Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ว32248 ชีววิทยาเพิ่มเติม 3

ว32248 ชีววิทยาเพิ่มเติม 3

Published by yoswadee tongjib, 2022-05-16 03:34:03

Description: ว32248 ชีววิทยาเพิ่มเติม 3

Search

Read the Text Version

เอกสารประกอบการเรียน วชิ า ว32248 ชีววทิ ยาเพิ่มเติม 3 ชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 5 ปีการศกึ ษา 2565 นางยศวดี ศศธิ ร กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนมหาวชิราวธุ จังหวัดสงขลา สานักงานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษาสงขลา สตูล

คำนำ เอกสารประกอบการสอนเล่มนี้ จัดทาขึ้นเพื่อใช้ประกอบการจัดการเรียนรู้วิชา ว32248 ชีววิทยา เพิ่มเติม 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ของนักเรียนโครงการ SMA ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 5 ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศึกษา 2565 นางยศวดี ศศธิ ร กลุ่มสาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นมหาวชริ าวธุ จังหวัดสงขลา

สารบญั หนา้ เรื่อง 1 19 บทท่ี 1 การสบื พันธ์ุของพืชดอก 47 บทที่ 2 โครงสรา้ งและการเจรญิ เตบิ โตของพืชดอก 60 บทที่ 3 การลา้ เลียงนา้ ในพืช 83 บทท่ี 4 การสงั เคราะหด์ ว้ ยแสง 94 บทที่ 5 การควบคมุ การเจรญิ เตบิ โตและการตอบสนองของพชื 95 เอกสารอ้างอิง ประวตั ผิ ู้เขียนเอกสาร

ครยู ศวดี ศศธิ ร กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนมหาวชริ าวธุ จงั หวัดสงขลา บทท่ี 1 การสบื พนั ธข์ุ องพชื ดอก การสืบพนั ธข์ุ องพชื ดอกเปน็ กระบวนการเพิ่มจานวนประชากร แบ่งเป็น 1. การสืบพันธ์ุแบบไม่อาศัยเพศ (Asexual reproduction) เป็นการใช้ส่วนตา่ ง ๆ ของพืชดอกท่ีไม่ใช้ เซลล์สืบพันธุ์ ทาให้ลูกมีลักษณะทางพันธุกรรมเหมือนพ่อแม่ทุกประการ ไม่มีการแปรผันทางพันธุกรรม จึง ปรับตัวเข้ากับส่ิงแวดล้อมได้ไม่ดีเท่าท่ีควร ซ่ึงวิธีการสืบพันธ์ุแบบไม่อาศัย เช่น การเพาะเล้ียงเนื้อเยื่อ การติด ตา การแตกหน่อ ตอนกิ่ง เสียบยอดและปักชา เปน็ ต้น 2. การสบื พันธแุ์ บบอาศยั เพศ (Sexual reproduction) มีลักษณะสาคญั ดังน้ี 2.1 เป็นการแบ่งนิวเคลียสแบบไมโอซสิ เพอ่ื ให้ได้เซลล์สบื พันธุ์ 2.2 มกี ารปฏิสนธิของเซลลส์ บื พันธ์ุ 2.3 ทาให้ลกู มกี ารแปรผันทางพันธกุ รรมและสามารถปรบั ตวั เขา้ กับสง่ิ แวดล้อมได้ดี โครงสรา้ งของดอก คาชแี้ จง ให้นกั เรยี นนาคา Stamen, Anther, Filament, Stigma, Style, Ovary, Carpel, Petal, Receptacle และ Sepal เตมิ ลงในภาพให้ถูกต้อง ภาพโครงสรา้ งของดอก 1. กลบี เลีย้ ง (Sepal) เปน็ สว่ นทอ่ี ยนู่ อกสดุ มสี ีเขียว ซ่งึ มลี ักษณะเปน็ วงเรียกวา่ Calyx 2. กลบี ดอก (Petal) เป็นสว่ นของดอกท่อี ยถู่ ดั จากกลบี เลย้ี งเข้าไปขา้ งใน มักมสี ีสันสวยงาม 3. เกสรตัวผู้ (Stamen) ทาหนา้ ทสี่ ร้างเซลลส์ บื พนั ธเุ์ พศผู้ ประกอบด้วยอับเรณู (Anther) อยู่บน กา้ นชูเกสรตวั ผู้ (Filament) 4. เกสรตัวเมยี (Pistil) ทาหน้าทส่ี รา้ งเซลล์สบื พันธเ์ุ พศเมีย ประกอบด้วยยอดเกสรตวั เมีย (Stigma) กา้ นเกสรตวั เมยี (Style) และรงั ไข่ (Ovary)

2 ประเภทของดอก 1. ใชส้ ว่ นประกอบของดอกไม้เป็นเกณฑ์ แบ่งเป็น 2 ประเภท ดงั น้ี 1.1 ดอกสมบูรณ์ (Complete flower) คอื ดอกไมท้ ่ีมอี งคป์ ระกอบครบ........ส่วนคอื กลีบเล้ยี ง กลีบดอก เกสรตัวผู้ เกสรตวั เมยี อยู่ภายในดอกเดียวกัน 1.2 ดอกไมส่ มบูรณ์ (Incomplete flower) คือ ดอกไม้ท่ีมอี งค์ประกอบไม่ครบ........ส่วน ในดอกเดยี วกนั 2. ใช้อวยั วะสบื พนั ธข์ุ องพืชเปน็ เกณฑ์ แบง่ เปน็ 2 ประเภท ดังนี้ 2.1 ดอกสมบรู ณเ์ พศ (Perfect flower) คอื ดอกไมท้ ี่มอี วัยวะสืบพันธ์ุท้งั ...................ในดอกเดยี วกัน 2.2 ดอกไมส่ มบูรณ์เพศ (Imperfect flower) คือ ดอกไมท้ ี่มีอวยั วะสบื พนั ธ์เุ พศผหู้ รอื เพศเมยี ในดอก 3. ใช้ตาแหนง่ ของรงั ไขเ่ ปน็ เกณฑ์ แบ่งเป็น 2 ประเภท ดงั น้ี 3.1 ดอกทมี่ ีรงั ไขเ่ หนอื วงกลบี (Superior ovary) เช่น มะเขือ จาปี พรกิ ถั่ว มะละกอ และสม้ เปน็ ตน้ 3.2 ดอกท่ีมีรงั ไข่ใตว้ งกลีบ (Inferior ovary) เชน่ ตาลึง ฟักทอง แตงกวา บวบ ทับทมิ และกลว้ ย เปน็ ตน้ ภาพโครงสรา้ งของดอกแบ่งตามตาแหน่งของรังไข่ ก. ดอกท่ีมีรงั ไข่เหนอื วงกลบี ข. ดอกท่มี รี ังไขใ่ ต้วงกลบี 4. ใช้จานวนดอกบนหนง่ึ ก้านดอกเปน็ เกณฑ์ แบง่ เป็น 2 ประเภท ดังน้ี 4.1 ดอกเด่ยี ว (Solitary flower) คอื ดอกท่ี มเี พยี ง 1 ดอกบนก้านดอก เช่น จาปี บัว ทวิ ลปิ และ คุณนายต่ืนสาย เป็นตน้ 4.2 ดอกช่อ (Inflorescence flower) คือ ดอกที่มีดอกยอ่ ยมากกวา่ 1 ดอกติดอยู่บนกา้ นชอ่ ดอก เชน่ กลว้ ยไม้ เข็ม และราชพฤกษ์ เปน็ ตน้ ภาพดอกเด่ียว (ก) และดอกช่อ (ข)

3 ☺ ดอกของพืชบางชนิดท่ีเปน็ ดอกชอ่ แต่มักถูกเขา้ ใจวา่ เป็นดอกเด่ียว เช่น ทานตะวัน ดาวเรอื ง ดาวกระจาย และบานชื่น เป็นตน้ เนือ่ งจากกา้ นช่อดอกของพชื เหล่านี้จะหดสน้ั และขยายแผ่ออกเปน็ วงคล้ายจาน เรยี กวา่ ฐานดอกรว่ ม (Common receptacle) ดงั นั้นสว่ นท่ีเหน็ คล้ายเปน็ กลีบดอกติดอยทู่ ีว่ งรอบนอกของฐานดอก รว่ มคอื ดอกย่อยวงนอก ซ่ึงมักเป็นดอกเพศเมยี ถัดเข้ามาจะเหน็ ดอกย่อยทีม่ ลี ักษณะคลา้ ยหลอดอยู่เบียดกัน แนน่ เปน็ กลมุ่ อยู่บรเิ วณตรงกลางของฐานดอกรว่ มเรยี กวา่ ดอกย่อยวงใน ซ่ึงเป็นดอกสมบูรณ์เพศ ภาพดอกทานตะวัน ชนดิ ของผล แบง่ ตามกาเนิดของผล ลักษณะดอก และจานวนรงั ไข่ ดังน้ี แบ่งเปน็ ผลเดย่ี ว ผลกลุม่ และผลรวม 1. ผลเด่ยี ว (Simple fruit) เปน็ ผลท่ีเจรญิ มาจากดอก 1 ดอกทมี่ ีรังไข่ 1 รังไข่ จะเปน็ ดอกเดยี่ วหรือ ดอกช่อกไ็ ด้

4

5

6 ภาพ Simple fruit

7 2. ผลกลุม่ (Aggregate fruit) เปน็ ผลท่เี กดิ มาจากดอก 1 ดอกท่มี ีจานวนเกสรเพศเมยี มากกวา่ 1 อนั อยู่ บนฐานดอกเดียวกนั จงึ มรี ังไขม่ ากกว่า 1 รงั ไข่ เมือ่ แต่ละรังไขเ่ จรญิ เปน็ ผลยอ่ ย 1 ผล ทาใหแ้ ตล่ ะผลตดิ อยู่บน ฐานดอกเดียวกนั ผลยอ่ ยอาจแยกจากกัน เช่น จาปี จาปา การเวก และกระดังงา หรือผลย่อยอาจเชอ่ื มติดกนั คลา้ ยผลเด่ียว เช่น น้อยหน่า บวั หลวง และสตอเบอรี เป็นตน้ ภาพ Aggregate fruit

8 3. ผลรวม (Multiple fruit) เปน็ ผลท่เี กิดจากดอกช่อ ซ่ึงมดี อกย่อยจานวนมากและเบยี ดชดิ กันในชอ่ ดอกเดียวกนั และรงั ไขด่ อกยอ่ ยแตล่ ะดอกจะเจริญเปน็ ผลย่อยท่อี ย่เู บียดชดิ กนั บนแกนชอ่ ดอกจนดูคล้ายเป็น หนึ่งผล เชน่ ยอ หมอ่ น สับปะรด สาเก ขนนุ และมะเดื่อ เป็นต้น

9 ภาพ Multiple fruit

10 วฏั จักรชวี ิตแบบสลบั ของพืชดอก พืชดอกเมอื่ เจริญเตบิ โตและมดี อก ดอกจะมกี ารสบื พนั ธ์ุแบบอาศัยเพศ ซึ่งการปฏสิ นธิ (Fertilization) ของ..................................จะได้ไซโกต (Zygote) และจะพฒั นาตอ่ ไปเปน็ เอ็มบริโอ (Embryo) ซึง่ อย่ภู ายใน เมลด็ เมอื่ เมลด็ งอก เอ็มบรโิ อจะเจรญิ เตบิ โตเปน็ พืชตน้ ใหม่แลว้ ออกดอกเพอื่ สืบพันธต์ุ อ่ ไป หมนุ เวยี นเปน็ วฏั จกั รชีวิต (Life cycle) วฏั จักรชีวิตของพชื เป็นวฏั จกั รชีวิตแบบสลบั (Alternation of generation) ประกอบด้วยสปอโรไฟต์ (Sporophyte) ซึง่ เป็นระยะท่สี ร้างสปอร์และ แกมีโทไฟต์ (Gametophyte) ซ่ึงเป็น ระยทีส่ รา้ งเซลล์สบื พนั ธ์ุ ดงั ภาพ ในพืชท่ีท่อลาเลียงไร้เมล็ด เช่น เฟิร์น เม่ือสปอร์โรไฟต์โตเต็มที่จะมีโครงสร้างท่ีสร้างสปอร์ เม่ือมี การกระจายสปอร์ สปอร์จะหลุดจากสปอร์โรไฟต์ และถ้าสปอร์อยู่ในสภาพแวดล้อมที่มีความช้ืนเหมาะสม สปอร์จะงอกแล้วเจริญเป็นแกมีโทไฟต์ ซ่ึงจะมีโครงสร้างท่ีสร้างเซลล์สืบพนั ธุ์ต่อไป ในพืชดอกนั้นต้นที่เห็นเป็น สปอร์โรไฟต์ มีโครงสร้างที่สร้างสปอร์ แต่สปอร์ไม่ไดห้ ลุดออกจากสปอโรไฟต์ เมื่อสปอร์พัฒนาเปน็ แกมีโทไฟต์ แกมีโทไฟตข์ องพชื ดอกจึงไม่ไดอ้ ยู่อย่างอิสระ แต่มขี นาดเล็กและเปน็ ส่วนที่อยู่ในดอกซ่ึงตา่ งจากเฟริ ์น

11 การสบื พันธแุ์ บบอาศัยเพศของพืชดอก 1. การสร้างไมโครสปอร์และเมกะสปอร์ และการสรา้ งเซลลส์ ืบพนั ธ์ุ

12 ☺☺การถา่ ยเรณู เปน็ การเคลอื่ นย้ายเรณูจากอบั เรณไู ปตกบนยอดเกสรเพศเมยี การถ่ายเรณใู นธรรมชาติ อาจเกดิ ข้ึนโดยอาศยั ลม น้า แมลงหรอื สัตวเ์ ป็นพาหะถา่ ยเรณู (Pollinator) Pollinator) หลักจากเกดิ การถา่ ยเรณแู ล้ว จะมกี ารงอกของหลอดเรณแู ละกระบวนการสรา้ งเซลล์สบื พันธุ์เพศผเู้ พื่อ เข้าไปผสมกบั เซลล์ไขต่ ่อไป

13 2. การปฏิสนธิ การปฏสิ นธิของพืชดอกเป็นการปฏสิ นธิคู่ (Double fertilization) ดงั ภาพ ภาพการปฏสิ นธคิ ขู่ องพชื ดอก 3. การเกิดผลและเมลด็ โดยทว่ั ไปหลังการปฏสิ นธแิ ลว้ กลบี ดอก กลีบเลยี้ งและเกสรเพศผู้จะแหง้ และรว่ งไป ออวลุ จะพฒั นาไป เป็นเมลด็ อยภู่ ายในผล ซง่ึ พัฒนามาจากรงั ไข่ ผนงั รังไข่จะเปลีย่ นแปลงไปเปน็ ผนังผล (Pericarp) ดังภาพ

14 ผนงั ผลอาจแบง่ ได้เปน็ 3 ช้ันคอื ผนังผลช้นั นอก (Exocarp) ผนังผลช้ันกลาง (Mesocarp) และผนังผล ชั้นใน (Endocarp) ภาพผนงั ผล ถ้าพจิ ารณาจากลกั ษณะของผนังผล สามารถแบง่ ผลได้เป็น 2 กลุ่มดงั นี้ 1. ผลมเี นอ้ื เปน็ ผลทม่ี ีผนงั ผลเกือบทงั้ หมดเปน็ เนื้อ เม่อื เจรญิ เตม็ ทผ่ี นังผลมลี ักษณะอวบน้า ดังภาพ 2. ผลแหง้ เปน็ ผลทเี่ มื่อเจรญิ เตม็ ทีห่ รือแกแ่ ลว้ ผนงั ผลมีลกั ษณะแห้งแข็ง ไม่มเี นือ้ เหลืออยู่ ซ่ึงอาจจะ แตกหรือไมแ่ ตกขึ้นกับชนิดของผล ดงั ภาพ

15 ☺ ผลบางชนดิ มฐี านดอกเจรญิ รว่ มขึ้นมาเป็นส่วนหนึง่ ของผล เชน่ ชมพู ฝรั่ง แอปเปลิ และสาลี่ เปน็ ตน้ เมล็ดและเอ็มบรโิ อ หลังการปฏิสนธิของพืชดอก ไซโกตจะพัฒนาเป็นเอม็ บรโิ อ และออวุลจะพัฒนาเปน็ เมลด็ อยู่ภายในผล ซึ่งพฒั นามาจากรังไข่ ผนงั ออวลุ จะเปลยี่ นไปเป็นเปลอื กเมล็ด (Seed coat) ซึ่งหมุ้ ล้อมรอบ เอนโดสเปริ ม์ และเอม็ บรโิ อท่อี ยูภ่ ายในเอาไว้ ดงั ภาพ ภาพการเจริญและพฒั นาของเอ็มบริโอและเอนโดสเปิร์ม

16 เมล็ดประกอบดว้ ยสว่ นตา่ ง ๆ ดงั นี้ 1. เปลอื กเมล็ด (Seed coat) เจรญิ มาจากผนังออวุล ทาหน้าทป่ี ้องกนั เอ็มบริโอที่ อยภู่ ายในเมล็ด ผิวของเปลือกเมลด็ มีรอยแผลเป็นเล็ก ๆ เรยี กวา่ ไฮลมั (Hilum) ซึ่งเกดิ จากก้านออวลุ หลุดออกไป และทใี่ กล้ ๆ ไฮลมั มไี มโครไพล์ ซ่งึ เปน็ ชอ่ งเปิดขนาดเล็กใหน้ ้า เข้าสภู่ ายในเมลด็ และให้รากแรกเกดิ งอกผา่ นออกมา 2. เอ็มบริโอ เจริญมาจากไซโกต ประกอบดว้ ยสว่ นสาคญั ดังน้ี 2.1 รากแรกเกดิ (Radicle) เปน็ ส่วนปลายสดุ ของแกนเอ็มบรโิ อท่ีอยู่ทางดา้ นไมโครไพล์ เป็นสว่ น แรกของเอม็ บริโอทเ่ี จรญิ ออกมาเมอ่ื เมล็ดมีการงอก และจะเจรญิ ตอ่ ไปเปน็ รากปฐมภูมขิ องพชื 2.2 ลาต้นแรกเกดิ (Caulicle) เป็นส่วนแกนของเอ็มบรโิ อท่ีอยู่ถดั จากเรดเิ คิลขึน้ ไป 2.3 ยอดแรกเกดิ (Plumule) เป็นสว่ นยอดของเอม็ บริโอทีอ่ ยูเ่ หนอื ใบเลยี้ ง 2.4 ใบเลี้ยง (Cotyledon) ตดิ อยู่บนส่วนแกนหลักของเอม็ บริโอ ทาหนา้ ทีส่ ะสมอาหาร และสังเคราะห์ดว้ ยแสง 3. เอนโดสเปิรม์ ทาหน้าทเ่ี ปน็ อาหารสะสมในการเจริญเตบิ โตของตน้ อ่อน ประเภทของเมล็ด ตามประเภทการสะสมอาหาร 1. Albuminous seed เปน็ เมล็ดท่ีม.ี ................... สะสมอาหาร พบในพืชใบเลยี้ งเดย่ี ว และใบเลีย้ งคู่ อย่างละหงุ่ ละมุดและกาแฟ 2. Exalbuminous seed เปน็ เมลด็ ที่มีใบเลย้ี งหลงั่ เอนไซม์ Amylase ออกมายอ่ ย Endosperm แลว้ ดูดอาหารมาสะสมไว้ท่ี.............................. พบใน พชื ใบเลย้ี งคู่ ยกเว้น ละหงุ่ ละมุดและกาแฟ ภาพสว่ นประกอบตา่ ง ๆ ของเมล็ด

17 การใชป้ ระโยชน์จากโครงสร้างตา่ ง ๆ ของผลและเมลด็ 1. อาหาร ผลบางชนิดมเี นื้อท่ีไม่ได้เปน็ ผนังผล แต่เป็นเน้ือทเี่ กดิ จากสว่ นของเมลด็ หุ้มอยู่รอกนอกของเมลด็ เรียกวา่ เย่อื ห้มุ เมลด็ (Aril) แบง่ เป็น 1. สว่ นเยือ่ หุ้มเมลด็ ที่แยกออกจากเมล็ดได้ เนอ่ื งจากเย่ือหุ้มเมล็ดเจรญิ มาจากสว่ นก้านเมลด็ (Funiculus) เช่น ลาไย ล้ินจี่ และทุเรยี น 2. สว่ นเยอื่ หุ้มเมลด็ ท่ตี ดิ กบั เปลอื กเมลด็ แยกออกจากกันไมไ่ ด้ เนอ่ื งจากเยื่อหมุ้ เมล็ดเจรญิ มาจากเปลือกเมล็ด เชน่ เงาะ มงั คดุ กระท้อน และลางสาด เปน็ ตน้ ภาพผลท่มี ีเนอ้ื ท่ผี นังผลเปน็ เน้อื ออ่ นนุ่ม ภาพเยือ่ หมุ้ เมลด็ ท่ีแยกออกจากเมล็ดได้ (ก) และเย่อื หมุ้ เมล็ดท่ีแยกออกจากเมลด็ ไมไ่ ด้ (ข) ภาพเมล็ดพืชทีส่ ะสมคารโ์ บไฮเดรตและนามาผลิตแปง้ ภาพเมลด็ พืชทส่ี ะสมลิพดิ และนามาผลิตนา้ มนั

18 ภาพผลและเมล็ดพืชทม่ี ีกลิ่น 2. ผลิตภณั ฑจ์ ากพืช

ครยู ศวดี ศศธิ ร กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นมหาวชิราวธุ จงั หวดั สงขลา บทท่ี 2 โครงสร้างและการเจริญเตบิ โตของพชื ดอก (Plant Cell) คาช้ีแจง ใหน้ กั เรยี นเขียนหน้าทีข่ องออรแ์ กเนลล์ตา่ ง ๆ ท่พี บในเซลล์พชื ในภาพใหถ้ กู ตอ้ ง ภาพ Plant cell

20 ผนงั เซลล์ (Cell wall) ประกอบดว้ ย 3 สว่ นดงั นี้ 1. มิดเดลิ ลาเมลลา (Middle lamella) เป็นผนงั เซลลท์ สี่ ร้างเป็นลาดับแรก หลังจากการเกิดแผ่นก้นั เซลล์ (Cell plate) มีเพกทนิ เปน็ องค์ประกอบหลัก 2. ผนังเซลลป์ ฐมภมู ิ (Primary cell wall) อยถู่ ัดจากมดิ เดลิ ลาเมลลาเขา้ มาด้านใน มีเซลลโู ลสเป็น องคป์ ระกอบหลัก พบในเซลล์พืชทกุ ชนิด 3. ผนงั เซลลท์ ุติยภูมิ (Secondary cell wall) พบในเซลล์พืชบางชนดิ ประกอบด้วยเซลลโู ลสและ ลิกนนิ นอกจากนเี้ ซลลบ์ างชนิดอาจพบซูเบอรนิ ช่วยปอ้ งกันการระเหยของน้า ผนงั เซลล์ของพืชจะมชี อ่ งวา่ งเรยี กวา่ พลาสโมเดสมาตา (Plasmodesmata) ใหเ้ ซลลท์ อ่ี ย่ใู กล้เคียงกนั สามารถส่งสารเคมี นา้ และธาตุอาหารระหว่างกันได้ ภาพผนังเซลล์

21 1. เนื้อเยื่อเจรญิ (Meristem หรือ Meristematic tissue) เปน็ เนื้อเยือ่ ที่สามารถแบ่งเซลลไ์ ดต้ ลอดชีวติ สว่ น ใหญม่ นี ิวเคลียสขนาดใหญ่ การจาแนกเน้ือเยอื่ เจริญตามตาแหน่งทีอ่ ยู่ในสว่ นต่าง ๆ ของพืช แบง่ ออกเป็น 1.1 เนื้อเยื่อเจริญสว่ นปลาย (Apical meristem) ถ้าพบตามปลายยอดของลาตน้ หรอื กง่ิ ก้านจะเรียก เนือ้ เย่อื เจรญิ สว่ นปลายยอด (Apical shoot meristem) เม่ือแบง่ เซลลจ์ ะทาใหล้ าตน้ หรือกิง่ กา้ นยืดยาวออก และเกดิ การสรา้ งใบ แต่ถา้ พบทส่ี ว่ นปลายของรากจะเรียกเนอ้ื เยอ่ื เจรญิ สว่ นปลายราก (Apical root meristem) เมื่อแบง่ เซลลจ์ ะทาใหร้ ากยาวขึ้น โดยการเจรญิ เติบโตท่ีทาใหส้ ่วนต่าง ๆ ของพืชมีความสงู หรอื ความยาวเพ่ิม มากขึ้น เรียกการเจริญลักษณะเชน่ นีว้ า่ การเจริญเติบโตปฐมภมู ิ (Primary growth) ภาพ Apical meristem 1.2 เนื้อเยื่อเจริญเหนือขอ้ (Intercalary meristem) มีหนา้ ท่ีแบ่งเซลล์เพิ่มจานวน ทาใหป้ ล้องของพชื ใบ เลย้ี งเดี่ยวยืดยาว เป็นเนอ้ื เยือ่ ส่วนท่ีอยโู่ คนปลอ้ งหรือเหนอื ข้อ ภาพ Intercalary meristem 1.3 เน้อื เยอื่ เจริญด้านขา้ ง (Lateral meristem) เป็นเนอ้ื เยือ่ ทีอ่ ย่ใู นแนวขนานกบั เสน้ รอบวง มีการแบง่ เซลลเ์ พ่ิมจานวนออกทางด้านข้างทาให้รากและลาตน้ ขยายขนาดใหญ่ขนึ้ จัดเปน็ การเตบิ โตทตุ ยิ ภูมิ (Secondary growth) ส่วนใหญ่พบในพชื ใบเลีย้ งคู่ เช่น ตน้ ถ่วั มะม่วง พรกิ เปน็ ต้น และพบในพชื ใบเลีย้ ง เดย่ี วบางชนิด เช่น หมากผู้หมากเมยี เข็มกดุ ั่น ศรนารายณ์ เป็นตน้ เนือ้ เย่ือเจริญด้านข้างเรยี กอกี อย่างว่า แคมเบยี ม (Cambium) แบง่ ตามการทาหน้าท่ไี ดเ้ ป็น 2 ประเภทคือ 1.3.1 วาสควิ ลาร์แคมเบยี ม (Vascular cambium) พบอยรู่ ะหวา่ งเนื้อเยื่อทอ่ ลาเลียงนา้ และท่อลาเลียง อาหาร ทาหน้าทแ่ี บ่งเซลลท์ าให้เกิดเนอ้ื เย่อื ทอ่ ลาเลียง (Vascular tissue) เพ่ิมขนึ้ ในการเติบโตทุตยิ ภูมิ 1.3.2 คอร์กแคมเบยี ม (Cork cambium) พบอยู่ถดั จากคอรก์ (Cork) เข้าไปด้านใน ทาหน้าทแ่ี บง่ เซลลใ์ ห้คอรก์ และเนอ้ื เย่อื อ่ืน ๆ เพื่อทาหนา้ ทแ่ี ทนเนอ้ื เย่อื ผิวเดมิ ในการเติบโตทุตยิ ภูมิในพชื บางชนิด

22 ภาพ Lateral meristem 2. เนื้อเย่อื ถาวร (Permanent tissue) เปล่ียนแปลงมาจากเนอื้ เย่ือเจริญ ประกอบด้วยเซลล์ทีเ่ จริญเต็มที่ มี รูปร่างคงท่ี ทาหนา้ ที่ตา่ ง ๆ ตามลกั ษณะโครงสรา้ งของเซลล์ ส่วนใหญจ่ ะไมส่ ามารถแบง่ เซลลไ์ ด้อกี ตอ่ ไป เน้อื เยอ่ื ถาวรแบ่งตามหน้าทีไ่ ดเ้ ป็น 3 ระบบคอื 1. ระบบเนื้อเยอ่ื ผิว (Dermal tissue system) ประกอบด้วยเอพิเดอร์มสิ และเพรเิ ดริ ์ม (Periderm) 2. ระบบเนอ้ื เยื่อพน้ื (Ground tissue system หรือ Fundamental tissue system) ประกอบดว้ ย พาเรงคมิ า คอลเลงคิมา และสเกลอเรงคิมา 3. ระบบเน้ือเยอื่ ทอ่ ลาเลยี ง (Vascular tissue system) ประกอบด้วยไซเลม็ ทาหน้าทล่ี าเลียงนา้ ธาตุ อาหาร และโฟลเอม็ ทาหนา้ ทล่ี าเลยี งอาหาร ภาพเนอ้ื เยอ่ื ถาวร

23 เน้ือเย่ือถาวรที่มีหน้าท่ีสาคญั ต่อการดารงชีวิตของพชื 1. เอพิเดอรม์ สิ (Epidermis) หรือเน้ือเยือ่ ผิว - พบในสว่ นนอกสุดของโครงสร้างพชื ทาหน้าท่ีป้องกนั อันตรายให้กับเซลลพ์ ชื - ลกั ษณะเซลลเ์ รยี งอย่างเป็นระเบยี บ เบียดชิดกนั แน่น ไมม่ ชี อ่ งวา่ งระหวา่ งเซลล์ - เซลลอ์ าจเรยี งตวั เพียงช้นั เดยี ว หรือหลายช้ัน (Multiple epidermis) - ผนงั ชน้ั นอกมี Cutin เคลือบอยู่ เรยี กชัน้ ของ Cutin ว่า Cuticle - อาจมกี ารเปลีย่ นแปลงรูปรา่ งเพอ่ื ทาหนา้ ท่เี ฉพาะ ภาพ Epidermis 2. พาเรงคิมา (Parenchyma) เป็นเซลลท์ พ่ี บมากที่สุด ประกอบดว้ ยเซลลท์ มี่ ีชีวติ เรยี กว่า เซลล์ พาเรงคิมา (Parenchyma cell) มผี นงั เซลลบ์ าง มีรปู รา่ งหลายแบบ (กลม หรอื ยาว) มชี อ่ งวา่ งระหวา่ งเซลล์ ทาหนา้ ทสี่ ะสมอาหารและเกบ็ ผลึก ถ้าพาเรงคิมามคี ลอโรพลาสตเ์ รียกว่า คลอเรงคิมา (Chlorenchyma) ซึ่ง จะพบมากในใบ เรียกวา่ มีโซฟิลล์ (Mesophyll) ภาพ Parenchyma

24 3. คอลเลงคิมา (Collenchyma) มลี กั ษณะคล้ายเซลลพ์ าเรงคมิ า แตผ่ นังเซลล์ปฐมภูมหิ นาไม่ สม่าเสมอกัน ทาหนา้ ทพ่ี ยงุ และทาใหเ้ กิดความแขง็ แรงกบั ก้านใบและเส้นกลางใบและลาต้นพืชล้มลกุ ภาพ Collenchyma 4. สเกลอเรงคมิ า (Sclerenchyma) เป็นเนอื้ เย่ือท่พี บในเนือ้ เยอื่ พืน้ ของลาตน้ ใบ ผล เปลือกไม้ เปลือกผล เปลอื กเมลด็ ประกอบดว้ ยเซลลส์ เกลอเรงคิมา (Sclerenchyma cell) ซ่ึงเปน็ เซลล์ไม่มชี ีวติ มผี นัง เซลลท์ ตุ ยภูมิที่คอ่ นขา้ งหนา ทาใหเ้ กดิ ความแข็งแรงกับโครงสรา้ งของพืช แบ่งเปน็ 4.1 ไฟเบอร์ (Fiber) เป็นเซลล์ท่ีมรี ูปร่างยาวเรียว หัวทา้ ยแหลม ตรงกลางเซลล์เป็นรกู ลวง (Lumen) พบมากในพืชท่ใี หเ้ สน้ ใย เชน่ ป่าน ปอ ผกั ตบชวา เปน็ ต้น 4.2 สเกลอรดี (Sclereid) เปน็ เซลลท์ ่ีมรี ปู รา่ งหลายแบบ เช่น รูปหลายเหลย่ี ม รปู ดาว เปน็ ตน้ พบได้ ในเปลอื กผลไม้ และเนอื้ ผลไม้ที่สาก เช่น ฝร่งั สาล่ี และพทุ รา เป็นตน้ สเคลอรีดท่มี ีความแข็งมาก เรยี กวา่ Stone cell ซ่ึงพบในกะลามะพรา้ ว ภาพ Sclerenchyma 5. เน้อื เย่ือลาเลยี ง (Vascular tissue) แบ่งเปน็ 5.1 ไซเล็ม (Xylem) ทาหน้าที่ลาเลยี งน้าและแร่ธาตุจากรากข้ึนไปสู่สว่ นตา่ ง ๆ ของพชื ประกอบดว้ ย 1. เทรคดี (Tracheid) เปน็ เซลลท์ ไ่ี ม่มีชีวิต มรี ปู รา่ งยาวปลายค่อนขา้ งเสยี้ มแหลม 2. เวสเซลเมมเบอร์ (Vessel member) เป็นเซลลท์ ี่ไม่มีชีวติ มีรปู รา่ งทรงกระบอก ทีด่ ้านหวั และท้ายของเซลลม์ ีลักษณะเป็นแผ่นมรี ูหรอื เพอรฟ์ อเรชนั เพลต (Perforation plate) 3. เซลลพ์ าเรงคมิ า (Parenchyma cell) เป็นเซลล์ชนดิ เดียวทีย่ ังมชี วี ติ อยู่ ช่วยในการลาเลียง นา้ และแรธ่ าตอุ อกทางดา้ นข้าง 4. ไฟเบอร์ (Fiber) เป็นเซลลท์ ่ตี ายแลว้ มีรปู ร่างเรยี วยาว ทาหนา้ ทพ่ี ยงุ และเสริมความแขง็ แรง

25 ภาพ Xylem 5.2 โฟลเอม็ (Phloem) ทาหนา้ ทีล่ าเลยี งอาหารท่ีสังเคราะห์จากใบไปสสู่ ่วนต่าง ๆ ของพชื ประกอบด้วย 1. เซลลท์ อ่ ลาเลยี งอาหาร หรือ ซีฟทวิ บเ์ มมเบอร์ (Sieve tube member) เป็นเซลลม์ ชี ีวติ แตเ่ มอ่ื เจรญิ เตม็ ท่ีไมม่ ีนวิ เคลยี ส แวคิวโอลขนาดใหญ่ ผนงั ดา้ นหวั และด้านทา้ ยมีลกั ษณะเป็นแผ่นตะแกรง เรียกวา่ ซีฟเพลต (Sieve plate) 2. เซลล์ประกอบ หรอื เซลลค์ อมพาเนยี น (Companion cell) เปน็ เซลลม์ ีชวี ิต ทาหน้าที่ สง่ เสรมิ การทางานของซีฟทวิ บเ์ มมเบอร์ 3. เซลลพ์ าเรงคิมา (Parenchyma cell) เป็นเซลล์มีชวี ติ ชว่ ยในการลาเลยี งอาหารออกทางด้านขา้ ง 4. ไฟเบอร์ (Fiber) เปน็ เซลลท์ ี่ตายแล้ว มรี ปู ร่างเรียวยาว ทาหน้าทีพ่ ยงุ และเสริมความแขง็ แรง ภาพ Phloem

26 คาชี้แจง ให้นกั เรียนเขียนหนา้ ทีข่ องเน้อื เย่ือตา่ ง ๆ ของพชื ใหถ้ กู ตอ้ ง Plant tissue Meristem Permanent tissue Apical meristem Epidermis Apical root meristem Parenchyma Apical shoot meristem Collenchyma Sclerenchyma Lateral meristem Xylem Vascular cambium Cork cambium Intercalary meristem Phloem

27 ระบบอวยั วะพชื (Plant organ system) แบง่ เป็น 2 ระบบดงั น้ี 1. ระบบราก (Root system) เป็นสว่ นที่อยใู่ ต้ดนิ ทง้ั หมดของพชื 2. ระบบยอด (Shoot system) เปน็ สว่ นทอ่ี ยูพ่ ้นดนิ ท้งั หมดของพืช Root system ภาพ Plant organ system 1. ระบบราก ประกอบดว้ ย 1. ระบบรากแกว้ 2. ระบบรากฝอย 2. การพัฒนาของราก

28 2. โครงสร้างภายนอกของราก (External anatomy root) 1. หมวกราก (Root cap) : ประกอบด้วยเซลล์พาเรงคิมา, สามารถผลติ เมือกขบั ออกมารอบ ๆ ทาใหส้ ะดวกต่อการชอนไชลงไปในดิน, ทาหน้าทป่ี ้องกนั อันตรายใหก้ บั เนื้อเย่อื เจรญิ ทีอ่ ยถู่ ัดขน้ึ ไป ขณะทรี่ ากชอนไชลงสู่ดิน 2. บรเิ วณการแบ่งเซลล์ (Region of cell division) : เกิดการแบ่งเซลล์ใหเ้ ซลลส์ ่วนหนึ่งเปลยี่ นเปน็ เซลลใ์ นหมวกราก และเซลลส์ ่วนอนื่ ๆ ของโครงสร้างราก 3. บริเวณการยืดตามยาวของเซลล์ (Region of cell elongation) : เซลล์มกี ารยดื ตัวตามยาวและ ขยายทางด้านกว้าง ทาให้รากมคี วามยาวและขยายขนาดเพ่ิมขึ้น 4. บริเวณการเปลย่ี นสภาพและการเจรญิ เตม็ ท่ีของเซลล์ (Region of cell differentiation and maturation) : เป็นบริเวณทเ่ี ซลลเ์ จรญิ เตม็ ที่และมกี ารเปลี่ยนสภาพไปเปน็ เซลลช์ นิดตา่ ง ๆ เพอ่ื ทาหน้าท่ีเฉพาะ เช่น ขนราก เซลลใ์ นไซเลม็ และเซลลใ์ นโฟลเอ็ม เปน็ ตน้ ภาพ External anatomy root

29 2. โครงสร้างภายในของราก (Internal anatomy root) ภาพ Internal anatomy root โครงสร้างตดั ขวางของรากพชื ประกอบด้วยเนื้อเยื่อ 3 สว่ น ดงั นี้ 1. เอพิเดอรม์ สิ (Epidermis) เป็นเน้อื เยื่อชั้นนอกสุด ประกอบด้วยเซลล์ผิวและเซลลข์ นรากทเี่ รียงเป็น 1 แถว 2. คอรเ์ ทกซ์ (Cortex) ประกอบด้วยเซลล์หลายชั้น ส่วนใหญ่เป็นเซลล์พาเรงคิมา ด้านในสุดของชั้นคอร์เทกซ์ มกั เหน็ เซลลเ์ รยี งเปน็ 1 แถวชัดเจนเรียกวา่ เอนโดเดอร์มสิ (Endodermis) ซึ่งมีลกั ษณะพเิ ศษคือ มซี ูเบอรนิ สะสม เป็นแถบเลก็ ๆ รอบเซลล์ ยกเวน้ ดา้ นท่ีขนานกับเอพเิ ดอรม์ ิส เรยี กแถบนวี้ ่า แถบแคสพาเรียน (Casparian strip) เอนโดเดอรม์ สิ มหี น้าท่ีควบคมุ ทิศทางการลาเลียงนา้ ทางด้านขา้ งจากเซลล์ขนรากผา่ นคอร์เทกซจ์ นเขา้ สไู่ ซเล็ม เมื่อเซลล์อายุมากข้นึ จะมีลกิ นินมาสะสมบรเิ วณผนังเซลลท์ าใหเ้ กิด Secondary cell wall ผนงั เซลล์จงึ หนาและ มองเหน็ ได้ชดั เจนขน้ึ ภาพ Casparian strip

30 3. สตีล (Stele) เปน็ บริเวณท่อี ยู่ถัดจากช้ันเอนโดเดอร์มสิ เขา้ ไป ประกอบด้วยช้ันต่าง ๆ ดงั นี้ 3.1 เพริไซเคิล (Pericycle) ประกอบด้วยเซลล์พาเรงคิมาเรียงตัวเปน็ วง อาจมีชนั้ เดยี วหรอื หลายชัน้ เซลล์บรเิ วณนส้ี ามารถเปล่ยี นกลับไปเป็นเนอื้ เยื่อเจรญิ เพ่ือสร้างรากแขนงได้ นอกจากน้ใี นรากพืชบางชนดิ เพริไซเคลิ สามารถเปลย่ี นสภาพเป็นคอรก์ แคมเบียมได้ 3.2 มดั ทอ่ ลาเลยี ง หรอื วาสคิวลารบ์ นั เดลิ (Vascular bundle) ประกอบด้วย ไซเล็มปฐมภูมิ (Primary xylem) อยตู่ รงกลางของราก ลักษณะเป็นแฉก ซงึ่ จานวนแฉกในราก พชื ใบเลี้ยงคจู่ ะมปี ระมาณ 4-6 แฉก ส่วนในรากพืชใบเลยี้ งเดยี่ วจะมีจานวนแฉกของไซเล็มมากกว่า โฟลเอม็ ปฐมภมู ิ (Primary phloem) อย่รู ะหวา่ งแฉกของไซเล็มปฐมภมู ิ 3.3 พิธ (Pith) คือ บริเวณตรงกลางของรากทปี่ ระกอบดว้ ยเซลล์พาเรงคมิ า พบเฉพาะในพืชใบเลี้ยงเด่ยี ว ภาพโครงสรา้ งตดั ตามขวางของพืชใบเล้ียงคู่ ภาพโครงสรา้ งตัดตามขวางของพชื ใบเล้ียงเด่ยี ว ภาพการสร้างรากแขนง

31 3. รากท่เี ปลย่ี นแปลงเพือ่ ทาหนา้ ทเี่ ฉพาะ (Specialized Modified Roots) รากคา้ (Prop root – รากโกงกาง) รากเกาะ (Climbing root – รากกลว้ ยไม)้ รากอากาศ (Aerial root – รากไทร) รากหายใจ (Aerating root – แสม) รากสะสมอาหาร (Storage root – แครอท) ภาพ Adventitious root

32 ตารางเปรียบเทยี บชนิดของเซลลห์ รอื เน้ือเย่อื และการจดั เรยี งเนอ้ื เยอ่ื บรเิ วณรากพืชใบเลี้ยงเดยี่ วและ รากพืชใบเล้ียงคู่ คาช้ีแจง ใหน้ กั เรียนเขยี นขอ้ ความระบคุ วามแตกต่างของเนอ้ื เย่ือรากพืชใบเลย้ี งคู่และรากพืชใบเลี้ยงเดีย่ วให้ ถกู ตอ้ ง ชั้นเนื้อเยือ่ รากพชื ใบเลีย้ งคู่ รากพชื ใบเล้ียงเดย่ี ว 1. Epidermis เรยี งเปน็ แถวเดยี ว ประกอบด้วยเซลลผ์ วิ และเซลล์ขนราก 2. Cortex ประกอบดว้ ย Parenchyma cells ด้านในสดุ พบ Endodermis 3. Stele ประกอบดว้ ย Parenchyma cells เรยี ง 3.1 Pericycle เป็นวง 1 – 2 แถว 3.2 Vascular bundle กลมุ่ เซลลใ์ น Xylem เหน็ เรียงเปน็ 4 แฉก Xylem มจี านวนแฉกมากกวา่ 10 แฉก และมีกลุม่ เซลล์ Phloem แทรกอยู่ และมีกลุ่มเซลล์ Phloem แทรกอยู่ ระหวา่ งแฉก ระหว่างแฉก 3.3 Pith ประกอบด้วย Parenchyma cells

33 ลาตน้ (Stem) 1. โครงสรา้ งภายนอกของลาต้น ภาพ External structure of stem 2. โครงสร้างภายในของปลายยอดตดั ตามยาว 1. เนื้อเยอื่ เจรญิ ส่วนปลายยอด (Apical shoot meristem) กลุ่มเซลลบ์ รเิ วณนจ้ี ะเจรญิ และพัฒนาไป เป็นลาต้น ใบ และตาตามซอก 2. ใบเร่ิมเกิด หรอื เนื้อเยอ่ื กาเนิดใบ (Leaf primordium) อยู่บรเิ วณดา้ นขา้ งของเนื้อเยอ่ื เจรญิ ปลายยอด ใบเริ่มเกิดนี้จะพัฒนาต่อไปเปน็ ใบออ่ น บรเิ วณตรงกลางจะเหน็ กล่มุ เซลลข์ นาดเล็กเรียงตวั เปน็ แนวยาว ซงึ่ กลุม่ เซลลเ์ หล่านี้จะเจรญิ เปน็ เน้อื เยอ่ื ท่อลาเลียงจากลาตน้ สใู่ บ 3. ใบอ่อน (Young leaf) เปน็ ใบท่ีเจรญิ ไม่เตม็ ที่ เซลลข์ องใบยังคงมกี ารเจริญเติบโตและเปลีย่ นสภาพตอ่ เพือ่ เพม่ิ ขนาดและความหนาของใบ ตรงซอกใบอ่อนจะเหน็ ตาตามซอกเริม่ เกิด (Axillary bud primordium) ซ่งึ จะพัฒนาตอ่ ไปเปน็ ตาและก่งิ ต่อไป 4. ลาต้นออ่ น (Young stem) อยู่ถดั จากตาแหน่งใบเริ่มเกดิ ลงมา ประกอบดว้ ยเนื้อเย่ือเจริญทีเ่ ซลล์ยัง มีการแบง่ ตัว และเริ่มมกี ารเปลยี่ นสภาพเพื่อทาหน้าท่ีเฉพาะ ภาพปลายยอดพชื ตดั ตามยาว

34 3. โครงสรา้ งภายในของลาตน้ ตัดตามขวาง เนอ้ื เยอื่ ตดั ตามขวางของลาต้นพืช สามารถแบ่งออกได้ 3 บรเิ วณดังน้ี 1. เอพเิ ดอร์มสิ (Epidermis) เปน็ เนื้อเยือ่ ช้นั นอกสดุ ประกอบดว้ ยเซลลผ์ ิวและเซลล์คมุ 2. คอร์เทกซ์ (Cortex) เป็นบริเวณท่ีอยู่ถัดจากเนือ้ เยือ่ ชั้นเอพิเดอรม์ สิ เขา้ ไป ประกอบดว้ ยเน้ือเยื่อ หลายชนดิ เชน่ พาเรงคมิ า คอลเลงคมิ า และไฟเบอร์ เปน็ ต้น คอร์เทกซข์ องลาต้นพืชใบเลย้ี งคู่ ประกอบดว้ ยเซลล์เรียงตวั เพยี งไม่ก่ชี ้ัน สว่ นของพชื ใบเลีย้ งเด่ียวไม่ มีขอบเขตชดั เจน 3. สตลี (Stele) เปน็ บรเิ วณทีอ่ ยถู่ ัดจากชั้นคอร์เทกซเ์ ข้าไป แต่แบ่งแยกจากชน้ั คอร์เทกซ์ได้ไมช่ ัดเจน นัก โดยทั่วไปสตลี จะมีขอบเขตกว้างมาก ประกอบดว้ ยกลุ่มของเน้อื เยื่อต่างๆ ดังนี้ 3.1 วาสคิวลาร์บนั เดลิ (Vascular bundle) ประกอบดว้ ยกลมุ่ เน้ือเย่อื ลาเลียงน้า (Xylem) และ เนื้อเยื่อลาเลียงอาหาร (Phloem) 3.2 พธิ (Pith) เป็นเนอ้ื เยื่อช้นั ในสดุ ของลาต้น ประกอบด้วยเนือ้ เย่ือพาเรงคมิ าทที่ าหนา้ ท่สี ะสมแปง้ หรอื สารตา่ ง ๆ ภาพโครงสรา้ งตดั ตามขวางของลาตน้

35 โครงสรา้ งตัดตามขวางของพืชใบเลยี้ งคู่ (Dicot) กลมุ่ ท่อลาเลยี ง (Vascular bundle) เรยี งตวั เปน็ ระเบยี บรอบๆ ลาต้น โดยมี Phloem เรยี งตัวอยู่ชัน้ นอก และ Xylem เรยี งตัวอยชู่ ้ันใน ในแนวรัศมีเดียวกัน มี Vascular cambium ก้ันระหว่าง Xylem และ Phloem โครงสร้างตัดตามขวางของพชื ใบเลย้ี งเดย่ี ว (Monocot) กลุ่มท่อลาเลียง (Vascular bundle) ถูกห่อหุ้มด้วยเนือ้ เย่อื Bundle sheath กระจัดกระจายไปท่วั ท้งั ลาตน้ เรียงตัวไม่เปน็ ระเบียบ ไม่มี Vascular cambium กั้นระหว่าง Xylem และ Phloem ภาพ Dicot stem anatomy

36 ภาพ Monocot stem anatomy ภาพเปรียบเทยี บลาตน้ พชื ใบเล้ยี งเดี่ยวและพชื ใบเลยี้ งคู่

37 4. ลาตน้ ท่เี ปลี่ยนแปลงเพอ่ื ทาหนา้ ที่เฉพาะ (Specialized Modified Stems) 4.1 ตัวอย่างลาต้นทเ่ี จรญิ อยเู่ หนือระดบั ผวิ ดนิ ลาตน้ คลา้ ยใบ (Cladophyll) หนามจากลาตน้ (Thorn) ลาต้นมอื เกาะ (Stem tendril) 4.2 ตัวอยา่ งลาตน้ ทเ่ี จริญอยใู่ ต้ระดบั ผิวดนิ เหง้า (Rhizome) เผอื ก (Corm) หวั แบบมันฝร่ัง (Tuber) ตารางเปรียบเทียบชนิดของเซลล์หรือเน้ือเย่ือและการจดั เรยี งเนอ้ื เยอ่ื บริเวณลาตน้ พชื ใบเลีย้ งค่แู ละ ลาตน้ พชื ใบเลย้ี งเดยี่ ว คาชแ้ี จง ให้นักเรียนเขียนขอ้ ความระบคุ วามแตกต่างของเนอ้ื เย่ือบรเิ วณลาตน้ พชื ใบเล้ียงคแู่ ละลาตน้ พชื ใบเลย้ี งเดยี่ วใหถ้ ูกต้อง ชน้ั เนื้อเยอื่ ลาต้นพืชใบเลยี้ งคู่ ลาต้นพืชใบเลย้ี งเดยี่ ว 1. Epidermis เรียงเป็นแถวเดยี ว ประกอบด้วย ไม่ชดั เจน ประกอบด้วย 2. Cortex Epidermal cells, Guard cells, Parenchyma 2 - 3 ชัน้ และมกั พบ Trichome Sclerenchyma อยู่ถัดจาก 3. Stele Parenchyma เขา้ มาด้านใน 3.1 Vascular bundle พบจานวนหลายกลุ่มเรยี งตัวเปน็ หนงึ่ ไม่สามารถแยกไดช้ ดั เจน วง แตล่ ะกลมุ่ ประกอบดว้ ย Xylem อยู่ดา้ นใน และ Phloem อยู่ดา้ นนอก โดยเรยี งตัวในแนวรศั มเี ดียวกัน 3.2 Pith

38 ตารางเปรยี บเทยี บความแตกต่างของเนือ้ เย่ือชั้นตา่ ง ๆ ของรากและลาตน้ คาชแี้ จง ให้นักเรียนเขยี นข้อความระบคุ วามแตกตา่ งของเนอ้ื เยอื่ ท่พี บในรากและลาตน้ ในตารางใหถ้ กู ตอ้ ง ข้อเปรยี บเทียบ ความเหมือน/ความแตกตา่ ง ลาตน้ 1. Epidermis 2. Cortex ราก 3. Stele - เรียงเปน็ แถวเดยี ว 4. จดุ กาเนดิ ของแขนง - มขี นราก - เซลลผ์ วิ ไมม่ คี ิวทนิ เคลอื บ - ไม่มปี ากใบ - ขอบเขตกวา้ งเมอ่ื เทยี บกบั สตลี ในระยะ การเติบโตปฐมภมู ิ - ส่วนใหญพ่ บ Parenchyma - พบ Endodermis - ขอบเขตแคบเมือ่ เทียบกบั Cortex ในระยะ การเตบิ โตปฐมภูมิ - พบ Pericycle - Vascular bundle มี 1 กลมุ่ ลักษณะเป็นแฉก - มี Pith เฉพาะในรากพชื ใบเล้ยี งเด่ยี ว - รากแขนงเจริญมาจาก Pericycle

39 การเจรญิ เตบิ โตของพืช (Plant growth) แบง่ ออกเป็น 2 ระดับ ดงั นี้ 1. การเจรญิ ขน้ั ปฐมภูมิ (Primary growth) : เพมิ่ ความยาวของปลายรากและปลายยอดของพชื 2. การเจริญขนั้ ทุตยิ ภมู ิ (Secondary growth) : เพม่ิ ขนาดเสน้ ผา่ นศนู ย์กลางของลาตน้ การเจรญิ ขัน้ ปฐมภมู ิ (Primary growth) Apical Primary Permanent Lateral Permanent tissue meristem meristem tissue meristem Apical Protoderm Epidermis Secondary xylem meristem Procambium Primary xylem Vascular cambium Secondary phloem Primary phloem Ground meristem Pith Cork cambium Cork Cortex Phelloderm Primary growth Secondary growth การเจรญิ ข้ันทุตยิ ภูมิ (Secondary growth) ☺ พบในพืชใบเลี้ยงคู่ ☺ Vascular cambium ทอ่ี ยูร่ ะหว่าง Primary xylem และ Primary phloem แบง่ เซลล์เพอ่ื สร้าง Secondary xylem เขา้ ภายใน และสรา้ ง Secondary phloem ออกข้างนอก ☺ อตั ราการแบ่งเซลลเ์ พือ่ สร้าง Secondary xylem สงู กวา่ Secondary phloem ☺ Primary xylem ถกู ดันเข้าด้านในและ Primary phloem ถูกดันออกดา้ นนอกจึงเบียดช้ัน Cortex ภาพ Secondary growth

40 โครงสร้างภายในของรากระยะที่มีการเตบิ โตทุติยภมู ิ ☺ การเตบิ โตทุติยภูมิของรากพืชใบเลยี้ งคู่เกิดจากการแบ่งเซลลข์ องเน้อื เยอื่ เจรญิ ด้านข้าง ☺ วาสควิ ลารแ์ คมเบียมแบง่ เซลลส์ ร้างไซเล็มทุติยภูมิทางด้านใน และโฟลเอ็มทุติยภมู ิทางด้านนอก ทา ให้เกดิ เนื้อเยื่อทอ่ ลาเลยี งทุตยิ ภูมเิ พิม่ ขึ้น ☺ เซลลบ์ ริเวณเพริไซเคลิ เปล่ยี นสภาพเป็นคอร์กแคมเบียม โดยจะแบ่งเซลลใ์ ห้เซลลค์ อรก์ ดา้ นนอก และเฟลโลเดิรม์ ด้านใน ภาพโครงสรา้ งภายในของรากระยะทีม่ กี ารเตบิ โตทตุ ิยภมู ิ

41 โครงสร้างภายในของลาตน้ ระยะทม่ี ีการเตบิ โตทตุ ยิ ภมู ิ ☺ การเติบโตทตุ ยิ ภมู ขิ องรากพืชใบเลยี้ งคเู่ กดิ จากการแบง่ เซลลข์ องเน้อื เยอ่ื เจริญดา้ นขา้ ง ☺ วาสคิวลาร์แคมเบียมจะเชื่อมเรียงตัวเป็นวง และทาหน้าที่แบ่งเซลล์สร้างไซเล็มทุติยภูมิทางด้านใน และโฟลเอ็มทุตยิ ภมู ทิ างดา้ นนอก ☺ Xylem ท่ีอยู่ชั้นใน มีอายุมาก มีการสะสมสารอินทรีย์ต่างๆ เช่น เรซิน แทนนิน ลิกนิน และสาร อนื่ ๆ ทาให้มคี วามแข็งแรงและอดุ ตนั จงึ ไม่สามารถลาเลียงน้าได้ มีสีเข้ม เรียกว่า แก่นไม้ (Heartwood) ซึ่งจะ มคี วามหนามากขึ้นเรื่อยๆ ☺ Xylem ที่อยตู่ ดิ กบั Vascular cambium ซ่งึ มีสจี างกว่า ยังคงทาหน้าท่ีลาเลยี งน้าไดเ้ รียกวา่ กระพีไ้ ม้ (Sapwood) ชัน้ นม้ี คี วามหนาคอ่ นข้างคงที่ ☺ Wood = Sapwood + Heartwood ----Vascular cambium ภาพ Secondary growth : forming wood

42 วงปี (Annual ring) คอื Secondary xylem ท่ีเกดิ จากการแบ่งตัวของ Vascular cambium โดยใน 1 วง ปี ประกอบดว้ ยเนอ้ื ไม้ 2 ชนดิ คือ 1. Spring wood (Early wood) : เซลลม์ ขี นาดใหญ่ ผนังบาง สจี าง แถบกวา้ ง เกิดขึ้นในฤดฝู น 2. Summer wood (Late wood) : เซลล์มีขนาดเล็ก ผนงั หนา สเี ขม้ แถบแคบ เกิดข้ึนในฤดแู ล้ง เปลือกไม้ (Bark) คือส่วนทถ่ี ดั ออกมาจาก vascular cambium ท้งั หมด ☺ พืชอายนุ ้อย : epidermis + cortex + phloem ☺ พืชอายุมาก : secondary phloem + periderm ภาพ Annual ring

43 ใบ (Leaf) 1. โครงสรา้ งภายนอกของใบ ประกอบด้วย 2 สว่ นดังนี้ 1. กา้ นใบ (Petiole) เป็นสว่ นท่ีดา้ นหนึง่ ติดกับลาตน้ หรอื ก่งิ และอีกดา้ นหนึ่งติดกับแผน่ ใบ ทซ่ี อกกา้ นใบมี ตาตามซอก พชื ใบเลย้ี งเดี่ยวอาจมีหรอื ไม่มกี ้านใบ กา้ นใบอาจแผอ่ อกเปน็ แผ่น เรียกวา่ กาบใบ (Leaf sheath) เช่น ข้าวโพด กล้วย เปน็ ต้น 2. แผน่ ใบ (Blade) เปน็ สว่ นทแ่ี ผ่เปน็ แผ่นแบน ลักษณะแบนของแผน่ ใบมีประโยชน์ในการช่วยเพมิ่ พ้ืนทผี่ ิว เพอื่ รบั แสงมาใชเ้ ปน็ แหล่งพลังงานในกระบวนการสงั เคราะหด์ ว้ ยแสงของพืชและช่วยในการระบายความร้อน แผ่นใบจะมีเสน้ ใบ (Vein) แตกแขนงไปทว่ั ทง้ั แผน่ ใบ โดยตรงกลางแผน่ ใบจะมีเสน้ กลางใบ (Midrib) เชือ่ มต่อกับปลายของกา้ นใบจนตลอดความยาวของแผน่ ใบ ต่อจากส่วนของเสน้ กลางใบจะมีเสน้ ใบและเส้นใบ ยอ่ ย (Veinlet) ทมี่ ีขนาดใหญเ่ ล็กลดหลัน่ กนั ไปเปน็ สว่ นประกอบโครงสร้างของแผ่นใบ ใบบางชนิดพบหใู บ (Stipule) มหี น้าทีห่ มุ้ หรอื ปอ้ งกนั สว่ นอื่นของใบขณะยังอ่อนอยู่เอาไว้ ภาพโครงสรา้ งภายนอกของใบ 2. ประเภทของใบ แบง่ ตามจานวนแผ่นใบทต่ี ิดอยทู่ ่กี ้านใบ 1 กา้ น ดังน้ี 2.1 ใบเดี่ยว (Simple leaf) มแี ผน่ ใบ 1 แผ่น ติดอยทู่ ่ีกา้ นใบ 2.2 ใบประกอบ (Compound leaf) มีแผน่ ใบหลายแผ่นหรอื ใบยอ่ ย (Leaflet) ตดิ อยทู่ ี่กา้ นใบ

44 3. โครงสรา้ งภายในของใบ โครงสรา้ งภายในของใบทีไ่ ดจ้ ากการตดั ตามขวาง มกี ารจัดเรยี งเน้อื เยอื่ ดังน้ี 1. Epidermis เป็นเนอื้ เย่อื ชนั้ นอกสดุ ประกอบดว้ ยเซลลร์ ูปร่างสี่เหลี่ยมเรยี งตวั เป็นระเบียบ เซลลเ์ อพิเดอรม์ สิ บางชนดิ อาจมกี ารเปลย่ี นแปลงรูปรา่ งเปน็ เซลลค์ ุม เซลลข์ น หรอื เซลลต์ ่อม - พบด้านหลังใบ (Dorsal side) เรียกวา่ Upper epidermis - พบดา้ นท้องใบ (Ventral side) เรียกว่า Lower epidermis 2. Mesophyll เป็นชัน้ ทีอ่ ยถู่ ดั เขา้ มาจากเอพิเดอร์มสิ ประกอบด้วยเซลลพ์ าเรงคิมาท่มี คี ลอโรพลาสต์ เรียกวา่ คลอเรงคิมา (Chlorenchyma) ทาหน้าที่สงั เคราะห์ด้วยแสง มโี ซฟลิ ลแ์ บง่ ออกเป็น 2 สว่ น คือ 2.1 Palisade mesophyll หรอื Palisade cell พบอย่ตู ิดกบั Upper epidermis ประกอบดว้ ย เซลล์รูปร่างยาวเรยี งตัวตดิ กนั แน่น เปน็ ระเบยี บ ต้ังฉากกบั ช้ันเอพเิ ดอรม์ สิ ภายในเซลล์มคี ลอโรพลาสต์ หนาแนน่ มาก ทาใหด้ ้านหลงั ใบมสี ีเขียวเขม้ 2.2 Spongy mesophyll หรอื Spongy cell อยู่ถัดลงมาจากชัน้ Palisade cell จนถงึ ชั้น Lower epidermis ประกอบดว้ ยเซลลร์ ูปรา่ งไม่แนน่ อน เรยี งตัวกนั อยา่ งหลวมๆ มีชอ่ งว่างระหวา่ งเซลล์มาก ภายในเซลลม์ ีคลอโรพลาสตห์ นาแน่นน้อยกว่า Palisade cell จงึ ทาหน้าทีส่ ังเคราะหด์ ้วยแสงไดน้ อ้ ยกวา่ และ ยังทาหน้าที่เปน็ แหล่งเกบ็ อาหารช่วั คราว 3. Vascular bundle คือสว่ นของเสน้ ใบ (Vein) ท่ีแทรกอยู่ภายในใบ ประกอบดว้ ย Xylem และ Phloem และมกี ลมุ่ เซลลล์ ้อมรอบ เรยี กว่า Bundle sheath ทาให้มดั ทอ่ ลาเลียงแข็งแรงย่งิ ขนึ้ กล่มุ ท่อ ลาเลยี งมักแทรกตัวอยใู่ นช้นั Spongy cell ภาพโครงสรา้ งภายในใบ

45 ภาพโครงสรา้ งตัดขวางของพชื ใบเล้ียงคู่ ภาพโครงสรา้ งตัดขวางของพชื ใบเลยี้ งเดยี่ ว

46 4. ใบท่ีเปลีย่ นแปลงเพ่อื ทาหนา้ ทเ่ี ฉพาะ ตารางเปรียบเทียบชนิดของเซลล์หรือเน้อื เยื่อและการจดั เรียงเนือ้ เยอื่ บริเวณใบพชื ใบเลย้ี งคู่และ ใบพชื ใบเลี้ยงเด่ียว คาชีแ้ จง ให้นกั เรียนเขยี นข้อความระบคุ วามแตกตา่ งของเนอ้ื เย่ือใบพชื ใบเลีย้ งคแู่ ละใบพืชใบเลยี้ งเดี่ยวให้ถกู ต้อง ช้ันเนอ้ื เยอ่ื ใบพืชใบเล้ยี งคู่ ใบพืชใบเลยี้ งเดย่ี ว 1. Epidermis เอพิเดอร์มสิ ดา้ นบนมีขนาดเทา่ ๆ กัน เอพเิ ดอร์มสิ ดา้ นล่างเรยี งเป็นแถวเดยี ว พบปากใบทเี่ อพิเดอร์มิสดา้ นล่างจานวน มาก 2. Mesophyll มีรปู รา่ ง 2 แบบคอื แพลเิ ซดมีโซฟิลล์ (เซลลพ์ าเรงคมิ าที่มรี ูปร่างยาว) และ สปองจมี ีโซฟิลล์ (เซลล์พาเรงคิมาทมี่ ี รปู รา่ งไมแ่ นน่ อน) 3. Vascular bundle มีวาสควิ ลารบ์ นั เดิลขนาดใหญอ่ ยบู่ ริเวณ เสน้ กลางใบและวาสคิวลาร์บันเดิลขนาด เลก็ เห็นไม่ชดั เจนบรเิ วณแผน่ ใบ

ครูยศวดี ศศิธร กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นมหาวชริ าวุธ จังหวดั สงขลา บทท่ี 3 การลา้ เลยี งน้าในพชื การล้าเลยี งน้า น้าเป็นปจั จัยท่ีจ้าเป็นต่อการอยู่รอดของพืช การดดู น้าจากดินเข้าสู่พืชและการล้าเลียงน้าไปยังส่วนต่าง ๆ จึงเป็นส่ิงส้าคัญต่อการด้ารงชีวิตของพืช การเคล่ือนท่ีของน้าในพืชเป็นผลมาจากความแตกต่างของชลศักย์ (Water potential) ชลศักย์ คือ พลังงานอิสระของน้าต่อหน่ึงหน่วยปริมาตร นิยมใช้หน่วยเป็น MPa (Megapascla) ซ่ึงเป็น หน่วยของความดัน โดยชลศักย์ที่ภาวะหนึ่งจะเป็นผลรวมของพลังงานอิสระของนา้ ที่ได้รบั อิทธพิ ลจากปัจจัยต่าง ๆ ชลศักย์เก่ียวข้องโดยตรงกับทิศทางการเคลื่อนที่ของน้า น้าจะมีการเคลื่อนที่สุทธิจากบริเวณท่ีมีชลศักย์สูงไปยัง บรเิ วณทีม่ ีชลศกั ยต์ า่้ ชลศักยเ์ ปลีย่ นแปลงไดจ้ ากปจั จัยตา่ ง ๆ ทกี่ ระทา้ ต่อโมเลกลุ น้า ดงั นี - ตัวละลาย ท้าให้ความเป็นอิสระของน้าลดลง ซ่ึงมีผลต่อพลังงานในโมเลกุลของน้า ชลศักย์จึงลดลง ดังนันสารละลายที่มีความเข้มข้นต่้าจะมีชลศักย์สูงกว่าสารละลายท่ีมีความเข้มข้นสูง น้าจึงเคล่ือนที่สุทธิจาก บริเวณทสี่ ารละลายที่มคี วามเขม้ ขน้ ต้า่ ไปยงั บรเิ วณท่สี ารละลายที่มีความเข้มขน้ สูง - แรงดันและแรงดึง มีผลต่อโมเลกุลของน้าส่งผลให้พลังงานอิสระของน้าเปลี่ยนแปลงไป เม่ือโมเลกุล ของน้าได้รับแรงดัน ความดันของน้าในบริเวณนันจะสูงขึน พลังงานอิสระของน้าจะสูงขึน ชลศักย์จึงมีค่าสูงขึน แต่ หากโมเลกุลของน้าได้รับแรงดึง ความดันของน้าในบริเวณนันจะลดลง พลังงานอิสระของน้าจะต้่าลง ชลศักย์จึงมี ค่าลดลง น้าจงึ เคลื่อนทส่ี ทุ ธจิ ากบรเิ วณที่มคี วามดันสูงไปยังบรเิ วณท่มี ีความดันต่้า ภาพการเคล่ือนทส่ี ทุ ธิของนา้ ซง่ึ เป็นผลจากความแตกต่างของชลศกั ย์ ก. การเพมิ่ ตัวละลาย ข.การเพ่มิ แรงดัน ค.การเพ่ิมแรงดึง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook