Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิชาชีววิทยาเพิ่มเติม3 ม.5 เทอม1 ปีการศึกษา 2564

วิชาชีววิทยาเพิ่มเติม3 ม.5 เทอม1 ปีการศึกษา 2564

Published by yoswadee tongjib, 2021-05-15 04:12:46

Description: วิชาชีววิทยาเพิ่มเติม3 ม.5 เทอม1 ปีการศึกษา 2564

Search

Read the Text Version

เอกสารประกอบการเรียน วิชา ว32248 ชวี วิทยาเพ่มิ เติม 3 ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 5 ปกี ารศกึ ษา 2564 ม.5 นางยศวดี ศศิธร ตาแหน่ง ครู กล่มุ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นมหาวชริ าวุธ จังหวดั สงขลา สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามธั ยมศกึ ษาสงขลา สตูล สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร



คำนำ เอกสารประกอบการสอนเล่มน้ี จัดทาขึ้นเพ่ือใช้ประกอบการจัดการเรียนรู้วิชา ว32248 ชีววิทยา เพิ่มเติม 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ของนักเรียนโครงการ SMA ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 นางยศวดี ศศธิ ร กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นมหาวชริ าวุธ จงั หวัดสงขลา

สารบญั หนา้ เร่อื ง 1 20 บทที่ 1 การสืบพนั ธุ์ของพืชดอก 51 บทที่ 2 โครงสร้างและการเจริญเตบิ โตของพืชดอก 67 บทที่ 3 การล้าเลียงนา้ ในพชื 93 บทท่ี 4 การสงั เคราะห์ด้วยแสง 106 บทที่ 5 การควบคุมการเจริญเตบิ โตและการตอบสนองของพชื 107 บรรณานุกรม ประวัติผ้เู ขยี นเอกสาร

ครยู ศวดี ศศิธร กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นมหาวชิราวธุ จงั หวัดสงขลา บทท่ี 1 การสืบพันธุ์ของพืชดอก การสืบพนั ธุ์ของพืชดอกเปน็ กระบวนการเพิ่มจานวนประชากร แบง่ เปน็ 1. การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ (Asexual reproduction) เป็นการใช้ส่วนต่าง ๆ ของพืชดอกที่ไม่ใช้ เซลล์สืบพันธุ์ ทาให้ลูกมีลักษณะทางพันธุกรรมเหมือนพ่อแม่ทุกประการ ไม่มีการแปรผันทางพันธุกรรม จึง ปรับตัวเข้ากับสิ่งแวดล้อมได้ไม่ดีเท่าท่ีควร ซ่ึงวิธีการสืบพันธ์ุแบบไม่อาศัย เช่น การเพาะเล้ียงเน้ือเย่ือ การติด ตา การแตกหนอ่ ตอนกงิ่ เสียบยอดและปักชา เป็นตน้ 2. การสบื พันธ์ุแบบอาศัยเพศ (Sexual reproduction) มลี กั ษณะสาคัญดังน้ี 2.1 เปน็ การแบง่ นิวเคลียสแบบไมโอซสิ เพือ่ ให้ไดเ้ ซลลส์ บื พันธุ์ 2.2 มกี ารปฏสิ นธิของเซลล์สืบพันธ์ุ 2.3 ทาให้ลูกมีการแปรผันทางพันธกุ รรมและสามารถปรบั ตวั เข้ากบั สง่ิ แวดล้อมได้ดี โครงสรา้ งของดอก คาชแี้ จง ใหน้ กั เรียนนาคา Stamen, Anther, Filament, Stigma, Style, Ovary, Carpel, Petal, Receptacle และ Sepal เตมิ ลงในภาพให้ถูกต้อง ภาพโครงสรา้ งของดอก 1. กลบี เลี้ยง (Sepal) เปน็ สว่ นทอ่ี ยนู่ อกสดุ มสี เี ขยี ว ซ่งึ มลี ักษณะเปน็ วงเรียกว่า Calyx 2. กลีบดอก (Petal) เป็นส่วนของดอกที่อยู่ถัดจากกลีบเลี้ยงเข้าไปขา้ งใน มักมสี สี ันสวยงาม 3. เกสรตัวผู้ (Stamen) ทาหนา้ ทส่ี รา้ งเซลลส์ ืบพนั ธ์ุเพศผู้ ประกอบดว้ ยอับเรณู (Anther) อยู่บน กา้ นชูเกสรตวั ผู้ (Filament) 4. เกสรตัวเมีย (Pistil) ทาหน้าท่สี รา้ งเซลลส์ บื พนั ธ์ุเพศเมีย ประกอบด้วยยอดเกสรตัวเมีย (Stigma) กา้ นเกสรตัวเมีย (Style) และรงั ไข่ (Ovary)

2 ประเภทของดอก 1. ใช้สว่ นประกอบของดอกไม้เป็นเกณฑ์ แบ่งเป็น 2 ประเภท ดังนี้ 1.1 ดอกสมบรู ณ์ (Complete flower) คอื ดอกไม้ท่ีมีองค์ประกอบครบ........สว่ นคือกลีบเลย้ี ง กลีบดอก เกสรตวั ผู้ เกสรตวั เมยี อยู่ภายในดอกเดียวกัน 1.2 ดอกไมส่ มบูรณ์ (Incomplete flower) คอื ดอกไมท้ ่ีมอี งคป์ ระกอบไม่ครบ........สว่ น ในดอกเดยี วกนั 2. ใชอ้ วัยวะสืบพนั ธ์ุของพืชเปน็ เกณฑ์ แบง่ เปน็ 2 ประเภท ดงั นี้ 2.1 ดอกสมบูรณเ์ พศ (Perfect flower) คือ ดอกไม้ทม่ี ีอวยั วะสืบพนั ธุท์ ั้ง...................ในดอกเดยี วกัน 2.2 ดอกไมส่ มบูรณเ์ พศ (Imperfect flower) คอื ดอกไม้ท่ีมีอวัยวะสืบพันธ์เุ พศผูห้ รือเพศเมียในดอก 3. ใช้ตาแหน่งของรงั ไขเ่ ปน็ เกณฑ์ แบง่ เป็น 3 ประเภท ดังน้ี 3.1 ดอกทม่ี รี งั ไขเ่ หนอื วงกลีบ (Superior ovary) เช่น มะเขอื จาปี พริก ถ่ัว มะละกอ และส้ม เป็นตน้ 3.2 ดอกทมี่ ีรังไขใ่ ต้วงกลีบ (Inferior ovary) เช่น ตาลึง ฟกั ทอง แตงกวา บวบ ทบั ทิม และกลว้ ย เปน็ ตน้ ภาพโครงสร้างของดอกแบง่ ตามตาแหนง่ ของรังไข่ ก. ดอกที่มรี ังไขเ่ หนือวงกลบี ข. ดอกท่ีมีรงั ไขใ่ ต้วงกลีบ 4. ใช้จานวนดอกบนหน่ึงกา้ นดอกเป็นเกณฑ์ แบ่งเปน็ 2 ประเภท ดงั นี้ 4.1 ดอกเดีย่ ว (Solitary flower) คือ ดอกที่ มเี พยี ง 1 ดอกบนกา้ นดอก เช่น จาปี บัว ทวิ ลิป และ คณุ นายตืน่ สาย เปน็ ตน้ 4.2 ดอกชอ่ (Inflorescence flower) คือ ดอกที่มีดอกย่อยมากกวา่ 1 ดอกตดิ อยบู่ นก้านชอ่ ดอก เชน่ กล้วยไม้ เขม็ และราชพฤกษ์ เปน็ ต้น ภาพดอกเด่ยี ว (ก) และดอกชอ่ (ข)

3  ดอกของพืชบางชนดิ ท่ีเป็นดอกช่อ แต่มกั ถูกเข้าใจว่าเป็นดอกเด่ียว เชน่ ทานตะวนั ดาวเรอื ง ดาวกระจาย และบานชน่ื เปน็ ตน้ เน่อื งจากก้านช่อดอกของพชื เหล่านี้จะหดสั้น และขยายแผ่ออกเป็นวงคล้ายจาน เรียกวา่ ฐานดอกร่วม (Common receptacle) ดังนนั้ ส่วนทเ่ี หน็ คล้ายเป็นกลีบดอกตดิ อย่ทู ี่วงรอบนอกของฐานดอก รว่ มคือ ดอกย่อยวงนอก ซงึ่ มักเป็นดอกเพศเมยี ถดั เขา้ มาจะเหน็ ดอกย่อยทม่ี ลี ักษณะคล้ายหลอดอยเู่ บยี ดกัน แน่นเปน็ กลมุ่ อยู่บริเวณตรงกลางของฐานดอกรว่ มเรียกวา่ ดอกย่อยวงใน ซ่ึงเป็นดอกสมบูรณ์เพศ ภาพดอกทานตะวัน ชนิดของผล แบ่งตามกาเนดิ ของผล ลักษณะดอก และจานวนรงั ไข่ ดังนี้ 1. ผลเด่ยี ว (Simple fruit) เป็นผลทเี่ จรญิ มาจากดอก 1 ดอกที่มีรังไข่ 1 รังไข่ จะเปน็ ดอกเดย่ี วหรอื ดอกชอ่ กไ็ ด้

4

5

6 ภาพ Simple fruit

7 2. ผลกล่มุ (Aggregate fruit) เป็นผลทีเ่ กิดมาจากดอก 1 ดอกที่มีจานวนเกสรเพศเมียมากกวา่ 1 อันอยู่ บนฐานดอกเดยี วกัน จงึ มรี ังไข่มากกว่า 1 รงั ไข่ เม่อื แตล่ ะรังไขเ่ จริญเป็นผลย่อย 1 ผล ทาใหแ้ ต่ละผลตดิ อยบู่ น ฐานดอกเดียวกนั ผลยอ่ ยอาจแยกจากกนั เช่น จาปี จาปา การเวก และกระดังงา หรอื ผลยอ่ ยอาจเชอื่ มติดกนั คล้ายผลเด่ียว เชน่ นอ้ ยหนา่ บัวหลวง และสตอเบอรี เป็นต้น ภาพ Aggregate fruit 3. ผลรวม (Multiple fruit) เป็นผลท่ีเกิดจากดอกช่อ ซง่ึ มีดอกย่อยจานวนมากและเบียดชิดกนั ในชอ่ ดอกเดียวกัน และรังไข่ดอกย่อยแต่ละดอกจะเจรญิ เปน็ ผลยอ่ ยที่อยเู่ บยี ดชิดกนั บนแกนชอ่ ดอกจนดคู ลา้ ยเป็น หนึ่งผล เชน่ ยอ หม่อน สบั ปะรด สาเก ขนนุ และมะเดอื่ เปน็ ตน้

8

9 ภาพ Multiple fruit

10 วัฏจกั รชีวติ แบบสลบั ของพืชดอก พชื ดอกเม่อื เจรญิ เตบิ โตและมีดอก ดอกจะมีการสบื พนั ธ์ุแบบอาศยั เพศ ซึง่ การปฏิสนธิ (Fertilization) ของ..................................จะได้ไซโกต (Zygote) และจะพัฒนาตอ่ ไปเปน็ เอ็มบรโิ อ (Embryo) ซ่งึ อยภู่ ายใน เมล็ด เม่ือเมลด็ งอก เอ็มบริโอจะเจรญิ เตบิ โตเปน็ พืชต้นใหม่แล้วออกดอกเพ่ือสบื พันธุต์ ่อไป หมุนเวียนเปน็ วัฏจกั รชีวติ (Life cycle) วัฏจักรชีวติ ของพืชเปน็ วัฏจักรชีวติ แบบสลับ (Alternation of generation) ประกอบด้วยสปอโรไฟต์ (Sporophyte) ซง่ึ เป็นระยะทสี่ ร้างสปอร์และ แกมีโทไฟต์ (Gametophyte) ซง่ึ เปน็ ระยท่สี รา้ งเซลลส์ ืบพนั ธุ์ ดงั ภาพ ในพชื ท่ที ่อลาเลียงไร้เมล็ด เชน่ เฟริ น์ เมือ่ สปอรโ์ รไฟตโ์ ตเต็มทจี่ ะมีโครงสรา้ งทีส่ รา้ งสปอร์ เมอื่ มีการ กระจายสปอร์ สปอรจ์ ะหลดุ จากสปอร์โรไฟต์ และถ้าสปอร์อยใู่ นสภาพแวดล้อมท่ีมีความช้ืนเหมาะสม สปอร์ จะงอกแลว้ เจรญิ เปน็ แกมีโทไฟต์ ซ่งึ จะมโี ครงสร้างท่ีสร้างเซลล์สืบพันธ์ุต่อไป ในพืชดอกน้นั ตน้ ทเ่ี ห็นเปน็ สปอร์- โรไฟต์ มโี ครงสร้างท่ีสรา้ งสปอร์ แต่สปอร์ไม่ไดห้ ลุดออกจากสปอโรไฟต์ เม่ือสปอร์พฒั นาเปน็ แกมโี ทไฟต์ แกมโี ทไฟต์ของพชื ดอกจึงไม่ไดอ้ ยอู่ ยา่ งอิสระ แต่มีขนาดเล็กและเป็นส่วนท่ีอยใู่ นดอกซ่ึงต่างจากเฟิร์น

11 การสบื พันธแุ์ บบอาศัยเพศของพืชดอก 1. การสร้างไมโครสปอร์และเมกะสปอร์ และการสรา้ งเซลลส์ ืบพนั ธ์ุ

12 การถา่ ยเรณู เป็นการเคลอื่ นย้ายเรณูจากอบั เรณูไปตกบนยอดเกสรเพศเมยี การถ่ายเรณใู นธรรมชาติ อาจเกดิ ข้ึนโดยอาศยั ลม น้า แมลงหรอื สัตว์เป็นพาหะถา่ ยเรณู (Pollinator) Pollinator) หลักจากเกดิ การถ่ายเรณแู ล้ว จะมกี ารงอกของหลอดเรณแู ละกระบวนการสร้างเซลล์สบื พันธุ์เพศผเู้ พื่อ เข้าไปผสมกบั เซลล์ไขต่ ่อไป

13 2. การปฏิสนธิ การปฏิสนธิของพืชดอกเป็นการปฏสิ นธคิ ู่ (Double fertilization) ดงั ภาพ ภาพการปฏิสนธคิ ู่ของพชื ดอก 3. การเกิดผลและเมลด็ โดยทว่ั ไปหลังการปฏสิ นธแิ ลว้ กลบี ดอก กลบี เลยี้ งและเกสรเพศผู้จะแหง้ และรว่ งไป ออวุลจะพฒั นาไป เป็นเมลด็ อยภู่ ายในผล ซง่ึ พัฒนามาจากรังไข่ ผนงั รังไข่จะเปลีย่ นแปลงไปเปน็ ผนังผล (Pericarp) ดังภาพ

14 ผนงั ผลอาจแบ่งได้เปน็ 3 ช้ันคอื ผนังผลช้นั นอก (Exocarp) ผนังผลช้ันกลาง (Mesocarp) และผนังผล ชั้นใน (Endocarp) ภาพผนงั ผล ถ้าพจิ ารณาจากลักษณะของผนังผล สามารถแบง่ ผลไดเ้ ปน็ 2 กลุ่มดงั นี้ 1. ผลมีเน้อื เป็นผลทม่ี ีผนงั ผลเกือบทงั้ หมดเปน็ เนื้อ เม่ือเจริญเตม็ ทผ่ี นังผลมลี ักษณะอวบน้า ดังภาพ 2. ผลแหง้ เป็นผลท่ีเมื่อเจรญิ เตม็ ทีห่ รือแกแ่ ลว้ ผนงั ผลมีลกั ษณะแห้งแข็ง ไม่มเี นือ้ เหลืออยู่ ซ่ึงอาจจะ แตกหรือไม่แตกขึ้นกับชนิดของผล ดงั ภาพ

15  ผลบางชนดิ มฐี านดอกเจรญิ รว่ มขนึ้ มาเป็นส่วนหนึง่ ของผล เชน่ ชมพู ฝรง่ั แอปเปลิ และสาลี่ เปน็ ตน้ เมล็ดและเอ็มบรโิ อ หลังการปฏิสนธขิ องพชื ดอก ไซโกตจะพัฒนาเปน็ เอ็มบรโิ อ และออวุลจะพฒั นาเปน็ เมลด็ อยู่ภายในผล ซึ่งพฒั นามาจากรังไข่ ผนงั ออวลุ จะเปลี่ยนไปเป็นเปลอื กเมล็ด (Seed coat) ซึ่งหมุ้ ล้อมรอบ เอนโดสเปริ ์มและเอม็ บรโิ อท่อี ยูภ่ ายในเอาไว้ ดงั ภาพ ภาพการเจริญและพฒั นาของเอ็มบริโอและเอนโดสเปิร์ม

16 เมลด็ ประกอบด้วยส่วนต่าง ๆ ดังนี้ 1. เปลอื กเมล็ด (Seed coat) เจรญิ มาจากผนังออวุล ทาหน้าทป่ี อ้ งกันเอ็มบรโิ อท่ี อยภู่ ายในเมลด็ ผิวของเปลือกเมลด็ มรี อยแผลเป็นเล็ก ๆ เรียกวา่ ไฮลัม (Hilum) ซ่งึ เกดิ จากกา้ นออวุลหลดุ ออกไป และทใ่ี กล้ ๆ ไฮลมั มไี มโครไพล์ ซง่ึ เป็นชอ่ งเปดิ ขนาดเล็กให้น้า เขา้ สู่ภายในเมลด็ และให้รากแรกเกิดงอกผ่านออกมา 2. เอ็มบริโอ เจริญมาจากไซโกต ประกอบดว้ ยส่วนสาคัญดังน้ี 2.1 รากแรกเกดิ (Radicle) เปน็ ส่วนปลายสดุ ของแกนเอ็มบรโิ อท่อี ยทู่ างด้านไมโครไพล์ เปน็ ส่วน แรกของเอม็ บรโิ อท่ีเจรญิ ออกมาเมื่อเมล็ดมีการงอก และจะเจรญิ ต่อไปเปน็ รากปฐมภูมิของพืช 2.2 ลาตน้ แรกเกิด (Caulicle) เป็นส่วนแกนของเอ็มบริโอท่ีอยูถ่ ัดจากเรดเิ คิลข้ึนไป 2.3 ยอดแรกเกิด (Plumule) เปน็ สว่ นยอดของเอม็ บรโิ อท่ีอยูเ่ หนือใบเล้ียง 2.4 ใบเลี้ยง (Cotyledon) ติดอยูบ่ นส่วนแกนหลักของเอ็มบริโอ ทาหน้าทส่ี ะสมอาหาร และสงั เคราะห์ดว้ ยแสง 3. เอนโดสเปริ ์ม ทาหนา้ ทเ่ี ป็นอาหารสะสมในการเจริญเติบโตของต้นออ่ น ภาพส่วนประกอบตา่ ง ๆ ของเมล็ด

17 การใชป้ ระโยชน์จากโครงสร้างตา่ ง ๆ ของผลและเมลด็ 1. อาหาร ผลบางชนิดมเี นื้อท่ีไม่ไดเ้ ป็นผนังผล แตเ่ ป็นเน้ือที่เกิดจากส่วนของเมลด็ ห้มุ อยู่รอกนอกของเมลด็ เรยี กวา่ เยือ่ หุ้มเมล็ด (Aril) แบง่ เป็น 1. สว่ นเยอ่ื หุ้มเมล็ดทีแ่ ยกออกจากเมลด็ ได้ เนือ่ งจากเยื่อหุ้มเมล็ดเจรญิ มาจากสว่ นก้านเมลด็ (Funiculus) เชน่ ลาไย ลิ้นจี่ และทเุ รียน 2. สว่ นเย่ือหุ้มเมลด็ ท่ตี ดิ กบั เปลือกเมล็ดแยกออกจากกันไม่ได้ เน่อื งจากเยื่อหมุ้ เมล็ดเจรญิ มาจากเปลอื กเมลด็ เชน่ เงาะ มังคุด กระท้อน และลางสาด เปน็ ต้น ภาพผลท่มี ีเน้อื ท่ผี นังผลเปน็ เน้อื ออ่ นนุ่ม ภาพเย่ือหมุ้ เมลด็ ท่ีแยกออกจากเมล็ดได้ (ก) และเย่ือหุ้มเมลด็ ทแี่ ยกออกจากเมลด็ ไม่ได้ (ข) ภาพเมล็ดพืชที่สะสมคารโ์ บไฮเดรตและนามาผลติ แปง้ ภาพเมลด็ พืชที่สะสมลิพดิ และนามาผลติ นา้ มัน

18 ภาพผลและเมล็ดพืชท่ีมีกลิ่น 2. ผลิตภณั ฑจ์ ากพืช

19

ครยู ศวดี ศศธิ ร กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรยี นมหาวชริ าวุธ จงั หวดั สงขลา บทท่ี 2 โครงสร้างและการเจริญเตบิ โตของพชื ดอก (Plant Cell) คาช้ีแจง ใหน้ กั เรียนเขียนหน้าทีข่ องออรแ์ กเนลล์ตา่ ง ๆ ท่ีพบในเซลล์พชื ในภาพใหถ้ ูกต้อง ภาพ Plant cell

21 ผนงั เซลล์ (Cell wall) ประกอบดว้ ย 3 ส่วนดงั นี้ 1. มิดเดิลลาเมลลา (Middle lamella) เป็นผนังเซลลท์ ส่ี ร้างเป็นลาดบั แรก หลกั จากการเกดิ แผน่ ก้นั เซลล์ (Cell plate) มเี พกทินเป็นองค์ประกอบหลกั 2. ผนงั เซลล์ปฐมภูมิ (Primary cell wall) อยู่ถดั จากมดิ เดลิ ลาเมลลาเข้ามาด้านใน มเี ซลลโู ลสเป็น องค์ประกอบหลัก พบในเซลลพ์ ืชทกุ ชนดิ 3. ผนังเซลลท์ ตุ ิยภูมิ (Secondary cell wall) พบในเซลล์พืชบางชนดิ ประกอบด้วยเซลลูโลสและ ลิกนิน นอกจากนเ้ี ซลล์ บางชนดิ อาจพบซูเบอรนิ ชว่ ยปอ้ งกนั การระเหยของนา้ ผนังเซลลข์ องพชื จะมีช่องว่างเรยี กว่า พลาสโมเดสมาตา (Plasmodesmata) ให้เซลลท์ ี่อยใู่ กล้เคยี งกนั สามารถส่งสารเคมี น้าและธาตุอาหารระหวา่ งกันได้ ภาพผนังเซลล์

22 1. เนอื้ เยอ่ื เจริญ (Meristem หรอื Meristematic tissue) เป็นเนื้อเยอ่ื ท่ีสามารถแบ่งเซลล์ได้ตลอดชีวิต สว่ น ใหญม่ ีนวิ เคลยี สขนาดใหญ่ การจาแนกเนื้อเย่ือเจรญิ ตามตาแหนง่ ที่อยู่ในส่วนต่าง ๆ ของพชื แบ่งออกเป็น 1.1 เนอื้ เยื่อเจริญส่วนปลาย (Apical meristem) ถ้าพบตามปลายยอดของลาตน้ หรือก่ิงก้านจะเรยี ก เนอื้ เยอ่ื เจรญิ สว่ นปลายยอด (Apical shoot meristem) เมือ่ แบง่ เซลล์จะทาใหล้ าต้นหรือก่งิ กา้ นยืดยาวออก และเกิดการสร้างใบ แตถ่ ้าพบท่ีส่วนปลายของรากจะเรียกเน้ือเยื่อเจรญิ ส่วนปลายราก (Apical root meristem) เม่ือแบ่งเซลล์จะทาใหร้ ากยาวข้ึน โดยการเจริญเติบโตทที่ าใหส้ ่วนต่าง ๆ ของพืชมีความสูง หรอื ความยาวเพ่ิม มากขึน้ เรียกการเจรญิ ลักษณะเชน่ นีว้ ่า การเจริญเตบิ โตปฐมภมู ิ (Primary growth) ภาพ Apical meristem 1.2 เน้อื เยื่อเจรญิ เหนือข้อ (Intercalary meristem) มหี นา้ ทแี่ บง่ เซลล์เพ่มิ จานวน ทาให้ปล้องของพชื ใบ เล้ยี งเด่ียวยดื ยาว เป็นเนอื้ เย่ือส่วนทอี่ ยู่โคนปลอ้ งหรือเหนือข้อ ภาพ Intercalary meristem 1.3 เน้อื เยอื่ เจรญิ ด้านขา้ ง (Lateral meristem) เปน็ เน้อื เยื่อท่ีอยูใ่ นแนวขนานกับเส้นรอบวง มกี ารแบ่ง เซลล์เพ่ิมจานวนออกทางดา้ นขา้ งทาให้รากและลาตน้ ขยายขนาดใหญข่ ึน้ จดั เป็นการเตบิ โตทตุ ิยภมู ิ (Secondary growth) ส่วนใหญพ่ บในพชื ใบเลย้ี งคู่ เชน่ ต้นถั่ว มะมว่ ง พริก เป็นต้น และพบในพชื ใบเลีย้ ง เดย่ี วบางชนิด เชน่ หมากผหู้ มากเมยี เขม็ กุดั่น ศรนารายณ์ เป็นต้น เนอื้ เยื่อเจริญด้านขา้ งเรียกอีกอย่างวา่ แคมเบียม (Cambium) แบ่งตามการทาหน้าท่ีได้เปน็ 2 ประเภทคือ 1.3.1 วาสควิ ลาร์แคมเบยี ม (Vascular cambium) พบอยู่ระหว่างเน้ือเย่ือท่อลาเลียงน้าและท่อลาเลียง อาหาร ทาหน้าท่ีแบง่ เซลลท์ าให้เกิดเนื้อเย่ือทอ่ ลาเลียง (Vascular tissue) เพม่ิ ข้ึนในการเติบโตทุตยิ ภูมิ 1.3.2 คอร์กแคมเบียม (Cork cambium) พบอยถู่ ัดจากคอร์ก (Cork) เขา้ ไปดา้ นใน ทาหนา้ ทแ่ี บง่ เซลล์ให้คอรก์ และเนื้อเย่ืออน่ื ๆ เพื่อทาหน้าที่แทนเน้อื เยือ่ ผิวเดมิ ในการเติบโตทุติยภูมิในพืชบางชนดิ

23 ภาพ Lateral meristem 2. เนื้อเย่อื ถาวร (Permanent tissue) เปล่ียนแปลงมาจากเนือ้ เย่ือเจริญ ประกอบดว้ ยเซลลท์ เ่ี จริญเตม็ ที่ มี รูปร่างคงท่ี ทาหน้าท่ตี ่าง ๆ ตามลกั ษณะโครงสรา้ งของเซลล์ ส่วนใหญจ่ ะไมส่ ามารถแบ่งเซลลไ์ ด้อีกต่อไป เน้อื เยอ่ื ถาวรแบง่ ตามหน้าที่ไดเ้ ป็น 3 ระบบคือ 1. ระบบเนอ้ื เย่ือผวิ (Dermal tissue system) ประกอบด้วยเอพิเดอรม์ ิสและเพรเิ ดริ ์ม (Periderm) 2. ระบบเนอ้ื เย่ือพ้ืน (Ground tissue system หรือ Fundamental tissue system) ประกอบด้วย พาเรงคิมา คอลเลงคิมา และสเกลอเรงคิมา 3. ระบบเน้ือเย่ือท่อลาเลยี ง (Vascular tissue system) ประกอบด้วยไซเลม็ ทาหน้าทีล่ าเลียงนา้ ธาตุ อาหาร และโฟลเอม็ ทาหนา้ ท่ีลาเลยี งอาหาร ภาพเนือ้ เยอื่ ถาวร

24 เน้ือเย่ือถาวรทมี่ ีหน้าท่ีสาคญั ตอ่ การดารงชวี ิตของพืช 1. เอพิเดอรม์ ิส (Epidermis) หรอื เนือ้ เยื่อผิว - พบในสว่ นนอกสุดของโครงสรา้ งพืชทาหน้าทปี่ ้องกันอนั ตรายให้กบั เซลลพ์ ืช - ลกั ษณะเซลล์เรยี งอย่างเปน็ ระเบยี บ เบยี ดชิดกนั แน่น ไม่มชี อ่ งวา่ งระหวา่ งเซลล์ - เซลลอ์ าจเรยี งตวั เพียงช้นั เดียว หรือหลายชั้น (Multiple epidermis) - ผนงั ชน้ั นอกมี Cutin เคลือบอยู่ เรยี กชั้นของ Cutin ว่า Cuticle - อาจมกี ารเปลย่ี นแปลงรูปร่างเพอ่ื ทาหนา้ ทเ่ี ฉพาะ ภาพ Epidermis 2. พาเรงคิมา (Parenchyma) เป็นเซลลท์ ่ีพบมากที่สดุ ประกอบดว้ ยเซลลท์ ่ีมชี วี ิตเรยี กวา่ เซลล์ พาเรงคิมา (Parenchyma cell) มผี นงั เซลลบ์ าง มรี ูปร่างหลายแบบ (กลม หรอื ยาว) มีช่องวา่ งระหว่างเซลล์ ทาหนา้ ทสี่ ะสมอาหารและเก็บผลึก ถ้าพาเรงคิมามีคลอโรพลาสต์เรียกว่า คลอเรงคิมา (Chlorenchyma) ซง่ึ จะพบมากในใบ เรียกวา่ มโี ซฟิลล์ (Mesophyll) ภาพ Parenchyma

25 3. คอลเลงคิมา (Collenchyma) มีลักษณะคลา้ ยเซลลพ์ าเรงคมิ า แตผ่ นังเซลล์ปฐมภูมิหนาไม่ สม่าเสมอกัน ทาหน้าที่พยุงและทาใหเ้ กดิ ความแข็งแรงกับก้านใบและเสน้ กลางใบและลาต้นพชื ล้มลุก ภาพ Collenchyma 4. สเกลอเรงคิมา (Sclerenchyma) เป็นเน้ือเยื่อท่ีพบในเน้ือเยอื่ พืน้ ของลาตน้ ใบ ผล เปลอื กไม้ เปลอื กผล เปลอื กเมลด็ ประกอบด้วยเซลล์สเกลอเรงคมิ า (Sclerenchyma cell) ซ่งึ เป็นเซลล์ไมม่ ีชวี ติ มผี นัง เซลลท์ ตุ ยภมู ทิ ี่ค่อนข้างหนา ทาให้เกดิ ความแขง็ แรงกบั โครงสร้างของพชื แบ่งเปน็ 4.1 ไฟเบอร์ (Fiber) เป็นเซลล์ท่มี รี ูปร่างยาวเรียว หัวท้ายแหลม ตรงกลางเซลล์เปน็ รูกลวง (Lumen) พบมากในพืชที่ใหเ้ ส้นใย เชน่ ป่าน ปอ ผักตบชวา เปน็ ตน้ 4.2 สเกลอรดี (Sclereid) เป็นเซลล์ท่ีมีรปู รา่ งหลายแบบ เช่น รปู หลายเหลยี่ ม รูปดาว เปน็ ตน้ พบได้ ในเปลือกผลไม้ และเน้ือผลไม้ทส่ี าก เช่น ฝรงั่ สาล่ี และพุทรา เปน็ ต้น สเคลอรดี ท่ีมีความแข็งมาก เรยี กวา่ Stone cell ซึ่งพบในกะลามะพร้าว ภาพ Sclerenchyma 5. เนื้อเยือ่ ลาเลียง (Vascular tissue) แบ่งเป็น 5.1 ไซเล็ม (Xylem) ทาหนา้ ท่ีลาเลยี งน้าและแรธ่ าตุจากรากข้ึนไปสูส่ ่วนต่าง ๆ ของพืช ประกอบดว้ ย 1. เทรคีด (Tracheid) เป็นเซลลท์ ี่ไมม่ ชี ีวิต มีรูปรา่ งยาวปลายค่อนขา้ งเสี้ยมแหลม 2. เวสเซลเมมเบอร์ (Vessel member) เป็นเซลลท์ ่ีไม่มชี ีวติ มีรูปรา่ งทรงกระบอก ทดี่ ้านหวั และท้ายของเซลลม์ ีลกั ษณะเป็นแผ่นมีรหู รอื เพอร์ฟอเรชนั เพลต (Perforation plate) 3. เซลลพ์ าเรงคิมา (Parenchyma cell) เป็นเซลล์ชนดิ เดียวที่ยงั มชี วี ติ อยู่ ช่วยในการลาเลยี ง น้า และแร่ธาตุออกทางดา้ นข้าง 4. ไฟเบอร์ (Fiber) เปน็ เซลล์ทีต่ ายแล้ว มรี ูปรา่ งเรียวยาว ทาหน้าทพ่ี ยุงและเสริมความแข็งแรง

26 ภาพ Xylem 5.2 โฟลเอ็ม (Phloem) ทาหน้าท่ีลาเลียงอาหารที่สงั เคราะหจ์ ากใบไปสสู่ ว่ นตา่ ง ๆ ของพชื ประกอบด้วย 1. เซลล์ท่อลาเลยี งอาหาร หรือ ซฟี ทิวบเ์ มมเบอร์ (Sieve tube member) เปน็ เซลล์มีชวี ติ แต่เมอ่ื เจริญเตม็ ที่ไม่มีนวิ เคลียส แวคิวโอลขนาดใหญ่ ผนงั ด้านหวั และดา้ นทา้ ยมีลักษณะเป็นแผน่ ตะแกรง เรยี กวา่ ซฟี เพลต (Sieve plate) 2. เซลลป์ ระกอบ หรือ เซลล์คอมพาเนยี น (Companion cell) เปน็ เซลลม์ ีชีวติ ทาหน้าที่ ส่งเสริมการทางานของซีฟทวิ บ์เมมเบอร์ 3. เซลล์พาเรงคิมา (Parenchyma cell) เป็นเซลลม์ ชี ีวิต ช่วยในการลาเลยี งอาหารออก ทางด้านขา้ ง 4. ไฟเบอร์ (Fiber) เปน็ เซลล์ที่ตายแล้ว มีรูปรา่ งเรียวยาว ทาหน้าท่ีพยุงและเสริมความแขง็ แรง ภาพ Phloem

27 ตารางเปรียบเทยี บความแตกต่างระหว่างเน้อื เยื่อเจริญและเน้อื เยือ่ ถาวร คาชี้แจง ใหน้ กั เรยี นเขียนข้อความระบุความแตกตา่ งของเนอ้ื เย่ือเจรญิ และเน้ือเยอ่ื ถาวรให้ถกู ต้อง เน้ือเยื่อเจริญ เน้ือเยื่อถาวร เซลลม์ กี ารแบ่งเซลล์ไดต้ ลอดเวลา ผนังเซลลม์ ีทงั้ ที่เปน็ primary cell wall และ เซลล์มีขนาดเล็ก นวิ เคลียสขนาดใหญ่ secondary cell wall เซลลอ์ าจมีหรือไม่มชี อ่ งว่างระหวา่ งเซลล์

28 คาช้แี จง ให้นักเรียนเขยี นหน้าท่ขี องเนอื้ เย่ือต่าง ๆ ของพชื ใหถ้ กู ต้อง Plant tissue Meristem Permanent tissue Apical meristem Epidermis Apical root meristem Parenchyma Apical shoot meristem Collenchyma Sclerenchyma Lateral meristem Xylem Vascular cambium Phloem Cork cambium Intercalary meristem

29 ระบบอวัยวะพชื (Plant organ system) แบง่ เป็น 2 ระบบดงั น้ี 1. ระบบราก (Root system) เป็นส่วนท่ีอย่ใู ต้ดินทง้ั หมดของพชื 2. ระบบยอด (Shoot system) เปน็ สว่ นที่อยูพ่ น้ ดนิ ทง้ั หมดของพชื ไดแ้ ก่........................................... ภาพ Plant organ system Root system 1. โครงสร้างภายนอกของราก (External anatomy root) 1. หมวกราก (Root cap) : ประกอบด้วยเซลล์พาเรงคมิ า, สามารถผลติ เมือกขับออกมารอบ ๆ ทาให้ สะดวกต่อการชอนไชลงไปในดิน, ทาหนา้ ทปี่ อ้ งกนั อันตรายใหก้ บั เน้อื เยื่อเจริญท่อี ยู่ถดั ข้นึ ไป ขณะทร่ี ากชอนไช ลงสู่ดนิ 2. บริเวณการแบ่งเซลล์ (Region of cell division) : เกดิ การแบ่งเซลลใ์ หเ้ ซลล์ส่วนหนงึ่ เปลีย่ นเปน็ เซลลใ์ นหมวกราก และเซลลส์ ว่ นอืน่ ๆ ของโครงสรา้ งราก 3. บรเิ วณการยืดตามยาวของเซลล์ (Region of cell elongation) : เซลลม์ กี ารยดื ตวั ตามยาวและ ขยายทางดา้ นกว้าง ทาให้รากมีความยาวและขยายขนาดเพิ่มข้นึ 4. บริเวณการเปล่ยี นสภาพและการเจรญิ เตม็ ที่ของเซลล์ (Region of cell differentiation and maturation) : เป็นบริเวณท่ีเซลลเ์ จรญิ เตม็ ทีแ่ ละมีการเปลีย่ นสภาพไปเป็นเซลลช์ นดิ ต่าง ๆ เพ่อื ทาหน้าที่เฉพาะ เช่น ขนราก เซลลใ์ นไซเลม็ และเซลลใ์ นโฟลเอ็ม เป็นตน้

30 ภาพ External anatomy root 2. โครงสรา้ งภายในของราก (Internal anatomy root) ภาพ Internal anatomy root

31 โครงสรา้ งตดั ขวางของรากพชื ประกอบดว้ ยเนอื้ เยื่อ 3 สว่ น ดังนี้ 1. เอพเิ ดอร์มิส (Epidermis) เปน็ เน้ือเยื่อชนั้ นอกสดุ ประกอบด้วยเซลล์ผวิ และเซลล์ขนรากท่ีเรยี งเปน็ 1 แถว 2. คอร์เทกซ์ (Cortex) ประกอบด้วยเซลลห์ ลายชัน้ ส่วนใหญเ่ ปน็ เซลลพ์ าเรงคิมา ด้านในสุดของช้ันคอร์เทกซ์ มกั เห็นเซลล์เรียงเปน็ 1 แถวชัดเจนเรียกว่า เอนโดเดอร์มสิ (Endodermis) ซง่ึ มลี ักษณะพิเศษคือ มซี เู บอรนิ สะสม เป็นแถบเล็กๆ รอบเซลล์ ยกเวน้ ดา้ นทขี่ นานกบั เอพเิ ดอร์มิส เรียกแถบน้ีวา่ แถบแคสพาเรยี น (Casparian strip) เอนโดเดอร์มิสมีมีหนา้ ท่ีควบคุมทศิ ทางการลาเลยี งนา้ ทางด้านข้างจากเซลลข์ นรากผ่านคอร์เทกซ์จนเขา้ สู่ไซเลม็ เมอ่ื เซลลอ์ ายุมากขน้ึ จะมีลิกนนิ มาสะสมบรเิ วณผนงั เซลล์ทาใหเ้ กิด Secondary cell wall ผนงั เซลล์จงึ หนาและ มองเหน็ ได้ชัดเจนขน้ึ ภาพ Casparian strip 3. สตีล (Stele) เปน็ บริเวณท่ีอยูถ่ ัดจากช้ันเอนโดเดอรม์ ิสเขา้ ไป ประกอบดว้ ยช้นั ตา่ ง ๆ ดงั น้ี 3.1 เพริไซเคลิ (Pericycle) ประกอบด้วยเซลลพ์ าเรงคมิ าเรียงตัวเปน็ วง อาจมชี ั้นเดยี วหรือหลายชนั้ เซลล์บรเิ วณน้ีสามารถเปลย่ี นกลบั ไปเปน็ เน้ือเยอ่ื เจริญเพ่ือสรา้ งรากแขนงได้ นอกจากนีใ้ นรากพืชบางชนดิ เพรไิ ซเคลิ สามารถเปล่ียนสภาพเป็นคอรก์ แคมเบียมได้ 3.2 มัดทอ่ ลาเลียง หรือ วาสควิ ลาร์บนั เดิล (Vascular bundle) ประกอบด้วย ไซเล็มปฐมภูมิ (Primary xylem) อยูต่ รงกลางของราก ลักษณะเป็นแฉก ซ่ึงจานวนแฉกในราก พชื ใบเลีย้ งค่จู ะมปี ระมาณ 4-6 แฉก ส่วนในรากพืชใบเลี้ยงเด่ยี วจะมีจานวนแฉกของไซเลม็ มากกว่า โฟลเอม็ ปฐมภูมิ (Primary phloem) อย่รู ะหวา่ งแฉกของไซเลม็ ปฐมภูมิ 3.3 พิธ (Pith) คอื บรเิ วณตรงกลางของรากท่ีประกอบด้วยเซลล์พาเรงคิมา พบเฉพาะในพชื ใบเลย้ี งเด่ยี ว

32 ภาพโครงสร้างตดั ตามขวางของพืชใบเลี้ยงคู่ ภาพโครงสรา้ งตดั ตามขวางของพชื ใบเลีย้ งเด่ียว ภาพการสร้างรากแขนง

33 3. รากท่เี ปลยี่ นแปลงเพือ่ ทาหนา้ ทเี่ ฉพาะ (Specialized Modified Roots) รากคา้ (Prop root – รากโกงกาง) รากเกาะ (Climbing root – รากกลว้ ยไม้) รากอากาศ (Aerial root – รากไทร) รากหายใจ (Aerating root – แสม) รากสะสมอาหาร (Storage root – แครอท) ภาพ Adventitious root

34 ตารางเปรยี บเทยี บชนิดของเซลลห์ รือเนอ้ื เย่อื และการจัดเรยี งเนอ้ื เยอ่ื บรเิ วณรากพชื ใบเลีย้ งเดยี่ วและ รากพืชใบเลีย้ งคู่ คาชแ้ี จง ให้นกั เรยี นเขียนข้อความระบุความแตกตา่ งของเนอ้ื เย่ือรากพืชใบเลย้ี งคแู่ ละรากพืชใบเล้ยี งเดีย่ วให้ ถกู ต้อง ช้นั เนื้อเยอื่ รากพชื ใบเล้ยี งคู่ รากพืชใบเลยี้ งเด่ียว 1. Epidermis เรียงเป็นแถวเดียว ประกอบด้วยเซลล์ผวิ และเซลลข์ นราก 2. Cortex ประกอบดว้ ย Parenchyma cells ด้านในสุดพบ Endodermis 3. Stele ประกอบดว้ ย Parenchyma cells เรยี ง 3.1 Pericycle เป็นวง 1 – 2 แถว 3.2 Vascular bundle กลุ่มเซลลใ์ น Xylem เหน็ เรียงเปน็ 4 แฉก Xylem มีจานวนแฉกมากกว่า 10 แฉก และมีกลุ่มเซลล์ Phloem แทรกอยู่ และมีกลุ่มเซลล์ Phloem แทรกอยู่ ระหวา่ งแฉก ระหว่างแฉก 3.3 Pith ประกอบด้วย Parenchyma cells

35 ลาตน้ (Stem) 1. โครงสรา้ งภายนอกของลาตน้ ภาพ External structure of stem 2. โครงสรา้ งภายในของปลายยอดตดั ตามยาว ภาพปลายยอดพืชตดั ตามยาว

36 1. เนอ้ื เยื่อเจริญส่วนปลายยอด (Apical shoot meristem) กลุ่มเซลลบ์ ริเวณนจี้ ะเจรญิ และพฒั นาไป เป็นลาตน้ ใบ และตาตามซอก 2. ใบเริม่ เกิด หรือ เน้อื เยื่อกาเนิดใบ (Leaf primordium) อยู่บรเิ วณดา้ นขา้ งของเนื้อเยอ่ื เจรญิ ปลาย ยอด ใบเร่ิมเกดิ นีจ้ ะพัฒนาต่อไปเปน็ ใบออ่ น บรเิ วณตรงกลางจะเห็นกลมุ่ เซลล์ขนาดเล็กเรยี งตวั เปน็ แนวยาว ซึ่ง กลุ่มเซลลเ์ หลา่ นจ้ี ะเจริญเปน็ เนอ้ื เย่ือทอ่ ลาเลียงจากลาต้นสู่ใบ 3. ใบอ่อน (Young leaf) เปน็ ใบที่เจรญิ ไมเ่ ต็มท่ี เซลลข์ องใบยงั คงมีการเจรญิ เติบโตและเปลี่ยนสภาพตอ่ เพอื่ เพิม่ ขนาดและความหนาของใบ ตรงซอกใบอ่อนจะเห็นตาตามซอกเร่ิมเกิด (Axillary bud primordium) ซ่ึงจะพัฒนาต่อไปเป็นตาและกงิ่ ต่อไป 4. ลาตน้ ออ่ น (Young stem) อยถู่ ัดจากตาแหนง่ ใบเร่ิมเกิดลงมา ประกอบด้วยเนื้อเยอ่ื เจริญทีเ่ ซลลย์ งั มกี ารแบง่ ตัว และเรมิ่ มีการเปล่ยี นสภาพเพื่อทาหน้าที่เฉพาะ 3. โครงสร้างภายในของลาต้นตดั ตามขวาง ภาพที่ 3 โครงสร้างตดั ตามขวางของลาต้น เนื้อเย่ือตัดตามขวางของลาต้นพชื สามารถแบง่ ออกได้ 3 บรเิ วณดงั น้ี 1. เอพิเดอร์มสิ (Epidermis) เปน็ เนื้อเยื่อชั้นนอกสดุ ประกอบดว้ ยเซลลผ์ วิ และเซลล์คุม 2. คอรเ์ ทกซ์ (Cortex) เปน็ บรเิ วณที่อยู่ถัดจากเนื้อเยื่อช้ันเอพิเดอรม์ ิสเขา้ ไป ประกอบด้วยเนื้อเยื่อ หลายชนิด เช่น พาเรงคิมา คอลเลงคิมา และไฟเบอร์ เปน็ ตน้ คอร์เทกซข์ องลาตน้ พืชใบเลยี้ งคู่ ประกอบด้วยเซลล์เรยี งตวั เพียงไมก่ ี่ช้ัน ส่วนของพืชใบเล้ียงเดย่ี วไม่ มีขอบเขตชดั เจน 3. สตลี (Stele) เปน็ บรเิ วณทอ่ี ยถู่ ัดจากชั้นคอรเ์ ทกซ์เข้าไป แตแ่ บ่งแยกจากชัน้ คอร์เทกซ์ได้ไมช่ ัดเจน นกั โดยทั่วไปสตลี จะมีขอบเขตกว้างมาก ประกอบดว้ ยกลุ่มของเน้ือเย่ือต่างๆ ดงั น้ี 3.1 วาสควิ ลารบ์ ันเดลิ (Vascular bundle) ประกอบดว้ ยกลมุ่ เน้อื เยื่อลาเลยี งนา้ (Xylem) และ เน้อื เยอื่ ลาเลยี งอาหาร (Phloem)

37 3.2 พธิ (Pith) เปน็ เนอ้ื เยื่อช้ันในสดุ ของลาต้น ประกอบด้วยเนือ้ เยื่อพาเรงคิมาทท่ี าหนา้ ท่สี ะสมแปง้ หรือสารต่าง ๆ โครงสรา้ งตัดตามขวางของพชื ใบเลี้ยงคู่ (Dicot) กลุม่ ท่อลาเลยี ง (Vascular bundle) เรยี งตวั เป็นระเบียบรอบๆ ลาต้น โดยมี Phloem เรยี งตัวอย่ชู ้ันนอก และ Xylem เรยี งตัวอย่ชู ้นั ใน ในแนวรศั มีเดียวกัน มี Vascular cambium ก้นั ระหวา่ ง Xylem และ Phloem โครงสรา้ งตดั ตามขวางของพชื ใบเลย้ี งเดี่ยว (Monocot) กลุ่มท่อลาเลียง (Vascular bundle) ถูกห่อหุม้ ดว้ ยเนอ้ื เยื่อ Bundle sheath กระจัดกระจายไปท่ัวท้ัง ลาตน้ เรียงตัวไมเ่ ปน็ ระเบยี บ ไมม่ ี Vascular cambium กั้นระหว่าง Xylem และ Phloem ภาพ Dicot stem anatomy

38 ภาพ Monocot stem anatomy ภาพเปรียบเทยี บลาตน้ พชื ใบเล้ยี งเดี่ยวและพืชใบเลยี้ งคู่

39 4. ลาตน้ ทีเ่ ปล่ยี นแปลงเพือ่ ทาหน้าท่เี ฉพาะ (Specialized Modified Stems) 4.1 ตัวอยา่ งลาต้นที่เจรญิ อยู่เหนือระดบั ผิวดนิ ลาต้นคลา้ ยใบ (Cladophyll) หนามจากลาต้น (Thorn) ลาตน้ มอื เกาะ (Stem tendril) 4.2 ตวั อย่างลาตน้ ท่เี จรญิ อยู่ใต้ระดับผวิ ดนิ เหง้า (Rhizome) เผือก (Corm) หวั แบบมันฝรงั่ (Tuber) ตารางเปรียบเทยี บชนิดของเซลลห์ รือเนอ้ื เยื่อและการจดั เรยี งเนื้อเย่อื บรเิ วณลาตน้ พืชใบเล้ยี งคแู่ ละ ลาต้นพชื ใบเลี้ยงเดี่ยว คาช้ีแจง ใหน้ กั เรียนเขียนข้อความระบุความแตกตา่ งของเน้ือเย่อื บรเิ วณลาตน้ พชื ใบเล้ียงคูแ่ ละลาตน้ พืช ใบเล้ยี งเดีย่ วให้ถกู ตอ้ ง ชัน้ เนื้อเยื่อ ลาต้นพชื ใบเล้ยี งคู่ ลาตน้ พชื ใบเล้ียงเดยี่ ว 1. Epidermis เรียงเป็นแถวเดยี ว ประกอบด้วย 2. Cortex Epidermal cells, Guard cells, Trichome 3. Stele ไมช่ ัดเจน ประกอบดว้ ย Parenchyma 2 - 3.1 Vascular bundle 3 ช้ัน และมกั พบ Sclerenchyma อยู่ถดั จาก Parenchyma เข้ามาด้านใน พบจานวนหลายกลุ่มเรยี งตัวเป็นหน่งึ วง แต่ ไม่สามารถแยกได้ชดั เจน ละกลมุ่ ประกอบดว้ ย Xylem อยดู่ ้านใน และ Phloem อยดู่ า้ นนอก โดยเรยี งตวั ใน แนวรศั มีเดยี วกัน 3.2 Pith

40 ตารางเปรยี บเทยี บความแตกต่างของเนอื้ เย่อื ชั้นต่าง ๆ ของรากและลาตน้ คาชีแ้ จง ให้นกั เรียนเขียนข้อความระบุความแตกตา่ งของเนือ้ เยอื่ ท่พี บในรากและลาต้นในตารางใหถ้ ูกตอ้ ง ข้อเปรียบเทียบ ความเหมือน/ความแตกตา่ ง ลาตน้ ราก 1. Epidermis - เรยี งเป็นแถวเดยี ว - มขี นราก - เซลลผ์ วิ ไมม่ ีคิวทินเคลอื บ - ไม่มปี ากใบ 2. Cortex - ขอบเขตกว้างเม่ือเทียบกับสตลี ในระยะ การเติบโตปฐมภูมิ - ส่วนใหญ่พบ Parenchyma - พบ Endodermis 3. Stele - ขอบเขตแคบเมอ่ื เทียบกับ Cortex ในระยะการ เติบโตปฐมภมู ิ - พบ Pericycle - Vascular bundle มี 1 กลุม่ ลกั ษณะเป็นแฉก - มี Pith เฉพาะในรากพชื ใบเลี้ยงเดย่ี ว 4. จดุ กาเนดิ ของแขนง - รากแขนงเจรญิ มาจาก Pericycle

41 การเจริญเติบโตของพืช (Plant growth) แบ่งออกเปน็ 2 ระดบั ดงั น้ี 1. การเจริญขัน้ ปฐมภูมิ (Primary growth) : เพมิ่ ความยาวของปลายรากและปลายยอดของพชื 2. การเจรญิ ขน้ั ทตุ ยิ ภมู ิ (Secondary growth) : เพิ่มขนาดเสน้ ผ่านศนู ย์กลางของลาต้น การเจรญิ ขั้นปฐมภมู ิ (Primary growth) Apical Primary Permanent Lateral Permanent tissue meristem meristem tissue meristem Protoderm Epidermis Secondary xylem Procambium Vascular cambium Secondary phloem Apical Primary xylem meristem Primary phloem Pith Cork cambium Cork Ground meristem Cortex Phelloderm Primary growth Secondary growth การเจรญิ ขั้นทุตยิ ภูมิ (Secondary growth)  พบในพืชใบเล้ยี งคู่  Vascular cambium ท่ีอย่รู ะหวา่ ง Primary xylem และ Primary phloem แบง่ เซลล์เพอ่ื สร้าง Secondary xylem เขา้ ภายใน และสรา้ ง Secondary phloem ออกข้างนอก  อัตราการแบ่งเซลลเ์ พือ่ สรา้ ง Secondary xylem สงู กว่า Secondary phloem  Primary xylem ถกู ดันเข้าดา้ นในและ Primary phloem ถูกดนั ออกด้านนอกจึงเบียดช้ัน Cortex ภาพ Secondary growth

42 โครงสรา้ งภายในของรากระยะท่ีมกี ารเตบิ โตทตุ ิยภูมิ  การเติบโตทุตยิ ภูมิของรากพืชใบเลี้ยงคเู่ กิดจากการแบ่งเซลล์ของเนื้อเย่ือเจรญิ ดา้ นข้าง  วาสคิวลารแ์ คมเบยี มแบ่งเซลลส์ ร้างไซเล็มทุติยภูมิทางดา้ นใน และโฟลเอ็มทุติยภมู ิทางด้านนอก ทา ใหเ้ กิดเนื้อเยอื่ ท่อลาเลียงทุตยิ ภมู ิเพม่ิ ขนึ้  เซลล์บรเิ วณเพรไิ ซเคิลเปลีย่ นสภาพเปน็ คอร์แคมเบยี ม โดยจะแบง่ เซลล์ใหเ้ ซลลค์ อร์กด้านนอก และเฟลโลเดริ ์มดา้ นใน ภาพโครงสรา้ งภายในของรากระยะทีม่ กี ารเตบิ โตทตุ ิยภูมิ

43 โครงสรา้ งภายในของลาต้นระยะทม่ี กี ารเตบิ โตทตุ ิยภมู ิ  การเตบิ โตทตุ ิยภมู ิของรากพชื ใบเลี้ยงคเู่ กดิ จากการแบ่งเซลล์ของเน้ือเย่ือเจริญด้านข้าง  วาสคิวลาร์แคมเบียมจะเชื่อมเรียงตัวเป็นวง และทาหน้าท่ีแบ่งเซลล์สร้างไซเล็มทุติยภูมิทางด้านใน และโฟลเอม็ ทุติยภมู ิทางดา้ นนอก   Xylem ท่ีอยู่ช้ันใน มีอายุมาก มีการสะสมสารอินทรีย์ต่างๆ เช่น เรซิน แทนนิน ลิกนิน และสาร อนื่ ๆ ทาให้มีความแขง็ แรงและอุดตนั จึงไมส่ ามารถลาเลียงน้าได้ มีสีเข้ม เรียกว่า แก่นไม้ (Heartwood) ซึ่งจะ มีความหนามากขึน้ เรือ่ ยๆ  Xylem ท่ีอยตู่ ดิ กับ Vascular cambium ซึ่งมสี จี างกวา่ ยังคงทาหนา้ ทลี่ าเลยี งนา้ ได้เรียกว่า กระพี้ไม้ (Sapwood) ช้นั นี้มีความหนาค่อนขา้ งคงท่ี  Wood = Sapwood + Heartwood ----Vascular cambium ภาพ Secondary growth : forming wood

44 วงปี (Annual ring) คอื Secondary xylem ท่ีเกดิ จากการแบ่งตัวของ Vascular cambium โดยใน 1 วง ปี ประกอบดว้ ยเนอ้ื ไม้ 2 ชนดิ คือ 1. Spring wood (Early wood) : เซลลม์ ขี นาดใหญ่ ผนังบาง สจี าง แถบกวา้ ง เกิดขน้ึ ในฤดูฝน 2. Summer wood (Late wood) : เซลล์มีขนาดเล็ก ผนงั หนา สเี ขม้ แถบแคบ เกดิ ขึ้นในฤดูแลง้ เปลือกไม้ (Bark) คือส่วนทถ่ี ัดออกมาจาก vascular cambium ท้งั หมด  พืชอายนุ ้อย : epidermis + cortex + phloem  พืชอายุมาก : secondary phloem + periderm ภาพ Annual ring

45 ใบ (Leaf) 1. โครงสรา้ งภายนอกของใบ ประกอบด้วย 2 ส่วนดังนี้ 1. กา้ นใบ (Petiole) เป็นสว่ นที่ด้านหนง่ึ ติดกบั ลาตน้ หรอื ก่ิงและอีกดา้ นหนึง่ ติดกับแผน่ ใบ ทซี่ อกกา้ นใบมี ตาตามซอก พชื ใบเลี้ยงเด่ยี วอาจมหี รอื ไม่มีกา้ นใบ กา้ นใบอาจแผอ่ อกเป็นแผ่น เรียกวา่ กาบใบ (Leaf sheath) เช่น ขา้ วโพด กล้วย เป็นต้น 2. แผน่ ใบ (Blade) เปน็ สว่ นที่แผ่เป็นแผ่นแบน ลกั ษณะแบนของแผน่ ใบมีประโยชน์ในการชว่ ยเพิ่มพ้ืนทีผ่ ิว เพอื่ รบั แสงมาใชเ้ ป็นแหล่งพลังงานในกระบวนการสังเคราะหด์ ว้ ยแสงของพืชและชว่ ยในการระบายความร้อน แผ่นใบจะมเี สน้ ใบ (Vein) แตกแขนงไปทว่ั ทงั้ แผน่ ใบ โดยตรงกลางแผน่ ใบจะมีเสน้ กลางใบ (Midrib) เชือ่ มต่อกับปลายของกา้ นใบจนตลอดความยาวของแผ่นใบ ต่อจากสว่ นของเสน้ กลางใบจะมเี ส้นใบและเส้นใบ ยอ่ ย (Veinlet) ทมี่ ขี นาดใหญ่เล็กลดหล่นั กันไปเปน็ ส่วนประกอบโครงสรา้ งของแผ่นใบ ใบบางชนิดพบหใู บ (Stipule) มหี น้าทีห่ มุ้ หรอื ป้องกันส่วนอื่นของใบขณะยังอ่อนอย่เู อาไว้ ภาพโครงสรา้ งภายนอกของใบ 2. ประเภทของใบ แบ่งตามจานวนแผ่นใบที่ติดอยู่ทีก่ า้ นใบ 1 กา้ น ดงั นี้ 2.1 ใบเดี่ยว (Simple leaf) มีแผ่นใบ 1 แผน่ ติดอยู่ที่กา้ นใบ 2.2 ใบประกอบ (Compound leaf) มแี ผน่ ใบหลายแผ่นหรอื ใบย่อย (Leaflet) ตดิ อยู่ทกี่ ้านใบ

46 3. โครงสรา้ งภายในของใบ โครงสรา้ งภายในของใบท่ีได้จากการตดั ตามขวาง มกี ารจัดเรียงเน้ือเยอื่ ดังน้ี 1. Epidermis เปน็ เนอื้ เยื่อชั้นนอกสดุ ประกอบดว้ ยเซลล์รปู รา่ งสี่เหลี่ยมเรียงตัวเป็นระเบียบ เซลลเ์ อพเิ ดอรม์ สิ บางชนิดอาจมกี ารเปลีย่ นแปลงรปู รา่ งเป็นเซลล์คมุ เซลลข์ น หรอื เซลล์ตอ่ ม - พบด้านหลงั ใบ (Dorsal side) เรียกวา่ Upper epidermis - พบดา้ นท้องใบ (Ventral side) เรียกวา่ Lower epidermis 2. Mesophyll เปน็ ชัน้ ทีอ่ ยู่ถดั เข้ามาจากเอพิเดอร์มสิ ประกอบด้วยเซลลพ์ าเรงคิมาท่ีมีคลอโรพลาสต์ เรียกวา่ คลอเรงคิมา (Chlorenchyma) ทาหน้าท่ีสงั เคราะห์ด้วยแสง มีโซฟลิ ล์แบง่ ออกเป็น 2 สว่ น คือ 2.1 Palisade mesophyll หรือ Palisade cell พบอยตู่ ิดกบั Upper epidermis ประกอบดว้ ย เซลล์รูปร่างยาวเรยี งตวั ตดิ กนั แน่น เป็นระเบยี บ ตง้ั ฉากกับช้ันเอพเิ ดอรม์ สิ ภายในเซลล์มีคลอโรพลาสต์ หนาแนน่ มาก ทาให้ดา้ นหลงั ใบมสี ีเขยี วเข้ม 2.2 Spongy mesophyll หรือ Spongy cell อยถู่ ัดลงมาจากชัน้ Palisade cell จนถงึ ชั้น Lower epidermis ประกอบด้วยเซลล์รปู ร่างไม่แนน่ อน เรียงตวั กนั อยา่ งหลวมๆ มีชอ่ งว่างระหวา่ งเซลล์มาก ภายในเซลล์มคี ลอโรพลาสตห์ นาแนน่ นอ้ ยกว่า Palisade cell จงึ ทาหนา้ ทีส่ ังเคราะห์ด้วยแสงไดน้ ้อยกวา่ และ ยังทาหน้าที่เป็นแหล่งเกบ็ อาหารช่ัวคราว 3. Vascular bundle คือส่วนของเส้นใบ (Vein) ท่ีแทรกอยู่ภายในใบ ประกอบดว้ ย Xylem และ Phloem และมกี ลุ่มเซลลล์ ้อมรอบ เรยี กวา่ Bundle sheath ทาใหม้ ัดท่อลาเลียงแข็งแรงย่งิ ขนึ้ กล่มุ ท่อ ลาเลยี งมักแทรกตัวอยู่ในช้นั Spongy cell ภาพโครงสร้างภายในใบ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook