และไดก้ ้าหนดขอบเขตของการวิจัยไวด้ ังน้คี อื 1. ประชากรทใี่ ชศ้ กึ ษาเป็นเจา้ หน้าที่จากองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถนิ่ ทีป่ ฏบิ ตั ิหนา้ ท่ีช่วยเหลือ ผ้ปู ระสบภยั จา้ นวน 86 คน และประชาชนทีเ่ คยประสบอทุ กภยั จ้านวน 86 คน รวมท้ังส้ิน 172 คน 2. ตัวอย่างท่ใี ชศ้ ึกษาเลือกจากประชากร โดยวิธกี ารสมุ่ ตวั อย่างแบบใชแ้ บบสอบถามและใช้ จา้ นวน 172 คนซ่ึงจา้ นวนนี้ได้จากการใชต้ ารางสา้ เรจ็ รูปของ Yamane (1967) 3. ตัวแปรที่เก่ียวขอ้ งกับการศกึ ษา ประกอบดว้ ย ตัวแปรตาม คอื ความสา้ เรจ็ ในการบรหิ ารจดั การการให้ความชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบภัย ตวั แปรอิสระ คอื เพศ อายุ ระดับการศกึ ษา สถานภาพสมรส รายได้ และอาชีพ 4. สถานทีศ่ ึกษาที่ผวู้ จิ ยั ใช้เก็บรวบรมขอ้ มูล คือ พน้ื ทข่ี ององคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ จา้ นวน 65 แห่ง ในพน้ื ท่ีจังหวดั ปทุมธานี 5. ระยะเวลาในการศกึ ษา เรมิ่ ต้งั แต่ 7 มกราคม 2557 ถงึ 10 เมษายน 2557 4. ประโยชน์ท่ใี ช้ในการศกึ ษา ผลจากการศกึ ษามีประโยชน์ต่อฝ่ายทเี่ กี่ยวข้องดงั น้ี คอื 1. เพอ่ื เป็นแนวทางใหเ้ จ้าหนา้ ท่ที ี่เกีย่ วข้องในการชว่ ยเหลือผูป้ ระสบภยั มีความรู้ ความ เขา้ ใจในพระราชบญั ญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2550 ระเบียบกระทรวงการคลงั วา่ ด้วยเงนิ ทดรอง ราชการเพ่อื ช่วยเหลือผู้ประสบภยั พบิ ัติกรณฉี กุ เฉิน พ.ศ. 2556 และหลกั เกณฑก์ ารใช้จ่ายเงนิ ทดรองราชการเพือ่ ชว่ ยเหลอื ผูป้ ระสบภยั พิบัตกิ รณฉี ุกเฉนิ พ.ศ. 2556 สามารถปฏิบตั ไิ ด้ถกู ตอ้ งตามระเบยี บฯ 2. เพอื่ นา้ ข้อมลู ไปเผยแพร่ใหป้ ระชาชนหรือผปู้ ระสบภยั เขา้ ใจในหลักเกณฑ์การ ใช้ จา่ ยเงินทดรองราชการเพอ่ื ชว่ ยเหลือผู้ประสบภัยพิบตั กิ รณีฉุกเฉนิ พ.ศ. 2556 ลดปญั หาความขัดแย้งภายใน ทอ้ งถ่ิน 3. เพ่อื เปน็ แนวทางให้หน่วยงานท่เี ก่ยี วข้องน้าผลงานวิจยั ไปพฒั นาแนวทางป้องกัน การ ทุจริต 5. นยิ ามศัพท์เฉพาะ คา้ นยิ ามศพั ทเ์ ฉพาะในการศึกษาในครงั้ นี้ ไดแ้ ก่ 1. จุดแข็ง หมายถงึ ความสามารถและสถานการณภ์ ายในทเ่ี ป็นบวก และใชป้ ระโยชนจ์ ากจุด แขง็ ของการดา้ เนนิ งานเหล่านี้อยูเ่ สมอ เพอ่ื ด้าเนินงานให้บรรลุวตั ถุประสงค์ 2. จดุ ออ่ น หมายถึง ความสามารถและสถานการณ์ภายในทเ่ี ปน็ ลบและด้อยความสามารถ ซง่ึ ไม่สามารถนา้ มาใช้เป็นประโยชน์ในการท้างาน และเปน็ อุปสรรคต่อความส้าเรจ็ ของงาน

3 3. อปุ สรรค หมายถงึ ปัจจยั และสภาพแวดลอ้ มภายนอก หรอื ปัจจยั จากสถานการณภ์ ายนอก ทไี่ มเ่ อื้ออ้านวย หรือเป็นปัญหาตอ่ การท้างาน 4. โอกาส หมายถึง ปจั จัยและสภาพแวดล้อมภายนอกทเ่ี ป็นประโยชน์ต่อการดา้ เนนิ งาน ซึง่ ต้องคาดคะเนการเปลี่ยนแปลงเหล่านอี้ าจจะท้าให้ความต้องการของประชาชนเปลี่ยนแปลงไป 5. ระเบียบกฎหมาย หมายถึง 5.1 พระราชบัญญัตปิ อ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั พ.ศ. 2550 มาตรา 30 5.2 ระเบียบกระทรวงการคลงั ว่าดว้ ยเงนิ ทดรองราชการเพือ่ ชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบภยั พบิ ตั ิ กรณฉี ุกเฉนิ พ.ศ. 2556 ข้อ 25 และขอ้ 26 5.3 หลกั เกณฑก์ ารใช้จา่ ยเงินทดรองราชการเพอื่ ชว่ ยเหลือผูป้ ระสบภัยพบิ ตั กิ รณฉี กุ เฉนิ พ.ศ. 2556 ขอ้ 5.1 ด้านการด้ารงชพี

บทที่ 2 แนวคดิ ทฤษฎีและงานวจิ ยั ท่ีเกีย่ วขอ้ ง การศกึ ษาปจั จัยที่มีผลตอ่ ประสิทธภิ าพการช่วยเหลอื ผ้ปู ระสบภยั กรณีศึกษา : จังหวดั ปทุมธานี ในครัง้ น้ีผูว้ จิ ัยไดท้ าการสบื ค้น จากเอกสารทางวิชาการและงานวจิ ยั ทีเ่ ก่ยี วขอ้ งมาเป็นแนวทางการศึกษาวจิ ยั โดยเนอ้ื หาดังนี้ 1. แนวคิด ทฤษฎีเก่ียวกับความต้องการพฒั นาบคุ คลภาครัฐ 2. แนวคิดและนโยบายด้านการพฒั นาบุคลากรขององคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถนิ่ 3. แนวทางการพฒั นาองคค์ วามรสู้ ปู่ ระชาชน 4. แนวคิดเกยี่ วกับความเขม้ แข็งของชุมชน 5. งานวิจัยทเี่ ก่ยี วข้อง แนวความคดิ ทฤษฎี 1. แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับความต้องการพัฒนาบคุ ลากรภาครฐั แนวคิดเกีย่ วกบั การพัฒนาทรัพยากรมนษุ ย์ (มนษุ ย์เป็นศนู ย์กลางของการพัฒนา) กอ่ สวัสดพิ์ าณชิ ยอ์ า้ งถงึ ใน (กาญจนา สันตพิ ฒั นาชัย และ คณะ 2541: 22) กลา่ วถงึ การ พัฒนามนุษย์ในแนวคิดเก่ียวกับมโนทศั น์ ทถ่ี ือวา่ มนษุ ยเ์ ปน็ ศูนยก์ ลางของการพัฒนา ( The concept development centered on man) คือ พัฒนาการตอ้ งเกิดจากการกระทาของมนษุ ย์ ผลประโยชน์ของการ พฒั นาจะต้องเปน็ ของมนษุ ย์ เมอ่ื มนุษยต์ ระหนกั ถึงความตอ้ งการหรือความจาเป็นของมนษุ ย์มนษุ ยจ์ ะเปน็ ผกู้ าหนดความ มงุ่ หมายของการพฒั นาโดยอาศัยความตอ้ งการของตนเปน็ เครื่องนาทาง และมนษุ ย์จะเป็น ผู้จัดการองค์ประกอบ ของการพฒั นาใหส้ าเรจ็ ตามความมุ่งหมายท่ตี นตง้ั ขน้ึ เชน่ การสร้างสถาบันทางสงั คม การเปล่ียนแปลงโครงสร้างของระบบต่าง ๆ ถงึ แม้กจิ กรรมน้นั เป็นสภาพแวดล้อมท่ที าให้เกิดการพฒั นา แต่มนุษย์จะพฒั นาอย่างโดดเด่ียวไม่ได้ มนุษยจ์ ะต้องพฒั นาในสงิ่ แวดล้อมและสถานการณ์ทสี่ ง่ เสรมิ ความเจรญิ กา้ วหนา้ ของมนษุ ย์ ดังนัน้ กระบวนการพฒั นามนุษย์โดยยึดมนุษย์เป็นศูนย์กลางจึงเป็นการพัฒนาที่สมบูรณ์ แบบโดยต้องพจิ ารณาทุกสว่ น ขององคป์ ระกอบในการพฒั นาและทุกด้านของชวี ิตซ่ึงเปน็ สิง่ แวดล้อมของมนุษย์ ความหมายของการพัฒนาทรพั ยากรมนุษย์ การพัฒนาทรัพยากรมนษุ ย์ (Human resource development) โดยมีนักวิชาการหลายทา่ น ให้คาจากัดความไวด้ ังนี้ เพสและคณะ (pace et al., 1991: 3 อ้างถงึ ใน เด่นดวง คาตรง 2544 : 19) ใหค้ วามหมาย เกยี่ วกับการพัฒนาทรพั ยากรมนุษย์ ว่าเปน็ การพัฒนาบคุ คลในองค์กรโดยใชก้ ิจกรรมการพฒั นาการพฒั นา

5 จะต้องครอบคลมุ ทง้ั สองดา้ น คือ ดา้ นบุคคลซงึ่ จะตอ้ งพฒั นาในด้านความรู้ ทกั ษะ และทัศนคตแิ ละด้านองค์กร คือ นโยบายโครงสรา้ งและการจดั การ เพื่อ ไปสคู่ ณุ ภาพและความสามารถในการผลติ ที่สงู ข้นึ และเกดิ ความพึง พอใจกับปฏิบตั งิ าน ผูจ้ ดั การและสมาชิกในองคก์ รมากขึน้ มัลลี เวชชาชีวะ ( 2524 : 16) ไดอ้ ธิบายความหมายของการพฒั นาทรพั ยากรมนษุ ยว์ า่ มี ความหมายครอบคลมุ ถงึ โครงการและกระบวนการเพิม่ ฝีมอื และความรูข้ องคน ท้งั คณุ ภาพและปรมิ าณต้งั แต่ การศกึ ษาพืน้ ฐานไปจนถึงมัธยมและการฝกึ อบรมอาชพี การฝึกอบรมในการทางานจนถงึ โครงการฟื้นฟูสขุ ภาพ สวสั ดกิ ารและอ่ืน ๆ เนาวรตั น์ พลายน้อย (2527 : 93) ใหค้ วามหมายของการพฒั นาทรัพยากรมนุษยว์ า่ เปน็ กระบวนการต่อเน่ืองท่ที าใหค้ นมคี วามสมบูรณท์ ั้งกาลงั กาย กาลังความคิดมีขีดความสามารถสูงขึน้ ใน ทุก ๆ ดา้ นอนั จะยังประโยชน์ต่อทง้ั ตนเอง ครอบครัว สงั คมและประเทศชาติ โดยเปาู หมายแทจ้ รงิ ของการพัฒนา ทรัพยากรมนุษย์ อยทู่ กี่ ารใชท้ รัพยากรมนุษยท์ ่พี ฒั นาแล้วให้ไปปฏบิ ัติงานหรือภารกจิ เพอื่ การพัฒนาประเทศ เจมส์ (James, 1970 : 4 อ้างถึงใน เด่นดวง คาตรง 2544 : 20) ไดส้ รปุ แนวคดิ สาหรบั การ พัฒนาทรพั ยากรมนษุ ย์ในองคก์ ารไวด้ ังตอ่ ไปนี้ 1. การพัฒนาของมนุษย์ในองคก์ ารโดยทว่ั ๆ ไป จะเกิดผลมาจากประสบการณ์จาก การทางาน 2. เคร่ืองมอื ท่ีมีประสทิ ธิภาพมากท่ีสดุ สาหรบั การพัฒนามีอยูด่ ้วยกนั สามประการ คือ การกาหนดความรับผดิ ชอบในการปฏบิ ัตงิ านอย่างชดั เจน การกาหนดสทิ ธิอานาจกบั ความรบั ผิดชอบใน การจัดการต้องเปน็ ไปอย่างเหมาะสมและต้องปอู นขอ้ มลู ใหก้ บั ผปู้ ฏิบตั ิงานไดร้ ้ดู ้วยตัว ของเขาเองว่าเขา ปฏิบัติงานได้ดมี ากน้อยแค่ไหน 3. การพัฒนาของมนุษย์ในองค์การจะเกดิ ข้ึนกต็ อ่ เมื่อ พนกั งานในองค์การปรารถนาท่จี ะ ควบคุมพฤติกรรมหรอื ปฏิบัติงานดว้ ยตวั ของเขาเองให้มีความใกลเ้ คียง หรอื เป็นไปตามมาตรฐานของการ ปฏิบัติงานทีไ่ ด้กาหนดไวน้ าไปส่กู ารพัฒนา 4. กจิ กรรมทีอ่ งคก์ ารกาหนดขึ้น เพ่ือนาไปสู่การพัฒนาจะต้องมุ่งเนน้ อย่ทู ีง่ านของบุคคล เปน็ สาคัญ 5. การพฒั นาทรพั ยากรมนุษยใ์ นองคก์ าร เปน็ เรื่องการสรา้ งสภาพแวดล้อมในการทางาน ทเี่ อื้ออานวยให้มนษุ ย์ในองค์การสามารถพฒั นาตนเองได้ 6. การพฒั นามนษุ ยใ์ นองค์การจะเกิดขน้ึ ได้ก็ตอ่ เมื่อการพฒั นานนั้ สอดคล้องกับความต้องการ ในชีวิตและศักยภาพของเขาถา้ ไมเ่ ชน่ นั้นแลว้ การพฒั นาจะไมส่ ามารถ เกดิ ข้นึ ได้เลย

6 7. การพัฒนามนษุ ย์ในองค์การต้องได้รับการสนับสนนุ จากฝาุ ยบริหารอยา่ งเต็มที่จงึ จะทาให้ การพัฒนาสัมฤทธิ์ผลแนดเลอร์ ( nadler, 1980 : 4-5 อ้างถึงใน เด่นดวง คาตรง 2544 : 18) กล่าวว่าการ พฒั นา ทรพั ยากรมนุษย์เป็นการดาเนินการใหพ้ นกั งานไดป้ ระสบการณ์และเรียนรใู้ นชว่ งระยะเวลาหนงึ่ ในอนั ที่ จะนามาปรบั ปรุงความสามารถในการท างานและส่งเสริมความก้าวหน้าของพนักงานการพัฒนาทรัพยากร มนุษย์ตามแนวคิดของ แนดเลอร์ มิได้หมายถึงเฉพาะการฝึกอบรมเท่านน้ั ยงั หมายถึง การเรยี นรู้จาก ประสบการณท์ ่ีเกดิ จากการจัดขน้ึ ในชว่ งระยะเวลาทก่ี าหนดเฉพาะเจาะจงและได้รับการออกแบบทีจ่ ะนาไปสู่ ความเป็นไปไดข้ องการเปล่ยี นแปลงพฤตกิ รรม ไดแ้ บ่งกจิ กรรมการพฒั นาทรัพยากรมนษุ ยอ์ อกเปน็ 3 กล่มุ ใหญ่ คอื การศึกษา หมายถึง กิจกรรมทีม่ ีความมุง่ หมายในการทีจ่ ะเสรมิ สร้างความรู้ ความชานาญ ค่านิยม ทางศลี ธรรมและความเขา้ ใจทม่ี ีความจาเป็นต่อการดารงชีวิตอยู่ เพอื่ ใหผ้ รู้ ับการศกึ ษาสามารถ ใช้ชีวิตอยแู่ ละ ทาประโยชน์แกส่ ังคมได้สาหรบั ผปู้ ฏบิ ัติงานอยู่แลว้ การศึกษา หมายถงึ กิจกรรม ด้านการพฒั นา คนท่ีกาหนดขน้ึ เพ่อื เพ่มิ พนู ประสิทธิภาพการท างานในภาพรวมของเจ้าหนา้ ท่ี นอกเหนอื จากการเน้น เฉพาะงานท่กี าลังทาอยู่ปจั จบุ นั (Leonard Nadler. 1979 : 60.) การฝกึ อบรม หมายถึง กระบวนการปรับเปลีย่ นทัศนคติ ความรู้ และความชานาญเพือ่ เสริมสรา้ งประสทิ ธภิ าพและประสิทธผิ ลในการปฏิบัติงานของเจ้าหนา้ ทีท่ ่ีทาอยใู่ นปัจจบุ นั ซ่ึงอาจรวมทงั้ การ เตรียมให้ผูป้ ฏบิ ตั งิ านทมี่ คี วามพร้อมทจ่ี ะเลื่อนขน้ึ ไปดารงตาแหน่งสงู ข้ึนในงานทม่ี ีลักษณะอยา่ งเดียวกนั ด้วย (Ibid : 40) การพัฒนา หมายถึง การให้เกิดความเจริญก้าวหน้าหรอื ความสาเรจ็ ในการเพิม่ พูนความรู้ ความสามารถท้งั โดยการเรยี นรู้ในทางตรงและทางอ้อม และเรียนร้จู ากประสบการณห์ รอื การให้คาปรกึ ษา แนะนาสอนงานหรือโดยวธิ ีอน่ื ซ่ึงจะเป็นประโยชนท์ ้งั ต่อผปู้ ฏบิ ตั ิงานและต่อองคก์ าร ความสาคัญของการพัฒนาบุคคล(ทรพั ยากรมนษุ ย์) มหาวทิ ยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธริ าช การบริหารงานบคุ คลภาครัฐ ( 2546 : 20) กลา่ ววา่ ในการ สรรหาและการคดั เลอื กคนเข้าทางาน แม้วา่ จะมีวธิ กี ารสอบแขง่ ขัน หรอื เลอื กสรรคนท่ีมคี วามรดั กมุ และมี ประสิทธภิ าพเพยี งใดก็ตาม โดยปกติแล้วผ้ทู ่ีสอบผ่านการแข่งขนั และการเลอื กสรรเขา้ มา จะเป็นผทู้ ี่เพิ่งสาเร็จ การศึกษาซ่ึงส่งิ ท่ีตดิ ตัวมากค็ ือความรู้เฉพาะดา้ นหรอื สาขาที่ได้เล่าเรยี นมาและการใชเ้ ทคโนโลยสี มัยใหมเ่ ชน่ คอมพิวเตอรเ์ ปน็ ต้น ไม่มีสถาบันการศกึ ษาทั่วไปสถาบันใดทส่ี อนใหผ้ ู้สาเรจ็ การศึกษา รจู้ กั วธิ ีการทางานใน หนว่ ยงานใดหน่วยงานหนึง่ ไดอ้ ย่างเต็มท่มี ปี ระสทิ ธภิ าพทันทที ไ่ี ด้รบั การบรรจุ และไม่มสี ถาบนั การศึกษา

7 โดยทว่ั ไปสถาบันใดทจ่ี ะสอนใหใ้ ห้นิสิต นกั ศึกษารู้จัก ใช้ชวี ติ ในสิ่งแวดลอ้ มของการทางานในองค์การหรอื หนว่ ยงานใดหนว่ ยงานหนึ่งโดยเฉพาะ ส่งิ เหล่านี้จงึ เป็นสง่ิ จงึ เป็นสิง่ ท่ีผู้เข้ารับการบรรจุเขา้ ทางานจะต้องมา เรียนร้ใู นองคก์ ารเอง โดยองค์การเป็นผดู้ าเนนิ การหรือจัดการให้ในรปู แบบใดรปู แบบหนึง่ เชน่ การสอนงาน การปฐมนเิ ทศ การใหไ้ ดร้ ับการศึกษาหรอื อบรม การให้ทดลองฝกึ หรือทดลองปฏบิ ัตงิ านหรอื โดยวิธอี ่นื เพ่ือให้ ผไู้ ดร้ ับการบรรจหุ รือผ้ทู างานในองค์การอยแู่ ลว้ ได้มคี วามรคู้ วามเข้าใจสามารถทางานในหน้าท่ที ี่ได้รบั มอบหมายได้อย่างเต็มท่ซี งึ่ วิธกี ารตา่ งๆ นี้ เรียกว่า “การพฒั นาบุคคล ” การพัฒนาบุคคล อาจทาได้ 3 วิธีใหญ่ๆ คอื วิธีการให้การศกึ ษา ( education) หรือการฝึกอบรม ( training) และการพฒั นา (development) แนวความคิด เก่ยี วกับ ความต้องการและการพฒั นาบุคลากร ความหมาย “ความต้องการ ”พจนานกุ รม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 มที มี่ าจาก คาวา่ “ความ” [ความ] น. เร่อื ง เชน่ เนื้อความ เกิดความ ; อาการ, ใชน้ าหนา้ กรยิ าหรอื วเิ ศษณเ์ พือ่ แสดงสภาพ เชน่ ความต้องการ อยากได้, ใครไ่ ด,้ ประสงค,์ “ความตอ้ งการ” เกดิ ความ, อาการอยากได้ ใครไ่ ด้หรือประสงค์ ทฤษฎีความต้องการ : ทฤษฎลี าดับข้นั ความตอ้ งการของมาสโลว์ ทฤษฎีลาดบั ขัน้ ความตอ้ งการของมาสโลว์( maslow, s hierarchy of needs) (อา้ งถึงใน ศริ วิ รรณ เสรรี ัตน์ และคณะ 2545: 311) มาสโลว์มองความตอ้ งการของมนษุ ย์เป็นลกั ษณะลาดบั ขนั้ ระดบั ต่าสุดไปยังระดบั สูงสุด และสรปุ วา่ เม่อื ความต้องการในระดบั หนงึ่ ไดร้ บั การตอบสนองมนษุ ยก์ จ็ ะมีความ ตอ้ งการอ่นื ในระดบั ท่สี ูงข้นึ ต่อไป โดยมีลาดบั ขน้ั ความต้องการ ดงั น้ี 1. ความต้องการของร่างกาย (physiological needs) เป็นความตอ้ งการข้ันพ้นื ฐานเพือ่ ความ อยรู่ อด เช่น อาหาร ท่ีอยู่อาศยั เป็นตน้ ซึ่งมาสโลว์ได้กาหนดตาแหน่งความตอ้ งการเหล่านไ้ี ด้รบั การตอบสนอง ในระดับทมี่ คี วามจาเป็นเพอ่ื ใหช้ ีวติ อยูร่ อด และความตอ้ งการอื่นจะกระตุน้

8 2. ความต้องการความมั่นคงหรอื ความปลอดภยั ( security or safe needs) ความตอ้ งการ เหลา่ นีเ้ ป็นความตอ้ งการท่จี ะเปน็ อสิ ระจากอันตรายทางกายและความกลัวจากตัวเองและจากต่อการสูญเสยี ตาแหน่งหน้าท่กี ารงาน ทรพั ย์สนิ หรือทอี่ ยูอ่ าศยั 3. ความตอ้ งการการยอมรบั หรือความผูกพัน หรอื ความต้องการทางสังคม (affiliation or acceptance needs) เป็นความตอ้ งการไดร้ ับการยอมรบั จากบุคคลอืน่ ในสังคม 4. ความต้องการการยกยอ่ ง ( esteem needs) เมอื่ มนุษยไ์ ดร้ บั การตอบสนองความต้องการ การยอมรบั แลว้ จะตอ้ งการการยกยอ่ งจากตัวเองและจากบคุ คลอืน่ ความต้องการนี้เป็นการพึงพอใจในอานาจ (power) ความภาคภูมิใจ (prestrige) สถานะ (status) และความเช่ือมนั่ ในตนเอง(self - confidence) 5. ความตอ้ งการความสาเร็จในชีวติ ( need for self –actualization) เป็นความตอ้ งการ ในระดบั สูงสดุ เป็นความปรารถนาทีจ่ ะประสบความสาเรจ็ เพ่อื ให้มีศักยภาพและบรรลุความสาเรจ็ ในสง่ิ หนง่ึ สิง่ ใดในระดบั สงู สุด ทฤษฎีความตอ้ งการ : ทฤษฎกี ารจูงใจ ERG ของ อลั เดอรเ์ ฟอร์ (Alderfer) อัลเดอร์เฟอร์ ( Alderfer) ได้ชค้ี วามแตกต่างระหว่างความต้องการซ่งึ กาหนดลาดบั ข้ันตอน ความต้องการในระดับต่าและความต้องการในระดับสงู ซ่งึ เก่ยี วข้องกบั ความต้องการของมาสโลว์ 5 ประเภท เหลอื เพียง 3 ประเภท ดงั น้ี 1. ความตอ้ งการในการอยูร่ อด (Existence needs: E) เป็นความตอ้ งการในระดับตา่ สดุ และ มลี ักษณะเป็นรูปธรรม ประกอบด้วยความต้องการตามทฤษฎมี าสโลว์ คอื ความต้องการของร่างกาย (physiological needs) และความตอ้ งการความม่ันคงหรอื ความปลอดภยั (security or safe needs) 2. ความตอ้ งการความสัมพนั ธ์ ( Related needs: R) ประกอบด้วยความต้องการตามทฤษฎี มาสโลวด์ ้านสงั คม ความตอ้ งการการยอมรบั ความต้องการการยกย่อง (esteem needs) 3. ความตอ้ งการความเจรญิ ก้าวหน้า ( Growth needs: G) ประกอบดว้ ยสว่ นทเ่ี ป็นความ ต้องการการยกย่องและความตอ้ งการประสบความสาเร็จตาม ทฤษฎีมาสโลว์ อัลเดอร์เฟอร์ (alderfer) ไมเ่ ชือ่ วา่ บคุ คลจะต้องได้รบั การตอบสนองความพงึ พอใจอยา่ ง สมบรู ณ์ ในระดบั ของความตอ้ งการก่อนท่ีจะก้าวหน้าไปสคู่ วามตอ้ งการในระดับอ่ืน เขาพบวา่ บุคคลจะได้รับ การกระตุน้ โดยความตอ้ งการมากกว่าหน่ึงระดบั ตวั อยา่ ง เชน่ ความต้องการไดร้ บั เงนิ เดือนทีเ่ พียงพอ ในขณะเดียวกัน จะเกิดความต้องการการยอมรับความพอใจความต้องการทางสังคมและอาจเกิดความต้องการ การสร้างสรรค์ ต้องการความก้าวหนา้ ไปพร้อม ๆ กนั

9 ย่ิงกว่าน้ันอัลเดอร์เฟอร์ (alderfer) คน้ พบว่า ลาดับของประเภทความตอ้ งการจะแตกต่างกัน ใน แตล่ ะบุคคล บคุ คลจะแสวงหาความยกยอ่ งนับถอื ซงึ่ เปน็ ความต้องการความกา้ วหน้าเจริญเติบโตกอ่ นท่ี จะคานงึ ถึงความตอ้ งการดา้ นรปู ธรรม ซึ่งเป็นความต้องการการอยู่รอดเป็นต้นความต้องการของพนกั งาน เทศบาล ลูกจา้ งประจา และพนักงานจา้ ง ตา่ งมีพื้นเพดา้ นครอบครวั ภมู ิลาเนา การศึกษาความเปน็ อยู่แตกตา่ ง กนั เมื่อเขา้ มาสอู่ งคก์ รเดย่ี วกนั ก็ยงั มคี วามแตกตา่ งในการเขา้ สูต่ าแหนง่ และประเภทงานทต่ี ่างกนั ย่อมมี ความตอ้ งการที่แตกต่างกัน ซึง่ เปน็ หน้าที่ของผบู้ งั คับบญั ชาท่ีจะตอ้ งพัฒนาบคุ ลากร เพื่อใหม้ ีทักษะดา้ นความรู้ ความสามารถ และสง่ เสริมให้มคี ณุ ธรรม จริยธรรม เพื่อให้เหมาะสมกบั ตาแหน่งหนา้ ที่ท่ไี ด้รบั รวมไปถงึ การเปล่ยี นแปลงด้านทัศนคตใิ นการทางานในยุคปัจจุบนั ดว้ ย เมื่อได้กลา่ วถงึ ความตอ้ งการของมนุษย์ แลว้ สิ่งท่จี ะนาเสนอต่อไปจะเสนอในเรือ่ งการพฒั นามนษุ ย์ แนวคดิ เกยี่ วกบั การพฒั นาบคุ คลภาครฐั มหาวทิ ยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธริ าช การบริหารงานบคุ คลภาครัฐ (2546 : 23) สาหรับการพฒั นา ภาครัฐ ข้าราชการเปน็ ตัวจกั รสาคญั ทสี่ ดุ ของรัฐบาลในการบริหารราชการและการพัฒนาประเทศ ซ่ึงภารกจิ สาคัญดังกล่าวจะไม่ประสบความสาเร็จถ้าปราศจากข้าราชการที่ดีมีความสามารถเหมาะสมแก่ ตาแหน่งหน้าท่ี ดว้ ยเหตุนรี้ ัฐบาลทุกรัฐบาลจงึ ถือเปน็ นโยบายสาคัญในอนั ท่ีจะตอ้ งหาทางส่งเสรมิ และพฒั นาให้ขา้ ราชการ ทางานอยา่ งมปี ระสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลในการปฏิบัตริ าชการให้มากทส่ี ดุ เทา่ ทจี่ ะทาไดร้ วมท้งั การ พฒั นาทศั นคตทิ ถี่ ูกต้องในการทางานของข้าราชการดว้ ยการพฒั นาบคุ ลากรภาคราชการ หมายถึง กระบวนการวางแผนและดาเนนิ การใหข้ า้ ราชการหรือพนักงานอ่นื ของรัฐ ปฏิบตั ิงานได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ ดว้ ยทศั นคตแิ ละสานึกที่ถูกตอ้ ง เพ่อื ชว่ ยให้งานของทางราชการบรรลุเปาู หมายและวัตถปุ ระสงค์ท่ีวางไว้ โดยในขณะเดยี วกันตัวขา้ ราชการก็จะประสบความสาเร็จในการพัฒนาตนเองให้มคี วามรู้ความสามารถและ ความพรอ้ มทีจ่ ะกา้ วหนา้ ข้นึ ไปด้วยความสาคญั การพฒั นาบคุ คลในภาครฐั ถอื เป็นเรอ่ื งสาคัญที่ไมอ่ าจหลีกเลย่ี ง ได้นอกจากเหตุผลดังกล่าวเบอื้ งตน้ แล้ว สภาพปญั หาในการปฏิบตั งิ านและการเปลีย่ นแปลงทางเศรษฐกจิ สงั คมท่เี กดิ ขึน้ อยูต่ ลอดเวลา ทาให้มีความจาเป็นทีจ่ ะต้องมีการพฒั นาบุคคลในภาครฐั อกี หลายดา้ น ได้แก่ 1. พฒั นาดา้ นความรูค้ วามเขา้ ใจดา้ น กฎหมาย กฎ ระเบยี บ ข้อบังคับ ข้อกาหนด รวมท้งั วิธกี ารและแนวทางปฏิบัติมากมายประกอบการดาเนินงาน เพ่อื ให้บคุ ลากรในหน่วยงานมคี วามรคู้ วามเข้าใจ จึงจะสามารถปฏบิ ตั งิ านได้

10 2. การพฒั นาบุคลากรหรอื ข้าราชการผู้ปฏิบัตงิ านใหม้ ีความรู้ความเขา้ ใจในโครงสร้างและ ระบบงานของทางราชการและวิธีการทางานอย่างแท้จริงเพอื่ สนองความจาเปน็ ในการให้บรกิ ารท่ีเหมาะสม แก่ประชาชนและปรบั ให้ทนั กับการเปลยี่ นแปลงทางเศรษฐกิจสังคมของประเทศ 3. พฒั นาความรูค้ วามชานาญของขา้ ราชการผู้ปฏิบัติงานใหท้ นั กับความก้าวหน้าของ เทคโนโลยี ในดา้ นต่าง ๆ เช่นเคร่ืองคอมพวิ เตอร์ เคร่ืองมอื ส่อื สาร หรอื อุปกรณ์ทางการแพทย์สมยั ใหม่ เปน็ ต้น 4. ชวี ิตการทางานของขา้ ราชการย่อมต้องมีการเปล่ียนแปลงตาแหนง่ หนา้ ที่การงานหรือ มี การเล่ือนตาแหน่งทส่ี งู ข้นึ ในกรณีเช่นนห้ี ากมกี ารนาเอาวิธกี ารฝกึ อบรมหรือการพัฒนาบคุ คลวิธีใดวิธหี น่ึงที่ เหมาะสมนามาชว่ ยก็จะทาใหบ้ คุ ลากรเหล่าน้นั สามารถปฏิบตั งิ านในตาแหน่งใหม่ไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ โดยเร็วกว่าการใหเ้ รียนรู้งานในหน้าท่ีใหมเ่ อง 5. สภาพความเปน็ จริงเก่ียวกบั รายไดข้ องขา้ ราชการซ่งึ ได้แก่ เงินเดือนและค่าตอบแทนที่ ขา้ ราชการไดร้ บั อย่ใู นอตั ราคอ้ นขา้ งต่าไม่สัมพนั ธก์ บั สภาวะการครองชีพในปัจจบุ ัน ก็ทาใหเ้ กดิ พฤติกรรมไม่พึง ประสงค์หลายประการเช่น การทจุ รติ และประพฤตมิ ิชอบของข้าราชการ การไมเ่ สียสละ อุทศิ เวลาใหก้ บั ราชการ เปน็ ต้น จงึ มีความจาเป็นตอ้ งมีการพฒั นาจติ ใจของข้าราชการให้มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม ทศั นคตแิ ละ จติ สานกึ ท่ีถูกตอ้ ง ในการปฏบิ ัติราชการ วัตถุประสงคห์ ลกั ของการพฒั นาบคุ คลภาครัฐ มหาวทิ ยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธริ าช การบริหารงานบคุ คลภาครัฐ ( 2546 : 25 อา้ งอิงจาก Edward M.Harwell.Person 1975 : 96) ความวา่ วตั ถุประสงค์หลกั ของการพัฒนาบคุ คลในราชการกค็ อื การกอ่ ใหเ้ กิดการเปลีย่ นปลงทางพฤตกิ รรมของผ้ปู ฏิบัติงานตามท่ีต้องการซ่ึงการเปลย่ี นแปลงอาจเหน็ ได้จาก การปฏิบัตติ น ผลงานหรือบรรยากาศและวิธีการทางานท่เี ปล่ยี นไป เช่น ผู้ปฏบิ ัตงิ านมคี วามกระตอื รือรน้ และ ขยันม่นั เพยี รมากข้นึ การปฏบิ ตั ิงานผดิ พลาดนอ้ ยลง ผลผลติ ของงานเพ่มิ ข้นึ ประหยัดขน้ึ หรอื ลดคา่ ใช้จ่าย ความขดั แยง้ ในการปฏบิ ตั งิ านนอ้ ยลงหรอื หมดสนิ้ ไป มกี ารริเริ่มคดิ ค้นเทคนคิ วิธีการทางานใหม่ ๆท่ไี ดผ้ ล ปรบั ปรงุ ระบบการใหบ้ ริการแก่ประชาชนใหด้ ีขึน้ ทง้ั ในด้านปริมาณและคณุ ภาพ เปน็ ตน้ ด้วยเหตุนี้ การเปลี่ยนแปลงทางพฤติกรรม( Behavioral change) จึงเปน็ วัตถุประสงค์หลักหรือเปาู หมายสงู สดุ ของ การพัฒนาบุคคล

11 แนวคิดและทฤษฎีเพ่อื การพฒั นา “ทรพั ยากรมนษุ ย์” ของ ดร. จรี ะ HR Architecture ใช้ เปน็ แนวทางในการมองภาพรวมของการพฒั นาทรพั ยากรมนษุ ย์ ซง่ึ สามารถนามาปรับใช้ไดท้ งั้ ในภาพใหญ่ ( Macro) คอื ระดับประเทศ สงั คม ชุมชน และในระดับองคก์ ร (Micro) แหลง่ ทมี่ า : http://chiraacademy.com/concept.html ,แนวคดิ และทฤษฎขี อง ดร.จีระ 2. แนวคดิ และนโยบายดา้ นการพฒั นาบคุ ลากรขององค์กรปกครองสว่ นท้องถน่ิ แนวคิดเกย่ี วกับการพฒั นาพนกั งานเทศบาล ประกาศคณะกรรมการพนกั งานเทศบาล จังหวัดชลบุรี ลงวนั ที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2545 เรื่อง หลกั เกณฑแ์ ละเงื่อนไขเกี่ยวกบั การบรหิ ารงานบคุ คลของเทศบาล ส่วนท่ี 4 การพฒั นาพนกั งานเทศบาล กาหนดใหเ้ ทศบาลมกี ารพฒั นาผไู้ ด้รบั การบรรจุเขา้ รับราชการเป็นพนักงานเทศบาลกอ่ นมอบหมายหนา้ ทใี่ ห้

12 ปฏบิ ตั เิ พอื่ ใหร้ ู้ ระเบียบแบบแผนของทางราชการ หลกั และวิธปี ฏบิ ตั ิ บทบาทและหนา้ ท่ีของขา้ ราชการ ในระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั ริยท์ รงเป็นประมุขและแนวทางปฏบิ ตั ติ นเพือ่ เป็นข้าราชการท่ีดี การพัฒนาพนักงานเทศบาล ต้องใหผ้ ูไ้ ดร้ บั การบรรจุเขา้ รบั ราชการเป็นพนกั งานเทศบาลทุกคนให้ได้รับ การพัฒนาและต้องดาเนินการพฒั นาให้ครบถว้ นตามหลักสูตรที่ ก.ท. กาหนด ดังนี้ (1) หลกั และระเบียบวิธปี ฏบิ ตั ริ าชการ (2) บทบาทและหนา้ ทข่ี องพนักงานเทศบาลในระบอบประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษตั รยิ ์ ทรงเปน็ ประมขุ (3) แนวทางปฏิบตั ิงานเพอื่ เป็นพนกั งานทั่วไป (4) ความรู้พ้ืนฐานในการปฏิบัตริ าชการสาหรับพนกั งานบรรจุใหม่และการพฒั นาเกย่ี วกบั งาน ในหน้าท่ีความรับผิดชอบ หากเทศบาลมีความประสงค์จะพัฒนาเพิม่ เติมให้สอดคล้องกับความจาเป็นในการพัฒนาของ แตล่ ะเทศบาลก็ใหก้ ระทาได้ สาหรบั การพัฒนาเกยี่ วกบั การปฏิบัตงิ านในหนา้ ที่ ให้เทศบาลสามารถเลอื กใช้ วธิ ีการพฒั นาอืน่ ๆ ได้ เช่น การพัฒนาโดยการปฐมนเิ ทศ การพฒั นาในระหวา่ งการปฏิบัติหนา้ ทรี่ าชการ การพัฒนาโดยผ้บู ังคบั บัญชา การฝึกภาคสนาม การพัฒนาเฉพาะดา้ น การพัฒนานี้ อาจกระทาไดโ้ ดย สานักงาน ก.ท. เทศบาลตน้ สงั กดั หรอื สานักงาน ก.ท. รว่ มกับเทศบาลต้นสงั กัด หรือเทศบาลต้นสังกัดร่วมกับ ส่วนราชการอนื่ ก็ได้ กาหนดให้ผู้บังคับบญั ชามีหน้าทีพ่ ัฒนาผู้ใตบ้ งั คับบญั ชา เพือ่ เพิม่ พูนความรู้ ทักษะ ทัศนคติ คุณธรรมและจรยิ ธรรม อนั จะทาให้ปฏบิ ตั หิ น้าที่ราชการไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ ซ่งึ การพัฒนาผูใ้ ต้บังคบั บญั ชา น้ัน ผูบ้ งั คบั บัญชาอาจเป็นผู้ดาเนินการเอง หรอื มอบหมายใหผ้ ูท้ เี่ หมาะสมดาเนนิ การโดยเลือกวธิ ที ี่เหมาะสม กบั การพัฒนาผู้ใตบ้ งั คับบัญชารายบคุ คลหรือเปน็ กลุ่ม ซึ่งอาจใชว้ ธิ กี ารฝึกอบรมหรอื วิธกี ารพัฒนาอ่ืน ๆ โดยพิจารณาดาเนินการหาความจาเป็นในการพฒั นาจากการวเิ คราะหป์ ญั หาในการปฏิบัตงิ านการจดั ทาแผน การพฒั นารายบคุ คลหรอื ขอ้ เสนอของผูใ้ ตบ้ ังคบั บญั ชาเอง โดยการพฒั นาผใู้ ต้บังคับบญั ชาต้องพัฒนา ทง้ั 5 ดา้ น ไดแ้ ก่ (1) ดา้ นความรู้ทว่ั ไปในการปฏบิ ตั ิงาน ได้แก่ ความรเู้ ก่ยี วกับการปฏิบัตงิ านโดยทว่ั ไป เช่น สภาพพนื้ ที่ สถานทส่ี าคัญในเขตพื้นท่ี โครงสร้างของงาน นโยบายตา่ ง ๆ เปน็ ตน้ (2) ด้านความรูแ้ ละทกั ษะเฉพาะของงานในแตล่ ะตาแหนง่ ได้แก่ ความรู้ความสามารถใน การปฏบิ ตั ิงานของตาแหนง่ หนึ่งตาแหนง่ ใดโดยเฉพาะ เช่น งานฝึกอบรม งานช่าง เป็นตน้

13 (3) ดา้ นการบรหิ าร ไดแ้ ก่ รายละเอียดที่เกย่ี วกบั การบริหารงานและการบริหารคน เช่น ในเร่ืองการวางแผน การจดั ทางบประมาณ การมอบหมายงาน การจูงใจ การประสานงานเป็นตน้ (4) ดา้ นคุณสมบตั สิ ว่ นตัว ได้แกก่ ารช่วยเสริมบุคลิกภาพทด่ี สี ง่ เสริมให้สามารถปฏบิ ตั ิงาน รว่ มกับบุคคลอนื่ ไดอ้ ย่างราบรนื่ และมปี ระสิทธภิ าพ เช่น มนุษยสมั พนั ธก์ ารทางาน การสอ่ื ความหมาย การเสรมิ สร้างสุขภาพอนามยั เปน็ ตน้ (5) ดา้ นคุณธรรม และด้านจริยธรรม ไดแ้ ก่ การพัฒนาคณุ ธรรมและจรยิ ธรรมใน การปฏบิ ตั งิ าน เช่น จรยิ ธรรมในการปฏิบัติงาน การพฒั นาคุณภาพชีวติ เพอื่ ประสิทธภิ าพในการปฏิบัตงิ าน อย่างมีความสขุ จากแนวทางการให้นิยามทีห่ ลากหลายข้างต้น พอจะสรุปได้วา่ การพฒั นาตนเองเปน็ เรื่อง ทสี่ าคัญเปน็ อย่างยงิ่ สาหรบั การดารงชีวติ ไมว่ ่าจะมีอาชีพอะไรก็แล้วแต่ต้องพฒั นาตนเองอยู่เสมอ ๆ เพราะการพฒั นาตนเองจะทาใหเ้ รามีพฒั นาการที่ดขี น้ึ มคี วามรูแ้ ละทักษะใหมๆ่ เพิม่ มากขน้ึ 3. แนวทางการพัฒนาองคค์ วามรูส้ ู่ประชาชน แนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนาประชาชนหรอื ผปู้ ระสบภยั ให้มีความรู้เก่ียวกับหลักเกณฑ์การใช้ จ่ายเงนิ ทดรองราชการเพือ่ ช่วยเหลือผปู้ ระสบภยั พิบัตกิ รณฉี ุกเฉนิ พ.ศ. 2556 ในส่วนทางการพัฒนาประชาชนหรอื ผูป้ ระสบภัยให้มีความรเู้ กีย่ วกับหลักเกณฑ์การใช้จา่ ยเงิน ทดรองราชการเพ่อื ช่วยเหลอื ผปู้ ระสบภัยพบิ ตั กิ รณฉี กุ เฉิน พ.ศ. 2556 จะสามารถทาให้ประชาชนเข้าใจใน สิทธแิ ละประโยชนท์ ต่ี นพึงไดร้ ับ อย่างถูกตอ้ ง ลดปัญหาความขัดแยง้ และข้นั ตอนการทางาน ประชาชนและ ชมุ ชน/หมู่บ้านมีศักยภาพท่เี ข้มแขง็ และยังเปน็ การช่วยตรวจสอบความโปร่งใส ปูองกันการทุจรติ ของบุคลากร ภาครฐั ไดเ้ ป็นอย่างดี ดังน้ันประชาชนตอ้ งมีองค์ความรู้ ความเข้าใจพื้นฐานตามทฤษฎกี ารเรียนรู้ ซ่ึงเปน็ สว่ นประกอบทสี่ าคัญอยา่ งยิง่ แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning Ecology) การเรยี นรู้(Learning Ecology)

14 การเรียนรู้ คือ กระบวนการทีท่ าให้มนษุ ยเ์ ปลีย่ นแปลงพฤตกิ รรมทางความคิด มนษุ ยเ์ รา สามารถเรยี นรู้ได้จาก การได้ยนิ การสมั ผัส การอา่ น การเหน็ รวมถึงผา่ นการใช้ สอื่ อปุ กรณ์ เครอื่ งมือ เป็นสว่ นส่งผา่ น ทฤษฎีการเรยี นรู้ (Learning theory) หมายถึงข้อความรทู้ ีพ่ รรณา / อธิบาย / ทานาย ปรากฏการณต์ ่างๆ เกยี่ วกับการเรยี นรู้ ซ่งึ ได้รบั การพสิ ูจน์ ทดสอบตามกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ และไดร้ ับการยอมรบั ว่าเช่อื ถือได้ และสามารถ นาไปนริ นยั เป็นหลักหรอื กฎการเรียนร้ยู ่อยๆ หรือนาไปใช้เป็นหลักในการจัดกระบวนการเรียนรู้ ใหแ้ ก่ผู้เรยี นได้ ทฤษฎีโดยทั่วไปมกั ประกอบด้วยหลักการยอ่ ยๆ หลายหลกั การในเรอื่ งของการเรยี นรู้ มผี ูใ้ หค้ วามหมายของ คาว่าการเรียนร้ไู ว้หลากหลาย นักการศกึ ษาต่างมแี นวคดิ โดยนามาจากพฒั นาการของมนษุ ย์ ในแง่มมุ ตา่ งๆ เกดิ เป็นทฤษฎที ี่แตกตา่ งกันไป อาทิ การเรยี นรู้ ( Learning) คือ กระบวนการของประสบการณท์ ท่ี าใหเ้ กดิ การเปลีย่ นแปลง พฤตกิ รรมอยา่ งคอ่ นข้าง ถาวร ซึ่งการเปลีย่ นแปลงพฤติกรรมนไ้ี มไ่ ดม้ าจากภาวะชว่ั คราว วฒุ ิภาวะ หรือ สัญชาตญาณ(Klein 1991:2) การเรียนรู้ ( Learning) คอื การเปล่ียนแปลงพฤตกิ รรมซึง่ เน่อื งมาจากประสบการณ์ (ประสบการณต์ รงหรอื ประสบการณท์ างอ้อม) การเรยี นรู้ (Learning) คอื การเปล่ียนแปลงพฤติกรรมซ่ึงเนอ่ื งมาจากประสบการณท์ ่คี นเรามี ปฏสิ มั พันธก์ ับ สิ่งแวดลอ้ มหรือจากการฝกึ หดั (สรุ างค์ โค้วตระกูล :2539) การเรียนรู้ คอื การเปลีย่ นแปลงพฤตกิ รรมซ่งึ เนื่องมาจากประสบการณ์หรือการฝึกหัด และ พฤติกรรมนน้ั อาจจะคงอยู่ระยะหนึ่ง หรอื ตลอดไปก็ได้ การเรยี นรู้ ( Learning) คอื กระบวนการทีท่ าให้คนเปลยี่ นแปลงพฤตกิ รรม ความคดิ คนสามารถเรียนได้จากการได้ยนิ การสัมผสั การอา่ น การใช้เทคโนโลยี การเรียนรขู้ องเดก็ และผใู้ หญ่จะตา่ งกนั เด็กจะเรียนรดู้ ้วยการเรียนในหอ้ ง การซกั ถาม ผ้ใู หญ่มักเรยี นรดู้ ว้ ยประสบการณท์ ีม่ อี ยู่ แต่การเรยี นรู้จะเกดิ ข้นึ จากประสบการณท์ ี่ผสู้ อนนาเสนอ โดยการปฏสิ ัมพันธ์ระหว่างผสู้ อนและผูเ้ รยี น ผสู้ อนจะเปน็ ผูท้ ่ีสรา้ ง บรรยากาศทางจติ วิทยาทเี่ อื้ออานวยต่อการเรยี นรู้ ท่ีจะให้เกิดขนึ้ เปน็ รปู แบบใดก็ได้เช่น ความเปน็ กนั เอง ความเขม้ งวดกวดขัน หรือความไม่มรี ะเบยี บวนิ ยั ส่ิงเหลา่ นี้ผู้สอนจะเป็นผ้สู ร้างเงือ่ นไข และสถานการณ์เรียนรู้ ใหก้ บั ผูเ้ รียน ดังนัน้ ผูส้ อนจะต้องพจิ ารณาเลอื กรูปแบบการสอน รวมทัง้ การสร้างปฏิสมั พันธก์ บั ผู้เรียน

15 ทฤษฎีการเรียนรู้(Learning Theory) มนษุ ยส์ ามารถรับขอ้ มูลโดยผ่านเสน้ ทางการรับรู้ 3 ทาง คอื แหล่งท่ีมา : http:// http://teacher80std.blogspot.com/2012/06/101-learning-ecology.html , มาตรฐานความรู้วิชาชีพครู นวัตกรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศทางการศึกษา 1. พฤติกรรมนิยม (Behaviorism) 2. ปัญญานยิ ม (Cognitivism) 3. การสร้างสรรคอ์ งคค์ วามรดู้ ้วยปัญญา (Constructivism) พฤติกรรมนยิ ม (Behaviorism) พฤตกิ รรมนยิ มมองผู้เรียนเหมือนกับ กระดานชนวนทีว่ ่างเปลา่ ผู้สอนเตรยี ม ประสบการณ์ ใหก้ บั ผู้เรียน เพอื่ สรา้ งประสบการณใ์ หมใ่ ห้ผ้เู รียน อาจ กระทาซ้าจนกลายเป็นพฤติกรรม ผเู้ รยี นทาในสง่ิ ท่พี วก เขาไดร้ ับฟังและจะไมท่ าการคิดรเิ ร่มิ หา หนทางดว้ ยตนเองตอ่ การเปล่ียนแปลง หรอื พัฒนาปรับปรุง เปลี่ยนแปลงสง่ิ ตา่ งๆ ให้ดขี ึ้น ปัญญานิยม (Cognitivism)

16 ปญั ญานิยมอยู่บนฐานของกระบวนการคิดก่อน แสดงพฤตกิ รรม การเปล่ียนแปลง พฤติกรรม ท่จี ะถกู สังเกต สิ่งเหล่านน้ั มันกเ็ ปน็ เพียงแต่การบ่งชวี้ ่าส่งิ น้ี กาลังดาเนนิ ต่อไปในสมองของผู้เรยี น เทา่ นน้ั ทักษะใหม่ๆ ท่จี ะทา การสะทอ้ นส่งออกมา กระบวนการประมวลผลขอ้ มลู สารสนเทศทางปญั ญา การสร้างสรรค์องคค์ วามรู้ดว้ ยปญั ญา (Constructivism) การสรา้ งสรรค์ความร้ดู ้วยปัญญาอยูบ่ นฐานของ การอา้ งองิ หลกั ฐานในสงิ่ ทพ่ี วกเราสรา้ งขึน้ แสดงใหป้ รากฏแกส่ ายตาของ เราดว้ ยตัวของเราเอง และอยบู่ นฐานประสบการณ์ของแตล่ ะบุคคล องค์ความรู้ จะถูกสร้างขน้ึ โดยผเู้ รยี น และโดยเหตผุ ลทท่ี กุ คนต่างมชี ุดของประสบการณ์ตา่ งๆ ของการเรียนร้จู ึงมี ลักษณะเฉพาะตน และมี ความแตกตา่ งกันไปในแต่ละคน ทัง้ สามทฤษฏีตา่ งมีความสาคัญเท่าเทียมกัน เมอื่ ได้การตัดสนิ ใจท่ีจะใช้ยุทธศาสตร์นี้ มีสิ่งที่ สาคัญและจาเป็นท่ีสดุ ของชีวิตทีต่ อ้ งพิจารณาทัง้ สองระดบั คอื ระดับองค์ความรขู้ องนกั เรียนของทา่ น และ ระดบั การประมวลผลทางสติปัญญาที่ ต้องการในผลงานหรอื ภาระงานแหง่ การเรยี นรู้ ระดับการประมวลผล ทางสตปิ ัญญาท่ี ต้องการสร้างผลงาน/ภาระงาน และระดบั ความชานชิ านาญของนกั เรยี นของเราน้ี การมองหา ภาพทางทฤษฎี จะมีความเป็นไปไดท้ ีส่ นบั สนนุ การมีความ พยายามท่จี ะเรยี นรู้ทางยุทธวิธบี างทีกม็ ีความ ซบั ซอ้ นและมคี วามเล่อื มล้ากนั อยู่บา้ ง และก็มคี วามจาเป็นเหมือนๆ กนั ในการวบรวมยทุ ธวิธตี า่ ง ๆ จากความ แตกตา่ งทเี่ ป็นจริง ทางทฤษฎี เมอ่ื เรามคี วามต้องการ ทีม่ า : ไตรรงค์ เจนการ สานกั วชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา, สพฐ การเรียนร้ตู ามทฤษฎีของ Bloom ( Bloom's Taxonomy)

17 แหลง่ ทีม่ า : http:// http://teacher80std.blogspot.com/2012/06/101-learning-ecology.html , มาตรฐานความรวู้ ิชาชพี ครู นวัตกรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศทางการศกึ ษา Bloom ไดแ้ บง่ การเรียนร้เู ปน็ 6 ระดบั 1. ความรู้ท่เี กดิ จากความจา (knowledge) ซง่ึ เป็นระดบั ลา่ งสดุ 2. ความเขา้ ใจ (Comprehension) 3. การประยุกต์ (Application) 4. การวเิ คราะห์ ( Analysis) สามารถแก้ปัญหา ตรวจสอบได้ 5. การสังเคราะห์ ( Synthesis) สามารถนาส่วนต่างๆ มาประกอบเป็นรปู แบบใหม่ได้ใหแ้ ตกตา่ งจากรปู เดมิ เน้นโครงสรา้ งใหม่ 6. การประเมินค่า ( Evaluation) วดั ได้ และตัดสนิ ไดว้ า่ อะไรถูกหรือผดิ ประกอบการตดั สินใจบน พื้นฐานของเหตุผลและเกณฑท์ แี่ น่ชัด การเรียนรู้ตามทฤษฎีของเมเยอร์ ( Mayor) และตามด้วย ในการออกแบบส่อื การเรียนการสอน การวเิ คราะห์ความจาเป็นเป็นสิง่ สาคัญ จุดประสงคข์ องการเรยี น โดยแบ่งออกเป็นสว่ นย่อยๆ 3 ส่วนด้วยกัน พฤตกิ รรม ควรชชี้ ัดและสงั เกตได้ เงือ่ นไข พฤตกิ รรมสาเร็จได้ควรมเี งอื่ นไขในการชว่ ยเหลอื

18 มาตรฐาน พฤติกรรมทีไ่ ด้น้ันสามารถอยใู่ นเกณฑท์ ่ีกาหนด ผู้เรียนอยใู่ นสภาพแวดลอ้ มทีเ่ ป็นจริง เน้ือหาควรถกู สร้างในภาพรวมความตอ่ เนื่อง (continuity) การเรยี นรู้ตามทฤษฎขี องบรเู นอร์ (Bruner) แหล่งทม่ี า : http:// http://teacher80std.blogspot.com/2012/06/101-learning-ecology.html , มาตรฐานความรู้วชิ าชีพครู นวัตกรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศทางการศกึ ษา ความรูถ้ กู สรา้ งหรือหลอ่ หลอมโดยประสบการณ์ ผเู้ รียนมีบทบาทรับผิดชอบในการเรียน ผู้เรียนเปน็ ผู้สรา้ งความหมายขน้ึ มาจากแงม่ ุมต่างๆ ผู้เรยี นอยใู่ นสภาพแวดล้อมที่เปน็ จรงิ ผเู้ รยี นเลอื กเนอื้ หา และกิจกรรมเอง เน้ือหาควรถูกสรา้ งในภาพรวม การเรยี นรูต้ ามทฤษฎขี องไทเลอร์ (Tylor) ความตอ่ เนือ่ ง ( continuity) หมายถงึ ในวิชาทกั ษะ ตอ้ งเปิดโอกาสให้มีการฝกึ ทักษะใน กิจกรรมและประสบการณบ์ อ่ ยๆ และต่อเน่อื งกนั การจัดช่วงลาดับ ( sequence) หมายถึง หรอื การจดั สง่ิ ทมี่ คี วามงา่ ย ไปสู่สงิ่ ท่ีมคี วามยาก ดังนัน้ การจัดกจิ กรรมและประสบการณ์ ให้มกี ารเรยี งลาดับกอ่ นหลงั เพื่อใหไ้ ดเ้ รยี นเน้ือหาที่ลึกซง้ึ ย่ิงขึ้น บรู ณาการ (integration) หมายถึง การจดั ประสบการณ์จึงควรเป็นในลักษณะท่ีชว่ ยให้ผเู้ รยี น

19 ได้เพ่มิ พูนความคิดเห็นและไดแ้ สดงพฤตกิ รรมท่สี อดคล้องกนั เนอ้ื หาทเ่ี รยี นเปน็ การเพมิ่ ความสามารถท้งั หมด ของผ้เู รียนที่จะได้ใชป้ ระสบการณไ์ ด้ในสถานการณต์ า่ งๆ กัน ประสบการณ์การเรียนรู้ จงึ เปน็ แบบแผนของ ปฏิสัมพันธ์ ( interaction) ระหว่างผ้เู รียนกับ สถานการณ์ท่ีแวดลอ้ ม ทฤษฎกี ารเรียนรู้ 8 ขัน้ ของกาเย่ ( Gagne ) ทฤษฎีของกาเยน่ ้ีจะให้ความสาคัญในการจัดลาดบั ขัน้ การเรียนรู้ เพ่ือใหผ้ ูเ้ รยี นสามารถเรยี นรู้ ได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ โดยใชส้ งิ่ เรา้ สิ่งแวดล้อมภายนอกกระต้นุ ผเู้ รยี นให้เกิดการเรียนรู้ และสงั เกตพฤติกรรม ของผ้เู รยี นว่า มีการตอบสนองอยา่ งไรเพอ่ื ท่ีจะจัดลาดบั ขั้นของการเรยี นรใู้ ห้ผเู้ รียนไดถ้ ูกตอ้ ง ทฤษฎีการเรียนรู้ 8 ข้ัน ประกอบด้วย  การจูงใจ ( Motivation Phase) การคาดหวังของผู้เรยี นเปน็ แรงจงู ใจในการเรียนรู้  การรบั รตู้ ามเปาู หมายที่ตง้ั ไว้ (Apprehending Phase) ผูเ้ รยี นจะรบั รูส้ ่ิงทส่ี อดคลอ้ งกบั ความตง้ั ใจ  การปรงุ แตง่ สิง่ ท่ีรับร้ไู ว้เป็นความจา ( Acquisition Phase) เพอ่ื ให้เกิดความจาระยะสนั้ และระยะยาว  ความสามารถในการจา (Retention Phase)  ความสามารถในการระลกึ ถงึ สิ่งทไี่ ดเ้ รียนรไู้ ปแลว้ (Recall Phase )  การนาไปประยกุ ตใ์ ช้กบั สงิ่ ทีเ่ รียนรู้ไปแลว้ (Generalization Phase)  การแสดงออกพฤติกรรมที่เรยี นรู้ ( Performance Phase)  การแสดงผลการเรยี นรู้กลบั ไปยังผู้เรียน ( Feedback Phase)ผ้เู รียนไดร้ บั ทราบผลเรว็ จะทาให้มผี ลดี และประสิทธิภาพสงู องคป์ ระกอบทสี่ าคญั ทก่ี อ่ ใหเ้ กิดการเรยี นรู้ องค์ประกอบทส่ี าคัญที่ก่อให้เกิดการเรยี นรู้ คือ  ผู้เรยี น ( Learner) มีระบบสมั ผัสและระบบประสาทในการรับรู้  สิ่งเร้า ( Stimulus) คือ สถานการณต์ า่ งๆ ที่เป็นสิ่งเรา้ ใหผ้ เู้ รยี นเกดิ การเรยี นรู้  การตอบสนอง (Response) คอื พฤติกรรมทเี่ กดิ ข้ึนจากการเรยี นรู้ การสอนด้วยส่ือตามแนวคดิ ของกาเย่

20  เรา้ ความสนใจ มโี ปรแกรมที่กระตนุ้ ความสนใจของผ้เู รียน เชน่ ใช้ การต์ ูน หรือ กราฟกิ ทดี่ งึ ดูดสายตา  ความอยากร้อู ยากเหน็ จะเป็นแรงจูงใจให้ผู้เรยี นสนใจในบทเรยี น การตั้งคาถามกเ็ ปน็ อีกส่ิงหน่งึ  บอกวัตถุประสงค์ ผู้เรียนควรทราบถงึ วตั ถุประสงค์ ใหผ้ ้เู รียนสนใจในบทเรยี นเพ่อื ใหท้ ราบว่าบทเรยี น เกีย่ วกับอะไร  กระตนุ้ ความจาผเู้ รยี น สรา้ งความสัมพนั ธใ์ นการโยงข้อมลู กบั ความรทู้ มี่ อี ย่กู ่อน เพราะสง่ิ นีส้ ามารถ ทาให้เกิดความทรงจาในระยะยาวไดเ้ มอ่ื ไดโ้ ยงถึงประสบการณ์ ผ้เู รยี น โดยการตัง้ คาถาม เกย่ี วกบั แนวคดิ หรอื เน้อื หานน้ั ๆ  เสนอเนอ้ื หา ข้ันตอนน้จี ะเป็นการอธบิ ายเนอื้ หาใหก้ ับผเู้ รยี น โดยใช้สือ่ ชนดิ ตา่ งๆ ในรูป กราฟกิ หรอื เสยี ง วดิ โี อ  การยกตัวอยา่ ง การยกตัวอยา่ งสามารถทาได้โดยยกกรณีศกึ ษา การเปรียบเทียบ เพ่ือใหเ้ ขา้ ใจได้ ซาบซึ้ง  การฝึกปฏบิ ตั ิ เพอื่ ให้เกดิ ทักษะหรือพฤตกิ รรม เป็นการวัดความเข้าใจว่าผู้เรยี นได้เรียนถูกต้อง เพอื่ ให้ เกิดการอธิบายซา้ เมอ่ื รบั ส่ิงทผี่ ดิ  การให้คาแนะนาเพม่ิ เติม เชน่ การทาแบบฝกึ หัด โดยมคี าแนะนา  การสอบ เพือ่ วดั ระดับความเข้าใจ  การนาไปใช้ กบั งานท่ีทาในการทาส่อื ควรมี เน้ือหาเพม่ิ เตมิ หรอื หวั ขอ้ ตา่ งๆ ทค่ี วรจะร้เู พิ่มเตมิ 4. แนวคิดเกย่ี วกับความเข้มแข็งของชมุ ชน แนวคิดเกีย่ วกับความเข้มแข็งของชมุ ชนไดม้ ีการกล่าวถงึ อยา่ งมากในการพัฒนาสงั คม ในขณะนี้ จนกลายเป็นกระแสที่กาลังได้รับความสนใจจากนักวชิ าการ นกั พัฒนาทัง้ หนว่ ยงานของรฐั และ เอกชน ภายใตก้ ารเปลยี่ นแปลงทางสงั คม เศรษฐกจิ การเมอื ง และวัฒนธรรม โดยจะเห็นไดจ้ ากการทีม่ คี าท่ี เกี่ยวข้องอยู่หลายคา เช่น ความเปน็ ชุมชน ประชาคม หรอื ประชาสังคม รวมถงึ ประชาคมตาบล ประชาคม จงั หวัด และองคก์ รประชาชน ซึ่งในท่ีนจ้ี ะขอกล่าวถงึ แนวคดิ เกีย่ วกับความหมาย ลกั ษณะและตวั ชวี้ ดั ของคา ดงั กลา่ ว ดังน้ี ประเวศ วะสี (2541 หนา้ 13-16) ไดใ้ ห้ความหมายของชมุ ชน วา่ หมายถึงการท่คี นจานวน หน่ึงมีวัตถุประสงคร์ ่วมกนั มีความเอ้ืออาทรต่อกนั มีความพยายามทาอะไรรว่ มกนั มกี ารเรียนรรู้ ่วมกนั ในการ กระทา ซงึ่ รวมถงึ การตดิ ตอ่ ส่อื สารกนั ความเข้มแขง็ ของชมุ ชนจงึ อยทู่ ่ี ความเป็นกลุ่มกอ้ นของสมาชิกใน

21 ชุมชน ซง่ึ จะทาให้ชุมชนมีศักยภาพสูง ความเป็นชุมชนจงึ มีลักษณะทส่ี าคัญ คือ มีวตั ถุประสงคร์ ว่ มกนั มี ความรัก มีการกระทารว่ มกัน และมกี ารเรยี นรรู้ ่วมกัน นอกจากนี้ ยังมีองคป์ ระกอบทบี่ งั เกิดข้นึ จากการกระทา รว่ มกนั คอื ความมจี ติ วญิ ญาณ และผนู้ าตามธรรมชาตแิ ละการจดั การ ความเขม้ แข็งของชุมชนสามารถแก้ไข ปัญหาไดท้ กุ อย่าง ทั้งเศรษฐกิจ จติ ใจ สังคม วัฒนธรรม ส่ิงแวดลอ้ ม การเมือง และสขุ ภาพ นอกจากน้ี ชุมชน ยังมีความหมายในลักษณะของการ มีความเป็นชุมชน ทีม่ ีความหมาย ครอบคลมุ กวา้ งถึงอาณาบรเิ วณหรอื บรบิ ทขนาดใหญท่ ่สี ามารถเชื่อมโยงติดตอ่ ถงึ กันในทางใดทางหนึ่ง หรอื อาจ พจิ ารณาถงึ ความเปน็ ชมุ ชนภายในกลุ่มองคก์ รเลก็ ๆ ทร่ี วมตวั กนั ดว้ ยความรกั ความผูกพนั ความเออื้ อาทร ความสนใจ และหรือผลประโยชนร์ ว่ มกัน ดังนัน้ ลกั ษณะของความเปน็ ชมุ ชนก็คงไมจ่ าเปน็ ตอ้ งยึดติดกบั ความเป็นชนบทหรอื ชมุ ชนชนบทก็ได้ ความเป็นชมุ ชนอาจเปน็ เร่ืองของชมุ ชนเมือง ชมุ ชนของคนช้นั กลาง ชุมชนของนกั ธุรกิจ ชุมชนของสถาบนั การศึกษา และรวมถึงความเป็นชมุ ชนของคนภายในองค์กรอีกด้วย โดยนยั ยะขององคป์ ระกอบนคี้ งจะทาใหม้ องเรื่องประชาสังคมในบรบิ ททกี่ ว้างขวางและหลากหลายมากยิ่งข้ึน (อนุชาติ พวงสาลี และบริบูรณ์ วิสารทสกุล,2541 หน้า 13) อุทยั ดลุ ยเกษม และอรศรี งามวทิ ยาพงศ์ (2540 หนา้ 9-10) ไดก้ ลา่ วถงึ ลกั ษณะของชมุ ชน ท่เี ข้มแข็ง ไว้ดังน้ี 1. ชุมชนมสี ภาพรวมเปน็ ปึกแผ่น ทัง้ ในรูปธรรมคอื สมาชิกของชมุ ชนมีศักยภาพ มีการพงึ่ พา อาศัยและร่วมมอื ในกจิ กรรมตา่ ง ๆ ทัง้ ในส่วนตัวและสว่ นรวม และในสว่ นทีเ่ ปน็ จิตวิญญาณ คือสมาชิกของ ชมุ ชนมคี ่านยิ ม ความเช่อื ตอ่ ส่งิ สูงสดุ อย่างใดอยา่ งหนึ่งร่วมกนั และมีความรวู้ ่าตนเองเปน็ สว่ นหนง่ึ ของชุมชน มีความผูกพนั ตอ่ ชมุ ชน และกับสมาชิกในชุมชน 2. ชุมชนมศี กั ยภาพท่พี งึ่ พงิ ตนเองไดใ้ นระดับสูง โดยมีปจั จัยพืน้ ฐานการดารงชพี เพ่ือ ครอบครวั และชมุ ชนเป็นของตนเอง มอี านาจในการจดั การ การตดั สนิ ใจ และการมีสว่ นรว่ มสูง 3. ชมุ ชนสามารถควบคุมและจดั การกับปญั หาต่างๆ ที่เกดิ ขนึ้ ไดด้ ว้ ยตนเองเปน็ สว่ นใหญ่ โดย อาศัยภูมิปัญญาท้อองถิน่ ความรู้ และกลไกภายในชุมชน เปน็ หลกั

22 4. ชุมชนมีการพฒั นาศกั ยภาพของตนเองไดอ้ ยา่ งต่อเนอ่ื ง โดยอาศัยกระบวนการเรียนรู้ การสรา้ งภมู ิปัญญา ความรู้ ของตนเองในดา้ นตา่ ง ๆ ซ่งึ มีผลให้ชมุ ชนมคี วามรู้ และการพฒั นาตนเอง และ ถ่ายทอดความรู้ โดยผ่านกระบวนการต่าง ๆ ไดอ้ ย่างต่อเนอื่ ง การสร้างความเขม้ แข็งของชุมชนจงึ มีจดุ เน้นอย่ทู ่ีการมีสว่ นรว่ มของประชาชน และการเพิ่มศักยภาพ ของชมุ ชนในการพฒั นา โดยเฉพาะอยู่ทอ่ี งค์กรประชาชนหรอื อาจจะเปน็ การรวมกลุ่มของประชาชน ในกิจกรรมตา่ ง ๆ นั่นก็คอื ความเข้มแข็งของชุมชนขึน้ อยูก่ บั ความเข้มแขง็ ขององค์กรประชาชน ซง่ึ สามารถ ท่ีจะแก้ไขปัญหาตา่ ง ๆ ได้ และพ่ึงตนเองได้ การเสรมิ สร้างความเข้มแขง็ ของชมุ ชนจึงตอ้ งให้ชมุ ชนมีความเปน็ องคก์ รและดาเนนิ การในรูปของคณะบคุ คล กลุ่ม ซงึ่ องค์กรประชาชนจะเกิดขึน้ ก็ต่อเม่อื ชาวบ้านบ้านศึกษา วเิ คราะห์พัฒนาการทางประวตั ศิ าสตร์ของชุมชนในแงเ่ ศรษฐกิจ สงั คม การเมอื งและวัฒนธรรม ตลอดจน พิจารณาการเปลีย่ นแปลงที่ไดเ้ กิดขึน้ และปัจจยั เงอ่ื นไขของการเปลยี่ นแปลงทั้งภายในและภายนอกชมุ ชน ในทีส่ ุดชาวบ้านก็จะก่อรปู ขึ้นเปน็ องค์กรประชาชน ซ่ึงมวี ัฒนธรรมและอดุ มการณ์ในทศิ ทางเดียวกนั ร่วมกนั พฒั นาศักยภาพขององคก์ รให้บรรลุการพึ่งตนเองในการพัฒนาในที่สุด (วิฑูรย์ เพม่ิ พงศาเจริญ ในโครงการ อาสาสมคั รเพื่อสงั คม .2527 อ้างถงึ ในสภุ างค์ จนั ทวานิช และวศิ นี ศลิ ตระกลู ,2541 หนา้ 128) นอกจากนี้ จากประสบการณข์ องนกั พัฒนาที่ได้คลกุ คลใี นชุมชนทย่ี งั มีความเป็นชมุ ชนหลงเหลืออยู่ จะพบวา่ มกั จะมีกลุ่ม ชาวบ้านอยกู่ ลุม่ หนึ่งท่ีกา้ วออกมาเป็นแถวหน้าในการพยายามหาวิธกี ารต่าง ๆ เพ่ือแก้ปญั หาของชุมชน พยายามระดมสรรพกาลงั ต่าง ๆ ไม่ว่าจะมาจากภายนอกภายในทอ้ งถ่ินของตนเองหรือแหลง่ ความรจู้ าก ภายนอก เพื่อแกป้ ัญหาของชุมชน โดยอาศยั แนวทางของการพงึ่ ตนเองและเปน็ ตวั ของตัวเอง การมกี ลมุ่ เช่นนี้ ดารงอยู่ไดน้ ัน้ เองเปน็ การอธบิ ายถงึ ความสามารถทชี่ ุมชนสามารถดารงอยไู่ ด้ (กาญจนา แกว้ เทพ . 2538 อ้างถึงใน สีลาภรณ์ นาครทรรพ,2541 หนา้ 235) องค์กรชมุ ชนหรือองค์กรประชาชนมสี ่วนสมั พันธก์ บั ความเข้มแขง็ ของชมุ ชน และเปน็ กลไกสาคญั เปน็ อย่างในกระบวนการพัฒนา องค์กรชุมชนทมี่ ีความเขม้ แข็งกจ็ ะเปน็ ตวั บง่ ช้ปี ระการหน่งึ ของศกั ยภาพของชุมชน สลี าภรณ์ นาครทรรพ (2541 หนา้ 239-254) ได้เสนอกรอบสาหรับชี้วดั องคก์ รชมุ ชนไว้ 4 ดา้ น ดังนี้ 1. ภมู ิปัญญา ระบบความเชอ่ื ระบบคุณค่า ระบบความคิดของชุมชน เปน็ ตวั ชี้วัดทส่ี าคัญอย่างยงิ่ ใน การสร้างความเข้มแข็งของชุมชน เพราะเป็นเครอื่ งยดึ เหน่ยี วเชื่อมโยงคนในชุมชนเอาไว้ดว้ ยกัน การชีว้ ดั ว่า ชุมชนใดมภี ูมิปญั ญาหรอื ไม่อยา่ งไร ดไู ดจ้ ากการสืบทอดองคค์ วามรู้หรือการสร้างสรรค์ ปรบั และพฒั นา

23 องค์ความร้ใู หเ้ หมาะสมกับยุคสมยั และเง่อื นไขสภาพของชุมชนซ่ึงสามารถสงั เกตไดจ้ าก ผู้นาความคิดของ สมาชิกในชมุ ชนเป็นผูท้ เ่ี ชอ่ื มโยง สืบทอดภูมปิ ญั ญามาสู่พธิ ีกรรมและกจิ กรรมต่าง ๆ ทีค่ วบคมุ พฤติกรรมทาง เศรษฐกิจ สงั คม วัฒนธรรมและการเมืองของสมาชกิ ในชุมชน และสงั เกตจากความคิดและพฤติกรรมของ สมาชกิ ในชมุ ชน ซ่งึ สมาชกิ ในชุมชนจะสะท้อนได้ดวี ่ามีการสืบทอดภมู ิปัญญาหรอื ไม่ โดยดจู ากทัศนคติหรือ ความคิดเห็น และพฤตกิ รรมของสมาชิกในการถือปฏิบตั ติ ามพธิ ีกรรม ความเชือ่ เหล่านั้น 2. การจดั การกลมุ่ /องคก์ รชมุ ชน องคก์ รชมุ ชนหรือกลมุ่ ชาวบา้ นนับเปน็ กุญแจสาคญั ของความ เขม้ แขง็ ของชมุ ชน เพราะเป็นรปู แบบของการรวมตวั ทางสังคมที่ทาให้เกิดอานาจทางสงั คมที่จะถ่วงดลุ กบั อานาจรัฐและอานาจเงิน สาหรบั เคร่อื งช้วี ดั เกย่ี วกบั การจดั การกลมุ่ หรือองค์กรชุมชนทมี่ ีความเขม้ แขง็ ดูได้ จาก 1) วัตถุประสงคข์ องการรวมกลุ่ม ซ่ึงอาจมลี ักษณะเป็นกลมุ่ สนใจ กลมุ่ การเรียนรู้ กลุ่มกจิ กรรมต่าง ๆ โดยมกี ารลงมอื ปฏิบัติเพ่อื แกป้ ัญหา 2) กลุ่มทเี่ ข้มแข็งจะตอ้ งมีกฎระเบยี บและกตกิ าเพอ่ื ควบคุมพฤตกิ รรมของ สมาชกิ โดยกฎระเบยี บขอ้ บังคับสมาชกิ มีส่วนร่วม 3) กลมุ่ ที่เข้มแข็งจะต้องมสี มาชกิ เขา้ มีสว่ นรว่ มในกิจกรรม ต่าง ๆ ซง่ึ สะท้อนถงึ ความเอาใจใส่ ความพรอ้ มเพรียงในการทากจิ กรรมรว่ มกัน รู้หน้าที่ และทาหน้าทดี่ ้วย ความรับผดิ ชอบ 4) กรรมการกลุม่ ถือว่าเป็นองคป์ ระกอบทส่ี าคญั ท่ีทาให้กล่มุ มีความเขม้ แขง็ ดไู ด้จากการเข้า รว่ มกิจกรรม ความบ่อยคร้งั ในการมีสว่ นร่วม ความรวดเร็วในการประชุมเพ่ือแกไ้ ขปัญหาและความโปรง่ ใสใน การจัดการเร่ืองการเงินและกระจายผลประโยชนไ์ ปสู่สมาชกิ 5) กจิ กรรมของกลมุ่ กลุ่มมกี ารดาเนินกิจกรรม ท่ีสามารถชค้ี วามเข้มแข็งของกลุม่ ได้ โดยดจู ากการดาเนนิ กิจกรรมเกย่ี วกับเศรษฐกจิ และอาชีพ เพื่อผลติ การจาหน่ายและการบรโิ ภค กิจกรรมเกี่ยวกบั สังคม วัฒนธรรม ประเพณี เช่นการจัดกิจกรรมเพือ่ สวัสดกิ ารแก่ คนด้อยโอกาส รวมถงึ การอนรุ กั ษ์ศิลปวฒั นธรรม ประเพณพี ้ืนบา้ น และกิจกรรมเก่ียวกับการจดั การ ทรพั ยากรธรรมชาติและทรพั ยากรสาธารณะของชุมชน เช่นฟืน้ ฟแู หลง่ น้า ปุา การจัดการพน้ื ทใี่ ชส้ อย ทรพั ยากรสาธารณะของชุมชนร่วมกัน และ 6) กองทุนของกล่มุ ความสามารถในการระดมทนุ ภายในของคน ในชุมชน นบั เป็นตวั ช้ีวดั ถึงศกั ยภาพและความเขม้ แขง็ ของกลมุ่ ไดเ้ ปน็ อย่างดี วัดได้จากขนาดของกองทุน ประเภทของกองทนุ ความสมา่ เสมอในการฝากออม และอัตราการเจรญิ เติบโตของกองทนุ 3. กระบวนการเรียนรแู้ ละการขยายเครอื ขา่ ยการเรยี นรู้ของชุมชน กระบวนการเรียนรนู้ ับเป็นหัวใจ สาคัญทีท่ าใหช้ ุมชนมีความเขม้ แข็ง เนอ่ื งจากเป็นการยกระดบั ความสามารถในการคดิ วิเคราะหป์ ัญหาสาเหตุ หาทางเลือกของการแก้ปญั หา การตดั สนิ ใจเลือกทางเลือกในการแกป้ ัญหาและการสรปุ บทเรยี น เพ่อื ยกระดับ

24 สตปิ ญั ญาให้สูงขึน้ กระบวนการเรยี นรูเ้ ปน็ กระบวนการท่ีครอบคลมุ ท้ังเร่ืองการปลุกจิตสานึกของคนในการ มุง่ ม่ันจะแก้ปัญหาและพงึ่ ตนเอง และเรอื่ งของการพัฒนาความรแู้ ละทักษะในการจัดการกับปญั หาใหม่ ๆ ทเ่ี กดิ ขึน้ ไดอ้ ย่างเท่าทันการเปลี่ยนแปลง สามารถวดั ไดจ้ าก 1) การศกึ ษาดูงาน ซึง่ เป็นกิจกรรมทยี่ กระดับภูมิ ปัญญาและการเรยี นรูไ้ ด้เปน็ อย่างดี 2) การจัดเวทีแลกเปล่ียนความรู้ เช่น จัดเวทเี พอื่ สรปุ บทเรียนจาก การศึกษาดูงาน จดั เวทเี พ่ือวเิ คราะห์ปัญหาใหม่และขอ้ มูลใหม่ จัดเวทเี พอื่ เช่อื มโยงเครือขา่ ย 3) การขยาย เครอื ข่ายการเรยี นรู้และความร่วมมอื วดั ไดจ้ ากการขยายเครอื ขา่ ยในด้าน มีจานวนสมาชิกเพิม่ ขึน้ จานวน องค์กรท่เี กี่ยวขอ้ ง ประเภทของงานและกิจกรรมมคี วามหลากหลาย และการยอมรับจากองค์กรภายนอก ชุมชน 4. ผลกระทบจากการดาเนินงานขององค์กรชมุ ชนในดา้ นตา่ ง ๆ ผลการดาเนนิ งานขององค์กรชุมชน คือเครื่องสะท้อนทด่ี ปี ระการหนึง่ ถึงระดบั ความเขม้ แข็งของชมุ ชน การสรา้ งเครือ่ งชี้วดั ส่วนใหญ่มกั มองไปที่ผล การดาเนินงานของกิจกรรมท่ีองค์กรชุมชนดาเนินงานอยู่ มากกว่าการใชก้ ารช้ีวัดท่กี ระบวนการ และมักมองไป ยงั ระดับปจั เจกบุคคลหรอื ระดบั ครวั เรอื นมากกวา่ ระดับชุมชน ดังนน้ั การวัดผลกระทบการดาเนนิ งานกิจกรรม ขององคก์ รชุมชน ในดา้ นเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม การเมือง หรือส่งิ แวดลอ้ ม ควรมองอยา่ งเชือ่ มโยง สัมพันธก์ นั เพอื่ สะท้อนให้เห็นความเข้มแขง็ หรือประสทิ ธิภาพของกลุม่ หรอื องค์กรชุมชน มากกวา่ มองตวั ช้ีวัด แตล่ ะด้านโดด ๆ โดยไม่เชอ่ื มโยงกบั ปัจจยั ทส่ี ่งผลให้เกดิ ผลสาเร็จนนั้ ข้นึ มา ศูนยว์ ิจัยนโยบายการศึกษา (2541 หน้า 22) ไดส้ รปุ ว่าความเขม้ แข็งของชุมชนเป็นผลมาจาก \" สภาวะพืน้ ฐาน \" นบั ตง้ั แต่วิถีชีวิต วัฒนธรรม ความเช่ือ ค่านยิ ม ภูมปิ ญั ญา ภาวะผนู้ า รปู แบบการทามา หากิน สภาพสงิ่ แวดล้อมและทรพั ยากร การปกครองตนเอง ตลอดจน \" กระบวนการทางสงั คมในชุมชน \" นนั้ ๆ เองท่ีเกย่ี วพนั ตามกนั มา เชน่ การชว่ ยเหลือเกื้อกลู กันในชุมชน การรว่ มกนั เรยี นรู้และแก้ปญั หาต่าง ๆ ด้วยกันในชมุ ชน ลกั ษณะสัมพันธภาพระหวา่ งกลมุ่ คนฝาุ ยต่าง ๆ ในชุมชนทง้ั ในวิถีชีวติ ความเป็นอย่เู ป็นต้น สภาวะพนื้ ฐานของชมุ ชนและกระบวนการทางสงั คมต่าง ๆ ในชมุ ชนนัน้ เองทจี่ ะมปี ฏิสัมพันธก์ นั และ หล่อหลอมกันเขา้ เปน็ \"พลังชมุ ชน \" ทอี่ าจเป็นรปู ธรรม ไมว่ ่าจะเป็นของการมรี ะบบเศรษฐกจิ ทม่ี ั่นคงยงั่ ยนื ใน รูปของการเกษตรผสมผสานหรอื ธรุ กจิ ชมุ ชนด้านตา่ ง ๆ การมกี ารออมทุนร่วมกันในชมุ ชนในรปู ของกลมุ่ ออมทรพั ย์หรอื ธนาคารชุมชน เพือ่ เปน็ สวสั ดิการและหลกั ประกนั ความม่นั คงให้คนในชุมชน การมสี ภาพ ครอบครวั ทีอ่ บอุ่นแนน่ แฟนู อยกู่ นั พรอ้ มหน้า การมสี ภาพแวดลอ้ มในชมุ ชนท่สี มบูรณ์ย่ังยนื ในรปู ของ

25 การร่วมกันอนุรักษ์ปุาไมแ้ ละต้นน้าลาธาร การมกี ลไกปกครองตนเองทเี่ ข้มแขง็ ในรปู ขององคก์ รทอ้ งถ่ินทม่ี ี ผลงานประจกั ษช์ ดั การมกี ารศึกษาที่เหมาะแกท่ อ้ งถิ่นในรูปของหลกั สตู รทอ้ งถ่นิ ต่าง ๆ เปน็ ตน้ พลังชุมชนในรูปตา่ ง ๆ เหลา่ น้เี องจึงจะบ่งบอกถงึ ความเขม้ แขง็ ของชมุ ชนท่ีสะท้อนใหเ้ ห็นในรปู ของ การกนิ ดีอยดู่ ี การเอื้ออาทร ความสัมพนั ธอ์ ันอบอุน่ ระหว่างสมาชิกของชมุ ชนและการมีสภาพแวดล้อมที่ อุดมสมบูรณ์ และจะเปน็ ความเขม้ แขง็ ทช่ี มุ ชนใช้ในการเผชิญกบั \"แรงปะทะ\" ตา่ ง ๆ จากโลกภายนอก ไม่ว่าจะเปน็ แรงปะทะจากกระแสเศรษฐกจิ ทนุ นยิ มกระแสการเมอื งระดับชาติและทอ้ งถิน่ กระแสสือ่ มวลชน ซึ่งชุมชนจะไดใ้ ชค้ วามเขม้ แข็งนีใ้ นการตา้ นแรงปะทะตา่ ง ๆ ด้วยการพินจิ พิเคราะห์ ไตร่ตรองและเลอื กสรร วธิ ชี วี ติ และวิถีทางพฒั นาทเ่ี หมาะสมใหแ้ กต่ นเอง แนวคิดการสร้างความเข้มแข็งใหก้ บั ชมุ ชน ในขณะนี้ ทม่ี กี ารกล่าวถึงกนั มาก คอื แนวคิดประชาสังคม ตาบล โดยมี องค์การบรหิ ารส่วนตาบลเป็นศนู ยก์ ลาง และมกี ลุ่ม องค์กร ของชาวบ้านหน่วยงานทัง้ ของรฐั และ เอกชน เขา้ ไปร่วมมอื การรวมพลังใจ พลังความคิด พลังกาย เพอ่ื ร่วมกันสรา้ งสรรค์และแกป้ ญั หาต่าง ๆ ในชุมชนระดับตาบล แนวคดิ นจ้ี ึงมคี วามสาคญั และจาเป็นเร่งด่วน ซง่ึ ต้องอาศัยความรคู้ วามเข้าใจ และการ สร้างจิตสานึกร่วมในการทางานเพ่อื ชมุ ชนร่วมกัน การทีจ่ ะสร้างความเข้มแข็งใหก้ บั ชมุ ชนตามแนวคดิ ประชาสังคมตาบลน้ี สมพนั ธ์ เตชะอธกิ และคณะ (2541 หนา้ 32-35 ) กลา่ ววา่ ข้ึนอยกู่ ับเงอื่ นไข 14 ประการ ดงั นี้ 1. โครงสร้างพนื้ ฐานที่เออ้ื ต่อความเป็นประชาสังคม อันประกอบด้วยการมกี ล่มุ องคก์ ร จานวนคน สถานที่ การพบปะ ประเดน็ พดู คุย ความใกลช้ ิดและการส่อื สาร วา่ ทั้งหมดนมี้ มี ากน้อยเพยี งไร 2. กระบวนการตัดสนิ ใจและการเรียนร้ขู องชมุ ชน ว่ามสี ว่ นรว่ มในการแลกเปล่ยี นและหาข้อสรุปใน การแกไ้ ขปญั หาอย่างไร 3. ภาวะผนู้ า วา่ มจี านวนมากน้อยเพียงใด กระจายตวั หรือไม่ ผนู้ ามคี วามสมั พนั ธ์กับสมาชิกหรอื ไม่ และคุณสมบตั ใิ นการติดตามปัญหา การเรียนรู้ ความเปน็ กลาง และมองกว้างไกลหรือไม่ 4. กระบวนทัศนเ์ กย่ี วกับการพัฒนาแบบมีส่วนรว่ ม ในการใหค้ วามสาคัญกับการดึงคน การพฒั นา ศกั ยภาพของสมาชิก การเนน้ กลมุ่ วา่ มีอานาจและพลงั ในการเปลย่ี นแปลงและความรับผิดชอบรว่ มกนั 5. ความสัมพันธ์ระหวา่ งคนในชุมชนกบั สถาบนั ตา่ งๆ ทั้งวดั โรงเรียน หนว่ ยงานราชการตา่ งๆ 6. ความเป็นชมุ ชนและการหาทางออกร่วมกนั โดยศกึ ษาประวัติศาสตรจ์ ากคาบอกเล่าการทา กจิ กรรมร่วมกัน การดึงเอาคนท่ียงั ไม่สนใจงานพฒั นามาเขา้ ร่วม

26 7. บทบาทของผูห้ ญิงในการเป็นผูน้ าและเขา้ ไปมสี ่วนร่วมในกิจกรรมการพัฒนา 8. การใหค้ วามสาคญั กับองคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบล (อบต.) ในฐานะเปน็ ศนู ย์กลาง แกนกลางของการ เสริมสร้างความเขม้ แขง็ ทัง้ น้เี พราะมีทรพั ยากรจานวนมาก ท้ังในเรื่องคน ทุน วสั ดอุ ปุ กรณ์ และอานาจหน้าที่ 9. การมองเหน็ คณุ ค่าและมรดกทางวัฒนธรรมที่มที ง้ั ความเหมือนกันและแตกต่างกันในแตล่ ะพื้นทีใ่ น การนามาใชป้ ระยกุ ต์ เพ่อื เสรมิ สรา้ งความเข้มแขง็ ตอ่ จากรากฐานเดมิ ทางวฒั นธรรม 10. การบรหิ ารจดั การและกฎระเบยี บ ทเ่ี อ้อื อานวยและเปน็ ปัญหาอปุ สรรคในการทางาน การบริหาร บคุ คล กลมุ่ โครงการ การบัญชี การเงนิ การตรวจสอบ การบันทึกการประชมุ การวางแผนแบบมสี ่วนร่วม ล้วนเปน็ เร่อื งท่ีตอ้ งพฒั นาเพิ่มเตมิ ภายใต้สภาวะความรู้ ความสามารถของชุมชนประยุกตเ์ ข้ากับหลกั วชิ าการ สากล 11. การระดมทนุ ภายในและภายนอกชมุ ชน การเสนอแนวคดิ หรือหลักการท่ีดแี ตข่ าดทรัพยากรทุนใน การดาเนนิ งาน กท็ าใหไ้ ม่สามารถเกดิ กจิ กรรมการแก้ไขปญั หาท่ีเปน็ จริงในชมุ ชนได้ ดงั นน้ั ชมุ ชนจึงตอ้ ง พึ่งตนเองทางเศรษฐกิจ ในการระดมทนุ ภายในก่อนต่อเม่อื ขาดแคลนจงึ หาแหลง่ สนบั สนนุ จากภายนอก โดยดารงศักด์ศิ รแี ละความอิสระในการทางานของชมุ ชน 12. นโยบายและกลไกรัฐ ที่มีอิทธิพลลงไปสูช่ มุ ชนและพยายามจัดต้งั องคก์ รให้เป็นระบบย่อยใน การ ขยายนโยบายจากศนู ย์กลางสรา้ งเปน็ กลไกของภาครฐั ลกั ษณะดังกลา่ ว เออื้ อานวยหรือเป็นอุปสรรคต่อการ เสริมสร้างความเข้มแข็งของชมุ ชน 13. การจดั การกับความขดั แย้งภายในและภายนอกชุมชน มกี ระบวนการท้ังแบบด้งั เดิม โใดชยว้ ัฒนธรรม ชมุ ชนและสนั ตวิ ธิ ีอยา่ งไรบา้ ง จงึ ทาใหล้ ดความขัดแยง้ และหนั มาเสริมสรา้ งความเข้มแข็งแก่ชมุ ชนร่วมกนั 14. กระบวนการทางานพฒั นา ชุมชนมีกระบวนการหรือเครอื่ งมอื ในการทางานอย่างไรบ้าง จงึ ทาให้ กิจกรรมพฒั นาประสบความสาเรจ็ ซง่ึ เคร่อื งมือท่ีสาคญั ในที่นค้ี ือ กระบวนการวางแผนแบบมีส่วนรว่ มของคน ทกุ คนทุกกล่มุ ในตาบล แนวคิดเก่ยี วกับการสร้างกลมุ่ และเครือข่าย การรวมตวั ของกลุ่มและองค์กรประชาชนเข้าเปน็ เครือขา่ ย จึงเป็นการพฒั นาของพลงั ในการเก้อื กลู พลงั สร้างสรรค์ กาญจนา แก้วเทพ (2540 หนา้ 21-22) ไดอ้ ธิบายข้นั ตอนการสร้างเครือขา่ ยและการระดม ความรว่ มมือจากภายนอก ไว้ดงั น้ี 1. ขั้นกอ่ ร่างสร้างกล่มุ ในขนั้ ตอนแรกน้ี อาจจะประกอบดว้ ย 2 ขนั้ ตอนยอ่ ย ๆ ทอี่ าจจะทาให้ได้ พรอ้ มๆ กันหรอื เหล่อื มลา้ กัน คอื ขั้นการวิเคราะหช์ มุ ชนและการแสวงหาทางเลอื กทากิจกรรม

27 1) ขั้นการวิเคราะห์ชุมชน นับเปน็ ขน้ั ตอนทเ่ี ปน็ หวั ใจท่ีสุดของการทางานพฒั นาเน้ือหาของ การวิเคราะหช์ มุ ชน ประกอบด้วย การ “รู้เขา รู้เรา” เน่อื งจากในด้านหนงึ่ งานพัฒนากเ็ ปน็ กระบวนการ ตอ่ สู้กบั ปญั หา โดยทผี่ ูต้ อ่ สูร้ ู้จักจดุ แขง็ และจุดออ่ นของตนและผู้อน่ื ผลทต่ี ้องการให้เกดิ ข้ึนในขัน้ ตอนน้ี คือ การเพ่มิ พลงั ความร้ขู องชาวบ้านในการจดั ลาดับความสาคัญของปญั หา การมองเหน็ สาเหตหุ ลกั สาเหตรุ อง สาเหตุร่วม การตรวจสอบสาเหตุทแ่ี ท้จริง รวมทั้งตรวจสอบการวเิ คราะห์ของตวั เองกบั คนอื่น ๆ ในชมุ ชน 2) ขัน้ การแสวงทางเลอื กเพื่อทากจิ กรรม เนื้อหาของขัน้ ตอนนีค้ ือ การระดมความคิดเพ่อื เลือกทากจิ กรรมก่อนหลงั ให้พอเหมาะกับความสามารถของชมุ ชน วธิ กี ารแสวงหาทางเลือกน้ันนอกเหนอื จาก ระดมความคิดในกลมุ่ ตนเองแล้ว วิธกี ารทอ่ี งคก์ รชมุ ชนในภาคอสี านนยิ มกระทาคอื การศกึ ษาดูงานของกลมุ่ พัฒนาอ่ืน ๆ เพือ่ เปน็ การขยายฐานความรูใ้ นเรอื่ งการแกป้ ัญหา การคดิ คาดการณล์ ว่ งหน้า (Anticipation) ถงึ ปญั หาทอ่ี าจจะเกดิ ขึ้นในอนาคต การประเมินความความเป็นไปได้ในการทากจิ กรรม รวมทงั้ การประเมนิ โอกาส (Opportunities) และขดี จากัด (Limits) กลมุ่ 2. ขั้นลงมอื ปฏบิ ัติการ ข้ันตอนนเ้ี ป็นข้ันตอนท่สี มั พนั ธ์กบั ขั้นตอนแรกท่ผี ่านมา คือ หากกล่มุ สามารถ วเิ คราะหป์ ัญหา และศักยภาพของตนเองได้ใกล้เคียงความจรงิ และมีประสบการณก์ ว้างขวางใน การหา ทางออก กจ็ ะสามารถเลอื กกจิ กรรมแรก ๆ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสมกับธรรมชาตขิ องกลมุ่ ตัวอยา่ งทแี่ สดงให้เหน็ ได้ บ่อย ๆ ครัง้ ก็คอื ความเขา้ ใจใจเปูาหมายของการรวมกลมุ่ อนั เป็นกจิ กรรมในขั้นแรก ในกรณีของสังคมไทย น้นั บรรดากลมุ่ สหกรณ์ กลุ่มออมทรัพยจ์ านวนไมน่ อ้ ยที่ไมว่ ่าจะเขยี นวตั ถปุ ระสงคเ์ อาไวอ้ ย่างไร แต่ในการ ปฏบิ ตั สิ มาชกิ มักรบั รวู้ า่ กลมุ่ เหล่านี้ก็คือ “กลมุ่ กทู้ รพั ย์ ” นัน่ เอง ความเขา้ ใจดังกล่าวทาให้กจิ กรรมของ สมาชิกวนเวยี นอยกู่ บั “การกเู้ งิน” มากกวา่ “การออมเงนิ ” เปน็ ตน้ ในการเลือกทากจิ กรรมนี้แรก ๆ นมี้ หี ลกั การสาคญั บางประการท่ตี อ้ งยึดเอาไว้ เช่น “หลักเรื่องการ พยายามพ่งึ ตนเอง ใช้ทรพั ยากรและความพยายามของตวั เองใหม้ ากท่ีสดุ ” 3. ข้ันขยายตวั ลกั ษณะการขยายตวั ขององคก์ รชุมชนน้ันจะมอี ยู่ 2 ทิศทาง ทิศทางแรก คอื การขยาย ประเภทของกิจกรรม อีกทศิ ทางหนงึ่ เปน็ การขยายแนวคดิ และกจิ กรรมในแงข่ องพนื้ ที่ สาหรับเหตผุ ลของ การขยายกิจกรรมนั้น คงจะไมแ่ ตกตา่ งไปจากวธิ คี ดิ ของระบบธรุ กจิ หากทวา่ การเผยแพร่แนวคดิ ไปยังกลุ่มอืน่ ๆ นัน้ นา่ จะมเี หตผุ ลอยู่ 2 – 3 ประการ ประการแรก เนื่องจากสานึกเดมิ ของชาวบา้ นท่ที ราบว่าคนคนเดยี ว บา้ นบ้านเดยี ว ชุมชนเดยี ว ย่อมมขี ีดจากัดเรื่อง ทรพั ยากร หรอื แม้ไม่มพี อ กอ็ าจจะไม่สมา่ เสมอ กลยทุ ธใ์ น การแก้ไขจึงเปน็ การสรา้ งเครือข่ายขน้ึ มา 4. ข้ันพลังคือสามคั คี ในขณะท่ใี นข้นั ตอนทสี่ ามนัน้ จะเปน็ ไปตามหลักขอ”งสามัคคีคอื พลัง” หลงั จาก กลุ่มมคี วามเข้มแข็งแลว้ ความเข้มแข็งดังกลา่ วกจ็ ะสามารถระดมความรว่ มมือจากกล่มุ บุคคลภายนอกท่ี

28 เรยี กว่า “องค์กรพนั ธมติ ร” รปู แบบการสาแดงพลงั ของความสามัคคี นอกจากจะเปน็ ไปในรูปแบบของ การ ต่อรอง เป็นหลกั ธรรมชาตทิ วี่ า่ ย่ิงกลมุ่ ชาวบา้ นกลมุ่ ใดมีความเข้มแขง็ มาก สามารถสาแดงพลังในรปู ต่าง ๆ ได้ มากก็จะยง่ิ ระดมความสามคั คแี ละการยอมรบั จากบุคคลภายนอกไดม้ ากยิ่งขนึ้ แนวคดิ เกี่ยวกบั กระบวนการมีสว่ นรว่ ม กระบวนการมสี ว่ นรว่ มของประชาชนในงานพฒั นาน้ัน ประชาชนจะต้องเข้ามามสี ว่ นร่วมในทกุ ขนั้ ตอนของการปฏบิ ตั งิ าน โดยมีนกั พัฒนาหรอื นกั วชิ าการจากภายนอกเปน็ ผสู้ ่งเสรมิ และสนบั สนุนในดา้ นต่าง ๆ เชน่ ขอ้ มลู ข่าวสาร เทคโนโลยี ฯลฯ จากการทบทวนวรรณกรรมทเี่ ก่ยี วข้องกบั กระบวนการมสี ่วนรว่ ม (เจิมศักด์ิ ปิน่ ทอง, 2526 หน้า 10) ได้กลา่ วถงึ กระบวนการมสี ่วนร่วมวา่ โดยส่วนใหญ่กระบวนการมีส่วนร่วม จะเริ่มจากการคน้ หาปัญหาและสาเหตุ การวางแผนดาเนนิ กิจกรรมแกไ้ ขปัญหา การปฏบิ ตั งิ าน การรว่ มรับ ผลประโยชน์ และการตดิ ตามประเมินผล นอกจากนี้ อคนิ รพีพัฒน์ (2531, หน้า 49) ไดก้ ลา่ วถงึ กระบวนการมีส่วนร่วมของชาวบ้านในการพฒั นา ซ่ึงมี 5 ระดับ คือ 1. ชาวบ้านมีสว่ นร่วมในการค้นหาปัญหา การพิจารณาปญั หา และจดั ลาดับความสาคญั ของปญั หา 2. ชาวบ้านมีสว่ นร่วมในการคน้ หาสาเหตุแห่งปัญหา 3. ชาวบา้ นมีส่วนรว่ มในการค้นหา และพิจารณาแนวทางวธิ กี ารในการแกป้ ัญหา 4. ชาวบา้ นมีส่วนรว่ มในการดาเนนิ กิจกรรมเพอื่ แก้ปัญหา 5. ชาวบ้านมีส่วนร่วมในการประเมินผลของกจิ กรรมการพัฒนา ส่วนบณั ฑร อ่อนดา อ้างถงึ ใน ปารชิ าติ วลัยเสถยี รและคณะ (2543 หนา้ 140) กล่าวถงึ การมสี ่วน ร่วมตามข้ันตอนในการพัฒนา ซงึ่ เป็นการวัดเชิงคุณภาพ ออกเปน็ 5 ขน้ั ตอน ดงั น้ี ขั้นตอนที่ 1 การมีสว่ นร่วมในขน้ั การรเิ รมิ่ การพัฒนา ซึง่ เป็นข้ันตอนที่ประชาชนเขา้ มามสี ่วนร่วมใน การค้นหาปัญหาและสาเหตุของปัญหาภายในชมุ ชน ตลอดจนมีส่วนร่วมในการตดั สนิ ใจกาหนดความตอ้ งการ ของชุมชน และมสี ว่ นในการจดั ลาดบั ความสาคัญของความต้องการด้วย ขั้นตอนที่ 2 การมสี ่วนร่วมในขนั้ การวางแผนในการพฒั นา เปน็ ข้นั ตอนท่ปี ระชาชนมสี ่วนรว่ มในการ กาหนดนโยบาย และวตั ถปุ ระสงคข์ องโครงการ กาหนดวธิ ีการ และแนวทางการดาเนินงาน ตลอดจนกาหนด ทรพั ยากรและแหล่งทรัพยากรทีจ่ ะใช้

29 ขั้นตอนท่ี 3 การมสี ว่ นรว่ มในข้นั การดาเนินการพัฒนา เปน็ ขัน้ ตอนท่ปี ระชาชนมีส่วนร่วมใน การสรา้ งประโยชน์โดยการสนบั สนุนทรพั ย์ วัสดุอปุ กรณแ์ ละแรงงาน หรอื เข้าร่วมบรหิ ารงาน ประสานงาน และดาเนนิ การขอความชว่ ยเหลือจากภายนอก ขั้นตอนที่ 4 การมีส่วนรว่ มในข้นั การรับผลประโยชน์จากการพัฒนา เป็นขน้ั ตอนทปี่ ระชาชนมสี ่วน ร่วมในการรบั ผลประโยชนท์ พ่ี งึ ได้รับจากการพฒั นา หรือยอมรับผลประโยชน์อันเกิดจากการพฒั นาท้งั ดา้ นวตั ถุ และจิตใจ ข้นั ตอนท่ี 5 การมีสว่ นรว่ มในขั้นประเมินผลการพฒั นา เปน็ ข้นั ตอนท่ปี ระชาชนเข้าร่วมประเมินวา่ การพัฒนาทไ่ี ดก้ ระทาไปนัน้ สาเรจ็ ตามวัตถุประสงคเ์ พียงใด ซง่ึ ในการประเมนิ อาจปรากฏในรูปของการประเมนิ ยอ่ ย (Formative Evaluation) เปน็ การประเมนิ ผลกา้ วหนา้ เปน็ ระยะ ๆ หรอื กระทาในรูปของการประเมินผล รวม (Summative Evaluation) ซง่ึ เป็นการประเมนิ ผลสรุปรวบยอด จะเหน็ ไดว้ ่ากระบวนการมสี ่วนร่วมเรม่ิ จากการศกึ ษาชมุ ชนโดยนกั พฒั นารว่ มกบั ชาวบา้ นในชุมชน ร่วมกนั เรยี นรู้สภาพความเปน็ อยู่ การประกอบอาชีพ ทรัพยากรทมี่ ใี นชุมชน และปญั หาต่าง ๆ ของชมุ ชน เพื่อใช้เป็นข้อมลู พืน้ ฐานในการวางแผนแก้ไขปญั หา การศกึ ษาชมุ ชนจะช่วยกระตุน้ ให้ชาวบา้ นเกดิ ความ ตระหนกั ถึงปัญหาทเี่ กดิ ขน้ึ และรวมกลมุ่ กนั วางแผนแกไ้ ขปญั หาโดยนักพัฒนาจะเปน็ ฝุายกระตุ้นให้ชาวบา้ น แสดงความคิดเห็น ดงั ที่ วริ ัช วริ ัชนิภาวรรณ (2530 หนา้ 61-63) ไดก้ ลา่ วว่า กระบวนการในการมสี ว่ นร่วม ในการพฒั นาชนบทมี 4 ขัน้ ตอน คือ 1. การศกึ ษาชมุ ชน คอื การค้นหาปญั หา และความต้องการของชมุ ชนโดยนักพัฒนาศกึ ษาและเรยี นรู้ สภาพความเป็นอยูข่ องชาวบา้ น ทรัพยากรสง่ิ แวดลอ้ มตา่ ง ในชุมชนร่วมกับประชาชน โดยใชว้ ิธกี ารสงั เกตุ และสมั ภาษณ์ทั้งทางตรง/ทางออ้ ม ขอ้ มูลบางสว่ นอาจหาได้จากเอกสาร / งานวิจยั 2. การวางแผนเพ่ือแกป้ ัญหา โดยมกี ารรวมกลมุ่ กันอภปิ ราย ถกเถยี ง แสดงความคดิ เหน็ นักพฒั นา เป็นผู้ประสานงาน โดยคอยจดั ลาดบั ผู้อภปิ รายใหข้ อ้ เท็จจรงิ และสรุปประเด็นสาคัญเป็นหลัก สว่ นชาวบา้ น ควรไดม้ โี อกาสเขา้ มาร่วมอภปิ รายแสดงความคิดเห็นอย่างเต็มท่ี และนกั พัฒนาตอ้ งกระตุ้น เรง่ เรา้ ให้ชาวบ้าน แสดงความคดิ เห็นใหม้ ากท่ีสุด 3. การลงมือปฏบิ ตั ิตามแผนหรอื วธิ กี ารท่ีได้รว่ มกนั ตดั สินใจแลว้ จากขั้นตอนท่ี 2 โดยชาวบ้านมสี ว่ น รว่ ม ในขั้นตอนนี้จะตอ้ งได้ร่วมดว้ ยความศรัทธา และเชอื่ มั่นในตนเองที่จะพัฒนาชมุ ชน 4. การประเมินผลงาน โดยชาวบา้ นและนักพัฒนาจะร่วมกันกาหนดข้ันตอนยอ่ ย ๆ ต่าง ๆ ในการ ทางานประเมนิ ผล ตลอดจนดูแลปญั หาที่อาจเกิดขึ้นในระหว่างประเมนิ ผล เพ่ือทจี่ ะไดแ้ กไ้ ขทนั ที

30 ปาริชาติ วลยั เสถยี ร และคณะ (2543 หนา้ 143) ได้สรุปวรรณกรรมทเ่ี กยี่ วข้องกบั กระบวนการมสี ว่ น รว่ ม จะพบว่าโดยทว่ั ไป กระบวนการมีส่วนรว่ ม มีดังต่อไปนี้ 1. การมีสว่ นร่วมในการศึกษาชุมชนจะเปน็ การกระต้นุ ใหป้ ระชาชนไดร้ ว่ มกนั เรียนรสู้ ภาพของชุมชน การดาเนนิ ชวี ิต ทรพั ยากรและสง่ิ แวดลอ้ ม เพอื่ ใช้เป็นข้อมลู เบ้อื งตน้ ในการทางาน และรว่ มกนั ค้นหาปัญหา และสาเหตขุ องปัญหา ตลอดจนการจดั ลาดับความสาคัญของปญั หา 2. การมสี ว่ นร่วมในการวางแผนโดยจะมีการรวมกลมุ่ อภิปรายและแสดงความคิดเห็น เพอ่ื การกาหนด นโยบาย วัตถุประสงค์ วธิ กี าร แนวทางการดาเนินงานและทรพั ยากรท่จี ะต้องใชก้ ารมีส่วนร่วมในการ ดาเนินการพฒั นา โดยการสนับสนุนด้านวสั ดุ อุปกรณ์ แรงงาน เงนิ ทนุ หรอื เข้ารว่ มบรหิ ารงานการใช้ ทรพั ยากร การประสานงาน และดาเนนิ การขอความช่วยเหลือจากภายนอก 3. การมสี ว่ นรว่ มในกา รรบั ผลประโยชน์จากการพฒั นา เป็นการนาเอากิจกรรมมาใช้ให้เกดิ ประโยชน์ ทง้ั ดา้ นวตั ถุ และจติ ใจโดยอยบู่ นพืน้ ฐานของความเท่าเทยี มกันของบคุ คล และสงั คม 4. การมสี ่วนรว่ มในการติดตาม และประเมินผลการพัฒนา เพอ่ื ทจี่ ะแกไ้ ขปญั หาตา่ ง ๆ ที่เกิดขึน้ ได้ ทนั ที จากประสบการณใ์ นการทางานพื้นที่ภาคสนามของคณะผู้วจิ ยั ซึง่ ปฏิบตั งิ านรว่ มกบั ชมุ ชนตาม โครงการตา่ ง ๆ เชน่ การตดิ ตามการดาเนนิ งานการบรหิ ารการจดั การกองทุนหมู่บ้านและชมุ ชนเมอื ง ทาให้ได้ ข้อสรปุ ว่า การสร้างเครือขา่ ยแหง่ การเรียนรู้ เพ่ือให้มีการเชอ่ื มโยงกลมุ่ คนเขา้ หากนั จะตอ้ งมีองค์ประกอบที่ สาคัญ คอื 1. การรบั รูม้ ุมมองรว่ มกนั สมาชกิ ท่ีเข้ามาอยู่ในเครอื ข่าย ต้องมีความสนใจและรบั รรู้ ว่ มกนั ถึงเหตผุ ล การรว่ มกันเป็นเครอื ข่าย อาทิ มีความเข้าใจในปญั หา และมสี านกึ ในการแก้ไขปญั หารว่ มกัน และสิ่งทผี่ กู โยงสมาชกิ ของเครอื ขา่ ยเข้าหากัน คือ วัตถุประสงค์ที่ตอ้ งการบรรลุรว่ มกนั อย่างตอ่ เนือ่ งไปเรื่อย ๆ ความสัมพนั ธ์ระหว่างสมาชิกในเครอื ข่าย จะเป็นความสัมพันธใ์ นเชงิ การแลกเปลยี่ น อาทเิ ชน่ ในเรื่องการใช้ เครอื่ งมือ เคร่ืองจกั ร อปุ กรณ์สนบั สนุนความเชี่ยวชาญในวชิ าชีพ งบประมาณทรัพยากรตา่ ง ๆ หรือมพี บปะ พดู คยุ แลกเปลี่ยนความคดิ เห็นซง่ึ กนั และกนั มีกิจกรรมร่วมกัน เป็นตน้ 2. การมวี ิสยั ทศั น์รว่ มกัน เป็นการมองภาพของจุดมุ่งหมายในอนาคตรว่ มกันในกลุม่ การรบั รู้เขา้ ใจ ถงึ ทศิ ทางเดยี วจะทาให้ขบวนการเคลอ่ื นไหวมพี ลงั สามารถเกิดเอกภาพ และช่วยบรรเทาความขัดแย้งหรือ ปญั หา อนั เกดิ จากมมุ มองความคิดทีแ่ ตกตา่ งกนั ได้ 3. การมผี ลประโยชนแ์ ละความสนใจร่วมกนั เครอื ข่ายเกดิ จากการทส่ี มาชิก แต่ละคนต่างกม็ คี วาม ต้องการของตนเอง แตค่ วามต้องการเหล่าน้ันไมส่ ามารถบรรลผุ ลสาเร็จได้ หากต่างคนต่างอยู่

31 4. การเสริมสร้างซง่ึ กันและกัน จะทาใหเ้ ครอื ข่ายดาเนินไปอย่างตอ่ เนอื่ ง โดยทจ่ี ดุ แขง็ ของฝุายหน่ึง ไปชว่ ยแกจ้ ุดอ่อนของอกี ฝาุ ยหน่งึ จะทาใหผ้ ลประโยชนท์ ่เี กดิ จากการรวมตัวกนั เปน็ เครอื ขา่ ยมากกวา่ การไม่ สรา้ งเครอื ขา่ ย 5. การพงึ่ พิงร่วมกัน จะทาให้งานสาเรจ็ ได้ เนือ่ งจากข้อจากัดของสมาชิกในเครอื ข่ายท้ังทางดา้ น ทรพั ยากร ความรู้ เงนิ ทนุ กาลังคน ฯลฯ สมาชิกเครอื ข่ายไม่สามารถดารงอย่ไู ดด้ ้วยตวั เอง จงึ มคี วาม จาเป็นตอ้ งพงึ่ พาอาศัยกนั จากการศึกษาค้นควา้ ปจั จัยต่างๆ ลว้ นมผี ลกระทบตอ่ ประสิทธิภาพของการชว่ ยเหลือ ผปู้ ระสบภัยทัง้ ส้นิ เนือ่ งจากการท่บี ุคลากร เจา้ หน้าทขี่ องรัฐ และประชาชนผู้ประสบภัยถ้าขาดองค์ความรู้ ในเร่อื งตา่ งๆ ทง้ั สิทธิ บทบาทหน้าที่ ความรู้ ความเขา้ ใจ ความชานาญในการด้านระเบยี บ กฎหมาย หลักเกณฑ์ ตา่ งๆ แล้วยอ่ มเกิดปญั หาซ่ึงเปน็ นาส่กู ารขัดแยง้ ระหวา่ ง บคุ คล องคก์ ร และสงั คมส่วนรวมได้ กรอบแนวคิดในการศึกษา ตวั แปรอสิ ระ ตัวแปรตาม ปจั จัยสว่ นบคุ คล ไดแ้ ก่ ความสาเรจ็ ในการบริหารจัดการ 1. เพศ 2.อายุ การใหค้ วามช่วยเหลอื ผ้ปู ระสบภัย 3. ระดบั การศึกษา ของจังหวัดปทุมธานี 4. สถานภาพสมรส 5. รายได้ 6. อาชีพ สนบั สนุนด้านต่างๆ ดงั น้ี - ดา้ นบคุ ลากร - ดา้ นงบประมาณ การศึกษาเอกสารทีเ่ กี่ยวข้องในการวจิ ัย

32 5. งานวจิ ัยท่เี กยี่ วข้อง ร.อ.หญิง สถุ ริ า สขุ ถริ เดช (2544 : 66-67) ท าการศกึ ษาเรอ่ื ง ความต้องการในการพัฒนา บุคลากรของข้าราชการ ส านกั งานปลัดบญั ชีกองทพั บก 5 ดา้ น คอื ด้านความรู้และทกั ษะเกย่ี วกบั งานใน หนา้ ท่ี ,ด้านด้านภาษาองั กฤษเทคโนโลยีสารสนเทศ ,ดา้ นความรทู้ วั่ ไป ,ด้านจติ ใจและนนั ทนาการ พบวา่ ข้าราชการมคี วามต้องการโดยรวมอยู่ในระดบั มากทกุ ด้าน เม่อื พจิ ารณารายข้อ พบว่า การจัดกิจกรรมเพื่อการ พฒั นาดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศ มีระดบั ความต้องการมากเปน็ ระดับแรกรองลงมา คือ ด้านความรทู้ ่วั ไป ด้านความรู้และทกั ษะเกยี่ วกับงานในหน้าท่ี ส่วนกิจกรรมดา้ นจติ ใจและนนั ทนาการเปน็ กิจกรรมท่ีขา้ ราชการ มคี วามตอ้ งการเป็นลาดบั สุดท้ายอาจเป็นเพราะการจดั กจิ กรรมเพือ่ พัฒนาความรู้ดา้ น ๆสามารถสรา้ ง ความกา้ วหนา้ ของกาลงั พลในสายงานปลัดบญั ชีทาให้กาลงั พลตืน่ ตวั ท่จี ะพัฒนาตนเองในด้านตา่ ง ๆ มากกวา่ ทจ่ี ะพัฒนาดา้ นจติ ใจและนนั ทนาการ พจนา วรรณเสวี ( 2546 : 45) ท าการศึกษาเรื่อง ความตอ้ งการพฒั นาบุคลากรของ ข้าราชการองค์การบริหารสว่ นจังหวดั ตาก การศกึ ษาระดบั ควานต้องการพัฒนาในภาพรวมพบวา่ ข้าราชการ มีความต้องการพัฒนาโดยรวมมากทกุ ด้าน เมอ่ื พิจารณารายด้าน พบวา่ ความต้องการพัฒนาด้านเทคโนโลยี สารสนเทศ มีระดบั ความต้องการมากท่สี ุดรองลงมาตามลาดบั คือ ดา้ นความรแู้ ละทักษะเฉพาะของงานแต่ละ ตาแหน่ง ด้านความรทู้ ่ัวไปในการปฏบิ ัติงาน ดา้ นภาษาองั กฤษ ดา้ นการบริหาร ดา้ นคุณสมบตั ิสว่ นตัว คณุ ธรรม และจรยิ ธรรมและกจิ กรรมที่มีความตอ้ งการนอ้ ยที่สดุ คือ ดา้ นนันทนาการ ท้งั นี้อาจเป็นเพราะ ในโลกปจั จุบนั เปน็ ยคุ ขอ้ มลู ข่าวสาร การพัฒนาเทคโนโลยีเปน็ สง่ิ จาเป็นในองค์การสมยั ใหม่ จงึ ตอ้ งมีการพฒั นาด้าน เทคโนโลยีเป็นอนั ดับแรก มากกว่าดา้ นความรู้ ทกั ษะเฉพาะของแต่ละตาแหน่งซ่งึ เปน็ การปฏิบัติงานประจา ซง่ึ มพี ้นื ฐานสามารถปฏบิ ตั ิงานได้ในระดบั หนงึ่ อยู่แล้ว สาหรบั ด้านนันทนาการมคี วามต้องการเป็นลาดบั สดุ ท้าย อาจเป็นเพราะเป็นกจิ กรรมผอ่ นคลายจากการทางาน ซงึ่ ไมม่ ผี ลต่อการก้าวหน้า ในหนา้ ที่การงานเมอื่ เปรียบเทียบความตอ้ งการพฒั นาท่ีมคี วามแตกตา่ งกันดา้ น เพศ อายุ อายรุ าชการ วุฒกิ ารศกึ ษาและประเภท งานมีความตอ้ งการพัฒนาไมแ่ ตกตา่ งกัน อรัญญา บญุ ยงค์ ( 2546 : ง ) ทาการศกึ ษา เร่อื งความต้องการพัฒนาตนเองของบุคลากร ด้านการศึกษา: ศึกษากรณีของเทศบาลตาบลแหลมฉบงั จงั หวดั ชลบรุ ี ผลการศกึ ษาพบวา่ ครู – อาจารยข์ อง โรงเรียนในสงั กัดเทศบาลตาบลแหลมฉบงั จังหวัดชลบรุ ี มีความต้องการพฒั นาการศกึ ษาตอ่ และความตอ้ งการ พฒั นาการเขา้ รบั การฝึกอบรมมากทีส่ ุด รองลงมาตามลาดับคอื ดา้ นการเล่อื นตาแหน่งทางวิชาการดา้ น การศกึ ษาดูงานและฝึกงานและด้านการพฒั นาตนเองเปน็ ลาดับนอ้ ยที่สุด การศึกษาความสมั พนั ธ์ระหว่าง

33 ลกั ษณะประชากรศาสตร์พบวา่ ครู-อาจารย์ ทม่ี อี ายุต่างกนั มีความตอ้ งการเลื่อนตาแหนง่ ทางวิชาการและ ความตอ้ งการพฒั นาการศกึ ษา ดงู านและฝึกงานแตกต่างกันและพบว่า วุฒกิ ารศกึ ษาและประสบการณ์ ในการทางานตา่ งกนั มีความตอ้ งการพฒั นาแตกต่างกนั

บทท่ี 3 วิธีการดาเนนิ การศกึ ษา การศกึ ษาปัจจัยทีม่ ผี ลต่อประสิทธิภาพการชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบภยั ในพนื้ ท่จี งั หวดั ปทุมธานี กรณีศึกษา : จงั หวัดปทุมธานี เพอ่ื ให้การดาเนนิ การศึกษานาไปสูค่ าตอบตามวตั ถปุ ระสงค์ ท่ีตั้งไว้ ผู้ศกึ ษาจึงไดก้ าหนด วธิ กี ารดาเนินการศึกษาดงั น้ี 1. ประชากรและกลุ่มตวั อย่าง 2. ตัวแปรที่ใชใ้ นการศึกษา 3. เคร่อื งมอื ท่ใี ชใ้ นการศึกษา 4. การเก็บรวบรวมขอ้ มูล 5. การวเิ คราะห์ขอ้ มูล ประชากรและกล่มุ ตวั อย่าง ประชากรทีศ่ กึ ษาในครง้ั นไ้ี ด้แก่ บคุ ลากรเจา้ หนา้ ทข่ี องรฐั และประชาชนผูป้ ระสบภยั ในพืน้ ทจี่ ังหวดั ปทุมธานี จานวน 300 คน กล่มุ ตัวอย่าง คือ บุคลากรเจ้าหนา้ ท่ีของรัฐ และประชาชนผปู้ ระสบภัยในพ้นื ทีจ่ ังหวดั ปทมุ ธานี ไดจ้ าก การสมุ่ ตวั อย่างแบบบังเอิญ โดยมีขน้ั ตอนการดาเนินการ ดังนี้ 1. การกาหนดขนาดกลมุ่ ตวั อย่างตามวธิ กี ารของยามาเน่ โดยใช้ความเชอ่ื มั่นร้อยละ 95และยอมใหม้ ี ความคลาดเคล่ือนรอ้ ยละ 5 ตามสูตร n= N 1 + Ne2 เมือ่ n คอื จานวนของขนาดตวั อยา่ ง N คอื จานวนรวมของประชากรท้งั หมดทีใ่ ช้ในการศกึ ษา e คอื ความคลาดเคลอื่ นท่ยี อมรับได้ ในการศึกษาคร้ังนีก้ าหนดเท่ากบั .05 n = 300 1 + [300 x (0.05)2] = 171.42

เพราะฉะนน้ั กลมุ่ ตวั อยา่ งมจี านวน 172 30 คน ตวั แปรท่ีใชใ้ นการศึกษา ตัวแปรท่ผี ศู้ กึ ษาใชใ้ นการศึกษาครง้ั น้ี ประกอบด้วย ตัวแปรอสิ ระและตัวแปรตามดงั ตอ่ ไปนี้ 1. ตวั แปรอสิ ระ (Independent variables) ไดแ้ ก่ 1.1 ปจั จยั ส่วนบคุ คล 1.1.1 เพศ 1.1.2 อายุ 1.1.3 ระดบั การศกึ ษา 1.1.4 สถานภาพสมรส 1.1.5 รายได้ 1.1.6 อาชีพ 2. ตัวแปรตาม ( Dependent variables) ได้แก่ การประเมนิ ผลการดาเนินงานของอาสาสมคั รปอ้ งกัน ภัยฝ่ายพลเรือน ใน 3 ดา้ น ดังน้ี 2.1 ด้านการให้ความรู้ 2.2 ดา้ นการใหบ้ รกิ าร 2.3 ดา้ นการมสี ่วนรว่ ม เคร่ืองมือทใ่ี ช้ในการศกึ ษา เครือ่ งมือทใ่ี ช้ในการศึกษาคร้ังน้ี เป็นแบบสอบถามที่ผศู้ กึ ษาสร้างขนึ้ โดยอาศยั แนวคิดและทฤษฎีท่ี เกยี่ วข้องกบั งานวิจัยมาใชเ้ ป็นพ้นื ฐานเพือ่ ให้สอดคลอ้ งกบั วตั ถปุ ระสงคข์ องการศึกษา โดยผ้ศู ึกษาไดส้ ร้าง เครอ่ื งมือสาหรบั การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู และนาเครื่องมือไปหา คา่ ความเชอ่ื มน่ั ( reliability) ไปทดลองใช้ (try out) กับผู้ประสบภัยจงั หวดั ปทุมธานี จานวน 300 คน แลว้ นากลับมาหาคา่ ความเชอื่ ม่ันดว้ ยวธิ ีการหา ค่าสมั ประสทิ ธ์ิแอลฟ่า (alpha cosfficient) ของครอนบาค C( ronbach, 1997, p. 160) ไดร้ ะดับค่าความเช่ือม่นั 0.7857แบง่ ออกเปน็ 2 ตอน ดงั น้ี

31 ตอนที่ 1 เป็นคาถามเกย่ี วกับปัจจัยสว่ นบุคคลของผ้ตู อบแบบสอบถามดา้ นเพศ อายุ ระดบั การศึกษา และอาชพี เป็นแบบเลือกตอบ เกณฑใ์ นการแปลคะแนนเฉล่ียวิเคราะห์โดยการหาความถี่ ( frequency) และ ร้อยละ (percentage) ตอนที่ 2 เปน็ แบบสอบถามท่ีผศู้ ึกษาสรา้ งขนึ้ โดยอาศัยแนวคดิ และทฤษฎที ีเ่ กย่ี วขอ้ งกบั การ ประเมินผลการดาเนินงานของอาสาสมคั รป้องกันภยั ฝ่ายพลเรือน โดยแยกแบบสอบถามออกเปน็ 3 ด้าน ประกอบด้วย ดา้ นการใหค้ วามรู้ ดา้ นการใหบ้ รกิ าร และด้านการมีสว่ นร่วม ลกั ษณะของคาถามเป็นแบบมาตรา ส่วนประมาณคา่ (Rating Scale) มีเกณฑใ์ นการพิจารณาโดยใช้เกณฑ์ 5 ระดบั ดงั น้ี (พวงรตั น์ ทวรี ัตน์, 2535, หนา้ 114) การประเมินผลการดาเนินงาน คะแนน มากท่ีสุด เทา่ กบั 5 มาก เท่ากบั 4 ปานกลาง เท่ากับ 3 นอ้ ย เท่ากับ 2 น้อยที่สุด เท่ากับ 1 เกณฑ์ในการแปลคะแนนเฉลีย่ วเิ คราะห์โดยการหาคา่ เฉลีย่ ( X ) และส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน ( S.D.) และนาค่าเฉลยี่ ท่ไี ด้มาเปรียบเทียบกบั เกณฑด์ งั กล่าวกาหนดความหมายไว้ ดังนี้ (Best, 1977, p. 182) คะแนนเฉลีย่ ความหมาย 1.00 – 1.49 ผลการดาเนินงาน น้อยท่สี ดุ 1.50 – 2.49 ผลการดาเนินงานน้อย 2.50 – 3.49 ผลการดาเนินงาน ปานกลาง 3.50 – 4.49 ผลการดาเนนิ งานมาก 4.50 – 5.00 ผลการดาเนนิ งานมากที่สุด การเก็บรวบรวมข้อมลู ผู้ศึกษาได้ดาเนินการรวบรวมขอ้ มลู เป็นลาดบั ขน้ั ดงั น้ี 1. ผูศ้ กึ ษามอบแบบสอบถามแก่ผูต้ อบแบบสอบถามตามจานวนกลุม่ ตัวอย่างด้วยตวั ผูศ้ ึกษาเอง

32 2. ระยะเวลาในการเกบ็ ข้อมลู เดอื น มกราคม ถงึ เดอื นเมษายน 2557 3. นาแบบสอบถามท่ไี ด้คืนจากกล่มุ ตวั อย่างมาตรวจสอบหาความสมบรู ณ์และความถูกต้อขงองขอ้ มูลได้ แบบสอบถามที่มคี วามสมบูรณแ์ ละนาไปวเิ คราะหข์ อ้ มูลโดยใชโ้ ปรแกรมสาเร็จรปู การวเิ คราะห์ขอ้ มูล 1. วิธีการประมวลผลข้อมูล การศกึ ษาครง้ั น้ี ไดท้ าการศกึ ษาปัจจัยทมี่ ผี ลต่อประสทิ ธภิ าพการช่วยเหลือผู้ประสบภยั ในพื้นที่ จังหวัดปทุมธานี กรณศี ึกษา : จงั หวดั ปทมุ ธานี ในการวเิ คราะห์จะตอ้ งแยกสว่ นโดยยดึ หลกั กรอบแนวคดิ และ ทฤษฎที ี่กาหนดไว้มาเปน็ เครอ่ื งมอื ในการวเิ คราะหโ์ ดยใช้สถติ เิ ชิงพรรณนา หลังจากไดร้ บั แบบสอบถามกลบั คนื มาแล้ว ผ้ศู ึกษาได้ตรวจสอบความสมบรู ณ์ของแบบสอบถาม เพื่อให้ได้ข้อมูลท่คี รบถ้วน จากน้ันนาแบบสอบถามท่ีไดไ้ ปวิเคราะห์ขอ้ มลู ทางสถิติโดยใชโ้ ปรแกรมสาเร็จรูป 2. สถติ ิท่ีใช้ในการวิเคราะหข์ ้อมูล 2.1 คา่ ร้อยละ (Percentage) ใชใ้ นการอธิบายขอ้ มูลทั่วไป (ยทุ ธ ไกยวรรณ์, 2545, หน้า 156) ร้อยละ (percentage) = f X 100 n เมอื่ f แทน ความถ่ี n แทน จานวนผตู้ อบแบบสอบถามท้งั หมด 2.2 ค่าเฉลยี่ ( Mean) ใช้ในการวิเคราะหแ์ ละอธิบายถึงการประเมนิ ผลการดาเนนิ งานของ อาสาสมัครปอ้ งกนั ภยั ฝ่ายพลเรอื น (ยทุ ธ ไกยวรรณ์, 2545, หนา้ 157) k fi x i =X i 1 n 2.3 สว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ใช้ในการวเิ คราะห์และอธิบายถงึ การ กระจายของขอ้ มูลการประเมนิ ผลการดาเนนิ งานของอาสาสมคั รป้องกันภัย ฝ่ายพลเรือน (ยทุ ธ ไกยวรรณ์, 2545, หน้า 158)

33  S.D. = kn f i x 2  k f i x i 2 i  i 1  i 1 n2 เมอ่ื i = 1, 2,……………..k S.D. = ส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน f = ความถี่ x i = คะแนนแต่ละขอ้ ที่ i n = จานวนขอ้ มูลทง้ั หมด k = ผลรวมของคะแนนยกกาลงั สองท้งั หมด  fi xi2 i 1 แบบสอบถามเพือ่ การวิจยั เรอื่ ง ปัจจัยทีม่ ผี ลต่อประสทิ ธิภาพการชว่ ยเหลือผ้ปู ระสบภยั กรณีศึกษา : จงั หวดั ปทุมธานี แบบสอบถามฉบับน้จี ดั ทาขน้ึ เพ่อื ใชศ้ กึ ษาเรอื่ ง “ปจั จัยท่มี ผี ลตอ่ ประสทิ ธภิ าพการชว่ ยเหลือ ผ้ปู ระสบภัยกรณีศึกษา : จงั หวัดปทมุ ธานี” โดยขอ้ มูลท่ที ่านตอบ จะนาไปใชป้ ระโยชนเ์ พอ่ื ศึกษาเทา่ นน้ั จะไม่มี ผลกระทบต่อผูต้ อบแบบสอบถามประการใด และผ้ศู ึกษาขอขอบพระคุณท่านเป็นอย่างสูงในความอนเุ คราะห์ ตอบแบบสอบถาม ตอนที่ 1 ข้อมูลทวั่ ไปของผตู้ อบแบบสอบถาม คาช้ีแจง โปรดทาเคร่อื งหมาย  ลงใน ให้ตรงตามความเปน็ จริง

34 1. เพศ หญิง ชาย 2. อายุ ตา่ กว่า 30 ปี 30-40 ปี 41-50 ปี 51-60 ปี มากกว่า 60 ปี 3. ระดบั การศกึ ษา ตา่ กวา่ มัธยมศึกษา มัธยมศึกษา ปวช./ปวส. /อนปุ ริญญา ปริญญาตรี สูงกว่าปรญิ ญาตรี 4. อาชพี รับจา้ ง เกษตรกร ค้าขาย รบั ราชการ อ่นื ๆ ตอนท่ี 2 การประเมนิ ผลระดบั ความรู้ ความเขา้ ใจในการชว่ ยเหลือผ้ปู ระสบภยั คาชแ้ี จง โปรดทาเครื่องหมาย  ลงในชอ่ งท่ตี รงกับระดบั ความรู้ ความเขา้ ใจของผตู้ อบ แบบสอบถาม โดยระดับคะแนนตา่ งๆ มคี วามหมายดงั ต่อไปนี้ 1 หมายถงึ ความรู้ ความเข้าใจอยใู่ นระดบั น้อยท่สี ุด 2 หมายถงึ ความรู้ ความเข้าใจอยใู่ นระดบั น้อย 3 หมายถงึ ความรู้ ความเข้าใจอย่ใู นระดับปานกลาง 4 หมายถงึ ความรู้ ความเข้าใจอยู่ในระดับมาก 5 หมายถึง ความรู้ ความเข้าใจอยู่ในระดบั มากทสี่ ุด

35 ลาดับ ลักษณะการดาเนนิ งาน ระดบั ความรู้ ความเข้าใจ 5 4321 ดา้ นการให้ความรู้ 1 ทา่ นมคี วามรเู้ กีย่ วกับหลักเกณฑก์ ารใช้จ่ายเงินทดรอง ราชการเพอื่ ช่วยเหลือผปู้ ระสบภัยพบิ ัตกิ รณีฉุกเฉิน พ.ศ. 2556 2 ทา่ นได้รบั ขอ้ มลู ขา่ วสารจากการประชาสมั พนั ธ์ จากหนว่ ยงานทเี่ ก่ียวขอ้ งเกีย่ วกับหลักเกณฑก์ ารใช้จา่ ยเงนิ ทดรองราชการเพอ่ื ช่วยเหลอื ผปู้ ระสบภยั พิบัติกรณีฉุกเฉิน พ.ศ. 2556 3 ทา่ นไดร้ ับความรู้ คาแนะนาจากเจา้ หนา้ ทที่ เี่ กยี่ วขอ้ ง เกยี่ วกับหลักเกณฑ์การใชจ้ ่ายเงนิ ทดรองราชการ เพ่ือช่วยเหลอื ผ้ปู ระสบภัยพบิ ัติกรณีฉุกเฉิน พ.ศ. 2556 4 ทา่ นไดเ้ ข้ารับการอบรมเกี่ยวกบั หลักเกณฑก์ ารใชจ้ ่ายเงนิ ทดรองราชการเพือ่ ช่วยเหลอื ผปู้ ระสบภยั พิบัตกิ รณีฉกุ เฉิน พ.ศ. 2556 5 ทา่ นสามารถถ่ายทอดความรเู้ ก่ยี วกบั หลกั เกณฑ์การใช้ จา่ ยเงนิ ทดรองราชการเพอื่ ชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบภัยพบิ ัตกิ รณี ฉุกเฉิน พ.ศ. 2556 ให้แก่ผู้อ่ืน ลาดับ ลักษณะการดาเนนิ งาน ระดับผลการดาเนนิ งาน 5 4321 ดา้ นการใหบ้ ริการ ท่านไดร้ ับบรกิ ารดา้ นขอ้ มูลการช่วยเหลอื จากเจา้ หน้าที่

36 1 ท่ีเกีย่ วขอ้ ง กับการใหค้ วามช่วยเหลอื ผปู้ ระสบภยั 2 ท่านได้รับบรกิ ารชว่ ยเหลอื แนะนาจากเจ้าหน้าท่ที ่ี เก่ยี วขอ้ ง ชแ้ี จง อธิบายเกี่ยวกบั สิทธแิ ละประโยชนต์ าม หลักเกณฑ์การให้ความชว่ ยเหลอื ผูป้ ระสบภยั 3 ในชว่ งเกิดภยั พบิ ตั ิ องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ ไดจ้ ดั เจา้ หน้าท่ีเข้าไปสารวจให้ความเสียหายและชว่ ยเหลือ ผู้ประสบภยั โดยเร็ว 4 ในการบรกิ ารช่วยเหลอื ผู้ประสบภยั เมอื่ มีการเกดิ ภัยพบิ ตั ิ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทใ่ี ห้ความชว่ ยเหลอื เพยี งพอ ทว่ั ถงึ ตามหลกั เกณฑ์ 5 องคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่นิ ไดจ้ ัดเครอ่ื งมอื หรืออปุ กรณใ์ ห้ ความช่วยเหลือไวบ้ ริการในชุมชนเพ่ือชว่ ยเหลือจากภัย พิบตั ติ า่ งๆ 6 การบรกิ ารช่วยเหลอื ขององค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน มีการเรยี กร้องคา่ ตอบแทนในการบรกิ ารชว่ ยเหลอื ผู้ประสบภยั 7 ในการปฏิบัตงิ านดา้ นบริการ องค์กรปกครองส่วนท้องถน่ิ ไดม้ ีการจัดตัง้ ศนู ย์วิทยสุ ่อื สารอยู่เวรประจาตลอด 24 ชว่ั โมง เพื่อชว่ ยเหลอื บริการประชาชนผปู้ ระสบภัยพบิ ตั ิ 8 องคก์ รปกครองส่วนท้องถ่ิน มเี ครอ่ื งมอื อปุ กรณ์ชว่ ยเหลือ ผปู้ ระสบภยั พิบตั ิ กภู้ ยั ขัน้ ตน้ และเครอ่ื งมอื อุปกรณ์ รักษาพยาบาลที่ทนั สมยั เพียงพอในการบรกิ ารให้ความ ชว่ ยเหลือเม่ือเกดิ ภัยพบิ ตั ิ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook