Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิชาชีววิทยาเพิ่มเติม3 ม.5 เทอม1 ปีการศึกษา 2564

วิชาชีววิทยาเพิ่มเติม3 ม.5 เทอม1 ปีการศึกษา 2564

Published by yoswadee tongjib, 2021-05-15 04:12:46

Description: วิชาชีววิทยาเพิ่มเติม3 ม.5 เทอม1 ปีการศึกษา 2564

Search

Read the Text Version

97 3. จิบเบอเรลลนิ (Gibberellin)  ถกู คน้ พบในรา Gibberella fujikuroi ทเ่ี ปน็ สาเหตทุ าให้เกิดโรคบาคาเน่ หรอื โรคบ้าของตน้ กลา้ น่นั คือ ต้นข้าวจะมลี ักษณะสงู ชะลูดผิดปกติ อ่อนแอ ไม่ออกดอก และตายก่อนทจี่ ะเจรญิ เติบโตเตม็ ที่ ตอ่ มา นักวิทยาศาสตร์ได้สกัดสารออกจากเชอ้ื ราชนดิ น้ี และให้ช่ือสารดงั กลา่ ววา่ Gibberellin  ปัจจบุ นั พบวา่ พชื จะสงั เคราะหใ์ นรปู Gibberellic acid (GA)  แหลง่ สร้างไซโทไคนิน คอื เมล็ดทก่ี าลงั เจริญ เมล็ดทก่ี าลงั งอก เน้ือเยื่อเจริญปลายยอด ปลายราก อบั เรณู และผล  ผลของไซโทไคนิน 1. กระตุ้นการงอกของเมล็ด (Seed germination) 2. กระต้นุ การสร้างเอนไซม์สาหรบั ย่อยแปง้ ทเี่ ก็บสะสมอยู่ในเมล็ด ใหเ้ ป็นนา้ ตาล เพ่ือใช้เป็นแหล่งพลังงานสาหรบั การงอกในพืชใบเลี้ยงเด่ยี ว บางชนิด 3. กระตุ้นเซลลท์ ่ลี าตน้ พืชใหม้ กี ารยืดตวั และแบง่ เซลลม์ ากขน้ึ โดยทางานร่วมกับออกซิน 4. ชว่ ยยืดชอ่ และปรบั ปรงุ คุณภาพองนุ่ ผลของจบิ เบอเรลลินทีช่ ่วยยืดชอ่ องุ่นและขยายขนาดของผล ภาพจบิ เบอเรลลินกระต้นุ การงอกของเมลด็

98 4. เอทิลีน (Ethylene)  มคี ุณสมบัตเิ ป็น Autocatalytic  สารสงั เคราะห์ท่มี ีคณุ สมบตั เิ หมอื นก๊าซเอทิลีน ได้แก่ - 2-chloroethyl phosphonic acid (ethephon) ใช้เพิ่มผลผลิตนา้ ยางพารา - Tria เรง่ การเจริญเติบโตของขา้ ว ยาสูบ และสม้  แหล่งสร้างก๊าซเอทิลนี คือ ทกุ ส่วนของพชื โดยเฉพาะผลท่ีกาลังสกุ และเนือ้ เยื่อทตี่ อบสนองตอ่ ภาวะ เครียด เชน่ นา้ ท่วม ความแห้งแลง้ และการเขา้ ทาลายของจลุ นิ ทรียท์ กี่ ่อโรค จะมกี ารสร้างเอทิลีนสงู  ผลของกา๊ ซเอทลิ นี 1. กระต้นุ ให้เกดิ การร่วงของใบ ดอก และผล 2. เร่งการสุกของผลไม้ 3. กระตนุ้ การงอกของเมลด็ 4. กระตุ้นการออกดอกของสับปะรด 5. ทาใหย้ อดของตน้ กล้าท่ีงอกในท่มี ืด โค้งงอคล้ายตะขอ 5. กรดแอบไซซกิ (Abscisic acid)  Carns และ Addicot ทาการสกัดสารและแยกสารท่ีกระตุน้ การรว่ งของใบและ ผลฝ้าย และต้งั ช่อื สารน้นั ว่า Abscisin  แหล่งสร้างกรดแอบไซซิก คือ  ผลของกรดแอบไซซิก 1. ชกั นาใหเ้ กดิ การพักตัวของตาและเมล็ด โดยจะยับยัง้ เอนไซมย์ ่อยแป้งในเมลด็ 2. ตอบสนองต่อภาวะเครยี ดจากส่งิ แวดล้อม 3. ส่งเสรมิ ให้เกิดการเสื่อมตามอายุ (Senescence) 4. ยบั ย้ังการเจรญิ และการยืดตัวของเซลล์ ภาพกรดแอบไซซิกกระตนุ้ การปดิ ของปากใบ

99 6. ฮอรโ์ มนพืชอน่ื ๆ บราซโิ นสเตอรอยด์ (Brassinosteroid) เกีย่ วข้องกบั การแบง่ เซลล์ สตรโิ กแลกโทน (Strigolactone) เกีย่ วข้องกับการยับยงั้ การเจรญิ ของตาข้าง  ทบทวนกนั สกั นิด  คาชแ้ี จง ใหน้ ักเรยี นใสเ่ คร่ืองหมาย  ลงในชอ่ งชนดิ ของฮอรโ์ มนพืชท่เี กย่ี วข้องกบั หน้าท่ขี องสารควบคมุ การเจริญเตบิ โตทีม่ ีการใช้ในทางการเกษตร หนา้ ท่ีของสารควบคมุ การเจรญิ เตบิ โต ออกซิน ไซโทไคนิน จิบเบอเรลลนิ เอทิลนี กรดแอบไซซกิ 1. ชักนาใหเ้ กิดยอดในการเพาะเลย้ี งเนื้อเย่ือพืช 2. เร่งการเกดิ รากในกิง่ ตอน 3. ทาให้ผลไม้สุกเร็วขนึ้ 4. ทาให้ตน้ ไมเ้ ต้ยี แคระ (การยับยง้ั ) 5. ใชก้ าจัดวชั พชื 6. กระตุ้นการไหลของนา้ ยางพารา 7. ยดื อายกุ ารปักแจกันของไม้ตดั ดอก (การยับยั้ง) 8. กระตนุ้ ใหป้ ากใบปิด เพอื่ ลดการคายน้า 9. กระตุ้นการเจรญิ เติบโตของเอม็ บรโิ อ 10. กระตุ้นการงอกของเมลด็ หมายเหตุ การยับย้ัง หมายถึง ยับยงั้ การทางานของฮอร์โมนพืชชนดิ น้ัน ๆ

100 การตอบสนองของพชื ตอ่ ส่ิงแวดลอ้ ม การตอบสนองของพืชอย่ใู นรูปของการเปลยี่ นแปลงทางสรีรวทิ ยา การเปล่ยี นแปลงของเซลล์ เนือ้ เย่อื และโครงสร้างตา่ งๆ ซง่ึ พืชจะแสดงออกมาใหเ้ ห็นในลักษณะของการเคลื่อนไหวหรือการเจริญเติบโตของพชื ปจั จยั ทีม่ ผี ลต่อการตอบสนองของพืช แบ่งออกได้ 2 ประเภท ดงั นี้ 1. ปัจจยั ภายใน (Internal factor) ได้แก่ ฮอร์โมนพืช 2. ปัจจยั ภายนอก (External factors) หรอื สงิ่ เร้าตา่ งๆ (External stimulus) ได้แก่ แสง ความชื้น แรงโนม้ ถว่ งของโลก อุณหภมู ิ สารเคมี และสัมผัส รปู แบบการตอบสนองของพชื ต่อปัจจยั กระตุ้น พชื ตอบสนองต่อสงิ่ เรา้ ในรูปของการเคล่อื นไหว (Movement) แบง่ ออกได้ 3 รปู แบบ ดังนี้ 1. การเคลอ่ื นไหวทเ่ี กิดจากการเจริญเตบิ โตของพืช (Growth movement) 2. การเคล่อื นไหวท่ีเกิดจากแรงดันเตง่ ของเซลล์ (Turgor movement) 3. การเคลอ่ื นไหวแบบปลายยอดสั่นหรอื โยกไปมา (Nutation movement) 1. การตอบสนองของพืชทเ่ี กิดจากการเจรญิ เติบโต เกิดขึน้ 2 รูปแบบ ดังน้ี 1.1 Tropic movement หรอื Tropism เป็นการเคลื่อนไหวอย่างมีทศิ ทาง................กบั สงิ่ เรา้ ภายนอก - การเคล่ือนไหวเขา้ หาสิง่ เร้า เรยี กว่า ................. tropism - การเคลอื่ นไหวออกจากสง่ิ เร้า เรียกวา่ ................... tropism 1.2 Nastic movement หรือ Nasty เป็นการเคลื่อนไหวของพืชท่ีตอบสนองโดยมที ิศทาง...............กับสงิ่ เรา้ ภายนอก ซงึ่ พชื ได้รับสง่ิ เร้าในปริมาณที่เทา่ กนั แต่ตอบสนองได้ไม่เทา่ กัน 1. Tropic movement Phototropism : การตอบสนองโดยมแี สงเปน็ สงิ่ เรา้  ปลายยอดมกี ารตอบสนองแบบ ………… phototropism โดยการเบน เข้าหาแสง เนอ่ื งจากออกซนิ ลาเลียงจากด้านท่ีได้รับแสงไปยังดา้ นทไ่ี มไ่ ด้รับ แสง ทาใหด้ ้านท่ีไม่ไดร้ บั แสงมอี อกซิน......... กระตุน้ ให้มีการแบง่ เซลล์และ การขยายขนาดของเซลล์ ปลายยอดจึงเอนเขา้ หาแสง  ปลายรากตอบสนองแบบ ……………… phototropism ภาพ Phototropism

101 Gravitropism : การตอบสนองโดยมี……………………………………..เปน็ สิง่ เร้า  ปลายรากตอบสนองแบบ …………………. Gravitropism  ปลายยอดตอบสนองแบบ ………………… Gravitropism ภาพ Gravitropism Chemotropism : การตอบสนองโดยมี........................เปน็ สิง่ เร้า ภาพ Chemotropism Hydrotropism : การตอบสนองโดยมี.........เปน็ สง่ิ เร้า ภาพ Hydrotropism Thigmotropism : การตอบสนองโดยม.ี ....................เป็นส่ิงเรา้  การเจรญิ ของมือเกาะ (..............) ไปยดึ เกาะวสั ดุหรอื ต้นไม้อ่นื ๆ ภาพ Thigmotropism

102 2. Nastic movement : การตอบสนองแบบ............................กบั ทศิ ทางของส่งิ เรา้  การหุบและบานของดอกไม้ท่ีมีแสงเปน็ ส่งิ เร้า เรียกว่า .................... เชน่ ดอกบัวบานตอนกลางวัน และหุบตอนกลางคนื ส่วนดอกกระบองเพชรบานตอนกลางคนื หบุ ตอนกลางวนั เป็นตน้  การหบุ และบานของดอกไมท้ ่ีมีอุณหภมู ิเปน็ สง่ิ เร้า เรียกวา่ ......................... เช่น ดอกทวิ ลิบ และ ดอกบวั สวรรค์ เป็นตน้ ภาพการหุบและบานของดอกไม้เกิดจากการขยายตัวของกลุ่มเซลล์สองดา้ นไม่เทา่ กนั 2. การตอบสนองท่ีเกิดจากแรงดันเต่งของเซลล์ (Turgor movement) แบง่ ออกเป็น 3 รปู แบบดังนี้ 1. การหุบและกางของใบไมยราบ (......................................................) 2. การหุบใบในตอนพลบคา่ ของพืชตระกูลถั่ว (......................................................) 3. การเปดิ และปิดของปากใบ (......................................................) 1. การหบุ และกางของใบไมยราบ (Contact movement) เปน็ ผลมาจากการเปลยี่ นแปลงแรงดนั เต่งภายในเซลล์ บริเวณโคนก้านใบของไมยราบจะมีลกั ษณะพอง ออกเป็นกระเปาะ เรยี กว่า …………… (Pulvinus) ซงึ่ ภายในประกอบดว้ ยกลุ่มเซลล์พาเรงคิมาท่ีไวต่อการสัมผัส เม่ือได้รับการสัมผสั จะมผี ลทาให้น้าออสโมซสิ ................กลมุ่ เซลลด์ งั กล่าวอย่างรวดเร็ว ทาให้แรงดนั เต่งภายใน เซลล์............ ใบจึงหบุ ทันที ภาพการหบุ และกางของใบไมยราบ

103 2. การหุบของใบในตอนพลบค่าของพืชตระกลู ถ่ัว (Sleep movement) เมอ่ื ความเขม้ ของแสงลดลง (พลบค่า) จะเกดิ จากเปลีย่ นแปลงแรงดนั เต่งของ.............บริเวณโคนก้านใบ โดยนา้ จะค่อยๆ ออสโมซิส...........เซลล์ ทาใหใ้ บหุบลงอยา่ งช้าๆ เรยี กว่า ............ (Sleep movement) ซ่งึ พบ ได้ในพืชตระกลู ถั่ว ก้ามปู จามจุรี กระถิน แค และมะขาม เปน็ ต้น ภาพการหุบของใบในตอนพลบคา่ ของพืชตระกูลถ่ัว 3. การเปดิ และปิดของปากใบ (Guard cell movement) การเปดิ และปดิ ปากใบเป็นผลมาจากการเปลีย่ นแปลงแรงดันเตง่ ภายในเซลล์คมุ โดยมแี สงเปน็ ปจั จัย กระตนุ้ จดั เปน็ การเคล่ือนไหวของพืชเช่นเดยี วกัน ภาพการเปิดและปิดของปากใบ 3. การเคลอื่ นไหวแบบปลายยอดสั่นหรือโยกไปมา (Nutation) เกดิ จากดา้ นทงั้ สองขา้ งของลาต้นเจริญได้ไม่เท่ากนั จึงทาใหป้ ลายยอดสน่ั หรือแกวง่ ไปมา เหน็ ไดช้ ัดใน พืชลม้ ลุก ซงึ่ ในบางชนดิ อาจเกิดการเลื้อยหรือพันหลกั เรียกวา่ ……………………………………………………… ภาพการเปดิ และปดิ ของปากใบ

104

105

106 บรรณานกุ รม สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลย.ี (2560). ตัวชว้ี ัดและสาระการเรยี นรแู้ กนกลางกลมุ่ สาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ัน พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2561. โรงพมิ พ์ชมุ นมุ สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จากดั , กรงุ เทพมหานคร. สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2562). คมู่ ือครูชวี วทิ ยา เลม่ 3 รายวชิ าเพ่ิมเติม วิทยาศาสตร์ ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 5. โรงพมิ พ์ สกสค. ลาดพรา้ ว, กรงุ เทพมหานคร. สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี. (2562). หนงั สอื เรยี นรายวิชาเพมิ่ เตมิ วิทยาศาสตร์ ชวี วิทยา เล่ม 3 ช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 5. โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว, กรงุ เทพมหานคร. Jane B. Reece et al. (2011). Campbell Biology Ninth Edition. Pearson Benjamin Cummings, United States.

107 ประวตั ผิ เู้ ขยี นเอกสาร ชอื่ – นามสกุล นางยศวดี ศศธิ ร ประวัติการศึกษา หลกั สูตรวิทยาศาสตรบัณฑติ สาขาชวี วทิ ยา พ.ศ. 2554 มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ กรงุ เทพมหานคร หลกั สตู รการศกึ ษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละคณติ ศาสตร์ พ.ศ. 2557 มหาวทิ ยาลยั ทกั ษณิ สงขลา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook