Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สื่อการเรียนการสอนรายวิชาเครื่องรับวิทยุ

สื่อการเรียนการสอนรายวิชาเครื่องรับวิทยุ

Published by monthree2562, 2020-06-24 02:45:44

Description: วัตถุประสงค์ของการจัดการ E-Book online เพื่อใช้ปรกอบการเรียนการสอนออนไลน์ในรายวิชาเครื่องรับวิทยุ ประจำภาคเรียนที่ 1/2563 สาขาวิชาช่างอิเล็กทรอนิกส์ วิทยาลัยการอาชีพนาแก

Keywords: การจัดการเรียนการสอนออนไลน์,Online Leaning,Blended Leaning

Search

Read the Text Version

สื่อการสอน วชิ าเครอ่ื งรับวิทยุ รหสั วิชา 2105 - 2009 โดย นายมนตรี เชื้อดวงผยู ตาแหน่งพนกั งานราชการ (คร)ู แผนกวิชาชา่ งอิเลก็ ทรอนิกส์ วทิ ยาลัยการอาชีพนาแก

คลน่ื วิทยแุ ละการกระจายเสียง Radio Wave & Broadcast

ที่มาของคล่นื วิทยุ ◆ คล่นื วิทยุ ( RADIO FREQUENCY : RF ) ไดม้ กี ารค้นพบทางทฤษฎี โดย JAMES CLERK MAXWELL ใน ค.ศ. 1864 กลา่ วไว้ ว่า คลน่ื วิทยุ คือ คลื่นแมเ่ หล็กไฟฟ้า ซ่งึ มีความเร็วเทา่ กบั ความเร็ว ของแสง คือ 3*108 เมตร/วินาที ตอ่ มาในปี ค.ศ. 1877 HEINRICH HERTZ ไดท้ าการทดลอง และพสิ จู น์ให้ เหน็ ว่า คลืน่ วทิ ยมุ ีจริง หลงั จากนนั้ กไ็ ดม้ ีการศกึ ษาค้นควา้ เกีย่ วกับคลนื่ วิทยุ และการกระจายคลน่ื วิทยุให้กา้ วหนา้ ต่อไปในปจั จบุ นั ◆ Heinrich Rudoff Hertz ผคู้ น้ พบคลนื่ วทิ ยุ

นักวิทยาศาสตรท์ ่ี พฒั นาการสื่อสาร ◆ ค.ศ. 1820 Hans Christian Orsted คน้ พบ ความความสัมพนั ธ์ระหว่างแมเ่ หล็กและไฟฟ้า ค.ศ. 1830 Samuel P.B. Morse ประดิษฐเ์ คร่อื งรับ สง่ โทรเลขขนึ้ ซ่งึ สามารถรบั ส่งตัวอักษรได้ ในระยะ ทางไกลโดยใช้สญั ญาณไฟฟา้ ในรูปรหสั ท่เี รยี กว่า Morse Code

Alexander Graham Bell ◆ ไดป้ ระดิษฐโ์ ทรศพั ท์ข้นึ ใช้ โดยประดิษฐ์ เคร่ืองโทรศพั ทท์ ท่ี าหน้าที่ เปลีย่ นพลังงาน เสยี งพูดเปน็ พลงั งานไฟฟ้าสง่ ไปตามสาย ค.ศ. 1878 กาเนิดชมุ สายโทรศัพท์แบบ Manual (ใช้พนกั งานต่อ) แห่งแรก ต้ังขึน้ ท่ี New Haven Conn., U.S.A. มีผูเ้ ชา่ เพยี ง 21 ราย ค.ศ. 1892 กาเนดิ ชุมสายโทรศัพทแ์ บบอัตโนมตั ิ โดย Almon B. Strowger ชาวอเมริกา เปน็ ชมุ สายแบบ Step by Step

ไฮน์รชิ เฮิรตซ์ Heinrich Hertz ◆ เมอื่ พ.ศ. 2431 นักฟิสิกสช์ าวเยอรมนั เชื้อสายยวิ ผหู้ นง่ึ ชื่อ ไฮน์รชิ เฮิรตซ์ ได้คน้ พบคลื่น แมเ่ หล็กไฟฟ้าระหว่างขวั้ ไฟฟ้าสองข้ัวทเ่ี กดิ จาก การสปาร์ก และรับสัญญาณทส่ี ปารก์ น้ไี ด้ใน ระยะไกลหลายเมตร การคน้ พบครง้ั นี้ถือได้ว่าเป็น การค้นพบทางวทิ ยาศาสตรค์ รง้ั สาคญั ทส่ี ุดครงั้ หน่งึ เพราะต่อมาได้มีการนาคลนื่ แม่เหล็ก ไฟฟา้ ท่ี เฮิรตซ์ค้นพบ (ซ่ึงในสมยั นนั้ เรียกวา่ คล่นื เฮริ ตซ์ (Hertzianwaves) มาประยุกต์ใชใ้ นการสอ่ื สาร

มาร์โคนี Guglielmo Marconi ◆ โดยใน พ.ศ. 2441 มาร์โคนี นักประดิษฐ์ชาวอิตาเลียน สามารถสร้าง ระบบสง่ และรับโทรเลขโดยใชค้ ลนื่ แม่เหลก็ ไฟฟ้าไดเ้ ปน็ ผลสาเรจ็ ถดั มา อีก 3 ปี คือใน พ.ศ. 2444 มารโ์ คนี ประสบความสาเรจ็ คร้ังใหญ่เมอื่ สามารถส่งคลน่ื เฮิรตซข์ า้ มมหาสมุทรแอตแลนติก จากประเทศอังกฤษไป ยังนวิ ฟาวนแ์ ลนด์ ประเทศคานาดา

มาร์โคนี Guglielmo Marconi ◆ ความสาเรจ็ ของมาร์โคนเี ปน็ การเปิด โฉมหน้าใหม่ของการตดิ ต่อสอื่ สาร ระยะไกลโดยใชค้ ลน่ื แม่เหลก็ ไฟฟ้าเป็น ครั้งแรก มีผลทาให้การสอื่ สารเป็นไป อยา่ งสะดวกและรวดเรว็ ต่อมาเมื่อมี การผสมสญั ญาณเสยี ง สัญญาณภาพ เขา้ กับคลืน่ แมเ่ หลก็ ไฟฟา้ ได้กท็ าให้ เกดิ วิทยุกระจายเสียง และวทิ ยุ โทรทศั น์ ตามลาดับ

ประวัตแิ ละความเป็นมาของเคร่อื งรบั วทิ ยุในประเทศไทย ◆ วา่ วทิ ยุ พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกล้าเจ้าอย่หู ัว ทรงบญั ญตั ขิ ึ้นเพอ่ื ใช้แทนคาวา่ เรดิโอ (Radio) ในภาษาอังกฤษ ซ่งึ หมายถงึ การรับและสง่ ขา่ ว ด้วยคลนื่ แมเ่ หล็กไฟฟา้ หรอื คลื่นวทิ ยุโดยไมต่ ้องใชส้ ายเชือ่ มตอ่ กันระหว่าง เครื่องรบั กับเครอื่ งส่ง หากสง่ ขา่ วสารเปน็ รหสั สญั ญาณไฟฟ้าเพยี งอย่างเดียว แทนภาษาพูด ก็เรียกว่าวิทยโุ ทรเลข (Radio Telegraph) คอื การส่งโทรเลข โดยใชค้ ล่นื วทิ ยุน่ันเอง หากส่งให้ออกเปน็ เสยี งพูดหรอื เสียงอ่ืนไดโ้ ดยตรง เรียกว่า วิทยุกระจายเสยี ง (Radio Broadcasting) เช่น การสง่ กระจายเสยี ง ของสถานีวิทยุกระจายเสยี งตา่ งๆ ท่รี ับฟงั กนั อย่ทู ัว่ ไป

2.ประวัตวิ ทิ ยใุ นประเทศไทย ◆ วทิ ยุโทรเลข ถูกนาเขา้ มาทดลองใช้ในประเทศไทยคร้งั แรกเมื่อ พ.ศ. 2447 ตรงกับ ปลาย รชั กาลที่ 5 โดยห้างบกี รมิ ซ่งึ เป็นตัวแทนของบรษิ ทั วิทยโุ ทรเลขเทเลฟงุ เกน ประเทศเยอรมนั ทาการทดลอง สง่ ระหวา่ งกรงุ เทพมหานครกับเกาะสชี ัง พ.ศ.2456 สมยั รชั กาลท่ี 6 กระทรวงทหารเรอื จัดตัง้ สถานีวทิ ยโุ ทรเลขขึน้ ทต่ี าบลศาลาแดงในพระนคร แห่งหนง่ึ และท่จี ังหวัดสงขลาอกี แห่งหนง่ึ ต่อมา พ.ศ. 2469 ได้โอนกิจการสถานีวิทยุท้งั สองแหง่ ใหก้ รมไปรษณยี ์โทรเลข และตอ่ มางานวิทยโุ ทรเลขได้ขยายไปสูจ่ งั หวดั ตา่ งๆท่วั ประเทศ ◆ วทิ ยกุ ระจายเสยี ง เกดิ ขึ้นครงั้ แรกในปี พ.ศ. 2471 โดยการเริ่มทดลองส่งของ พระ เจ้าบรมวงศ์เธอพระองค์เจ้าบรู ฉตั รไชยากร กรมพระยากาแพงเพชรอัครโยธิน เสนาบดี กระทรวงพานชิ ย์ และการคมนาคมในสมยั รัชกาลท่ี7ต้ังสถานี4 พีเจ (4PJ) ขึ้นอยใู่ น ความดูแลของกองช่างวิทยกุ รมไปรษณยี โ์ ทรเลข แต่การกระจายเสยี งจากดั อย่ใู นหมู่ เจา้ นายข้าราชการจนกระท่ัง

2.ประวัตวิ ทิ ยใุ นประเทศไทย ◆ พ.ศ.2472 จงึ ตั้งสถานีวิทยุแห่งใหมข่ ้นึ ทว่ี ังพญาไทกระจายเสยี งพระราช ดารสั ของพระบาทสมเดจ็ พระปกเกลา้ เจ้าอยู่หวั ใหป้ ระชาชนทัว่ ไปไดร้ ับฟัง ซง่ึ ถือวา่ เปน็ การสง่ วทิ ยุกระจายเสยี งคร้งั แรกของประเทศไทย ◆ พ.ศ.2475 เกดิ การปฏิวัติเปลีย่ นแปลงการปกครองคณะราษฎรไ์ ดใ้ ช้ วทิ ยกุ ระจายเสยี งเผยแพรข่ า่ วใหป้ ระชาชนทราบอย่างตอ่ เนอ่ื ง ◆ พ.ศ.2482 รฐั บาลตั้งสานกั งานโฆษณาการขนึ้ และโอนสถานีวิทยตุ า่ งๆ ใหอ้ ยูใ่ นการควบคมุ ดูแลของสานักงานโฆษณาการ (ภายหลงั เปล่ียนกรม โฆษณาการและเปน็ กรมประชาสมั พนั ธใ์ นปัจจุบัน) เรียกสถานีวิทยใุ หมว่ า่ \"สถานีวทิ ยกุ ระจายเสียงแห่งประเทศไทย“ วิวัฒนาการวิทยกุ ระจายเสยี งใน ประเทศไทยนั้น โดยสรปุ เราสามารถแบ่งได้เป็น 6 ยคุ คอื

วิวฒั นาการวทิ ยุกระจายเสยี งในประเทศไทยน้นั โดยสรปุ เรา สามารถแบ่งได้เปน็ 6 ยุค คือ ◆ ยคุ วิทยโุ ทรเลข (พ.ศ. 2447-2469) ◆ ยคุ ทดลองส่งกระจายเสยี งและจดั ตง้ั สถานวี ิทยุ (พ.ศ. 2470 – 2474) ◆ ยคุ วทิ ยกุ ับการเปลย่ี นแปลงการปกครอง (พ.ศ. 2475-2482) ◆ ยุควิทยุกบั การโฆษณาชวนเช่อื ของรัฐบาลทหาร (พ.ศ. 2483-2515) ◆ ยุควทิ ยกุ บั การเรยี กรอ้ งประชาธิปไตย (พ.ศ. 2516-2525) ◆ ยุคการขยายตวั ทางธุรกิจและเสรีภาพวทิ ยุ (พ.ศ.2526- ปจั จบุ ัน)

ยคุ วิทยุโทรเลข (พ.ศ. 2447-2469) ◆ เร่มิ ต้นในสมยั พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกลา้ เจ้าอยู่หัว เมอ่ื วันที่ 4 เมษายน พ.ศ. 2447 หา้ งบกี ริมม์ ซงึ่ เปน็ ผู้แทนบรษิ ทั วทิ ยุโทร เลข ‘เทเลฟุงเกน็ ’ ของเยอรมนั ไดแ้ จง้ ตอ่ กระทรวงโยธาธิการขอ อนุญาตทดลองจดั ตง้ั สถานวี ิทยโุ ทรเลขช่ัวคราวขน้ึ ท่ีกรุงเทพฯ บรเิ วณภูเขาทอง วัดสระเกศ ◆ วันที่ 1 สงิ หาคม พ.ศ.2469 และมกี ารจดั ต้งั สถานวี ทิ ยคุ มนาคม ขน้ึ ในจงั หวัดและอาเภอต่างๆ รวม 50 สถานี

ยคุ ทดลองสง่ กระจายเสยี งและจัดตั้งสถานวี ิทยุ (พ.ศ. 2470 – 2474) ◆ พลเอกพระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ พระองคเ์ จา้ บรู ฉตั รไชยากร กรมพระ กาแพงเพชรอคั รโยธิน เสนาบดกี ระทรวงพาณิชยแ์ ละคมนาคม ในสมัย รชั กาลท่ี 7 ทรงดาริใหท้ ดลองตัง้ สถานวี ิทยกุ ระจายเสียงเปน็ ครงั้ แรก ◆ 31 พฤษภาคมพ.ศ.2471ได้เรมิ่ มีการส่งวิทยุกระจาย เสยี งเป็นประจาจาก ช่างวิทยกุ รมไปรษณยี โ์ ทรเลข และ ไดเ้ รยี กสถานี วทิ ยุกระจายเสียงแหง่ นวี้ า่ “4 พีเจ”(HS 4 PJ) ◆ เมอ่ื วันพธุ ที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2473 กองชา่ งวทิ ยุ กรมไปรษณยี ์โทรเลข ได้เปิดสถานวี ทิ ยกุ ระจาย เสียงถาวรแห่งแรกของประเทศไทย ชื่อวา่ สถานี วทิ ยกุ รงุ เทพฯที่พญาไท พิธีเปดิ ดงั กลา่ วตรงกบั วนั ฉตั รมงคล พระบาทสมเด็จพระปกเกลา้ เจา้ อยหู่ วั จงึ ไดอ้ ัญเชญิ กระแสพระราชดารสั ของพระบาทสมเด็จพระปกเกลา้ เจา้ อยู่หวั จากพระท่ีน่งั อมั รนิ ทรว์ นิ ิจฉยั ใน พระบรมมหาราชวังวนั ที่ 10 กุมภาพนั ธ์พ.ศ.2474ที่

ยคุ วิทยกุ บั การเปลยี่ นแปลงการปกครอง (พ.ศ.2475 – 2482) ◆ วันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2475 แผนกวิทยกุ ระจาย เสยี งในกองช่างวิทยุ กรมไปรษณยี ์โทรเลข ได้เปิดรับการ โฆษณา “ประกาศการคา้ ขายการทามาหากนิ ในเชิงคา้ อตุ สาหกรรมและ วชิ าชพี โดยทางวิทยุกระจายเสยี ง” ◆ เมือ่ มีการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบรู ณาญาสิทธริ าชยม์ า เปน็ ระบอบประชาธิปไตย โดยคณะราษฎร์ นาโดยพนั เอกพระยาพหลพล พยหุ เสนา และพันเอกพระยาทรงสรุ เดชและหลวงประดษิ ฐ์มนธู รรม ได้ใช้ วทิ ยุกระจายเสยี งเพอ่ื เป็นกระบอกเสียงของรฐั บาลในการแพรก่ ระจาย ข่าวไปสู่ประชาชน

ยุควทิ ยกุ บั การโฆษณาชวนเช่อื ของรฐั บาลทหาร (พ.ศ. 2483-2515) ◆ ชว่ งปี พ.ศ. 2483-2484 ในกรณีเรียกรอ้ งดนิ แดนคืนจากฝรั่งเศส รฐั บาลหลวงพิบูลสงครามไดส้ ร้างกระแสชาตินยิ ม ให้เกิดขึน้ โดยจดั ตงั้ สถานีวทิ ยเุ คล่อื นท่ี 12 สถานีตามแนวชายแดนอาเภอเชียงแสน จงั หวัดเชียงราย และจังหวัด ตราด เพอื่ โฆษณาให้ประชาชนรวมใจกันเรียกรอ้ งดนิ แดน ◆ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2484 กรมโฆษณาการได้เปลย่ี นชอ่ื เรียกสถานีวทิ ยุจากเดิมเป็นสถานวี ทิ ยกุ ระจายเสียงแห่ง ประเทศไทย และถอื เปน็ สถานีวทิ ยกุ ระจายเสียงแห่งชาติ ◆ ช่วงสงครามโลกครง้ั ที่ 2 (พ.ศ.2484 – 2488) วิทยมุ บี ทบาทมากในการโฆษณาชวนเชอ่ื ของทั้งสองฝ่าย นอกจากน้ี รัฐบาลยังคงเน้นเน้อื หาชาตินิยมในรายการและปลกุ กระแสประชามตใิ นการเป็นพันธมติ รสงครามระหวา่ งไทยกบั ญ่ปี นุ่ ชว่ งปี พ.ศ. 2492 – 2500 จอมพล ป. พบิ ูลสงคราม ได้มกี ารตั้งโครงการพฒั นา กิจการวิทยกุ ระจายเสียง โดยกอ่ ต้ังสถานวี ิทยุ ท.ท.ท. บริษทั ไทยโทรทศั น์ จากดั เป็นสถานวี ทิ ยกุ ระจายเสียงแห่ง แรกทจ่ี ดทะเบยี นเป็นบริษทั ออกอากาศดว้ ยระบบเอฟเอ็มแหง่ แรกของประเทศ และในวนั ท่ี 8 มนี าคม พ.ศ. 2495 ได้เปลี่ยนช่ือ “กรมโฆษณาการ” เปน็ “กรมประชาสมั พนั ธ์” จนกระทั่งปัจจุบนั ◆ วันท่ี 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2510 สถานีวทิ ยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทยออกอากาศคลนื่ สั้นไปต่างประเทศ ด้วย กาลังสง่ 100 กโิ ลวตั ตเ์ ทา่ กับคลนื่ ยาวในประเทศ โดยมีเครือ่ งสง่ อยูท่ อี่ าเภอคลองหลวง จงั หวดั ปทมุ ธานี ปี พ.ศ. 2511 ได้มีการออกระเบยี บวา่ ด้วยวิทยุกระจายเสยี งของส่วนราชการเพอื่ ควบคุมการโฆษณา ไมใ่ หว้ ทิ ยุกระจายเสียง มีโฆษณามากเกนิ ไป และในช่วงเวลาเดยี วกัน รฐั บาลจอมพลถนอม ได้ใหส้ ิทธิแกร่ ัฐบาลสหรัฐในการกอ่ ตง้ั สถานี วทิ ยเุ อเซียเสรี เพอ่ื วัตถุประสงค์ในการต่อต้านคอมมิวนสิ ต์

ยุควิทยุกบั การเรียกรอ้ งประชาธิปไตย (พ.ศ. 2516-2525) ◆ ช่วงการปฏวิ ตั ิ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 สื่อวิทยเุ ป็นกระบอกเสยี งของรัฐบาลในการโฆษณา ชวนเชือ่ และบิดเบอื นขา่ วสารเกยี่ วกบั การเดินขบวนเรียกรอ้ งประชาธิปไตยของนสิ ติ นกั ศึกษา ◆ พ.ศ. 2518 รฐั บาลภายหลงั การเลอื กตั้ง ไดป้ ระกาศใช้ระเบยี บวา่ ดว้ ยวทิ ยกุ ระจายเสยี งและ วิทยุโทรทัศน์ พ.ศ. 2518 และมีการจัดตง้ั คณะกรรมการบริหารวิทยกุ ระจายเสยี งและวิทยุ โทรทศั น์ หรือ กบว. เป็นคณะกรรมการทคี่ อยกากับดแู ลสถานวี ิทยแุ ละโทรทัศน์ โดย กาหนดใหม้ โี ฆษณาทางวิทยุไดไ้ มเ่ กนิ ชั่วโมงละ 8 นาทแี ละ ทกุ สถานตี ้องเก็บเทปบนั ทกึ รายการไวเ้ พ่อื ใหก้ บว. ตรวจสอบ ◆ เหตกุ ารณ์ 6 ตุลาคม 2519 ฝ่ายขวาและทหารไดใ้ ชว้ ทิ ยเุ ป็นเครือ่ งมือต่อตา้ นกระแสการ เคลื่อนไหวของนิสติ นกั ศึกษา และ ภายหลงั ทคี่ ณะปฎริ ูปการปกครองแผน่ ดินเขา้ ยึดอานาจ ได้ออกคาสัง่ คณะปฏิรปู การปกครองแผน่ ดนิ ฉบับท่ี 15 เพอื่ ควบคุมการเสนอขา่ วทางวทิ ยุ และบังคับให้ทกุ สถานถี า่ ยทอดข่าวจากสถานวี ิทยแุ ห่งประเทศไทยวนั ละ 4 ครงั้ และ ถา่ ยทอดรายการ “เพื่อแผน่ ดินไทย” จากกองบญั ชาการทหารสูงสดุ นิสติ นักศกึ ษาท่ีหนไี ป ร่วมกับพรรคคอมมวิ นสิ ต์ ไดใ้ ช้ส่ือวทิ ยุ “เสยี งประชาชนแห่งประเทศไทย” ตอบโตร้ ฐั บาล ซงึ่ เปน็ สถานีวิทยคุ ลนื่ สนั้ ตงั้ อย่ทู างตอนใตข้ องประเทศจนี ออกอากาศเปน็ ประจาทกุ วัน เสนอรายการข่าว การวิเคราะห์และวจิ ารณก์ ารเมือง สงั คม เพลงและดนตรที ่เี กี่ยวกับ สถานการณ์สรู้ บ และ ได้ยุตไิ ปในปี พ.ศ. 2526

ยุคการขยายตวั ทางธุรกจิ และเสรภี าพวทิ ยุ (พ.ศ. 2526 – ปัจจบุ ัน) ◆ ในปี 2533 งบโฆษณาทางวิทยมุ ีจานวนมหาศาล มกี ารแข่งขันกนั ทางธุรกจิ นอกจากนีค้ า่ ยเพลงต่างๆ ได้อาศัยสอื่ วิทยุชว่ ยส่งเสริมการขายเทปเพลงมากขึน้ โดยการเปิดเพลงในรายการตา่ งๆ นอกจากน้ี สถานวี ิทยเุ อฟเอ็มได้มรี ายการขา่ วตน้ ชั่วโมงและมโี ฆษณาสน้ั ๆสถานีวิทยุ มจี านวนเพ่มิ มากขึน้ อย่าง รวดเร็วกล่าวคอื มีจานวน 252 สถานี ในปี 2525 เพ่มิ เปน็ 498 สถานี ในปี พ.ศ. 2535 เปน็ สถานขี อง กระทรวงกลาโหม 211 สถานี และกรมประชาสมั พนั ธ์ 136 สถานี องคก์ ารส่อื สารมวลชนแห่งประเทศ ไทย (อ.ส.ม.ท.) 61 สถานี ส่วนใหญ่เปน็ สถานวี ทิ ยุเอฟเอ็มทม่ี กี ารขยายตัวมากขน้ึ ◆ ชว่ งเหตุการณ์ 17-20 พฤษภาคม พ.ศ. 2535 ไดม้ กี ารเคลอ่ื นไหวเดนิ ขบวนคดั คา้ น นายกรัฐมนตรี พล เอกสุจนิ ดา คราประยรู โดยสถานีวทิ ยุ จ.ส. 100 เสนอขา่ ววา่ การชมุ นมุ ประท้วงเป็นการกระทาท่ีผิด กฎหมาย กระทบกระเทอื นตอ่ สถาบันพระมหากษัตรยิ ์ สว่ นสานกั ขา่ ว ไอเอ็นเอน็ และแปซิฟคิ พยายาม รายงานเหตกุ ารณ์ตามสถานการณ์จริง เหตกุ ารณน์ ต้ี ่างจากการรัฐประหารครั้งกอ่ นๆ ทรี่ ฐั บาลยึดสถานี วิทยแุ ห่งประเทสไทย และ ให้สถานวี ทิ ยกุ ระจายเสียงอน่ื ถา่ ยทอดตาม แตใ่ นเหตกุ ารณน์ ้ี สถานีวิทยุ นับว่ามเี สรภี าพในการเสนอข่าวที่แตกตา่ งบ้าง หลงั เหตุการณ์ดงั กลา่ ว ◆ นายอานันท์ ปนั ยารชนุ นายกรัฐมนตรไี ดเ้ ปิดเสรสี ่ือของรฐั โดยออกระเบียบว่าด้วยวิทยุกระจายเสยี ง และวทิ ยุโทรทศั น์ พ.ศ. 2535 โดยให้มีคณะกรรมการกิจการวิทยกุ ระจายเสียงและวทิ ยโุ ทรทศั น์แห่งชาติ หรือ กกช.ทาหนา้ ท่กี ากบั ดูแลกจิ การวทิ ยุโทรทศั น์ พ.ศ. 2543 ได้มีการประกาศใชพ้ ระราชบญั ญัติ องค์กรจดั สรรคลื่นความถ่แี ละกากบั กิจการวิทยุกระจายเสยี งและวิทยโุ ทรทศั น์ พ.ศ.2543 โดย กาหนดใหม้ คี ณะกรรมการกจิ การกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์แหง่ ชาติ หรือ กสช.

1. อปุ กรณ์อนิ พตุ และเอาต์พตุ ◆ อปุ กรณ์อนิ พตุ กค็ อื อุปกรณ์ทีแ่ ปลงขา่ วสารเปน็ สัญญาณไฟฟ้า สว่ นอปุ กรณ์เอาต์พตุ กค็ อื อุปกรณท์ แ่ี ปลง สัญญาณไฟฟา้ กลบั มาเปน็ ขา่ วสารน่ันเอง มชี อ่ื เรียกแตกต่างกนั ออกไปแล้วแตก่ ารใช้งาน เช่น ในระบบวิทยกุ ระจายเสยี ง อุปกรณ์ อินพุตอาจเป็นไมโครโฟน และอุปกรณ์เอาต์พุตจะเปน็ ลาโพง สาหรับไมโครโฟนทาหนา้ ท่แี ปลงคลื่นเสียงเป็น สญั ญาณไฟฟ้า และสว่ นลาโพงทาหนา้ ทีแ่ ปลงสัญญาณไฟฟา้ กลับ เปน็ คลื่นเสียง

ข่าวสารทีร่ ับหรอื ส่งระหวา่ งกนั แบ่งออกเปน็ 3 พวกใหญ่ คือ ◆ เสียงหรือออดิโอ ( audio) ได้แก่ เสยี งพูดในระบบ โทรศพั ท์ เสียงพดู เสียงเพลง หรอื เสยี งดนตรี ซ่งึ ตอ้ งการคุณภาพเสยี งดใี น ระบบวทิ ยกุ ระจายเสยี ง ◆ ภาพ ( picture ) ได้แก่ ภาพนิ่งในระบบโทรสาร ( facsimile) และ ระบบสง่ ภาพระยะไกล (telephoto ) ภาพยนตรใ์ นระบบโทรทัศน์ ◆ ข้อมลู (data) ส่วนใหญส่ ่งมาเป็นรหสั ใหแ้ ก่เครือ่ งยนต์ เครอื่ งจักร เครอื่ ง คอมพิวเตอร์ ฯลฯ ไดแ้ ก่ ข้อมลู และคาสัง่ ในระบบโทรมาตร ตัวอกั ษรใน ระบบโทรพมิ พ์ หรือโทรเลข ข้อมูลคอมพวิ เตอรใ์ นระบบสอื่ สารคอมพวิ เตอร์

2. เคร่อื งสง่ เครอ่ื งส่งทาหนา้ ที่รับสัญญาณไฟฟา้ จากอปุ กรณ์อนิ พุต แล้วทาการมอดเู ลตลง บนคลื่นพาหะความถ่สี งู เคร่อื งส่งประกอบดว้ ยแหล่งกาเนิดสญั ญาณความถีส่ ูง (เรียกว่า ออสซลิ เลเตอร์) กับมอดูเลต เคร่ืองส่งสว่ นใหญม่ กั มภี าคขยายอีกเพือ่ ใหส้ ญั ญาณท่ี ส่งออกอากาศมกี าลงั แรง ทาใหส้ ่ือสารกันได้ไกลขนึ้

3. ชอ่ งทางสือ่ สาร ชอ่ งทางส่อื สารในทีน่ ้ี ได้แก่ บรรยากาศ อวกาศวา่ ง (free space) หรอื สาย ฯลฯ แต่ในทน่ี ี้เราจะกลา่ วถงึ เฉพาะระบบวิทยุเท่านั้น ช่องทางสื่อสารของระบบ วิทยุอาศยั การแผ่คล่นื วิทยอุ อกไป โดยผ่านบรรยากาศซึง่ เปน็ ตัวกลาง (medium) ซึ่ง คลน่ื เดินทางจากเคร่อื งส่งผา่ นไปยังเครื่องรบั

4. ความถแี่ ละความยาวคลนื่ เรานิยมแบ่งคล่ืนวิทยอุ อกเป็นยา่ นความถต่ี ่าง ๆ โดยมหี นว่ ยเปน็ เฮิรตซ์ ( Hertz ) ในประวัติศาสตรก์ ารวทิ ยุ เราแบง่ คลื่นวิทยตุ ามความยาวคลื่น ( Wavelengh) ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งความถแ่ี ละความยาวคลนื่ เป็นไปตามสตู รดงั น้ี ในที่นี้ l คอื ความยาวคลน่ื มีหนว่ ยเป็นเมตร V คือ ความเรว็ ของคลน่ื วิทยใุ นอากาศ เทา่ กับความเรว็ ของแสง f = 3 * 108 เมตรตอ่ วินาที คือ ความถี่มหี นว่ ยเปน็ เฮิรตซ์ ( Hz )

ตารางแสดงยา่ นความถี่ ความถี่ และความยาวคลื่น ยา่ นความถ่ี ความถี่ ความยาวคลน่ื Very Low Frequency (VLF) ต่ากวา่ 30 kHz ยาวกว่า 10 km Low Frequency(LF) 30-300 kHz 10-1 km Medium Frequency(MF) 300-3000 kHz 1000-100 m High Frequency (HF 3-30 MHz 100-10 m Very High Frequency (VHF) 30-300 MHz 10-1 m Ultra High Frequency (UHF) 300-3000 MHz 100-10 cm Super High Frequency (SHF) 3-30 GHz 10-1 cm Extremely High Frequency (EHF) 30-300 GHz 10-1 mm

5.นอยส์(noise) เป็นสญั ญาณท่เี ขา้ มาแทรกแซงหรอื รบกวน ( interfere ) นอยส์ที่ รบั เข้ามาได้ แบง่ ออกได้ 4 ประเภท คอื 1. นอยส์บรรยากาศ (atmosphericnoise) เกิดข้นึ จากความ แปรปรวนของบรรยากาศทหี่ อ่ หุ้มโลก เชน่ ฟ้าแลบฟา้ ผ่ากอ่ ใหเ้ กิด คล่ืนวทิ ยแุ ผก่ ระจายออกไปรอบโลก นอยส์บรรยากาศเกดิ ขึ้นอยู่ ตลอดเวลา แมจ้ ะไม่มพี ายุฝนฟา้ คะนองก็ตาม

5.นอยส์(noise) เปน็ สญั ญาณทเี่ ขา้ มาแทรกแซงหรอื รบกวน ( interfere ) นอยส์ที่รบั เข้ามา ได้ แบ่งออกได้ 4 ประเภท คอื 2. นอยส์จากอวกาศ (spacenoise) เกิดจากดวงอาทติ ย์และดวงดาวนับ ลา้ น ๆ ดวงในจกั รวาล ดวงอาทติ ยเ์ ป็นวตั ถทุ ่มี ขี นาดมหึมาและมคี วามรอ้ นสูง ถึง 6,000 องศาเซลเซียสทผ่ี วิ ดวงอาทติ ย์ ฉะนน้ั ดวงอาทิตยจ์ ะแผพ่ ลงั งาน ออกมามีสเปกตรมั ความถ่ีกวา้ งมาก พลงั งานนี้ปรากฏออกเปน็ นอยส์ คงท่ี อยา่ งไรก็ตามทผี่ วิ ดวงอาทติ ย์ยงั มคี วามแปรปรวนอืน่ ๆ อกี เช่น จดุ บน ดวงอาทติ ย์ (sun spot ) การลกุ โชตชิ ่วง (solar flare ) ซงึ่ ก่อใหเ้ กดิ นอยส์ เพิม่ ขึน้ อีก นอกจากนี้ดวงอาทติ ยบ์ างดวงทไี่ กลออกไปจากระบบสุรยิ ะจกั รวาลกม็ ี คุณสมบตั เิ หมือนดวงอาทิตย์ คือ มีความร้อนสงู และสามารถกาเนิดนอยส์มายังโลก ได้

5.นอยส์(noise) 3. นอยส์ทเี่ กิดข้ึนจากส่งิ ประดิษฐท์ ่มี นษุ ยส์ ร้างข้นึ (man-adenois) ได้แก่ นอยส์จากมอเตอรไ์ ฟฟา้ เชน่ พัดลม ทีเ่ ปา่ ผม เครื่องดดู ฝ่นุ นอกจากนก้ี ็ยงั มนี อยส์ จากระบบจดุ ระเบิดของรถยนต์ การรั่วของสาย ไฟแรงสงู หลอดไฟฟลอู อเรสเซนต์ ฯลฯ

5.นอยส์(noise) • 4. นอยส์ภายในตวั อปุ กรณ์ในครื่องรับ (internalnoise) แยก เป็น 2 ประเภท คอื นอยส์อุณหภมู ิ ( thermal noise ) และช็อ ตนอยส์( shot noise ) นอยส์อุณหภมู ิเกดิ จากการเคลอ่ื นทข่ี อง อิเล็กตรอนในตวั อุปกรณ์ บางคร้ังเรยี กวา่ จอหน์ สันนอยส์ ( Johnson noise ) สว่ นช็อตนอยส์เกดิ ขึ้นในอุปกรณแ์ อกตฟี (active device ) ทุกชนดิ เนอื่ งจากการรวมตวั ของ อิเลก็ ตรอนกับโฮล ( hole ) เช่น ในทรานซสิ เตอร์ ซึง่ ไม่ขน้ึ อยู่ กบั อณุ หภูมิ

6. เครอ่ื งรับ ◆ เมื่อรับสัญญาณจากเคร่อื งรบั สญั ญาณจะมกี าลงั อ่อนลงและ ยงั มนี อยส์เข้ามาแทรกแซงสัญญาณท่ีต้องการจะรับอีกดว้ ย ดงั นน้ั การ รับสญั ญาณออ่ นๆเชน่ นี้ เครอ่ื งรับจงึ ต้องมคี วามสามารถพเิ ศษในการ เลือกรบั และขยายเอาเฉพาะสญั ญาณความถท่ี ตี่ อ้ งการ พรอ้ มทัง้ ตอ้ งมี กรรมวิธใี นการกาจดั นอยส์หรือต่อสู้เอาชนะนอยส์ท่รี บกวน สัญญาณที่ รบั ได้จะผ่านการดมี อดเพื่อแปลงสัญญาณข่าวสารทเ่ี ข้ามอดูเลตกลับมา กรรมวิธีน้คี ่อนขา้ งสลับซบั ซ้อนพอสมควร

3. การใชง้ านคลืน่ วิทยุ ◆ คล่นื วิทยุมชี ่วงความถีต่ ้ังแตป่ ระมาณ 10 กโิ ลเฮิรตซ์ ถงึ 300 จกิ ะ เฮริ ตซ์ ถูกนาไปใช้ในการสื่อสารโทรคมนาคมดา้ นต่าง ๆ

ตาราง คล่นื วทิ ยุความถีต่ า่ ง ๆ และการใช้งาน ◆ คลนื่ วิทยุมีชว่ งความถ่ตี งั้ แตป่ ระมาณ 10 กโิ ลเฮิรตซ์ ถึง 300 จกิ ะเฮิรตซ์ ถกู นาไปใช้ในการส่ือสารโทรคมนาคมด้านต่าง ๆ สรุปดงั ตาราง 2 ค ว า ม ถี่ (ชื่อ ) ค ว า ม ย า ว ค ล่ืน กา รใ ช้งา น ต่า กว่า 30 kHz (VLF) ม า กกว่า 10 km ใช้ส่ือ ส า รท า งท ะเล 30 - 300 kHz (LF) 1- 10 km 0.3-3 MHz (MF) 0.1-1 km ใช้ส่ือ ส า รท า งท ะเล 3-30 MHz (HF) 10-100 m ใช้ส่งค ล่ืน วิท ยุระบ บเอ เอ็ม 30-300 MHz (VMF) 1-10 m ใช้ส่งวิท ยุค ล่ืน ส้ัน ส่ือ ส า รระหว่า งประเท ศ 0.3-3 GHz (VHF) 10-100 cm 3-30 GHz (SHF) 1-10 cm ใช้ส่งค ล่ืน วิท ยุระบ บเอ ฟ เอ็ม แ ล ะค ล่ืน 30-300 GHz (EHF) 1-10 mm โท รทัศ น์ ใช้ส่งค ล่ืนโท รทัศ น์แ ล ะไมโค รเว ฟ ใช้ส่งไมโค รเว ฟ แ ล ะเรด า ร์ ใช้ส่งไมโค รเว ฟ

คลืน่ วิทยคุ วามถ่ีตา่ ง ๆ และการใชง้ าน ◆ ปจั จบุ นั ประเทศทว่ั โลกใชค้ ล่ืนวทิ ยใุ นการตดิ ต่อสอื่ สารกันอย่างแพร่หลาย เฉพาะใน สหรัฐอเมริกา ซงึ่ เป็นประเทศท่ีมคี วามเจริญก้าวหนา้ ทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละ เทคโนโลยสี งู นัน้ มสี ถานโี ทรทศั น์กว่า 1,000 สถานี สถานีวทิ ยุ 8,000 สถานี เคร่ือง รับส่งวิทยุ 40 ล้านเครื่อง จานส่งและรับสัญญาณไมโครเวฟกวา่ 250,000 จาน และอุปกรณ์ไมโครเวฟทใี่ ช้ในอุตสาหกรรมตา่ ง ๆ รวมทั้งเตาไมโครเวฟทใ่ี ชใ้ น บ้านเรอื น อกี กว่า 40 ลา้ นเครือ่ ง อุปกรณเ์ หล่าน้ผี ลติ และสง่ กระจายคล่นื วิทยอุ อกสู่ บรรยากาศตลอดเวลา โดยทปี่ ระสาทสมั ผัสของมนุษยไ์ มส่ ามารถรับรไู้ ด้

4. ประเภทของคลืน่ วทิ ยุ ◆ คลน่ื วทิ ยทุ ่กี ระจายออกจากสายอากาศ จะเดินทางไปทกุ ทศิ ทาง ในทุก ระนาบ การกระจายคลื่นนี้มีลักษณะเปน็ การขยายตัวของพลังงาน ออกเป็นทรงกลม ถา้ จะพิจารณาในส่วนของพน้ื ที่แทนหนา้ คลนื่ จะเหน็ ไดว้ ่ามนั พงุ่ ออกไปเรื่อย ๆ จากจุดกาเนดิ และสามารถเขยี นแนวทศิ ทางเดิน ของหนา้ คลน่ื ไดด้ ้วยเส้นตรงหรือเสน้ รังสี เสน้ รังสที ลี่ ากจากสายอากาศ ออกไปจะทามมุ กบั ระนาบแนวนอน มุมนเ้ี รียกวา่ มมุ แผ่คลืน่ อาจมีคา่ เป็นบวก ( มุมเงย ) หรอื มีค่าเป็นลบ ( มุมกดลง ) ก็ได้ มุมของการแผ่คลื่นน้ี อาจนามาใช้เป็นตวั กาหนดประเภทของคลื่นวทิ ยไุ ด้

คลื่นวิทยุมคี ณุ สมบัตทิ ี่นา่ สนใจ ◆ คลน่ื วิทยุมีสมบตั ิทีน่ า่ สนใจอีกประการหนึง่ คือ สามารถหักเหและสะท้อน ไดท้ ่บี รรยากาศชนั้ ไอโอโนสเฟียร์ บรรยากาศในชน้ั น้ปี ระกอบด้วยอนภุ าค ที่มปี ระจุไฟฟ้าอยู่เป็นจานวนมาก เม่ือคล่ืนวทิ ยเุ คลอื่ นทมี่ าถงึ จะสะท้อน กลับสู่ผวิ โลกอีก สมบตั ขิ อ้ นที้ าใหส้ ามารถใชค้ ลนื่ วิทยุในการสอ่ื สารเปน็ ระยะทางไกลๆไดแ้ ต่ถ้าเปน็ คลนื่ วทิ ยุทม่ี คี วามถ่สี ูงขึน้

การสะทอ้ นคลื่น ◆ การสะทอ้ นดังกล่าวจะมไี ดน้ อ้ ยลงตามลาดบั การสง่ กระจายเสยี งดว้ ย คลื่นวทิ ยุระบบเอเอ็มสามารถเคล่อื นที่ไปได้ 2 ทางคอื ในระดบั สายตา เรยี กว่า คลืน่ ดิน (GROUND WAVE ) และการสะท้อนกลับลงมาจาก บรรยากาศชั้นไอโอโนสเฟียร์ เรยี กวา่ คลืน่ ฟา้ (SKY WAVE ) สว่ น คล่นื วิทยรุ ะบบเอฟเอ็มซึง่ มีความถส่ี งู กว่าจะมีการสะทอ้ นในชน้ั ไอโอโนส เฟียรไ์ ดน้ อ้ ย

การสะทอ้ นคล่นื ◆ พลังงานคล่นื วิทยสุ ว่ นใหญจ่ ะเดินทางอยใู่ กล้ ๆ ผวิ โลกหรือเรยี กวา่ คล่นื ดิน ซ่งึ คลืน่ นี้จะเดินไปตามส่วนโค้งของโลก คล่นื อีกส่วนทอี่ อกจาก สายอากาศ ด้วยมุมแผ่คลน่ื เปน็ ค่าบวก จะเดินทางจากพ้ืนโลกพุ่งไปยัง บรรยากาศจนถึงชนั้ เพดานฟา้ และจะสะทอ้ นกลบั ลงมายงั โลกน้ีเรียกว่า คลนื่ ฟา้

การสะทอ้ นคลื่นในเวลากลางวนั

การสะทอ้ นคลื่นในเวลากลางคนื

คลนื่ ฟ้าและคลืน่ ดนิ ◆ ดงั นน้ั ถ้าต้องการสง่ กระจายเสยี งด้วยระบบเอฟเอ็มให้ ครอบคลุมพื้นทไี่ กลๆจึงต้องมีสถานีถา่ ยทอดเปน็ ระยะและผู้รบั ตอ้ งตั้งสายอากาศสูงๆ ในขณะทีค่ ลื่นวิทยเุ คลือ่ นท่ผี ่านสิง่ กดี ขวางท่ีมขี นาดใกล้เคยี งกับความยาวคลืน่ จะเกดิ การเลย้ี วเบนทา ให้คลน่ื วทิ ยุออ้ มผ่านไปได้ แตถ่ ้าส่ิงกดี ขวางมขี นาดโตมากๆ เชน่ ภูเขา คลื่นวิทยทุ ่มี คี วามยาวคลนื่ สัน้ จะไม่สามารถอ้อมผ่านไปได้ ทาให้ดา้ นตรงขา้ มของภูเขาเป็นจุดอับของคลืน่ โลหะมสี มบัติใน การสะท้อนและดดู กลนื คล่ืนแม่เหล็กไฟฟา้ ได้ดดี ังนน้ั คลนื่ วทิ ยจุ ะ ทะลุผ่านเข้าไปถึงตาแหน่งภายในโครงสรา้ งท่ีประกอบด้วยโลหะ ไดย้ าก เชน่ เมอ่ื ฟังวทิ ยุในรถยนต์ขณะแลน่ ผา่ นเข้าไปในสะพาน ทีม่ โี ครงสร้างเปน็ เหลก็ เสียงวิทยุจะเบาลงหรือเงียบหายไป

องคป์ ระกอบของคลน่ื ◆ แบ่งออกเป็น 3 องค์ประกอบด้วยกนั คือ คล่นื ผวิ ดิน (SURFACE WAVE ) คลืน่ สะท้อนดนิ ( GROUND REFLECTED WAVE ) และคลนื่ หักเหโทรโปสเฟยี ร์ (REFLECTED TROPOSPHERIC WAVE )

องค์ประกอบของคลืน่ 1. ความถี่ ( Frequency,f ) คือ จานวนลกู คลนื่ ที่เกดิ จากแหลง่ กาเนดิ ในเวลา 1 หนว่ ยเวลา มีหนว่ ยเปน็ ลูก/วินาที หรอื รอบ/วินาที หรอื เฮริ ตซ์ (Hz) 2. คาบ ( Period,T ) คือเวลาท่แี หล่งกาเนิด คล่นื ให้คลืน่ 1 ลูก หรอื เปน็ เวลาท่ีคลนื่ ผา่ นจดุ ๆ หนึ่งได้ 1 ลกู พอดี มีหน่วยเปน็ วินาที/ลูก หรอื วินาท/ี รอบ หรือ วินาที 3. ความยาวคลื่น ( Wavelength, ) คือระยะ บนแนวสมดุลทมี่ ีคล่นื 1 ลูก มหี นว่ ยเป็น เมตร 4. อัตราเรว็ คล่ืน ( Velocity, v) คือ ระยะทคี่ ลื่น สามารถเคลือ่ นทไี่ ดใ้ นเวลา 1 วนิ าที มหี น่วยเป็น เมตร/วนิ าที

คลน่ื ผวิ ดิน ◆ หมายถึง คล่นื ทเ่ี ดินตามไปยงั ผิวโลกอาจเปน็ ผวิ ดนิ หรือผิวน้าก็ได้ พสิ ยั ของการกระจายคลน่ื ชนดิ นีข้ น้ึ อยกู่ บั ค่าความนาทางไฟฟา้ ของผิวท่ี คลน่ื นเ้ี ดนิ ทางผา่ นไป เพราะคา่ ความนาจะเปน็ ตัวกาหนดการถกู ดดู กลนื พลังงานของคลื่นผิวโลก การถกู ดดู กลืนของคลื่นผวิ นี้จะเพม่ิ ขึน้ ตาม ความถี่ทีส่ ูงขึ้น

คลน่ื ตรง ◆ หมายถงึ คล่ืนท่ีเดินทางออกไปเปน็ เส้นตรงจากสายอากาศ สง่ ผา่ นบรรยากาศตรงไปยังสายอากาศรบั โดยมไิ ด้มีการสะท้อน ใด ๆ

คลื่นสะทอ้ นดนิ ◆ หมายถงึ คลื่นทอี่ อกมาจากสายอากาศ ไปกระทบผวิ ดินแลว้ เกิดการสะทอ้ นไปเขา้ ทส่ี ายอากาศรับ

คลื่นหกั เหโทรโปสเฟยี ร์ ◆ หมายถึง คลืน่ หกั เหในบรรยากาศชัน้ ต่าของโลกที่เรียกว่า โทรโปส เฟยี ร์ การหักเหนมี้ ใิ ช่เป็นการหกั เหแบบปกตทิ ่เี กิดขน้ึ จากการ เปล่ยี นแปลงความหนาแน่นของชน้ั บรรยากาศของโลกกบั ความสงู แต่ เป็นการหักเหทเี่ กิดการเปลี่ยนแปลงความหนาแนน่ ของชน้ั บรรยากาศ อย่างทนั ทที ันใด และไมส่ ม่าเสมอของความหนาแนน่ และในความชน้ื ของ บรรยากาศ ได้แก่ ปรากฏการณท์ ี่เรยี กว่า อณุ หภมู ิแปรกลบั

คลน่ื แมเ่ หล็กไฟฟ้าชนิดต่าง ๆ ◆ แสงเป็นคลน่ื แมเ่ หลก็ ไฟฟ้าทีม่ ีความถี่ประมาณ 1014 เฮริ ตซ์ หรือความ ยาวคล่นื อยู่ในช่วง 4 x 10-7 – 7 x 10-7 เมตร ซึ่งประสาทตาของมนษุ ยจ์ ะไวต่อคลื่น แมเ่ หลก็ ไฟฟ้าในช่วงนมี้ าก วตั ถุที่มอี ณุ หภูมสิ งู มาก ๆ จะสามารถ เปล่งแสงออกมาได้ เช่น ไส้หลอดไฟฟ้า หรอื ดวงอาทิตย์ เป็นต้น

คลนื่ แมเ่ หลก็ ไฟฟา้ ชนดิ ต่าง ๆ ◆ แสงท่มี ีความยาวคลน่ื ประมาณ 7 x 10-7 เมตร ประสาทตาจะรบั รเู้ ปน็ แสงสแี ดงแสงทม่ี คี วามยาวคลื่นนอ้ ยกว่านี้ประสาทตาจะรับรเู้ ป็นแสงสสี ม้ เหลือง เขียว นา้ เงนิ คราม ตามลาดับจนถึงแสงสีมว่ งทม่ี ีความยาวคลนื่ ประมาณ 4 x 10-7 เมตร แสงสที งั้ หมดท่กี ลา่ วมาเมื่อรวมกันด้วยปริมาณ ท่เี หมาะสมแล้วจะเปน็ แสงสขี าว แสงสว่ นใหญ่เกิดจากวัตถุทีม่ ีอณุ หภมู ิ สงู มาก ๆ และเกิดพรอ้ มกนั หลายความถ่ี โดยเมอ่ื อณุ หภูมสิ ูงขึน้ พลงั งาน และความถี่ก็จะย่งิ สงู ขึน้ ทาให้แสงมีสเี ปลีย่ นไป เช่น เปลวไฟจากเตา ถา่ นซึ่งมีอณุ หภูมิตา่ จะมแี สงสีแดงเปน็ สว่ นใหญ่

ระบบคล่ืนวทิ ยุ AM และ FM ◆ ระบบเอเอ็ม (A.M. = amplitude modulation) ระบบเอเอ็ม มีชว่ งความถี่ 530 - 1600 kHz( กโิ ลเฮริ ตซ์ ) ส่ือสาร โดยใชค้ ลืน่ เสียงผสมเข้าไปกบั คลน่ื วิทยุเรียกว่า \"คลน่ื พาหะ\" โดยแอมพลิ จูดของคลน่ื พาหะจะเปล่ียนแปลงตามสญั ญาณคลื่นเสยี งในการส่งคลื่น ระบบ A.M. สามารถส่งคลน่ื ไดท้ ัง้ คลนื่ ดนิ เป็นคล่นื ท่ีเคลอื่ นทีใ่ นแนว เสน้ ตรงขนานกบั ผิวโลกและคลืน่ ฟา้ โดยคลน่ื จะไปสะทอ้ นท่ชี ัน้ บรรยากาศ ไอโอโนสเฟียร์ แลว้ สะท้อนกลบั ลงมา จงึ ไม่ต้องใช้สายอากาศตงั้ สูงรบั

ระบบคลน่ื วทิ ยุ AM และ FM ระบบเอฟเอ็ม (F.M. = frequency modulation) ระบบเอฟเอ็ม มีช่วงความถ่ี 88 - 108 MHz (เมกะเฮริ ตซ์) สือ่ สารโดยใช้คล่นื เสียงผสมเข้ากบั คลนื่ พาหะ โดยความถีข่ องคลน่ื พาหะ จะเปลีย่ นแปลงตามสญั ญาณคลืน่ เสียงในการส่งคลน่ื ระบบ F.M. สง่ คลน่ื ได้เฉพาะคล่ืนดินอย่างเดียว ถา้ ต้องการสง่ ให้คลมุ พนื้ ท่ตี อ้ งมีสถานี ถ่ายทอดและเคร่ืองรับตอ้ งตั้งเสาอากาศสูง ๆ รับ

คณุ สมบัติของคล่นื ◆ คุณสมบัติ พนื้ ฐานของคลนื่ ต่างๆสามารถ พิจารณาได้ 4 ประการ 1. การสะทอ้ นกลบั ( Reflection ) 2. การหักเห (Refraction) 3. การแพร่กระจายคลนื่ (Diffraction ) 4. การแทรกสอดของคล่ืน ( Interference )


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook