Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Online Book

Online Book

Published by Kanokrat Sudlapa, 2021-09-14 09:00:49

Description: TU_2016_5805038121_6626_5765

Search

Read the Text Version

คุณลักษณะอาสาสมัครที่มีผลต่อบทบาทอาสาสมคั รสาธารณสขุ โดย นายชาญณรงค์ วงคว์ ชิ ยั สารนพิ นธน์ ี้เปน็ ส่วนหนง่ึ ของการศึกษาตามหลกั สตู ร ศลิ ปศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวิชานโยบายสงั คม ภาควิชาสังคมสงเคราะหศ์ าสตร์ คณะสงั คมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ ปกี ารศึกษา 2559 ลขิ สทิ ธิข์ องมหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ Ref. code: 25595805038121LZO

คุณลักษณะอาสาสมัครที่มีผลต่อบทบาทอาสาสมคั รสาธารณสขุ โดย นายชาญณรงค์ วงคว์ ชิ ยั สารนพิ นธน์ ี้เปน็ ส่วนหนง่ึ ของการศึกษาตามหลกั สตู ร ศลิ ปศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวิชานโยบายสงั คม ภาควิชาสังคมสงเคราะหศ์ าสตร์ คณะสงั คมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ ปกี ารศึกษา 2559 ลขิ สทิ ธิข์ องมหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ Ref. code: 25595805038121LZO

CHARACTERISTICS AFFECTING PUBLIC HEALTH VOLUNTEERS IN THAILAND BY MR. CHANNARONG VONGVICHAI A MINOR THESIS SUBMITTED IN PARTIAL FULFILLMENT OF THE REQUIREMENTS FOR THE DEGREE OF MASTER OF ARTS PROGRAMME IN SOCIAL POLICY DEPARTMENT OF SOCIAL WORK FACULTY OF SOCIAL ADMINISTRATION THAMMASAT UNIVERSITY ACADEMIC YEAR 2016 COPYRIGHT OF THAMMASAT UNIVERSITY Ref. code: 25595805038121LZO



หวั ข้อสารนพิ นธ์ (1) ชือ่ ผู้เขยี น คณุ ลกั ษณะอาสาสมัครทมี่ ีผลต่อบทบาทอาสาสมคั ร ช่ือปริญญา สาธารณสุข สาขาวชิ า/คณะ/มหาวิทยาลยั นายชาญณรงค์ วงค์วิชัย ศิลปศาสตรมหาบณั ฑติ อาจารยท์ ี่ปรึกษาสารนิพนธ์ สาขาวิชานโยบายสงั คม ปกี ารศกึ ษา สังคมสงเคราะหศ์ าสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ อาจารย์ ดร. นราเขต ยม้ิ สุข 2559 บทคดั ยอ่ การศึกษาเรื่อง “คุณลักษณะอาสาสมัครที่ส่งผลต่อบทบาทอาสาสมัครสาธารณสุข” โดยม่งุ เนน้ กลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุข ในเขตจังหวัดนนทบุรี บริบทความเป็นเมืองศึกษาโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพตาบลไขแสง กาเนิดมี ตาบลบางเขน อาเภอเมืองนนทบุรี บริบทพ้ืนที่ชนบทศึกษา โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลวัดยอดพระพิมล ตาบลขุนศรี อาเภอไทรน้อย โดยกลุ่มตัวอย่างใน การศึกษาโดยประมาณ 120 คน มีวัตถุประสงค์การศึกษาเพ่ือค้นหาคุณลักษณะของอาสาสมัคร คุณลักษณะใดมีอิทธิพลต่อบทบาทอาสาสมัครสาธารณสุข การศึกษาในครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสารวจ (Survey Research) วิเคราะห์คุณลักษณะอาสาสมัครและบทบาท ด้วยข้อมูลทางสถิติด้วยการหา ความถ่ี สว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์สมการถดถอยพหุคูณแบบเป็นข้ันตอน (Stepwise Multiple Regression Analysis) เพ่ือศึกษาข้อมูลส่วนบุคคล และสร้างสมการทานายคุณลักษณะ อาสาสมัครสาธารณสุขท่มี ีผลตอ่ บทบาทอาสาสมคั ร ผลการศึกษาพบว่า อาสาสมัครสาธารณสุขมีคุณลักษณะสานึกร่วมหรือความเป็น เจ้าของร่วมเกิดการเสยี สละและผูกพัน และความรู้สึกอิสระในการเป็นผู้เลือกงานอาสาสมัครที่ตนเอง สนใจ จะทาให้บทบาทอาสาสมัครสาธารณสุขเด่นชัดมากขึ้น และในทางกลับกันถ้าอาสาสมัคร สาธารณสุขมีคุณลักษณะดังกล่าวน้อยลงเท่าไร จะทาให้บทบาทอาสาสมัครสาธารณสุขลดลงด้วย โดยคุณลักษณะท่ีส่งผลต่อบทบาทของอาสาสมัครมากท่ีสุดคือ คุณลักษณะสานึกร่วมหรือความเป็น เจา้ ของร่วมเกดิ การเสียสละและผูกพัน และความรู้สึกอิสระในการเป็นผู้เลือกงานอาสาสมัครท่ีตนเอง สนใจ Ref. code: 25595805038121LZO

(2) จากข้อค้นพบดังกล่าวเป็นแนวทางในการสร้างแรงจูงใจในการเข้าร่วมทางานในระบบ อาสาสมัครสาธารณสุข และสามารถพัฒนาเป็นข้อเสนอเชิงนโยบายต่อการพัฒนาอาสาสมัคร สาธารณสุขตอ่ ไป คาสาคัญ: คุณลักษณะอาสาสมคั ร, บทบาทอาสาสมคั ร, อาสาสมคั รสาธารณสุข Ref. code: 25595805038121LZO

Minor Thesis Title (3) Author CHARACTERISTICS AFFECTING PUBLIC HEALTH Degree VOLUNTEERS IN THAILAND Department/Faculty/University Mr. Channarong Vongvichai Master of Arts Programme in Social Policy Minor Thesis Advisor Social Policy Academic Year Faculty of Social Administration, Thammasat University Lecturer Narakate Yimsook, Ph.D. 2016 ABSTRACT Characteristics affecting public health volunteers in Thailand were studied. The study focused on a group of volunteers In Nonthaburi Province. The context is studied urban society and rural society in Health Promoting Hospital. Context Urban study on Khaisang KamnoetMee of Tambon Health Promoting Hospital. Context of rural society study on Wat YodPhraPimol of Tambon Health Promoting Hospital The sample size of sample sixe 120 people.Methodology were statistical analysis of frequency, and standard deviation. Stepwise multiple regression analysis, testing and creating predictive equations, were also included. Results were that joint ownership, sacrifices, and rituals were highly influential, followed by non-operational tasks involving function and allowing volunteers to choose tasks that interested them. These were followed in descending order by reputation of volunteers and positive relationship with public health volunteers. A shared sense of responsibility or sacrifice was also significant, as well as the right to choose interesting duties. Responsibility for sacrifices and rituals had the most impact, followed by choice of duties, and then deciding the role of volunteers. These findings may be useful for motivating public health volunteers, even if fewer volunteers may be available. This may help formulate public policy guidelines. Keywords: Factors affecting volunteers, Volunteer duties, Public health. Ref. code: 25595805038121LZO

(4) กติ ติกรรมประกาศ งานวจิ ยั สว่ นบุคคลเรือ่ งน้ี สาเรจ็ ลลุ ่วงดว้ ยองค์ความรู้ท่ีประสิทธิ์ประสาทจากคณาจารย์ หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขานโ ยบายสังคม คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ และความอนุเคราะห์จากบคุ ลากรหลายทา่ นดังน้ี ขอขอบพระคุณ รองศาสตราจารย์ ดร.พงษ์เทพ สันติกุล ท่ีได้ให้เกียรติเป็นประธานใน การสอบงานวิจัยส่วนบุคคลและได้ให้คาปรึกษาทางด้านสถิติและระเบียบวิธีวิจัย พร้อมท้ังส่งเสริมให้ ผู้วิจัยมีการศึกษาเปรยี บเทยี บในบริบทพ้นื ท่ีต่าง ๆ นาข้อมูลทั้งหมดออกมาจัดระบบสรุปเป็นข้อเสนอ เชงิ นโยบาย ซึง่ เป็นประโยชน์อยา่ งย่ิงต่องานวิจยั อาจารย์ ดร.นราเขต ย้ิมสุข อาจารย์ ที่ปรึกษา ตลอดระยะเวลาในการวิจัยอาจารย์เป็นผู้ชี้แนะในการศึกษาอย่างใกล้ชิด ตรวจแก้ไขเน้ือหาอย่างถ่ี ถ้วนพร้อมทั้งกาลังใจท่ีคอยปลอบโยนผู้วิจัยยามอ่อนล้าและท้อแท้ต่อการทางานวิจัยดังกล่าว ด้วย ความกรณุ าจากอาจารย์ จึงทาให้งานวจิ ัยครง้ั นีม้ ีความสมบรู ณ์มากข้นึ ขอขอบคณุ รพสต.ไขแสง กาเนิดมี และ รพสต.วดั ยอดพระพิมล จังหวดั นนทบุรี รวมทั้ง อาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) ทุกท่านที่ได้ให้ความอนุเคราะห์และร่วมมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล ในครั้งนี้เป็นอย่างดี ความกรุณาในการประสานการทางานการลงพ้ืนท่ี และข้อเสนอแนะ อันทรงคุณค่า รวมท้ังการเชื่อมโยงแกนนา อสม. จากคุณวัฒนชัย โกศิยะกุล และคุณมนัชญา เสรวี ิวัฒนา ท่ีช้ีแนวทางมาสู่ประเด็นสาคัญต่อวงการสาธารณสุขไทย สิ่งน้ันคือ ระบบสุขภาพชุมชนท่ี ประชาชนพร้อมกันสานพลังในการเป็นเจ้าของ คือความผูกพันของระบบนิเวศสุขภาพของคนและ ชุมชนอยา่ งแนบแนน่ การสนับสนุนจากการทางานท่ีให้ก้าวออกมามองโลกผ่านความคิดในด้านอื่น ๆ ด้วย ขอขอบคุณ นพ.อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล ผู้อานวยการ สรพ. และขอขอบคุณอีกท่านคือ คุณวสันต์ ภัยหลกี ล้ี ผ้จู ัดการกองทุนพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ ที่คอยสนับสนุนบริหารจัดการ ให้ผู้วิจัย สามารถลงพื้นทวี่ ิจัยในเวลาจาเป็นเรง่ ด่วนไดอ้ ย่างดเี สมอมา บนฐานการทางานท่ีสมั พนั ธ์กนั ท้ายสุดผู้วิจัยขอกราบขอบพระคุณคุณยาย (ปัน บุญย่ิงมา) แม้ยายจะล่วงลับไปแล้ว แต่ยายยังคงไม่ไปไหนยังคงเป็นกาลังใจหลานคนนี้ และคอยมองหลายคนนี้อยู่ไม่ว่าจะไกลแค่ไหนก็ตาม และมารดา (ศรที อง บุญยงิ่ มา) ทเี่ ปน็ กาลังใจหนนุ เสริมทุกคร้งั แม้คราใดลูกชายหมดกาลังใจลงแม่คือ คนท่ีคอยเขา้ มาโอบอุ้มอย่างต่อเนื่องและปลอบโยน คุณอาทั้งสองท่าน (บุญศรี บุญยิ่งมา และสมจิตร บุญย่ิงมา) ท่ีกระตุ้นให้ต่อสู้และเดินต่อแม้หนทางข้างหน้าขวากหนามเพียงใดแต่ก็ต้องก้าวต่อไป พร้อมท้ังกัลยาณมิตรท่ีคอยให้กาลังใจเสมอ ยามหมดพลังยามท้อและยามท่ีต้องการความเข้าใจ (คุณภัทรวรรธน์ กาลือ และคุณณัฐพล สาระสระน้อย) คาปรึกษาและการดูแลเป็นพลังสาคัญยิ่งให้ ก้าวเดินต่อ และเพ่ือน ๆ เอกแรงงานทุกท่านที่ตลอดการทางานการศึกษาท่ีผ่านมามีทั้งคราบน้าตา ยามล้า ความสนกุ ยามพบปะสงั สรรคค์ วามทรงจานี้จะไม่มีวันลมื เลือนได้ นายชาญณรงค์ วงค์วชิ ัย Ref. code: 25595805038121LZO

สารบัญ (5) บทคดั ย่อภาษาไทย หนา้ (1) บทคัดย่อภาษาอังกฤษ (3) กติ ตกิ รรมประกาศ (4) สารบญั ตาราง (8) สารบัญภาพ (9) บทที่ 1 บทนา 1 1.1 ท่ีมาและความสาคัญของปัญหา 1.2 มลู เหตุจูงใจในการศกึ ษา 1 1.3 วัตถปุ ระสงค์ของการศึกษา 3 1.4 คาถามการวิจัย 4 1.5 ขอบเขตของการศกึ ษา 4 4 1.5.1 ขอบเขตด้านประชากร 4 1.5.2 ขอบเขตด้านเนื้อหา 5 1.6 นยิ ามศพั ท์ทีใ่ ชใ้ นการศึกษา 5 1.7 ประโยชนท์ ่ีจะได้รับ 7 บทท่ี 2 แนวคิด ทฤษฎี และผลงานวจิ ัยที่เกยี่ วขอ้ ง 8 2.1 แนวคิดและทฤษฎที ่ีเกย่ี วข้องกับบคุ ลกิ ภาพ 8 2.1.1 ความหมายของบุคลิกภาพ 8 2.1.2 ทฤษฎีเกยี่ วข้องกบั บคุ ลิกภาพ 11 Ref. code: 25595805038121LZO

2.2 แนวคิดและทฤษฎีที่เก่ยี วขอ้ งกบั ความต้องการของอาสาสมัคร (6) 2.3 แนวคิดและทฤษฎีที่เก่ียวข้องกับอาสาสมคั ร 16 2.3.1 ความหมายของอาสาสมคั ร 20 2.3.2 แนวคดิ องค์ประกอบและคุณลักษณะอาสาสมคั ร 20 2.4 แนวคดิ เก่ียวกบั อาสาสมัครสาธารณสุขประจาหม่บู ้าน 23 2.4.1 ความหมายของอาสาสมคั รสาธารณสุข 30 2.4.2 บทบาทของอาสาสมคั รสาธารณสุข 30 2.5 งานวิจยั ทเี่ ก่ยี วข้อง 30 2.6 กรอบแนวคิดในการศึกษา 32 36 บทท่ี 3 ระเบยี บวธิ กี ารศกึ ษา 38 3.1 วิธีการศึกษา 3.2 ประชากรและกลมุ่ ตัวอย่าง 38 38 3.2.1 ประชากร 38 3.2.2 กลมุ่ ตวั อย่าง 39 3.3 ตัวแปรที่ใชใ้ นศึกษา 40 3.4 เคร่อื งมือที่ใช้ในการศึกษา 40 3.5 การพฒั นาแบบสอบถามใหม้ ปี ระสิทธภิ าพ 42 3.6 การเกบ็ รวบรวมข้อมูล 43 3.7 การวิเคราะห์ขอ้ มลู 44 บทที่ 4 ผลการศึกษาและการอภิปรายผล 45 4.1 ขอ้ มลู ทว่ั ไปของอาสาสมัคร คณุ ลกั ษณะอาสาสมัครและบทบาทอาสาสมัคร 45 สาธารณสขุ 50 4.2 ผลการวิเคราะหค์ วามสัมพันธร์ ะหว่างคุณลกั ษณะของอาสาสมคั รที่มผี ลต่อ บทบาทอาสาสมคั รสาธารณสุข 51 4.3 การสร้างสมการทานายคุณลักษณะของอาสาสมัครทส่ี ่งผลตอ่ บทบาท 54 อาสาสมัครสาธารณสุข 4.4 อภิปรายผลการศกึ ษา Ref. code: 25595805038121LZO

4.4.1 การทดสอบความสัมพันธ์ระหวา่ งคุณลักษณะของอาสาสมัครกบั บทบาท (7) อาสาสมัครสาธารณสุข 54 4.4.2 การวเิ คราะห์สมการถดถอยแบบพหคุ ูณ 56 บทที่ 5 สรุปผลการศึกษาและขอ้ เสนอแนะ 58 5.1 สรุปผลการศกึ ษา 59 5.1.1 ขอ้ มูลท่วั ไปเกย่ี วกบั ผตู้ อบแบบสอบถาม 59 5.1.2 คณุ ลกั ษณะอาสาสมัครของอาสาสมคั รสาธารณสุข 60 5.1.3 บทบาทอาสาสมคั รของอาสาสมคั รสาธารณสขุ 60 5.1.4 การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างคุณลักษณะของอาสาสมัคร 60 กบั บทบาทอาสาสมัครสาธารณสุขและสร้างสมการทานาย 62 5.2 ข้อเสนอแนะ 66 5.3 ขอ้ เสนอแนะสาหรบั การวิจยั ครง้ั ตอ่ ไป 67 รายการอ้างองิ 71 ภาคผนวก 77 ภาคผนวก ก แสดงอัตราสว่ นการวัดค่าถูกตอ้ งตามเน้ือหา เรือ่ งคุณลักษณะ อาสาสมคั รที่สง่ ผลตอ่ บทบาทอาสาสมัครสาธารณสุข 81 82 ภาคผนวก ข แสดงค่าอานาจจาแนก (Discriminant Power) ตามรายข้อย่อยของ แบบสอบถาม 89 91 ภาคผนวก ค แสดงค่าความเชือ่ ม่นั ของแบบสอบถาม ภาคผนวก ง แบบสอบถามการวิจยั เร่ือง คณุ ลักษณะอาสาสมคั รทม่ี ผี ลตอ่ 96 บทบาทอาสาสมัครสาธารณสขุ ภาคผนวก จ ผทู้ รงคณุ วุฒใิ นการตรวจสอบเคร่ืองมือในการวจิ ัย ภาคผนวก ฉ จดหมายเพ่ือขออนญุ าตในการเก็บข้อมูลจากอาสาสมคั รสาธารณสุข จงั หวัดนนทบรุ ี ประวัติผู้เขยี น Ref. code: 25595805038121LZO

(8) สารบัญตาราง ตารางท่ี สถานการณ์การใหแ้ ละอาสาสมัคร หนา้ 1.1 สรุปความหมายของบคุ ลิกภาพ 1 2.1 สรปุ แนวคิดตา่ ง ๆ เกย่ี วกับทฤษฎีบุคลกิ ภาพ 10 2.2 สรปุ ความหมายของอาสาสมัคร 12 2.3 เปรยี บเทยี บพรหมวิหาร 4 และคณุ ลักษณะอาสาสมคั ร 22 2.4 เปรยี บเทียบคณุ ลักษณะอาสาสมัคร 24 2.5 การใหค้ ะแนนแบบลเิ คริ ท์ (Likert Five Rating Scale) ท่ใี ช้ในแบบสอบถามใน 29 3.1 สว่ นท่ี 2 และสว่ นที่ 3 41 ขอ้ มูลท่วั ไปของกลุ่มตวั อย่าง 4.1 ขอ้ มูลสูงสุด ตา่ สดุ คา่ เฉลย่ี และค่าเบยี่ งเบนมาตรฐานของผู้ตอบแบบสอบถาม 46 4.2 คา่ เฉลี่ย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และระดับคะแนนคุณลักษณะอาสาสมัครของ 47 4.3 อาสาสมคั รสาธารณสขุ 48 คา่ เฉล่ยี ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และระดับคะแนนของบทบาทของอาสาสมคั ร 4.4 สาธารณสุข 49 ผลการวเิ คราะห์ค่าสัมประสิทธสิ์ หสมั พันธร์ ะหวา่ งคณุ ลกั ษณะของคณุ ลักษณะ 4.5 ของอาสาสมัครกบั บทบาทอาสาสมคั รสาธารณสุข 50 คา่ ความสัมพันธ์ของตัวแปรคุณลักษณะของอาสาสมัครในการพยากรณ์บทบาท 4.6 อาสาสมัครสาธารณสขุ 52 รูปแบบสมการพยากรณ์บทบาทอาสาสมัครสาธารณสุข 4.7 ผลการทดสอบสมมติฐาน 53 5.1 61 Ref. code: 25595805038121LZO

(9) สารบญั ภาพ ภาพที่ หนา้ 2.1 ความตอ้ งการท้ัง 7 ของ Maslow 17 5.1 การพัฒนากระบวนการความผูกพันของชุมชนผา่ นกระบวนการอาสาสมัครเกดิ 63 ชุมชนเขม้ แขง็ 5.2 กระบวนการออกแบบระบบสาธารณสุขชุมชนโดยอาสาสมัคร 64 5.3 การจัดการความรู้อาสาสมัครสาธารณสขุ เพ่ือพัฒนาชมุ ชน 65 Ref. code: 25595805038121LZO

1 บทที่ 1 บทนา 1.1 ท่มี าและความสาคญั ของปญั หา สถานการณ์อาสาสมัครโลกนั้น จากการจัดลาดับของ World Giving Index ปี 2011 ของสถาบัน CAF (Charities Aid Foundation) หรือมูลนิธิช่วยเหลือการกุศลของสหรัฐอเมริกา เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยการสารวจ ประชากรอายุ 15 ปีข้ึนไป ในเขตเมืองและชนบทของประเทศ ต่าง ๆ รวม 153 ประเทศ โดยพิจารณาจากเงื่อนไขดัชนีย่อย 3 ดัชนี คือ 1) ดัชนีการบริจาคเงินเพื่อ การกุศล 2) ดัชนีการอาสาสมัครหรือการอุทิศตนช่วยเหลืองานกุศล 3) ดัชนีการช่วยเหลือบุคคล แปลกหน้า ท่ีได้รับความเดือดร้อนผลการสารวจและเปรียบเทียบดัชนีดังกล่าว พบว่า ในปี 2011 ประเทศไทยได้อันดับชาติใจบุญ อันดับที่ 9 ของโลก จาก 153 ประเทศ ขยับขึ้นจากอันดับที่ 25 ของ ปี 2010 เป็นผลมาจากการให้ความชว่ ยเหลือซ่ึงกันและกนั โดยเฉพาะเหตุการณ์อุทกภัยท่ีผ่านมา และ ยังให้ความช่วยเหลือประเทศเพ่ือนบ้านอีกด้วย และผลของดัชนีย่อย พบว่า คนไทยบริจาคเงินเพื่อ การกุศลมากเป็นอันดับ 1 ของโลกคือ ร้อยละ 85 ส่วนในเร่ืองความเป็นอาสาสมัคร มีคนไทยที่ชอบ อุทิศตนเป็นอาสาสมัครร้อยละ 17 และให้ความช่วยเหลือบุคคลแปลกหน้าท่ีได้รับความเดือดร้อน ร้อยละ 50 (Charities Aid Foundation, 2015) ทั้งนี้เม่ือเปรียบเทียบผลการสารวจใน 4 พบว่า ประเทศไทยเป็นยงั มกี ารให้ในเรื่องการบริจาคเป็นอบั ดบั ต้นในกลุ่มประเทศ ทั้งนี้เมื่อพิจารณารูปแบบ ของอาสาสมคั รน้ัน พฒั นาการการเปน็ อาสาสมคั รไทยนน้ั มีสถานการณล์ ดน้อยลงเป็นลาดบั ตารางท่ี 1.1 สถานการณ์การให้และอาสาสมัคร การบริจาค การอาสาการ การช่วยเหลอื ปี อนั ดบั โลก อันดับใน 5 ปี เงิน ให้เวลา คนแปลกหนา้ 1 86 2011 9 N/A 5 78 59 2012 26 12 4 108 92 2013 38 15 3 106 95 2014 21 13 70 Ref. code: 25595805038121LZO

2 จากความเขา้ ใจสงั คมไทยอาสาสมัคร คือ ผูท้ ีส่ มคั รใจทางานเพ่ือประโยชน์แก่ประชาชน และสังคมโดยไม่หวังค่าตอบแทนแต่ท่ีอาสาสมัครได้รับคือ ความสุข ความภูมิใจ งานอาสาสมัครจึง เป็นงานท่สี าคญั ทชี่ ี้ให้เห็นการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการชว่ ยบรรเทาปัญหาที่เกิดข้ึนในสังคมซึ่ง นับว่าเป็นคุณประโยชน์อย่างยิ่ง (สมพร เทพสิทธา, 2541, น. 23-27) ปัจจุบันอาสาสมัครมีบทบาท สาคัญในงานสาธารณะประโยชน์ หลากหลาย อาทิ งานสร้างเสริมสุขภาพ งานสังคมสงเคราะห์ การพัฒนาสังคม การบรรเทาสาธารณภัย การรักษาความมั่นคงแห่งชาติ อาสาสมัครเป็นผู้ศรัทธางาน ทท่ี าเพื่อสาธารณประโยชน์โดยคานึงถงึ เวลาว่าง ความสามารถและความถนัดท่ีตนเองมีอยู่ เป้าหมาย หรือวัตถุประสงค์ของงานก็เพื่อประโยชน์แก่ส่วนรวมแก่องค์กรและแก่ผู้ประสบความทุกข์ยาก เดือดร้อนโดยไม่มีค่าจ้างค่าตอบแทนในการทางานและไม่ยึดงานท่ีปฏิบัติอยู่เป็นอาชีพอาสาสมัคร นอกจากจะปฏิบัติงานด้วยความสมัครใจแล้วยังต้องเป็นผู้พัฒนาคนเองตลอดเวลาทั้งด้านความรู้และ บุคลิกภาพเพื่อให้สามารถปฏิบัติการแก่ประชาชนผู้ประสบปัญหาและสาธารณประโยชน์โดยรวมได้ เป็นอยา่ งดี แต่ในสภาพความเปน็ จรงิ ทเ่ี กิดข้ึนในสังคมไทยพบวา่ สถานภาพคุณธรรมของประชาชนใน สงั คมไทย ท่ศี กึ ษาความคดิ เหน็ และพฤตกิ รรมของประชาชนต่อสถานภาพคุณธรรมของสังคมไทยโดย เกบ็ รวบรวมขอ้ มลู จากประชาชนทมี่ อี ายุ 15 ปขี ึ้นไป จานวน 8,000 คน ในเขตพื้นท่ีกรุงเทพมหานคร และปริมณฑลและในภูมิภาคต่าง ๆ 18 จังหวัดทั่วประเทศ พบว่า กลุ่มตัวอย่างท่ีมีอายุต่ากว่า 20 ปี มคี ณุ ธรรมด้านจติ อาสาในระดับตา่ สุดเมื่อเทียบกบั กลมุ่ อ่ืน โดยรอ้ ยละ 75.1 ของกลุ่มตัวอย่างกลุ่มน้ีมี ความเห็นวา่ การช่วยเหลอื ผอู้ ่ืนไมใ่ ชห่ นา้ ทขี่ องตน (ศนู ยค์ ณุ ธรรม องคก์ ารมหาชน, 2550, น. 17) จากการทบทวนขบวนการเคล่ือนไหวและเกิดรูปแบบอาสาสมัครในสังคมไทยน้ัน มีหลากหลายภารกิจ ทั้งอยู่ในรูปแบบการจัดตั้งโดยหน่วยงานภาครัฐ และเกิดจาการประสานเชิง ประเด็นหรือกิจกรรมขององคก์ รพัฒนาเอกชน และรูปแบบของบทบาทอาสาสมัครท่ีที่แบ่งตามทักษะ ความรู้จะแบ่งเป็นอาสาสมัครทั่วไป หรือ อาสาสมัครเฉพาะทาง และเมื่อแบ่งตามระยะเวลาจะเห็น บทบาทคือ อาสาสมัครระยะสั้นและอาสาสมัครระยะยาวท่ีเกิดข้ึนในสังคม เม่ือพิจารณาข้อมูล ภาพรวม ณ ปัจจุบันของอาสาสมัครในประเทศไทยจึงยังไม่มีความแน่ชัดและเป็นการประมาณการที่ เกิดข้ึนในภาพรวมระดับประเทศแต่มีอาสาสมัครประเภทหน่ึงท่ีมีการจัดระบบให้เกิดการขับเคล่ือน พร้อมท้ังการเครือข่ายการทางานได้อย่างชัดเจนและเป็นระบบการดา เนินงาน ทาให้เกิด การขับเคลื่อนระบบอาสาสมัครที่เกิดในสังคมไทยและเกิดกระบวนการพัฒนาการอย่างต่อเน่ืองคือ อาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้านหรือ อสม. เป็นอาสาสมัครหน่ึงซึ่งจัดอยู่ในประเภทสงเคราะห์ ผมู้ ีปญั หา กอ่ เกิดจากนโยบายกระทรวงสาธารณสุขท่ีริเริ่มนา “การสาธารณสุขมูลฐาน” มาเป็นกลวิธี หลักในการพัฒนาสุขภาพประชาชนต้ังแต่แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2520-2524) เปน็ ต้นมา โดยสนับสนนุ ให้มีการดาเนนิ งานสาธารณสุขมูลฐานครอบคลุมพื้นที่ท่ัว ประเทศ มุ่งเน้นให้ชุมชนตระหนักในความจาเป็นท่ีจะต้องแก้ไขปัญหาสาธารณสุขของชุมชนเอง Ref. code: 25595805038121LZO

3 ประเทศไทยเป็นประเทศท่ีมีอาสาสมัครสาธารณสุขมากท่ีสุดในโลก ขณะนี้มีอาสาสมัครสาธารณสุข ท่ัวประเทศ จานวน 1,084,108 คน (กองสนับสนุนสุขภาพภาคประชาชน, 2559, น. 3-4) โดยในปี พ.ศ. 2558 มีผู้สมัครเข้ามาเพ่ือเป็น อสม. จานวน 36,211 คน เพ่ิมข้ึนในอัตรา 3.34% ในปี พ.ศ. 2559 น้ัน เพิ่มขน้ึ จานวน 4,560 คน หรอื เพ่มิ ขนึ้ ในอตั รา 0.42% ดังนั้น การศึกษาดังกล่าวจึงมุ่งเน้นการศึกษาการศึกษาการวิเคราะห์คุณลักษณะ อาสาสมัครที่มีผลต่อบทบาทอาสาสมัครสาธารณสุข โดยการใช้กลุ่มเป้าหมายอาสาสมัครสาธารณสุข เพื่อเป็นตัวแทนการศึกษา เพ่ือหาปัจจัยร่วมสาคัญของอาสาสมัครไทย เนื่องจากยังไม่มีการศึกษา ความสัมพันธ์ที่เกิดข้ึนระหว่างคุณลักษณะอาสาสมัครที่สัมพันธ์กับบทบาทอาสาสมัครสาธารณสุข ผู้วิจัยจึงสนใจท่ีจะทาการศึกษาวิจัยความสัมพันธ์ระหว่างคุณลักษณะของอาสาสมัครท่ีส่งผลต่อ บทบาทอาสาสมัครสาธารณสุข โดยสัมพันธ์การปฏิบัติงานและบทบาทอาสาสมัครสาธารณสุข ท้ังนี้ จุดประสงค์ท่ีมุ่งเน้นไปยังอาสาสมัครสาธารณสุขเน่ืองจากมีรูปแบบการจัดการข้อมูลเครือข่าย อย่างชัดเจน การกระจายตัว และความสัมพันธ์และท่ีสาคัญอาสาสมัครสาธารณสุขกระจายตัวอยู่ใน ทุกพื้นท่ีตัวประเทศตั้งแต่ระดับหมู่บ้านจนถึงจังหวัด หรือระดับเขต ระดับประเทศและมีการพัฒนา รปู แบบของอาสาสมคั รสาธารณสขุ อย่างยาวนาน เพื่อเป็นแนวทางให้กับบคุ คลท่ัวไปหรือหน่วยงานท้ัง ภาครัฐและเอกชนพจิ ารณาถึงความพรอ้ มและพจิ ารณาคณุ ลกั ษณะกอ่ นการเข้าร่วมในการอาสาสมัคร ในแต่ละประเภทต่อไป นาคุณลักษณะน้ันมาออกแบบแผนกิจกรรมที่สอดรับกับอาสาสมัครหรือนา ข้อเสนอดังกล่าวมาสู่การพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายหรือแนวปฏิบัติในการส่งเสริมอาสาสมัครใน สังคมไทยอย่างตอ่ เน่ือง อันนามาส่กู ารพัฒนางานอาสาสมัครในสงั คมไทยอย่างยง่ั ยนื 1.2 มลู เหตุจูงใจในการศกึ ษา ผู้ศึกษามีความสงสัยต่อระบบอาสาสมัครในสังคมไทย เน่ืองด้วยการท่ีประชาชนท่ัวไป สนใจอาสาสมัครในแต่ละประเภทมีวิธีการคือ การค้นหาจากงานอาสาสมัครท่ีตนเองสนใจ หรือ รูปแบบอาสาสมัครท่ีจัดตั้งอันหมายถึงการดาเนินงานโดยหน่วยงานภาครัฐ หรือการแบ่งตาม ความชานาญอาสาสมัครจะแบ่งออกเป็นอาสาสมัครทั่วไป เช่น อาสาสมัครดูแลเด็ก อาสาสมัครอ่าน หนังสือ และประเภทอื่น ๆ อาสาสมัครเฉพาะทางอาสาสมัครที่มีความชานาญเฉพาะ ซึ่งต้องมี การพิจารณาถึงความรู้เฉพาะน้ัน ตลอดระยะเวลาการพัฒนางานอาสาสมัครไทยเน้นเรื่อง จิตอาสา เป็นหลักการสาคัญ ในสังคมไทยขบวนการอาสาสมัครที่สร้างเครือข่ายครอบคลุมทั่วประเทศคือ อาสาสมัครสาธารณสุขทีค่ อบคลมุ ทกุ พ้นื ท่ี และถอื เปน็ อาสาสมัครท่ีเข้าถงึ ประชาชนมากทส่ี ุด ทั้งน้ีพบว่า ในการทางานในบทบาทอาสาสมัคร ประเทศไทยน้ันยังไม่มีการพิจารณาถึง “คุณลกั ษณะ” เพ่ือเป็นแนวทางการพัฒนาระบบอาสาสมัคร หรือนากลับมาสู่การพัฒนาข้อเสนอเชิง Ref. code: 25595805038121LZO

4 นโยบายในการสนับสนุนและส่งเสริม จากการศึกษาปรากฏการณ์ด้านอาสาสมัครพบว่า อาสาสมัคร ด้านสาธารณสุขในสังคมไทยมีความต่อเน่ืองในพัฒนาการ พร้อมทั้งกลไกวิธีในการสร้างเครือข่าย ดงั นัน้ อาสาสมัครสาธารณสุขจงึ เป็นปรากฏการณ์หนึ่งท่ีเหมาะสมเป็นตัวแทนในการศึกษาคุณลักษณะ อาสาสมคั ร เพ่ือตอบโจทย์การพัฒนาท่ีชัดเจนให้เป็นแบบแผนรูปแบบการพัฒนา จากเดิมการพัฒนา อาสาสมัคร หรือสิ่งทีพ่ ฒั นาคนเข้ามาเป็นอาสาสมัครจะเน้นการพิจารณาเฉพาะบุคคล “เห็นแววและ การชักชวนเข้ามาทางานอาสาสมัครเท่าน้ัน” เพ่ือตอบโจทย์สาคัญดังกล่าวว่า คุณลักษณะใดท่ีสาคัญ และเก่ียวเน่ืองกับอาสาสมัครและเป็นคุณลักษณะที่สาคัญหรือพึงประสงค์ท่ีส่งผลต่อ จิตวิญญาณ อาสาสมัคร (จิตอาสา) หรือความเป็นจิตอาสาการปฏิบัติงานในบทบาทอาสาสมัคร ทั้งนี้เพื่อได้ อาสาสมัครเข้าสู่ระบบอย่างต่อเน่ืองเกิดการพัฒนาอาสาสมัครสาธารณสุข และเกิดการสร้างและ พฒั นาระบบอาสาสมัครไทย 1.3 วตั ถปุ ระสงค์ของการศึกษา 1. เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างคุณลักษณะอาสาสมัครสาธารณสุขกับบทบาท อาสาสมัครสาธารณสขุ 2. เพือ่ ศึกษาคุณลกั ษณะทม่ี อี ิทธิพลต่อบทบาทอาสาสมัครสาธารณสุข 1.4 คาถามการวจิ ยั 1. คณุ ลักษณะของอาสาสมคั รสาธารณสขุ ประกอบดว้ ยคุณลักษณะใด 2. คณุ ลักษณะใดทมี่ ีอิทธิพลตอ่ บทบาทอาสาสมคั รสาธารณสุขมากทส่ี ดุ 3. แนวทางและการการสนับสนุนส่งเสริมอาสาสมัครจะมีรูปแบบในการสนับสนุน อยา่ งไร 1.5 ขอบเขตของการศกึ ษา 1.5.1 ขอบเขตดา้ นประชากร ผู้มีส่วนร่วมในงานวิจัยครั้งนี้คือ อาสาสมัครสาธารณสุขในเขตพ้ืนที่จังหวัด นนทบุรี ที่มีการพัฒนาการทางานอย่างต่อเนื่อง โดยเหตุผลประการสาคัญคือ พื้นท่ีศึกษาจังหวัด นนทบุรีนั้นมีอาสาสมัครสาธารณสุขใน 2 บริบทคือ ในบริบทของพ้ืนท่ีเมืองและในบริบทของพื้นท่ี ชนบท โดยท้ัง 2 ส่วนต่างมีรูปแบบกลไกเดียวในการดาเนินการคือ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล Ref. code: 25595805038121LZO

5 ที่มีเครือข่ายอาสาสมัครในพื้นท่ีในการทาหน้าท่ีขับเคล่ือนการทางานอย่างต่อเนื่องทั้งท่ีภายใต้ สถานการณ์ทางสังคมท่ีต่างกันด้วยเหตุผลประการดังกล่าว ขอบเขตประชากรในการศึกษาจึง ประกอบดว้ ย อาสาสมคั รพ้ืนที่เขตเมอื งศกึ ษาโรงพยาบาลส่งเสรมิ สขุ ภาพตาบลไขแสง กาเนิดมี ตาบล บางเขน อาเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี จานวน 110 คน (ดูแลประชากรในพื้นที่ จานวน 21,852 คน) เขตพื้นท่ีชนบท ศึกษาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลวัดยอดพระพิมลตาบลขุนศรีอาเภอไทรน้อย จงั หวดั นนทบรุ ี จานวน 61 คน (ดแู ลประชากรในพ้ืนที่ จานวน 10,228 คน) 1.5.2 ขอบเขตดา้ นเน้อื หา การวิจัยในครั้งน้ีมุ่งศึกษาการคุณลักษณะของอาสาสมัคร จากการค้นคว้าและ ศึกษาข้อมูลจากเอกสาร และกาหนดกรอบคิดในการวิจัยโดยกาหนดตัวแปรอิสระจานวน 1 ตัวแปร คือ คุณลักษณะอาสาสมัครมีองค์ประกอบคือ 1) ความรู้สึกอิสระในการเป็นผู้เลือกงานอาสาสมัครที่ ตนเองสนใจ (Choose) 2) การปฏิบัติงานท่ีไม่ใช่ภาระงานที่ต้องทาตามหน้าท่ี (Beyond Basic Obligations) 3) สานึกความเปน็ เจ้าของ (Sense of Belonging) และตัวแปรตามคือ การปฏิบัติงาน ตามบทบาทอาสาสมัครสาธารณสุข (Volunteer Role) มี 4 องค์ประกอบ คือ 1) บทบาทเป็น ความคาดหวังท่ีเกิดขึ้นของอาสาสมัคร มิได้เก่ียวข้อง 2) บทบาทมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมใน การทางานของอาสาสมัครบทบาทในองค์การเป็นพฤติกรรมท่ีถูกคาดหวังให้ปฏิบัติงานหนึ่ง ๆ 3) อาสาสมัครรู้จักตนเองตามบทบาทหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย 4) พฤติกรรมอาสาสมัครตาม สถานการณท์ ก่ี าหนดใหจ้ ะต้องมคี วามเหมาะสมกบั การสง่ เสริมฐานะของตนเอง โดยกระบวนการศึกษาจะใช้วิธีการศึกษาการความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรต้น และตัวแปรตามการสร้างสมการทานาย โดยเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยมีการพัฒนาหาค่าความเชื่อมั่น และความเทยี่ งตรง ตามเนอื้ หากอ่ นมีการเกบ็ ขอ้ มลู 1.6 นิยามศพั ทท์ ่ใี ช้ในการศกึ ษา อาสาสมัคร หมายถึง การกระทาสิ่งต่าง ๆ ที่เห็นว่าเป็นสิ่งท่ีควรทาและเป็น ความรับผิดชอบต่อสังคม (Social Responsibility) โดยไม่หวังผลตอบแทนเป็นเงินทอง (Without Monetary Profit) และการกระทานี้ไม่ใช่ภาระงานท่ีต้องกระทาตามหน้าท่ี พร้อมกับการช่วยเหลือ นนั้ เปน็ ไปดว้ ยความสมคั รใจ รวมทั้งอาสาสมัครเตม็ ใจในการอาสาเพ่อื งานนัน้ โดยตรง คุณลักษณะอาสาสมัคร หมายถึง ลักษณะประกอบด้วย 3 ด้าน ประกอบด้วย ด้านความรู้สึกอิสระในการเป็นผู้เลือกงานอาสาสมัครที่ตนเองสนใจ (Choose) ด้านการปฏิบัติงานที่ ไม่ใช่ภาระงานที่ต้องทาตามหน้าที่ (Beyond Basic Obligations) ด้านสานึกร่วมหรือความเป็น Ref. code: 25595805038121LZO

6 เจ้าของร่วมเกิดการเสียสละและผูกพัน (Sense of Belonging) โดยทั้งหมดส่งผลต่อการปฏิบัติงาน ตามบทบาทอาสาสมคั ร (Volunteer Role) ความร้สู ึกอิสระในการเป็นผเู้ ลือกงานอาสาสมคั รทตี่ นเองสนใจหมายถึง หมายถงึ การที่ อาสาสมัครสามารถตัดสินใจเลือกการทางานได้ด้วยตนเอง มีโอกาสในการประสานการทางาน และ แลกเปล่ยี นกบั ผู้เก่ียวข้อง การปฏิบัติงานที่ไม่ใช่ภาระงานท่ีต้องทาตามหน้าที่ (Beyond Basic Obligations) หมายถงึ การที่อาสาสมคั ร เสียสละ เต็มใจ ต้ังใจ และเห็นอกเห็นใจในการทางานอาสาสมัครถึงแม้จะ มีภาระงานอน่ื ๆ สานึกร่วมหรอื ความเป็นเจา้ ของร่วมเกดิ การเสียสละและผูกพัน (Sense of Belonging) หมายถงึ ความร้สู กึ ว่าตนเองเป็นส่วนร่วมของการทางานให้ชุมชน สังคมของตนเอง รวมท้ังความรู้สึก ภาคภูมิใจที่ได้ทาเพอ่ื ส่วนร่วม บทบาทอาสาสมัคร หมายถึง การปฏิบัติงานที่ทุ่มเทพร้อมจะสละเวลาแรงกายและ สติปัญญา เพ่ือสาธารณประโยชน์ไม่นิ่งดูดายเม่ือพบเห็นปัญหาหรือความทุกข์ยากท่ีเกิดขึ้นกับผู้คน โดยเป็นไปตามบทบาทสถานะของอาสาสมัครท่ีสังคมได้มุ่งหวังไว้ ซึ่งโครงสร้างของบทบาท ประกอบด้วย ลักษณะที่เฉพาะของแต่ละบุคคล การแสดงพฤติกรรมและการเป็นอาสาสมัคร การมี ส่วนร่วมในกิจกรรมของอาสาสมัครโดยแบ่งองค์ประกอบใน 4 ด้าน คือ ด้านบทบาทเป็นความ คาดหวังท่ีเกิดขึ้นของอาสาสมัคร มิได้เก่ียวข้องหรือมุ่งไปท่ีตัวบุคคลมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมใน การทางานของอาสาสมัคร ด้านบทบาทในองค์การเป็นพฤติกรรมท่ีถูกคาดหวังให้ปฏิบัติงานหนึ่ง ๆ ด้านอาสาสมัครรู้จักตนเองตามบทบาทหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย ด้านพฤติกรรมอาสาสมัครตาม สถานการณ์ท่ีกาหนดให้จะต้องมีความเหมาะสมกบั การสง่ เสรมิ ฐานะของตนเอง ด้านบทบาทเป็นความคาดหวังท่ีเกิดข้ึนของอาสาสมัคร มิได้เก่ียวข้องหรือมุ่งไปท่ี ตัวบุคคล หมายถึง เป้าหมายการทางานเพ่ือให้เกิดผลดีกับภาพรวมของชุมชนมากกว่าตอบสนอง คนใดคนหน่งึ บทบาทมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมในการทางานของอาสาสมัครบทบาทในองค์การ เป็นพฤติกรรมท่ีถูกคาดหวังให้ปฏิบัติงานหนึ่ง ๆ หมายถึง บทบาทที่ได้รับความไว้วางใจจากชุมชนที่ พิจารณาได้จาก การมีส่วนร่วมในกิจกรรม การพบปะพูดคุยทักทาย ปรึกษาหารือ ในการทางานกับ ชมุ ชนอย่างเปน็ กนั เอง อาสาสมัครรู้จักตนเองตามบทบาทหน้าท่ีที่ได้รับมอบหมาย หมายถึง บทบาทใน การตดิ ตามขอ้ มูลขา่ วสาร เขา้ รว่ มประชมุ มีส่วนรว่ มในการเรยี นรแู้ ละปฏบิ ตั หิ นา้ ทกี่ ารทางาน พฤติกรรมอาสาสมัครตามสถานการณ์ท่ีกาหนดให้จะต้องมีความเหมาะสมกับ การส่งเสริมฐานะของตนเอง หมายถึง อาสาสมัครได้ใช้ความรู้ในการปฏิบัติงานอย่างเต็มท่ีโดย Ref. code: 25595805038121LZO

7 การทางานเพ่ือส่วนรวม การให้คาอธิบายแก่ชุมชนสังคม และอาสาสมัครมีความพอใจในบทบาท ตนเองท้ังในเรอื่ งความสัมพันธ์ระหว่างคนในชุมชนและในการทตี่ นเองมบี ทบาทสาคญั ในชุมชน อาสาสมัครสาธารณสุข หมายถึง บุคคลที่ได้รับการคัดเลือกจากชาวบ้านในแต่ละกลุ่ม บ้านและได้รับการอบรมตามหลักสูตรท่ีกระทรวงสาธารณสุขกาหนด โดยมีบทบาทหน้าท่ีสาคัญใน ฐานะผู้นาการเปลี่ยนแปลงด้านพฤติกรรมสุขภาพอนามัย (Change Agents) การสื่อข่าวสาร สาธารณสุข การแนะนาเผยแพร่ความรู้ การวางแผน และประสานกิจกรรมพัฒนาสาธารณสุข ตลอดจนให้บริการสาธารณสุขด้านต่าง ๆ เช่น การส่งเสริมสุขภาพ การเฝ้าระวังและป้องกันโรค การช่วยเหลือและรักษาพยาบาลข้ันต้น โดยใช้ยาและเวชภัณฑ์ตามขอบเขตที่กระทรวงสาธารณสุข กาหนด การส่งต่อผปู้ ่วยไปรบั บรกิ าร การฟืน้ ฟสู ภาพ และการคุม้ ครองผู้บรโิ ภคดา้ นสุขภาพ 1.7 ประโยชนท์ ี่จะได้รับ 1. เพือ่ ทราบถงึ คณุ ลกั ษณะของอาสาสมคั รสาธารณสขุ 2. เพอ่ื ทราบถงึ คณุ ลักษณะใดมีอทิ ธิพลต่อบทบาทอาสาสมคั รมากท่สี ุด 3. ได้แนวทางในการส่งเสริมและสนับสนุนบทบาทอาสาสมัคร เพื่อนามาใช้ในการ พัฒนาอาสาสมคั รสาธารณสขุ ต่อไป Ref. code: 25595805038121LZO

8 บทที่ 2 แนวคดิ ทฤษฏี และผลงานวจิ ยั เก่ียวข้อง การศึกษาเร่ือง “คุณลักษณะอาสาสมัครที่มีผลต่อบทบาทอาสาสมัครสาธารณสุข” ผู้ศกึ ษาได้ศกึ ษา แนวคดิ ทฤษฏี และผลงานวิจัยท่เี ก่ียวขอ้ ง ได้นาเสนอดังนี้ 2.1 แนวคดิ และทฤษฎีทเ่ี กยี่ วขอ้ งกับบุคลกิ ภาพ 2.1.1 ความหมายของบุคลกิ ภาพ 2.1.2 ทฤษฎีเกย่ี วข้องกับบคุ ลิกภาพ 2.2 แนวคิดและทฤษฎที เี่ กย่ี วข้องกับความตอ้ งการของอาสาสมคั ร 2.3 แนวคดิ และทฤษฎที เ่ี กย่ี วข้องกับอาสาสมัคร 2.3.1 ความหมายของอาสาสมคั ร 2.3.2 แนวคดิ องคป์ ระกอบและคุณลกั ษณะอาสาสมัคร 2.4 แนวคิดเกยี่ วกับอาสาสมคั รสาธารณสุขประจาหมบู่ า้ น 2.4.1 ความหมายของอาสาสมัครสาธารณสุข 2.4.2 บทบาทของอาสาสมัครสาธารณสขุ 2.5 งานวิจัยทเ่ี กย่ี วข้อง 2.6 กรอบแนวคดิ ในการศกึ ษา 2.1 แนวคิดและทฤษฎีที่เก่ียวข้องกบั บุคลกิ ภาพ แนวคิดและทฤษฎีเก่ียวกับบุคลิกภาพ เป็นการสรุปนิยามและความหมายและสะท้อน กรอบคิดเพื่อเช่ือมโยงเรื่องบุคลิกภาพท่ีสะท้อนคุณลักษณะของอาสาสมัคร โดยการสรุปแนวคิดและ นิยามจากเอกสาร การทบทวนวรรณกรรม และงานวจิ ยั ทีเ่ กย่ี วขอ้ ง 2.1.1 ความหมายของบคุ ลิกภาพ ความหมายในด้านบุคลกิ ภาพมีผู้ให้ความหมายไว้หลากหลาย ประเด็นสาคัญ คือ บุคลิกภาพในบางขณะสามารถทานายพฤติกรรมบุคคลผู้นั้นหรือคุณลักษณะบุคคลได้ ทั้งนี้จาก ผลการศึกษาพบการนยิ ามคุณลักษณะไดใ้ นหลายลกั ษณะ Ref. code: 25595805038121LZO

9 กอร์ดอน อัลพอร์ท (Allport, as cited in Pennington, 2003) ให้ความหมาย ของบุคลิกภาพว่า เป็นโครงสร้างที่มีพลวัดซ่ึงอยู่ภายในบุคคลในระบบทางกายและจิตใจ ซ่ึงเป็นตัว กาหนดการปรับเปล่ยี นไปตามสงิ่ แวดลอ้ ม แฮนด์ ไฮแซงค์ (Eysenck, as cited in Pennington, 2003) ให้ความหมาย ของบคุ ลกิ ภาพว่า เป็นส่ิงที่มีความคงทีไม่มากก็น้อย และมีโครงสร้างที่คงท่ีในลักษณะ แต่ละคน อารมณ(์ ทตี่ อบสนอง) ความคิด รปู รา่ ง ซ่ึงเป็นตวั กาหนดให้เกดิ การปรับเปลย่ี นไปตามสิง่ แวดล้อม เรมอนด์ แคทเทลล์ (Cattell, as cited in Pennington, 2003) ให้ความหมาย ของบุคลิกภาพว่า เป็นส่ิงท่ีทานายว่า บุคคลนั้นจะทาอะไรในสถานการณ์น้ัน ๆ ซึ่งเก่ียวกับพฤติกรรม ทง้ั หมดของบคุ คลนัน้ โดยรวมท้งั ภายในและภายนอก เฟอิสท์ และ เฟอิสท์ (Feist & Feist, 2006, p. 4) กล่าวว่า บุคลิกภาพคือ รูปแบบของลักษณะนิสัยที่ถาวรของบุคคลใดบุคคลหนึ่ง และเป็นลักษณะที่เป็นหนึ่งเดียว ไม่เปล่ียนแปลง ดงั น้นั แตล่ ะบคุ คลจึงมกี ารแสดงออกของพฤติกรรมท่แี ตกตา่ งกนั ศรีเรือน แก้วกังวาล (2548, น. 94-95) อธิบายว่า บุคลิกภาพ คือ ลักษณะ เฉพาะตวั ของบคุ คลในดา้ นต่าง ๆ ทง้ั สว่ นภายนอกและภายในส่วนภายนอก คือ ส่วนท่ีมองเห็นชัดเจน เช่น รูปร่าง หน้าตา กิริยามารยาท การแต่งตัว วิธีพูดจา การนั่ง การยืน ฯลฯ และส่วนภายใน คือ ส่วนท่ีมองเห็นได้ยาก แต่อาจทราบได้โดยการอนุมาน เช่น สติปัญญา ความถนัด ลักษณะอารมณ์ ประจาตวั ความใฝฝ่ นั ปรารถนา ปรัชญาชีวิต ค่านยิ ม ความสนใจ ฯลฯท้ังน้ีไม่สามารถแยกบุคลิกภาพ ออกเปน็ สว่ นได้ เพราะทุก ๆ ลักษณะของบุคลิกภาพต่างมีความสัมพันธ์ต่อกันและมีผลกระทบต่อกัน เป็นลูกโซ่ นพมาศ อุ้งพระ (ธีรเวคิน) (2551, น. 83-85) กล่าวว่า แม้คานิยามจะมี หลากหลายแต่นักวิชาการโดยท่ัวไปก็เห็นพ้องกันว่าบุคลิกภาพคือ โครงสร้างทางจิตวิทยา (Psychological Construct) เป็นมโนคติท่ีสลับซับซ้อนซึ่งได้รวมถึงภูมิหลังทางยีนส์ของบุคคล (ยกเว้นฝาแฝดเหมือน) และประวัติการเรียนรู้ รวมท้ังวิธีท่ีความซับซ้อนเหล่านี้รวมองค์และ ประสานกนั ทาให้เกดิ พฤติกรรมสนองต่อสิง่ เหล่านี้เฉพาะในสง่ิ แวดล้อม สุพานี สฤษฎว์ านิช (2552, น. 94) สรุปลกั ษณะของบคุ ลกิ ภาพไว้ ดังน้ี 1. บคุ ลกิ ภาพเปน็ ภาพรวมทุกแงท่ ุกมมุ ของบุคคลน้นั 2. บคุ ลิกภาพสามารถสังเกตไดแ้ ละวดั ได้ 3. บุคลิกภาพโดยทั่วไปจะคงท่ีและสม่าเสมอ เช่น เป็นคนอารมณ์ผันผวนง่าย เป็นนิจ 4. บุคลิกภาพจะมีทั้งส่วนทเี่ หน็ ไดง้ ่ายและส่วนท่ีอยู่ลึก เช่น สภาวะภายในจิตใจ ของบคุ คลนน้ั ๆ Ref. code: 25595805038121LZO

10 5. บุคลิกภาพจะมีทั้งส่วนที่เป็นเหมือน ๆ กัน (Common) และส่วนที่เป็น ลกั ษณะเฉพาะ (Unique) ไม่เหมือนคนอนื่ ดังนั้น จึงสรุปได้ว่า บุคลิกภาพคือ ลักษณะเฉพาะของบุคคลในแต่ละคน สามารถปรับได้ตามบริบทหรือสภาพแวดล้อมท่ีกาหนดให้เกิดขึ้น และบางขณะมีลักษณะคงที่ ซ่ึงประกอบด้วยส่ิงที่อยู่ภายใน เช่น อารมณ์ ความคิด ฯลฯ และสิ่งท่ีปรากฏให้เห็นภายนอก เช่น รปู ร่าง การพูดจา ฯลฯ โดยสามารถแสดงออกมาเปน็ พฤติกรรม โดยพฤติกรรมที่แสดงออกมาสามารถ ทานายได้ หาสาเหตุท่ีเกิดข้ึนอย่างมีความเชื่อมโยงสัมพันธ์อย่างเป็นลูกโซ่ ซ่ึงเช่ือมโยงทั้งบุคลิกและ คุณลักษณะของแต่ละบุคคล ส่ิงเหล่านี้จึงเป็นประเด็นที่นามากาหนดคุณลักษณะหรือบุคลิกภาพได้ ดังตาราง 2.1 ตารางที่ 2.1 สรุปความหมายของบุคลิกภาพ Hans Raymond Feist and ศรเี รือน นพมาศ สพุ านี ความหมายบคุ ลิกภาพ Gordon Eysenck Cattell Feist แกว้ กงั วาล องุ้ พระ สฤษฎว์ านชิ Allport (2003) (2003) (2003) (2006) (2548) (ธีรเวคิน) (2552) (2551) พลวตั รซ่ึงอยภู่ ายใน   - - - บุคคลมกี ารปรบั ตาม  สภาพแวดล้อม - - - - - มคี วามคงทไี มม่ ากก็ - นอ้ ย   เป็นส่งิ ทท่ี านายวา่ - บุคคลน้ันจะทาอะไร  แต่ละบคุ คลจงึ มีการ แสดงออกของ  พฤตกิ รรมที่ แตกต่างกัน ลกั ษณะเฉพาะตัวของ บุคคลในดา้ นต่าง ๆ ท้ัง สว่ นภายนอกและ ภายใน Ref. code: 25595805038121LZO

11 ตารางท่ี 2.1 สรปุ ความหมายของบคุ ลิกภาพ (ตอ่ ) ความหมายบคุ ลิกภาพ Gordon Hans Raymond Feist and ศรีเรอื น นพมาศ สพุ านี Allport Eysenck Cattell Feist แก้วกงั วาล อ้งุ พระ สฤษฎ์วานชิ (2003) (2003) (2003) (2006) (2548) (ธีรเวคนิ ) (2552) (2551) โครงสรา้ งทางจิตวทิ ยา - - - -   - (psychological construct) บุคลิกภาพจะมีทัง้ ส่วน  - -- - ท่เี ปน็ เหมือนๆกนั (Common) และสว่ น ทเี่ ป็นลกั ษณะเฉพาะ (Unique) หมายเหตุ.  หมายถงึ ปรากฏเนื้อหาในส่วนดังกล่าว 2.1.2 ทฤษฎีเกีย่ วขอ้ งกบั บคุ ลกิ ภาพ นักวิชาการไดม้ กี ารนยิ ามบคุ ลิกภาพของมนุษย์มีจุดเชื่อมโยงในหลายปัจจัย และ มีกลุ่มทฤษฎีที่หลากหลายเพื่อนามาอธิบายปรากฏการณ์ทางสังคมท่ีเกิดขึ้น พร้อมทั้งทานาย พฤตกิ รรมทเี่ กดิ ขึ้นทั้งในดา้ นบวกและด้านลบของมนษุ ย์ ดังสามารถอธิบายไดค้ อื ศรีเรือน แก้วกังวาล (2558, น. 337) ได้สรุปถึงแนวคิดทฤษฎีบุคลิกภาพต่าง ๆ ของกลุ่มแนวคิดและฐานแนวคิดในการพัฒนาการของกลุ่มทฤษฎีบุคลิกภาพ โดยแต่ละกลุ่มความคิด นน้ั ตา่ งมรี ูปแบบ ไวด้ งั ตารางท่ี 2.2 Ref. code: 25595805038121LZO

12 ตารางท่ี 2.2 สรุปแนวคดิ ตา่ ง ๆ เก่ียวกบั ทฤษฎบี คุ ลกิ ภาพ แนวคดิ ฐานแนวคดิ หลกั การสาคัญ 1. จติ วเิ คราะห์ พฤติกรรมของบุคคลถูกควบคุม คน้ หาพลังจิตใต้สานกึ และ (Psychoanalysis) โดยพลังเร้าภายในซงึ่ บางครง้ั อธิบายว่าพลงั เหล่านี้ทาให้ บคุ คลไมต่ ระหนักรู้ เช่น บคุ ลกิ ภาพต่าง ๆ ออกไปทง้ั จติ ใตส้ านกึ เน้นความสาคัญ บุคลกิ ปกติและผิดปกติ ของประสบการณ์วัยเดก็ 2. มนษุ ยนิยม บุคคลท่วั ไปเป็นคนดมี าแต่ ภาพลักษณ์ของตน ทั้งทางบวก (Humanistic) กาเนดิ แตบ่ คุ คลอาจมี และทางลบ มีอทิ ธิพลต่อ ภาพลกั ษณ์ดา้ นลบต่อตนเอง พฤติกรรม ถา้ อย่ใู นส่ิงแวดลอ้ มท่ีบนั่ ทอน ไอแซ้ง (Eysenck, 1964, อ้างถึงใน อัญพร พูลทรัพย์, 2546, น. 13) เป็นอีกผู้ หนึง่ ทอี่ ธิบายบุคลกิ ภาพโดยจัดกลุม่ ลักษณะนิสยั (Trait) และใช้กระบวนการทางสถิติด้วยวิธีวิเคราะห์ องค์ประกอบ (Factor Analysis) เช่นเดียวกับแคทเทลล์ เขาแบ่งกลุ่มออกเป็นสองมิติ มิติหนึ่ง คือ อารมณม์ นั่ คงค่คู า้ นกับอารมณ์หวน่ั ไหว (Emotional Stability-Neuroticism) อีกมติ ิหน่ึงคือ เก็บ ตัวคู่ค้านกับแสดงตัว (Introvert-Extraversion) หรือที่เรียกว่า “Big Two” ความสัมพันธ์ระหว่าง สองมิตินี้ สามารถกาหนดลักษณะนิสัยได้ถึง 32 ลักษณะ และได้พัฒนาแบบวัดบุคลิกภาพ MPI (Maudsley Personality Inventory) ซึ่งอยบู่ นพื้นฐานของลกั ษณะนิสยั 2 มิติดังกล่าว ทฤษฎีของไอ แซ้งค์คล้าย ๆ กับทฤษฎีเทรทของท่านอื่น ๆ ตราบที่มีการวิเคราะห์บุคลิกภาพด้วยกระบวนการทาง สถิติ แต่มีความแตกต่างจากทฤษฎีอื่นในประเด็นท่ีเขาได้ให้ความสาคัญต่อปัจจัยทางชีวภาพว่า เป็น ตวั กาหนดลกั ษณะบุคลกิ ภาพของบุคคลมากกว่าปัจจัยทางส่ิงแวดลอ้ ม อัญพร พูลทรัพย์ (2546, น. 11) คุณลักษณะ (Trait) หลักการเบื้องต้นของ ทฤษฎีเทรทคือ การจาแนกบุคคลตามลักษณะแนวโน้มของนิสัย (Trait) และวิธีการแสดงออกใน สถานการณต์ ่าง ๆ โดยแต่ละบุคคลจะแสดงออกต่างกันในสถานการณ์ท่ีต่างกัน นักจิตวิทยาในกลุ่มน้ี จะพยายามเสาะหารายช่ือลักษณะนิสัยที่เป็นคาสั้น ๆ ท่ีจะใช้อธิบายนิสัยของคนท่ัว ๆ ไป ลักษณะเด่นของทฤษฎีเทรท ประการแรกคือ ความคงที่ (Consistency) บุคคลจะมีลักษณะโดดเด่น หลาย ๆ อย่างภายในตัว และจะแสดงคุณลักษณะน้ันออกมาในสถานการณ์ต่าง ๆ กัน ถ้าเรารู้จัก Ref. code: 25595805038121LZO

13 ลักษณะนิสัยของบุคคลใดจะสามารถอธิบายพฤติกรรมของเขาในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้ ประการท่ี 2 คือ ความแตกต่างระหว่างบุคคล (Individual Difference) ทฤษฎีน้ีมีแนวคิดว่าแต่ละคน ประกอบด้วยกล่มุ ลักษณะนสิ ยั หลายอย่างซ่งึ เปน็ ลักษณะเฉพาะตวั ไม่มใี ครเหมือนใคร อัลพอร์ต (Allport, 1961, อ้างถึงใน อัญพร พูลทรัพย์, 2546, น. 11) เชื่อว่า บุคลิกภาพของบุคคลถูกกาหนดจากเทรท (Trait) ซึ่งเป็นลักษณะนิสัยหรือความเคยชิน เทรทมี มากมายหลายประการ ไม่มีเทรทใดตายตัวในแต่ละบุคคล บุคคลจะแสดงลักษณะเทรทใด ๆ โดดเด่น ออกมานนั้ ขน้ึ อย่กู ับสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพ และพลังกดดนั ทางสังคมขณะนั้น อัลพอร์ตอธิบายว่า เทรทของบคุ คลมี 3 ประเภท 1. Cardinal Traits คือ Trait ที่โดดเด่นในตัวบุคคลในแง่ใดแง่หนึ่ง มีอิทธิผล อย่างย่ิงต่อพฤติกรรมของบุคคลเกือบทุกด้าน เป็นลักษณะเด่นของบุคคลท่ีแสดงออกมาให้เห็นอย่าง ชัดเจน ไม่สามารถซ่อนเร้นได้ มีลักษณะเหนือลักษณะอ่ืนท้ังหมด เป็นลักษณะที่เราใช้บุคลิกภาพ อ้างอิง (Reference Personality) 2. Central Traits เป็นกลุ่มลักษณะนิสัยของบุคคลใดบุคคลหน่ึงท่ีมีอยู่ภายใน ตัวบุคคลมากบ้างน้อยบ้าง เป็นลักษณะที่มีร่วมกับผู้อ่ืน ซึ่งมาสามารถสังเกตเห็นได้ในชีวิตประจาวัน เชน่ ความรกั พวกพอ้ ง ความทะเยอทะยาน ความเช่อื มนั่ ในตัวเอง เปน็ ตน้ 3. Secondary Traits เป็นลักษณะนิสัยที่ไม่โดดเด่นมากนักภายในตัวบุคคล เป็นทัศนคติของบุคคลในการตอบโต้สถานการณ์อัลพอร์ตเน้นความเป็นเอกัตบุคคล โดยเชื่อว่า แม้บุคคลจะมีเทรทเหมือนกัน แต่การแสดงออกในสถานการณ์ต่าง ๆ และระดับความรุนแรงจะ แตกต่างกนั ทาให้บคุ คลมบี คุ ลกิ ภาพท่แี ตกตา่ งกนั ลักษณะบคุ ลิกภาพ (Traits) หมายถึง ความโน้มเอียงในการแสดงพฤติกรรมของ บุคคล ลักษณะบุคลิกภาพเป็นแนวคิดหน่ึงในเร่ืองลักษณะนิสัย (Disposition) น่ันคือเป็นลักษณะ บางอย่างท่ีมีลักษณะค่อนข้างคงที่ ไม่ค่อยมีการเปลี่ยนแปลงในขณะใด ๆ เช่นเดียวกับความสูงของ บุคคลซึ่งเป็นลักษณะค่อนข้างคงท่ี แต่ในทางกลับกันก็ยังคงมีลักษณะบุคลิกภาพบางประการซ่ึงเป็น ลักษณะท่ีแฝงอยู่ เปรียบได้กับคุณสมบัติทางกายภาพของวัตถุ เช่น การละลาย (Solubility) ซึง่ คณุ สมบัติของการละลายนั้นถือไดว้ ่าเปน็ ลักษณะแฝงทป่ี รากฏในสถานการณอ์ กี อยา่ งหนึ่ง เบอเกอร์ (Burger, 2000, pp. 53-54, อ้างถึงใน นภัสวรรณ ตู้ปัญญากนก, 2550, น. 22) ได้แบ่งแนวทางในการศึกษาทฤษฎอี อกเปน็ 6 แนวทาง ซึง่ สรปุ ได้ดังนี้ 1. แนวจิตวิเคราะห์ (Psychoanalysus Approach) มีประเด็นสาคัญหลาย ประการ อาทิ พลังของจิตใต้สานึกและพัฒนาการท่ีต่อเน่ืองจากวัยเด็ก ทฤษฎีดังกล่าว เช่น ทฤษฎี ฟรอยด์ (Freud) จุง (Jung) แอดเลอร์ (Adler) อีริคสัน (Erikson) ฮอร์นาย (Horney) ซัลลิแวน (Sulivan) และฟรอมม์ (Fromm) Ref. code: 25595805038121LZO

14 2. แนวลักษณะนิสัย (Trait Approach) เช่ือว่า ลักษณะในตัวบุคคล (Trait) จะเป็นตัวทานายพฤติดรรมได้ เช่น ทฤษฎีของอัลพอร์ต (Allport) เมอร์เรย์ (Murray) และ แคทเทลล์ (Cattell) 3. แนวชีววิทยา (Biological Approach) เชื่อว่าพันธุกรรมและลักษณะทาง รา่ งกายเป็นตวั กาหนดบุคลกิ ภาพทแ่ี ตกต่างกนั เชน่ ทฤษฎขี องเชลดอน (Sheldon) 4. แนวมนุษยนิยม (Humanistic Approach) เช่น ทฤษฎีของโรเจอร์ (Roger) และมาสโลว์ (Maslow) เน้นความเป็นมนุษย์ อาทิ ความรับผิดชอบ การอยู่กับปัจจุบัน ความเป็น ปัจเจกชน การพัฒนาบุคลิกภาพสคู่ วามวัฒนะ 5. แนวพฤติกรรมนิยม (Behavioral) เช่น ทฤษฎีของสกินเนอร์ (Skinner) เช่ือว่า พฤติกรรมเกิดจากกระบวนการเรียนรู้ มีแนวคิดสาคัญหลายประการ เข่น แรงขับ (Drive) สงิ่ เรา้ (Stimulus) การตอบสนอง (Response) การเสรมิ แรง (Reinforcement) 6. แนวพุทธิปัญญา (Cognitive Approach) เช่น ทฤษฎีของเคลลี่ (Kelly) เช่ือว่าบุคลิกภาพที่แตกต่างเกิดจากกระบวนการรับข้อมูลต่างกัน เช่น การที่ได้พบเหตุการณ์เดียวกัน แต่การตอบสนองตอ่ เหตกุ ารณ์นัน้ อาจไมเ่ หมือนกนั ทฤษฎบี ุคลิกภาพมีการศึกษาหลายกลมุ่ (สุพานี สฤษฏว์ านชิ , 2552, น. 95) 1. ทฤษฎีกลุ่มคุณลักษณะ (Trait Theory) จะมุ่งศึกษาลักษณะนิสัย (Trait) ของบคุ คลเปน็ สาคัญ เข่น ทฤษฎีของอลั พอร์ต 2. ทฤษฎีกลุ่มจิตวิเคราะห์ (Psychoanalysis Theory) ทฤษฎีที่มีชื่อเสียงใน กลุ่มนค้ี อื ทฤษฎีของซิกมนั ด์ ฟอยด์ และทฤษฎขี องคารล์ กุสตาฟ จงุ เป็นตน้ 3. ทฤษฎีกลุ่มมนุษยนิยม (Humanistic Theory) ทฤษฎีในกลุ่มน้ีจะเป็นทฤษฎี ของนกั มนษุ ยสัมพนั ธ์ เช่น ทฤษฎชี องมาสโลว์ 4. ทฤษฎีกลุ่มประสานนิยม (Integrative Theory) ทฤษฎีในกลุ่มน้ีมุ่งศึกษา บุคลิกภาพของบุคคลโดยครอบคลุมท้ังอารมณ์ ความรู้สึกนึกคิด ทัศนคติ ความคาดหวังและ พฤตกิ รรมต่าง ๆ ท่ีแสดงออก และแนวคดิ บคุ ลกิ ภาพห้าองคป์ ระกอบได้ถูกจัดอยู่ในกลุ่มของทฤษฎีคุณลักษณะ นิสัย (Trait Theory) คุณลักษณะนิสัย (Traits) เป็นคาศัพท์ที่นาไปใช้ในการอธิบายพฤติกรรมที่มี ความแตกต่างกันไปในแต่ละบุคคล คุณลักษณะนิสัย (Traits) หมายถึง ความโน้มเอียงในการแสดง พฤติกรรมของบุคคล คุณลักษณะทางบุคลิกภาพเป็นแนวคิดหน่ึงในเรื่องลักษณะนิสัย (Disposition) น่ันคือ เป็นลักษณะบางอย่างที่มีลักษณะค่อนข้างคงที่ ไม่ค่อยมีการเปล่ียนแปลง ในลักษณะ เช่นเดียวกับความสูงของบุคคลซึ่งมีลักษณะค่อนข้างคงท่ี แต่ในทางกลับกันก็ยังมีลักษณะบุคลิกภาพ Ref. code: 25595805038121LZO

15 บางประการซึ่งเป็นลักษณะที่แฝงอยู่ เปรียบได้กับคุณสมบัติทางกายภาพของวัตถุบางประเภท ซ่ึง คณุ สมบัติละลายน้าได้ (Solubility) นนั้ ถอื ไดว้ า่ เปน็ ลกั ษณะแฝงที่ปรากฏในสถานการณอ์ ีกอยา่ งหนง่ึ ศรีเรือน แก้วกังวาล (2558, น. 66) ได้กล่าวถึง แมคเครและคอสตา ในการพัฒนาเร่ืองบุคลิกภาพ 5 องค์ประกอบ (The Big Five) และแบบสอบถามบุคลิกภาพ 5 องค์ประกอบ ที่ได้รับการยกย่องในวงการจิตวิทยาท่ีเน้นการทดสอบในคุณลักษณะท้ัง 5 ประกอบด้วย 1. การแสดงตัว (Extraversion) 2. ความออ่ นไหว (Neroticism) 3. การเปิดรบั ประสบการณ์ (Openness to Experience) 4. การเขา้ กับผ้อู ่นื ไดด้ ี (Agreeableness) 5. การมจี ติ สานกึ และการมคี วามรบั ผดิ ชอบ (Conscientiousness) เพ่ือนามาวัดลักษณะกลุ่มนิสัยหรือคุณลักษณะของบุคคลหนึ่ง เพื่อสะท้อน ความเป็นตัวตนและคุณลักษณะของบุคคลนัน้ ท่เี ดน่ ชดั พร้อมท้งั เปน็ การทานายพฤติกรรมท่เี กิดข้นึ จึงสรุปได้ว่า การศึกษาบุคลิกภาพ คือ การศึกษาความคงที่ (Consistency) ความซบั ซอ้ น (Complexity) ความหลากหลาย และความเป็นเอกลักษณ์ เฉพาะตัวบุคคล เนื่องจาก ความซับซ้อนและความหลากหลายของบุคลิกภาพ และประวัติการศึกษาบุคลิกภาพที่มีมาเป็นเวลา ยาวนาน ทาให้มีคาอธิบาย และข้อสรุปแนวคิดหลายวิธี เรียกว่า “ทฤษฏี” แต่ละทฤษฎีมีข้อจากัด จุดเด่นและจุดด้อยท่ีต่างกัน ซึ่งต้องเลือกใช้อย่างเหมาะสม เพราะแต่ละทฤษฎีพยายามอธิบายด้วย หลักการ และแนวคิดที่แตกต่างกันออกไป บุคลิกภาพของบุคคลหนึ่ง แต่ไม่สามารถนาแนวคิดอ่ืนมา อธิบายได้ บุคลิกภาพบางแบบต้องใช้หลายแนวคิดมาร่วมอธิบาย (ศรีเรือน แก้วกังวาล, 2548, น. 8) โดยแนวคิดและทฤษฎีบุคลิกภาพที่สาคัญ ๆ ได้แก่ ทฤษฏีจิตวิเคราะห์แนวคิดฟรอยด์ (Freudian Psychoanalysis) ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม (Behavioral Theory) ทฤษฎีมนุษยนิยม (Humanistic Theory) ทฤษฎีลักษณะนิสัย (Trait Theory) ทั้งน้ีทฤษฎีคุณลักษณะนิสัยได้รับความนิยมมาก เน่ืองจากช้ีให้เห็นว่าบุคลิกภาพสามารถอธิบายเป็นมาตราหรือมิติท่ีต่อเน่ืองกันได้ แต่คุณลักษณะน้ี ไม่สามารถวัดได้โดยตรง จาเป็นต้องอาศัยพฤติกรรมหรือคาตอบจากแบบทดสอบบุคลิกภาพ (Personality Test) รวมถึงลักษณะของบุคคลๆหน่ึงไม่สามารถอธิบายด้วยคาที่เรานามาประเมินได้ ทั้งหมด นั่นคือ มีลักษณะบางอย่างเป็นลักษณะท่ีปรากฏในทุกคน (Nomothetic Traits) และ ในขณะเดียวกนั กม็ ลี กั ษณะบางอย่างท่ีเปน็ ลักษณะเฉพาะของบคุ คล (Idiographic Traits) Ref. code: 25595805038121LZO

16 2.2 แนวคดิ และทฤษฎที เ่ี ก่ียวขอ้ งกบั ความตอ้ งการของอาสาสมคั ร ความต้องการของมนษุ ยม์ คี วามตอ้ งการทหี่ ลากหลายและไมส่ ้นิ สดุ โดยความต้องการใน การศึกษาประเด็นดงั กล่าวในความตอ้ งการของมนุษย์น้ัน ได้มีนักวิชาการหลายท่านได้ศึกษาพร้อมทั้ง สรปุ ความตอ้ งการของมนษุ ย์ออกมาเพอื่ อธบิ ายพฤตกิ รรมของมนุษย์ทีเ่ กิดขึ้น ทฤษฎีลาดับความต้องการของ Maslow (Maslow’s Need Hierarchy) Maslow (1954, pp. 80-101) ไดว้ างหลักไว้ว่า ผปู้ ฏิบตั ิงานจะถูกจูงใจหรือกระตุ้นให้ปฏิบัติงานเพื่อตอบสนอง ความต้องการบางอย่างท่ีอยู่ ภายในทฤษฎีนี้ตั้งอยู่บนสมมติฐานสามประการคือ ประการท่ีแรก มนุษยท์ กุ คนมีความตอ้ งการ และความต้องการนี้จะไม่มีที่ส้ินสุด ประการต่อมา ความต้องการที่ได้รับ การตอบสนองแล้วจะไม่เป็นแรงจูงใจสาหรับพฤติกรรมอีกต่อไป ความต้องการที่มีอิทธิพลก่อให้เกิด พฤตกิ รรมทแ่ี สดงออกมานัน้ เปน็ ความตอ้ งการที่ยงั ไม่ไดร้ บั การตอบสนองความต้องการใดท่ีได้รับการ ตอบสนองเสร็จส้ินไปแล้ว จะไม่เป็นตัวก่อให้เกิดพฤติกรรมอีกต่อไป และประการสุดท้าย ความตอ้ งการของมนษุ ยจ์ ะมลี ักษณะเป็นลาดบั ขั้น จากต่าไปหาสงู ตามลาดับความต้องการ ในขณะท่ี ความต้องการขั้นต่าได้รับการตอบสนองบางส่วนแล้ว ความต้องการขั้นสูงถัดไปก็จะตามมาเป็น ตัวกาหนดพฤตกิ รรมต่อไป ลาดับความต้องการพ้นื ฐานของมนุษย์ ได้แบ่งไว้เป็น 5 ลาดับขั้นจากต่าไป หาสูง ดังนีค้ อื 1. ความต้องการทางด้านร่างกาย (Physiological Needs) เป็นความต้องการ ข้ันพื้นฐานของมนุษย์เพื่อความอยู่รอด เช่น ความต้องการในเร่ืองอาหาร น้า เคร่ืองนุ่งห่ม ยารักษาโรค การพกั ผ่อน ทพี่ กั อาศยั และความตอ้ งการทางเพศ 2. ความต้องการทางด้านความปลอดภัยและมั่นคง (Safety and Security Needs) เป็นความต้องการท่ีจะได้รับการคุ้มครองภัยต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นกับร่างกาย ความม่ันคงในทางเศรษฐกิจ ความมั่นคงในหน้าท่กี ารงาน สถานะทางสังคม 3. ความต้องการความรักและความเป็นเจ้าของ (Love and Belonging Needs) เม่ือ ความต้องการทางร่างกาย และความต้องการความปลอดภัย ได้รับการตอบสนองแล้วความต้องการ ความรักและความเป็นเจ้าของก็จะเริ่มเป็นส่ิงจูงใจท่ีสาคัญต่อพฤติกรรมของบุคคล ความต้องการ ความรักและความเป็นเจ้าของ หมายถึง ความต้องการท่ีจะเป็นเข้าร่วมและได้รับการยอมรับ ได้รับ ความเปน็ มติ ร และความรักจากเพ่อื นร่วมงาน 4. ความต้องการท่ีจะได้รับการยกย่องในสังคม (Esteem Needs) เป็นความต้องการ เกี่ยวกับความมั่นใจในตนเองในเรื่องของความรู้ความสามารถ รวมทั้งความท่ีจะให้บุคคลอื่นยกย่อง สรรเสรญิ หรอื เป็นทีย่ อมรับนบั ถอื ในสงั คม และความตอ้ งการในดา้ นสถานภาพ Ref. code: 25595805038121LZO

17 5. ความต้องการท่ีจะได้รับความสาเร็จในชีวิต (Self-actualization Needs) เป็น ความต้องการข้ันสูงสุดของมนุษย์ เป็นความต้องการท่ีอยากจะให้เกิดความสาเร็จในทุกสิ่งทุกอย่าง ตามความนึกคดิ หรือตามความคาดหวงั ของตน จากความต้องการดังกล่าวจะเห็นได้ว่าความต้องการของมนุษย์แต่ละคนนั้นมี ความแตกต่างกนั และไมเ่ หมือนกันซง่ึ เป็นไปตามมูลเหตจุ ูงใจของตนเอง เมื่อมองลาดับความต้องการที่ เกิดข้ึนของมนุษย์แล้วจะพบว่า ความต้องการขั้นที่ 1 และ 2 นั้นจะอยู่กับผู้ที่มีทุกอย่างเพียงพอ และ ต่อสู้ก้าวข้าวมาข้ันท่ี 4 และ 5 เป็นลาดับ จะพบว่า ความแตกต่างจากความต้องการของตนเอง สาหรับบ้างผู้คนน้ันมุ่งหวังเพียงการอยู่รอด แต่สาหรับบางคนมุ่งหวังไปสู่โอกาสทางสังคมเพ่ือเติมเต็ม ตนเองได้ (พรรณี ชทู ยั เจนจิต, 2538, น. 23-25) แนวคิดของ Maslow ดังกล่าวเม่ือพิจารณาและนามาจัดเรียงความต้องการที่เกิดขึ้น ของมนุษยท์ งั้ หมด สามารถแบ่งออกได้เป็น 7 ข้ันตอน โดยการจัดลาดับขั้นน้ันเร่ิมจากลาดับต่อสุดขึ้น ไปหาความตอ้ งการสูงสุด ดงั ภาพที่ 2.1 ความต้องการทจี่ ะบรรลถุ งึ ความต้องการของตนเองอย่างแท้จริง ความต้องการดา้ นสนุ ทรียะ ความต้องการให้มคี วามสามารถทางสตปิ ัญญา ความต้องการไดร้ บั การยกยอ่ งนับถือ ความต้องการเปน็ เจา้ ของและตอ้ งการได้รบั ความรกั ความตอ้ งการความปลอดภัย ความตอ้ งการดา้ นรา่ งกาย ภาพที่ 2.1 ความต้องการท้ัง 7 ของ Maslow. จาก จิตวิทยาการเรียนการสอน (พิมพ์คร้ังท่ี 4) (น. 10), โดย พรรณี ชูทยั เจนจิต, 2538, กรงุ เทพฯ: คอมแพคท์ปร้ิน. ขนั้ ที่ 1 ความตอ้ งการดา้ นร่างกาย (Physiological Needs): ความต้องการข้ันนี้ จาเป็น สาหรับการมชี ีวติ รอด การได้กินเพื่อผ่อนคลายความหิว ด่ืมน้าเพ่ือดับความกระหาย ร่างกายต้องการ น้า อาหาร อากาศ เพศ และลกั ษณะทางชีวภาพท้งั หมด ขนั้ น้ี มนุษยท์ กุ คนตอ้ งการ ข้ันที่ 2 ความต้องการความปลอดภัย (Safety Needs): เนื่องจากมนุษย์ต้องแสวงหา อาหาร หาวิธีการต่าง ๆ ให้ตัวเองมีชีวิตรอด และอยู่ได้ด้วยความปลอดภัย จึงเกิดความต้องการนี้ข้ึน ความต้องการให้ชีวิตอยู่ได้ด้วยความมั่นใจ อบอุ่น มีความรู้สึกที่ปลอดภัย รวมทั้งความพยายามทา กิจกรรมตา่ ง ๆ เพ่อื จะไดไ้ ม่ต้องเผชญิ กับภาวะทีเ่ ป็นอนั ตรายหรอื ความเจ็บปวดต่าง ๆ Ref. code: 25595805038121LZO

18 ข้ันท่ี 3 ความต้องการเป็นเจ้าของและต้องการได้รับความรัก (Belongingness and Love Needs): เม่ือคนได้รับความปลอดภัย ก็จะต้องการได้รับความรักและความต้องการเป็น ส่วนหน่ึงของกลุ่ม เกิดความรู้สึกหวงแหน อยากเป็นเจ้าของในกลุ่ม เช่น กลุ่มการทางาน กลมุ่ ครอบครวั เป็นต้น ข้ันท่ี 4 ความต้องการได้รับการยกย่องนับถือ (Esteem Needs): ความต้องการได้รับ การยกย่อง จะเกิดขึ้นภายหลังจากประสบความสาเร็จในการเข้ากลุ่มและมีความรู้สึกหวงแหนอยาก เปน็ เจา้ ของ เพราะว่า การยกยอ่ งนัน้ จะทาให้เกิดความรูส้ ึกมัน่ คงและความภาคภูมิใจ ดังน้ัน ทาให้คน มพี ฤติกรรมอย่างมากมายเพ่อื ทาให้คนอนื่ ยอมรบั ขั้นที่ 5 ความต้องการให้มีความสามารถทางสติปัญญา (Cognitive Needs): เป็น ความต้องการให้ตนมีความรู้ ความสามารถ มีความเข้าใจในสิ่งต่าง ๆ สามารถสารวจ ค้นคว้า และ แสวงหาคาตอบดว้ ยความถกู ตอ้ งและมคี ุณคา่ มคี วามคดิ รเิ ริ่มสร้างสรรค์ ขั้นท่ี 6 ความต้องการด้านสุนทรียะ (Aesthetic Needs): เป็นความต้องการในแง่ของ ความสวยงามทางด้านร่างกาย ต้องการให้ตนเองดูดี หล่อสวย รูปร่างดี ต้องการความเป็นระเบียบ เรียบร้อย และความสวยงาม ขั้นท่ี 7 ความต้องการที่จะบรรลุถึงความต้องการของตนเองอย่างแท้จริง (Self- Actualization Needs): เป็นความต้องการท่ีอยูใ่ นระดบั สูงสุดของมนุษย์ ประกอบด้วยความต้องการ ที่จะค้นหาและตระหนักในความสามารถอันสูงสุดของตนเอง และพัฒนาศักยภาพที่ตนมีอยู่นั้นไปให้ ถึงขัน้ สงู สดุ เทา่ ทจ่ี ะเป็นไปได้ จากที่กล่าวมาข้างต้นน้ัน นพมาศ อุ้งพระ (ธีรเวคิน) (2551, น. 13-15) ได้ให้ความเห็น ว่ามนษุ ยม์ คี วามต้องการพ้ืนฐานอยู่ 2 ชุด ซ่ึงมีรากฐานทางชีวภาพคือ ความพร่อง (Deficiency) หรือ ความต้องการขั้นพื้นฐาน (Basic Needs) และการเติบโต (Growth) หรือ Meta Needs ความต้องการพ้ืนฐานนั้นต้องตอบสนองเร็วกว่าความต้องการที่จะเติบโต แต่ในบางขณะก็มีข้อยกเว้น เช่น คนท่ีมีค่านิยมและอุดมการณ์ที่แข็งแกร่งนั้นพวกเขายอมตายมากกว่าที่จะยอมทรยศต่อ อุดมการณ์ ตามลาดับความต้องการของมนุษย์ทั้ง 7 ขั้น นั้น ยังมีปัจจัยที่สาคัญที่ส่งผลคือ แรงจูงใจ มาเป็นจุดในการอธิบายใน 2 ส่วนคือ ความต้องการทางกายและขั้นสูงสุดการตระหนักใน ความสามารถท่ีแท้จริง ความต้องการลาดับแรก คือ ความต้องการด้านร่างกาย หลังจากนั้นเกิด แรงจูงใจมากข้ึนทาให้เกิดความต้องการในด้านส่ิงของ ต้องการมีชีวิตอยู่ในส่ิงแวดล้อมที่ดีและมี ความปลอดภัย ต้องการเป็นเจ้าของ ต้องการได้รับการยกย่อง และในข้ันสุดท้าย คือ ความต้องการ ตระหนักในความสามารถทแ่ี ทจ้ ริงของตนเองและบรรลุถงึ ความตอ้ งการของตนเองอย่างแทจ้ ริง Ref. code: 25595805038121LZO

19 แต่อย่างไรก็ดีได้มีการอธิบายถึงปัจจัยที่ทาให้ทุกคนสามารถพัฒนาตนเองไปสูงสุดตาม ศักยภาพที่แต่ละบุคคลน้ันมีอยู่ ซึ่งขึ้นอยู่กับวุฒิภาวะทางร่างกาย อารมณ์และจิตใจ สังคม และ สติปัญญา ทต่ี า่ งกนั ดงั นี้ 1. เปน็ ผู้ทรี่ ับรคู้ วามเปน็ จริงอย่างแทจ้ รงิ 2. มีความสามารถในการยอมรับตนเองและยอมรับผู้อ่ืน สามารถพิจารณาและเข้าใจ ลักษณะธรรมชาติของแตล่ ะบคุ คลวา่ มคี วามแตกตา่ งกัน 3. สามารถในการแกป้ ญั หาและควบคมุ ตนเองได้ดี 4. ในบางสถานการณ์บุคคลต้องการเป็นตัวของตัวเองและตอ้ งการความเปน็ สว่ นตัว 5. มีความรู้สึกซาบซ้ึงกับส่ิงท่ีเกิดขึ้นและสามารถแสดงออกทางอารมณ์ได้อย่าง เหมาะสม 6. สะสมประสบการณต์ า่ งๆ มากมาย ทาใหว้ ิเคราะห์เหตุการณ์ตา่ ง ๆ ไดด้ ี 7. มีการเลยี นแบบผ้อู ่นื ที่น่ายกย่องนบั ถือตามความคดิ ของแต่ละคน 8. ในบางสถานการณร์ สู้ กึ พอใจตอ่ การมปี ฏิสมั พันธ์กับผูอ้ ื่น 9. เชอ่ื และยอมรับในระบอบประชาธิปไตยดว้ ยเหตุผล 10. มีความคิดสร้างสรรค์ 11. มีความรู้สึกรกั ในบุคคลใดบุคคลหน่ึง หรอื ให้คณุ ค่าในบางสง่ิ บางอยา่ ง 12. มคี วามจรงิ ใจต่อผู้อื่น สง่ิ เหลา่ น้ี จะมผี ลต่อพฒั นาการลาดบั ขั้นความตอ้ งการทัง้ สิ้น และจากทฤษฎีนี้จะมีเพียง น้อยคนท่ีได้รับการตอบสนองไปถึงข้ันสูงสุดด้วยการไปมีช่ือเสียงยังมีประชากรส่วนใหญ่ที่มี ความต้องการเช่นนั้น แต่ไม่สามารถไปถึงจุดสูงสุดของชีวิตที่ตนต้องการได้ ดังนั้น การมองหาวิธีการ เพื่อส่งเสริมให้บุคคลสามารถพัฒนาตนเองไปให้ถึงขั้นสูงสุดตามศักยภาพที่มีอยู่ของแต่ละบุคคลจึง เป็นส่ิงที่ควรต้องทา และสมควรอย่างยิ่งท่ีจะต้องพิจารณาจากการตระหนัก และการมองเห็นใน ความสามารถของแตล่ ะบุคคล ความสามารถทีจ่ ะพฒั นาศักยภาพของตนเองให้ไปถึงเป้าหมายของตน ใหไ้ ด้ จึงสามารถสรุปได้ว่า ทฤษฎีลาดับความต้องการของ Maslow แสดงให้เห็นว่า ความต้องการต่างก็มีความสาคญั ตอ่ มนุษย์ และมนษุ ย์ทกุ คนย่อมแสวงหาการตอบสนองความต้องการ ของตนสูงข้ึนไปตามลาดับขั้นจนถึงความต้องการสูงสุดเม่ือวิเคราะห์ถึงความสัมพันธ์ท่ีเกิดขึ้นกับ อาสาสมัครจะพบได้ว่า อาสาสมัครส่วนใหญ่ที่เข้ามาร่วมนั้น คือ การรู้สึกในการเป็นเจ้าของร่วม ท้ังในการร่วมคิด การร่วมในการวางแผนการทางานหรือการออกแบบกิจกรรมของอาสาสมัคร ความรูส้ กึ อยากมสี ่วนร่วมหรือ Engagement ของอาสาสมัครเป็นปัจจัยส่งเสริมอาสาสมัครทาให้เกิด Ref. code: 25595805038121LZO

20 ความรู้สึกว่าได้เติมเต็มในด้านของ Self-Esteem หรือ Sense of Belonging โดยผ่านกรอบคิดที่ สาคญั 3 ประการ 1. การสรา้ ง Shared Values หรือ ค่านิยมร่วม ที่ชัดเจนและทาได้จริงของอาสาสมัคร ซง่ึ จะช่วยให้เกิด Sense of Belonging หากค่านยิ มดงั กล่าวถกู นาไปใชจ้ ริงโดยไม่ตอ้ งบังคับ 2. การสร้าง Self-Esteem ของอาสาสมัครโดย จะต้อง Deliver ส่ิงท่ีอาสาสมัครให้ คามน่ั สญั ญาเอาไว้ให้ได้ หรอื อกี นยั หนึ่งก็คือการเติมเต็ม 3. การหาความหมายในการทางานท่ีมีคุณค่าให้กับอาสาสมัคร เพราะมนุษย์ที่พัฒนา แลว้ ทุกคนย่อมมีความต้องการท่ีจะเป็นส่วนหนึ่งของบางสิ่งที่ย่ิงใหญ่ท่ีเขาทาไม่ได้ด้วยตัวเอง เม่ือใดท่ี อาสาสมัครเกิดความร้สู ึกว่าเขาเปน็ ส่วนหนึ่งของอะไรบางสิง่ ที่ย่งิ ใหญ่ เขาเหล่าน้ันจะทางานแบบเทใจ ให้ไมม่ ีสิน้ สุด 2.3 แนวคดิ และทฤษฎีท่ีเก่ียวข้องกบั อาสาสมคั ร 2.3.1 ความหมายของอาสาสมัคร คาว่า “อาสาสมัคร” มีความแตกต่างไปตามแต่ในมุมมองแต่ละบุคคล ซ่ึงได้ นกั วชิ าการไดใ้ ห้ความหมายไว้ดงั น้ี สุรัสวดี หุ่นพยนต์ และ ภูมิธรรม เวชยชัย (2527, น. 2) งานอาสาสมัคร คือ การทางานด้วยความสมัครใจและความเสียสละ โดยมีความประสงค์ท่ีจะทาประโยชน์ให้เกิดแก่ สว่ นรวม มากกวา่ การสร้างประโยชน์แกต่ นเอง ศศิพัฒน์ ยอดเพชร (2534, น. 6) อาสาสมัคร หมายถึง ผู้ที่ศรัทธาเพ่ือจะ ทางานสาธารณประโยชน์ โดยคานึงถึงเวลาว่างความสามารถ และความถนัดที่ตนเองมีอยู่ เป้าหมาย หรือวัตถุประสงค์ของงานก็เพ่ือประโยชน์แก่ส่วนรวมแก่องค์การ และแก่ผู้ประสบความทุกข์ยาก เดือดร้อน ไม่มีค่าตอบแทนในการทางานและมิได้ยึดงานที่ปฏิบัติอยู่เป็นอาชีพ ทั้งนี้การปฏิบัติงาน ดงั กลา่ ว อาจจะเปน็ การใหบ้ รกิ ารทั้งทางตรง (Direct Service) หรือทางออ้ มก็ได้ (Indirect Service) สมพร เทพสทิ ธา (2541, น. 1) ผสู้ มัครใจทางานเพ่ือประโยชน์แก่ประชาชนและ สังคมโดยไม่หวังผลตอบแทนเป็นเงิน นอกจากหมายถึงบุคคลที่เป็นรูปธรรม ยังหมายถึงจิตวิญญาณ อาสาสมคั รทีเ่ ปน็ นามธรรมด้วย ความนาในปฏิญญาอาสาสมัครไทย และนโยบายการพัฒนางานอาสาสมัคร (กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์, 2544) ให้นิยามคาว่า “อาสาสมัคร” ว่าหมายถึง บุคคลท่ีอาสาเข้ามาช่วยเหลือสังคมด้วยความสมัครใจ เสียสละ เพ่ือช่วยเหลือผู้อื่น ปอ้ งกัน แกไ้ ขปัญหา และพฒั นาสังคม โดยไมห่ วงั สิ่งตอบแทน Ref. code: 25595805038121LZO

21 ซูซาน (Susan & Katarines, 2003) ได้เห็นพ้องในความหมายว่า “เป็น การเลือกกระทาสิ่งต่าง ๆ ที่เห็นว่าเป็นสิ่งที่ควรกระทา และเป็นความรับผิดชอบต่อสังคมโดยไม่หวัง ผลตอบแทนเปน็ เงินทอง และการกระทานี้ไม่ใชภ่ าระงานท่ตี อ้ งทาตามหน้าท่ี” หน่วยงานอาสาสมัครแห่งสหประชาชาติ (UNV, 2004, p. 4) ได้ให้ความหมาย ของอาสาสมัครสากลว่า “เป็นบุคคลที่อาสาเข้ามาช่วยเหลือสังคมด้วยความสมัครใจเสียสละเพ่ือ ช่วยเหลือผู้อื่นช่วยพัฒนาสังคมป้องกันแก้ไขปัญหาสังคมโดยไม่หวังสิ่งตอบแทน” ซ่ึงสอดคล้องกับ ความหมายที่กาหนดไว้โดยโครงการอาสาสมัครแห่งสหประชาชาติที่ให้ความหมายของอาสาสมัครว่า “เป็นรูปแบบพฤติกรรมทางสังคมที่บุคคลเลือกกระทาส่ิงต่าง ๆ ด้วยความสมัครใจ ซ่ึงการกระทาน้ัน เปน็ ประโยชน์ต่อชุมชน สงั คมส่วนใหญ่ และตัวอาสาสมัครเองด้วย โดยไม่หวังผลตอบแทนเป็นเงิน ทองแต่อยา่ งใด” ศภุ รตั ย์ รัตนมุขย์ (2551, น. 11) “อาสาสมัคร” เป็นคาที่เทียบเคียงความหมาย กับศัพท์ภาษาอังกฤษว่า “Volunteer” โดยท่ีคาว่า Volunteer นี้มีใช้คร้ังแรกในช่วงศตวรรษที่ 17 ซ่ึงหมายถึงผู้ท่ีสมัครเข้าเป็นทหารโดยไม่ได้ถูกบังคับให้เป็นตามปกติ กล่าวคือสมัครใจท่ีจะเป็นเอง และความหมายนี้ ยังใช้รวมไปถึงการสมัครใจทางานใด ๆ โดยไม่รับค่าตอบแทน (Oxford English Dictionary) นอกจากน้ียังมีคาศัพท์ในภาษาอังกฤษที่เก่ียวข้องกับคาว่า “อาสาสมัคร” อีก 2 คาคือ “Voluntarism” และ “Volunteerism” โดยคาแรกมีความหมายท่ีใช้กับกิจกรรมที่ทาบน ความสมัครใจใช้กันในองค์กรเอกชนที่ไม่ได้ถูกระบุทาหน้าท่ีนั้น ๆ ตามกฎหมาย ส่วนคาที่ 2 คือ Volunteerism น้ีเป็นคาที่ใช้กันมากและมีความหมายท่ีกว้างกว่าคาแรก กล่าวคือ เรื่องใด ๆ ท่ี เกี่ยวข้องกับตัวอาสาสมัครหรือการอาสาเข้าไปทาเร่ืองใด ๆ โดยไม่จากัดกลุ่มประเภทหรือองค์กร ดงั นน้ั จุดต่างทีช่ ดั เจนของ 2 คานี้อยู่ตรงที่ “Voluntarism” เน้นทตี่ รงองค์กรเอกชนท่ีไม่หวังผลกาไร ขณะท่ี “Volunteerism” มีความหมายถึงกิจกรรมอาสาสมัครที่ครอบคลุมหน่วยงานทุกประเภทซึ่ง รวมถงึ หนว่ ยงานภาครัฐดว้ ย ปิยากร หวังมหาพร (2556, น. 16-17) ได้นิยามความหมาย อาสาสมัคร หมายถึง บุคคลที่สมัครใจทางาน เพื่อประโยชนแกสวนรวม โดยไมหวังส่ิงตอบแทน อาสาสมัคร กอใหเกิดการกระจายเศรษฐกิจไปสู สังคม เน่ืองจากกิจกรรมที่อาสาสมัครดาเนินการได รับ การสนับสนุนจากรัฐหรือหน วยงานเอกชน อาสาสมัครจึงเป็นการลดภาระค่าใชจายภาครัฐ อาสาสมัครช่วยสร้างความเหนียวแนนและความเข้มแข็งของชุมชนเป็นการส่งเสริมความไว้วางใจ ระหวางประชาชน ช่วยพัฒนาค่านิยมของความมีน้าหนึ่งน้าใจเดียวกัน และอาสาสมัครทาให้ได้พบ เพ่ือนใหม่ เรยี นรู้ทักษะใหม่ ๆ กอ่ ใหเกิดความม่ันใจและการยอมรบั โดยสรุปอาสาสมัครหมายถึง ผู้สมัครใจทางานให้ส่วนร่วมหรือสังคมโดยไม่หวัง ผลตอบแทนที่เป็นวัตถุหรือเงิน ที่เป็นรูปธรรมแต่ผลตอนแทนอาสาสมัครจะได้รับคือความสุขทาง จิตใจ และความเคารพของชุมชนการเป็นแบบอย่าง ซ่ึงเป็นนามธรรมการเป็นอาสาสมัครต้องมี Ref. code: 25595805038121LZO

22 ความเป็นอิสระพรอ้ มทั้งภาระหน้าท่ีของอาสาสมัครต้องไม่งานในหน้าที่ที่เป็นงานประจา ผู้ที่สมัครใจ ทางานเพื่อประโยชน์แห่งประชาชนและสังคม โดยไม่หวังผลตอบแทนเป็นเงินและจิตท่ีพร้อมจะสละ เวลา แรงกายสติปัญญา เพ่ือสาธารณประโยชน์ เป็นจิตทมี่ ีความสขุ เมื่อไดท้ าความดีคุณสมบัติท่ีสาคัญ ของอาสาสมคั รมี 5 ประการ คือ 1. ทางานดว้ ยความสมัครใจไม่ใช่ด้วยการถูกบังคับหรือเพราะเปน็ หนา้ ที่ 2. เป็นงานเพอื่ ประโยชน์แกป่ ระชาชนและสงั คมหรอื สาธารณประโยชน์ 3. ทาโดยไมห่ วงั ผลตอบแทนเปน็ เงนิ 4. เป็นการบาเพ็ญ ประโยชนต์ ่อส่วนรวมมิใช่เพือ่ ส่วนตัว 5. ไม่ใชอ่ ทุ ิศกาลังทรพั ยแ์ ต่เพียงอยา่ งเดียว ผลตอบแทนท่ีอาสาสมัครได้รับคือความสุข ความภูมิใจท่ีได้ปฏิบัติงานท่ีเป็น ประโยชน์แก่ประชาชน สังคม และประเทศชาติ ดังนั้นอาสาสมัครสาธารณสุขในเขตพื้นท่ีกรุงเทพฯ นั้นจงึ เปน็ กล่มุ ท่ีมจี ิตใจอาสาสมคั รในการทางานชุมชนตนเอง ดังนามาวิเคราะห์ได้ในตารางที่ 2.3 ตารางที่ 2.3 สรปุ ความหมายของอาสาสมคั ร ความหมายอาสาสมัคร สุรสั วดี ศศพิ ฒั น์ สมพร Susan J. UNDP/ ศุภรัตย์ ปยิ ากร Ellis UNV รัตนมุขย์ หวงั มหาพร หุ่นพยนต์ ยอดเพชร เทพสทิ ธา (2003) (2004) (2551) (2556)   และคณะ (2534) (2541) -   (2527)    ทางานดว้ ยความสมคั ร -  -     ใจไมใ่ ชด่ ้วยการถกู บงั คบั   -- หรือเพราะเป็นหน้าท่ี เป็นงานเพ่อื ประโยชนแ์ ก่    ประชาชนและสงั คมหรอื สาธารณประโยชน์ ทาโดยไมห่ วัง - ผลตอบแทนเป็นเงิน เป็นการบาเพญ็   ประโยชน์ตอ่ ส่วนรวม มิใชเ่ พ่อื ส่วนตัว ไมใ่ ชอ่ ทุ ิศกาลงั ทรัพย์แต่   - เพียงอยา่ งเดียว หมายเหตุ.  หมายถึง ปรากฏเน้ือหาในสว่ นดงั กล่าว. Ref. code: 25595805038121LZO

23 2.3.2 แนวคิดองค์ประกอบและคุณลกั ษณะอาสาสมัคร องค์ประกอบและคุณลักษณะอาสาสมัครมีการนิยามไว้เบื้องต้น ประกอบด้วย รูปแบบการจัดการ หรอื คุณลักษณะภาพรวมของการเข้าร่วมในการเป็นอาสาสมัคร ดังน้ันจึงประมวล งานวจิ ัย และทบทวนวรรรณกรรมท่ีเก่ียวข้องประกอบด้วย วจิ ติ ร ศรสี ะอา้ น (ม.ป.ป., อ้างถงึ ใน สุรสั วดี หนุ่ พยนต์ และ ภูมิธรรม เวชยชัย, 2527, น. 12) ได้วเิ คราะห์ไว้วา่ อดุ มการณ์อาสาสมัครจะตอ้ งประกอบด้วยลักษณะสาคัญ 4 ประการ ดงั น้ี คอื 1. เปน็ การบาเพ็ญประโยชนต์ ่อส่วนรวม มิใช่เพอื่ สว่ นตวั 2. เป็นการกระทาท่ีเป็นไปโดยความสมัครใจ อะไรก็ตามถ้าทาโดยมิใช่ ความสมคั รใจ หรอื มกี ารบงั คบั ให้ทา ถือวา่ เป็นการทาลาย Spirit ของ “งานอาสาสมัคร” 3. เป็นการกระทาที่ไม่มุ่งหวังผลตอบแทนในรูปของสินจ้างรางวัล การทางาน ต้องถือหลกั ว่าไม่เปน็ การจา้ ง ค่าตอบแทนทไ่ี ดค้ วรเพียงพอแกก่ ารยงั ชีพเท่านน้ั 4. เป็นการอุทิศกาลังกายกาลังใจและเวลาให้ส่วนรวมไม่ใช่อุทิศกาลังทรัพย์ การบรจิ าคทรพั ย์ มใิ ชก่ ารอาสาสมคั ร ถอื เป็นการใหท้ านมใิ ช่ Spirit ของอาสาสมคั ร งานใดกต็ ามท่ีเข้าขา่ ยลักษณะ 4 ประการดังกล่าวมานี้ครบถ้วนจึงจะถือว่าเป็น “งานอาสาสมัคร” อามิลตัน (Hamilton, 1991, p. 59, อ้างถึงใน นพมาศ อุ้งพระ ธีรเวคิน, 2539, น. 58-65) ไม่สามารถอธบิ ายพฤติกรรมการเสียสละให้กบั คนทไี่ มใ่ ชญ่ าติได้ เพราะแท้จริงแล้วในสังคม นี่มีพฤติกรรมการช่วยเหลือบุคคลอ่ืน ๆ แม้ไม่เคยรู้จักกันมาก่อนหรือห่างไกลกันก็ตามนอกจาก ความรู้สกึ เสียสละเอ้ือเฟอื้ เผื่อแผ่แลว้ พฤตกิ รรมเพ่อื สงั คม (Prosocial Behavior) เปน็ อีกมุมมองหน่ึง ที่อธิบายได้ถึงการเข้ามาเป็นอาสาสมัครของผู้คน โดยพฤติกรรมเพ่ือสังคมน้ันประกอบด้วยค่านิยมที่ สาคัญคือ 1. ความรับผดิ ชอบตอ่ สังคม (Social Responsibility) 2. ความเสมอภาค (Equity) 3. การเสนอสนอง (Reciprocity) คาว่า “Prosocial Behavior” น้ีได้ถูกนามาใช้โดยนักวิชาการทางด้านสังคม ในช่วงปี พ.ศ. 2531 อันเป็นคาท่ีใช้ในความหมายท่ีตรงกันข้ามกับคาว่า “Antisocial Behavior” ทม่ี คี วามหมายถงึ “พฤติกรรมทีต่อต้านสังคม” การศึกษาพฤติกรรมเพ่ือสังคมในช่วงน้ันนับเป็นความ พยายามท่ีจะเข้าใจถึงความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและกลุ่มเพ่ือความสมานฉันท์ แรงจูงใจที่สาคัญใน การมีพฤติกรรมเพื่อสังคมมีความเช่ือมโยงกับความรู้สึกเอ้ือเฟื้อเสียสละ (Altruism) โดยปัจจัยท่ีมี Ref. code: 25595805038121LZO

24 อิทธิพลคือหลักปฏิบัติทางศาสนา เราจะเห็นได้ว่า ศาสนาทุกศาสนาสอนให้ประชาชนหยิบยื่น ความชว่ ยเหลอื ใหก้ ับผูด้ อ้ ยโอกาส UNV, “Volunteerism and Development”, (2004, p. 12) แบ่งลักษณะ งานอาสาสมคั รออกได้เปน็ 4 แบบด้วยกันคือ 1. การให้ความช่วยเหลือซ่ึงกันและกัน หรือการพึ่งตนเอง (Mutual Aid or Self-Help) 2. การช่วยเหลือบรกิ ารผอู้ ืน่ (Philanthropy or Service to Others) 3. การมสี ่วนรว่ ม (Participation) 4. ผู้สนับสนุนหรือเรียกร้องความเป็นธรรมเพ่ือสังคม (Advocacy or Campaigning) ไพศาล วิสาโล (2550, น. 42) ความเช่อื ในเรื่องศาสนาทน่ี ับถือเป็นส่ิงท่ีมีอิทธิพล สาคัญต่อการตัดสินใจเป็นอาสาสมัคร ในกรณีพุทธ แต่โดยหลักแก่นธรรมของศาสนาแล้วมี ความเหมือนกันในเรือ่ งความเชื่อเรื่องของ “กรรม” ว่า บุคคลใดทาไม่ดีหรือทาบาปไว้ในชาติปางก่อน ยอ่ มต้องได้รับผลกรรมในชาตินี้ และหากต้องการได้รับกรรมดี ที่เป็นความสุขสบายต่อไปในภายหน้า ทั้งชาตินี้และชาติหน้าก็ควรที่จะต้องประกอบแต่กรรมดี ดังคาท่ีว่า “ทาดีได้ดี ทาช่ัวได้ช่ัว” ซงึ่ ความเช่ือน้ีนาไปสู่พฤติกรรมการให้ทาน การบริจาค การทาบุญ การช่วยซ่อมและสร้างวัด เป็นต้น ศาสนาพุทธจึงมีความสาคัญต่อการกาหนดเร่ืองความเชื่อและพฤติกรรมของชาวพุทธเก่ียวกับ “การให้” และ “อาสาสมัคร” ซ่ึงจะเห็นได้จากหลักธรรมคาสอนในสังคหวัตถุ 4 เรื่อง “ทาน” คือ ลักษณะของการใหไ้ ม่เอาเปรยี บผู้อืน่ และมีความสบายใจท่ีจะให้ ตารางที่ 2.4 เปรยี บเทียบพรหมวิหาร 4 และคณุ ลกั ษณะอาสาสมคั ร พรหมวหิ าร 4 คณุ ลกั ษณะอาสาสมัคร เมตตา ความปรารถนาให้เขาได้รบั ความสุข กรุณา ความปรารถนาให้ผู้อ่ืนพ้นทกุ ข์ มทุ ิตา ความยนิ ดเี มื่อผอู้ ืน่ ไดด้ หี รอื มีสขุ อเุ บกขา การวางเฉยเมื่อทาดีอยา่ งถงึ ที่สดุ แลว้ หมายเหตุ. จาก ศาสตร์และศิลปแ์ ห่งการจดั การความดี: ศึกษากรณมี ูลนิธิฉือจี้. วารสารศูนย์คณุ ธรรม, 3(2), 10, โดย ไพศาล วิสาโล, 2550. Ref. code: 25595805038121LZO

25 ความรักทยี่ ่ิงใหญท่ พี่ รอ้ มมอบให้บรรดาสรรพชีวิต และความสุขท่ีเกิดจากการให้ และลงมีทาเพ่ือผู้อ่ืนโดยไม่หวังสิ่งตอบแทน จึงเป็นปัจจัยที่เอ้ือต่อการเกิดความรู้สึกเสียสละเอ้ือเฟื้อ ตอ่ ผู้อ่ืน (Altruism) และพฤติกรรมเพอื่ สงั คม (Prosocial Behavior) อย่างแท้จริง กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (2544) ได้ประมวลเฉพาะ ในสว่ นของการกาหนดบทบาทและคณุ ลกั ษณะบทบาทของอาสาสมคั รและคุณลกั ษณะได้คือ 1. อาสาสมัครมบี ทบาทสาคัญในการบาเพ็ญประโยชนใ์ หแ้ กส่ ังคม 2. อาสาสมัครทพี่ งึ ประสงค์ต้องมจี ติ วญิ ญาณของอาสาสมคั ร 3. อาสาสมคั รสมควรไดร้ ับการยกยอ่ งสรรเสรญิ ศุภรัตย์ รัตนมุขย์ (2551, น. 10) เป็นการเลือกกระทาสิ่งต่าง ๆ ท่ีเห็นว่าเป็นส่ิง ทค่ี วรกระทา และเป็นความรับผิดชอบต่อสังคมโดยไม่หวังผลตอบแทนเป็นเงินทอง และการกระทานี้ ไม่ใช่ภาระงานท่ีต้องทาตามหน้าท่ีซึ่งจากความหมายนี้จะเห็นถึงองค์ประกอบที่สาคัญของคาว่า “อาสาสมคั ร” อยู่ 4 ประการดว้ ยกันคอื 1. การเลือก (Choose) อันเป็นการเน้นที่เจตจานงท่ีอิสระท่ีจะกระทาหรือไม่ กระทาในส่ิงใด ๆ 2. ความรับผิดชอบต่อสังคม (Social Responsibility) หมายถึงการกระทาท่ี ม่งุ มั่นเปน็ ประโยชนต์ อ่ ผู้อ่ืน ซงึ่ อาจเป็นไดท้ ้ัง บุคคล กลุ่มคน หรอื สังคมสว่ นรวม 3. โดยไม่หวังผลตอบแทนเป็นเงินทอง (Without Monetary Profit) หมายถึง ไม่ได้หวังผลรายได้ทางเศรษฐกิจ แต่อาจรับเป็นรางวัลหรือค่าใช้จ่ายทดแทนที่ตนเองได้ใช้จ่ายไป แต่อยา่ งไรกต็ ามก็ไม่อาจเทียบได้กับคา่ ของสง่ิ ที่ได้กระทาลงไป 4. ไม่ใช่ภาระงานท่ีต้องทาตามหน้าท่ี (Beyond Basic Obligations) หมายถึง ส่ิงท่ที านั้นอยู่นอกเหนือความจาเป็น หรือสิ่งที่ถูกคาดหวังว่าจะต้องทาตามภาระหน้าท่ี เช่น งานตาม หน้าท่ีประจาท่ีได้รับค่าจ้าง การดูแลครอบครัวตนเอง ความรับผิดชอบในฐานะพลเมือง (เช่น การไปลงคะแนนเสียงเลอื กตง้ั ) ฯลฯ ซามูเอล (Samuel, 1999, อ้างถึงใน ศุภรัตย์ รัตนมุขย์, 2551, น. 15) องค์ประกอบหรือปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมเอื้อเฟ้ือเผื่อแผ่มีหลายด้านด้วยกัน ประกอบด้วยส่วนตน เช่น มีความกล้าหาญ ความเข้าใจและเห็นใจผู้อ่ืน ความใส่ใจ การมีศีลธรรม ไม่ปรารถนาที่จะเห็น ผู้อ่ืนเป็นทุกข์ เคารพตนเอง พึงพอใจในตนเอง รักความยุติธรรม เช่ือว่าทุกอย่างแก้ไขได้ ใส่ใจหลัก ศาสนา ต้องการความใกล้ชิด และลดความรู้สึกสานึกผิด หรือปัจจัยที่เกิดจากภายนอกและกลับมา สร้างตัวตนอาสาสมัคร ได้รับแบบอย่างท่ีดีจากผู้ปกครอง รับผิดชอบต่อสังคม รู้สึกว่าการช่วยเหลือ ผอู้ นื่ เปน็ สง่ิ ที่ควรกระทาตอ้ งการชว่ ยเหลือชมุ ชน Ref. code: 25595805038121LZO

26 จารุพงศ์ พลเดช (2551, น. 13-15) ลักษณะของอาสาสมัคร มดี งั นี้ 1. การเป็นอาสาสมัครน้ัน ต้อง “เต็มใจ” การทางานอาสาสมัครไม่มีการบังคับ ขูเ่ ข็ญใหท้ า แตเ่ ปน็ การเตม็ ใจทางานท่ีตนรัก มคี วามปรารถนาดีต่อคนอื่น อยากเห็นเขามคี วามสุข 2. การเป็นอาสาสมัครน้ันต้อง “ต้ังใจ” คนเรานั้นเม่ือมีความเต็มใจใน การทางานแล้วจะทางานด้วยความต้ังใจ มุ่งม่ัน ต้ังใจทาให้เกิดผลสาเร็จของงานเป็นสาคัญ ไม่ย่อท้อ กับอุปสรรคหรือ งานลาบากใด ๆ มีความเต็มใจในการทางาน ต้ังใจทางานจนสุดความสามารถโดย มติ อ้ งใหใ้ ครมาบงั คบั 3. การเป็นอาสาสมัครนั้น ต้อง “พอใจ” พอใจในงานที่ทาด้วยความเต็มใจและ ต้ังใจผลงานที่ออกมานั้นก็เป็นความพอใจของคนทางานที่ทาให้คนอ่ืนเขาเข้าใจ ทาให้เขามีความสุข ความสาเร็จ ความสมหวงั เกิดความพอใจในการทางานอยา่ งมคี วามสุข 4. การเป็นอาสาสมัครนั้นต้อง “ดีใจ” ดีใจท่ีได้ทางานที่ตนนั้นมีความเต็มใจ ตั้งใจและพอใจ ที่ได้ทางาน เม่ือทางานแล้วก็เกิดความดีใจจากผลงานท่ีได้ทาไว้ให้ปรากฏแก่ สาธารณชนเปน็ ทป่ี ระจักษต์ ามความตอ้ งการของตน 5. การเป็นอาสาสมัครนั้น ต้อง “ภาคภูมิใจ” ในงานท่ีตนทาไม่ว่าจะเป็นงาน ใด ๆ ท่ีได้ทาลงไปเพ่ือประโยชน์แก่สาธารณะ คนเราเกิดมาไม่มีใครนาอะไรติดตัวมา แต่เม่ือเกิดเป็น คนแล้วก็ทาแต่ความดี มีผลงานเมื่อจากโลกใบนี้ไปแล้ว สิ่งท่ีเหลือ คือ ความภาคภูมิใจของตนเอง ครอบครวั และชมุ ชน ศภุ รัตย์ รัตนมุขย์ (2551, น. 14-15) การที่บุคคลตัดสินใจเข้ามาเป็นอาสาสมัคร คนทัว่ ไปอาจมองวา่ บุคคลเหลา่ นี้เป็นผู้ที่มีความเอ้ือเฟ้ือเผ่ือแผ่ (Altruism) เห็นประโยชน์แก่ผู้อ่ืนเป็น ที่ตั้ง คาว่า “Altruism” น้ีตรงกันข้ามกับคาว่า “Egoism” ซ่ึงหมายถึงการที่บุคคลทาอะไรหรือ ช่วยเหลือใครจะหวังสิ่งตอบแทนการกระทาของตนเองเป็นท่ีต้ัง ส่วนความเอื้อเฟ้ือเผื่อแผ่หรือ Altruism นม้ี ีองคป์ ระกอบของความหมายท่สี าคัญ 3 ประการ คอื 1. ความปรารถนาที่จะให้ 2. ความรู้สกึ เขา้ ใจและเห็นใจผู้อื่น 3. ไม่มรี งจงู ใจท่จี ะรบั สิง่ ใดจากสง่ิ ท่ตี นเองกระทาเพอื่ ผ้อู น่ื เพนนี (Penny, Edgell, Becker & Dhingra, 2001, อ้างถึงใน ศุภรัตย์ รัตนมุขย์, 2551, น. 18-19) จากสภาวะการมีจิตใจและพฤติกรรมอาสาสมัคร มีความพยายามใน การศึกษาว่า มีปัจจัยอะไรบ้างท่ีส่งเสริมให้คนประสงค์เป็นอาสาสมัครเพ่ือนาไปสู่กระบวนการใน การส่งเสริมให้เกิด การมีจิตใจอาสาสมัครมากยิ่งข้ึนในทุก ๆ สังคม เพราะ “อาสาสมัคร” จัดได้ว่า เป็นทรัพยากรที่มีคณุ คา่ อย่างสงู ในการพัฒนาชุมชน สงั คม และ ประเทศชาติ ในการศึกษาถึงปัจจัยที่ ส่งผลต่อสภาวะการเป็นอาสาสมคั ร อาจแบ่งปจั จยั นอี้ อกเปน็ 2 ประเภทดว้ ยกันคอื Ref. code: 25595805038121LZO

27 1. ปจั จัยสว่ นบุคคล ประกอบดว้ ย 1.1 รสู้ ึกสงสารและเหน็ ใจผู้ตกทกุ ข์ไดย้ าก 1.2 เป็นโอกาสท่ีจะไดท้ าในสิง่ ทีม่ ีความสาคัญสาหรบั คน 1.3 มีความเชื่อว่า ถ้าตนได้ช่วยเหลือผู้อื่น ผู้อื่นก็จะให้ความช่วยเหลือตน เชน่ กนั 1.4 มคี วามเชื่อวา่ “สังคมจะดขี ้ึน ถ้าผ้คู นทัง้ หลายใสใ่ จซึง่ กนั และกนั ” 1.5 ทาใหต้ นเองมีความรสู้ กึ ดีขึน้ เม่ือตนเองให้ความใส่ใจแกผ่ ้อู ืน่ 2. ปัจจัยทางสังคม โดยที่ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ ส่ิงที่เป็นทุนเดิมของตนเอง อันได้แก่ การศึกษา และ ทักษะฝีมือต่าง ๆ โดยจากการศึกษาพบว่า ผู้ท่ีมีระดับการศึกษาและอาชีพ สูงมีแนวโน้มท่ีจะร่วมเป็นอาสาสมัคร ส่วนปัจจัยทางสังคม ได้แก่ ระบบเครือข่ายด้านสังคมต่าง ๆ เช่น เพื่อน ๆ ที่สนใจงานด้านอาสาสมัครเช่นกัน ครอบครัวสนับสนุน ความสัมพันธ์ท่ีดีภายใน ครอบครวั การนบั ถอื ศาสนา และ การไปโบสถ์ กาสกิน (Gaskin & Smith, 2013, อ้างถึงใน ปิยากร หวังมหาพร, 2556, น. 16-17) ไดจ้ าแนกคณุ ลักษณะอาสาสมคั รออกเป็น 1. ไมไ่ ดด้ าเนนิ การเพ่ือผลประโยชนท์ างการเงิน (Unpaid) 2. ผลประโยชน์ให้กับบุคคลที่สาม อาจหมายถึง เพื่อนบ้าน สภาพแวดล้อม สังคม มักจะไม่รวมครอบครัวของอาสาสมคั รเอง (Benefits to a Third Party) 3. การดาเนนิ การจะเปน็ ความต้องการหรือความปรารถนาท่ีเปน็ อิสระ จากแนวคิดองค์ประกอบและอาสาสมัคร สรุปได้ว่าอาสาสมัครเป็นผู้ที่สมัครใจ ทางานให้ส่วนรวมหรือสังคม โดยไม่หวังผลตอบแทนท่ีเป็นวัสดุหรือเงิน ซ่ึงการปฏิบัติงานของ อาสาสมคั รน้นั ยังสามารถช่วยเหลอื สง่ เสริม แกไ้ ขปัญหา และพัฒนาสังคม พร้อมทั้งอาสาสมัครยังทา เพ่ือสังคมสิ่งเหล่านี้แสดงถึงความเป็นผู้นาที่เกิดข้ึน โดย “การมองถึงประโยชน์สาธารณะ” และ การเห็นแก่ประโยชน์ส่วนร่วม แนวคิดของการพัฒนาระบบอาสาสมัครจึงพัฒนาไปสู่ความเป็น อาสาสมัครเฉพาะด้านต่าง ๆ ท่ีเกิดข้ึนในสังคมไทย “บนฐานที่เช่ือว่าสังคมแห่งการให้” ดังนั้น บทบาทอาสาสมัครแม้ไม่ได้รับผลตอบแทนท่ีเป็นตัวเงิน แต่ในรูปแบบการเป็นแบบอย่างของสังคม พร้อมท้ังการนาของสังคมล้วนเป็นส่ิงท่ีจาเป็น จึงเชื่อมโยงมาสู่การวิเคราะห์คุณลักษณะและ องค์ประกอบของอาสาสมัครได้เบื้องต้นแรงผลักดันท่ีก่อให้เกิดจิตวิญญาณอาสาสมัคร (Spirit of Voluntarism) เป็นหลักคิด ประการสาคัญของผู้อุทิศตนเป็นอาสาสมัคร แรงผลักดันของ อาสาสมัครท่ีมีจิตใจเปน็ อทุ ิศตนเชน่ น้ี มีปจั จยั หลกั ของการมาเป็นอาสาสมัครคอื 1. การหล่อหลอมหรือมีพ้ืนฐานมาจากครอบครัว จิตวิญญาณการอุทิศตนเพ่ือ ผู้อื่น หรือเพื่อความสุขของส่วนรวมนั้น มาจากการหล่อหลอมของครอบครัวเป็นหลัก ระบบคุณค่าที่ Ref. code: 25595805038121LZO

28 ได้รับจากการถ่ายทอดจากหรือคนในครอบครัว โดยการสอน การทาให้เห็นเป็นตัวอย่าง ล้วนมี ผลอย่างยงิ่ ตอ่ บคุ ลิกภาพของปจั เจกบุคคลและการมจี ิตใจท่จี ะทาตวั ใหเ้ ป็นประโยชน์ต่อผ้อู นื่ 2. การปรารถนาการยอมรับและการพัฒนาตน ผู้ที่อุทิศตนเป็นอาสาสมัครมี ความต้องการ การยอมรับจากสังคมและคนรอบข้างในระดับหนึ่ง การยอมรับนี้สามารถสะท้อนได้ จากการได้รับรางวัลในรูปของวัตถุ ส่ิงของ โล่ห์ประกาศเกียรติคุณ หรือการได้รับการยกย่อง ชมเชย การยอมรับในความสามารถของตนเอง แต่อย่างไรก็ตาม การได้รับการยอมรับนี้มีแนวคิดว่า เป็น การสร้างตัวตนให้กับมนุษย์ แทนที่จะให้การอุทิศตนเป็นแนวทางของการบรรลุถึงความสุขใน ขั้นที่ แตกต่างจากทรัพย์สิน เงินทอง และความต้องการอันเป็นแรงขับจากภายใน การทางานอาสาสมัคร จึงเป็นการทางานเพราะมีความรัก มีความสุขในงาน ได้มีโอกาสสร้างสรรค์งานอย่างที่ต้องการ หากจะมีการยอมรับในผลงานก็น้อมรับมันอย่างมีสติ แต่เม่ือไม่มาหรือไม่มีก็อย่าคิดถึง ความต้องการ ทั้งหมดอยู่ท่ีตัวงาน ทุกคนท่ีได้ทางานจะต้องเรียนรู้ถึงศิลปะ ความรักในงานท่ีทา มีความสุขในงาน โดยไมต่ ้องการการยอมรับนบั ถอื จงึ สามารถสรุปคุณลกั ษณะของอาสาสมัครได้คือ 1. ความร้สู กึ อสิ ระในการเปน็ ผ้เู ลอื กงานอาสาสมคั รทต่ี นเองสนใจ (Choose) 2. สานึกร่วมหรือความเป็นเจ้าของร่วมเกิดการเสียสละและผูกพัน (Sense of Belonging) 3. ความรับผิดชอบต่อสังคม การกระทาท่ีเป็นประโยชน์ต่อผู้อื่นหรือสังคม สว่ นรว่ ม (Social Responsibility) 4. ความไมห่ วังผลตอบแทนเปน็ เงนิ (Without Monetary Profit) 5. การเสียสละเพ่ือสังคมเห็นแก่ประโยชน์ของผู้อื่นและส่วนรวมเป็นท่ีตั้ง (Altruism) 6. การปฏิบัติงานที่ไม่ใช่ภาระงานท่ีต้องทาตามหน้าที่ (Beyond Basic Obligations) จากแนวคิดทั้งหมดจึงรวบรวมและนาคุณลักษณะจากการศึกษาเอกสาร เปรยี บเทียบแนวคิดไดด้ งั ตารางที่ 2.5 Ref. code: 25595805038121LZO

ตารางท่ี 2.5 เปรียบเทียบคณุ ลักษณะอาสาสมัคร Samuel UNDP ไพศาล Onliner (2003) วิสาโล ความหมาย วจิ ติ ร Hamilton (1999) (2550) อาสาสมัคร ศรีสะอา้ น (1996) - - (2521) -  ความรสู้ กึ -   - อิสระในการ เปน็ ผูเ้ ลือก งาน อาสาสมัคร สานักรว่ ม -  ความเป็น เจ้าของและ ความผกู พนั การ    ปฏิบตั ิงานที่ ไม่ใช่ภาระ งานท่ีต้องทา ตามหน้าท่ี หมายเหตุ.  หมายถงึ ปรากฏเนือ้ หาในสว่ นดงั กลา่ ว.

Penny ศูนยค์ ุณธรรม ปฏญิ ญา ศภุ รตั ย์ จารุพงศ์ Edgell (2551) อาสาสมัคร รตั นมุขย์ พลเดช Becker (2544) (2551) (2001) - ไทย (2544)     - -  -  -  29 Ref. code: 25595805038121LZO

30 2.4 แนวคิดเก่ยี วกับอาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมูบ่ า้ น 2.4.1 ความหมายของอาสาสมคั รสาธารณสขุ อาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน (อสม.) (กองสนับสนุนสุขภาพภาค ประชาชน, 2559, น. 12) ได้กาหนดความหมายของอาสาสมัครสาธารณสุข คือ บุคคลท่ีได้รับ การคัดเลือกจากชาวบ้านในแต่ละกลุ่มบ้านและได้รับการอบรมตามหลักสูตรที่กระทรวงสาธารณสุข กาหนด โดยมีบทบาทหน้าท่ีสาคัญในฐานะผู้นาการเปล่ียนแปลงด้านพฤติกรรมสุขภาพอนามัย (Changeagents) การส่ือข่าวสาธารณสุข การแนะนาเผยแพร่ความรู้ การวางแผนและประสาน กิจกรรมพัฒนาสาธารณสุขตลอดจนให้การบริการสาธารณสุขด้านต่าง ๆ เช่น การส่งเสริมสุขภาพ การเฝ้าระวังและป้องกันโรค การช่วยเหลือและรักษาพยาบาลขั้นต้น โดยใช้ยาและเวชภัณฑ์ตาม ขอบเขตที่กระทรวงสาธารณสุขกาหนด การปฐมพยาบาลเบ้ืองต้น การส่งต่อผู้ป่วยไปรับบริการ ฟ้นื ฟูสภาพ และจัดกิจกรรมพัฒนาสาธารณสุขมูลฐานในหม่บู า้ น/ชมุ ชน จากความหมายดังกล่าว “อาสาสมัครสาธารณสุข” คือผู้นาท่ีทาให้เกิด การเปลี่ยนแปลงในชมุ ชน ขณะเดียวกนั ยงั ทาให้เกดิ การประสานความร่วมมือในชุมชนเพื่อการพัฒนา สุขภาพ และนามาสู่การปรับเปล่ียนพฤติกรรมชุมชน ดังนั้นอาสาสมัครสาธารณสุขจึงเปรียบเสมือน ผ้แู ทนของชุมชนท่ที าหนา้ ท่ีในบทบาทอาสาสมคั รอยา่ งตอ่ เนื่องไปด้วย 2.4.2 บทบาทของอาสาสมัครสาธารณสุข คุณสมบัติอาสาสมัครสาธารณสุข (กองสนับสนุนสุขภาพภาคประชาชน, 2559, น. 8-15) 1. หลักเกณฑ์และคุณสมบัติของ อสม. สาหรับผู้ท่ีจะมาเป็น อสม. น้ันควรจะมี คุณสมบัติ ดงั นี้ 1.1 เป็นบุคคลทเี่ พือ่ นบา้ นในละแวกคมุ้ ให้การยอมรบั และนับถือ 1.2 สมัครใจและเตม็ ใจชว่ ยเหลอื ชุมชนดว้ ยความเสียสละ 1.3 มเี วลาเพียงพอที่จะชว่ ยเหลอื ชุมชน อย่ปู ระจาหมู่บา้ นในชว่ ง 1-2 ปี 1.4 เป็นผู้ท่อี ่านออกเขยี นได้ 1.5 เปน็ ตวั อยา่ งที่ดีในดา้ นการพัฒนาสุขภาพและการพฒั นาชุมชน 1.6 ไมค่ วรเป็นข้าราชการหรอื ลูกจา้ งของรฐั กานัน ผู้ใหญ่บ้าน แพทย์ประจา ตาบล หรือพระภิกษุ 2. บทบาทอาสมัครสาธารณสุข บทบาทของอาสาสมัครสาธารณสุขประจา หมู่บ้าน (อสม.) ในงานสาธารณสุขมูลฐานสาหรับบทบาทของอาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน (อสม.) ตามนัยแห่งความหมายของ การดาเนินงานสาธารณสุขมูลฐาน ตามคู่มือการปฏิบัติงานของ Ref. code: 25595805038121LZO

31 อาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน ซ่ึงแบ่งออกเป็น 4 ด้าน ดังน้ี (กองสนับสนุนสุขภาพภาค ประชาชน, 2559, น. 26-44) 2.1 การรักษาพยาบาล ได้แก่ งานบริการเก่ียวกับการตรวจโรค รักษาโรค ปฐมพยาบาล การจา่ ยยา การใชส้ มนุ ไพรรักษาโรค และการส่งตอ่ ผ้ปู ่วย 2.2 การป้องกันโรค ได้แก่ การป้องกันโรคติดต่อ เช่น โรคไข้เลือดออก โรคอุจจาระรว่ ง โรคบดิ โรคเอดส์ รวมถงึ การป้องกันโรคท่ีไม่ติดตอ่ เช่น ป้องกันอุบัติเหตุ ค้นหาผู้ป่วย โรคเบาหวาน ค้นหาผปู้ ว่ ยโรคความดันโลหติ สูง 2.3 การส่งเสริมสุขภาพ ได้แก่ งานบริการทางด้านอนามัยแม่และเด็ก งานวางแผนครอบครัว งานด้านสุขภาพจิต งานทันตกรรม และงานโภชนาการ 2.4 การฟื้นฟูสภาพ ได้แก่ งานบริการท่ีเก่ียวกับการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง การดูแลผู้พกิ ารและการดแู ลผสู้ งู อายุในชมุ ชน 3. ขน้ั ตอนและวธิ ีการคัดเลอื กอาสาสมัครสาธารณสุข 3.1 เจ้าหน้าท่ีสาธารณสุขตาบลจัดประชุมผู้นาชุมชน กรรมการหมู่บ้าน อสม.เดิม และประชาชนท้งั หมดในหมบู่ ้าน เพื่อชี้แจงถงึ รายละเอยี ด บทบาทหนา้ ทขี่ อง อสม. 3.2 มอบหมายให้ผู้นาชุมชน กรรมการหมู่บ้าน อสม. ร่วมกันเป็นผู้สรรหา อสม. เข้ารับการอบรม โดยคัดเลือกจากแต่ละคุ้ม ในอัตรา 1 คน ต่อ 8-15 หลังคาเรือนในกรณีท่ีคุ้ม น้นั ๆ มผี สู้ มคั รใจเกนิ กว่า 1 คน ให้ประชมุ หัวหนา้ ครอบครัวหรือตัวแทน แล้วลงมติด้วยเสียงข้างมาก ตัดสิน หลักสูตรการอบรม อสม. อสม. ที่ผ่านการคัดเลือกจะได้เข้ารับการอบรม ตาม หลกั สตู รของกระทรวงสาธารณสุข เพื่อให้มีความรูค้ วามสามารถในการปฏิบตั งิ านตามบทบาท เน้ือหา หลักสตู รแบง่ เปน็ 2 สว่ น คอื 1. กลุ่มความรู้พ้ืนฐานบังคับ ประกอบด้วย วิชาพื้นฐานในการปฏิบัติงานใน ฐานะที่เป็น อสม. ตลอดจนการแก้ไขปัญหาสาธารณสุข อันได้แก่ บทบาทหน้าท่ีของอาสาสมัคร สาธารณสุขสิทธิของอาสาสมัครสาธารณสุข การทางานเป็นกลุ่ม การค้นหาปัญหา และการแก้ไข สาธารณสุขวิทยาส่วนบุคคล การตรวจวินิจฉัยโรค การปฐมพยาบาล ตลอดจนการรักษาพยาบาล เบอื้ งตน้ การใชย้ า การส่งเสริมสุขภาพ การเฝ้าระวังและป้องกันควบคุมโรคการฟ้ืนฟูสภาพ การส่งต่อ ผู้ป่วยไปยังสถานบริการสาธารณสุข การฝึกปฏิบัติใช้เครื่องมือที่จาเป็นในการให้บริการใน ศสมช . เป็นต้น ในช่วงนี้จะมีระยะเวลาการอบรม 3 วัน 2. กลุ่มความรู้เฉพาะ ประกอบด้วย ความรู้ท่ีเป็นปัญหาสาธารณสุขของแต่ละ พื้นท่ีหรือท้องถ่ินของตนเอง มีการปรับปรุงเนื้อหาและหลักสูตรตามความเหมาะสม และให้มี การอบรมอย่างต่อเน่ืองทุกเดือนตามหลักสูตรบังคับ กาหนดอบรมเดือนละ 1 วัน ดังน้ัน หลักสูตร Ref. code: 25595805038121LZO

32 การอบรม อสม. จึงรวมเป็นทั้งหมด 12 วัน หลังจากนั้นก็จะได้รับการบันทึกลงทะเบียนเป็น อสม. ได้รับในประกาศนียบัตรและมีบัตรประจาตัว อสม. นอกจากน้ีแล้วก็จะมีการอบรม ฟ้ืนฟูและอบรม เฉพาะกิจในงานใหม่ ๆ ที่เป็นปัญหาทางสาธารณสุขอยู่เร่ือย ๆ วาระการดารงตาแหน่ง อาสาสมัคร สาธารณสุขทขี่ นึ้ ทะเบยี นไว้แลว้ จะมีวาระคราวละ 2 ปี เมื่อครบวาระก็จะมีการพิจารณาต่อบัตร โดย พจิ ารณาจากผลงานและการเข้าร่วมในกจิ กรรมสาธารณสุขมูลฐาน มีประชาชนและองค์กรในหมู่บ้าน เป็นผู้พิจารณา สาหรับกรณีท่ีพ้นสภาพเนื่องจากการเสียชีวิต ลาออก ย้ายท่ีอยู่ หรือประชาชนลงมติ ให้พน้ สภาพ กจ็ ะมกี ารคัดเลอื กและสรรหา อสม. ใหม่ เพอื่ อบรมเขา้ มาทดแทนคนเดิม จากการศึกษาแนวคิดและบทบาทอาสาสมัครสาธารณสุขน้ัน “อาสาสมัคร สาธารณสุข” คือผู้มีบทบาทที่สาคัญต่อสังคมและชุมชนเป็นอย่างมา เพราะเป็นทั้งผู้นาในชุมชน เป็น ผู้ส่ือสารในชุมชน และขณะเดียวกันอาสาสมัครสาธารณสุขยังคงทาบทบาท “หมอชุมชน” ในสังคม หรือตามบริบทท่ีเกิดข้ึน บทบาท ความเป็นผู้นาชุมชน และในฐานะตัวแทนรัฐ” ส่ิงเหล่านี้ทาให้ ความสาคัญท่ีเกิดขึ้นจากบทบาทท่ีหลากหลายเป็นความผูกพันแม้ไม่ได้รับค่าตอบแทนที่เป็นตัวเงิน จงึ เป็นกล่มุ เปา้ หมายเพ่ือประกอบในการศกึ ษาวเิ คราะหค์ ณุ ลกั ษณะอาสาสมัคร 2.5 งานวิจัยที่เก่ียวขอ้ ง การศึกษาด้านอาสาสมัครในประเทศไทย และการศึกษาบทบาทอาสาสมัครสาธารณสุข รวมถึงการวิเคราะห์คุณลักษณะจึงประมวลและเรียบเรียงเพ่ือเป็นข้อมูลประกอบการศึกษา คุณลักษณะอาสาสมคั รตอ่ งานอาสาสมคั รสาธารณสขุ ซ่งึ มีรายงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ดงั นี้ สุนิตย์ เชรษฐา (2548, น. 8-16) ได้ศึกษา “การศึกษาและประยุกต์บทเรียนงาน อาสาสมัครจากต่างประเทศเพ่ือการพัฒนาระบบอาสาสมัครในประเทศไทย” โดยได้ข้อสรุปคือ ประเทศไทยมรี ะบบอาสาสมัครทก่ี ลายเปน็ ส่วนหน่งึ ของวัฒนธรรมที่มีความชดั เจนยิ่ง เป็นกลไกสาคัญ ย่ิ ง ใ น ด้ า น ก า ร ย ก ร ะ ดั บ จิ ต ใ จ ข อ ง ค น ไ ท ย ใ ห้ มี ค ว า ม เ ห็ น ใ จ แ ล ะ ร่ ว ม ช่ ว ย เ ห ลื อ สั ง ค ม ต ล อ ด ม า อยา่ งไรก็ตามประเทศไทยยังใหม่อยู่มากในด้านการพัฒนาโครงสร้างงานอาสาสมัครอย่างเป็นระบบท่ี มีประสิทธิภาพและมุ่งส่งเสริมให้เกิดนวัตกรรมทางสังคม นอกจากนั้นพัฒนาการด้านงานอาสาสมัคร จากต่างประเทศท้ังในกลุ่มประเทศท่ีพัฒนาแล้วและกาลังพัฒนาน้ันก็มีความก้าวหน้าอย่างมาก จึงสมควรอยา่ งย่ิงท่ผี ู้ทกี่ าลังพัฒนาระบบสนบั สนุนอาสาสมคั รตา่ ง ๆ ในประเทศไทยจะสามารถเรียนรู้ เพ่ือประยุกต์เอาบทเรียนต่าง ๆ มาใช้กับประเทศไทยได้อย่างเหมาะสม บทเรียนระหว่างประเทศใน ด้านการจัดการอาสาสมัครนั้นแบ่งเป็นการจัดการอาสาสมัคร ประกอบไปด้วย วิธีการรับอาสาสมัคร ผ่านช่องทางต่าง ๆ จัดอบรม การคิดวิธีการจัด วางแผนศึกษาวิเคราะห์ความคุ้มค่าในการจัด อาสาสมัคร มกี ารศึกษาวิธกี ารพัฒนาอาสาสมคั รผา่ นเครอื ขา่ ยทางสังคมให้อาสาสมัครขับเคล่ือนสร้าง Ref. code: 25595805038121LZO

33 งานอาสาสมัครด้วยตัวเองเป็นเครือข่ายใยแมงมุม และการจัดการองค์กรรับอาสาสมัคร ซ่ึงเป็น การแสวงงานอาสาให้ แก่อาสาสมัครพร้อมท้ังใช้การพัฒนาสร้างศูนย์กลางข่าวสารเพื่ออานวย ความสะดวกงานอาสาสมคั รข้นึ โดยร่วมมือกับองค์กรอาสาสมัครต่าง ๆ ท่ีเก่ียวข้องตามภูมิภาคต่าง ๆ ทั่วประเทศเป็นภาคีแนวร่วมพร้อมทั้งร่วมมือกับองค์กรอาสาสมัครระหว่างประเทศวิธีการจัดการ ฐานข้อมูลอาสาสมัครและองค์กรรับอาสาสมัครผ่านระบบอัจฉริยะในต่างประเทศสามารถช่วย ก่อให้เกิดการจับคู่งานอาสาการจัดการเช่ือมอุปสงค์อุปทานด้านอาสาสมัคร การพัฒนาให้เกิด การอาสาสมัครในองค์กรธุรกิจและภาคอ่ืน ๆ อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ พร้อมทั้งศึกษา การรณรงค์ประชาสัมพันธ์งานอาสาสมัครในปีอาสาสมัครโลกโดยองค์กรอาสาสมัครสหประชาชาติ หรือแม้แต่การต่อเช่ือมงานอาสาสมัครเข้ากับระดับนโยบายของชาติ ซึ่งนาไปสู่การพัฒนาระบบ อาสาสมัครอย่างมากมายทั่วโลก การใช้ข้อความประชาสัมพันธ์เพื่องานอาสาสมัคร การจัดการระดม ทนุ องค์กรพัฒนาเอกชน การพัฒนาเครือข่ายพหุพาคี โกมาตร จึงเสถียรทัพย์ (2549, น. 9-14) ได้ทาการศึกษาเร่ือง “ศักยภาพอาสาสมัคร สาธารณสุขในสถานการณ์การเปล่ียนแปลง: การสังเคราะห์ความรู้สู่ยุทธศาสตร์การพัฒนา จากผลการศึกษาคน้ พบประเด็นสาคัญใน 8 ประการ (1) จากการที่แนวคิดและตัวแบบของปฏิบัติการ เก่ียวกับอาสาสมัครสาธารณสุขเป็นผลผลิตจากพัฒนาการทางประวัติศาสตร์ ดังน้ัน เมื่อสถานการณ์ การเมืองและสุขภาพได้เปลี่ยนแปลงไปในช่วงสองทศวรรษท่ีผ่านมา จึงมีความจาเป็นที่จะต้อง ปรับเปล่ียนแนวคิดและตัวแบบของปฏิบัติการเกี่ยวกับอาสาสมัครสาธารณสุขใหม่ให้สอดคล้องกับ การเปลย่ี นแปลงดังกล่าว (2) อาสาสมคั รสาธารณสขุ ทีม่ อี ย่จู านวน 800,000 คน นับว่าเป็นทรัพยากร ที่มีค่าย่ิง แม้ว่า อสม. บางส่วนอาจมีปัญหาในการเข้ามาเป็นอาสาสมัครเพราะระบบพวกพ้องหรือ ตอ้ งการสิทธิประโยชน์เล็ก ๆ น้อย ๆ แต่อาสาสมคั รสว่ นใหญ่ที่ได้รับเลือกมักเป็นผู้ท่ีชุมชนเช่ือถือและ ไว้วางใจว่าจะอุทิศตนให้กับการทางานเพ่ือชุมชน (3) อาสาสมัครสาธารณสุขส่วนใหญ่ยังคงมีชีวิตอยู่ และมผี ้หู ญิงเข้ามาเป็นอาสาสมัครมากข้ึนถึงร้อยละ 70 ในขณะที่มากกว่าร้อยละ 35 ของอาสาสมัคร เปน็ คนรนุ่ ใหมท่ เ่ี พง่ิ เปน็ อาสาสมัครได้ไม่เกนิ 5 ปี (4) อาสาสมัครสาธารณสุขที่มีอยู่มีความสามารถใน การทางานซึ่งเสร็จส้ินได้ในระยะเวลาสั้น ๆ เช่น การสารวจรวบรวมข้อมูล การรณรงค์ป้องกันโรค แต่มีข้อจากัดในการทางานท่ีต้องใช้เวลาต่อเน่ืองยาวนานเช่น การดูแลผู้ป่วยเรื้อรัง (5) อาสาสมัคร สาธารณสุขท่ีมีอยู่ส่วนใหญ่มาจากผู้ท่ีมีการศึกษาและมีฐานะทางเศรษฐกิจไม่สูงนัก ซ่ึงทาให้มี คาถามว่า เราจะทาอย่างไรเพื่อให้สามารถระดมกลุ่มบุคคลท่ีมีคุณภาพและฐานะทางเศรษฐกิจท่ี สงู กวา่ น้ีเข้าสู่กระบวนการอาสาสมัครสาธารณสุขได้มากข้ึน (6) ระบบการสนับสนุนที่เปลี่ยนแปลงไป จากนโยบายการกระจายอานาจส่งผลต่อความสัมพันธ์ระหว่างอาสาสมัครสาธารณสุข ผู้บริหาร ท้องถ่ิน และบทบาทของกระทรวงสาธารณสุข แม้ว่าจะมีพัฒนาการของกลไกการประสานงานใน ระดับต่าง ๆ เกิดข้นึ แต่อาสาสมคั รสาธารณสุขในชุมชนมีส่วนร่วมในกลไกการประสานงานในระดับที่ Ref. code: 25595805038121LZO

34 สูงกว่าจังหวัดค่อนขา้ งน้อย (7) กรณีศึกษาต่าง ๆ ได้ชี้ให้เห็นนวัตกรรมและรูปแบบของอาสาสมัครใน การพัฒนาสุขภาพท่ีหลากหลาย นับตั้งแต่ การเป็นอาสาสมัครในโรงพยาบาลจนถึงการเป็น อาสาสมัครบรรเทาพิบัติภัย รูปธรรมเหล่าน้ีชี้ให้เห็นว่าแนวคิดเกี่ยวกับอาสาสมัครในสังคมไทยได้ กา้ วหนา้ จนเป็นทย่ี อมรับกันมากขึน้ นราเขต ย้ิมสุข (2552, น. 5-6) ได้ศึกษาเร่ือง “ความสัมพันธ์ระหว่างคุณลักษณะ ผปู้ ระกอบการ กับความสาเร็จของผู้ประการขนาดย่อม: กรณีศึกษาธุรกิจไม้ดอกไม้ประดับ ในอาเภอ องครักษ์ จังหวัดนครนายก ผลการศึกษาพบว่า ผู้ประกอบการมีคุณลักษณะต้องการความสาเร็จ ความมีเหตุผลในเศรษฐศาสตร์ และมีความกล้าเสี่ยงในระดับสูง สาหรับความเชื่ออานาจในตน ความสามารถในการรับรู้โอกาสทางธุรกิจ และความคิดในเชิงนวัตกรรมอยู่ในระดับปานกลาง นอกจากนี้ความสาเร็จของผู้ประกอบการอยู่ในระดับสูง การวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ พบตัวแปร พยากรณ์ความสาเร็จของผู้ประกอบการ คือ ความต้องการความสาเร็จ และความมีเหตุผลทาง เศรษฐศาสตร์ ได้ร้อยละ 22.4 และ 8.2 ตามลาดับ ทัศพร ชูศักดิ์ (2554, น. 12-14) การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบรูปแบบ ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าท่ีของอาสาสมัคร สาธารณสุขประจาหมู่บ้าน (อสม.) พ้ืนที่สาธารณสุขเขต 18 แสดงความสัมพันธ์และอิทธิพลของ ตัวแปรแฝง 8 ตัวแปร ได้แก่ การปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าท่ี ลักษณะงาน สัมพันธภาพในชุมชน คุณลักษณะความเป็นอาสาสมัครการเสริมสร้างพลังอานาจในงาน การเห็นคุณค่าในตนเอง ความพึง พอใจในงานและความผูกพันต่อชุมชน กลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ในการวิจัยครั้งน้ีคือ อาสาสมัครสาธารณสุข ประจาหมู่บ้าน (อสม.) พ้ืนท่ีสาธารณสุขเขต 18 จานวน 437 คน ผลการวิจัยพบว่ารูปแบบ ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าท่ีของอาสาสมัคร สาธารณสุขประจาหมู่บ้าน (อสม.) พื้นที่สาธารณสุขเขต 18 ที่ผู้วิจัยพัฒนาข้ึนมีความสอดคล้องกับ ข้อมูลเชิงประจักษ์โดยพิจารณาจากค่าไคสแควร์ เท่ากับ 193.644 ที่องศาอิสระเท่ากับ 113 ค่า p-value เท่ากับ 0.060 ค่าไคสแควร์สัมพัทธ์เท่ากับ 1.714 ค่า GFI เท่ากับ 0.953 ค่า AGFI เท่ากับ 0.928 และค่า RMSEA ท่ากับ 0.042 โดยตัวแปรที่มีอิทธิพลทางตรงต่อการปฏิบัติงานตามบทบาท หน้าที่ของอาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน (อสม.) อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ได้แก่ ความพึงพอใจในงานและการเห็นคุณค่าในตนเอง ส่วนตัวแปรท่ีมีอิทธิพลทางอ้อมต่อการปฏิบัติงาน ตามบทบาทหน้าท่ีอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ได้แก่ การเสริมสร้างพลังอานาจในงาน สัมพันธภาพใน ชมุ ชน คุณลกั ษณะความเป็นอาสาสมัครและลักษณะงานผลการศึกษายืนยันว่าแนวคิดการเสริมสร้าง พลังอานาจในองค์การของคานเตอร์ และแนวคิดการเสริมสร้างพลังอานาจเชิงจิตวิทยาของโทมัสและ เวลเฮ้าส์และของสปีสเซอร์ สามารถอธิบายและทานายรูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของปัจจัยที่มี อทิ ธิพลต่อการปฏบิ ัตงิ านตามบทบาทหนา้ ท่ีของอาสาสมัครสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน (อสม.) ได้เป็น Ref. code: 25595805038121LZO

35 อย่างดีดังนั้น กระทรวงสาธารณสุขหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรมีรูปแบบบริหารจัดการที่จะพัฒนา ลักษณะงาน สมั พนั ธภาพในชุมชนคุณลักษณะความเป็นอาสาสมคั ร ความพงึ พอใจในงานและการเห็น คณุ คา่ ในตนเองเพื่อให้เกิดกลไกที่เอ้ือ ต่อการพัฒนาและส่งเสริมศักยภาพของอาสาสมัครสาธารณสุข ประจาหมูบ่ า้ น (อสม.) สามารถปฏิบตั ิงานตามบทบาทหนา้ ท่ีได้อย่างมีประสิทธภิ าพ พิศาล โพธิ์ทองแสงอรุณ (2555, น. 9-18) ได้ศึกษาเร่ือง วิเคราะห์ปัจจัยสาคัญต่าง ๆ ที่มีอิทธิพลต่อความรับผิดชอบต่อสังคมของผู้บริหารกับผู้ปฏิบัติงานภายในกลุ่มโรงงานอุตสาหกรรม น้าตาล ซึ่งได้ทาการศึกษาและรวบรวมข้อมูลโดยการทบทวนวรรณกรรมจากงานวิจัยและจาก บทความจากฐานข้อมูลต่าง ๆ รวมถึงการสัมภาษณ์และการเก็บข้อมูลจากแบบสอบถามกับผู้บริหาร ของโรงงานน้าตาลในประเทศ คิดเป็นร้อยละ 32 ของผู้ตอบแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วย Factor Analysis ผลจากการศึกษานาเสนอความสาคัญของปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความรับผิดชอบต่อ สังคมของผู้บริหารพบว่ามี 7 ปัจจัย ได้แก่ 1) ความรับผิดชอบขององค์กร (Corporate Responsibility) 2) นวตั กรรมองค์กร (Innovation) 3) ความสุขในการทางาน (Happy Workplace) 4) ความเชื่อม่ัน ในองค์กร (Belief in Organization) 5) ความไว้วางใจด้านการเงิน (Credit) 6) การบริหาร ความสัมพันธ์กับลกู คา้ (Customer Relationship Management) 7) ความพึงพอใจ (Satisfaction) และปัจจัยท่ีมีอิทธิพลต่อความรับผิดชอบต่อสังคมของผู้ปฏิบัติงาน คิดเป็นร้อยละ 68 ของผู้ตอบ แบบสอบถาม มี 4 ปัจจัย ได้แก่ 1) ความรับผิดชอบขององค์กร (Corporate Responsibility) 2) ความสุขในการทางาน (Happy Workplace) 3) ความเช่ือมั่นในองค์กร (Belief in Organization) 4) นวัตกรรมองคก์ ร (Innovation) ปิยากร หวังมหาพร (2556, น. 16) ได้ศึกษาเรื่อง “พัฒนาการเชิงนโยบายอาสาสมัครไทย: จากความม่ันคงสู่การพัฒนาสังคม” พบว่า อาสาสมัคร หมายถึง บุคคลท่ีสมัครใจทางาน เพ่ือประโยชน์แก่ส่วนรวมโดยไม่หวังส่ิงตอบแทน อาสาสมัครก่อให้เกิดการกระจายเศรษฐกิจไปสู่ สังคม เนื่องจากกิจกรรมที่อาสาสมัครดาเนินการได้รับการสนับสนุนจากรัฐหรือหน่วยงานเอกชน อาสาสมัครจึงเป็นการลดภาระค่าใช้จ่ายภาครัฐอาสาสมัครช่วยสร้างความเหนียวแน่นและความ เข้มแข็งของชุมชน เป็นการส่งเสริมความไว้วางใจระหว่างช่วยพัฒนาค่านิยมของความมีน้าหน่ึงน้าใจ เดียวกัน และอาสาสมัครทาใหไดพบเพื่อนใหม่เรียนรู้ทักษะใหม ก่อให้เกิดม่ันใจและการยอมรับ พัฒนา การเชิงนโยบายอาสาสมัครไทยแบงออกเปน 4 ช่วงด้วยกัน ได้แก่ 1) ก่อนปี พ.ศ. 2500: ยุค อาสาสมัครเพ่ือความม่ันคง 2) ปี พ.ศ. 2500-2520 ยุคอาสาสมัครเพื่อการพัฒนาแก้ไขปัญหาสังคม 3) พ.ศ. 2551-2540 ยคุ อาสาสมัครเพ่ือแก้ไขปัญหาสังคม 4) พ.ศ. 2541-ปัจจุบัน ยุคอาสาสมัครเพ่ือ การพัฒนาสังคมและสังคมสงเคราะห์ การเปลี่ยนแปลงข้ึนอยู่กับสิ่งแวดล้อมภายในประเทศและ ภายนอกประเทศเป็นสาคัญ Ref. code: 25595805038121LZO

36 2.6 กรอบแนวคิดในการศกึ ษา จากแนวคิดทฤษฎแี ละผลการศกึ ษาท่เี กย่ี วขอ้ งดังกลา่ ว ผ้วู จิ ยั ได้กาหนดกรอบแนวคิดใน การศึกษาวิจยั ดงั นี้ 1. ตัวแปรอิสระ ได้แก่ ปัจจัยคุณลักษณะอาสาสมัครท่ีเป็นคุณลักษณะร่วมนั้น พบว่า คุณลักษณะร่วมเป็นปัจจัยที่สาคัญในการกาหนดคุณลักษณะอาสาสมัคร 3 ประการ ได้แก่ ความรู้สึก อิสระในการเป็นผ้เู ลือกงานอาสาสมัครที่ตนเองสนใจ (Choose) สานึกร่วมหรือความเป็นเจ้าของร่วม เกิดการเสยี สละและผูกพัน (Sense of Belonging) และการปฏิบัติงานท่ีไม่ใช่ภาระงานท่ีต้องทาตาม หน้าท่ี (Beyond Basic Obligations) 2. ตัวแปรตาม ได้แก่ การปฏิบัติงานตามบทบาทอาสาสมัคร โดยปัจจัยด้าน คุณลักษณะของอาสาสมัครจะส่งผลต่อ 2.1 บทบาทเป็นความคาดหวังที่เกิดข้ึนของอาสาสมัคร มิได้เกี่ยวข้องหรือมุ่งไปที่ ตัวบคุ คล 2.2 บทบาทมีความสัมพันธ์กบั พฤติกรรมในการทางานของอาสาสมัคร บทบาทใน องคก์ ารเป็นพฤติกรรมทถ่ี ูกคาดหวงั ใหป้ ฏบิ ตั ิงานหน่ึง ๆ 2.3 อาสาสมัครรู้จกั ตนเองตามบทบาทหน้าทีท่ ี่ได้รับมอบหมาย 2.4 พฤติกรรมอาสาสมัครตามสถานการณ์ที่กาหนดให้จะต้องมีความเหมาะสมกับ การสง่ เสริมฐานะของตนเอง ซ่ึงผู้วิจัยนาแนวคิดและทฤษฎีจากการศึกษาทั้งหมดเพ่ือนามากาหนดคุณลักษณะ อาสาสมัครที่ส่งผลต่อการปฏิบัติงานตามบทบาทและการรับรู้การทางานตามบทบ าทท่ีเกิดข้ึนของ อาสาสมคั ร Ref. code: 25595805038121LZO


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook