คํานํา สำ�นักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้ (องค์การมหาชน) ได้จัดทำ�โครงการความร่วมมือพัฒนา สนามเด็กเล่นตามหลักการพัฒนาสมอง “เล่นตามรอยพระยุคลบาท” ร่วมกับสำ�นักงานคณะกรรมการ การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน และสำ�นักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษานครสวรรค์ เขต 1 โดยมีโรงเรียน ในโครงการทุกภูมภิ าคของประเทศไทย จ�ำ นวน 372 โรงเรยี น การด�ำ เนนิ งานดังกลา่ วเร่มิ ตน้ ต้ังแต่ปี 2558 จนถงึ ปจั จุบนั มกี ารพัฒนาองคค์ วามรู้ต่าง ๆ ไดแ้ ก่ การพฒั นาโครงสรา้ งหลกั ของสนามเดก็ เลน่ เชน่ บา้ นต้นไม้ ห้องสมดุ ธรรมชาติ ลานเล่านิทานเอนกประสงค์ พื้นที่เล่นนา้ํ - ทราย สระเลน่ นา้ํ สวนเศรษฐกจิ พอเพียง และ การต่อยอดวิชาการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์ในแหล่งเรียนรู้สนามเด็กเล่นเพ่ือส่งเสริมพัฒนาการ เด็กรอบดา้ น เพื่อให้การพัฒนาสนามเด็กเล่นตามหลักการพัฒนาสมอง (BBL) “เล่นตามรอยพระยุคลบาท” เป็นไปอยา่ งต่อเนื่องมปี ระสิทธิภาพ สำ�นักงานบรหิ ารและพัฒนาองคค์ วามรู้ (องค์การมหาชน) และสำ�นกั งาน คณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน จึงร่วมมือกันจัดประชุมปฏิบัติการถอดบทเรียนประสบการณ์ในการ พัฒนาสนามเด็กเล่นตามหลักการพัฒนาสมอง (BBL) “เล่นตามรอยพระยุคลบาท” เพ่ือเป็นแนวทาง การดำ�เนินงาน แก่โรงเรียนและหน่วยงานต่าง ๆ โดยเชิญตัวแทนโรงเรียนต้นแบบที่ประสบความสำ�เร็จ ท้ัง 4 ภูมิภาค เข้าร่วมประชุมจัดทำ�คู่มือสนามเด็กเล่นตามหลักการพัฒนาสมอง (BBL) “เล่นตามรอย พระยุคลบาท” จำ�นวน 12 โรงเรียน ระหว่างวันท่ี 25 - 26 สิงหาคม 2561 ณ โรงแรมไทปัน สุขุมวิท กรุงเทพมหานคร ขอขอบคุณคณะทำ�งานทุกคนที่ร่วมมือกันจัดทำ�เอกสารคู่มือสนามเด็กเล่นตามหลักการพัฒนา สมอง (BBL) “เลน่ ตามรอยพระยคุ ลบาท” และหวังเปน็ อยา่ งย่งิ วา่ เอกสารเล่มนจี้ ะเปน็ ประโยชนต์ ่อการพัฒนา การจัดการศึกษาของประเทศสืบไป (นายอธิปตั ย์ บำ�รุง) ผู้อำ�นวยการสำ�นกั งานบริหารและพัฒนาองคค์ วามรู้
5 คู่มือการจัดท�ำ สนามเด็กเลน่ ตามหลักการพัฒนาสมอง (BBL) “เล่นตามรอยพระยุคลบาท” 1. หลักการและเหตผุ ล เพ่ือให้สมองของเด็กเจริญเติบโตได้เต็มท่ี และเต็มศักยภาพทุกช่วงอายุ นำ�ไปสู่การ สนามเด็กเล่นตามหลักการพัฒนา พัฒนาวิธีการจัดการเรียนรู้ในประเทศไทยให้ สมอง (BBL) “เล่นตามรอยพระยุคลบาท” มีประสิทธิภาพย่ิงข้ึนทำ�ให้เด็กไทยได้เรียนรู้ เป็นพื้นที่พัฒนาเด็กรอบด้านผ่านการเล่น อย่างมีความสขุ ตลอดไป คอื สามารถพัฒนาเดก็ ท้ังดา้ นร่างกาย จติ ใจ - จากความสำ�เร็จของการเล่นที่ อารมณ์ สังคม และสติปัญญา ด้วยการเล่น ส่งผลต่อพัฒนาการสมองของเด็กปฐมวัย และการเรียนรู้อย่างมีความสุข คณะพัฒนา ในปีงบประมาณ 2559 สำ�นักวิชาการ และ สนามเด็กเล่นตามหลักการพัฒนาสมอง มาตรฐานการศกึ ษา สำ�นกั งานคณะกรรมการ (BBL) : เลน่ ตามรอย พระยคุ ลบาท ได้นอ้ มน�ำ การศึกษาข้ันพื้นฐานได้จัดทำ�โครงการ พระปรชี าญาณดา้ นการศกึ ษา และอบรมเลย้ี งดู พั ฒ น า โ ร ง เ รี ย น ต้ น แ บ บ ส น า ม เ ด็ ก เ ล่ น พระโอรสและพระธิดาของสมเด็จ พระ ตามหลักการพฒั นาสมอง (BBL) “เลน่ ตามรอย มหติ ลาธเิ บศรอดลุ ยเดชวกิ รม พระบรมราชชนก พระยุคลบาท” โดยกำ�หนดให้ ทุกเขตพื้นที่ และสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี การศึกษาคัดเลือกโรงเรียนตามเกณฑ์ท่ี มาออกแบบเปน็ การเลน่ ลกั ษณะตา่ ง ๆ ภายใต้ กำ�หนดจ�ำ นวนเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษาละ 1 โรงเรยี น สภาพแวดลอ้ มทางธรรมชาติ การจดั ท�ำ สนาม เพื่อร่วมประชุมปฏิบัติการพัฒนาวิชาการ เด็กเล่นตามหลักการพัฒนาสมอง (BBL) : การพัฒนาสนามเด็กเล่นตามหลักการพัฒนา เล่นตามรอยพระยุคลบาท เป็นประโยชน์ สมอง (BBL) “เล่นตามรอยพระยุคลบาท” อันทรงคุณค่ามหาศาลแก่พสกนิกรชาวไทย รว่ มกบั ส�ำ นกั งานบรหิ ารและพฒั นาองคค์ วามรู้ ซึ่งพ่อแม่ ผู้ปกครอง ครู ประชาชนทั่วไป (องค์การมหาชน) OKMD และส�ำ นักงานเขต องค์กรภาครัฐและเอกชนที่เก่ียวข้องสามารถ พน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษานครสวรรค์ เขต 1 นำ�ไปใช้เป็นหลักปฏิบัติในการเลี้ยงดูเด็ก
6 คู่มอื การจดั ท�ำ สนามเดก็ เลน่ ตามหลกั การพัฒนาสมอง (BBL) “เลน่ ตามรอยพระยคุ ลบาท” เนอ่ื งจาก ส�ำ นกั งานบรหิ าร และพฒั นา ให้สำ�นักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษา องค์ความรู้ (องค์การมหาชน) OKMD เป็น นครสวรรค์ เขต 1 เป็นเจา้ ภาพรว่ มในการจัด หน่วยงานที่ส่งเสริมการพัฒนากระบวนการ ประชุมปฏิบัติการพัฒนาสนามเด็กเล่นตาม เรยี นรตู้ ามหลกั การพฒั นาสมอง (BBL) ทง้ั ดา้ น หลักการพัฒนาสมอง (BBL) “เล่นตามรอย การจดั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพ การพฒั นา พระยุคลบาท” ร่วมกับสำ�นักงานบริหารและ บุคลากรที่เก่ียวข้องและการพัฒนาวิชาการ พัฒนาองค์ความรู้ (องค์การมหาชน) จดั อบรม เกยี่ วกับ Brain Based Learning และศกึ ษาดงู านในโรงเรยี นแมแ่ บบ 4 โรงเรยี น จึงดำ�เนินการโครงการความร่วมมือ สงั กดั ส�ำ นกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษา กบั ส�ำ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน นครสวรรค์ เขต 1 ผเู้ ขา้ ร่วมประชมุ ปฏิบัตกิ าร และสำ�นักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถม ประกอบด้วย ศึกษานครสวรรค์ เขต 1 เพื่อพฒั นาโรงเรยี น รุ่นท่ี 1 ศึกษานิเทศก์ผู้รับผิดชอบ ต้นแบบและโรงเรียนเครือข่ายสนามเด็กเล่น การจัดการศึกษาปฐมวัย เขตพ้ืนท่ีละ 1 คน ตามหลกั การพฒั นาสมอง (BBL) “เลน่ ตามรอย รวม 183 เขตพ้นื ที่ จ�ำ นวน 183 คน พระยุคลบาท” ใน 183 เขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษา รุน่ ที่ 2 ผู้อ�ำ นวยการโรงเรียนต้นแบบ ท่วั ประเทศรวม 372 โรงเรยี น สนามเด็กเล่นตามหลักการพัฒนาสมอง เขตพ้ืนท่ีละ 1 คน รวม 183 เขตพื้นที่ 2. วัตถปุ ระสงค์ จ�ำ นวน 183 คน ร่นุ ที่ 3 ผ้อู �ำ นวยการโรงเรียนเครือข่าย เพอ่ื สง่ เสรมิ สนบั สนนุ โรงเรยี นตน้ แบบ สนามเด็กเล่น เขตพ้ืนที่ละ 1 คน รวม 183 สนามเดก็ เลน่ ตามหลกั การพฒั นาสมอง (BBL) เขตพ้ืนที่ จ�ำ นวน 183 คน “เลน่ ตามรอยพระยคุ ลบาท” รว่ มกบั ส�ำ นกั งาน รุ่นที่ 4 ครูผู้สอนระดับปฐมวัย คณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานและ ผู้รับผิดชอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ใน สำ�นักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษา สนามเด็กเล่น เขตพ้ืนที่ละ 1 คน รวม 183 นครสวรรค์ เขต 1 ซง่ึ มีโรงเรยี นแม่แบบสนาม เขตพน้ื ท่ี จ�ำ นวน 183 คน เด็กเล่นตามหลักการพัฒนาสมอง (BBL) ดังน้ันในปัจจุบันมีโรงเรียนแม่แบบ “เล่นตามรอยพระยุคลบาท” ระดับประเทศ สนามเดก็ เลน่ ตามหลกั การพฒั นาสมอง (BBL) จำ�นวน 4 โรงเรียน ได้แก่ “เลน่ ตามรอยพระยคุ ลบาท” โรงเรยี นตน้ แบบ 1. โรงเรยี นอนบุ าลเมอื งนครสวรรค์ และโรงเรยี นเครอื ขา่ ย รวมทง้ั สน้ิ 372 โรงเรยี น (เขากบวิวรณส์ ขุ วทิ ยา) นอกจากนั้นยังมีโรงเรียนท่ีเข้าร่วมโครงการ 2. โรงเรียนวดั บา้ นมะเกลือ ตามความสมัครใจ โดยร่วมมือกับองค์การ 3. โรงเรยี นวดั หนองโรง ปกครองส่วนท้องถิ่น กรมอนามัย วัด และ 4. โรงเรียนเขาทอง องคก์ รตา่ ง ๆ จดั ท�ำ สนามเดก็ เลน่ ตามหลกั การ ในการด�ำ เนินงานดังกล่าวส�ำ นกั งาน พฒั นาสมอง (BBL) “เลน่ ตามรอยพระยคุ ลบาท” คณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน มอบหมาย ข้นึ ท่วั ทกุ ภาคในประเทศอกี เป็นจ�ำ นวนมาก
9 คมู่ ือการจดั ทำ�สนามเด็กเล่น ตามหลักการพัฒนาสมอง (BBL) “เล่นตามรอยพระยุคลบาท” ตอนที่ 1 เล่นตามรอยพระยุคลบาท รกั ธรรมชาติ ฉลาดคดิ คน้ แนวคดิ เรื่องการจัดการเรยี นรตู้ ามหลักการพัฒนาสมองและการจัดท�ำ แหล่งเรียนรู้ สนามเด็กเลน่ ตามหลกั การพัฒนาสมอง “เล่นตามรอยพระยคุ ลบาท” ส�ำนกั โครงการและจัดการความรู้ ส�ำนักงานบริหารและพัฒนาองคค์ วามรู้ (องคก์ ารมหาชน) www.okmd.or.th, www.facebook.com/Brain-based Learning : BBL
10 คมู่ อื การจดั ท�ำ สนามเด็กเลน่ ตามหลักการพัฒนาสมอง (BBL) “เล่นตามรอยพระยคุ ลบาท” ส�ำนกั โครงการและจัดการความรู้ ส�ำนักงานบริหารและพฒั นาองค์ความรู้ (องค์การมหาชน) www.okmd.or.th, www.facebook.com/Brain-based Learning : BBL
11 คมู่ อื การจดั ท�ำ สนามเด็กเลน่ ตามหลักการพัฒนาสมอง (BBL) “เล่นตามรอยพระยคุ ลบาท” ส�ำนกั โครงการและจัดการความรู้ ส�ำนักงานบริหารและพฒั นาองค์ความรู้ (องค์การมหาชน) www.okmd.or.th, www.facebook.com/Brain-based Learning : BBL
12 คมู่ อื การจดั ท�ำ สนามเด็กเลน่ ตามหลักการพัฒนาสมอง (BBL) “เล่นตามรอยพระยคุ ลบาท” ส�ำนกั โครงการและจัดการความรู้ ส�ำนักงานบริหารและพฒั นาองค์ความรู้ (องค์การมหาชน) www.okmd.or.th, www.facebook.com/Brain-based Learning : BBL
13 คมู่ อื การจดั ท�ำ สนามเด็กเลน่ ตามหลักการพัฒนาสมอง (BBL) “เล่นตามรอยพระยคุ ลบาท” ส�ำนกั โครงการและจัดการความรู้ ส�ำนักงานบริหารและพฒั นาองค์ความรู้ (องค์การมหาชน) www.okmd.or.th, www.facebook.com/Brain-based Learning : BBL
14 คูม่ ือการจัดท�ำ สนามเดก็ เล่น ตามหลักการพฒั นาสมอง (BBL) “เล่นตามรอยพระยุคลบาท”
15 คูม่ ือการจัดท�ำ สนามเดก็ เล่น ตามหลักการพฒั นาสมอง (BBL) “เล่นตามรอยพระยุคลบาท”
16 คูม่ อื การจัดท�ำ สนามเดก็ เลน่ ตามหลักการพัฒนาสมอง (BBL) “เล่นตามรอยพระยุคลบาท” wท่มีwาw:.fสa�cำนebักงoาoนkบ.cรoหิ mาร/แBลraะiพnัฒ-bนaาsอeงdคL์คeวaาrมnรiู้n(อgง:คBก์ BาLรมหาชน)
17 คู่มือการจัดทำ�สนามเด็กเลน่ ตามหลักการพฒั นาสมอง (BBL) “เลน่ ตามรอยพระยคุ ลบาท” สนามเด็กเลน่ ตามหลัก BBL : เล่นตามรอยพระยคุ ลบาท สนามเด็กเล่นตามหลักBBL : เล่นตาม “เล่น” ตามหลกั BBL หมายถึง รอยพระยคุ ลบาท หมายถงึ “เล่น คือ การเรียนรู้ ภายใต้ การจัดสภาพแวดล้อมตามธรรมชาติ และ การเล่นกบั “ธรรมชาติ : nature” ประสบการณ์ท่ีเหมาะสมทำ�ให้สมองเกิด “สง่ิ มชี ีวติ ” : พอ่ แม่ พ่ี นอ้ ง ปู่ ยา่ ตา ยาย การเรยี นรูโ้ ดยงา่ ย รวดเร็ว ลกึ ซง้ึ ทัง้ ทาง ครู พี่เล้ียง เพื่อน รวมทั้ง ด้านอารมณ์ สังคม ความรแู้ ละคณุ ธรรม” ต้นไม้ สตั ว์เลยี้ ง ผลท่เี กิดจากการ “เล่น” “ส่งิ ไมม่ ีชีวติ ” : ดิน ทราย น้ํา ลม ไฟ 1. อาหารใจ เด็กมีความสุข สนกุ เพลิดเพลิน รวมทั้งของเล่นของใช้ 2. อาหารกาย เหน่อื ยมาก หิวมาก ภ า ย ใ น บ้ า น ท่ี ไ ม่ เ ป็ น 3. การเรียนรู้ของสมองตามธรรมชาติที่ อันตรายต่อเดก็ สอดคล้องกับโครงสร้าง และการทำ�งาน “ธรรมชาติ : nature ” ของสมอง…หลัก BBL คอื ครทู ่ียง่ิ ใหญ่เป็นแหลง่ ความรทู้ ีส่ �ำ คัญ เด็กได้พื้นฐานองค์ความรู้ทุกศาสตร์… เลน่ ตอ้ งลงทนุ ในเรอ่ื งเวลา ความรกั ขาดไมไ่ ด้ ส�ำ หรบั การเรยี นรขู้ องสมองเดก็ และความเอาใจใส่ “พ่อแม่ ผู้ปกครอง • การจัดสภาพแวดล้อมกลางแจ้ง คุณครูต้องมีความรู้ ความเข้าใจในตัวเด็ก ท่ีมีปฏิสัมพันธ์กับ “ธรรมชาติ” ท่ีแวดล้อม และธรรมชาติเร่ืองการเลน่ ของเด็ก” ตวั เด็กทง้ั ส่ิงมีชีวติ และไม่มชี ีวติ เปน็ พ้ืนที่เลน่ • การเล่นท่ีเด็กมีปฏิสัมพันธ์กับ ท่ีถูกออกแบบอย่างมีเป้าหมาย ปลอดภัย “ธรรมชาติ” สิ่งแวดลอ้ มรอบตวั ท่หี ลากหลาย หลากหลาย เหมาะสมกบั วยั และสถานการณ์ เด็กเป็นผู้เล่นด้วยตัวเองอย่างอิสระเสรีตาม เพื่อเสริมสร้างการเรียนรู้อย่างอิสระของเด็ก ความอยาก และความสนใจของเดก็ ในเวลานน้ั ทุกช่วงอายุ สอดคล้องกับพัฒนาการด้าน ไดล้ องผดิ ลองถกู ได้เรยี นรู้ด้วยตนเอง คน้ พบ โครงสร้างและการทำ�งานของสมองเพ่ือให้ ความรูค้ วามสามารถของตนเอง สมองเจริญเติบโตได้เต็มศักยภาพ
18 คมู่ อื การจัดท�ำ สนามเดก็ เลน่ ตามหลกั การพัฒนาสมอง (BBL) “เลน่ ตามรอยพระยคุ ลบาท” เลน่ : เกิดอะไรข้ึนในสมองเด็ก Cortisol ซึ่งมีผลขัดขวางต่อการเรียนรู้และ 1. Limbic system เปดิ สมอง เปิด ความจำ� ของเด็ก วงจรการเรยี นรู้ เปดิ เปน็ การเรยี นรแู้ บบไมต่ ง้ั ใจ 4. สร้าง และเชื่อมโยงความคิด ซง่ึ จะท�ำ ใหก้ ารเรยี นรนู้ น้ั เปน็ เรอ่ื งงา่ ย และลกึ ซง้ึ จินตนาการ ประสบการณ์เดิมและเรียนรู้ สมองหลั่งสารแห่งความสุข (endorphin) ประสบการณใ์ หม่ จากการที่น�ำ ตัวเอง ไปอยู่ ทำ�ให้เกิดการสร้างสมาธิต่อเนื่องยาวนาน ในสถานการณ์หรือการเล่นที่ตนเองชอบ และ ตลอดชว่ งเวลาของการเล่น สนใจ ท�ำ ใหก้ ารเลน่ นน้ั เกดิ กระบวนการเรยี นรู้ 2. เด็กริเริ่ม ลงมือเล่นหรือกระทำ� อย่างมีความหมายซ่ึงเป็นฐานสำ�คัญไปสู่การ ด้วยตนเองอย่างอสิ ระเสรี (Active learning) พัฒนาทักษะการคิดและคิดอย่างสร้างสรรค์ โดยใชช้ อ่ งทางการเรยี นรขู้ องสมอง ตา หู จมกู (Creative brain) ลน้ิ ผวิ สมั ผสั และใจ ตามความชอบ ความสนใจ 5. เด็กมีปฏิสัมพันธ์กับบุคคลและ ได้ลองผิดลองถูก ทำ�ให้เกิดการค้นพบตนเอง ส่ิงแวดล้อมเป็นการเรียนรู้เพื่อการปรับตัว ค้นพบสิ่งแวดล้อม เรียนรู้ความสามารถใน สร้างความเป็นตัวตนของเด็ก ทำ�ให้เข้าใจ หลาย ๆ ด้านของตนเอง เด็กได้กำ�ลงั ใจจาก พฤติกรรมของเด็กท้ังด้านบวก ด้านลบที่มี ความส�ำ เร็จ ในการเล่นของตนเอง ตอ่ สงิ่ ต่าง ๆ รอบตัว เชน่ ความอดทน มวี ินัย 3. ละลายความเคร่งเครียด ใน การรอคอย การแบง่ ปนั การเสยี สละ คณุ ธรรม บรรยากาศส่ิงแวดล้อมท่ีเป็นธรรมชาติ จริยธรรม ฯลฯ ซ่ึงจะเป็นการวางรากฐาน สวยงาม รม่ รน่ื ทา้ ทาย เดก็ มคี วามสขุ ความสนกุ อุปนิสัย และบคุ ลกิ ภาพของเดก็ เม่ือเติบโตข้ึน เพราะความเครียดจะทำ�ให้สมองหลั่งสาร
19 คมู่ ือการจดั ทำ�สนามเด็กเล่น ตามหลกั การพฒั นาสมอง (BBL) “เล่นตามรอยพระยุคลบาท” เด็กต้องเรียนรู้การแก้ปัญหาด้วยตนเอง เดก็ อนบุ าล จากง่ายไปหายาก เม่ือเด็กประสบความ เลน่ คอื เรยี น เรยี นคอื เลน่ …การเลน่ น�ำ การเรยี น สำ�เร็จด้วยตนเองจะเกิดกำ�ลังใจ สมอง เดก็ ประถม และมัธยม หลัง่ สารแหง่ ความสขุ (Endorphin) แต่หาก การเรียน น�ำ การเลน่ ไม่สำ�เร็จ พ่อแม่/ครู จะต้องช่วยสนบั สนนุ มหาวิทยาลัย ใหเ้ กดิ ความสำ�เร็จกอ่ นทเ่ี ด็กจะถอดใจ การเรียน คือ การทำ�กิจกรรมเพ่ือแก้ปัญหา ในวชิ าทเี่ รยี น…แก้ปัญหาในชวี ติ จริง เดก็ ทกุ คน รัก ชอบ การเลน่ เป็นชวี ติ จิตใจ ขณะทเี่ ด็กมีความสขุ เพลิดเพลิน “สมอง เรียนรู้” อย่างเต็มท่ี โดยไม่มขี ดี จำ�กัดและไม่เบือ่ หน่าย สมองสามารถเรียนร้ไู ดท้ งั้ ขณะ “ไม่ต้งั ใจ …สขุ สนุก กบั การเล่น” และ “ตัง้ ใจ” องค์ประกอบของสนามเดก็ เลน่ ตามหลกั BBL 1. พน้ื ที่/บรรยากาศส่งิ แวดล้อม มีบริเวณ ต้นไม้รม่ รนื่ อากาศถ่ายเทดี มีความเปน็ ธรรมชาต ิ ขอบเขตพืน้ ที่ชดั เจน สะอาด ดแู ลง่าย มีความปลอดภยั เช่นพืน้ ทตี่ ก (Falling Space) พื้นทอี่ ิสระ (Free Space) พ้นื ท่สี ญั จร (Traffic Space) และพ้นื ทผ่ี ่อนคลาย (Relax Space) มคี วามหลากหลายทางกายภาพ เชน่ ทราย ดนิ นํา้ หญ้า ต้นไม้ ฯลฯ เพ่อื เสรมิ สร้าง การเรียนรอู้ ย่างอิสระของเดก็ มีการจดั วางผังและทศิ ทางท่ีชดั เจนสามารถเข้าถึงไดอ้ ยา่ งเทา่ เทียม จัดสรรให้มีการใช้พื้นที่เล่นและทำ�กิจกรรมอย่างเหมาะสม เช่น ช่วงเวลาระหว่างวัน ระยะเวลา และสดั ส่วนของเดก็ ทีจ่ ะเล่นอิสระหรือเลน่ ร่วมกนั มีพนื้ ทีๆ่ เปน็ สว่ นรว่ มระหวา่ งเดก็ และครู พอ่ แม่ ผปู้ กครอง อื่น ๆ 2. อุปกรณเ์ ครอื่ งเลน่ เครอ่ื งเลน่ มคี วามหลากหลาย ทง้ั ประเภทเลน่ เดย่ี ว (Single) และเลน่ เปน็ ชดุ รวม (Complex or Multiple) จากง่ายไปหายาก และซบั ซอ้ นเพิม่ ขึ้น มขี นาด ลักษณะและวธิ กี ารเลน่ ท่ีเหมาะสมกับวยั และพฒั นาการของเด็ก เนน้ ความปลอดภัย มีโครงสร้างแขง็ แรง ติดตัง้ แน่นหนา ทนทานและเนน้ วสั ดธุ รรมชาติ กระตนุ้ การเคล่อื นไหวอย่างกระตอื รือร้น สรา้ งความสนใจและความคดิ สร้างสรรคต์ อบ สนองความต้องการของเด็กในแตล่ ะวัย มีอปุ กรณ์เครือ่ งเล่นพื้นฐานสำ�หรบั ปนี ปา่ ย หอ้ ยโหน ลืน่ ไกว การทรงตวั ฯลฯ อนื่ ๆ
20 คมู่ อื การจดั ทำ�สนามเด็กเล่น ตามหลักการพัฒนาสมอง (BBL) “เล่นตามรอยพระยุคลบาท” 3. การบรหิ ารจัดการ มกี ารจดั ตารางเวลาในการใชพ้ น้ื ทใ่ี นชว่ งเวลาทเ่ี หมาะสม และใหเ้ วลาในการเลน่ อยา่ งเพยี งพอ มกี ารกำ�หนดสัดส่วนของเด็กกับผูด้ ูแล เช่น ในเด็กกอ่ นวัยเรียน 1 : 20 คน มีการบำ�รุง ดูแลรักษา ตรวจสอบความปลอดภัยและความสมบูรณ์ทั้งในส่วนของพื้นที่ และอปุ กรณเ์ คร่อื งเล่นอย่างสมา่ํ เสมอ มีการตั้งกติการ่วมกันระหว่างเด็กและครู พ่อแม่ ผู้ปกครอง ในการเล่นที่มีความเสี่ยง เพ่อื ให้เดก็ เรียนรู้ประสบการณ์จากการเลน่ ดว้ ยตนเอง มีการจัดคนดูแลพ้ืนท่ี มีการพัฒนาด้านความรู้และทักษะที่จำ�เป็นในเร่ืองการเล่น และ พฤตกิ รรมการเลน่ การปฐมพยาบาลเบือ้ งตน้ ฯลฯ ใหก้ บั ผทู้ ีม่ สี ว่ นเกี่ยวขอ้ ง เชน่ ผูด้ ูแล พื้นท่ี คุณครูอย่างต่อเน่ืองเพื่อเฝ้าระวังเร่ืองความปลอดภัยรวมถึงการป้องกันอุบัติเหตุ ต่างๆ ตลอดเวลาทีม่ ีการใชพ้ ้นื ที่สนามเด็กเลน่ มกี ารบนั ทกึ การเลน่ เกย่ี วกบั การจดั ประสบการณก์ ารเรยี นรู้ และผลทเ่ี กดิ ขน้ึ จากการเลน่ โดยผดู้ ูแลพ้นื ท่ี คณุ ครูและแกป้ ญั หาท่เี กิดขนึ้ มปี า้ ยบอกวิธีการเลน่ ทถี่ ูกต้องเพือ่ ปอ้ งกันการเกดิ อนั ตราย อืน่ ๆ 4. การจดั ประสบการณก์ ารเรียนรูใ้ นสนามเดก็ เลน่ เช่ือมโยงสาระความรทู้ ่ตี ้องการโดยผสมผสานกับธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อมรอบตัว มรี ปู แบบทห่ี ลากหลายตามความสนใจ ความถนดั และกระตนุ้ ใหเ้ กดิ ความอยากรู้ ทา้ ทาย คน้ หาศกั ยภาพของตนเชน่ การลงมอื ปฏบิ ตั ิ การทดลอง เกม นทิ าน การละเลน่ เลน่ เดย่ี ว เลน่ กลุ่ม ฯลฯ มีกระบวนการตอบสนองต่อธรรมชาติการเรียนรู้ของเด็กอย่างถูกต้องเหมาะสม สอดคล้องกับวัยและพัฒนาการเช่น เด็กเรียนรู้ได้ดีจากของจริง จากง่ายไปหายาก สิ่งแวดล้อมและธรรมชาติท่ีอยู่รอบๆ ตัวเด็กล้วนเป็นส่ิงท่ีจับต้องได้เป็นการสร้างวงจร การเรยี นรู้ท่ีหลากหลายชอ่ งทาง ค�ำ นึงถงึ ความสามารถและความแตกตา่ งระหวา่ งบุคคลเช่น เด็กทม่ี พี ัฒนาการลา่ ชา้ กว่า เด็กในวัยเดียวกนั เด็กที่ขาดความเชอื่ มัน่ ในตนเอง ฯลฯ อ่ืนๆ
21 คู่มือการจดั ท�ำ สนามเดก็ เลน่ ตามหลกั การพฒั นาสมอง (BBL) “เล่นตามรอยพระยุคลบาท” บทบาทของครู พ่อแม่ ผู้ปกครอง 1. เปิดโอกาสให้เด็กได้เลน่ และเลือกเล่นดว้ ยตนเองอยา่ งอิสระ 2. กระตุน้ ความรูส้ ึกท่อี ยากจะเล่น ส่งเสรมิ พฒั นาการรอบดา้ นอย่างสรา้ งสรรคท์ งั้ ทาง ด้านร่างกาย อารมณ์ - จิตใจ สังคม และสติปัญญา เพื่อให้เกิดการพัฒนาทั้ง IQ EQ MQ PQ SQ 3. สงั เกต คน้ หาศกั ยภาพในการเรยี นรแู้ ละความถนัดเฉพาะตวั ของเด็ก สนับสนนุ ใหเ้ ดก็ พัฒนาทกั ษะความสามารถน้นั ๆ 4. จัดสร้างพื้นท่ีว่าง สภาพแวดล้อมในโรงเรียน ห้องเรียน การจัดมุมเล่นในบ้าน และ ประสบการณ์การเลน่ ในบรรยากาศที่ผอ่ นคลาย ปลอดภัยโดยคำ�นึงถงึ ความเหมาะสม ตามบรบิ ทของพ้ืนที่ 5. จดั หาของเลน่ และวธิ กี ารเล่นท่ีเหมาะสมกบั ความสามารถและความถนัดของเด็ก 6. มีส่วนร่วมในการพัฒนาพื้นท่ีสนามเด็กเล่นอย่างเป็นระบบ เช่น ครูมีการนำ�ผลการ บนั ทึกพฤติกรรมการเล่นมาปรบั พัฒนาพนื้ ที่สนามเด็กเล่นเพิ่มเติม 7. อน่ื ๆ
22 คู่มอื การจัดทำ�สนามเด็กเลน่ ตามหลักการพฒั นาสมอง (BBL) “เลน่ ตามรอยพระยคุ ลบาท” องค์ประกอบหลักและความสอดคลอ้ งกบั BBL ของสนามเด็กเลน่ ตามหลกั การพฒั นาสมอง (BBL) “เลน่ ตามรอยพระยคุ ลบาท” คณะพัฒนาสนามเด็กเล่นตามหลัก พระยคุ ลบาท” จงึ เปน็ ประโยชนอ์ นั ทรงคณุ คา่ การพัฒนาสมอง (BBL) “เล่นตามรอยพระ มหาศาลสำ�หรับพสกนิกรชาวไทยซ่ึงพ่อแม่ ยคุ ลบาท” ไดน้ อ้ มน�ำ พระปรชี าญาณดา้ นการ ผู้ปกครอง ครู ประชาชนทว่ั ไป องค์กรภาครัฐ ศกึ ษา และอบรมเลย้ี งดพู ระโอรส และพระธดิ า และเอกชนทเ่ี กย่ี วขอ้ งสามารถน�ำ ไปใชเ้ ปน็ หลกั ของสมเด็จพระมหิตลาธิเบศรอดุลยเดชวิกรม ปฏบิ ัติในการเลย้ี งดูเด็ก เพอ่ื ใหส้ มองของเดก็ พระบรมราชชนก และสมเดจ็ พระศรนี ครนิ ทรา เจริญเติบโตได้เต็มท่ีและเต็มศักยภาพทุก บรมราชชนนี มาออกแบบเป็นการเล่น ชว่ งอายุ น�ำ ไปสกู่ ารพฒั นาวธิ กี ารจดั การเรยี นรู้ ลักษณะต่าง ๆ ภายใต้สภาพแวดล้อมทาง ในประเทศไทยใหม้ ีประสิทธิภาพยง่ิ ขึน้ สง่ ผล ธรรมชาติ การจัดทำ�สนามเด็กเล่นตาม ให้เด็กไทยได้เรียนรู้อย่างมีความสุขตลอดไป หลักการพัฒนาสมอง (BBL) “เล่นตามรอย โครงสร้างหลกั ของสนามเดก็ เลน่ ตามหลักการพัฒนาสมอง (BBL) “เล่นตามรอยพระยุคลบาท” 1. พื้นท่ีสำ�หรับพัฒนาประสาทรับรู้ของเด็ก นํ้ามนั นวดตวั เดก็ แปง้ ฝนุ่ ครูหรอื ผปู้ กครอง ปฐมวัย ประกอบด้วยกิจกรรมที่ส่งเสริม อาจใชฟ้ องน้ํานม่ิ ส�ำ หรับถตู วั ใช้ขดั ตวั แปรง ประสาทรับรู้ในรูปแบบต่าง ๆ เนื่องจาก อาบนา้ํ ชนดิ ออ่ น ผา้ ขนหนู ผนื เลก็ โดยกดหรอื ประสาทรับรู้เป็นเครื่องมือสำ�คัญที่เชื่อมโยง สัมผัสตวั เดก็ ให้มีน้าํ หนกั มากพอควร เซลล์ประสาท กระตุ้นการทำ�งานของสมอง 1.2 การระบายสดี ว้ ยน้ิวมือ ฝา่ มอื ท้ัง 4 ส่วน (ส่วนหน้า สว่ นกลาง ส่วนขมบั 1.3 การวาดด้วยสบู่บนพ้ืนฟอร์ไมก้าโดย และสว่ นหลัง) ทำ�ให้เกดิ การเรยี นร้อู ย่างเป็น ใช้นิว้ องคร์ วมทง้ั ดา้ นการคดิ การมองเหน็ การฟงั และ 1.4 การวาดรปู ดว้ ยนว้ิ มอื บนแขน ขา ล�ำ ตวั การเคลื่อนไหว การทรงตัว กิจกรรมที่อยู่ใน หลัง พนื้ ทน่ี ้ีแบง่ กจิ กรรมหลัก 3 กิจกรรม คอื 1.5 การเลน่ ทราย 1) กจิ กรรมพัฒนาระบบผิวสัมผัส 1.6 การฝนสดี ้วยกระดาษทราย 2) กจิ กรรมพฒั นาระบบสรา้ งสมดลุ รา่ งกาย 1.7 การนวดแป้ง ดนิ นํ้ามนั 3) กิจกรรมพัฒนาระบบสัมพันธภาพของ 1.8 การให้เด็กมีโอกาสสัมผัสรับรู้วัสดุที่มี รา่ งกาย ผวิ สมั ผสั ตา่ งกนั ในระหวา่ งท�ำ กจิ กรรม 1) กิจกรรมพัฒนาระบบผวิ สมั ผัส ไดแ้ ก่ สรา้ งสรรค์ เชน่ ผา้ กระสอบ ผา้ สกั หลาด 1.1 การสมั ผสั ถู นวด บริเวณแขน ล�ำ ตวั กำ�มะหย่ี ฯลฯ หลงั ขา โดยใชว้ ัสดุตา่ ง ๆ กัน เช่น โลช่ันทาผวิ
23 คู่มอื การจัดท�ำ สนามเด็กเล่น ตามหลักการพัฒนาสมอง (BBL) “เลน่ ตามรอยพระยุคลบาท” 1.9 การจัดกิจกรรมเคลื่อนไหว และ จงั หวะ/กจิ กรรมกลางแจง้ ทเ่ี ปดิ โอกาสใหเ้ ดก็ ถอดรองเทา้ สัมผสั กับพนื้ ผวิ ท่ตี ่างกัน เช่น พ้นื กระเบื้อง ไม้ กระเบื้องยาง แผ่นยางพารา สนามหญา้ ฯลฯ ทง้ั นต้ี อ้ งระมดั ระวงั เรอ่ื งความ ปลอดภยั ของเด็ก 1.10 การรับรู้อุณหภูมิต่างกันของวัตถุ เชน่ ร้อน อนุ่ เย็น ฯลฯ โดยสัมผสั พน้ื ผวิ ของ ร่างกาย ในบริเวณต่าง ๆ กัน หรือใช้อวัยวะ สมั ผัสที่หลากหลาย 2) กิจกรรมพฒั นาระบบสร้างสมดลุ รา่ งกาย ไดแ้ ก่ กิจกรรมที่ใช้พัฒนาระบบสร้างสมดุลของร่างกาย จะเป็นกิจกรรมท่ีฝึกการเคลื่อนไหว ของร่างกาย เชน่ การหมุนรอบตัวเอง การเคลอ่ื นไหวในแนวราบ การเคลอ่ื นไหวในแนวดง่ิ ซึง่ ท�ำ ไดห้ ลายลักษณะ ได้แก่ 2.1 การกระโดดยาง กระโดดเท้าคู่ 2.2 การกลิง้ ตัวในกล่องแขง็ การกลงิ้ ไปบนพืน้ ราบ หรือการกลิ้งลงทางลาด 2.3 กจิ กรรมการแกว่งทงั้ ในแนวเหนือ ใต้ ตะวนั ออก ตะวนั ตก 2.4 การหมนุ ทั้งทวนและตามเข็มนาฬกิ า 2.5 การเล่นกระดานล่นื การปนี เครือ่ งเล่นสนาม 2.6 การเดนิ บนพน้ื ผิวท่ีขรุขระ ไม่ราบเรยี บ 2.7 กิจกรรมการโยก 2.8 การทรงตวั 2.9 การวง่ิ จอ๊ กก้งิ 2.10 การตลี ังกา
24 คูม่ อื การจัดทำ�สนามเดก็ เลน่ ตามหลกั การพฒั นาสมอง (BBL) “เล่นตามรอยพระยุคลบาท” การพัฒนาระบบสร้างสมดุลของร่างกาย คือ ให้เด็กเรียนรู้การควบคุมการทรงตัวของ ร่างกาย รูต้ ำ�แหนง่ แห่งทขี่ องร่างกาย บังคับทศิ ทางการเคล่ือนไหวได้ ท�ำ ให้ระบบการกวาดสายตา ดีข้นึ เด็กมสี มาธเิ พมิ่ ข้นึ ในขณะทำ�กจิ กรรม สง่ ผลตอ่ เน่ืองดา้ นความสามารถในการเรยี นรู้ และ การรับรูต้ ำ�แหน่งหน้า – หลัง บน – ลา่ ง ซ้าย – ขวา และเตรยี มความพร้อมด้านการรูท้ ศิ ทางของ ตัวหนงั สอื
25 คมู่ อื การจัดทำ�สนามเดก็ เล่น ตามหลักการพัฒนาสมอง (BBL) “เล่นตามรอยพระยุคลบาท” 3) กิจกรรมพัฒนาระบบสัมพันธภาพของร่างกาย ไดแ้ ก่ อวัยวะที่เป็นระบบสัมพันธภาพของร่างกาย จะอยู่ใต้ระบบผิวสัมผัส ประกอบด้วยกล้ามเน้ือ เอ็น และข้อต่อ ทำ�ให้เด็กเรียนรู้ตำ�แหน่งของร่างกาย อตั ราการเคลอ่ื นไหว เรอ่ื งของทศิ ทางและความเรว็ ของ การเคลอ่ื นไหวแขน ขา กจิ กรรมทใ่ี ชฝ้ กึ มหี ลายลกั ษณะ 3.1 กจิ กรรมลกั ษณะทม่ี แี รงดงึ ตอ่ กลา้ มเนอ้ื เสน้ เอน็ และข้อตอ่ - การหวิ้ ของท่มี ีน้าํ หนกั - การโหนบาร์ - การชกั เยอ่ - การโยนบอล ขว้างบอล - การลากของ หรือกลอ่ งทีม่ ีนํ้าหนกั 3.2 กจิ กรรมลกั ษณะทใ่ี ชแ้ รงกดตอ่ กลา้ มเนอ้ื เสน้ เอน็ และขอ้ ต่อ - การผลกั กล่องทม่ี นี ํา้ หนักในทิศทางตา่ ง ๆ - การชก หรือดันหมอนขนาดใหญ่ - การผลกั ดันฝ่ามือกบั ผนงั หรอื เพ่อื น ฯลฯ 3.3 ทักษะทางการเคลอ่ื นไหวกล้ามเนอ้ื เลก็
26 คูม่ ือการจัดท�ำ สนามเดก็ เล่น ตามหลักการพฒั นาสมอง (BBL) “เล่นตามรอยพระยุคลบาท”
27 คมู่ อื การจดั ท�ำ สนามเดก็ เล่น ตามหลกั การพัฒนาสมอง (BBL) “เล่นตามรอยพระยคุ ลบาท” ฐานท่ี 1 บ้านต้นไม้ กจิ กรรมพฒั นาสมดุลรา่ งกาย ปนี ปา่ ย ห้อย โหน
28 ค่มู ือการจดั ท�ำ สนามเดก็ เลน่ ตามหลักการพฒั นาสมอง (BBL) “เล่นตามรอยพระยุคลบาท” ฐานที่ 2 ลานเล่านิทาน กจิ กรรมสง่ เสรมิ การเรียนรู้ภาษา ห้องสมุดธรรมชาติ
29 ค่มู ือการจัดทำ�สนามเด็กเลน่ ตามหลักการพฒั นาสมอง (BBL) “เล่นตามรอยพระยุคลบาท” ฐานที่ 3 ลานเลน่ ดิน ทราย นำ้ � กจิ กรรมการเลน่ อสิ ระและการเลน่ กบั ธรรมชาติ และการเลน่ เพื่อเกดิ การเรยี นรู้
30 คมู่ ือการจัดท�ำ สนามเดก็ เลน่ ตามหลักการพฒั นาสมอง (BBL) “เลน่ ตามรอยพระยคุ ลบาท” ฐานที่ 4 สระเลน่ นำ้ � กจิ กรรมส่งเสรมิ พฒั นาการ ด้านอารมณ์ จติ ใจ สงั คมและสง่ เสริมทกั ษะชวี ติ
31 ค่มู ือการจัดทำ�สนามเดก็ เล่น ตามหลกั การพฒั นาสมอง (BBL) “เลน่ ตามรอยพระยุคลบาท” ฐานที่ 5 พนื้ ท่ีเศรษฐกิจพอเพยี ง กิจกรรมสง่ เสรมิ การเรยี นรแู้ บบ Active Learning โดยใชป้ ระสาทสัมผสั ทงั้ 5 เช่น การปลูกผักสวนครัว
33 คูม่ อื การจดั ท�ำ สนามเด็กเล่น ตามหลักการพฒั นาสมอง (BBL) “เล่นตามรอยพระยุคลบาท” ตอนที่ 2 เริม่ ตน้ ดี มีชยั ไปกวา่ ครึ่ง ขนั้ เตรยี มการจัดทำ�สนามเด็กเล่น การเตรียมการจดั ท�ำ สนามเด็กเลน่ มคี วามส�ำ คญั มาก ผูบ้ ริหารโรงเรยี นและคณะคณุ ครู ต้องมีความมุ่งม่ัน ตั้งใจ เล็งเห็นประโยชน์ของการเรียนรู้ผ่านการเล่นในสนามเด็กเล่นตามหลัก การพัฒนาสมอง (BBL) “เล่นตามรอยพระยุคลบาท” สามารถช้ีแจงใหข้ ้อมลู แกผ่ เู้ ก่ียวข้องทุก ฝ่าย โดยเฉพาะอยา่ งย่ิงผู้ปกครอง นกั เรยี น เมอ่ื ทกุ ฝ่ายเหน็ พอ้ งมีเปา้ หมายร่วมกนั ถอื เปน็ จดุ สำ�คัญของการเริ่มต้นทำ�งาน “เริ่มต้นดี มีชยั ไปกวา่ คร่ึง” แผนภมู ติ ่อไปน้ี เป็นการนำ�เสนอขัน้ ตอนการเตรียมการจัดท�ำ สนามเดก็ เลน่
เร่มิ ตน้ ดี 34 มีชยั ไปกว่าครึง่ คู่มอื การจัดทำ�สนามเด็กเล่น ตามหลักการพฒั นาสมอง (BBL) “เล่นตามรอยพระยุคลบาท” - การอบรม ศึกษาดูงาน - การแลกเปลีย่ นเรยี นรปู้ ระสบการณ์ - ผู้บริหารครูผู้รับผิดชอบเข้าร่วมการอบรมกับหน่วยงานท่ี รบั ผดิ ชอบโดยตรง - ลงพื้นที่สัมผัสสนาม BBL เก็บเกี่ยวประสบการณ์ เป็น รากฐานในการลงมอื ปฏบิ ตั ิ - ประชุมคณะกรรมการสถานศึกษา - ประชมุ ครู บุคลากรทางการศึกษา - ประชมุ เครือข่ายผปู้ กครอง - ประชมุ ปราชญช์ าวบา้ น ช่างผู้ช�ำ นาญการ - ระดมความคิด ดว้ ยจติ สำ�นกึ - ระดมวสั ดุ อปุ กรณ์ (วสั ดจุ ากธรรมชาตใิ นทอ้ งถน่ิ ) สรา้ งจาก สิ่งท่มี ี มีจากส่งิ ที่สรา้ ง - ระดมงบประมาณ กำ�ลังทรัพย์จากผู้นำ�ทางด้านเศรษฐกิจ ในชมุ ชน (คหบด)ี ชมุ ชน หนว่ ยงานเอกชน หนว่ ยงานราชการ - ระดมกำ�ลงั คน ผนึกก�ำ ลัง สรา้ งสรรค์ สนาม BBL - กำ�หนดพื้นที่ในการก่อสร้าง ภายใต้แนวคิด บรรยากาศดี มคี วามปลอดภัย ม่งุ ใฝพ่ ฒั นาการเรียนรู้ - ก�ำ หนดฐานการเรียนร้เู บือ้ งตน้ (ฐานท่ี 1, 2, 3 ควรมี ฐานที่ 4, 5 พฒั นาต่อยอด) 1. ฐานบา้ นต้นไม้ (ปีนปา่ ยตอ่ ยอดเปน็ ห้องสมดุ ธรรมชาต)ิ 2. ฐานลานเลน่ ดนิ เลน่ ทราย เล่นนํ้า 3. ฐานลานเลา่ นิทาน 4. ฐานสระเลน่ นา้ํ 5. ฐานพน้ื ทเี่ ศรษฐกจิ พอเพยี ง
35 คู่มอื การจดั ท�ำ สนามเด็กเล่น ตามหลักการพัฒนาสมอง (BBL) “เล่นตามรอยพระยุคลบาท” 1. ศึกษาโรงเรียนตน้ แบบสนามเด็กเล่น - การอบรม ศกึ ษาดงู าน - การแลกเปลย่ี นเรยี นรปู้ ระสบการณ์ - ผ้บู ริหาร ครูผรู้ ับผิดชอบเขา้ รว่ มการอบรมกบั หน่วยงานทรี่ ับผดิ ชอบโดยตรง - ลงพน้ื ที่สัมผัสสนาม BBL เกบ็ เกีย่ วประสบการณ์ เปน็ รากฐานในการลงมอื ปฏบิ ตั ิ
36 คมู่ ือการจัดท�ำ สนามเด็กเล่น ตามหลกั การพฒั นาสมอง (BBL) “เลน่ ตามรอยพระยุคลบาท” 2. ประชมุ ผเู้ ก่ยี วขอ้ ง - ประชมุ คณะกรรมการสถานศึกษา - ประชุมครู บคุ ลากรทางการศกึ ษา - ประชมุ เครือขา่ ยผปู้ กครอง - ประชมุ ปราชญ์ชาวบา้ น ช่างผชู้ ำ�นาญการ
37 คูม่ อื การจัดทำ�สนามเด็กเลน่ ตามหลกั การพฒั นาสมอง (BBL) “เลน่ ตามรอยพระยคุ ลบาท” 3. ระดมทรพั ยากร - ระดมความคิด ด้วยจิตส�ำ นึก - ระดมวัสดุ อปุ กรณ์ (วัสดุจากธรรมชาติในทอ้ งถ่นิ ) สรา้ งจาก สงิ่ ท่มี ี มจี ากสง่ิ ทีส่ ร้าง - ระดมงบประมาณ กำ�ลงั ทรพั ย์จากผู้น�ำ ทางด้านเศรษฐกิจ ในชุมชน (คหบด)ี ชุมชน หน่วยงานเอกชน หนว่ ยงานราชการ - ระดมกำ�ลงั คน ผนึกกำ�ลงั สรา้ งสรรค์ สนาม BBL
38 คูม่ ือการจัดทำ�สนามเด็กเล่น ตามหลกั การพัฒนาสมอง (BBL) “เลน่ ตามรอยพระยคุ ลบาท” 4.วางแผนออกแบบ 1. ฐานบา้ นตน้ ไม ้ (ปนี ปา่ ย ตอ่ ยอด - ก�ำ หนดพน้ื ทใ่ี นการกอ่ สรา้ ง ภายใต้ เป็นห้องสมดุ ธรรมชาต)ิ แนวคิด บรรยากาศดี มีความ 2. ฐานลานเล่นดิน เล่นทราย ปลอดภัย มุ่งใฝ่พัฒนาการเรียนรู้ เลน่ น้าํ - กำ�หนดฐานการเรียนรู้เบ้ืองต้น 3. ฐานลานเล่านิทาน (ฐานท่ี 1, 2, 3 ควรมี ฐานที่ 4, 5 4. ฐานสระเลน่ นา้ํ พัฒนาต่อยอด) 5. ฐานพื้นทีเ่ ศรษฐกจิ พอเพยี ง
41 คู่มอื การจัดทำ�สนามเดก็ เล่น ตามหลกั การพัฒนาสมอง (BBL) “เลน่ ตามรอยพระยคุ ลบาท” ตอนท่ี 3 เขา้ ถึงเปา้ หมายหลากหลายวธิ ี การจัดทำ�สนามเด็กเล่นตามหลักการ มีความหลากหลาย ดังน้ันวิธีการสร้างจึงมี พฒั นาสมอง (BBL) “เลน่ ตามรอยพระยคุ ลบาท” รปู แบบรายละเอยี ดตา่ งกนั ทง้ั วสั ดแุ ละรปู ทรง แม้จะมีเป้าหมายและแนวคิดเดียวกัน แต่วิธี ไม่มีรูปแบบตายตัวแต่มีองค์ประกอบหลัก ดำ�เนินงานแตกต่างกัน เน่ืองจากสภาพพื้นที่ และข้ันตอนส�ำ คัญเหมือนกัน ดงั นี้ และวฒั นธรรมโรงเรียนต้นแบบ ใน 4 ภมู ิภาค ขั้นตอนท่ี 1 สำ�รวจบริเวณโรงเรยี น กำ�หนดจุด วางแผนผงั ออกแบบสนามเดก็ เล่น บรเิ วณสนามต้องมีต้นไมใ้ หญ่ รม่ รื่น ปลอดภยั พนื้ ท่สี �ำ หรับท�ำ สนามเดก็ เลน่ ประมาณ มองเหน็ ไดช้ ดั เจน ไมล่ บั ตา อาณาเขตชัดเจน 1-2 งานหรอื ตามบรบิ ท ของโรงเรยี น
42 คมู่ ือการจัดท�ำ สนามเดก็ เล่น ตามหลักการพฒั นาสมอง (BBL) “เล่นตามรอยพระยุคลบาท” แผนผังสนามเดก็ เล่นตามหลกั การพัฒนาสมอง : (BBL) “เล่นตามรอยพระยคุ ลบาท” ก�ำ หนดแผนผงั ก�ำ หนดแผนผัง จดั ทำ�ฐานการเรยี นรู้ จดั ทำ�แผนผงั ของ บ้านตน้ ไม้ สนาม กำ�หนดแผนผงั กำ�หนดแผนผงั จัดท�ำ ฐานการเรยี นรู้ จัดท�ำ ฐานการเรยี นรู ้ ลานดิน ลานทราย สระเล่นนํ้า กำ�หนดแผนผังจดั ท�ำ ฐานการเรยี นรู ้ หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง โมเดลจำ�ลองสนามเดก็ เลน่ ตามหลกั การพฒั นาสมอง : (BBL) “เล่นตามรอยพระยคุ ลบาท” โรงเรยี นบา้ นสำ�นัก ส�ำ นักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาประถมศึกษาระนอง
43 ค่มู ือการจดั ทำ�สนามเดก็ เล่น ตามหลกั การพัฒนาสมอง (BBL) “เล่นตามรอยพระยุคลบาท” ข้นั ตอนที่ 2 ลงมอื ด�ำ เนนิ การสร้างฐานการเรยี นรู้กิจกรรม ขนาดของฐานบ้านต้นไม้ ความกว้างประมาณ 8 x 12 เมตร ความสงู ไมค่ วรต่าํ กวา่ 1.80 เมตร เพ่อื จดั ท�ำ ฐานการเรยี นรูเ้ พิ่มเติม เชน่ ฐานเล่นดนิ เลน่ ทราย ฐานโบราณคดีน้อย ฐานขดุ ค้ยุ ตะลยุ โลก ฐานการเคลือ่ นไหว ปนี ป่าย ชิงชา้ ฯลฯ ลงมอื ดำ�เนนิ การ สร้าง
44 คมู่ ือการจัดทำ�สนามเด็กเลน่ ตามหลักการพฒั นาสมอง (BBL) “เลน่ ตามรอยพระยคุ ลบาท” เสาและส่วนประกอบควร พ้ืนไม่ควรใช้สมาร์ทบอร์ด ไมจ่ �ำ เป็นต้องทาสนี ํ้ามนั หาก เป็นไม้เนื้อแข็งท้ังหมด เพ่ือ เพราะจะยุ่ยง่าย การปูพ้ืนไม้ ต้องการทาให้ใช้สีสำ�หรับ ความคงทน เชน่ ไมเ้ ตง็ ไมแ้ ดง ไม่ควรชิดติดกัน ควรเว้น รกั ษาเนอ้ื ไม้ ถา้ เปน็ ไมเ้ นอ้ื แขง็ ไมต้ ะเคียน เป็นตน้ ระยะห่าง ประมาณ 1 ซม. ไม่จำ�เป็นต้องทา บริเวณใต้ เพอ่ื ไม่ให้น้ําฝนขงั บา้ นตน้ ไมป้ ทู รายหยาบ สงู 50 เซนตเิ มตร เพอ่ื ลดการบาดเจบ็ จากการตกกระแทก ควรใช้น็อตยึดไม้กับเสาแทน ขอ้ เสนอแนะ เสาควรฝังในท่อซีเมนต์เทปูน ตะปู ห้ามตีไม้ยึดกับต้นไม้ ในการสรา้ ง ทับเพื่อกันปลวก และเสา เพราะแรงลมและการเจริญ บ้านต้นไม้ คงทนไม่ผงุ า่ ย เ ติ บ โ ต ข อ ง ต้ น ไ ม้ จ ะ ทำ � ใ ห้ บา้ นต้นไม้เสียหายได้ เชือกที่ใช้ในการทำ�บันไดหรือ เชือกทำ�สะพานควรใช้เชือก ปา่ นเทยี มเกรดเอ เบอร์ 14,16,18 สะพานเชอื กขนั ชะเนาะ เจาะรู รอ้ ยเชอื ก แล้วตอกลิ่มไม้ เพอ่ื ให้เชอื กตงึ ไมห่ ย่อน
45 คูม่ ือการจดั ท�ำ สนามเด็กเล่น ตามหลักการพฒั นาสมอง (BBL) “เล่นตามรอยพระยุคลบาท” นทิ านเปน็ สอ่ื ทม่ี คี ณุ คา่ ตอ่ เดก็ การเลา่ ประโยชน์ท่ีเด็กได้รับจากการเล่านิทาน นทิ านเปน็ การสรา้ งการเรยี นรใู้ หเ้ กดิ ขน้ึ กบั เดก็ สามารถจ�ำ แนกเปน็ การสง่ เสรมิ พฒั นาการ สร้างแรงจูงใจในการเรียนรู้ ส่งเสริมให้เด็กมี ทางด้านร่างกาย การส่งเสริมพัฒนาการ คณุ ลกั ษณะทพ่ี ึงประสงคใ์ นดา้ นตา่ งๆ ทัง้ การ ทางดา้ นอารมณจ์ ติ ใจ การสง่ เสรมิ พฒั นาการ กล้าแสดงออก ความเช่อื ม่ันในตนเอง การคิด ทางด้านสังคม การส่งเสริมพัฒนาการ และจินตนาการ อีกทั้งยังช่วยสร้างแรงจูงใจ ทางด้านสติปญั ญา ให้เด็กเปิดรับพฤติกรรมใหม่ ๆ ได้ สำ�หรับ ลานเล่านิทานร่มรน่ื เย็นสบาย ลานเลา่ นิทานมีที่นง่ั เพยี งพอ ไมแ่ ออัดจนเกินไป สามารถจัดกิจกรรมไดต้ ลอดวัน
46 คูม่ อื การจัดทำ�สนามเด็กเลน่ ตามหลกั การพฒั นาสมอง (BBL) “เล่นตามรอยพระยคุ ลบาท” พ้ืนท่ลี านเลา่ นทิ าน ควรมีต้นไม้ รม่ รืน่ เหมาะส�ำ หรับทำ�กิจกรรม ไมม่ ีหลงั คา พน้ื ต้องสะอาด ไมร่ กรุงรัง ไมม่ แี มลงหรือสัตวม์ ีพษิ อยู่ เม่อื ทำ�กิจกรรมเสร็จ ควรใหน้ ักเรยี นชว่ ยกันท�ำ ความสะอาดก่อนจะกลบั ไปหอ้ งเรยี น สถานท่ีลานเล่านิทานไม่ควรเป็นแอ่งน้ําขังได้ ถ้าไม่มีต้องถมพื้นให้สูงแล้วปูพื้นด้วย ทรายหยาบ
47 คู่มือการจดั ทำ�สนามเด็กเลน่ ตามหลกั การพัฒนาสมอง (BBL) “เลน่ ตามรอยพระยุคลบาท” การเล่นนํ้าเป็นการส่งเสริมกล้ามเนื้อส่วนต่าง ๆ ของร่างกายให้มีความแข็งแรงและ ทำ�งานประสานกนั ได้ดี ซงึ่ จะสง่ ผลต่อพฒั นาการของเด็กได้ รวมทง้ั พัฒนาการทางสมอง ช่วย เสริมสร้างทักษะ การทรงตัวและการลอยตัว นํ้าจะช่วยกระตุ้นให้เด็กมีประสาทสัมผัสที่ไวขึ้น ท้งั การมองเห็น และการไดย้ นิ การออกแบบสระเล่นนํ้าสามารถออกแบบได้หลากหลายรูปทรง ตามบริบทสถานท่ี ของโรงเรยี น เช่น รปู ทรงเหลีย่ ม ทรงกลม ขึน้ อยูก่ บั งบประมาณและพื้นที่ของแตล่ ะโรงเรียน ข้อเสนอแนะ 1. พน้ื ทร่ี อบๆ สระเลน่ นา้ํ ควรปพู น้ื กระเบอ้ื งทห่ี ยาบ ไมล่ น่ื งา่ ย ปอ้ งกนั นกั เรยี นลน่ื หกลม้ 2. สระเล่นนํ้าตอ้ งแบ่งพ้นื ที่นาํ้ ตน้ื , นํ้าลกึ ใหช้ ดั เจน เพื่อให้เด็กเล็กไดอ้ ยู่ในส่วนท่ีปลอดภัย 3. เมอ่ื นกั เรยี นลงเลน่ นา้ํ ตอ้ งมคี รู และพเ่ี ลย้ี งดแู ลอยา่ งใกลช้ ดิ ตลอดเวลาเพอ่ื ปอ้ งกนั อบุ ตั เิ หตุ 4. นกั เรยี นท่ีปว่ ยเป็นไข้ ไม่สบายไม่ควรลงเล่นน้ํา อาจแพร่กระจ่ายเชอ้ื โรคไปในนาํ้ ได้ 5. กอ่ นลงเลน่ นํ้าใหน้ กั เรยี นเปลยี่ นชดุ ให้เรยี บร้อย ล้างตวั กอ่ นลงเลน่ นา้ํ 6. กระดานล่ืนทน่ี กั เรยี นเล่นตอ้ งให้ข้ึนลงอย่างเปน็ ระเบยี บ เมือ่ นกั เรียนล่นื ลงไปในสระ แล้วต้องไม่ยืนขวางทางล่ืนลงของเพ่ือนคนต่อไป เพราะอาจจะชนกับคนต่อไปที่ลื่น ตามลงมาได้
48 คมู่ อื การจัดท�ำ สนามเด็กเลน่ ตามหลักการพฒั นาสมอง (BBL) “เล่นตามรอยพระยุคลบาท” สร้างสระเลน่ น้ำ� การสรา้ งสระเลน่ นา้ํ สามารถสร้างได้ทั้ง สองแบบคอื สระขดุ และสระลอย ขน้ึ อยกู่ บั ความเหมาะสมของพนื้ ท่ี สระลอยจะวาง แผนระบายนา้ํ ไดง้ า่ ยกว่าสระขดุ ขดุ หลมุ หรอื เทพน้ื คอนกรีต โดยขนาดของสระเลน่ นาํ้ และรูปแบบของสนาม ขน้ึ อยกู่ ับ พน้ื ท่แี ละบรบิ ทของแต่ละโรงเรียน อัดพื้น เมื่อขุดหลุมได้ขนาดที่ต้องการแล้วก็มาถึงการอัดพื้นให้แน่น โดยใช้เครื่องอัดที่ สามารถอัดพน้ื กน้ หลุมให้ได้ทั่วทั้งบริเวณ ติดต้งั ระบบบ�ำ บัดนา้ํ เทพืน้ เริ่มด้วยวางระบบทอ่ ระบายนํ้าถงั บ�ำ บดั น้ํา หลงั จากน้นั เท ซเี มนต์ลงบนพ้ืนทีอ่ ัดเรยี บร้อยแลว้ ตดิ ตง้ั โครงขอบสระ โดยการกอ่ อฐิ เสริมด้วยโครงเหลก็ ฉาบผนงั ติดกระเบื้องพนื้ และ ผนังสระ เตมิ น้ํา ทดสอบ ทดสอบการรัว่ ซึมของนํ้า โดยจะแช่น้าํ ไว้ในสระสร้างใหมน่ ้ี ราว 2 -3 วนั เพือ่ ตรวจดใู หแ้ น่ใจวา่ ไม่มนี าํ้ รว่ั ออกมา ตดิ ตง้ั หลงั คา รว้ั รอบสระ เพื่อปอ้ งกนั แสงแดด และความปลอดภัย กระดานลน่ื ใหใ้ ช้ทอ่ พวี ซี ี รับรองมาตรฐาน มอก. ขนาดเส้นผ่าศนู ยก์ ลาง 40 นว้ิ ประกบ ให้ได้ 7 ทอ่ น ความลาดเอยี ง 40 องศา ใหป้ ลายทอ่ ระนาบกบั พืน้ สระ
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140