Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore กศน.นครปฐมรายงานผลการติดตามการดำเนินงานตามนโยบาย

กศน.นครปฐมรายงานผลการติดตามการดำเนินงานตามนโยบาย

Published by Natnicha, 2022-07-05 07:30:33

Description: กศน.นครปฐมรายงานผลการติดตามการดำเนินงานตามนโยบาย

Search

Read the Text Version

รายงานผลการตดิ ตามการดำเนินงานโครงการ/กจิ กรรมของสำนักงาน กศน. ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 สำนักงานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั จงั หวดั นครปฐม สำนกั งานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั สำนักงานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร กระทรวงศกึ ษาธิการ

ข คำนำ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สำนักงาน กศน. จังหวัดนครปฐม ได้ดำเนินการส่งเสริม สนับสนุน กำกบั ดแู ลสถานศึกษาในสังกัด ตลอดจนพฒั นาประสานงานภาคเี ครือข่าย ในการขบั เคลอื่ นภารกจิ ตามยุทธศาสตร์ และจุดเน้นการดำเนินงาน สำนักงาน กศน. ประจำปีงบประมาณ 2565 สู่การปฏิบัติผ่านโครงการ กิจกรรมต่าง ๆ ในรปู แบบของการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ทห่ี ลากหลาย รายงานผลการติดตามการดำเนินงานโครงการ/กิจกรรมของสำนักงาน กศน. ประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2565 ของ สำนักงาน กศน.จังหวัดนครปฐม ได้รวบรวมข้อมูลการดำเนินงานของสำนักงาน กศน.จังหวัดนครปฐม และสถานศึกษาในสังกัด ในภาพรวมของโครงการ กิจกรรม และงบประมาณที่ได้รับการ จดั สรรจากสำนักงาน กศน. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ทั้งนี้ สำนักงาน กศน. จังหวัดนครปฐม ขอขอบคุณสถานศึกษาในสังกัดทั้ง 7 แห่ง ผู้บริหาร ครู บุคลากรทุกท่าน รวมทั้งภาคีเครือข่ายและกลุ่มเป้าหมายผู้รับบริการการเรียนรู้ที่มีส่วนร่วมในการดำเนินงาน การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยให้ประสบผลสำเรจ็ ดงั ปรากฏรายละเอยี ดในรายงานผลการติดตาม การดำเนินงาน ฯ ฉบบั น้ี ซง่ึ เปน็ ข้อมลู และสารสนเทศทีส่ ำคัญ เพ่ือเผยแพร่ตอ่ สาธารณชน อันจะเป็นประโยชน์ใน การพัฒนากระบวนการทำงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยให้มีประสิทธิ ภาพและประสิทธิผล เพื่อสร้างโอกาสทางการศึกษาตลอดชีวิตให้กับคนไทย สำหรับภาคเกษตรกรรม อุตสาหกรรม การท่องเที่ยวและ วัฒนธรรม อย่างเสมอภาคเทา่ เทยี ม ทั่วถงึ และมคี ณุ ภาพอยา่ งเปน็ รูปธรรม ตอ่ ไป สำนักงาน กศน.จงั หวดั นครปฐม

ค สารบัญ หนา้ คำนำ ข สารบญั ค บทสรปุ สำหรบั ผู้บริหาร ช รายงานผลการติดตามการดำเนนิ งานโครงการ/กจิ กรรมของสำนกั งาน กศน. 1 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ผลการติดตามนโยบายรัฐมนตรวี ่าการกระทรวงศึกษาธิการ 1 การยกระดับคณุ ภาพการศึกษา โครงการจติ อาสา ของสำนักงาน กศน.จงั หวดั นครปฐม..................................................... 2 โครงการสง่ เสริมการเรยี นการสอนภาษาอังกฤษและภาษาของกลุ่มประเทศอาเซยี น........ 6 โครงการส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบผา่ นระบบทีวสี าธารณะ ETV (ติวเข้มเต็มความรู้)............................................................................................................. 8 กจิ กรรมจดั สร้างแหลง่ การเรียนรู้ในระดับตำบล................................................................. 10 โครงการศนู ย์การเรยี นรู้ตน้ แบบ กศน. ใน 5 ภมู ภิ าค เป็น co-Learning space………….. 13 โครงการเทียบโอนความรูเ้ ทียบระดบั การศกึ ษามิติความรู้ความคิด.................................... 16 2 การสร้างโอกาสความเสมอภาคและความเท่าเทยี มทางการศึกษา โครงการสิ่งอำนวยความสะดวก สื่อ บริการ และการช่วยเหลืออื่นใดทางการศึกษา สำหรับคนพกิ าร.................................................................................................................. 19 โครงการสนับสนุนค่าบริการเครือข่ายสารสนเทศเพื่อการจัดการศึกษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอัธยาศัย....................................................................................................... 21 โครงการพัฒนาห้องสมดุ ประชาชนเคลอื่ นที่....................................................................... 23 โครงการการจัดและส่งเสริมการจัดการศึกษาตลอดชีวิตเพื่อคงสมรรถนะทางกาย จิต และสมองของผสู้ ูงอายุ........................................................................................................ 26 กศน. ปักหมดุ เพ่ือสร้างโอกาสทางการศึกษาสำหรับคนพิการและผู้ด้อยโอกาส................ 30 โครงการส่งเสริมการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยสำหรับ ประชากรวัยเรียน ทอ่ี ยนู่ อกระบบการศกึ ษาและเดก็ ออกกลางคัน.................................... 34 3 การศึกษาเพอื่ พัฒนาทักษะอาชีพและเพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขัน โครงการศูนย์ฝกึ อาชีพชุมชน.............................................................................................. 38 โครงการศนู ย์ดจิ ิทลั ชุมชน................................................................................................... 42 โครงการภาษาตา่ งประเทศเพื่อการส่อื สารดา้ นอาชีพ......................................................... 48 4 การส่งเสรมิ สนับสนนุ วิชาชีพครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา โครงการพัฒนาทักษะครู กศน.ต้นแบบการสอนภาษาองั กฤษเพื่อการสื่อสาร.................... 52 โครงการพฒั นาบคุ ลากร สำนกั งาน กศน........................................................................... 54 โครงการคลงั ความรู้ กศน. เพ่อื การพฒั นาคุณภาพชีวิต (TKP)........................................... 58

ง สารบญั (ต่อ) หน้า โครงการพัฒนาครูผู้สอนคนพิการเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดการศึกษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอัธยาศยั สำหรบั คนพกิ าร ........................................................................ 61 นโยบายรฐั มนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ผลการติดตามนโยบายการขบั เคลื่อน กศน. สู่ กศน. WOW (6G) 1.1 ด้านท่ี 1 Good Teacher โครงการพัฒนาทักษะครู กศน.ตน้ แบบการสอนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร...................... 52 โครงการพฒั นาบุคลากร สำนักงาน กศน............................................................................. 54 โครงการคลงั ความรู้ กศน. เพื่อการพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ (TKP)............................................. 58 โครงการพัฒนาครูผู้สอนคนพิการเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดการศึกษา นอกระบบ และการศกึ ษาตามอธั ยาศยั สำหรบั คนพกิ าร...................................................... 61 1.2 ดา้ นที่ 2 Good Place - Best Check In กจิ กรรมจดั สร้างแหลง่ การเรยี นรู้ในระดบั ตำบล................................................................... 10 โครงการศนู ยก์ ารเรยี นรตู้ น้ แบบ กศน. ใน 5 ภมู ิภาค เป็น co-Learning space................ 13 1.3 ด้านที่ 3 Good Activities โครงการจิตอาสา ของสำนกั งาน กศน.จงั หวัดนครปฐม....................................................... 2 โครงการสง่ เสรมิ การเรียนการสอนภาษาอังกฤษและภาษาของกล่มุ ประเทศอาเซยี น.......... 6 โครงการสง่ เสริมการศึกษานอกระบบผ่านระบบทวี สี าธารณะ ETV (ตวิ เข้มเต็มความรู้)............................................................................................................... 8 โครงการเทยี บโอนความร้เู ทยี บระดับการศกึ ษามติ ิความรู้ความคดิ ...................................... 16 โครงการสิ่งอำนวยความสะดวก สือ่ บรกิ าร และการช่วยเหลอื อ่ืนใดทางการศกึ ษา สำหรับ คนพิการ............................................................................................................................... 19 โครงการพฒั นาห้องสมดุ ประชาชนเคลือ่ นท่ี......................................................................... 23 โครงการศูนยฝ์ ึกอาชพี ชุมชน................................................................................................ 38 โครงการศนู ย์ดจิ ิทลั ชุมชน..................................................................................................... 42 โครงการภาษาตา่ งประเทศเพอื่ การสื่อสารด้านอาชีพ........................................................... 48 โครงการพัฒนาทกั ษะครู กศน.ตน้ แบบการสอนภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสาร...................... 52 โครงการพฒั นาบคุ ลากร สำนกั งาน กศน............................................................................. 54 โครงการคลังความรู้ กศน. เพ่ือการพัฒนาคณุ ภาพชีวิต (TKP)............................................. 58 โครงการพัฒนาครูผู้สอนคนพกิ ารเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยสำหรบั คนพิการ......................................................................... 61 1.4 ดา้ นที่ 4 Good Partnerships โครงการสนับสนุนค่าบริการเครือข่ายสารสนเทศเพื่อการจัดการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย......................................................................................................... 21

จ สารบัญ (ต่อ) หนา้ 1.5 ดา้ นท่ี 5 Good Innovation โครงการศนู ยด์ จิ ทิ ัลชมุ ชน..................................................................................................... 42 1.6 ด้านที่ 6 Good Learning Center กิจกรรมจดั สร้างแหล่งการเรยี นรใู้ นระดบั ตำบล................................................................... 10 โครงการศูนยก์ ารเรยี นรูต้ ้นแบบ กศน. ใน 5 ภูมิภาค เปน็ co-Learning space................ 13 นโยบายและจดุ เน้นของสำนักงาน กศน. ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 ผลการติดตามนโยบายและจดุ เน้นของสำนักงาน กศน. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 1 ด้านการจดั การเรียนรคู้ ุณภาพ โครงการจิตอาสา ของสานกั งาน กศน.จงั หวดั นครปฐม.................................................... 2 โครงการเทยี บโอนความรูเ้ ทียบระดบั การศกึ ษามิติความรูค้ วามคิด.................................. 16 โครงการคลงั ความรู้ กศน. เพ่อื การพฒั นาคณุ ภาพชวี ิต (TKP).......................................... 58 2 ด้านการสร้างสมรรถนะและทักษะคณุ ภาพ โครงการสง่ เสริมการเรยี นการสอนภาษาองั กฤษและภาษาของกลมุ่ ประเทศอาเซยี น.............. 6 โครงการสิง่ อานวยความสะดวก สื่อบรกิ ารและการชว่ ยเหลืออ่ืนใดทางการศกึ ษาสาหรบั คนพิการ 19 โครงการการจดั และส่งเสริมการจดั การศึกษาตลอดชีวิตเพ่ือคงสมรรถนะทางกาย จิต และสมองของผสู้ งู อาย.ุ ............................................................................................ 26 โครงการศนู ยฝ์ ึกอาชพี ชมุ ชน............................................................................................... 38 โครงการศนู ยด์ จิ ทิ ลั ชมุ ชน........................................................................................ 42 โครงการภาษาตา่ งประเทศเพ่ือการส่อื สารดา้ นอาชพี ........................................................ 48 3 ดา้ นองคก์ ร สถานศกึ ษา และแหล่งเรยี นรู้คณุ ภาพ กิจกรรมจดั สรา้ งแหลง่ การเรียนรูใ้ นระดบั ตาบล................................................................. 10 โครงการศนู ยก์ ารเรียนรูต้ น้ แบบ กศน. ใน 5 ภมู ิภาค เป็น co-Learning space............... 13 โครงการสนับสนุนค่าบริการเครือข่ายสารสนเทศเพ่ือการจดั การศึกษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอธั ยาศยั ....................................................................................................... 21 โครงการพัฒนาห้องสมดุ ประชาชนเคล่ือนท่ี......................................................................... 23 4 ดา้ นการบริหารจัดการคุณภาพ โครงการพฒั นาทกั ษะครู กศน.ตน้ แบบการสอนภาษาองั กฤษเพ่ือการสือ่ สาร.................. 52 โครงการพฒั นาบคุ ลากร สานกั งาน กศน........................................................................... 54 โ ค ร ง ก า ร พั ฒ น า ค รู ผู้ส อ น ค น พิ ก า ร เ พ่ื อ เ พิ่ ม ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ใ น ก า ร จั ด ก า ร ศึ ก ษ า นอกระบบ............................................................................................................... 61

ฉ สารบัญ (ต่อ) หนา้ นโยบายระยะเร่งดว่ น ผลการติดตามนโยบายระยะเร่งดว่ น 1 การศึกษาตลอดชีวิต โครงการการจดั และส่งเสริมการจดั การศึกษาตลอดชีวิตเพื่อคงสมรรถนะทางกาย จิต และสมองของผู้สูงอายุ.................................................................................................. 26 2 การจัดการศึกษาสำหรับผู้ที่มีความต้องการจำเป็นพเิ ศษ โครงการสิ่งอำนวยความสะดวก สื่อ บริการ และการช่วยเหลืออื่นใดทางการศึกษา สำหรับคนพิการ............................................................................................................ 19 กศน. ปกั หมดุ เพือ่ สร้างโอกาสทางการศึกษาสำหรับคนพิการและผดู้ อ้ ยโอกาส.......... 30 3 พัฒนาทักษะทางอาชีพ โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน........................................................................................ 42 นโยบายการตรวจราชการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ผลการตดิ ตามนโยบายการตรวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ 1 การพฒั นาคณุ ภาพและประสิทธภิ าพครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาทกุ ประเภท ใหม้ สี มรรถนะทางภาษาและดจิ ทิ ลั รวมทัง้ การจัดการเรยี นการสอน โครงการพัฒนาทักษะครู กศน.ตน้ แบบการสอนภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสาร.............. 52 2 การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ทุกช่วงวัย โดยการจัดการเรียนรู้ที่หลากหลาย และ สร้างการเรียนรูต้ ลอดชวี ติ เพอื่ การพฒั นาทักษะอาชีพ โดยการเพมิ่ พูนทักษะ (Re - skill) พฒั นาทกั ษะ (Up - skill) และการเรียนรู้ทักษะใหม่ (New skills) โครงการศนู ย์ฝึกอาชีพชุมชน........................................................................................ 38 โครงการศนู ย์ดิจิทลั ชมุ ชน............................................................................................ 42 3 การสรา้ งโอกาสและการเขา้ ถงึ การศกึ ษาท่ีมคี ุณภาพสำหรบั คนพิการและ ผู้ดอ้ ยโอกาสและผเู้ รียนที่ มคี วามต้องการจำเปน็ พิเศษทั้งในระบบและนอกระบบการศึกษา โครงการสิ่งอำนวยความสะดวก สื่อ บริการ และการช่วยเหลืออื่นใดทางการศึกษา สำหรับคนพิการ............................................................................................................ 19 ภาคผนวก

บทสรปุ ผู้บริหาร สำนักงาน กศน.จังหวัดนครปฐม เป็นหน่วยงานในสังกัดสำนักงาน กศน. สำนักงานปลัดกระทรวง ศึกษาธิการ ที่มีพันธกิจตามพระราชบัญญัติส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ. 2551 โดยมีนโยบาย และเป้าหมายเพื่อสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคมในการจัดการศึกษาตลอดชีวิตให้กับ ประชาชนผู้ด้อยโอกาส ผู้พลาดโอกาส ผู้ขาดโอกาสและประชาชนทั่วไป พัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากร มนุษย์ จัดการศึกษาเพื่อมุ่งให้ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม มีสติปัญญา มีคุณภาพชีวิตที่ดี มีศักยภาพในการ ประกอบอาชีพ ทักษะอาชีพ พัฒนาอาชพี เดมิ สร้างอาชีพใหม่ สามารถนำความรูแ้ ละทักษะไปใช้ในการประกอบ อาชีพ หรือเพิ่มพูนรายได้ รวมทั้งพัฒนางานระดับพื้นฐาน ระดับกึ่งฝีมือ และระดับฝีมือที่สอดคลอ้ งกับสภาพและ ความต้องการของฝีมือแรงงาน มีการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ให้มีความรู้ มีเจตคติ และทักษะที่จำเป็นสำหรับ การดำรงชีวิตในสังคมปัจจุบัน สามารถเผชิญสถานการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น และเตรียมพร้อมการรับมือ ปรับตัวให้ ทันต่อการเปลี่ยนแปลงในสถานการณ์ต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้น ตลอดจนการเรียนรู้การใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม มีคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม รวมกลุ่มเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน สร้างกระบวนการจิตสาธารณะ ช่วยเหลือซึ่งกันและกันในการพัฒนาสังคมและชุมชนอย่างยั่งยืน โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็น แนวปฏิบัติในการดำเนินชีวิตประจำวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ อยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข ตลอดจนพัฒนา ชุมชนให้มีความเขม้ แขง็ ยง่ิ ขน้ึ การดำเนินการตามเป้าประสงคท์ ี่ให้ทุกภาคสว่ นมสี ว่ นร่วมในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัย ส่งผลให้มีเครือข่ายร่วมจัดการศึกษาเพิ่มมากขึ้น เช่น สำนักงานคณะกรรมการการการเลือกตั้ง รว่ มดำเนนิ การโครงการสง่ เสริมประชาธิปไตยประจำตำบล กองอำนวยการรกั ษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร ร่วมมือและบูรณาการในการเผยแพร่ความรู้และจัดการศึกษาดา้ นประวัติศาสตร์ชาติไทย พัฒนาปราชญช์ าวบา้ น ภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อเผยแพร่ศาสตร์พระราชาสู่ประชาชน กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม สนับสนุน อุปกรณ์ และอินเทอร์เนต็ เป็นภารกิจรว่ มผ่าน กศน.ตำบล เป็นการให้การศกึ ษาแกป่ ระชาชนทางดา้ นดจิ ทิ ัลศกึ ษา นอกจากนี้ เรายังอาศัยเครือข่ายเดิมที่มีในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานให้กับกลุ่มเป้าหมายอื่นอีก เช่น กระทรวงกลาโหม จัดการศึกษาขั้นพื้นฐานให้กับทหารประจำการ กรมราชทัณฑ์จัดการศึกษาขั้นพื้นฐานให้กับ ผู้ต้องขังในเรือนจำในพื้นที่อำเภอเมืองนครปฐม กรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน จัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในศูนย์ฝีกและอบรมเด็กและเยาวชนในพื้นที่อำเภอพุทธมณฑล ได้แก่ ศูนย์ฝึกบ้านมุทิตา ศูนย์ฝึกบ้านอุเบกขา ศูนย์ฝึกบ้านกรุณา ศูนย์ฝึกบ้านกาญจนาภิเษก ศูนย์ฝึกสิรินธร และในพื้นที่อำเภอสามพราน ได้แก่ ศูนย์ฝึก บ้านปรานี องค์การปกครองส่วนท้องถิ่นร่วมกันพัฒนาคุณภาพชีวิตให้กับประชาชน กระทรวงมหาดไทยหลาย หน่วยงาน กระทรวงสาธารณสุข กรมการศาสนา และเกือบทุกหน่วยงานในระดับอำเภอ และภาคเอกชนต่าง ๆ ที่ให้การสนับสนุน เช่น บริษัทเทพผดุงพรมะพร้าว ที่ให้ความร่วมมือ ร่วมใจ สนับสนุนในการดำเนินการจัด การศึกษาตลอดชีวิตใหป้ ระชาชนอยเู่ ยน็ เปน็ สุข และพอใจในการได้รบั บริการจาก กศน. และภาคเี ครอื ขา่ ย

ซ อย่างไรก็ตามในปัจจุบัน จังหวัดนครปฐมยังมีกลุ่มเป้าหมายที่ยังไม่ได้รับการส่งเสริมการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อีกจำนวนมาก ลำพังเพียง กศน.นครปฐม คงไม่สามารถดำเนินการใหท้ ั่วถงึ และเกิดประสิทธิภาพได้อย่างรวดเร็ว ซึ่งจะต้องอาศัยความร่วมมือจากภาคีเครือข่ายในการร่วมจัดการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อยกระดับการศึกษา อาชีพ และคุณภาพชีวิตของประชาชน ในรูปแบบ กระบวนการเรียนรู้ และกิจกรรมที่หลากหลาย ที่มีความสอดคล้องกับสภาพปัญหา ความต้องการ วิถีชุมชนและ การพฒั นาประเทศชาตขิ องกลมุ่ เป้าหมายให้ครอบคลมุ มากข้ึน นายบญุ เลศิ ตองติดรมั ย์ รองผู้อำนวยการสำนักงาน กศน.กทม. รกั ษาการในตำแหน่ง ผู้อำนวยการ สำนกั งาน กศน.จงั หวัดนครปฐม

รายงานผลการติดตามการดำเนินงานโครงการ/กิจกรรมของสำนกั งาน กศน. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของ สำนกั งาน กศน.จงั หวดั นครปฐม การรายงานผลการติดตามการดำเนินงานโครงการ/กิจกรรมของสำนักงาน กศน. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ได้รวบรวมข้อมูลการดำเนินงานของสำนักงาน กศน.จังหวัดนครปฐม และสถานศึกษาในสังกัด ในภาพรวมของโครงการ กิจกรรม และงบประมาณที่ได้รับการจัดสรรจากสำนักงาน กศน. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 โดยแสดงให้เห็นถึงความสำเร็จและความก้าวหน้าของการดำเนินงานในการขับเคลื่อนนโนยบาย ด้านการศึกษาสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม ซึ่งมีผลการดำเนินงานจำแนกตามโครงการของ สำนักงาน กศน. ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 ดงั น้ี 1. โครงการจิตอาสา ของสำนักงาน กศน.จงั หวัดนครปฐม 3. โครงการสง่ เสริมการเรยี นการสอนภาษาอังกฤษและภาษาของกลุ่มประเทศอาเซยี น 4. โครงการสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบผา่ นระบบทวี สี าธารณะ ETV (ตวิ เขม้ เต็มความรู้) 5. กิจกรรมจัดสรา้ งแหลง่ การเรยี นรู้ในระดับตำบล 8. โครงการศนู ย์การเรยี นรูต้ น้ แบบ กศน. ใน 5 ภมู ภิ าค เปน็ co-Learning space 9. โครงการเทียบโอนความรเู้ ทยี บระดับการศกึ ษามิตคิ วามรู้ความคิด 10. โครงการสิง่ อำนวยความสะดวก สื่อ บริการ และการชว่ ยเหลอื อืน่ ใดทางการศกึ ษา สำหรับคนพกิ าร 14. โครงการสนับสนุนค่าบริการเครือข่ายสารสนเทศเพื่อการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศยั 15. โครงการพฒั นาห้องสมุดประชาชนเคลื่อนที่ 18. โครงการการจัดและส่งเสริมการจัดการศึกษาตลอดชีวิตเพื่อคงสมรรถนะทางกาย จิต และสมอง ของผสู้ งู อายุ 19. กศน. ปกั หมุด เพอ่ื สรา้ งโอกาสทางการศกึ ษาสำหรับคนพิการและผู้ด้อยโอกาส 20. โครงการส่งเสริมการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยสำหรับประชากรวัยเรียน ทีอ่ ยู่นอกระบบการศกึ ษาและเด็กออกกลางคนั 23. โครงการศนู ย์ฝึกอาชพี ชุมชน 25. โครงการศูนยด์ ิจทิ ัลชุมชน 26. โครงการภาษาต่างประเทศเพ่อื การส่อื สารดา้ นอาชีพ 31. โครงการพัฒนาทกั ษะครู กศน.ต้นแบบการสอนภาษาอังกฤษเพื่อการส่ือสาร 32. โครงการพัฒนาบุคลากร สำนักงาน กศน. 33. โครงการคลังความรู้ กศน. เพ่อื การพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ (TKP) 35. โครงการพัฒนาครูผู้สอนคนพิการเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดการศึกษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอธั ยาศัยสำหรบั คนพิการ โดยมีรายละเอยี ดผลการดำเนนิ งาน ดังต่อไปน้ี

2 1. โครงการหลักสูตรจิตอาสา 904 นโยบายและจดุ เน้นการดำเนนิ งาน 1. นโยบายของรฐั มนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธกิ าร ข้อ 2 การยกระดับคณุ ภาพการศกึ ษา 2. นโยบายของรัฐมนตรชี ่วยว่าการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ขอ้ 3 ส่งเสริมการจดั กจิ กรรมการเรียนรทู้ ีท่ นั สมยั และมีประสทิ ธิภาพ : Good Activities 3. นโยบายจุดเนน้ ของสำนกั งาน กศน. ขอ้ 3.1 ด้านการจัดการเรียนรู้คณุ ภาพ 3) สง่ เสริมการจดั การศกึ ษาเพ่ือเสริมสรา้ งความมั่นคง ความรคู้ วามเข้าใจในการนำนโยบายต่าง ๆ ของผบู้ รหิ ารสกู่ ารปฏบิ ตั ิ สืบเนื่องจากพระราโชบายของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 10 นั้น สำนักงาน กศน. ได้น้อมนำมาเป็นแนวทางเพื่อให้ผู้ที่ได้รับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ มีจิตสาธารณะที่พร้อมอาสาสมัคร ในการบำเพ็ญประโยชน์ต่อส่วนรวม และร่วมกันปกป้องและเชิดชูสถาบันพระมหากษัตริย์ สร้างความรักความ สามัคคีของประชาชน และขยายผลโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริในพื้นที่ อันจะส่งผลให้บุคลากรในสังกัด มคี วามรกั ชาติ เกิดความรักความสามัคคี เป็นรากฐานทเี่ หนียวแนน่ ในการพฒั นาประเทศชาติใหม้ ีความเจริญม่ันคง ประกอบกับมติคณะรัฐมนตรี ครั้งที่ 1/2563 เมื่อวันที่ 21 มกราคม 2563 ณ ห้องประชุมเฉลิมพระเกียรติ มหาวิทยาลยั นราธิวาสราชนครินทร์ จงั หวดั นราธวิ าส ข้อที่ 12 เรอ่ื ง สรุปผลการปฏิบัติราชการของคณะรัฐมนตรี ในพ้นื ทก่ี ลมุ่ จงั หวดั ภาคใตช้ ายแดน 3.4 เสริมสร้างความเขม้ แข็งใหก้ บั ชุมชนบนพื้นฐานสงั คมพหวุ ัฒนธรรม 2) การ จัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเพื่อสร้างโอกาสและลดความเหลื่อมล้ำของสำนักงานส่งเสริม การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวดั ปัตตานี ขอ้ ส่งั การให้สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย ดำเนินการ (1) สนับสนุนให้ครู และบุคลากรเข้ารับการอบรมจิตอาสา 904 และการ จัดกิจกรรมที่ส่งผลให้เกิดความรักชาติ เกิดความรักความสามัคคี เป็นรากฐานที่เหนียวแน่นในการพัฒนา ประเทศชาตใิ หม้ คี วามเจรญิ มั่นคง สำนักงาน กศน.จังหวัดนครปฐม ได้เห็นถึงความจำเป็นในการพัฒนาบุคลากรภายในสังกัด สำนักงาน กศน.จงั หวัดนครปฐม รวมถงึ ประชาชน ผู้เรียน ให้เกิดการสร้างอุดมการณ์ สร้างจติ สำนึก สรา้ งระเบียบ วนิ ยั สามารถเป็นผ้นู ำสำคัญในการประสานความรว่ มมือ แกไ้ ขปัญหาความเดือดร้อนให้กับประชาชนในพน้ื ท่ี และ นำความรู้ที่ได้รับไปช่วยเหลือผู้ที่ได้รับความเดือดร้อนจากสถานการณ์วิกฤติ และภัยพิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงได้จัดกิจกรรมโครงการหลักสูตรจิตอาสา 904 ขึ้น โดยการมีส่วนร่วมของสถานศึกษาในสังกัดทั้ง 7 แห่ง ดำเนินการขับเคลอื่ นกจิ กรรมดงั ต่อไปน้ี 1. จัดกิจกรรมอบรมหลักสูตรจิตอาสา ของสำนักงาน กศน. ในระหว่างวันที่ 3-4 กุมภาพันธ์ 2565 ณ หอประชมุ สำนกั งาน กศน. จงั หวัดนครปฐม 2. จัดกิจกรรมขยายผลโครงการจิตอาสาของสำนักงาน กศน. ประกอบด้วย 4 กิจกรรม ได้แก่ (1) การประกวดชุมชนจติ อาสา (2) การแข่งขนั ขบั รอ้ งเพลงพระราชนพิ นธใ์ นรชั กาลท่ี 9 (3) การประกวดการจัดทำ โครงงานจติ อาสาต้นแบบ และ (4) การคดั เลือกผปู้ ฏิบตั ิงานท่ที ำคณุ ประโยชนด์ า้ นจิตอาสา สำนักงาน กศน. จังหวัดนครปฐม และสถานศึกษาในสังกัดทั้ง 7 แห่ง ได้ดำเนินการจัดกิจกรรม ขยายผลโครงการจิตอาสาของสำนักงาน กศน. ระว่างวันที่ 21-22 มีนาคม ๒๕๖๕ ณ หอประชุมสำนักงาน กศน.

3 จังหวัดนครปฐม และห้องประชุมสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดนครปฐม เพื่อนำความรู้ ความเข้าใจ มาขยายผล มีจิตสาธารณะที่พร้อมอาสาสมัครเพ็ญประโยชน์ต่อส่วนรวม ตลอดจนมีการขยายผลโครงการอันเนื่องมาจาก พระราชดำริในพื้นที่ ทำให้ประชาชนเกิดความรักความสามัคคี เพื่อให้นักศึกษาริเริ่ม สร้างสรรค์หรือผสมผสาน นวัตกรรมด้านจิตอาสา เปน็ ประโยชนใ์ นวงกว้างต่อผู้เรียน สถานศึกษา และชมุ ชน เพอื่ ยกยอ่ งเชดิ ชูเกยี รตบิ ุคลากร ที่ทำคุณประโยชน์ด้านจิตอาสาในการส่งเสริม สนับสนุน การขับเคลื่อนงานด้านจติ อาสา การถ่ายทอดองค์ความรู้ ส่งเสริม สนับสนุน ขยายเครือข่ายบุคลากรที่ส่งเสริม สนับสนุนงานด้านจิตอาสา ประชาสัมพันธ์ และเผยแพร่ ผลงานบุคลากรผู้ปฏิบัติงานทีท่ ำคณุ ประโยชน์ด้านจิตอาสา โดยมีผลการดำเนนิ งาน ดังน้ี 2.1 การประกวดชุมชนจติ อาสา มผี ลการคัดเลอื ก ดังนี้ รางวลั ชนะเลศิ ไดแ้ ก่ ชมุ ชนบา้ นสวนถ่วั ตำบลวัดละมุด อำเภอนครชัยศรี รางวัลรองชนะเลศิ อนั ดับท่ี 1 ได้แก่ ชมุ ชนบ้านลำพยา ตำบลลำพยา อำเภอเมืองนครปฐม รางวัลรองชนะเลิศอนั ดบั ท่ี 2 ไดแ้ ก่ ชมุ ชนบา้ นแจงงาม ตำบลหว้ ยพระ อำเภอดอนตูม 2.2 การแขง่ ขนั ขบั รอ้ งเพลงพระราชนพิ นธใ์ นรัชกาลท่ี 9 มีผลการประกวด ดังน้ี 1) ประเภทนักศกึ ษาพิการ รางวัลชนะเลิศ ได้แก่ กศน.อำเภอสามพราน 2) ระดับประถมศกึ ษา รางวัลชนะเลิศ ไดแ้ ก่ กศน.อำเภอนครชยั ศรี 3) ระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น รางวัลชนะเลศิ ได้แก่ กศน.อำเภอพทุ ธมณฑล รางวลั รองชนะเลศิ อันดบั ท่ี 1 ไดแ้ ก่ กศน.อำเภอกำแพงแสน รางวลั รองชนะเลิศอนั ดับท่ี 2 ได้แก่ กศน.อำเภอดอนตูม รางวลั รองชนะเลิศอันดบั ที่ 3 ไดแ้ ก่ กศน.อำเภอเมืองนครปฐม 4) ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย รางวัลชนะเลิศ ไดแ้ ก่ กศน.อำเภอกำแพงแสน รางวัลรองชนะเลิศอนั ดับที่ 1 ได้แก่ กศน.อำเภอดอนตมู รางวัลรองชนะเลิศอันดับท่ี 2 ไดแ้ ก่ กศน.อำเภอพุทธมณฑล รางวลั รองชนะเลศิ อนั ดบั ที่ 3 ได้แก่ กศน.อำเภอนครชัยศรี รางวัลรองชนะเลศิ อนั ดบั ที่ 4 ได้แก่ กศน.อำเภอเมอื งนครปฐม 2.3 การประกวดการจัดทำโครงงานจิตอาสาตน้ แบบ มีผลการคัดเลอื ก ดงั นี้ 1) ระดบั ประถมศึกษา ไม่มีผูส้ ง่ เขา้ ประกวด 2) ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้ รางวัลชนะเลิศ ไดแ้ ก่ กศน.อำเภอดอนตมู \"โครงการจติ อาสา กศน.ดอนตูม\" 3) ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย รางวัลชนะเลิศ ไดแ้ ก่ กศน.อำเภอเมืองนครปฐม \"โครงงานกลอ่ งไฟเคลอ่ื นที่อัจฉรยิ ะจิตอาสาเพ่ือชุมชน\"

4 รางวลั รองชนะเลศิ อนั ดบั ท่ี 1 ไดแ้ ก่ กศน.อำเภอกำแพงแสน \"โครงงานเคล่อื นกดแอลกอฮอล์ แบบเหยียบนวัตกรรมเพอื่ ชุมชน\" 2.4 การคดั เลอื กผปู้ ฏิบัตงิ านทท่ี ำคณุ ประโยชน์ด้านจิตอาสา รางวลั ชนะเลิศ ไดแ้ ก่ นางสาวธาราทิพย์ สอดศรีจนั ทร์ กศน.อำเภอนครชยั ศรี รางวลั รองชนะเลิศอันดับที่ 1 ได้แก่ นางสาวจุธทามาศน์ หลิมตระกลู กศน.อำเภอเมืองนครปฐม รางวัลรองชนะเลศิ อนั ดับท่ี 2 ได้แก่ นางสาวชัญญา ดำรงคศ์ ลิ ป์ กศน.อำเภอดอนตูม ข้อค้นพบ/ปัญหาอปุ สรรคในการดำเนินงาน - แนวทางการแกไ้ ขปัญหาในการดำเนินงาน - ปัจจัยความสำเร็จ 1. นักศึกษาผู้พิการทางการมองเห็น ของ กศน.อำเภอสามพราน สำนักงาน กศน. จังหวัด นครปฐม เป็นผู้มีความรู้ความสามารถและทักษะในการขับรองเพลงและรีวิวประกอบเพลง มีความมุ่งมั่นและ อดทนในการฝึกซ้อม อีกทั้งภาคีเครือข่าย ได้แก่ ศูนย์ฝึกอาชีพหญิงตาบอดสามพราน ให้การสนับสนุนทั้งด้าน นักศึกษา ครูฝึกซ้อม สถานที่อย่างเต็มที่ ส่งผลให้ได้รับรางวัลชนะเลิศ การแข่งขันขับร้องบทเพลงพระราชนิพนธ์ ในรัชกาลที่ 9 ประเภทนักศึกษาผู้พิการ จากการประกวดกิจกรรมขยายผลโครงการจิตอาสาของสำนักงาน กศน. ประจำปี พ.ศ. 2565 ระดับภาคกลาง 2. นักศึกษา ของ กศน.อำเภอกำแพงแสน สำนักงาน กศน. จังหวัดนครปฐม เป็นผู้มีความรู้ ความสามารถ ส่งผลให้ได้รับรางวัลรองชนะเลิศ อันดับ 1 การประกวดการจัดทำโครงงานจิตอาสาต้นแบบ ระดับ มัธยมศกึ ษาตอนปลาย โครงงานกล่องไฟเคลอ่ื นท่ีอัจฉริยะจติ อาสาเพอื่ จากการประกวดกจิ กรรมขยายผลโครงการ จติ อาสาของสำนกั งาน กศน. ประจำปี พ.ศ. 2565 ระดบั ภาคกลาง ผลการปฏิบัติงานท่เี ปน็ เลศิ (Best Practice) 1. ได้รับรางวัลชนะเลิศ การแข่งขันขับร้องบทเพลงพระราชนิพนธ์ ในรัชกาลที่ 9 ประเภท นกั ศึกษาผ้พู กิ าร ทมี แสงเทียนหัวใจ กศน.อำเภอสามพราน สำนกั งาน กศน. จังหวดั นครปฐม กลุ่มลมุ่ นำ้ เจา้ พระยา จากการประกวดกจิ กรรมขยายผลโครงการจติ อาสาของสำนกั งาน กศน. ประจำปี พ.ศ. 2565 ระดับภาคกลาง 2. ได้รับรางวัลรองชนะเลิศ อันดับ 1 การประกวดการจัดทำโครงงานจิตอาสาต้นแบบ ระดับ มัธยมศึกษาตอนปลาย โครงงานกล่องไฟเคลอ่ื นท่ีอัจฉริยะจิตอาสาเพอ่ื ชุมชน กศน.อำเภอเมืองนครปฐม สำนกั งาน กศน. จังหวัดนครปฐม กลุ่มลุ่มน้ำเจ้าพระยา จากการประกวดกิจกรรมขยายผลโครงการจิตอาสาของสำนักงาน กศน. ประจำปี พ.ศ. 2565 ระดบั ภาคกลาง ปัญหาอุปสรรค -

5 กศน.อำเภอสามพราน สำนักงาน กศน. จงั หวัดนครปฐม กลุม่ ลุ่มนำ้ เจ้าพระยา ไดร้ ับรางวลั ชนะเลศิ การแขง่ ขนั ขบั ร้องบทเพลงพระราชนิพนธ์ ในรัชกาลที่ 9 ประเภทนกั ศกึ ษาผ้พู กิ าร ทีมแสงเทียนหัวใจ จากการประกวดกจิ กรรมขยายผลโครงการจติ อาสาของสำนักงาน กศน. ประจำปี พ.ศ. 2565 ระดับภาคกลาง

6 3. โครงการส่งเสริมการเรียนการสอนภาษาอังกฤษและภาษาของกล่มุ ประเทศอาเซียน นโยบายและจดุ เน้นการดำเนนิ งาน 1. นโยบายของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ข้อ 2 การยกระดับคณุ ภาพการศกึ ษา 2. นโยบายของรฐั มนตรชี ่วยวา่ การกระทรวงศึกษาธิการ ข้อ 3 ส่งเสรมิ การจัดกิจกรรมการเรยี นรูท้ ี่ทันสมัยและมีประสทิ ธภิ าพ : Good Activities 3. นโยบายจุดเนน้ ของสำนักงาน กศน. ขอ้ 3.2 ด้านการสร้างสมรรถนะและทกั ษะคุณภาพ 6) สง่ เสริมการพฒั นาทักษะดจิ ทิ ัลและทกั ษะด้านภาษา ความรูค้ วามเขา้ ใจในการนำนโยบายต่าง ๆ ของผูบ้ รหิ ารสกู่ ารปฏบิ ัติ ในสังคมโลกปัจจุบัน การเรียนรู้ภาษาต่างประเทศมีความสำคัญและจำเป็นอย่างยิ่งใน ชีวิตประจำวนั เนอ่ื งจากเป็นเครื่องมือสำคัญในการติดต่อส่ือสาร การศึกษา การแสวงหาความรู้ และการประกอบ อาชีพ ประกอบกับ การสื่อสารภาษาอังกฤษทำให้คนมีความเข้าใจซึ่งกันและกัน และเป็นสื่อในการเชื่อมความ สามัคคีทั้งในชาติและต่างชาติ เป็นภาษากลางในการสื่อสาร เพื่อให้มีความเข้าใจตรงกัน ภาษาอังกฤษได้เข้ามามี บทบาทในชีวิตของคนไทย และคนทั่วโลก ไม่ว่าจะเป็นการติดต่อสื่อสารกันโดยตรง การใช้อินเตอร์เน็ต การดู ภาพยนตร์ เปน็ ตน้ ดังนั้น การจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ในรายวิชาบังคับ ทุกระดับ มีสาระสำคัญที่จะเนนใหผู้เรียนมีความรู ความเขาใจ มีทักษะ และเจตคติเกี่ยวกับภาษาทาทาง การฟง การพูด การอาน และการเขียนภาษาตางประเทศ ดวยประโยค ทีซ่ ับซอนมากขน้ึ ในชีวติ ประจำวันและงานอาชีพของตนได้ถกู ตองตามหลักภาษาและวัฒนธรรม และกาลเทศะของ เจาของภาษา อีกทั้ง สังคมโลกทุกวันนี้มีการติดตอสื่อสารกันอย่างกว้างขวาง ไม่วาจะเป็นการติดตอด้วยตนเอง หรือติดตอทางโทรศัพท ทางอินเทอรเน็ต ภาษาอังกฤษเป็นภาษาสากลที่สำคัญ ซึ่งคนสวนใหญ่ในโลกใชในการ ติดตอสื่อสารรองลงมาจากภาษาจีน อยางไรก็ตาม ภาษาอังกฤษจะเปนภาษาที่จําเปน ในยุคปจจุบัน แตก็มิได หมายความวาทุกคนจะรูและเขาใจภาษาอังกฤษไดทั้งหมด การสนทนาโดย ใชภาษาทาทางประกอบจึงเปนเรื่อง จําเปนที่ชวยใหคูสนทนาเขาใจและสื่อความหมายในชีวิตประจําวันได เพื่อให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ตามที่หลักสูตรกำหนดไว้นั้น จึงเน้นให้มีการจัดการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ตามแนวการจัด การศึกษาของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 หมวด 4 มาตรา 22 ระบุว่าการจัดการศึกษาต้องยึด หลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถในการเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมีความสำคัญที่สุด กระบวนการจดั การศึกษาตอ้ งส่งเสริมใหผ้ เู้ รยี นสามารถพฒั นาตามธรรมชาตแิ ละเตม็ ตามศักยภาพ สำนักงาน กศน. จังหวัดนครปฐม ได้ส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศึกษาในสังกัดดำเนินงานจัดหา สื่อการเรียนรู้ให้ครูและนักศึกษา มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับประชาคมอาเซียน เพิ่มขึ้น ได้แก่ การจัดให้มีห้อง ศูนย์อาเซียนศึกษาในสถานศึกษา สำหรับให้ครูและนักเรียนได้ศกึ ษาเรียนรู้จากสื่อ ต่าง ๆ ในห้อง ได้แก่ วีดีโอ สื่อ สิ่งพิมพ์ หนังสือเรียนอาเซียนศึกษา บอร์ดนิทรรศการ เข้ามาช่วยในการจัดการเรียนการสอนเกี่ยวกับประชาคม อาเซียนใหผ้ เู้ รยี นมคี วามสนใจ มคี วามร้เู ก่ียวกบั ประชาคมอาเซยี นเพ่มิ มากขึ้น

7 ข้อค้นพบ/ปญั หาอปุ สรรคในการดำเนนิ งาน สำนักงาน กศน. จังหวัดนครปฐม ส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศึกษาในสังกัดทั้ง 7 แห่ง จัดให้มี การลงทะเบียนเรียนตามหลักสูตร รายวิชาภาษาอังกฤษ ทุกระดับ ซึ่งเป็นนักศึกษาตกหล่นหรือยังสอบไม่ผ่านใน รายวิชานี้ เหตุผลเนื่องจากนักศกึ ษาส่วนใหญ่ไม่มีพื้นฐานความรู้ อ่านและแปลความหมายภาษาอังกฤษไมไ่ ด้ ขาด ทักษะในการใช้ภาษาอังกฤษ และขาดโอกาสในการเรียนและการสื่อสารภาษาอังกฤษกับเจ้าของภาษาโดยตรง ทำให้ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาภาษาอังกฤษต่ำกว่าเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด เป็นต้น อีกทั้ง ครยู งั ขาดทกั ษะการสอ่ื สารภาษาอังกฤษ เนื่องจากไมไ่ ดจ้ บวิชาเอกภาษาอังกฤษโดยตรง แนวทางการแกไ้ ขปญั หาในการดำเนนิ งาน หน่วยงานตน้ สังกัดควรดำเนินการจัดอบรมครู และบุคลากรทางการศกึ ษา เพื่อพัฒนาทกั ษะการ ใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ให้สามารถจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษให้มีประสิทธิภาพมากยิง่ ขึ้น และจัด ให้มีการอบรมการผลิตสื่อการสอนภาษาอังกฤษอย่างง่าย สามารถนำไปใช้กับผู้เรียนได้จริง และสถานศึกษาควร ส่งเสริมให้ครูผู้สอนจัดกิจกรรมการใช้ภาษาอังกฤษกับผู้เรียน เช่น กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนด้านทักษะภาษาอังกฤษ การกลา่ วทักทายภาษาองั กฤษก่อนการพบกลุ่ม การจดั ทำป้ายข้อความภาษาอังกฤษ การจัดแขง่ ขันทักษะวิชาการ การจดั ทำคลังศพั ท์ภาษาองั กฤษพ้ืนฐาน เป็นต้น ปจั จัยความสำเร็จ สถานศึกษา มีการจัดตั้งศูนย์อาเซียนศึกษา สำหรับให้นักศึกษา ได้ศึกษา ค้นคว้า และเรียนรู้ เพิ่มเติม จากสื่อต่าง ๆ เช่น อินเทอร์เน็ต วีดีโอ สื่อเสริมความรู้ สื่อสิ่งพิมพ์ เกี่ยวกับภาษาอังกฤษ และภาษาของ กลมุ่ ประเทศอาเซยี น ทำให้มคี วามรู้ ความเข้าใจ เพิ่มมากขนึ้ ผลการปฏบิ ัติงานที่เปน็ เลิศ (Best Practice) - ปัญหาอปุ สรรค ครสู ่วนใหญ่ ขาดทกั ษะด้านการใชภ้ าษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร เนอื่ งจากไมไ่ ด้จบในสาขาวิชาเอก ภาษาองั กฤษ และผเู้ รยี นไมม่ พี ้นื ฐานความรดู้ า้ นการใชภ้ าษาอังกฤษ ภาพกจิ กรรมโครงการส่งเสรมิ การเรียนการสอนภาษาอังกฤษและภาษาของกลุ่มประเทศอาเซียน

8 4. โครงการสง่ เสริมการศกึ ษานอกระบบผ่านระบบทวี ีสาธารณะ (ติวเขม้ เตม็ ความร)ู้ นโยบายและจุดเนน้ การดำเนินงาน 1. นโยบายของรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ข้อ 2 การยกระดับคุณภาพการศึกษา 2. นโยบายของรฐั มนตรีชว่ ยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ขอ้ 3 สง่ เสริมการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ทีท่ นั สมัยและมีประสิทธภิ าพ : Good Activities 3. นโยบายจดุ เนน้ ของสำนักงาน กศน. ขอ้ 3.2 ดา้ นการสรา้ งสมรรถนะและทกั ษะคณุ ภาพ 1) ส่งเสริมการจัดการศึกษาตลอดชีวิตที่เน้นการพัฒนาทักษะที่จําเป็นสําหรับแต่ละช่วงวัย และการจดั การศกึ ษาและการเรยี นรทู้ ี่เหมาะสมกบั แต่ละกลุม่ เปา้ หมายและบริบทพื้นท่ี ความรู้ความเข้าใจในการนำนโยบายต่าง ๆ ของผบู้ ริหารสู่การปฏบิ ัติ โครงการส่งเสริมการศึกษานอกระบบผ่านระบบทีวีสาธารณะ ETV (ติวเข้มเต็มความรู้) ดำเนินการโดยศูนย์เทคโนโลยีทางการศึกษา หรือ อีทีวี (ETV) สำนักงาน กศน. กระทรวงศึกษาธิการ ได้นำเสนอ รายการเกยี่ วกับการศกึ ษา ท้ังระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาและการศึกษานอกโรงเรียน (กศน.) มีคำขวัญประจำ สถานีว่า “บ้านหลังใหญ่แห่งการเรียนรู้ และเพื่อนเรียนรู้ตลอดชีวิต” โดยออกอากาศเป็นประจำทุกวัน ระหว่าง เวลา 06:00 - 24:00 น. เพื่อสร้างโอกาสและลดความเหลื่อมล้ำด้านการศึกษาให้เกิดความเท่าเทยี มกันทั้งในเมือง และชนบท กลุ่มเป้าหมาย คือ นักเรียนในโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย นักศึกษา กศน. ครูและบุคลากร ทางการศึกษา และประชาชนท่วั ไป ศูนย์เทคโนโลยีทางการศึกษา หรือ อีทีวี (ETV) ได้ผลิตรายการส่งเสริมความรู้ด้านวิชาการ ศิลปวัฒนธรรม อาชีพ เปน็ ต้น เพอ่ื ใหก้ ารศึกษาสำหรบั กลุ่มนกั เรยี น นักศกึ ษาและประชาชนท่วั ไป ทั้งในและนอก โรงเรียน และยังให้บริการสำเนาสื่อการศึกษา รายการโทรทัศน์เพื่อการศึกษาและรายการวิทยุเพื่อการศึกษา ท่ผี ลติ เป็นวีซดี ี ออดโิ อซดี ี และ MP3 พร้อมคมู่ ือประกอบการรบั ชมและฟัง สำหรบั นกั เรยี น นกั ศึกษา ครู อาจารย์ และประชาชนทั่วไป เพื่อใช้ประโยชน์ด้านการเรียนการสอน และศึกษาด้วยตนเอง สื่อที่ให้บริการ มีทั้งสื่อเสริม การเรียนตามหลักสูตรในระบบโรงเรียน นอกระบบโรงเรียน แต่ละหมวดวิชา เช่น คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ศิลปะ ภาษาไทย สังคมศึกษาสาสนาและวัฒนธรรม สุขศึกษาพลศึกษา และภาษาต่างประเทศ รวมทั้งสื่อทบทวน ความรู้ระดับ มัธยมศึกษาตอนปลายเพื่อเตรียมสอบ ONET และANET นอกจากนี้ยังมีสื่อการ ศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อเพิ่มพูนความรูแ้ ละทกั ษะในด้านต่างๆ เช่น เกี่ยวกับงานอาชีพ สอนภาษา อังกฤษ จีน ญี่ปุ่น เยอรมัน ฝรั่งเศส เกาหลี สขุ ภาพ ดนตรี ร้องเพลง เกษตรปลอดสารพษิ และ อืน่ ๆ สำนักงาน กศน. จงั หวัดนครปฐม ไดเ้ ลง็ เห็นถึงความสำคัญและประโยชน์จากสถานีวิทยุโทรทัศน์ เพื่อการศึกษาอีทีวี (ETV) จึงได้ส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศึกษาในสังกัดทั้ง 7 แห่ง นำสื่อดิจิทัลเพื่อการศึกษา อีทีวี (ETV) มาใช้เป็นสื่อในการเรียนรูใ้ ห้แก่นกั ศึกษา กศน. ผ่านระบบออนไลน์ได้ทุกที่ ทุกเวลา โดยไม่มีข้อจำกดั ในชว่ งสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของเช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ขอ้ คน้ พบ/ปญั หาอปุ สรรคในการดำเนินงาน ศูนย์เทคโนโลยีทางการศึกษา หรือ อีทีวี (ETV) ได้จัดทำตารางออกอากาศ เพื่อให้การศึกษา สำหรับกลุ่มนักเรยี น นักศึกษา และประชาชนทัว่ ไป ทั้งในและนอกโรงเรียน เนื้อหารายการท่ีออกอากาศ เป็นการ ติวให้ความรู้ ทั้งในระบบโรงเรียนและนอกระบบโรงเรียน และสำหรับ มัธยมศึกษาตอนปลาย ยังมีการติวเพื่อ

9 เตรียมสอบเขา้ มหาวิทยาลัยอีกด้วย โดยติวเตอรช์ ือ่ ดังระดบั ประเทศ นอกจากนี้ ยงั มกี ารฝึกอาชีพต่าง ๆ เพ่ือสร้าง อาชีพ สร้างรายได้ มีอาชีพให้เลือกเรียนตามความสนใจ ครอบคลุมหลากหลายอาชีพ อาทิ งานช่าง งานครัว งาน ประดิษฐ์ งานเกษตรกรรม อาชีพอิสระ เป็นต้น การถ่ายทอดความรู้โดยวทิ ยากรท่ีมีความเชี่ยวชาญในแต่ละสาขา อาชีพ โดยส่งตารางมายังสถานศึกษา เพื่อประชาสัมพันธ์ให้กับนักศึกษา และประชาชนทั่วไปที่สนใจเข้ามาศกึ ษา หาความร้ไู ดต้ ลอดเวลาของการออกอากาศ ปัญหาการดำเนินงานพบว่า นักศึกษา กศน. บางส่วนยังไม่ได้เข้าไปรับชมรายการส่งเสริม การศึกษานอกระบบผ่านระบบทีวีสาธารณะ ETV (ติวเข้มเต็มความรู้) เนื่องจากยังไม่รู้จักสถานีวิทยุโทรทัศน์เพื่อ การศึกษาอีทวี ี (ETV) อกี ท้ังนักศึกษาสว่ นใหญ่มกี ารประกอบอาชีพทำให้ไมม่ ีเวลาเขา้ ไปศึกษาเรียนรู้ แนวทางการแก้ไขปัญหาในการดำเนินงาน หน่วยงานและสถานศึกษา ต้องดำเนินการประชาสัมพันธ์และส่งเสริมการรับชมรายการของ สถานี ETV โดยเชิญชวนให้นักศึกษา กศน. เข้าร่วมรับชมและร่วมกิจกรรมกับ กศน. เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต ครู นำตารางการออกอากาศ แจ้งนักศึกษาให้เข้าไปรับชมเนื้อหารายวชิ าที่ลงทะเบยี นเรียนตามเวลาออกอากาศ และ สามารถรับชมย้อนหลังได้ตลอดเวลา ปัจจัยความสำเร็จ ศูนย์เทคโนโลยีทางการศึกษา หรือ อีทีวี (ETV) ผลิตรายการที่เป็นประโยชน์ เนื้อหารายการที่ ออกอากาศ มีทั้ง สื่อดิจิทัลเพื่อการศึกษา ส่ือสร้างอาชีพ สร้างรายได้ และติวเข้มออนไลน์ สามารถรับชมได้ ตลอดเวลา ผลการปฏบิ ตั ิงานที่เป็นเลศิ (Best Practice) - ปญั หาอุปสรรค นกั ศึกษาส่วนใหญ่มีการประกอบอาชีพทำให้ไมม่ ีเวลาเข้าไปศึกษาเรยี นรู้

10 5. กิจกรรมจดั สรา้ งแหลง่ การเรยี นรใู้ นระดบั ตำบล นโยบายและจุดเนน้ การดำเนินงาน 1. นโยบายของรฐั มนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธกิ าร ขอ้ 2 การยกระดับคณุ ภาพการศกึ ษา 2. นโยบายของรฐั มนตรชี ่วยวา่ การกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ข้อ 2 พัฒนา กศน.ตำบลให้มีบรรยากาศและสภาพแวดล้อมทเี่ อ้ือต่อการเรยี นรู้ : Good Place– Best Check in ข้อ 6 จัดต้ังศูนย์การเรียนรูส้ าหรบั ทกุ ช่วงวัย : Good Learning Centre 3. นโยบายจดุ เน้นของสำนักงาน กศน. 3.3 ดา้ นองคก์ ร สถานศกึ ษา และแหล่งเรียนรู้คุณภาพ 2) ยกระดับมาตรฐาน กศน.ตำบล และศูนย์การเรียนรู้ชมุ ชนชาวไทยภูเขา “แม่ฟา้ หลวง” (ศศช.) ใหเ้ ป็นพน้ื ทก่ี ารเรยี นรู้ตลอดชวี ติ ทสี่ ำคญั ของชุมชน ความรู้ความเขา้ ใจในการนำนโยบายต่าง ๆ ของผ้บู ริหารสกู่ ารปฏิบตั ิ สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดนครปฐม ตระหนักถึง ความสำคัญในการพัฒนาศกั ยภาพด้านการเรียนรูใ้ ห้เกิดขึ้นในชุมชน และได้นำแนวทางของสำนกั งาน กศน. มาใช้ ในการขับเคลือ่ นกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศยั จึงได้ส่งเสริม สนับสนุนให้ กศน.ตำบล จำนวน 106 แห่ง ในการ ดำเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตลอดชีวิตให้กับประชาชน และ ผู้ด้อยโอกาส ผู้พลาดโอกาส และผู้ขาดโอกาส ทางการศึกษาให้ได้รับโอกาสทางการศึกษาในรูปแบบการศึกษาตามอัธยาศัย การให้บริการสง่ เสริมการอา่ น บริการ ยืม-คืน หนังสือ สื่อ ต่าง ๆ บริการอินเตอร์เน็ต กิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ กิจกรรมส่งเสริมการอ่านของบ้าน หนังสือชุมชน กิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ของหน่วยเคลื่อนที่รถโมบาย กิจกรรมส่งเสริมการอ่านของห้องสมุด เคลื่อนที่สำหรับชาวตลาด กิจกรรมส่งเสริมการอ่านของอาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน และกิจกรรมเรียนรู้ใน รปู แบบอนื่ ๆ ที่มีคณุ ภาพอย่างทัว่ ถึง เทา่ เทียมกนั มคี วามหลากหลาย ยืดหยนุ่ ตามสภาพปญั หา และความต้องการ ของบุคคล ชุมชน และสังคม เพื่อให้การจัดการศึกษาตามอัธยาศัยเป็นประโยชน์ต่อการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพ การเรียนรู้ของประชาชนไดอ้ ยา่ งยัง่ ยืน ข้อคน้ พบ/ปญั หาอปุ สรรคในการดำเนินงาน 1. เนื่องจากผู้รับบริการมีหลายช่วงวัย และมีจำนวนแตกต่างกัน ทำให้ต้องปรับเปลี่ยนรูปแบบ การจดั กจิ กรรมให้สอดคลอ้ งกบั ผู้รบั บริการ 2. เนื่องจากปัจจบุ นั เป็นยคุ ดจิ ทิ ัล ประชาชนส่วนใหญ่จะอ่านหนังสอื ในรูปแบบออนไลนม์ ากกวา่ รูปเล่ม 3. กศน.ตำบลบางแหง่ ยังไมม่ สี ถานทที่ ำการเปน็ เอกเทศ แนวทางการแกไ้ ขปัญหาในการดำเนนิ งาน 1. เตรียมกิจกรรมท่ีเหมาะสมกบั ช่วงวยั เพื่อตอบสนองผู้รบั บรกิ ารทม่ี ีหลายช่วงวัย 2. จดั ทำส่ือความรใู้ นรูปแบบออนไลน์ เนื้อหาครอบคลมุ ทุกกลุม่ เป้าหมาย ปัจจยั ความสำเรจ็ 1. มีการดำเนินการจดั กจิ กรรมทมี่ คี วามหลากหลาย โดยการมสี ่วนรว่ มกับภาคเี ครือขา่ ยในพ้นื ท่ี 2. กศน.ตำบลเป็นแหลง่ เรียนรูม้ บี รรยากาศและสภาพแวดลอ้ มทเ่ี อื้อต่อการเรยี นรู้

11 3. มีการจัดกิจกรรมให้บริการเชิงรุกเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายในการรับบริการทั้งด้านบริการ หนังสือพิมพ์ บรกิ ารยมื คืน กิจกรรมส่งเสริมการอา่ นและบริการหนงั สอื ออนไลน์ 4. มภี าคีเครอื ขา่ ยทีม่ ีความพรอ้ ม ให้การสง่ เสริม สนบั สนุนในการจัดกจิ กรรมอยา่ งตอ่ เนือ่ ง ผลการปฏบิ ตั งิ านทเ่ี ปน็ เลิศ (Best Practice) กศน.ตำบลบ้านใหม่ สงั กัด กศน.อำเภอสามพราน ไดร้ ับการประเมนิ คดั เลือก กศน.ตำบลต้นแบบ 5 ดีพรีเมี่ยมระดับจังหวัด ประจำปีงบประมาณ 2565 ในระดับสำนักงาน กศน.จังหวัดนครปฐม และได้รับการ ประเมินคัดเลือก กศน.ตำบลต้นแบบ 5 ดีพรีเมี่ยม ลำดับที่ 2 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 จากสำนักงาน กศน.จังหวัด กลุ่มลุ่มน้ำเจ้าพระยา ซึ่งมีผลงานแห่งความสำเร็จในการเป็น กศน.ตำบล 5 ดีพรีเมี่ยม เป็นกศน. ตำบลต้นแบบที่มีประสิทธิภาพอันเป็นประโยชน์ต่อการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยใน ชุมชน มีการพัฒนาเป็นแหล่งเรียนรู้ของชุมชนที่มีประสิทธิภาพ ครูและบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการจัดกิจกรรม การศึกษาและการเรียนรู้ การจัดบรรยากาศสภาพแวดล้อมที่เอือ้ ต่อการเรียนรู้อย่างตอ่ เนื่อง การส่งเสริมการจัด กิจกรรมการศกึ ษาและการเรียนรู้ภายใน กศน.ตำบลบ้านใหม่ การเสรมิ สร้างและใหค้ วามรว่ มมือกับภาคีเครือข่าย และการนำเทคโนโลยีดิจิทัลเข้ามาบูรณาการปรบั ประยุกต์ใชใ้ ห้เป็นประโยชน์ในการพัฒนาและขยายบทบาทการ ดำเนนิ งานของกศน.ตำบล ปัญหาอปุ สรรค จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) ทำให้ การรวมกลุ่มในการดำเนินการจัดกิจกรรมเป็นไปอย่างยากลำบาก เนื่องจากต้องดำเนินการจัดกิจกรรมตามแบบ มาตรการการเวน้ ระยะห่างทางสงั คม (Social Distancing) ภาพประกอบการจดั กจิ กรรมจดั สรา้ งแหล่งการเรียนรูใ้ นระดบั ตำบล

12

13 8. โครงการศนู ยก์ ารเรยี นรตู้ น้ แบบ กศน. ใน 5 ภมู ภิ าค เปน็ co-Learning space นโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน 1. นโยบายของรฐั มนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธกิ าร ขอ้ 2 การยกระดบั คณุ ภาพการศกึ ษา 2. นโยบายของรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ข้อ 2 พฒั นา กศน.ตำบลให้มบี รรยากาศและสภาพแวดลอ้ มท่ีเอื้อตอ่ การเรยี นรู้ : Good Place– Best Check in ข้อ 6 จดั ตงั้ ศูนย์การเรยี นรูส้ าหรบั ทกุ ช่วงวยั : Good Learning Centre 3. นโยบายจุดเน้นของสำนักงาน กศน. 3.3 ด้านองค์กร สถานศกึ ษา และแหล่งเรยี นรคู้ ุณภาพ 2) ยกระดบั มาตรฐาน กศน.ตำบล และศนู ย์การเรยี นรชู้ ุมชนชาวไทยภูเขา “แม่ฟา้ หลวง” (ศศช.) ใหเ้ ปน็ พ้นื ท่กี ารเรยี นรู้ตลอดชีวิตท่ีสำคัญของชมุ ชน ความรคู้ วามเข้าใจในการนำนโยบายตา่ ง ๆ ของผูบ้ ริหารส่กู ารปฏิบัติ สำนักงาน กศน. จังหวัดนครปฐม ได้นำแนวคิดในการปรับเปลี่ยนการให้บริการห้องสมุด ประชาชนให้เป็นแหล่งเรียนรู้ ในลักษณะการเรียนรู้ต้นแบบ (Co - Learning Space) ภายใต้นโยบายในการ ขับเคลื่อน กศน. สู่ กศน. WOW ของรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ (นางกนกวรรณ วิลาวัลย์) ในการ พัฒนา กศน. ตำบล ให้มีบรรยากาศและสภาพแวดลอ้ มทีเ่ อือ้ ต่อการเรียนรู้ : Good Place - Best Check in โดย มเี ป้าหมายในการพัฒนา “ห้องสมดุ ประชาชนจงั หวัดนครปฐม” ให้เป็นศนู ยก์ ารเรยี นร้ตู ้นแบบ กศน.ใน 5 ภูมิภาค เป็น (Co – Learning Space) และกำหนดให้มีพื้นที่บริการการเรียนรู้ร่วมกันตามความสนใจและความต้องการ ของผู้รับบริการการศกึ ษาตามอัธยาศัยทุกช่วงวยั โดยมีเป้าหมายในการพัฒนาห้องสมุดประชาชนจังหวัดนครปฐม ให้เป็นศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบ (Co - Learning Space) เป็นแหล่งเรียนรู้สำหรับคนทุกเพศ ทุกวัย ทุกอาชีพ ได้มี โอกาสเข้าถึงได้ง่ายสามารถตอบทุกโจทย์ปัญหาความต้องการของประชาชนอย่างแท้จริง ศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบ (Co - Learning Space) ข้อคน้ พบ/ปัญหาอปุ สรรคในการดำเนนิ งาน สำนักงาน กศน. จังหวัดนครปฐม ได้ดำเนินการจัดตั้งห้องสมุดประชาชนจังหวัดนครปฐม กศน. อำเภอเมืองนครปฐม ให้เป็นศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบ (Co - Learning Space) โดยเปิดพื้นที่สำหรับการทำงาน / การเรียนรู้ พื้นที่สำหรับทำกิจกรรมต่าง ๆ เช่น ห้องประชุมกลุ่มย่อย โซนส่งเสริมการอ่าน ค้นคว้าข้อมูล โซน กิจกรรม โซน IT โซนพักผ่อน โซนกาแฟ รวมทั้งการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน การให้บริการห้องสมุดทั้งใน รูปแบบดิจิทัล และสืบค้นหนังสือในห้องสมุดด้วยตนเอง การบริการอินเทอร์เน็ต สื่อมัลติมีเดีย เพื่อรองรับการ เรียนรู้แบบ Active Learning ตามนโยบายของสำนักงาน กศน. แต่ด้วยเงื่อนไขของการเบิกจา่ ยงบประมาณ และ ระเบียบพัสดุทำให้มีข้อจำกัดในการพัฒนาศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบ (Co - Learning Space) ให้มีบรรยากาศและ สภาพแวดล้อมท่ีเอือ้ ต่อการเรียนรู้ แนวทางการแก้ไขปัญหาในการดำเนนิ งาน หากมีการลดขั้นตอนหรืออนุญาตให้มีการดำเนินการจัดซื้อวัสดุ ครุภัณฑ์ บางรายการ รวมถึง สามารถปรับปรุง ซ่อมแซมบางส่วนโดยไม่ขัดต่อระเบียบการเบิกจ่าย และระเบียนพัสดุจะสามารถขับเคลื่อนการ ดำเนนิ งานศูนย์การเรียนรูต้ ้นแบบ (Co - Learning Space) ให้มีบรรยากาศและสภาพแวดลอ้ มทเ่ี อ้ือต่อการเรียนรู้ ได้อย่างเตม็ ประสิทธิภาพ

14 ปัจจัยความสำเร็จ สถานทม่ี ีความเหมาะสม ตั้งอยใู่ นพนื้ ทีม่ กี ารเดนิ ทางสะดวก ผลการปฏบิ ัติงานทเ่ี ปน็ เลิศ (Best Practice) - ปัญหาอุปสรรค 1. ด้วยเงื่อนไขของการเบิกจ่ายงบประมาณ และระเบียบพัสดุทำให้มีขอ้ จำกัดในการพัฒนาศูนย์ การเรียนร้ตู น้ แบบ (Co - Learning Space) ใหม้ ีบรรยากาศและสภาพแวดล้อมทเ่ี อื้อต่อการเรียนรู้ 2. การแพร่ระบาดของโรคระบาดของโรคติดเชื่อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) ทำให้ประสบ ปัญหาในการเปดิ ใหบ้ รกิ ารและการจดั กจิ กรรมตา่ ง ๆ ภายในหอ้ งสมุดประชาชน เป็นไปอย่างยากลำบาก เนื่องจาก ต้องดำเนินการจัดกิจกรรมตามแบบมาตรการการเวน้ ระยะหา่ งทางสงั คม (Social Distancing) ภาพกจิ กรรมการใหบ้ รกิ ารแต่ละโซน และการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ โซน 1 โซนทำงาน หรือประชมุ (Co-Working Zone) พื้นที่ทำกจิ กรรมกลุ่ม ใชพ้ ืน้ ที่ร่วมกบั โซน 4 โซน 2 โซนสง่ เสรมิ การอ่าน คน้ คว้าข้อมลู ส่อื (Learning Zone)

15 โซน 3 โซนกจิ กรรม (Activities Zone) โซน 5 โซนพักผ่อน (Relax Zone) โซน 6 โซนกาแฟ (Coffee Zone)

16 9. โครงการเทยี บโอนความรูเ้ ทยี บระดบั การศกึ ษามติ คิ วามร้คู วามคิด นโยบายและจดุ เน้นการดำเนนิ งาน 1. นโยบายของรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงศกึ ษาธิการ ขอ้ 2 การยกระดับคุณภาพการศกึ ษา 2. นโยบายของรฐั มนตรีชว่ ยวา่ การกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ขอ้ 3 ส่งเสรมิ การจัดกจิ กรรมการเรียนร้ทู ่ีทนั สมยั และมีประสทิ ธภิ าพ : Good Activities 3. นโยบายจุดเน้นของสำนกั งาน กศน. ขอ้ 3.1 ด้านการจัดการเรียนรคู้ ณุ ภาพ 5) ปรบั ระบบทดสอบ วัดผล และประเมินผล ความรคู้ วามเขา้ ใจในการนำนโยบายต่าง ๆ ของผบู้ รหิ ารสกู่ ารปฏบิ ัติ ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 สำนักงาน กศน. จังหวัดนครปฐม มีสถานศึกษาทท่ี ำหน้าท่ีเป็น ศูนย์เทียบระดับการศึกษาจำนวน 6 แห่ง ได้แก่ (1) กศน.อำเภอเมืองนครปฐม (2) กศน.อำเภอกำแพงแสน (3) กศน.อำเภอนครชยั ศรี (4) กศน.อำเภอบางเลน (5) กศน.อำเภอสามพราน และ (6) กศน.อำเภอพทุ ธมณฑล มี การดำเนินงานการประเมินเทียบระดับการศึกษา โดยเปิดโอกาสให้กับบุคคลที่มีความรู้ ประสบการณ์ในการ ดำรงชีวิต แต่ยงั ไมไ่ ดว้ ุฒิการศึกษาระดับประถมศึกษา ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น หรอื ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย ใหไ้ ดร้ ับสทิ ธใิ นการเขา้ รับการประเมนิ โดยต้องมีคุณสมบัตติ ามหลกั เกณฑท์ ีก่ ำหนด สถานศึกษาทั้ง 6 แห่ง ให้ดำเนินการตามนโยบาย โดยการบริการให้ทั่วถึงทุกพื้นที่ในเขต รับผิดชอบเพื่อให้โอกาสแก่ผู้ที่ขาดโอกาสทางการศึกษา ได้เปิดโอกาสเติมเต็มความรู้ สร้างความรู้ความสามารถ และยอมรบั ความรู้ท่ีมีอยู่มาประเมินเพื่อให้มีความร้ใู นระดบั การศึกษาขนั้ พื้นฐานแกป่ ระชาชนจำนวนมาก ซึ่งเป็น การพฒั นาสมรรถภาพด้านการฟัง พดู อา่ น เขียน การคดิ วิเคราะห์ และความรู้ต่างๆ จากสือ่ ทหี่ ลากหลาย อันเป็น พื้นฐาน การพัฒนาคุณภาพชีวิตของแต่ละบุคคล แต่ละครอบครัวให้มีศักยภาพยิ่งขึ้น เพื่อเป็นการยกฐานะของ ประชาชนวัยแรงงานในการเข้าส่ตู ลาดการแข่งขันของสงั คมปัจจุบนั และการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ข้อค้นพบ/ปัญหาอุปสรรคในการดำเนนิ งาน การเข้ารับการประเมินประสบการณ์ สถานศึกษาที่ทำหน้าที่เป็นศูนย์เทียบระดับได้จัดให้มี คณะกรรมการประเมินแฟ้มประเมินประสบการณ์ในสถานประกอบการที่ดำเนินงานจริงโดยมีรูปเล่มเป็น องค์ประกอบในการประเมินผู้เทียบระดับการศึกษา ประเมิน 3 ด้านได้แก่ การพัฒนาอาชีพ การพัฒนาคุณภาพ ชีวิต และการพัฒนาสังคมและชุมชน แต่เนื่องจากนักศึกษาผู้เข้ารับการประเมินเทียบระดับการศึกษามีการ ประกอบอาชพี จึงไม่ค่อยมีเวลาทำแฟ้มประเมินประสบการณ์ ทำให้การส่งแฟม้ ประเมินประสบการณ์มีความล่าช้า ต้องมีการติดตามการจัดทำแฟ้มประเมินประสบการณ์ของผู้เทียบระดับการศึกษาอย่างต่อเนื่อง และด้วย สถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) จึงต้องปรับรูปแบบการสัมมนาวิชาการ ของผู้ผ่านการประเมินเทียบระดับการศึกษา จากรูปแบบค่ายค้างคืน เป็นรูปแบบการศึกษาดูงานไปเช้า-เย็นกลับ เพือ่ ให้ผเู้ ขา้ รับการประเมินได้เรียนรู้จากสถานทจ่ี ริงและผูเ้ ขา้ รับการประเมนิ ได้นำความรู้กลับไปใช้ในการประกอบ อาชพี ได้จริงและมคี ณุ ภาพย่งิ ขน้ึ ปญั หาอุปสรรคในการดำเนนิ งาน 1. ผู้เทียบระดับการศึกษาบางคนไม่มีเวลานำแฟ้มประเมนิ ประสบการณม์ าให้ครูพี่เลี้ยงอ่านหรือ แนะนำ จึงทำให้แฟ้มประเมนิ ประสบการณ์บางคนไม่สมบรู ณเ์ ทา่ ท่ีควร 2. ผู้สนใจเข้ารบั การประเมินเทยี บระดับการศกึ ษานอ้ ยลงเน่ืองจากสภาพปัญหาดา้ นเศรษฐกิจ

17 3. ได้รับการจัดสรรงบประมาณในการดำเนินการประเมินมิติความรู้ ความคิด น้อยมาก ไม่เพียง ตอ่ การดำเนินการ 4 ไม่มคี รูพเี่ ล้ยี งท่จี ะติดตามผู้เข้ารับการเทียบระดับแบบตวั ต่อตวั แนวทางการแก้ไขปญั หาในการดำเนนิ งาน 1. ประชาสมั พนั ธก์ ารรบั สมัครให้มากขึ้น พร้อมท้ังอธิบายข้อดีในการเรียนแบบการประเมินเทียบ ระดับการศกึ ษาเพอ่ื เปน็ การดึงดูดความสนใจของผเู้ ทียบระดับและใหม้ จี ำนวนเพิ่มมากขึน้ 2. ครูและผู้เกี่ยวข้องต้องมีการติดตามนักศึกษาในการทำแฟ้มประเมินประสบการณ์ พร้อมทั้ง จัดตง้ั กลุม่ Line เพอ่ื ติดตามและคอยให้คำปรึกษาแก่นักศึกษาผ้เู ข้ารับการเทียบระดับการศึกษาอย่างตอ่ เนื่อง ปจั จัยความสำเร็จ สถานศึกษาได้ดำเนินการพัฒนาจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ทันสมัยและมีประสิทธิภาพ : Good Activities ให้กับผู้เข้ารับการเทียบระดับในช่วงการแพร่ระบาดของโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) ที่สอดคล้องกับบริบท พื้นที่ การประเมินเทียบระดับการศึกษา เป็นการสร้างเสริมความสัมพันธ์ระหวา่ งผู้เขา้ รับการประเมินในรุ่นเดียวกัน เพื่อพัฒนาคุณลักษณะ คุณธรรม จริยธรรมของบุคคลสร้างจติ สำนึกร่วมกันในฐานะ เป็นส่วนหนึ่งของประชาคมนอกโรงเรียน การประเมินเทียบระดับการศึกษาเป็นการประเมินองค์ความรู้รวมจาก ความรู้ ทักษะ กระบวนการ นอกจากการประเมินด้วยเครื่องมือด้วยการรับรองแล้วการประเมินในสถานการณ์ จริงในรปู แบบของการประเมนิ แฟ้มมวลประสบการณ์จากสถานที่ประกอบการจริง และการประเมินด้วยเคร่ืองมือ ทที่ ีม่ กี ารรบั รองแลว้ ในเร่อื งของการประเมินมติ คิ วามรู้ ความคิด อีกทงั้ มกี ารสมั มนาวชิ าการจะช่วยใหผ้ ู้เขา้ ประเมิน เทียบระดับไดม้ องเห็นคุณลักษณะ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม ของบุคคลได้ชดั เจนมากข้ึน ส่งผลใหผ้ เู้ ขา้ รับเทียบระดับ การศึกษาที่สำเร็จการศึกษาตามมาตรฐานของหลักสูตรมีโอกาส มีความรู้ และนำไปใช้ประโยชน์ได้จริงในการ พัฒนาคุณภาพชีวิตโดยรวม ยกระดับคุณภาพชีวิต การเข้าสู่ตลาดการแข่งขันของสังคมปัจจุบัน ประกอบอาชีพ สรา้ งรายไดอ้ ย่างมนั่ คง ผลการปฏบิ ตั งิ านท่เี ปน็ เลิศ (Best Practice) - ปัญหาอุปสรรค 1. จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) และสภาพ เศรษฐกจิ ทถ่ี ดถอย มีผูใ้ ชแ้ รงงานตอ้ งกลบั บา้ นบา้ งสง่ ผลให้มผี ู้สนใจเข้ารับการประเมินนอ้ ยลง 2. การประเมนิ เทียบระดับการศึกษา เม่ือผ่านการประเมนิ ประสบการณ์ และผ่านการประเมินมิติ ความรู้ ความคิด แล้ว ต้องเข้าร่วมกิจกรรมสมั มนาตามหลกั สูตร นักศึกษาบางคนสถานประกอบการไม่อนุญาตให้ ลางาน ต้องให้สถานศกึ ษาทำหนงั สือรบั รองให้นักศกึ ษาเขา้ ร่วมกิจกรรมสมั มนา

18 ภาพกิจกรรมโครงการเทียบโอนความรู้เทยี บระดับการศกึ ษามติ คิ วามรู้ความคดิ

19 10. โครงการสง่ิ อำนวยความสะดวก สื่อ บรกิ าร และการชว่ ยเหลืออนื่ ใดทางการศึกษา สำหรบั คนพิการ นโยบายและจุดเนน้ การดำเนนิ งาน 1. นโยบายของรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงศึกษาธกิ าร ขอ้ 3 การสรา้ งโอกาส ความเสมอภาค และความเทา่ เทียมทางการศึกษาทุกช่วงวัย 2. นโยบายจุดเนน้ ของสำนกั งาน กศน. ความรคู้ วามเข้าใจในการนำนโยบายต่าง ๆ ของผู้บรหิ ารสกู่ ารปฏิบตั ิ สถานศึกษาในสังกัดสำนักงาน กศน.จังหวัดนครปฐม ที่มีคนพิการเข้ารับการศึกษา มีจำนวน 2 แห่ง คือ กศน.อำเภอกำแพงแสน และ กศน.อำเภอสามพราน โดย กศน.กำแพงแสนได้ดำเนินการขอรับการ สนบั สนุนโครงการส่ิงอำนวยความสะดวก ส่อื บริการ และการชว่ ยเหลืออื่นใดทางการศึกษา สำหรบั คนพิการ เพื่อ ดำเนินการจดั การศกึ ษา โดยดำเนินการจัดการศึกษาใหค้ นพิการมสี ิทธิได้รับส่ิงอำนวยความสะดวกสื่อ บรกิ าร และ ความช่วยเหลืออื่นใดทางการศึกษา ครูผู้สอนจัดการศึกษาให้คนพิการเป็นรายบุคคล เนื่องจากความพร้อมของ แต่ละบคุ คลแตกตา่ งกนั มกี ารจดั กิจกรรมการเรียนรู้การศึกษาข้นั พ้ืนฐานให้กับนักศึกษาคนพิการโดยใช้สื่อที่ได้รับ อกี ทั้งจดั กิจกรรมทกั ษะชีวิตในการดูแลคนพิการให้กับผู้ปกครองเปรยี บเสมือนกับผู้ปกครอง/ผ้ดู แู ลคนพิการเป็นครู ผู้ช่วยสอนใน 3 ด้าน คือทักษะชีวิต พัฒนาอาชีพ และการศึกษาพื้นฐาน รวมถึงให้คำปรึกษาแนะนำแก่คนพิการ เพื่อช่วยในการดแู ลคนพิการอีกทางหนึ่ง ส่งผลให้นักศึกษาพิการในปกี ารศึกษา 2564 จบหลักสูตรจำนวน 15 คน ดงั น้ี ระดบั ประถมศึกษา จำนวน 12 คน ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน้ จำนวน 1 คน และระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย จำนวน 2 คน และสามารถนำความรทู้ ักษะที่ไดร้ ับไปชว่ ยเหลือตนเองได้มากขึ้น ขอ้ คน้ พบ/ปญั หาอปุ สรรคในการดำเนนิ งาน รายการสื่อและอุปกรณ์ไม่ตรงกับความต้องการของนักศึกษาคนพิการ และไม่ตรงกับช่วงวัยของ นักศกึ ษาคนพิการ แนวทางการแก้ไขปญั หาในการดำเนนิ งาน ครดู ำเนนิ การพฒั นาส่อื ในการจดั เรียนการสอน เพอื่ ใหส้ อดคลอ้ งกับชว่ งวัย และความต้องการ ของนักศึกษาคนพิการ ปจั จยั ความสำเรจ็ นักศึกษาพิการได้รับโอกาสในการศึกษาได้อย่างเท่าเทียม มีการจัดการศึกษาตรงตามความ ต้องการของผู้เรียน สามารถนำกจิ กรรมการเรียนรูท้ ไ่ี ด้รับไปปรับใชใ้ นชวี ติ ประจำวนั ได้

20 ภาพกิจกรรมโครงการสง่ิ อำนวยความสะดวก สื่อ บริการ และการชว่ ยเหลืออน่ื ใดทางการศกึ ษา สำหรับคนพิการ

21 14. โครงการสนับสนุนค่าบริการเครือขา่ ยสารสนเทศเพ่อื การจัดการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั นโยบายและจุดเนน้ การดำเนนิ งาน 1. นโยบายของรฐั มนตรวี า่ การกระทรวงศกึ ษาธิการ ขอ้ 3 การสรา้ งโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษาทุกชว่ งวยั 2. นโยบายของรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธกิ าร ขอ้ 4 สง่ เสรมิ การจดั กจิ กรรมการเรียนร้ทู ี่ทันสมยั และมีประสทิ ธิภาพ : Good Activities 3. นโยบายจุดเน้นของสำนักงาน กศน. 3.3 ดา้ นองคก์ ร สถานศึกษา และแหล่งเรยี นรู้คุณภาพ 2) ยกระดับมาตรฐาน กศน.ตำบล และศนู ย์การเรียนรู้ชุมชนชาวไทยภูเขา “แม่ฟา้ หลวง” (ศศช.) ใหเ้ ป็นพื้นทีก่ ารเรยี นร้ตู ลอดชวี ิตท่สี ำคัญของชมุ ชน ความร้คู วามเข้าใจในการนำนโยบายตา่ ง ๆ ของผบู้ ริหารสู่การปฏิบัติ สถานศึกษาในสงั กัดสำนกั งาน กศน.จังหวัดนครปฐม ไดน้ ำโครงการสนบั สนุนค่าบริการเครือข่าย สารสนเทศเพื่อการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย มาพัฒนารูปแบบการจัดการศึกษา เพื่อเพิ่มการเขา้ ถึงการเรียนรู้ของผู้เรียนได้หลากหลายมากขึน้ อาทิ การจัดการศึกษานอกระบบการศึกษาข้ันพื้นฐาน มาใช้ใน การจัดการเรียนการสอนในรูปแบบออนไลน์ โดยเฉพาะสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงในยุคปัจจุบัน การแพร่ระบาด ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) ทำให้นักศึกษาไมส่ ามารถเรยี นแบบพบกลุ่มได้ สถานศึกษาได้ปรับ การเรียนการสอนให้สอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนไปและความแตกต่างของการ เข้าถึงการศึกษาของแต่ละ บุคคล จึงได้นำโครงการดงั กล่าวมาใชใ้ นการจัดการเรยี นการสอน ทำให้นักศึกษา กศน.ทุกกลุ่มเป้าหมายได้เรยี นรู้ เข้าถงึ เนอื้ หาวชิ าในการเรยี นมากขึ้น รวมท้งั สนบั สนุนอปุ กรณ์คอมพิวเตอร์ในการค้นหาขอ้ มลู ในการเรียน ข้อค้นพบ/ปัญหาอปุ สรรคในการดำเนินงาน 1. งบประมาณไม่เพยี งพอในการสนับสนุนจดั ซ้ือจัดหาอุปกรณ์ สอื่ เพอ่ื รองรบั การให้บริการแก่ผู้ เขา้ ใชบ้ รกิ าร เชน่ คอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต 2. กศน.ตำบลบางแหง่ ถูกตดั จดุ บรกิ าร แนวทางการแกไ้ ขปญั หาในการดำเนินงาน 1. ดำเนินการของบประมาณ งบลงทนุ เพอื่ จดั ซ้ือครุภณั ฑ์คอมพวิ เตอร์ 2. ประสานงานเพื่อขอติดตั้งจุดรับสัญญาณ เป็นค่าเช่าอินเทอร์เน็ตสำหรับ กศน.ตำบล เพ่ือ สำหรับการดำเนนิ การจัดการเรยี นการสอนใหก้ ับนักศกึ ษาและประชาชนในพ้นื ที่ ไปพลางกอ่ น ปัจจัยความสำเร็จ กศน.อำเภอ, กศน. ตำบล และหอ้ งสมุดประชาชน มอี นิ เทอรเ์ น็ตความเรว็ สงู สำหรบั บริการ ประชาชนเป็นการสรา้ งโอกาสความเสมอภาคและความเท่าเทียมทางการศึกษา ผลการปฏิบตั ิงานที่เป็นเลิศ (Best Practice) - ปัญหาอุปสรรค -

22 ภาพกจิ กรรมโครงการสนบั สนุนคา่ บริการเครือข่ายสารสนเทศ เพื่อการจัดการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย

23 15. โครงการพฒั นาห้องสมุดประชาชนเคล่อื นที่ นโยบายและจดุ เนน้ การดำเนินงาน 1. นโยบายของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศกึ ษาธิการ ขอ้ 3 การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษาทุกช่วงวัย 2. นโยบายของรัฐมนตรชี ่วยวา่ การกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ขอ้ 4 เสริมสร้างความร่วมมอื กับภาคเี ครือขา่ ย : Good Partnerships 3. นโยบายจดุ เน้นของสำนักงาน กศน. 3.3 ด้านองคก์ ร สถานศึกษา และแหลง่ เรยี นรู้คณุ ภาพ 3) ปรับรูปแบบกิจกรรมในห้องสมุดประชาชน ที่เน้น Library Delivery เพื่อเพิ่มอัตรา การอ่านและการร้หู นงั สอื ของประชาชน ความรู้ความเขา้ ใจในการนำนโยบายต่าง ๆ ของผู้บริหารสู่การปฏบิ ัติ ตามที่รัฐบาลและกระทรวงศึกษาธิการ ได้มีข้อสั่งการและนโยบายให้สำนักงาน กศน.ดำเนินการ ขยายผลการส่งเสริมการอ่านเคลื่อนที่ให้ครอบคลุมพื้นที่มากย่ิงขึ้น นั้น จึงได้มีนโยบายให้สำนักงาน กศน.จังหวัด ทุกแห่ง ทุกพื้นที่จึงได้ดำเนินการจัดโครงการ/กิจกรรมส่งเสริมการอ่านเคลื่อนที่ ในรูปแบบต่าง ๆ ให้กับชุมชน กลุ่มเป้าหมายและผู้สนใจท่ัวไป ซึ่งจำเป็นทีจ่ ะต้องได้รับงบประมาณสนับสนุน สำหรับการจัดซื้อสื่อ วัสดุ อุปกรณ์ และการจัดกิจกรรมเพื่อการศึกษาเรียนรู้ ที่น่าสนใจและเป็นประโยชน์ ให้กับ “รถส่งเสริมการอ่านเคลื่อนที่” “รถหอ้ งสมุดเคล่อื นท”่ี และเพอ่ื การพฒั นางานห้องสมุดประชาชนเคลื่อนที่ ในรปู แบบตา่ ง ๆ ใหม้ ีความพร้อมความ เหมาะสม อย่างมีคุณภาพและประสิทธิภาพ สำหรับให้บริการประชาชนทุกกลุ่มเป้าหมาย ทั้งในชุมชนเมืองและ ชมุ ชนชนบทห่างไกลใหไ้ ด้รับประโยชน์ มคี วามสขุ กบั การศกึ ษาเรยี นรู้ การพฒั นาตนเองและสงั คมสว่ นรวมตอ่ ไป สำนักงาน กศน. จังหวัดนครปฐม ตระหนักถึงความสำคัญในการพัฒนาศักยภาพด้านการเรียนรู้ และกิจกรรมสง่ เสรมิ การอ่านเคล่ือนท่ีให้เกิดขน้ึ ในชุมชน จึงนำแนวทางของสำนักงาน กศน. มาใช้ในการขับเคลื่อน กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้ผ่านห้องสมุดประชาชน จำนวน 7 แห่ง ประกอบด้วย (1) หอ้ งสมดุ ประชาชนจงั หวดั นครปฐม (2) หอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกุมารี” อำเภอกำแพงแสน (3) หอ้ งสมุด ประชาชนอำเภอดอนตูม (4) ห้องสมุดประชาชนอำเภอนครชัยศรี (5) ห้องสมุดประชาชนอำเภอบางเลน (6) ห้องสมุดประชาชนอำเภอพุทธมณฑล และ (7) ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อำเภอสามพราน โดยมอบหมายบทบาทหนา้ ทีใ่ หเ้ ป็นภารกิจหลกั ของบรรณารักษ์ห้องสมุด ในการขับเคลื่อนโครงการพัฒนาส่ือการ เรียนรู้ จัดซื้อสื่อ วัสดุ อุปกรณ์และการจัดกิจกรรมเพื่อการศึกษาเรียนรู้ ที่น่าสนใจและเป็นประโยชน์ ให้กับ “รถส่งเสริมการอ่านเคลื่อนท่ี” “รถห้องสมุดเคลื่อนที่” และเพื่อการพัฒนางานห้องสมุดประชาชนเคลื่อนที่ ในรปู แบบตา่ ง ๆ ให้มคี วามพร้อมความเหมาะสม อย่างมคี ณุ ภาพและประสิทธภิ าพ สำหรับใหบ้ ริการประชาชนทุก กลุ่มเป้าหมาย ทั้งในชุมชนเมืองและชุมชนชนบทห่างไกล ให้ได้รับประโยชน์ มีความสุขกับการศึกษาเรียนรู้ การพฒั นาตนเองและสงั คมสว่ นรวมตอ่ ไป ข้อค้นพบ/ปญั หาอปุ สรรคในการดำเนินงาน จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่าสายพันธุ์ใหม่ 2019 (COVID-19) 1. การจัดกจิ กรรมรถห้องสมดุ เคลื่อนที่ในโรงเรียน ใหแ้ กน่ ักเรียนในระบบตามกลมุ่ เป้าหมายเดิมไม่ได้ 2. รถส่งเสรมิ การอา่ นเคล่อื นที่มขี นาดใหญ่ 3. การจัดกิจกรรมห้องสมุดเคลื่อนที่ตลาดน้ำดอนหวาย และผู้ใช้บริการในตลาดน้ำดอนหวายไม่ได้

24 แนวทางการแกไ้ ขปัญหาในการดำเนนิ งาน 1. ควรออกแบบกจิ กรรมส่งเสริมการอ่านให้หลากหลายตรงความตอ้ งการของกลุ่มเป้าหมาย เปลย่ี นกลุ่มเปา้ หมายใหม่เปน็ ประชาชนซึ่งจะสะดวกมาใชบ้ ริการนอกเวลาราชการและวันหยดุ 2. ควรจัดหารถสง่ เสรมิ การอ่านเคลอ่ื นท่ีมขี นาดเล็ก เพราะขับเคลอ่ื นได้งา่ ยและซอ่ มบำรงุ ไดง้ า่ ย 3. กำหนดแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้และสง่ เสริมการอ่านแบบออนไลน์เพื่อให้เหมาะสม กับสถานการณ์และปรับเปลี่ยนวันและเวลาในการจัดกิจกรรมให้สอดคล้องกับสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค ติดเช้อื ไวรัสโคโรน่าสายพันธใุ์ หม่ 2019 (COVID-19) ปจั จัยความสำเร็จ ความร่วมมือการจัดการศึกษาร่วมกับหน่วยงานองค์กรทั้งภาครัฐเอกชนชุมชนองค์กรปกครอง สว่ นทอ้ งถิ่นและสถาบนั สงั คมอน่ื ผลการปฏบิ ัตงิ านที่เปน็ เลิศ (Best Practice) ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อำเภอสามพราน ได้ดำเนินการจัดกิจกรรมรถห้องสมุด เคลื่อนที่ ร่วมกับครู กศน.ตำบล และภาคีเครือข่าย ซึ่งทำหน้าที่ส่งเสริมการอ่านใหก้ ับเด็ก นักเรียน นักศึกษาและ ประชาชนทุกเพศทุกวัยในอำเภอสามพราน โดยแบ่งกิจกรรมให้เหมาะสมแต่ละช่วงวัย คือ กิจกรรมสำหรับ ระดับชั้นอนุบาลถึงประถมศึกษาปีที่ 3 คือ หนังสือชวนอ่าน (รถห้องสมุดเคลื่อนที่) ระบายสีซ่อนคำ บิงโกผลไม้ และระบายสี AR 2. กิจกรรมสำหรบั ระดับชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 4 ถึงประถมศึกษาปีที่ 6 คือ หนังสือชวนอ่าน (รถ หอ้ งสมุดเคลือ่ นท่ี) บิงโกคำสภุ าพ บิงคำ รร (ร หัน) และอักษรซอ่ นคำ ซึ่งหนงั สือชวนอา่ น (รถห้องสมุดเคลื่อนท่ี) บิงโกคำสุภาพ และอักษรซ่อนคำ ใชจ้ ัดกิจกรรมให้แกน่ กั ศึกษา กศน.และประชาชนได้ ห้องสมุดเคลื่อนที่สำหรับชาวตลาดน้ำดอนหวาย ตั้งอยู่ในตลาดน้ำดอยหวาย ตำบลบางกระทึก อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม บรเิ วณทา่ เรอื ศรสี วสั ด์ิ มีนายสวัสดิ์ นม่ิ อนงค์ เป็นเจ้าของ โดยผู้ประสานงานคือ นางสาวจฑุ ามาศ เพ็งรักษา ครู กศน.ตำบลบางกระทึก นายสวัสด์ิ น่มิ อนงค์ ไดม้ อบหมายใหผ้ ู้ดูแลท่าเรือศรีสวัสดิ์ เป็นผู้ดูแลบา้ นหนังสือชุมชนด้วย และได้จัดหาหนังสอื พิมพ์ใหบ้ ริการทุกวนั ห้องสมุดเคล่ือนที่สำหรับชาวตลาดนำ้ ดอนหวายมีการปรบั ปรงุ จดั ตกแตง่ และพัฒนาอยา่ งต่อเนื่อง มีการหมุนเวยี นหนังสือและวารสารสปั ดาหล์ ะ 2 คร้ัง และมีกิจกรรมนั่งที่ไหนอ่านที่นั่นออกให้บริการแก่พ่อค้า แม่ค้าตามร้าน ซึ่งมีระยะเวลาในการดำเนินการที่ สม่ำเสมอ โดยปฏิบัติทุกสัปดาห์ที่ 1 และ 3 ของทุกเดือน หนังสือที่ให้บริการนั้นได้สำรวจความต้องการของชาว ตลาดน้ำดอนหวายด้วยการสัมภาษณ์แบบไม่มโี ครงสรา้ ง หนงั สือทพ่ี อ่ คา้ แมค่ า้ ชาวตลาดนำ้ ดอนหวายนิยมอ่านคือ หนังสือทำอาหาร ไม้ประดับ ไม้ใบ สมุนไพร หนังสือค้าขายออนไลน์ หนังสือภาษาต่างประเทศ หนังสือเกี่ยวกับ การดูแลสุขภา หนังสือเยาวชน และหนังสือนวนิยาย ซึ่งผู้รับบริการสามารถนำไปต่อยอดการค้าขายของตนเอง และยังเปน็ ผู้สนบั สนุนในการบรจิ าคหนังสือเพื่อแบ่งปันใหผ้ ู้อ่ืนอีกดว้ ย บรรณารกั ษไ์ ดส้ รา้ งห้องการสื่อสารทางไลน์ เพื่อประสานงานกับพ่อค้าแม่ค้าชาวตลาดน้ำดอนหวาย เช่น ประสานเรื่องวันเวลาให้บริการ สอบถามความ ตอ้ งการหนงั สอื และสอ่ื และมกี ารประชาสัมพนั ธ์กิจกรรม จดหมายข่าว เอกสารความรู้หน้าเดียว อย่างสม่ำเสมอ ปญั หาอปุ สรรค จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) ทำให้การ ดำเนินการจัดกิจกรรมเป็นไปอย่างยากลำบาก เนื่องจากต้องดำเนินการจัดกิจกรรมตามแบบมาตรการการเว้น ระยะห่างทางสังคม (Social Distancing)

25 ภาพกิจกรรมบุคลากรห้องสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกุมาร”ี อำเภอสามพราน รว่ มกบั ครู กศน.ตำบล จัดกิจกรรมรถห้องสมุดเคล่อื นที่ (รถโมบาย) หอ้ งสมดุ เคล่อื นท่ีตลาดน้ำดอนหวาย กิจกรรมหนังสือชวนอา่ น (รถหอ้ งสมดุ เคล่อื นท)่ี ระบายสีคัลเลอรฟ์ ลู ระบายสีซอ่ นคำ บิงโกคำสภุ าพ บิงโกคำ รร (คำ ร หัน) บิงโกผลไม้ และอักษรซ่อนคำ

26 18. โครงการการจัดและส่งเสริมการจดั การศกึ ษาตลอดชีวติ เพอ่ื คงสมรรถนะทางกาย จิต และสมอง ของผู้สูงอายุ นโยบายและจดุ เนน้ การดำเนินงาน 1. นโยบายของรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงศึกษาธกิ าร ขอ้ 3 การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทาการศกึ ษาทุกชว่ งวยั 2. นโยบายของรฐั มนตรีช่วยว่าการกระทรวงศกึ ษาธิการ ข้อ 3 สง่ เสรมิ การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ที่ทันสมัยและมปี ระสิทธิภาพ : Good Activities 3. นโยบายจุดเน้นของสำนักงาน กศน. ขอ้ 3.2 ดา้ นการสร้างสมรรถนะและทกั ษะคุณภาพ 1) ส่งเสริมการจัดการศึกษาตลอดชีวิต ที่เน้นการพัฒนาทักษะที่จำเป็นสำหรับแต่ละ ชว่ งวัย และการจัดการศึกษาและการเรยี นรูท้ ่ีเหมาะสมกบั แตล่ ะกลมุ่ เปา้ หมายและบริบทพน้ื ที่ 4) ส่งเสรมิ การจดั การศึกษาของผ้สู ูงอายุ เพื่อให้เป็น Active Ageing Workforce และมี Life Skill ในการดำรงชีวิตท่เี หมาะกบั ชว่ งวยั 4. นโยบายระยะเร่งดว่ น QUICK WIN ขอ้ 6 การศกึ ษาตลอดชวี ติ ความรคู้ วามเข้าใจในการนำนโยบายต่าง ๆ ของผบู้ รหิ ารสู่การปฏิบัติ กระทรวงศึกษาธิการ ได้ลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือการบูรณาการความร่วมมือ การพัฒนาคนตลอดช่วงชีวิต ร่วมกับกระทรวงมหาดไทย กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ และกระทรวงสาธารณสุข เมื่อวันที่ 30 มีนาคม 2560 โดยกําหนดให้กระทรวงศึกษาธิการมีบทบาทหน้าที่ในการ ส่งเสริม สนับสนุนการจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณภาพชีวิต เพื่อคงภาวะติดสังคมให้แก่ผูส้ ูงอายุกลุ่มติดสังคมในชุมชน ด้วยหลักสูตรและรูปแบบที่หลากหลาย และผลิตผู้ดูแลผู้สูงอายุร่วมกับกระทรวงสาธารณสุข เพื่อดูแลผู้สูงอายุ ภาวะพึ่งพิงในครอบครัว ในชุมชน และเพื่อการมีงานทําของประชากรวัยแรงงานการจัดการศึกษาตลอดชีวิตเป็น อีกวิธีการหนึ่งที่จะช่วยคงภาวะติดสังคมให้แก่ผู้สูงอายุกลุ่มนี้ รูปแบบของการศึกษาตลอดชีวิตดังกล่าว ได้แก่ การออกแบบกิจกรรมที่ให้ความรู้ในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ ที่เปิดโอกาสให้ผู้สูงอายุกลุ่มติด สังคมได้ออกมาทาํ กจิ กรรมรว่ มกนั อยา่ งสม่ำเสมอ ซง่ึ ลักษณะของกจิ กรรมกลมุ่ นก้ี ็เพื่อป้องกันไม่ใหผ้ สู้ งู อายุกลุ่มติด สังคมมีพัฒนาการไปเป็นผู้สูงอายุภาวะพ่ึงพิง (ติดบ้านและติดเตียง) ตราบเท่าที่ผู้สูงอายุยังสามารถคงสมรรถนะ ทางกาย จติ และสมองไว้ได้ยืนยาวขน้ึ หรือตลอดชวี ิตย่อมสร้างประโยชน์ให้แก่ครอบครวั ชุมชนและสงั คมได้ อีกทั้ง ยังช่วยลดภาระค่าใช้จ่ายในการดแู ลรักษาของภาครัฐได้จำนวนมาก ปัจจัยสำคัญของการที่จะคงภาวะติดสังคมใน ผ้สู ูงอายุไวใ้ ห้นานทสี่ ดุ ขน้ึ อย่กู ับการทีผ่ สู้ งู อายุมีโอกาสเข้าร่วมกิจกรรมท่ีเหมาะสมและอยา่ งสม่ำเสมอ สำนักงาน กศน. จังหวัดนครปฐม ส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศึกษาในสังกัด ทั้ง 7 แห่ง ดำเนินการจัดการศึกษาตลอดชีวิตเพื่อคงพัฒนาการทางกาย จิต และสมองให้แก่กลุ่มเป้าหมายผู้สูงอายุกลุ่มติด สังคม โดยนำแนวทางของสำนักงาน กศน. มาใช้ในการขับเคลื่อนการทางการดำเนินงานและรูปแบบการจัด กิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิตใน 4 มิติ ประกอบด้วย มิติสุขภาพ มิติสังคม มิติเศรษฐกิจ และมิติสภาพแวดล้อม เพ่ือ ส่งเสรมิ การเตรยี มความพร้อมในทุกมติ ิให้ผ้สู ูงอายุมีโอกาสในการศกึ ษาและการเรยี นรู้ตลอดชีวิตอยา่ งต่อเนื่องผ่าน หลักสตู ร/กิจกรรม ในรปู แบบทีห่ ลากหลาย เพือ่ ผสู้ งู อายจุ ะไดร้ บั การพัฒนาและมีคุณภาพชวี ิตท่ีดีและดำรงชีวิตอยู่ ในสงั คมได้อยา่ งมีคุณภาพและมีความสุข

27 ข้อคน้ พบ/ปญั หาอุปสรรคในการดำเนินงาน โครงการจัดและส่งเสริมการจัดการศึกษาตลอดชวี ิตเพ่ือคงพฒั นาการทางกาย จติ และสมองของ ผู้สงู อายุ เปน็ การจัดกิจกรรมพฒั นาคณุ ภาพชีวิตผ้สู ูงอายุ รูปแบบกจิ กรรมฝกึ อบรมใหค้ วามรูแ้ ละฝึกทักษะสำหรับ ผสู้ งู อายุใน 4 มิติ ประกอบดว้ ย มิติสุขภาพ เพื่อเตรียมความพร้อมด้านสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดีให้กับผู้สูงอายุ ให้ห่างไกล จากโรคภยั ไขเ้ จบ็ และอุบัติภัยต่าง ๆ ลดภาวะซมึ เศร้า คงสมรรถนะทางกาย จิต และสมอง ยอมรบั และเห็นคุณค่า ในตนเอง รู้กินรู้อยู่ รู้จักป้องกันโรค รู้จักออกกำลังกายที่เหมาะสมเพื่อสุขภาวะ และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นของ ผู้สงู อายุ มิตสิ งั คม เพือ่ เตรยี มความพร้อมใหผ้ ูส้ ูงอายสุ ามารถอยใู่ นสังคมได้อยา่ งสมดุลและปกติสุข เรียนรู้ ที่จะอยู่ร่วมกับผู้อื่นและอยู่คนเดียว รับรู้เกี่ยวกับสิทธิประโยชน์ของตนเรียนรู้กฎหมายท่ี เกี่ยวข้อง ตลอดจนนิติ กรรมสัญญาตา่ งๆ ตลอดจนสามารถเขา้ ถึงบรกิ ารของภาครฐั ได้อยา่ งถกู ต้อง รวดเร็ว และมคี ณุ ภาพ มิติเศรษฐกิจ เพื่อเสริมสร้างความมั่นคงทางเศรษฐกิจให้กับผู้สูงอายุ อาทิ การวางแผนทาง การเงิน การออมเงินในรูปแบบต่าง ๆ การจดั การทรัพยส์ ิน การมองเหน็ ช่องทางในการเข้าสู่อาชีพเพ่ือสร้างรายได้ เสริม รวมถึงการจ้างงานตามศักยภาพของผู้สูงอายุ โดยพิจารณา ถึงบริบทและความต้องการของผู้เรียนแต่ละ บุคคล มติ ิสภาพแวดล้อม เพ่อื ใหผ้ ้สู งู อายมุ ีความรู้ ความเขา้ ใจ และทกั ษะในการเตรียมความพร้อมด้าน ที่อยู่อาศัย สิ่งอำนวยความสะดวก และสภาพแวดล้อมที่เป็นมิตร และปลอดภัยสำหรับตนเอง รวมถึงสามารถ เข้าถงึ บริการทางสงั คมได้อย่างรวดเรว็ และมีคุณภาพ ตลอดจนร้เู ทา่ ทันและสามารถใช้เทคโนโลยีในชีวิตประจำวัน ได้อยา่ งเหมาะสม จากการดำเนนิ งานมีข้อคน้ พบ/ปญั หาอปุ สรรคในการดำเนนิ งาน รายละเอียด ดงั นี้ 1. วิทยากรส่วนใหญ่ที่มาสอนจะเป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นที่มีความรู้ในเนื้อหาหลักสูตรนั้น ๆ แต่ วิทยากรยังขาดความร้ใู นการวัดและประเมนิ ผลผูเ้ รยี น 2. เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) ทำให้ ไม่สามารถเข้าถงึ ตวั ผู้เรียนอยา่ งใกล้ชิดได้ แนวทางการแกไ้ ขปญั หาในการดำเนนิ งาน 1. จัดให้มีระบบการนิเทศ ติดตาม และประเมินผลอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้วิทยากรการศึกษา ตอ่ เน่ือง ดำเนินการจัดการเรยี นรู้ได้อย่างมีประสทิ ธิภาพและเกิดประสิทธผิ ลมากข้ึน 2. จัดอบรมวิทยากรท่เี ปน็ ภมู ปิ ญั ญาท้องถ่นิ เพือ่ พัฒนาศักยภาพของวทิ ยากร ปัจจยั ความสำเรจ็ 1. สถานศึกษามีการส่งเสริมการจัดกิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิตใน 4 มิติ ได้แก่ มิติด้านสุขภาพ ด้านสังคม ด้านเศรษฐกิจ และด้านสภาพแวดลอ้ ม เพื่อส่งเสริมการเตรยี มความพร้อมในทุกมิตใิ หผ้ ู้สูงอายุมโี อกาส ในการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชวี ิตตอยา่ งต่อเน่ือง ตามโครงการการจัดและส่งเสริมการจัดการศึกษาตลอดชีวิต เพอ่ื คงสมรรถนะการทางกาย จิต และสมองของผู้สูงอายุ ใหแ้ ก่ประชาชนผสู้ ูงอายุไดร้ ับผลกระทบจากสถานการณ์ การแพร่ระบาดของโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) ที่สอดคล้องกับบริบท พื้นที่ ความต้องการ ของกลุ่มเป้าหมาย และสถานการณ์ที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน โดยได้มีการจัดและส่งเสริมการจัดการศึกษาตลอดชีวติ ท่ี เน้นการพัฒนาหลักสูตรที่มีความทันสมัย ทันต่อเหตุการณ์ มีการพัฒนาทักษะที่จำเป็นสำหรับแต่ละช่วงวัย และ

28 การจัดการศึกษาและการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับแต่ละกลุ่มเป้าหมายและบริบทพื้นที่ และนำไปปรับใช้ใน ชีวิตประจำวนั ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม 2. สถานศึกษามีการส่งเสริมการจัดกิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิตใน 4 มิติ ได้แก่ มิติด้านสุขภาพ ด้านสังคม ด้านเศรษฐกิจ และด้านสภาพแวดลอ้ ม เพื่อส่งเสริมการเตรยี มความพร้อมในทุกมิติใหผ้ ู้สูงอายุมีโอกาส ในการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิตตอย่างต่อเนื่อง เพื่อนำไปถ่ายทอดความรู้ให้กับประชาชนในพื้นที่ โดยการ สำรวจความตอ้ งการของประชาชนในพื้นที่ ผ่าน กศน.ตำบล เกี่ยวกับความต้องการและความสนใจดา้ นการพัฒนา ทักษะชีวติ ใน 4 มติ ิ ใหส้ อดคลอ้ งกับสถานการณ์ การใช้ชีวิตประจำวัน ผลการปฏิบัติงานทีเ่ ป็นเลิศ (Best Practice) - ปญั หาอุปสรรค จากการจัดกิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิตใน 4 มิติ ได้แก่ มิติด้านสุขภาพ ด้านสังคม ด้านเศรษฐกิจ และด้านสภาพแวดล้อมนั้น ด้วยยังคงมีสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) ทำให้การรวมกลุ่มในการดำเนินการจัดกิจกรรมเป็นไปอย่างยากลำบาก เนื่องจากต้องดำเนินการจัดกิจกรรม ตามแบบมาตรการการเวน้ ระยะห่างทางสังคม (Social Distancing) จงึ เปน็ อุปสรรคในการทำกจิ กรรมบางข้ันตอน ที่ต้องมีความใกล้ชิดในการเรียนการสอน อย่างไรก็ตาม ทางครูผู้สอนยังคงรักษามาตรการการเว้นระยะห่างทาง สงั คม (Social Distancing)อย่างเคร่งครัด

29 ภาพกิจกรรมของโครงการการจดั และส่งเสริมการจดั การศึกษาตลอดชีวติ เพ่อื คงสมรรถนะ ทางกาย จติ และสมองของผู้สูงอายุ

30 19. กศน. ปักหมุด เพ่ือสรา้ งโอกาสทางการศึกษาสำหรับคนพกิ ารและผู้ด้อยโอกาส นโยบายและจดุ เนน้ การดำเนนิ งาน 1. นโยบายของรัฐมนตรวี า่ การกระทรวงศึกษาธกิ าร ข้อ 3 ด้านการสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเทา่ เทียมทางการศึกษาทุกชว่ งวยั 3.3 มงุ่ แก้ปญั หาคนพิการในวยั เรยี นท่ีไม่ไดร้ ับการศึกษาเขา้ สรู่ ะบบการศกึ ษา โดย กำหนดตำแหน่ง (ปักหมุด) บ้านเดก็ พิการท่ัวประเทศ 2. นโยบายระยะเร่งด่วน QUICK WIN ขอ้ 7 การจัดการศึกษาสำหรับผู้ทมี่ คี วามต้องการจำเป็นพิเศษ ความรูค้ วามเข้าใจในการนำนโยบายต่าง ๆ ของผบู้ รหิ ารสกู่ ารปฏิบัติ จากข้อการสำรวจคนพิการของกรมส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ (พก.) กระทรวง การพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ณ วันที่ 31 มีนาคม 2564 ที่ยังไม่เข้าสู่ระบบการศึกษาของภาครัฐ ทั่วประเทศ พบว่ามีคนพิการที่ยังไม่ได้เข้าสู่ระบบการศึกษาจำนวนทั้งสิ้น 54,513 คน ในจำนวนข้างต้น พบว่า มีคนพิการที่มีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไปจำนวน 47,340 คน โดยจำนวนนี้อยู่ในพื้นที่จังหวัดนครปฐม จำนวน 720 คน ดังนั้น เพื่อให้การขับเคลื่อนนโยบายของรัฐบาลด้านการลดปัญหาความเหลื่อมล้ำของสังคม สำนักงาน กศน. จึงได้ดำเนินการจัดทำโครงการ กศน. ปักหมุดเพื่อสร้างโอกาสทางการศึกษาสำหรับคนพิการ และผู้ด้อยโอกาส โดยใช้กลยุทธ์ \"รุกถึงที่ ลุยถึงถิ่น\" ในการติดตามค้นหากลุ่มเป้าหมายคนพิการถึงชานเรือน แ ล ะ ใ ช ้ โ ปร แ ก รม CAPER (Collection Data, Assessment, Planning, Evaluation, Report) “ป ั ก ห ม ุด\" ซึ่งเป็นการสำรวจและรวบรวมขอ้ มูลกลมุ่ เปา้ หมายคนพิการอายุตัง้ แต่ 18 ปขี ึ้นไป ทยี่ งั ไม่เขา้ สูร่ ะบบการศกึ ษา สำนักงาน กศน.จงั หวัดนครปฐมได้ศกึ ษาแนวทางการดำเนนิ งาน แต่งตงั้ คณะกรรมการขับเคลื่อน การดำเนินงานโครงการส่งเสริมโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษา \"พาน้องกลับมาเรียน\" ของสำนักงาน กศน.ตามนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ ปี พ.ศ.๒๕๖๕ ระดับจังหวัด จัดประชุมชีแ้ จงแนวทางการ ขับเคลื่อนการดำเนินงานโครงการและประชุมชี้แจงการดำเนินงานโครงการ กศน. ปักหมุดเพื่อสร้างโอกาสทาง การศึกษาสำหรับคนพิการและผู้ด้อยโอกาส โดยใช้กลยุทธ์ \"รุกถึงที่ ลุยถึงถิ่น\" ในการติดตามค้นหากลุ่มเปา้ หมาย คนพิการถึงชานเรือนและใช้โปรแกรม CAPER (Collection Data, Assessment, Planning, Evaluation, Report) “ปักหมดุ \" ใหก้ ับผู้บริหาร ครู กศน. และบุคลากรทเ่ี กย่ี วข้อง สถานศึกษามีการจัดประชุมระดับอำเภอเพื่อชี้แจงที่มา ความสำคัญของโครงการ อธิบายถึง วัตถุประสงค์ของโครงการ จัดทำแผนและแนวทางการดำเนินงานสำรวจและปักหมดุ ค้นหาคนพิการอายุ 18 ปีข้ึน ไป ที่ยังไม่เข้าสู่ระบบการศึกษาเพื่อให้ได้ข้อมูลครบถ้วนสมบูรณ์ ตามองค์ประกอบของแบบสำรวจทั้ง 7 ส่วน แต่งตั้งคณะทำงานโครงการ กศน.ปักหมุด จัดทำหนังสือขอความร่วมมือในการสำรวจข้อมูลคนพิการไปยัง หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ วางแผนการสำรวจและปักหมุดค้นหาคนพิการเป็นรายตำบลเพื่อบันทึกข้อมูล กลมุ่ เป้าหมายคนพกิ ารลงในระบบ เทคโนโลยสี ารสนเทศ CAPER จำนวน 720 คน

31 ขอ้ คน้ พบ/ปญั หาอุปสรรคในการดำเนินงาน ได้สำรวจความต้องการสร้างโอกาสและการเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพสำหรับคนพิการและ ผู้ด้อยโอกาสและผู้เรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษทั้งในและนอกระบบการศึกษา ในพื้นที่จังหวัดนครปฐม จำนวน 720 คน โดยบันทึกข้อมูลกลุ่มเป้าหมายคนพิการลงในระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ CAPER จำนวน 720 คน ดังนี้ 1) กลุม่ เป้าหมาย จำนวน 720 คน - กลุม่ เปา้ หมายที่ตดิ ตามพบตวั จำนวน 585 คน - กลมุ่ เปา้ หมายที่ตดิ ตามแลว้ ไมพ่ บตัว จำนวน 112 คน - กล่มุ เปา้ หมายทเ่ี สยี ชวี ิต 23 คน - กลุ่มเปา้ หมายท่จี บการศึกษา/กำลังศกึ ษาอยสู่ ถานศึกษาอื่น 1 คน 2) กลมุ่ เปา้ หมาย “นำเขา้ สูร่ ะบบฐานขอ้ มลู ” ก่อนเปิดภาคเรียน 87 คน คดิ เป็นร้อยละ 14.87 (ของกล่มุ เป้าหมายทต่ี ิดตามพบตัว) 3) การดำเนินการให้ความช่วยเหลอื กลมุ่ เป้าหมาย การติดตามค้นหากลุ่มเป้าหมายคนพิการ พบตัว จำนวน 585 คน เข้ารับการศึกษาตาม หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ของสถานศึกษาในสังกัดแล้วจำนวน 87 คน กลุม่ เป้าหมายทเี่ หลือ 498 คน ไม่ตอ้ งการศึกษาต่อ ต้องการทางด้านอาชพี จำนวน 114 คน ปัญหาอุปสรรคในการดำเนนิ งาน 1. ครอบครัวผู้พิการคาดหวังกับการให้ข้อมูลต่าง ๆ แลกกับการช่วยเหลือในด้านต่าง ๆ ของผู้พิการ เนื่องจากมีการเข้ามาเก็บข้อมูลแล้วหลายๆครั้งแต่ไม่ได้รับความช่วยเหลือใดๆ จึงทำให้เกิดปัญหาต่อ การเก็บข้อมูลในครั้งนี้ จึงไม่เต็มใจในการให้ข้อมูล ครู กศน. ที่ลงพื้นที่จึงจำเป็นจะต้องเสียสละทรัพย์ส่วนตัว ซ้ืออาหารแห้งหรอื ของใช้จำเป็นไปใหเ้ พ่ือสรา้ งขวัญกำลังแก่ครอบครัวผู้พกิ าร 2. ข้อมูลที่ได้มาจากต้นสังกัดมีความผิดพลาดไม่ตรงกับสถานการณ์จริง บางข้อมูลผิดพลาด รายชอ่ื บางรายไม่พบความพกิ ารใดๆ บางรายพบความพิการกับคนในครอบครวั แตไ่ ม่มีในรายชือ่ ที่แจง้ มา 3. ครอบครัวของผู้พิการไม่ต้อนรับและไม่ยินยอมให้ข้อมูลใดๆ โดยเฉพาะเอกสารทางราชการ เช่น สำเนาบัตรประชาชน ทะเบียนบ้าน บัตรผู้พิการ เพราะเชื่อว่าเอกสารเหล่านี้เป็นเอกสารสำคัญไม่ควรให้แก่ ผอู้ ื่น 4. ในผู้พิการบางรายไม่ได้อยู่ในพื้นที่แล้ว และไม่มีผู้ให้ข้อมูลได้ว่าย้ายไปอยู่ที่ใด ไม่สามารถลง ข้อมลู ในระบบได้ 5. สถานท่ีปักหมุดบางแหง่ ถนน ไฟฟา้ เข้าไมถ่ งึ จึงต้องใชเ้ วลาในการเก็บข้อมูลมากเปน็ พิเศษ 6. เอกสารของผู้พิการสูญหาย ขาด ชำรุด และไม่มีคนในครอบครัวอำนวยความสะดวก ดำเนนิ การทำเอกสารได้ เนอ่ื งจากคนในครอบครวั ท่ีดูแลต้องไปทำงานไม่ว่าง หรือเหลอื ผู้สูงอายุที่ไม่มีกำลังในการ จัดการดแู ลผ้พู กิ าร แนวทางการแกไ้ ขปัญหาในการดำเนินงาน 1. ครู กศน.ตำบล ไดแ้ จ้งปัญหาในการเก็บข้อมูลใหผ้ บู้ ริหารทราบ เพื่อหาทางแก้ไขอยา่ งเร่งดว่ น 2. ส่งต่อข้อมูลให้ความชว่ ยเหลือ ประสานไปยังหน่วยงานทีเ่ กี่ยวข้องเพื่อหาแนวทางช่วยเหลอื ผู้ พิการในสว่ นอื่นๆใหม้ คี ณุ ภาพชีวิตที่ดขี นึ้ สามารถชว่ ยเหลือตนเองและมสี ุขภาพอนามัยทางกายและจิตท่ีดีต่อไป

32 ปัจจยั ความสำเร็จ สถานศกึ ษามีครู กศน.ตำบลและบคุ ลากรทางการศกึ ษาท่ีมีความต้ังใจในการทำงาน ลงพ้ืนท่ีอยา่ ง ต่อเนื่องเข้าถึงประชาชนทุกระดับ ได้รับความไว้วางใจในการให้ข้อมูล มีภาคีเครือข่ายที่ดีประสานงานในพื้นที่ เข้าถึงทุกบ้านทุกพื้นที่ มีผู้บริหารที่มีวิสัยทัศน์กว้างไกล เอาใจใส่ดูแล สร้างขวัญและกำลังใจที่ดีในการทำงาน มีต้นสังกัดที่มีองค์ความรู้และสร้างระบบให้เป็นแนวทางการทำงานเดียวกัน สามารถสอบถามปัญหาต่างๆใน ระหวา่ งการทำงานเพอ่ื หาทางแกไ้ ขอยา่ งรวดเรว็ ทำให้มีผลการทำงานตามระยะเวลาทีก่ ำหนด ผลการปฏิบตั งิ านทีเ่ ปน็ เลศิ (Best Practice) - ปัญหาอุปสรรค 1. เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่า COVID-19 และมีเชื้อที่กลายพันธุ์ มากมาย บางสายพันธุ์ไม่แสดงอาการ ผู้พิการที่มีความพิการทางพฤติกรรมและอารมณ์มักจะไม่ได้รับวัคซีน เนื่องจากไม่สามารถเข้าไปฉดี ได้ ทำให้ผู้ที่ลงพื้นที่เกิดความเสี่ยงกับการตดิ เช้ือโรคดังกล่าว และอาจจะส่งผลไปยัง เพอ่ื นรว่ มงาน และครอบครวั 2. ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด – 19 ในการลงพื้นที่ติดตามผู้เรียนของ ครู กศน.ตำบล มีความยากลำบาก ไม่ไดร้ บั ความร่วมมอื จากประชาชนในพืน้ ท่ี 3. ผพู้ กิ ารหรอื ผ้ปู กครองบางรายไม่ใหค้ วามร่วมมือในการให้ขอ้ มลู ในการตอบแบบสำรวจ ภาพกิจกรรมโครงการ“กศน. ปกั หมุด” เพ่ือสร้างโอกาสทางการศึกษาสำหรับคนพิการ และผ้ดู ้อยโอกาส

33

34 20. โครงการส่งเสริมการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยสำหรับประชากรวัยเรียนที่อยู่ นอกระบบการศึกษาและเด็กออกกลางคนั นโยบายและจุดเน้นการดำเนนิ งาน 1. นโยบายของรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงศึกษาธกิ าร ข้อ 3 ด้านการสรา้ งโอกาส ความเสมอภาค และความเทา่ เทยี มทางการศึกษาทุกชว่ งวัย 3.1 ดำเนนิ การสำรวจและติดตามเด็กตกหลน่ และเดก็ ออกกลางคัน เพื่อนำเข้าสรู่ ะบบ การศกึ ษาโดยเฉพาะการศึกษาภาคบงั คบั 2. นโยบายระยะเร่งด่วน QUICK WIN ขอ้ 7 การจดั การศึกษาสำหรบั ผทู้ ี่มคี วามต้องการจำเปน็ พเิ ศษ ความรูค้ วามเขา้ ใจในการนำนโยบายต่าง ๆ ของผู้บรหิ ารสกู่ ารปฏิบัติ ตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน 2564 มีข้อสั่งการให้ทุกหน่วยงานในสังกัด กระทรวงศึกษาธิการ บูรณาการความร่วมมือในการแก้ไขปัญหานักเรียนที่ตกหล่นจากระบบการศึกษากลับเข้าสู่ ระบบการศึกษา เพื่อลดความเหลื่อมล้ำและเพิ่มโอกาสการเข้าถึงการศึกษาทีม่ ีคุณภาพ ประกอบกับ เมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2565 นายวัลลพ สงวนนาม เลขาธิการสำนักงาน กศน. ได้ประชุมมอบนโยบายในการขับเคลื่อนการ ดำเนินงานโครงการส่งเสริมโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษา \"พาน้องกลับมาเรียน\" ของสำนกั งาน กศน. ตามนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ ปี พ.ศ. ๒๕๖๕ สำนกั งาน กศน. จงั หวดั นครปฐม สง่ เสรมิ สนบั สนุนใหส้ ถานศึกษาในสงั กดั ทง้ั 7 แหง่ ดำเนินการ ขับเคลื่อนโครงการพาน้องกลับมาเรียน พร้อมทั้งขยายผลสร้างการรับรู้ให้ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายตามโครงการ ดังนี้ (1) แต่งตั้งคณะทำงานขับเคลื่อนการดำเนินงานโครงการส่งเสริมโอกาส ความเสมอภาคและความเท่าเทียม ทางการศึกษา “พาน้องกลับมาเรียน” ของสำนักงาน กศน. ตามนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ ปี พ.ศ. 2565 ในระดับอำเภอ และระดับจังหวัด เพื่อกำหนดแผนและแนวทางการดำเนินงานติดตามค้นหาผู้เรียน กศน. ที่หลุด ออกจากระบบการศึกษากลับเข้าสูร่ ะบบการศึกษา และได้รับการศกึ ษาอย่างมีคุณภาพ และ (2) ส่งหนังสอื ราชการ แจ้งแนวทางการดำเนินงาน โครงการส่งเสริมโอกาส ความเสมอภาคและความเท่าเทียมทางการศึกษา “พาน้อง กลบั มาเรียน” ใหก้ ับสถานศึกษาในสงั กัดพรอ้ มทง้ั จดั ประชมุ เชิงปฏิบตั ิการการใชง้ านแอปพลเิ คชัน \"พาน้องกลบั มา เรียน\" สำหรับผู้รับผิดชอบระดับอำเภอ ผ่านทางระบบออนไลน์โดยใช้โปรแกรม Google Meet เพื่อชี้แจงสร้าง ความเข้าใจ ประชาสัมพันธ์ ร่วมกันวางแผนและแนวทางการดำเนินงานตดิ ตามค้นหาผู้เรียน กศน.ที่หลดุ ออกจาก ระบบการศึกษาให้กลับเข้าสู่ระบบการศึกษา รวมถึงการใช้งานแอปพลิเคชัน \"พาน้องกลับมาเรียน\" สำหรับ ผ้รู บั ผิดชอบระดับอำเภอ ให้สถานศกึ ษาในสังกดั ทราบและถอื ปฏิบัติ สถานศึกษาได้มีการจัดประชุมระดับอำเภอเพื่อชี้แจงที่มา ความสำคัญของโครงการ อธิบายถึง วัตถุประสงค์ของโครงการ เพื่อกำหนดแผนและแนวทางการดำเนินงานติดตามค้นหาผู้เรียนที่หลุดออกจากระบบ การศึกษาและออกกลางคันกลับเข้าสู่ระบบการศึกษา โดยใช้ Mobile Application “พาน้องกลับมาเรียน” และเว็บไซต์ http://dropout.edudev.in.th เป็นเครื่องมือในการติดตามและรายงานผล ผู้เรียนจำนวน 63 คน ในการดำเนินการใหผ้ ู้เรยี นกลับเข้าส่รู ะบบการศึกษา

35 ขอ้ มูลจำนวนผู้เรียนทต่ี อ้ งติดตามของสถานศกึ ษาในสังกัดสำนักงาน กศน.จังหวดั นครปฐม รวม 63 44 19 ข้อมูลสถานะการตดิ ตาม

36 ขอ้ ค้นพบ/ปญั หาอุปสรรคในการดำเนินงาน มีตัวตนไม่สามารถติดต่อได้ ไม่มีช่องทางการติดต่อ เช่น ผู้เรียนพ้นโทษแล้ว ไม่กลับไปภูมิลำเนา ไม่มญี าติ ครอบครวั คนใกล้ชิดท่สี ามารถตดิ ต่อได้ แนวทางการแกไ้ ขปัญหาในการดำเนินงาน ไดม้ ีการโทรสอบถาม ตดิ ตาม นกั ศึกษาในการเข้าสรู่ ะบบการศึกษา ปัจจัยความสำเร็จ มีแนวทางการดำเนนิ การทีช่ ัดเจน และใช้เทคโนโลยีชว่ ยในการจัดเก็บข้อมูล ผลการปฏิบตั ิงานที่เปน็ เลศิ (Best Practice) - รปู ภาพโครงการสง่ เสรมิ การจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั สำหรบั ประชากรวัยเรียน ทอี่ ยนู่ อกระบบการศึกษาและเด็กออกกลางคัน “พานอ้ งกลบั มาเรียน”

37 รูปภาพการลงพื้นท่ตี ิดตามพานอ้ งกลบั มาเรยี น

38 23. โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน นโยบายและจุดเนน้ การดำเนินงาน 1. นโยบายของรัฐมนตรวี า่ การกระทรวงศึกษาธกิ าร ข้อ 4 การศึกษาเพื่อพฒั นาทักษะอาชีพและเพม่ิ ขีดความสามารถในการแข่งขนั 2. นโยบายของรฐั มนตรชี ่วยว่าการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ข้อ 3 ส่งเสริมการจดั กจิ กรรมการเรยี นรทู้ ท่ี ันสมยั และมปี ระสิทธภิ าพ : Good Activities 3. นโยบายจดุ เนน้ ของสำนกั งาน กศน. 3.2 ด้านการสร้างสมรรถนะและทกั ษะคุณภาพ 1) ส่งเสริมการจัดการศึกษาตลอดชีวิต ที่เน้นการพัฒนาทักษะที่จำเป็นสำหรับแต่ละ ชว่ งวัย และการจดั การศึกษาและการเรยี นรูท้ ่เี หมาะสมกับแต่ละกลุ่มเปา้ หมายและบรบิ ทพ้ืนที่ 2) พัฒนาหลักสูตรอาชีพระยะสั้น ที่เนน้ New skill Upskill และ Reskill ที่สอดคล้อง กับบริบทพื้นที่ ความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย ความต้องการของตลาดแรงงาน และกลุ่มอาชีพใหม่ที่รองรับ Disruptive Technology 3) ยกระดบั ผลติ ภณั ฑ์ สนิ ค้า บริการจากโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชมุ ชน ทเ่ี น้น “ส่งเสริม ความรู้ สร้างอาชีพ เพ่ิมรายได้ และมีคุณภาพชีวิตที่ดี” ใหม้ ีคณุ ภาพมาตรฐาน เป็นทีย่ อมรับของตลาด ต่อยอดภูมิ ปัญญาท้องถิ่นเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม พัฒนาสู่วิสาหกิจชุมชน ตลอดจนเพิ่มช่องทางประชาสัมพันธ์ และช่องทางการ จำหนา่ ย 4) นโยบายระยะเรง่ ด่วน QUICK WIN ขอ้ 5 พฒั นาทกั ษะทางอาชพี 5) นโยบายการตรวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ ข้อ 3.2 การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ทกุ ช่วงวัย โดยการจัดการเรียนรูท้ ี่หลากหลาย และสร้างการเรียนรู้ตลอดชีวิต เพื่อการพัฒนาทักษะอาชีพ โดยการเพิ่มพูนทักษะ (Re - skill) พัฒนาทักษะ (Up - skill) และการเรียนรูท้ กั ษะใหม่ (New skills) ความรู้ความเข้าใจในการนำนโยบายตา่ ง ๆ ของผู้บริหารสูก่ ารปฏบิ ตั ิ สถานศึกษาไดด้ ำเนนิ การพัฒนาหลักสตู รอาชีพระยะสั้นที่เนน้ New skill Up skill และ Re skill ให้แก่ประชาชนได้รับผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) ทีส่ อดคล้องกับบรบิ ท พนื้ ท่ี ความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย ความต้องการของตลาดแรงงาน และสถานการณ์ ที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน โดยได้มีการจัดและส่งเสริมการจัดการศึกษาตลอดชีวิตที่เน้นการพัฒนาหลักสูตรที่มีความ ทันสมัย ทันต่อเหตุการณ์ มีการพัฒนาทักษะที่จําเป็นสาํ หรับแต่ละชว่ งวัย และ การจัดการศึกษาและการเรียนร้ทู ี่ เหมาะสมกับแต่ละกลุ่มเป้าหมายและบริบทพื้นที่ ส่งเสริมให้มีการยกระดับผลิตภัณฑ์ สินค้า บริการจากโครงการ ศนู ย์ฝึกอาชพี ชุมชน ทีเ่ นน้ “ส่งเสรมิ ความรู้ สร้างอาชีพ เพมิ่ รายได้ และมคี ณุ ภาพชวี ติ ที่ด”ี ใหม้ คี ุณภาพมาตรฐาน เป็นที่ยอมรับของตลาด ต่อยอดภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม พัฒนาสู่วิสาหกิจชุมชน ตลอดจนเพิ่ม ชอ่ งทางประชาสัมพันธแ์ ละช่องทางการจําหนา่ ย นอกจากน้ีสถานศึกษาได้มีการพัฒนา ปรบั รูปแบบ กระบวนการ และวธิ กี ารดาํ เนนิ งานในการจัดกิจกรรมต่อเนื่องตา่ ง ๆ ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ การใช้ชวี ติ ประจําวนั โดยการ สำรวจความต้องการของประชาชนในพ้นื ที่ ผ่าน กศน.ตำบล เก่ยี วกับความตอ้ งการและความสนใจดา้ นอาชพี และ ให้ความสําคัญกับการดําเนินงานตามมาตรการการป้องกัน การเว้นระยะห่างทางสังคม (Social Distancing) จากการแพรร่ ะบาดของเชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID – 19)

39 ขอ้ ค้นพบ/ปัญหาอุปสรรคในการดำเนินงาน สถานศึกษาได้ดำเนินการจัดกิจกรรมตามโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนในลักษณะ กิจกรรม การศึกษาแบบพัฒนาอาชีพระยะสั้น (กลุ่มสนใจ ไม่เกิน 30 ชั่วโมง) กิจกรรมการศึกษาแบบชั้นเรียนวิชาชีพ (31 ชั่วโมงขึ้นไป) และกิจกรรมการศึกษาอาชีพ 1 อำเภอ 1 อาชีพ ในห้วงเดือนตุลาคม 2564 - มิถุนายน 2565 ซึ่งมี ผลการดำเนนิ งานจัดกจิ กรรม ดังน้ี - กิจกรรมการศึกษาอาชีพ 1 อำเภอ 1 อาชีพ เป้าหมาย จำนวน 11 คน ผลการดำเนินงาน จำนวน 12 คน - กจิ กรรมการศึกษาแบบพัฒนาอาชีพระยะสน้ั (กลุ่มสนใจ ไม่เกิน 30 ชวั่ โมง) เปา้ หมาย จำนวน 159 คน ผลการดำเนนิ งาน จำนวน 300 คน - กิจกรรมการศึกษาแบบชั้นเรียนวิชาชีพ (31 ชั่วโมงขึ้นไป) เป้าหมาย จำนวน 246 คน ผลการ ดำเนินงาน จำนวน 293 คน ปัญหาอุปสรรค ประกอบดว้ ย ด้านครผู สู้ อน วิทยากรส่วนใหญ่ที่มาสอนจะเป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นที่มีความรู้ในเนื้อหาหลักสูตรนั้น ๆ แตว่ ทิ ยากรยงั ขาดความรใู้ นการวัดและประเมินผลผเู้ รยี น ด้านการบรหิ ารจดั การ 1) ด้านเวลาเนื่องจากผเู้ รียนบางสว่ นตดิ ภารกิจจงึ ไม่สามารถมาเรยี นไดค้ รบชวั่ โมงในแต่ละวนั 2) ผู้เรียนมีความรู้พื้นฐานไม่เท่ากันทำให้เป็นอุปสรรคในการจัดการเรียนการสอน ซงึ่ วทิ ยากรตอ้ งมีจิตวทิ ยาในการถ่ายทอดความรู้ ด้านส่อื วสั ดุอุปกรณ์ วัสดุอุปกรณ์ในการจัดการเรียนการสอนบางรายวิชามีไม่เพียงพอต่อจำนวนผู้เรียน เน่ืองจากมขี อ้ จำกดั ในเรอ่ื งงบประมาณคา่ วัสดุ แนวทางการแก้ไขปญั หาในการดำเนนิ งาน 1) จัดให้มีระบบการนิเทศ ตดิ ตาม และประเมินผลอยา่ งตอ่ เนื่อง เพื่อให้วิทยากรการศึกษา ต่อเน่อื ง ดำเนินการจดั การเรียนรู้ได้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพและเกดิ ประสิทธผิ ลมากขนึ้ 2) จัดอบรมวทิ ยากรท่ีเปน็ ภูมิปญั ญาท้องถิน่ เพอ่ื พฒั นาศกั ยภาพของวิทยากร 3) วัสดุอปุ กรณ์บางอย่างใหผ้ ูเ้ รียนไดม้ สี ว่ นรว่ มในเตรยี มมาดว้ ยในการฝกึ อบรม ปจั จยั ความสำเร็จ ด้านหลักสตู ร สถานศึกษาได้ดำเนินการพัฒนาหลักสูตรอาชีพระยะสั้นที่เน้น New skill Up skill และ Re skill ให้แก่ประชาชนได้รับผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) ทีส่ อดคล้องกบั บริบท พื้นที่ ความตอ้ งการของกลุ่มเป้าหมาย ความต้องการของตลาดแรงงาน และ สถานการณท์ ่เี กดิ ขน้ึ ในปัจจุบนั โดยไดม้ กี ารจัดและส่งเสริมการจัดการศกึ ษาตลอดชีวิตทเี่ น้นการพัฒนาหลักสูตรที่ มีความทันสมัย ทันต่อเหตุการณ์ มีการพัฒนาทักษะที่จําเป็นสําหรับแต่ละช่วงวัย และ การจัดการศึกษาและการ เรียนรู้ที่เหมาะสมกับแต่ละกลุ่มเป้าหมายและบริบทพื้นที่ ส่งเสริมให้มีการยกระดับผลิตภัณฑ์ สินค้า บริการจาก

40 โครงการศูนยฝ์ ึกอาชีพชมุ ชน ทเี่ น้น “ส่งเสรมิ ความรู้ สรา้ งอาชพี เพม่ิ รายได้ และมีคุณภาพชีวิตท่ีดี” ให้มีคุณภาพ มาตรฐาน เปน็ ท่ยี อมรบั ของตลาด ต่อยอดภมู ปิ ญั ญาท้องถิ่น เพ่อื สรา้ งมูลค่าเพ่ิม พฒั นาสูว่ สิ าหกจิ ชมุ ชน ตลอดจน เพิ่มช่องทางประชาสัมพันธ์และช่องทางการจําหน่าย ดา้ นกระบวนการพฒั นา สถานศึกษาได้มีการพัฒนา ปรับรูปแบบ กระบวนการ และวิธีการดําเนินงานในการจัดกิจกรรม ต่อเนื่องต่าง ๆ ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ การใช้ชีวิตประจําวัน โดยการสำรวจความต้องการของประชาชนใน พน้ื ท่ี ผ่าน กศน.ตำบล เก่ยี วกับความต้องการและความสนใจดา้ นอาชีพ และให้ความสาํ คญั กับการดําเนินงานตาม มาตรการการป้องกนั การแพรร่ ะบาดของเชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID – 19) ผลการปฏบิ ัตงิ านท่ีเปน็ เลศิ (Best Practice) - ปัญหาอุปสรรค 1) จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) ทำให้การ รวมกลุ่มในการดำเนินการจัดกิจกรรมเป็นไปอย่างยากลำบาก เนื่องจากต้องดำเนินการจัดกิจกรรมตามแบบ มาตรการการเวน้ ระยะหา่ งทางสังคม (Social Distancing) 2) ขาดการติดตามกลุ่มผเู้ รียนหลังจบหลกั สูตรอยา่ งตอ่ เนือ่ ง ภาพกจิ กรรมโครงการศูนยฝ์ ึกอาชีพชุมชน หลกั สูตร การประดิษฐ์ของชำรว่ ยบุหงารำไป จำนวน 20 ชั่วโมง หลักสตู รวชิ าหรรษาฮาวาย กระเป๋าผา้ มดั ย้อม จำนวน 50 ชั่วโมง

41 หลกั สตู ร การทำเคร่ืองแขวน จำนวน 6 ชว่ั โมง หลกั สูตรขนมเปี๊ยะสายรงุ้ และไดฟุกุ

42 25. โครงการศนู ยด์ ิจิทลั ชมุ ชน นโยบายและจดุ เนน้ การดำเนินงาน 1. นโยบายของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ขอ้ 4 การศกึ ษาเพ่อื พฒั นาทกั ษะอาชีพและเพิม่ ขดี ความสามารถในการแขง่ ขนั 2. นโยบายของรัฐมนตรชี ่วยวา่ การกระทรวงศึกษาธกิ าร ข้อ 3 ส่งเสริมการจดั กิจกรรมการเรียนรูท้ ี่ทันสมัยและมีประสทิ ธภิ าพ : Good Activities ข้อ 5 พัฒนานวัตกรรมทางการศึกษาเพื่อประโยชน์ต่อการจัดการศึกษาและกลุม่ เป้าหมาย : Good Innovation 3. นโยบายจดุ เนน้ ของสำนกั งาน กศน. ขอ้ 3.2 ดา้ นการสร้างสมรรถนะและทักษะคณุ ภาพ 6) ส่งเสริมการพัฒนาทักษะดิจิทัลและทักษะด้านภาษา ให้กับบุคลากร กศน. และผเู้ รียนเพื่อรองรบั การพฒั นาประเทศ ความรคู้ วามเข้าใจในการนำนโยบายต่าง ๆ ของผู้บรหิ ารสกู่ ารปฏิบัติ สำนักงาน กศน. ได้จัดอบรมเชิงปฏิบัติการโครงการศูนย์ดิจิทัลชุมชน หลักสูตรการค้าออนไลน์ กลยุทธก์ ารตลาดเชื่อมโยงจาก Online และ Offline ให้กับบุคลากรสงั กัดสำนักงาน กศน.เพื่อพัฒนาศักยภาพของ วิทยากรแกนนำด้านดิจิทัล ระดับจังหวัด (ครู ก) ให้มีความเข้าใจกลไกการทำงาน และแนวโน้มของสื่อสังคม ออนไลนท์ มี่ ผี ลต่องานการตลาด และการขาย รวมถึงการตลาดขั้นพื้นฐาน ทจ่ี ะนำไปใชเ้ ชื่อมโยงระหว่างการตลาด แบบดั้งเดิม และการตลาดออนไลน์ผ่านเครื่องมือที่หลากหลาย และพฤติกรรมผู้บริโภคในสถานการณ์การแพร่ ระบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 เพือ่ นำไปถา่ ยทอดใหก้ ับบุคลากรสังกดั สำนักงาน กศน.และประชาชน ใน พื้นที่ ให้มีความรู้ ทักษะ กลยุทธ์การตลาด และสามารถใช้ประโยชน์จากสื่อดิจิทัลอย่างสร้างสรรคส์ ำนักงานกศน. จังหวัดนครปฐม ได้ตระหนักและเห็นความสำคัญดังกล่าว เพื่อเป็นการพัฒนาศักยภาพของบุคลากร ให้มีความรู้ ความเข้าใจ และการฝึกปฏิบัติโดยใช้หลักสูตร การค้าออนไลน์ กลยุทธ์การตลาดเชื่อมโยงจาก Online และ Offline ตลอดจนสามารถนำไปถ่ายทอดให้กับบุคลากรในหน่วยงาน จำนวน 124 คน ระหว่างวันที่ 17-18 มีนาคม 2565 ณ โรงแรมไมด้า แกรนด์ ทวารวดี นครปฐม สำนกั งาน กศน.จงั หวดั นครปฐมได้สง่ เสรมิ สนับสนุนให้สถานศึกษาจดั การศึกษาตลอดชีวิตที่เน้น การพัฒนาทักษะที่จําเป็นสำหรับแต่ละช่วงวัย และการจัดการศึกษาและการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับแต่ละ กลุ่มเป้าหมายและบริบทพื้นที่ โดยหลักสตู รการค้าออนไลน์ กลยุทธ์การตลาดเช่ือมโยงจาก Online และ Offline เน้นให้มีความเข้าใจกลไกการทำงานและแนวโนม้ ของสื่อสังคมออนไลนท์ ่ีมีผลต่องานการตลาดและการขาย รวมถึง การตลาดขั้นพื้นฐานที่จะนำไปใช้เชื่อมโยงระหว่างการตลาดแบบดั้งเดิมและการตลาดออนไลน์ ผ่านเครื่องมือที่ หลากหลาย และพฤติกรรมผู้บริโภคในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (Covid-19) เพอ่ื นำไปถา่ ยทอดความรใู้ ห้กับประชาชนในพ้นื ท่ี กศน.ตำบลต่อไป


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook