Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore THAI_Teacher_Guide_Intensive_Thai_for_Grade_1

THAI_Teacher_Guide_Intensive_Thai_for_Grade_1

Published by hiyeeding, 2020-05-25 09:32:28

Description: THAI_Teacher_Guide_Intensive_Thai_for_Grade_1

Search

Read the Text Version

หนงั สอื คูมอื แนวทางการจดั การเรยี นการสอนแบบเรยี นเร็วใหม เลม ๑ ตอนตน หนงั สอื คมู อื แนวทางการจัดการเรยี นการสอน แบบเรียนเรว็ ใหม เลม ๑ ตอนตน สถาบนั ภาษาไทย สํานกั วิชาการและมาตรฐานการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน

หนงั สอื คูม่ ือแนวทางการจดั การเรียนการสอน แบบเรียนเรว็ ใหม่ เล่ม ๑ ตอนต้น สถาบันภาษาไทย สำนกั วิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน

หนังสอื คู่มือแนวทางการจดั การเรยี นการสอนแบบเรยี นเรว็ ใหม่ เล่ม ๑ ตอนต้น ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี ๑ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ ลขิ สทิ ธิข์ อง สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร ถนนราชดำเนนิ นอก เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร ๑๐๓๐๐ โทรศัพท์ ๐-๒๒๘๘-๕๗๔๖-๗ โทรสาร ๐-๒๖๒๘-๕๓๔๓ สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา ดำเนนิ การจัดทำตน้ ฉบับ ISBN 978-616-372-265-2 พมิ พค์ รั้งท่ี ๑ พ.ศ. ๒๕๕๘ จำนวนพมิ พ ์ ๓๕,๐๐๐ เล่ม พมิ พท์ ่ี โรงพมิ พช์ มุ นุมสหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย จำกดั ๗๙ ถนนงามวงศว์ าน แขวงลาดยาว เขตจตุจกั ร กรงุ เทพมหานคร ๑๐๙๐๐ โทร. ๐-๒๕๖๑-๔๕๖๗ โทรสาร ๐-๒๕๗๙-๕๑๐๑

คำนำ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน เล็งเห็นความสำคัญของ การพัฒนาการเรียนการสอนภาษาไทย ให้นักเรยี นช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี ๑-๓ อ่านออกเขียนได้ เพื่อเป็นรากฐานการเรียนรู้อ่ืนๆ ในระดับท่ีสูงข้ึน โดยเน้นการฝึกทักษะการอ่านการเขียน ให้นักเรียนทุกคนมีพ้ืนฐานการอ่านการเขียนที่ดี ในปีงบประมาณ ๒๕๕๗ จึงจัดพิมพ์หนังสือ แบบเรยี นเรว็ ใหม่ เล่ม ๑ ตอนตน้ ตอนกลาง และตอนปลาย ใหเ้ ปน็ หนังสอื ส่งเสริมฝกึ ทกั ษะ การอ่าน การเขยี นภาษาไทยอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ แจกใหแ้ ก่โรงเรียนในสงั กดั ท่วั ประเทศ เพอ่ื ใหก้ ารใชห้ นงั สอื แบบเรยี นเรว็ ใหม่ เลม่ ๑ ตอนตน้ ตอนกลาง และตอนปลาย บรรลุวัตถุประสงค์ จึงจัดทำหนังสือคู่มือแนวทางการจัดการเรียนการสอนแบบเรียนเร็วใหม่ เล่ม ๑ แบ่งเป็นตอนต้น ตอนกลาง และตอนปลาย เพื่อเป็นแนวทางให้ครูผู้สอน ใช้จัดกิจกรรมการเรียนรู้ประกอบกับหนังสือแบบเรียนเร็วใหม่ท่ีพิมพ์แจกนั้น ท้ังตอนต้น ตอนกลาง และตอนปลาย ใชต้ ้นฉบับเดิม จึงมคี ำ ประโยค หรอื ขอ้ ความเป็นภาษาทแ่ี ตกต่าง จากภาษาที่ใช้ในปัจจุบัน หนังสือน้ีจะอธิบายส่วนที่แตกต่างให้ครูเข้าใจสภาพการใช้ภาษา ท่ีปรากฏในหนังสือ สามารถนำไปใช้จัดการเรียนการสอนให้แก่นักเรียนได้อย่างดีย่ิงข้ึน โดยฉบับตอนต้นน้ีมีเน้ือหาแบ่งเป็นบทท่ี ๑ ถึงบทที่ ๑๖ ตามเน้ือหาของแบบเรียนเร็วใหม่ เล่ม ๑ ตอนต้น มตี วั อยา่ งแนวทางการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอน ครสู ามารถปรบั ประยกุ ต์ ใหส้ อดคลอ้ งกบั บทฝึกแตล่ ะบท ขอขอบคุณผู้มีสว่ นเกีย่ วขอ้ งทรี่ ่วมกนั ดำเนนิ งานจัดทำหนังสอื คู่มอื นี้ และหากม ี ขอ้ เสนอแนะเพอื่ การปรบั ปรงุ และพฒั นา โปรดแจง้ สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน เพ่อื ทราบและดำเนินการต่อไป (นายกมล รอดคลา้ ย) เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน ๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๗



สารบัญ หนา้ คำนำ บทท่ี ๑ ๑ บทที่ ๒ ๙ บทท่ี ๓ บทท่ี ๔ ๑๖ บทที่ ๕ ๒๖ บทที่ ๖ ๓๐ บทที่ ๗ ๓๕ บทท่ี ๘ ๔๐ บทท่ี ๙ ๕๐ บทท่ี ๑๐ ๖๐ บทที่ ๑๑ ๖๗ บทที่ ๑๒ ๗๓ บทท่ี ๑๓ ๘๐ บทที่ ๑๔ ๘๖ บทท่ี ๑๕ ๙๔ บทที่ ๑๖ ๑๐๒ คณะผจู้ ัดทำ ๑๑๓ ๑๒๐

บทท่ี ๑ ๑. เนอ้ื หา การอา่ นคำพยญั ชนะอักษรกลางประสมสระอะ อา อ ิ อี อ ึ อื อุ อ ู ไม่มี ตวั สะกด ๒. แนวทางการจัดกิจกรรม ๒.๑ การสอนการอ่านและการเขียนคำ ควรเริ่มต้นจากการให้นักเรียนรู้จัก พยญั ชนะไทย ก - ฮ ทง้ั ๔๔ ตัว ตัวอยา่ งกจิ กรรม คำชีแ้ จง ให้นักเรียนท่องพยัญชนะ ก - ฮ พร้อมปรบมือเคาะจังหวะ หรือ เคลอ่ื นไหวรา่ งกายเปน็ จังหวะประกอบ ก ข ฃ ค ฅ ฆ ง จ ฉ ช ซ ฌ ญ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ณ ด ต ถ ท ธ น บ ป ผ ฝ พ ฟ ภ ม ย ร ล ว ศ ษ ส ห ฬ อ ฮ ๒.๒ การอา่ นและเขยี นคำพยญั ชนะอกั ษรกลางประสมสระอะ อา อิ อี อึ อื อุ อู ไมม่ ตี วั สะกด ควรสอนใหน้ กั เรยี นรจู้ กั พยญั ชนะอกั ษรกลาง ซงึ่ ประกอบดว้ ย ก จ ด ต บ ป อ (ฎ และ ฏ ให้ขึ้นอยใู่ นดุลยพนิ ิจของครผู สู้ อนว่าจะสอนหรือไม)่ หนังสอื คมู่ ือแนวทางการจัดการเรยี นการสอนแบบเรียนเรว็ ใหม่ เล่ม ๑ ตอนต้น

ตัวอย่างกจิ กรรม คำชแ้ี จง ใหน้ กั เรียนอ่านออกเสียงพยญั ชนะอกั ษรกลาง ก จ ด ต บ ป อ ทลี ะตวั ก ออกเสียงวา่ กอ จ ออกเสียงวา่ จอ ด ออกเสยี งว่า ดอ ต ออกเสยี งวา่ ตอ บ ออกเสยี งว่า บอ ป ออกเสยี งวา่ ปอ อ ออกเสยี งวา่ ออ ๒.๓ การฝกึ เขยี นพยญั ชนะอกั ษรกลาง จะทำใหน้ กั เรยี นจำพยญั ชนะอกั ษรกลาง ไดด้ ียิง่ ข้นึ ตวั อยา่ งกิจกรรม คำชแ้ี จง ให้นักเรียนเขียนพยัญชนะอักษรกลาง ก จ ด ต บ ป อ ด้วยตัวบรรจง เต็มบรรทดั ก ดจ ต บปอ  หนังสอื คู่มอื แนวทางการจดั การเรยี นการสอนแบบเรียนเรว็ ใหม่ เล่ม ๑ ตอนตน้

๒.๔ การอา่ นและเขยี นคำพยญั ชนะอกั ษรกลางประสมสระอะ อา อิ อี อึ อื อุ อู ไมม่ ตี วั สะกด ควรสอนให้นักเรยี นรูจ้ ักสระอะ อา อิ อี อึ อื อุ อู ก่อน ตัวอยา่ งกิจกรรม คำชแ้ี จง ให้นกั เรียนอา่ นออกเสียงสระ ะ อา่ นวา่ อะ า อา่ นว่า อา ิ อ่านวา่ อิ ี อ่านว่า อี ึ อา่ นวา่ อึ ื อา่ นวา่ อื ุ อ่านว่า อุ ู อ่านวา่ อู ๒.๕ การฝกึ เขยี นสระอะ อา อิ อี อึ อื อุ อู จะทำใหน้ กั เรยี นจำรปู สระไดด้ ยี งิ่ ขน้ึ ตัวอยา่ งกจิ กรรม คำชแ้ี จง ให้นกั เรยี นเขียนสระอะ อา อิ อี อึ อื อุ อู ด้วยตัวบรรจงเตม็ บรรทดั ะ า ิ ี ึ ูุ ื หนงั สือคู่มือแนวทางการจดั การเรียนการสอนแบบเรียนเรว็ ใหม่ เลม่ ๑ ตอนตน้

๒.๖ การอ่านสะกดคำพยญั ชนะอักษรกลางประสมสระอะ อา อิ อี อึ อื อุ อ ู ไม่มตี วั สะกด หากต้องการใหน้ กั เรียนจำสระได้ ให้นกั เรียนอ่านจากซา้ ยไปขวา แตถ่ า้ ต้องการ ให้นักเรียนจำพยัญชนะ ให้นักเรียนอ่านจากข้างบนลงมาข้างล่าง หรืออ่านจากข้างล่างขึ้นไป ขา้ งบนเปน็ แถวๆ ตัวอย่างกจิ กรรม คำชแ้ี จง ให้นักเรียนอา่ นสะกดคำพยัญชนะอกั ษรกลางประสมสระอะ อา อิ อี อึ อื อุ อู ไม่มีตัวสะกด ดงั น้ ี ๑. อา่ นเพ่อื จำสระ ให้อ่านจากซา้ ยไปขวา ๒. อ่านเพื่อจำพยญั ชนะ ๒.๑ ให้อา่ นจากข้างบนลงมาข้างล่าง ๒.๒ ใหอ้ า่ นจากขา้ งล่างข้นึ ไปข้างบน อ่านจากซา้ ยไปขวา ะ า ิ ี ึ ื ุ ู อ อะ อา อิ อี อึ อื อุ อ ู ก กะ กา ก ิ กี ก ึ ก ื ก ุ กู อ่านจาก จ จะ จา จิ จ ี จ ึ จื จ ุ จ ู ข้างบน ด ดะ ดา ดิ ดี ดึ ดื ดุ ดู ลงมา ต ตะ ตา ต ิ ต ี ต ึ ตื ต ุ ต ู ข้างล่าง บ บะ บา บิ บี บ ึ บ ื บุ บ ู ป ปะ ปา ปิ ปี ป ึ ป ื ป ุ ป ู ตัวอย่างการอ่าน การอา่ นเพื่อจำสระ อา่ นจากซา้ ยไปขวา ตวั อย่างการอา่ นสะกดคำ อะ อา่ นสะกดคำวา่ ออ - อะ - อะ อา อ่านสะกดคำวา่ ออ - อา - อา อิ อ่านสะกดคำวา่ ออ - อิ - อ ิ อี อ่านสะกดคำวา่ ออ - อี - อ ี อึ อ่านสะกดคำว่า ออ - อึ - อ ึ อื อา่ นสะกดคำวา่ ออ - อื - ออื อุ อา่ นสะกดคำวา่ ออ - อุ - อ ุ อู อ่านสะกดคำว่า ออ - อู - อ ู  หนงั สอื คมู่ ือแนวทางการจัดการเรยี นการสอนแบบเรียนเร็วใหม่ เล่ม ๑ ตอนต้น

การอ่านเพ่อื จำพยัญชนะ - อ่านจากข้างบนลงมาขา้ งล่าง อะ กะ จะ ดะ ตะ บะ ปะ - อ่านจากขา้ งล่างขึ้นไปขา้ งบน ปะ บะ ตะ ดะ จะ กะ อะ ตัวอยา่ งการอ่านสะกดคำ อะ อา่ นสะกดคำวา่ ออ - อะ - อะ กะ อ่านสะกดคำว่า กอ - อะ - กะ จะ อ่านสะกดคำวา่ จอ - อะ - จะ ดะ อา่ นสะกดคำว่า ดอ - อะ - ดะ ตะ อา่ นสะกดคำว่า ตอ - อะ - ตะ บะ อา่ นสะกดคำว่า บอ - อะ - บะ ปะ อา่ นสะกดคำวา่ ปอ - อะ - ปะ ๒.๗ การฝึกอ่านและเขียนคำ ท้ังการอ่านเป็นคำ อ่านจากเรื่อง การเขียนคำ การวาดภาพระบายสี ฯลฯ จะช่วยพัฒนาความสามารถในการอ่านและการเขียน ให้มีประสิทธิภาพยงิ่ ข้ึน ตวั อย่างกิจกรรมที่ ๑ คำชี้แจง ใหน้ ักเรียนอ่านคำตามขัน้ ตอนต่อไปน้ี ๑) อา่ นพร้อมกันทง้ั ช้นั เรยี น ๒) อา่ นตามแถวท่นี งั่ แถวละคำ ๓) อา่ นทลี ะคน การฝึกอา่ นคำ ๑ พยางค ์ กะ จะ ปะ อา กา ตา ปา ติ บ ิ อี ด ี ตี ป ี ต ึ อื จุ ดุ บ ุ ปุ อู จ ู ดู ตู ปู การฝึกอา่ นคำ ๒ พยางค ์ บดิ า ตาด ี จะปะ อกี า กระบะ กะป ิ ปะอา จะปา ตาปู จะด ู ปูด ุ กะปดิ ี อาดูป ู ดดู ีด ี ตาจะตี ตากะอา ตีตาปู จะดอู กี า ตาอีกาดี ตาตีตาปู อาจะดอู กี า ตากะบดิ า บิดากะอา ตาปะบิดากะอา บดิ าจะตตี าปู หนังสือคูม่ อื แนวทางการจดั การเรียนการสอนแบบเรียนเร็วใหม่ เลม่ ๑ ตอนต้น

ตัวอยา่ งกิจกรรมที่ ๒ คำชแี้ จง ให้นักเรียนอ่านเร่ือง “อีกา” และคัดลายมือด้วยตัวบรรจงเต็มบรรทัด ใหส้ วยงาม อกี า อกี าตาดี ปะปู อกี าดูป ู บิดาปะอกี าดปู ู บดิ าดูอีกา  หนังสือคมู่ ือแนวทางการจดั การเรียนการสอนแบบเรยี นเรว็ ใหม่ เลม่ ๑ ตอนตน้

ตัวอย่างกิจกรรมที่ ๓ ที่มีคำ คำช้แี จง ให้นกั เรียนอ่านออกเสยี งคำ แล้วระบายสรี ปู หัวใจ บา ทีอ่ อกเสียงพยัญชนะตา่ งจากข้ออื่น ๑. ป ู ปา ๒. ดู ตู จ ุ ปี ตี กู ป ู ๓. จะ ๔. กา ๕. อา ด ี อี เฉลย ๑. บา ๒. ด ู ๓. ปี ๔. ป ู ๕. ด ี หนังสอื คมู่ ือแนวทางการจดั การเรียนการสอนแบบเรยี นเร็วใหม่ เล่ม ๑ ตอนตน้

๓. คำศพั ท ์ ๓.๑ ความหมายของคำศพั ท์ คำศัพ ท์ ความหมาย กระบะ - ภาชนะไมก้ น้ แบนมีขอบ ใชอ้ ยา่ งถาด - ชือ่ รถชนิดหนึ่งใชบ้ รรทุกส่งิ ของ ทำตวั ถังเปน็ รปู อยา่ งกระบะ เรยี กว่า รถกระบะ ปะ มาเจอกัน มาประเชญิ หนา้ กนั ๓.๒ คำท่เี ขียนแตกต่างจากปจั จบุ ัน คำทีใ่ ช้ในปจั จบุ นั คำทใ่ี ช้ในหนังสือแบบเรียนเร็วใหม่ เลม่ ๑ ตอนต้น อือ กระบะ อ ื กะบะ ๔. ข้อสงั เกตและขอ้ เสนอแนะ ๔.๑ ในบทน้ีมีคำท่ีประสมด้วยสระ อื โดยไม่มีตัว อ เกาะ ซ่ึงเป็นการเขียน ตามอักขรวิธีแบบเดิม ครูควรอธิบายเพ่ิมเติมให้นักเรียนเข้าใจว่า ในการเขียนตามอักขรวิธี ปัจจุบนั น้ัน คำทีป่ ระสมด้วยสระ อื ท่ีไมม่ ตี วั สะกด จะตอ้ งมตี วั อ เกาะดว้ ย ๔.๒ การฝึกอ่านคำพยัญชนะอักษรกลางประสมสระอะ อา อิ อี อึ อื อุ อ ู ไม่มีตัวสะกด จะพบว่ามีทั้งคำที่มีความหมายและไม่มีความหมาย โดยคำท่ีมีความหมาย ครูอาจจะอธิบายความหมายของคำให้นักเรียนเข้าใจ สำหรับคำที่ไม่มีความหมาย ให้ครูสอน เพ่ือฝึกการอา่ นคำเท่านน้ั ๔.๓ การสอนอ่านคำ ครูผู้สอนอาจเพ่มิ เตมิ ด้วยการใหน้ กั เรียนฝกึ แต่งประโยค ปากเปล่า เพอ่ื ให้นกั เรยี นเข้าใจความหมายของคำมากขึน้ เชน่ ดู - ตาพาอาไปดปู ู อกี า - อกี าเกาะอยูบ่ นก่ิงไม้ ๔.๔ การอ่านเรื่อง “อีกาตาดี” เมอ่ื นกั เรยี นอ่านจบ ให้ครูตงั้ คำถาม หรืออาจ ใหน้ ักเรยี นฝึกตง้ั คำถามและตอบคำถามจากเรอื่ ง ๔.๕ การฝึกเขียนพยัญชนะและสระ ครูควรเน้นให้นักเรียนเขียนตามทิศทาง ของตัวอกั ษรใหถ้ กู ต้อง  หนังสือคมู่ อื แนวทางการจดั การเรียนการสอนแบบเรยี นเรว็ ใหม่ เล่ม ๑ ตอนต้น

บทท่ี ๒ ๑. เนื้อหา การอา่ นผนั วรรณยกุ ตค์ ำพยญั ชนะอกั ษรกลางประสมสระอา อี อื อู ไมม่ ตี วั สะกด ๒. แนวทางการจดั กจิ กรรม ๒.๑ การสอนการผันวรรณยุกต์ ควรเร่ิมต้นจากการให้นักเรียนรู้จักรูป ชื่อและเสยี งของวรรณยุกต์ ตวั อยา่ งกจิ กรรม คำช้ีแจง ให้นกั เรียนอา่ นออกเสยี งวรรณยกุ ต์ ท ่ี รูปวรรณยกุ ต์ ชอ่ื วรรณยกุ ต์ เสยี งวรรณยกุ ต ์ ๑ - - สามญั ๒ ่ เอก ๓ ้ ไมเ้ อก โท ๔ ๊ ไม้โท ตร ี ๕ ๋ ไม้ตรี จตั วา ไมจ้ ตั วา ๒.๒ การฝึกเขียนรปู วรรณยกุ ต์ จะทำใหน้ กั เรียนจำรูปวรรณยุกต์ได้ดียงิ่ ข้ึน ตวั อย่างกจิ กรรม คำช้แี จง ให้นกั เรยี นเขยี นวรรณยกุ ต ์ ่ ้ ๊ ๋ ดว้ ยตวั บรรจงเต็มบรรทัด ่ ้ ๊ ๋ หนงั สอื คมู่ อื แนวทางการจดั การเรียนการสอนแบบเรียนเรว็ ใหม่ เลม่ ๑ ตอนตน้

๒.๓ การสอนผันวรรณยุกต์คำพยัญชนะอักษรกลางประสมสระอา อี อื อู ไม่มีตวั สะกด ควรสอนผันวรรณยุกต์ทลี ะเสยี ง จนครบทุกเสียง ตวั อย่างกิจกรรม คำชี้แจง ให้นักเรียนผันวรรณยุกต์คำที่พยัญชนะอักษรกลางประสมสระอา อี อื อู ไมม่ ีตัวสะกด ดังน้ี ๑. พยัญชนะ อ ประสมสระอา อี อื อู ๒. พยัญชนะ ก จ ด ต บ ป ประสมสระอา อี อื อ ู ก จ ด ต บ ป อ ่ ้ ๊ ๋ อา อา่ อา้ อ๊า อา๋ อี อ ่ี อ ้ี อ ี๊ อี ๋ อื อ ื่ อ ้ื อ ๊ื อื๋ อ ู อ ู่ อ้ ู อ ู๊ อ ู๋ ตวั อยา่ งการอา่ น ๑. การอา่ นแบบสะกดคำ อา อา่ นผนั วรรณยุกต์ว่า ออ - อา - อา อ่า อ่านผันวรรณยุกตว์ า่ ออ - อา - อา - ไม้เอก - อ่า อ้า อา่ นผันวรรณยุกตว์ ่า ออ - อา - อา - ไม้โท - อา้ อ๊า อา่ นผันวรรณยุกตว์ ่า ออ - อา - อา - ไมต้ รี - อ๊า อา๋ อ่านผนั วรรณยกุ ต์วา่ ออ - อา - อา - ไม้จัตวา - อ๋า ๒. การผันวรรณยุกตแ์ บบไล่เสียง อา อา่ อา้ อ๊า อา๋ 10 หนงั สือคมู่ ือแนวทางการจัดการเรียนการสอนแบบเรียนเรว็ ใหม่ เล่ม ๑ ตอนต้น

๒.๔ การฝึกอ่านและเขียนคำ ทั้งการอ่านเป็นคำ อ่านจากเรื่อง การเขียนคำ การวาดภาพระบายสี ฯลฯ จะช่วยพัฒนาความสามารถในการอ่านและการเขียนยงิ่ ขนึ้ ตวั อย่างกจิ กรรมที่ ๑ คำช้ีแจง ใหน้ ักเรยี นอ่านคำตามขัน้ ตอนตอ่ ไปน้ี ๑. อ่านพร้อมกนั ทง้ั ชั้นเรียน ๒. อ่านตามแถวทนี่ ั่ง แถวละคำ ๓. อา่ นทีละคน บ่า ป่า อา้ จ้า ป้า จ๋า ก่ ี ปี ่ กี ้ จ ้ี บ ้ี อ้ื ตื้ อ ู่ ก่ ู จ่ ู บ ู่ ปู่ อ ู้ ก ู้ ตู ้ บ้ ู บูบ้ ้ ี กระบ ี่ ก่ีป ี ป้าจ๋า กระจ่า อีจู ้ ป้ากอู้ จี ู้ ตกี ระบ่ี กอู้ จี ู้ ตากะป ู่ อากะป้า ตาตีกระบี่ กระบ ่ี กระจา่ ป ่ี อีจ ู้ 11 หนงั สือคู่มอื แนวทางการจดั การเรยี นการสอนแบบเรียนเรว็ ใหม่ เลม่ ๑ ตอนต้น

ตัวอยา่ งกิจกรรมที่ ๒ คำชแ้ี จง ให้นักเรียนอ่านเร่ือง “ป้า กะ ปู่” และคัดลายมือด้วยตัวบรรจง เต็มบรรทัดใหส้ วยงาม ป้า กะ ป ู่ ป้ากะปู่ดู ตาอ้ตู กี ระบก่ี ะตาอ ่ี ปา้ จา๋ ตาอต่ี ีกระบีด่ ี ตาอ่จี ะตบี ่าตาอู๋ ตาอู๋ดูตาตาอี ่ ป้าปะปู่ ก้อู จี ู้ ป้าดูปู่ กู้อีจู้ 12 หนังสือคมู่ อื แนวทางการจัดการเรยี นการสอนแบบเรยี นเรว็ ใหม่ เล่ม ๑ ตอนตน้

ตวั อยา่ งกิจกรรมท่ี ๓ คำช้แี จง ใหน้ กั เรียนระบายสภี าพ แลว้ เขียนคำจากภาพให้ถูกตอ้ ง ๑. ๒. ๓. ๔. เฉลย ๒. อจี ้ ู ๓. กระจา่ ๔. กระบ ี่ ๑. ปี ่ หนงั สือคู่มือแนวทางการจดั การเรียนการสอนแบบเรยี นเรว็ ใหม่ เลม่ ๑ ตอนตน้ 13

๓. คำศัพท ์ ๓.๑ ความหมายของคำศัพท์ คำศพั ท์ ความหมาย กู ้ - ทำให้กลับคืนดอี ย่างเดิม เช่น กูเ้ รอื กชู้ าติ กู้ชอ่ื - เกบ็ เขา้ ที่ เช่น กขู้ ้าว กู้ผ้า - เอาเครอ่ื งจับปลาขึน้ จากนำ้ เช่น กูไ้ ซ กู้ลอบ กระบ ี่ อาวธุ ชนดิ หน่ึง ใบแบนยาว ปลายแหลม มีคมดา้ นหนง่ึ หรือท้งั ๒ ข้าง ดา้ มสั้น ที่ถือดา้ มอาจมโี กรง่ หรอื ไมม่ กี ็ได้ มฝี ัก กระจ่า เครือ่ งใชต้ ักแกงหรอื ตักขา้ ว ทำด้วยกะลามะพรา้ ว มีดา้ มถอื อีจู้ เครอ่ื งดกั ปลาไหลชนดิ หนงึ่ สานดว้ ยไมไ้ ผ่ รปู คลา้ ยหมอ้ คอสงู มีงาแซงอยรู่ ิมกน้ หอ้ ยเหยอ่ื ไวด้ า้ นใน ๓.๒ คำท่เี ขยี นแตกตา่ งจากปัจจุบัน คำท่ีใช้ในปัจจบุ นั คำท่ีใชใ้ นหนงั สือแบบเรยี นเรว็ ใหม่ เล่ม ๑ ตอนต้น กระบ่ี กะบี ่ กระจ่า กะจ่า ๔. ขอ้ สงั เกตและขอ้ เสนอแนะ ๔.๑ ในบทนี้มีคำท่ีประสมด้วยสระ อื โดยไม่มีตัว อ เกาะ ซึ่งเป็นการเขียน ตามอักขรวิธีแบบเดิม ครูควรอธิบายเพิ่มเติมให้นักเรียนเข้าใจว่า ในการเขียนตามอักขรวิธี ปัจจุบนั นั้น คำท่ปี ระสมดว้ ยสระ อื ทีไ่ มม่ ีตวั สะกด จะต้องมีตวั อ เกาะดว้ ย 14 หนงั สือคูม่ ือแนวทางการจัดการเรียนการสอนแบบเรียนเรว็ ใหม่ เลม่ ๑ ตอนตน้

๔.๒ การฝึกผันวรรณยุกต์คำพยัญชนะอักษรกลางประสมสระอา อี อื อู ไม่มีตัวสะกด จะพบว่ามีทั้งคำท่ีมีความหมายและไม่มีความหมาย โดยคำท่ีมีความหมาย ครูอาจจะอธิบายความหมายของคำให้นักเรียนเข้าใจ สำหรับคำท่ีไม่มีความหมาย ให้ครูสอน เพอื่ ฝึกการอา่ นคำเท่าน้นั ๔.๓ การสอนผันวรรณยุกต์คำพยัญชนะอักษรกลางประสมสระอา อี อื อ ู ไม่มีตัวสะกด สามารถฝึกให้นักเรียนอ่านได้หลายแบบตามระดับความสามารถของนักเรียน เช่น ๑) นกั เรียนเกง่ อา่ อา่ นผนั วรรณยุกต์ว่า ออ - อา - ไม้เอก - อา่ ๒) นกั เรยี นปานกลาง อา่ อา่ นผนั วรรณยุกต์ว่า ออ - อา - อา - ไม้เอก - อ่า ๓) นักเรยี นออ่ น อา่ อ่านผันวรรณยุกต์วา่ ออ - อา - อา - อา - ไมเ้ อก - อ่า ๔.๔ การสอนอ่านคำ ครผู ู้สอนอาจเพ่ิมเตมิ ดว้ ยการใหน้ กั เรียนฝึกแต่งประโยค เพอ่ื ใหน้ ักเรียนเข้าใจความหมายของคำมากขน้ึ เช่น อ้า - จระเขอ้ า้ ปากกวา้ ง กระบ่ี - ทหารถือกระบ่ ี ๔.๕ การอ่านเรือ่ ง “ปา้ กะปู่” เมื่อนักเรยี นอ่านจบ ใหค้ รตู ัง้ คำถาม หรืออาจให้ นักเรียนฝึกตงั้ คำถามและตอบคำถามจากเร่ือง หนังสือคู่มอื แนวทางการจัดการเรยี นการสอนแบบเรยี นเร็วใหม่ เลม่ ๑ ตอนตน้ 15

บทที่ ๓ ๑. เนือ้ หา การอ่านคำพยญั ชนะอกั ษรสูงประสมสระอะ อา อิ อี อึ อื อุ อู ไม่มตี ัวสะกด ๒. แนวทางการจัดกจิ กรรม ๒.๑ การอา่ นและเขียนคำพยญั ชนะอักษรสงู ประสมสระอะ อา อิ อี อึ อื อุ อู ไม่มตี วั สะกด ควรสอนให้นักเรียนรู้จักพยัญชนะอักษรสงู ซงึ่ ประกอบดว้ ย ข ฉ ถ ผ ฝ ส ห (ฃ ฐ ศ และ ษ ให้ขนึ้ อยใู่ นดุลยพินิจของครผู สู้ อนวา่ จะสอนหรือไม่) ตัวอย่างกิจกรรม คำชีแ้ จง ให้นักเรียนอา่ นออกเสยี งพยัญชนะอกั ษรสงู ข ออกเสยี งวา่ ขอ ฉ ออกเสยี งวา่ ฉอ ถ ออกเสยี งวา่ ถอ ผ ออกเสียงว่า ผอ ฝ ออกเสียงวา่ ฝอ ส ออกเสยี งวา่ สอ ห ออกเสียงวา่ หอ 16 หนังสอื คมู่ อื แนวทางการจัดการเรียนการสอนแบบเรยี นเรว็ ใหม่ เลม่ ๑ ตอนตน้

๒.๒ การฝึกเขียนพยัญชนะอักษรสูง จะทำให้นักเรียนจำพยัญชนะอักษรสูง ไดด้ ีย่ิงข้นึ ตัวอย่างกจิ กรรม คำชแี้ จง ให้นักเรียนเขียนพยัญชนะอักษรสูง ข ฉ ถ ผ ฝ ส ห ด้วยตัวบรรจง เตม็ บรรทดั ข ฉ ถ ผ ฝ ส ห หนงั สือคู่มอื แนวทางการจัดการเรียนการสอนแบบเรยี นเร็วใหม่ เล่ม ๑ ตอนตน้ 17

๒.๓ การอ่านคำพยัญชนะอักษรสูงประสมสระอะ อา อิ อี อึ อื อุ อู ไม่มี ตัวสะกด หากต้องการให้นักเรียนจำสระได้ ให้นักเรียนอ่านจากซ้ายไปขวา แต่ถ้าต้องการ ให้นักเรียนจำพยัญชนะ ให้นักเรียนอ่านจากข้างบนลงมาข้างล่าง หรืออ่านจากข้างล่างขึ้นไป ขา้ งบนเปน็ แถวๆ ตัวอย่างกจิ กรรม คำช้ีแจง ใหน้ กั เรยี นอา่ นออกเสยี งคำทพ่ี ยญั ชนะอกั ษรสงู ประสมกบั สระอะ อา อิ อี อึ อื อุ อู ไม่มตี วั สะกด ดงั น ้ี ๑. อ่านเพอ่ื จำสระใหอ้ ่านจากซ้ายไปขวา ๒. อ่านเพอ่ื จำพยญั ชนะ ๒.๑ ให้อ่านจากขา้ งบนลงมาขา้ งล่าง ๒.๒ ให้อ่านจากข้างลา่ งข้ึนไปข้างบน อ่านจากซ้ายไปขวา ะ า ิ ี ึ ื ุ ู ข ขะ ขา ขิ ขี ข ึ ข ื ข ุ ขู อข่าา้ นงจบานก ฉ ฉะ ฉา ฉิ ฉ ี ฉ ึ ฉื ฉ ุ ฉ ู ถ ถะ ถา ถ ิ ถ ี ถ ึ ถื ถุ ถ ู ลงมา ผ ผะ ผา ผ ิ ผ ี ผึ ผ ื ผ ุ ผ ู ขา้ งลา่ ง ฝ ฝะ ฝา ฝ ิ ฝ ี ฝ ึ ฝื ฝุ ฝ ู ส สะ สา สิ สี ส ึ ส ื สุ ส ู ห หะ หา หิ - ห ึ ห ื ห ุ ห ู ตัวอย่างการอ่าน การอ่านเพอ่ื จำสระ อ่านจากซา้ ยไปขวา ขะ ขา ข ิ ขี ข ึ ขื ข ุ ข ู ตัวอยา่ งการอา่ นสะกดคำ ขะ อ่านสะกดคำว่า ขอ - อะ - ขะ ขา อา่ นสะกดคำวา่ ขอ - อา - ขา ข ิ อ่านสะกดคำวา่ ขอ - อิ - ข ิ ข ี อา่ นสะกดคำวา่ ขอ - อี - ข ี 18 หนังสอื คู่มือแนวทางการจัดการเรียนการสอนแบบเรยี นเร็วใหม่ เลม่ ๑ ตอนต้น

ข ึ อ่านสะกดคำวา่ ขอ - อึ - ข ึ ข ื อ่านสะกดคำวา่ ขอ - อื - ขอื ข ุ อ่านสะกดคำว่า ขอ - อุ - ข ุ ข ู อ่านสะกดคำวา่ ขอ - อู - ข ู การอ่านเพอื่ จำพยัญชนะ - อา่ นจากข้างบนลงมาขา้ งล่าง ขะ ฉะ ถะ ผะ ฝะ สะ หะ - อ่านจากขา้ งล่างข้นึ ไปข้างบน หะ สะ ฝะ ผะ ถะ ฉะ ขะ ตวั อยา่ งการอ่านสะกดคำ ขะ อ่านสะกดคำวา่ ขอ - อะ - ขะ ฉะ อา่ นสะกดคำวา่ ฉอ - อะ - ฉะ ถะ อ่านสะกดคำว่า ถอ - อะ - ถะ ผะ อา่ นสะกดคำว่า ผอ - อะ - ผะ ฝะ อ่านสะกดคำวา่ ฝอ - อะ - ฝะ สะ อา่ นสะกดคำวา่ สอ - อะ - สะ หะ อา่ นสะกดคำวา่ หอ - อะ - หะ หนงั สือคมู่ อื แนวทางการจดั การเรยี นการสอนแบบเรียนเรว็ ใหม่ เลม่ ๑ ตอนตน้ 19

๒.๔ การฝึกอ่านและเขียนคำ ทั้งการอ่านเป็นคำ อ่านจากเร่ือง การเขียนคำ การวาดภาพระบายสี ฯลฯ จะช่วยพฒั นาความสามารถในการอ่านและการเขียนยิง่ ข้นึ ตัวอย่างกจิ กรรมที่ ๑ คำช้ีแจง ให้นักเรียนอา่ นคำตามขน้ั ตอนต่อไปนี้ ๑) อ่านพรอ้ มกนั ทั้งช้ันเรียน ๒) อา่ นตามแถวที่นั่ง แถวละคำ ๓) อ่านทีละคน สะ ขา ถา ฝา หา สิ ฝี สี หึ ห ื ถ ื ฉุ ผุ ถู ห ู ถือกา ถขู า หกู า สะบ้า ฝากา ตาส ี สบู ่ ฝาต้ ู สะตอื สะดอื สดี ี สกี าก ี ถือหกู า หาฝากา กาสดี ี ถสู บ ู่ ถดู ดี ี อาถือกระบ่ี ตาสีถอื ป ี่ ป้าหาสบ ู่ ปหู่ าฝากา ป้าหากระจา่ อาถอื หูกา 20 หนงั สอื คมู่ ือแนวทางการจดั การเรยี นการสอนแบบเรียนเรว็ ใหม่ เลม่ ๑ ตอนต้น

ตวั อยา่ งกจิ กรรมท่ี ๒ คำชี้แจง ให้นักเรียนอ่านเรื่อง “อา” และคัดลายมือด้วยตัวบรรจงเต็มบรรทัด ใหส้ วยงาม อา อาสี ถอื ถู ถู ถหู ู ถขู า อาสาหากระจ่า อาสาถูกระจา่ ถูกา ถ ู หนงั สอื คู่มือแนวทางการจดั การเรยี นการสอนแบบเรียนเรว็ ใหม่ เลม่ ๑ ตอนตน้ 21

ตัวอยา่ งกิจกรรมท่ี ๓ คำชแ้ี จง ใหน้ ักเรยี นเขยี นคำตามคำบอก (ครอู ่านและใหน้ กั เรียนเขียน) คำทีก่ ำหนด คำเขยี น ๑. สสู ี ๒. ถขู า ๓. ฝาผ ุ ๔. หาหู ๕. อาสา 22 หนงั สือคมู่ อื แนวทางการจดั การเรยี นการสอนแบบเรียนเรว็ ใหม่ เลม่ ๑ ตอนตน้

ตัวอยา่ งกิจกรรมที่ ๔ ที่ มี ค ำ คำชแ้ี จง ให้นักเรียนอา่ นออกเสยี งคำ แลว้ ระบายสรี ปู หวั ใจ ฝู ที่ออกเสียงสระตา่ งจากขอ้ อ่ืน ๑. ฝา ขา ๒. ถะ สา สะ ๓. ฉ ุ ผุ ผา ๔. ข ู สี หู ๕. ผิ ผ ึ หึ เฉลย ๑. ฝ ู ๒. สา ๓. ผา ๔. ส ี ๕. ผ ิ หนงั สอื คูม่ อื แนวทางการจดั การเรียนการสอนแบบเรยี นเรว็ ใหม่ เลม่ ๑ ตอนต้น 23

๓. คำศพั ท ์ ๓.๑ ความหมายของคำศพั ท์ คำศัพท์ ความหมาย สะบ้า - ชื่อไม้เถาชนดิ หนึ่ง ฝกั มเี มล็ดกลมแบนแขง็ เรียกวา่ ลูกสะบ้า ใช้ขัดสมุนไพรไทยและทำยาได ้ - ชื่อการเล่นชนิดหน่งึ ใช้ลูกสะบา้ หรอื ของกลมๆ อย่างงบนำ้ อ้อย ลอ้ หรือทอย เป็นต้น สะตอื - ช่อื ต้นไมช้ นิดหน่ึง ฝกั แบนกลม ใช้ทำยาได้ - ชื่อปลานำ้ จดื ชนดิ หนงึ่ รปู รา่ งคลา้ ยปลากราย แต่ไมม่ จี ุดดำเด่น มจี ดุ สนี ำ้ ตาลกระจายอยทู่ วั่ ตวั กนิ สตั วน์ ำ้ ขนาดเลก็ ในเวลากลางคนื พบไดท้ วั่ ไป แตเ่ ปน็ ปลาหายาก ขนาดยาวถงึ ๑.๕ เมตร ๓.๒ คำท่ีเขียนแตกต่างจากปจั จบุ นั คำทใ่ี ช้ในปัจจบุ ัน คำท่ีใช้ในหนังสือแบบเรียนเร็วใหม่ เล่ม ๑ ถือ ตอนต้น หอื สบ ู่ ถ ื สะตือ หื สะดือ สะบู่ กระจา่ สะต ื กระทะ สะด ื กะจ่า กะทะ 24 หนงั สอื คู่มือแนวทางการจัดการเรียนการสอนแบบเรียนเร็วใหม่ เล่ม ๑ ตอนต้น

๔. ข้อสังเกตและขอ้ เสนอแนะ ๔.๑ ในบทน้ีมีคำท่ีประสมด้วยสระ อื โดยไม่มีตัว อ เกาะ ซึ่งเป็นการเขียน ตามอักขรวิธีแบบเดิม ครูควรอธิบายเพ่ิมเติมให้นักเรียนเข้าใจว่า ในการเขียนตามอักขรวิธี ปัจจุบนั นัน้ คำท่ีประสมดว้ ยสระ อื ทีไ่ ม่มีตวั สะกด จะตอ้ งมีตัว อ เกาะดว้ ย ๔.๒ การฝกึ อ่านคำพยัญชนะอักษรสงู ประสมสระอะ อา อิ อี อึ อื อุ อู ไม่ม ี ตัวสะกด จะพบว่ามีทั้งคำที่มีความหมายและไม่มีความหมาย โดยคำท่ีมีความหมาย ครูอาจจะอธิบายความหมายของคำให้นักเรียนเข้าใจ สำหรับคำท่ีไม่มีความหมาย ให้ครูสอน เพอ่ื ฝึกการอา่ นคำเทา่ น้ัน ๔.๓ การสอนอ่านคำ ครูผู้สอนอาจเพิ่มเติมดว้ ยการใหน้ กั เรียนฝกึ แตง่ ประโยค ปากเปล่า เพอ่ื ให้นักเรียนเข้าใจความหมายของคำมากขนึ้ เชน่ สบ่ ู - คุณแม่ซื้อสบกู่ ลน่ิ มะล ิ ฝา - คณุ ตาเดินหาฝาหม้ออยูใ่ นห้องครวั ๔.๔ การอ่านเร่ือง “อา” เม่ือนักเรียนอ่านจบ ให้ครูต้ังคำถาม หรืออาจให้ นกั เรียนฝกึ ตัง้ คำถามและตอบคำถามจากเรื่อง หนงั สือคู่มอื แนวทางการจดั การเรียนการสอนแบบเรยี นเรว็ ใหม่ เลม่ ๑ ตอนต้น 25

บทท่ี ๔ ๑. เนื้อหา การอ่านผันเสยี งวรรณยกุ ตค์ ำทพ่ี ยัญชนะต้นเป็นอกั ษรสูง ๒. แนวทางการจัดกจิ กรรม ตวั อยา่ งกิจกรรมที่ ๑ คำชแี้ จง ให้นักเรียนทบทวนฝึกอา่ นออกเสยี งพยัญชนะอักษรสงู ข ฉ ถ ผ ฝ ส ห ทลี ะตัว ข ออกเสียงวา่ ขอ ฉ ออกเสียงวา่ ฉอ ถ ออกเสยี งว่า ถอ ผ ออกเสยี งว่า ผอ ฝ ออกเสียงว่า ฝอ ส ออกเสยี งว่า สอ ห ออกเสียงวา่ หอ ตัวอย่างกจิ กรรมท่ี ๒ คำชแ้ี จง ให้นักเรียนฝึกอา่ นสะกดคำพยัญชนะอักษรสูงประสมสระอา อี อื อู จนแมน่ เช่น ขา อา่ นสะกดคำวา่ ขอ - อา - ขา ข ี อ่านสะกดคำวา่ ขอ - อี - ขี ข ื อา่ นสะกดคำว่า ขอ - อื - ขือ ข ู อา่ นสะกดคำวา่ ขอ - อู - ข ู ฉา อ่านสะกดคำว่า ฉอ - อา- ฉา ฉ ี อา่ นสะกดคำว่า ฉอ - อี - ฉ ี ฉ ื อา่ นสะกดคำว่า ฉอ - อื - ฉอื 26 หนังสือคมู่ ือแนวทางการจัดการเรยี นการสอนแบบเรียนเรว็ ใหม่ เลม่ ๑ ตอนตน้

ฉ ู อ่านสะกดคำว่า ฉอ - อู - ฉู ถา อา่ นสะกดคำว่า ถอ - อา - ถา ถี อา่ นสะกดคำว่า ถอ - อี - ถ ี ถ ื อ่านสะกดคำว่า ถอ - อื - ถอื ถ ู อา่ นสะกดคำว่า ถอ - อู - ถ ู ผา อ่านสะกดคำวา่ ผอ - อา - ผา ผ ี อา่ นสะกดคำวา่ ผอ - อี - ผ ี ผ ื อา่ นสะกดคำวา่ ผอ - อื - ผือ ผ ู อา่ นสะกดคำว่า ผอ - อู - ผ ู ฝา อา่ นสะกดคำว่า ฝอ - อา - ฝา ฝ ี อ่านสะกดคำวา่ ฝอ - อี - ฝี ฝ ื อ่านสะกดคำวา่ ฝอ - อื - ฝอื ฝ ู อ่านสะกดคำว่า ฝอ - อู - ฝู สา อา่ นสะกดคำวา่ สอ - อา - สา ส ี อ่านสะกดคำว่า สอ - อี - สี ส ื อา่ นสะกดคำวา่ สอ - อื - สือ ส ู อา่ นสะกดคำว่า สอ - อู - ส ู หา อา่ นสะกดคำวา่ หอ - อา - หา ห ื อ่านสะกดคำวา่ หอ - อื - หือ ห ู อ่านสะกดคำว่า หอ - อู - หู ตวั อย่างกจิ กรรมที่ ๓ คำช้แี จง ให้นักเรียนฝึกอ่านผันเสียงวรรณยุกต์คำพยัญชนะอักษรสูงประสมสระอา อี อื อู ทลี ะคำ ข ฉ ถ ผ ฝ ส ห ่ ้ ขา ข่า ข้า ขี ข ่ี ข้ ี ข ื ข่ ื ข ้ื ข ู ข ู่ ข ู้ หนงั สอื ค่มู อื แนวทางการจดั การเรียนการสอนแบบเรยี นเร็วใหม่ เลม่ ๑ ตอนต้น 27

ตัวอย่างการอา่ น ๑. การอ่านแบบสะกดคำ ขา อา่ นผันวรรณยกุ ต์ว่า ขอ - อา - ขา ข่า อ่านผันวรรณยกุ ตว์ า่ ขอ - อา - ขา - ขา - ไมเ้ อก - ข่า ข้า อา่ นผันวรรณยุกต์ว่า ขอ - อา - ขา - ขา - ไม้โท - ข้า ๒. การแบบผนั วรรณยุกต์แบบไลเ่ สียง ขา ข่า ขา้ ตวั อยา่ งกจิ กรรมท่ี ๔ คำชแี้ จง ให้นกั เรยี นอา่ นคำตามขัน้ ตอนตอ่ ไปนี ้ ๑. ครูอ่านนำให้นกั เรียนอา่ นตามทลี ะคำ ๒. ให้นกั เรยี นอา่ นพร้อมกนั ท้งั ชัน้ ๓. ให้นกั เรียนฝกึ อา่ นทีละคน ข่า ฉ่า ผา่ ฝ่า สา่ ขา้ ถา้ ผ้า ห้า ขี่ ฉ ่ี ถี ่ สี ่ ข้ี ขอ่ื ข ู่ สู่ หู่ ผู้ ส ู้ ปูผ้า ผ่าด ู ผู้ดี หา้ ส ี สข่ี า ผ้าสี จะข่ี หาขา่ ปะผ้า ตาหาข่า อาปูผา้ ผ้าสดี ี สี่หา้ ส ี ถ้าจะดี ผ้าสีกากี 28 หนังสือคมู่ ือแนวทางการจดั การเรียนการสอนแบบเรยี นเรว็ ใหม่ เล่ม ๑ ตอนตน้

ตวั อยา่ งกจิ กรรมท่ี ๕ คำชแ้ี จง ใหน้ กั เรียนคดั หรือเขยี นคำทอ่ี ่านจากหนงั สือแบบเรยี นเรว็ ๓. ขอ้ สังเกตและขอ้ เสนอแนะ ๓.๑ ในบทน้ีมีคำที่ประสมด้วยสระ อื โดยไม่มีตัว อ เกาะ ซ่ึงเป็นการเขียน ตามอักขรวิธีแบบเดิม ครูควรอธิบายเพิ่มเติมให้นักเรียนเข้าใจว่า ในการเขียนตามอักขรวิธี ปัจจุบนั น้นั คำที่ประสมด้วยสระ อื ทีไ่ มม่ ตี วั สะกด จะต้องมตี วั อ เกาะด้วย ๓.๒ ในบทนมี้ ีคำทีเ่ ด็กอาจจะไมเ่ ข้าใจความหมาย เช่น ขา่ ฉา่ ฝ่า สา่ หู่ ฯลฯ ครูอาจจะอธบิ ายความหมายของคำเพม่ิ เติมตามทีเ่ ห็นเหมาะสม ๓.๓ การอ่านผันเสียงวรรณยุกต์แบบสะกดคำ สามารถที่จะฝึกให้อ่านได้ หลายแบบ ตามระดับความสามารถของนกั เรียน เชน่ ๑) ระดับเกง่ ข่า อ่านผันวรรณยุกตว์ า่ ขอ - อา - ไมเ้ อก - ขา่ ๒) ระดบั ปานกลาง ข่า อ่านผันวรรณยกุ ต์ว่า ขอ - อา - ขา - ไม้เอก - ขา่ ๓) ระดับอ่อน ขา่ อา่ นผันวรรณยุกต์วา่ ขอ - อา - ขา - ขา - ไม้เอก - ข่า หนังสือคมู่ อื แนวทางการจดั การเรยี นการสอนแบบเรียนเรว็ ใหม่ เลม่ ๑ ตอนต้น 29

บทท่ี ๕ ๑. เนื้อหา การอา่ นคำทพ่ี ยญั ชนะตน้ เปน็ อกั ษรตำ่ ประสมดว้ ยสระอะ อา อ ิ อ ี อ ึ อ ื อ ุ อ ู ๒. แนวทางการจดั กิจกรรม ตัวอย่างกจิ กรรมท่ี ๑ คำชแี้ จง ใหน้ กั เรยี นฝกึ อา่ นออกเสยี งพยญั ชนะอกั ษรตำ่ ค ง ช ซ ท น พ ฟ ม ย ร ล ว ฮ ทลี ะตวั ค ออกเสยี งว่า คอ ง ออกเสียงว่า งอ ช ออกเสยี งว่า ชอ ซ ออกเสยี งวา่ ซอ ท ออกเสยี งวา่ ทอ น ออกเสยี งวา่ นอ พ ออกเสยี งวา่ พอ ฟ ออกเสยี งวา่ ฟอ ม ออกเสียงว่า มอ ย ออกเสียงวา่ ยอ ร ออกเสยี งว่า รอ ล ออกเสียงว่า ลอ ว ออกเสียงวา่ วอ ฮ ออกเสยี งว่า ฮอ 30 หนังสือคมู่ ือแนวทางการจัดการเรยี นการสอนแบบเรียนเรว็ ใหม่ เลม่ ๑ ตอนต้น

ตวั อยา่ งกิจกรรมท่ี ๒ คำชแี้ จง ใหน้ กั เรียนฝกึ อา่ นสะกดคำพยัญชนะอักษรตำ่ ประสมสระอะ อา อิ อี อ ึ อ ื อุ อู ทีละคำ ะ า ิ ี ึ ื ุ ู ค คะ คา คิ คี คึ คื ค ุ คู ง งะ งา ง ิ ง ี ง ึ ง ื งุ งู ช ชะ ชา ช ิ ชี ชึ ช ื ชุ ชู ซ ซะ ซา ซ ิ ซี ซึ ซ ื ซ ุ ซ ู ท ทะ ทา ท ิ ท ี ท ึ ทื ท ุ ทู น นะ นา นิ น ี นึ นื น ุ น ู พ พะ พา พิ พ ี พ ึ พ ื พ ุ พ ู ฟ ฟะ ฟา ฟิ ฟ ี ฟ ึ ฟ ื ฟ ุ ฟู ม มะ มา มิ ม ี ม ึ มื มุ ม ู ย ยะ ยา ยิ ยี ยึ ย ื ยุ ย ู ร ระ รา ริ รี ร ึ รื ร ุ ร ู ล ละ ลา ล ิ ลี ล ึ ลื ล ุ ลู ว วะ วา ว ิ วี ว ึ วื ว ุ ว ู ฮ ฮะ ฮา ฮ ิ ฮี ฮึ ฮื ฮุ ฮ ู ๑. ใชพ้ ยญั ชนะตน้ ตวั เดิม แลว้ เปลยี่ นสระไปเรือ่ ยๆ เช่น คะ อา่ นสะกดคำว่า คอ - อะ - คะ คา อ่านสะกดคำว่า คอ - อา - คา ค ิ อ่านสะกดคำว่า คอ - อิ - ค ิ ค ี อา่ นสะกดคำวา่ คอ - อี - ค ี คึ อ่านสะกดคำวา่ คอ - อึ - ค ึ คื อา่ นสะกดคำวา่ คอ - อื - คอื ค ุ อา่ นสะกดคำว่า คอ - อุ - ค ุ คู อา่ นสะกดคำว่า คอ - อู - ค ู หนังสอื ค่มู ือแนวทางการจัดการเรียนการสอนแบบเรยี นเร็วใหม่ เลม่ ๑ ตอนตน้ 31

๒. ใชส้ ระตัวเดิม แลว้ เปลย่ี นพยัญชนะตวั อน่ื นา ตวั อยา่ งการอ่านสะกดคำ ฮา คะ อา่ นสะกดคำวา่ คอ - อะ - คะ รี งะ อา่ นสะกดคำวา่ งอ - อะ - งะ ค ู ชะ อา่ นสะกดคำวา่ ชอ - อะ - ชะ ซะ อา่ นสะกดคำว่า ซอ - อะ - ซะ ทะ อา่ นสะกดคำวา่ ทอ - อะ - ทะ นะ อา่ นสะกดคำวา่ นอ - อะ - นะ พะ อ่านสะกดคำว่า พอ - อะ - พะ ฟะ อ่านสะกดคำว่า ฟอ - อะ - ฟะ มะ อา่ นสะกดคำวา่ มอ - อะ - มะ ยะ อา่ นสะกดคำว่า ยอ - อะ - ยะ ระ อา่ นสะกดคำว่า รอ - อะ - ระ ละ อ่านสะกดคำวา่ ลอ - อะ - ละ วะ อา่ นสะกดคำว่า วอ - อะ - วะ ฮะ อ่านสะกดคำว่า ฮอ - อะ - ฮะ ๓. ให้นักเรยี นอา่ นพรอ้ มกนั ทั้งชน้ั ๔. ให้นกั เรยี นฝึกอา่ นทลี ะคน ตวั อย่างกิจกรรมที่ ๓ คำชี้แจง ให้นักเรียนอ่านคำตามขั้นตอนต่อไปน้ี ๑. ครอู ่านนำใหน้ กั เรยี นอา่ นตามทีละคำ ๒. ใหน้ ักเรียนอ่านพรอ้ มกนั ทง้ั ชั้น ๓. ให้นักเรียนฝกึ อ่านทลี ะคน คะ ชะ นะ งา ชา ทา พา มา ยา รา ลา วา ซ ิ มิ ริ ช ี ท ี ม ี ฮี คื ม ื ล ื ฮ ื พ ุ งู ชู พ ู ฟู รู 32 หนังสอื คู่มือแนวทางการจดั การเรียนการสอนแบบเรียนเรว็ ใหม่ เล่ม ๑ ตอนตน้

ทายา ราคา พายุ มยี า มาซิ วชิ า ชะน ี มะระ มะล ิ ทะลุ รูงู ชูมอื กระทือ ฝา่ มอื มาหา ตูย้ า อายุ งดู ุ ดีงู รหู ู สาค ู บชู า ทาสี ยาด ี ฝาช ี ชบา วาจา กะลา กะท ิ กระทะ รูทะล ุ มรี าคา มวี ิชา ฮาฮาฮา หกู ระทะ ฝาละม ี ฝมี ือดี สีห่ ้าวา มาหาปา้ ปูม่ าหา วาจาดี ปีระกา รูปูนา กิริยา อาหาปนู า อายุก่ีปี มาดูชะน ี ตาตงี ดู ุ มพี ายมุ า นาตามปี ู ป้าถกู ระทะ ตวั อยา่ งกจิ กรรมที่ ๔ คำช้ีแจง ใหน้ กั เรยี นฝกึ อา่ นเรอ่ื งตอ่ ไปน้ี นาดีมรี าคา บดิ ามนี า มี มี มี บิดามานา ตามาหาบดิ า มาหายา ตาปะบิดา บดิ ามยี าด ี บิดาพาตา มาหายาดีดี ตามีวาจาดี มาซ ิ มาหาตา ด.ช.วีระ กะ ด.ช.ชาลี มีกิริยาด ี มาหาตา ตวั อย่างกจิ กรรมท่ี ๕ คำชีแ้ จง ใหน้ ักเรยี นคัดหรือเขยี นคำท่ีอ่านจากหนังสือแบบเรยี นเร็วใหม่ เลม่ ๑ ตอนต้น หนงั สือคูม่ ือแนวทางการจดั การเรยี นการสอนแบบเรียนเร็วใหม่ เล่ม ๑ ตอนตน้ 33

๓. คำศัพท์ คำทเี่ ขยี นแตกตา่ งจากปจั จุบัน คำท่ีใช้ในปัจจุบัน คำท่ีใช้ในหนังสอื แบบเรยี นเร็วใหม่ เลม่ ๑ กระทะ ตอนต้น คือ มือ กะทะ ลือ คื ฮอื มื ชนะ ล ื ชมู ือ ฮ ื กระทือ ชะนะ ฝ่ามือ ชูมื ชบา กะทื มลายู ฝา่ มื ป่ีชวา ชะบา มะละย ู ปี่ชะวา ๔. ขอ้ สงั เกตและข้อเสนอแนะ ๔.๑ ในบทน้ีมีคำท่ีประสมด้วยสระ อื โดยไม่มีตัว อ เกาะ ซ่ึงเป็นการเขียน ตามอักขรวิธีแบบเดิม ครูควรอธิบายเพิ่มเติมให้นักเรียนเข้าใจว่า ในการเขียนตามอักขรวิธี ปัจจุบันนัน้ คำท่ีประสมดว้ ยสระ อื ท่ไี มม่ ีตัวสะกด จะตอ้ งมีตวั อ เกาะดว้ ย ๔.๒ เมือ่ นักเรยี นอา่ นเร่ืองจบแล้ว ครูอาจจะจัดกจิ กรรมเพิ่มเตมิ เชน่ ๑) ตง้ั คำถามใหน้ กั เรียนตอบคำถามปากเปลา่ ๒) ให้นกั เรียนเลา่ เรอ่ื งท่ีอ่านด้วยภาษาของนกั เรียนเอง ๓) ใหว้ าดภาพระบายสีประกอบเร่อื ง ๔) ให้แสดงบทบาทสมมตุ ิตามเร่ืองท่ีอา่ น ฯลฯ 34 หนงั สือคู่มอื แนวทางการจัดการเรียนการสอนแบบเรยี นเรว็ ใหม่ เล่ม ๑ ตอนตน้

บทท่ี ๖ ๑. เน้อื หา การอา่ นผันเสียงวรรณยุกตค์ ำท่พี ยัญชนะตน้ เปน็ อกั ษรตำ่ ๒. แนวทางการจัดกจิ กรรม ตวั อยา่ งกิจกรรมท่ี ๑ คำชีแ้ จง ให้นักเรยี นทบทวนฝกึ อ่านออกเสยี งพยัญชนะอักษรตำ่ ค ง ช ซ ท น พ ฟ ม ย ร ล ว ฮ ทีละตัว ค ออกเสยี งวา่ คอ ง ออกเสยี งวา่ งอ ช ออกเสยี งว่า ชอ ซ ออกเสียงว่า ซอ ท ออกเสียงวา่ ทอ น ออกเสียงว่า นอ พ ออกเสยี งว่า พอ ฟ ออกเสยี งวา่ ฟอ ม ออกเสียงว่า มอ ย ออกเสยี งว่า ยอ ร ออกเสยี งวา่ รอ ล ออกเสยี งวา่ ลอ ว ออกเสียงวา่ วอ ฮ ออกเสียงวา่ ฮอ หนงั สอื คู่มอื แนวทางการจัดการเรยี นการสอนแบบเรียนเร็วใหม่ เลม่ ๑ ตอนต้น 35

ตัวอยา่ งกจิ กรรมที่ ๒ คำชแี้ จง ใหน้ กั เรียนฝึกอา่ นสะกดคำพยญั ชนะอกั ษรตำ่ ประสมสระอา อี อื อู จนแมน่ เชน่ คา อ่านสะกดคำวา่ คอ - อา - คา คี อา่ นสะกดคำว่า คอ - อี - ค ี ค ื อา่ นสะกดคำวา่ คอ - อื - คือ ค ู อ่านสะกดคำวา่ คอ - อู - คู งา อา่ นสะกดคำวา่ งอ - อา - งา งี อ่านสะกดคำว่า งอ - อี - งี ง ื อ่านสะกดคำวา่ งอ - อื - งือ งู อา่ นสะกดคำวา่ งอ - อู - งู ตัวอยา่ งกจิ กรรมท่ี ๓ คำชี้แจง ใหน้ กั เรยี นฝกึ อา่ นผนั เสยี งวรรณยกุ ตค์ ำพยญั ชนะอกั ษรตำ่ ประสมสระอา อ ี อ ื อ ู ทลี ะคำ ค ง ช ซ ท น พ ฟ ม ย ร ล ว ฮ ่ ้ คา คา่ ค้า คี ค ่ี คี้ คื ค่ื คื้ ค ู คู่ คู้ ตวั อย่างการอ่าน คอ - อา - คา ๑. การอา่ นแบบสะกดคำ คอ - อา - คา - คา - ไมเ้ อก - คา่ คา อา่ นผนั วรรณยกุ ตว์ า่ คอ - อา - คา - คา - ไมโ้ ท - คา้ คา่ อา่ นผนั วรรณยกุ ตว์ ่า คา้ อา่ นผันวรรณยกุ ต์ว่า 36 หนงั สือคู่มอื แนวทางการจัดการเรยี นการสอนแบบเรยี นเรว็ ใหม่ เล่ม ๑ ตอนต้น

๒. การผนั วรรณยกุ ต์แบบไล่เสียง คา คา่ คา้ ตัวอย่างกิจกรรมที่ ๔ คำชแ้ี จง ใหน้ ักเรียนอ่านคำตามขั้นตอนต่อไปน้ี ๑. ครอู า่ นนำ ใหน้ กั เรียนอ่านตามทีละคำ ๒. ให้นักเรยี นอ่านพรอ้ มกนั ทั้งชนั้ ๓. ใหน้ กั เรยี นฝกึ อา่ นทีละคน ซา่ น่า ย่า วา่ ชา้ นา้ ฟา้ มา้ ค่ ี ซ ี่ ท ่ี น่ี พ ่ี ช้ ี น ้ี ช ื่ ซื่ ซ้ ื รื้ คู่ พ ู่ ยู่ ร ู้ ปีนี ้ ทน่ี ี ่ นา่ ด ู ปู่ย่า น้าจ๋า พี่มา ซื้อผา้ สฟี า้ ย่าจ๋า ข่มี า้ ฟา้ ผ่า น่าร ู้ ค่คู ่ี ส่คี ู ่ ม่ลู ี่ ทีท่ า่ นา่ ซ้อื ซื้อดี สาล่ี ช้มี ือ ย่าจะมา ปา้ ชีม้ ือ พข่ี ่มี ้า ผ้าสฟี า้ รู้วิชา วา่ ดดี ี พป่ี ้านา้ อา ม้ามีสี่ขา ปมู่ าซือ้ มา้ ย่ามาซ้ือ มู่ล ่ี ปา่ น้ีมีชะนี ชะนีน้ีนา่ ดู หนังสอื คู่มือแนวทางการจัดการเรียนการสอนแบบเรยี นเรว็ ใหม่ เลม่ ๑ ตอนตน้ 37

ตวั อยา่ งกจิ กรรมที่ ๕ คำช้ีแจง ใหน้ กั เรียนฝกึ อา่ นเรอื่ ง “บิดา ด.ช.วรี ะ กะ ด.ช.ชาลี” บดิ า ด.ช.วีระ กะ ด.ช.ชาล ี ด.ช.วีระ อายสุ ีป่ ี ด.ช.ชาลี อายหุ ้าปี บิดาพามาท่ที า่ ทีท่ า่ น้มี ีผ้มู าค้า ด.ช.วีระ วา่ กะ ด.ช.ชาลี วา่ มาดชู ะนีทนี่ ่ีซิ ชะนนี ีม้ ีสขี่ านา่ ดู ชะนนี ้ีมที ี่ปา่ บดิ า ด.ช.วรี ะ ซอื้ มลู่ ี่ ชีม้ ะระ กระทอื ขา่ ที่ทา่ น้ีมี มา วา่ กะบดิ า ด.ช.วรี ะ วา่ มาที่นีก่ ่ปี ี บดิ า ด.ช.วรี ะว่า มาทนี่ ่สี ่หี า้ ปี ทีท่ า่ นมี้ ีผ้มู าคา้ มชิ า้ ลาบิดา ด.ช.วีระ กะ ด.ช.ชาล ี ๓. คำศัพท์ คำที่เขยี นแตกต่างจากปจั จุบนั คำที่ใช้ในปจั จุบัน คำทใ่ี ชใ้ นหนงั สือแบบเรียนเร็วใหม่ เลม่ ๑ ตอนตน้ ซ้อื รอื้ ซ้ื พมา่ ร้ื ชม้ี อื พะมา่ ชม้ี ื 38 หนังสอื คมู่ อื แนวทางการจัดการเรียนการสอนแบบเรยี นเรว็ ใหม่ เล่ม ๑ ตอนตน้

๔. ข้อสังเกตและขอ้ เสนอแนะ ๔.๑ ในบทน้ีมีคำที่ประสมด้วยสระ อื โดยไม่มีตัว อ เกาะ ซึ่งเป็นการเขียน ตามอักขรวิธีแบบเดิม ครูควรอธิบายเพ่ิมเติมให้นักเรียนเข้าใจว่า ในการเขียนตามอักขรวิธี ปัจจุบันน้นั คำทปี่ ระสมด้วยสระ อื ท่ีไมม่ ตี วั สะกด จะต้องมตี ัว อ เกาะดว้ ย ๔.๒ ในบทนี้มีคำท่ีเด็กอาจจะไม่เข้าใจความหมาย เช่น ซ่า กะ ว่า ยู่ ท่ีท่า ผมู้ าคา้ และภาพแทนคำ ฯลฯ ครอู าจจะอธบิ ายความหมายของคำเพม่ิ เตมิ ตามทเ่ี หน็ เหมาะสม ๔.๓ การอ่านผันเสียงวรรณยุกต์แบบสะกดคำ สามารถท่ีจะฝึกให้อ่านได ้ หลายแบบตามระดบั ความสามารถของเดก็ เช่น ๑) ระดับเก่ง คา่ อ่านผนั วรรณยุกตว์ า่ คอ - อา - ไมเ้ อก - ค่า ๒) ระดับปานกลาง ค่า อ่านผันวรรณยุกตว์ ่า คอ - อา - คา - ไมเ้ อก - คา่ ๓) ระดับอ่อน ค่า อา่ นผันวรรณยุกตว์ า่ คอ - อา - คา - คา - ไม้เอก - ค่า ครสู ามารถเลือกใช้ได้ตามความเหมาะสม ๔.๔ เม่ือนักเรียนอา่ นเร่อื งจบแลว้ ครอู าจจะจัดกิจกรรมเพม่ิ เตมิ เช่น ๑) ตั้งคำถามใหน้ ักเรียนตอบคำถามปากเปลา่ ๒) ใหน้ ักเรียนเล่าเรอ่ื งท่ีอ่านด้วยภาษาของนักเรยี นเอง ๓) ให้วาดภาพระบายสปี ระกอบเรือ่ ง ๔) ใหแ้ สดงบทบาทสมมตุ ิตามเร่อื งท่อี ่าน ฯลฯ หนังสอื ค่มู อื แนวทางการจัดการเรียนการสอนแบบเรียนเรว็ ใหม่ เล่ม ๑ ตอนต้น 39

บทท่ี ๗ ๑. เนื้อหา การอา่ นออกเสยี งคำทมี่ พี ยญั ชนะตน้ เปน็ อกั ษรกลางประสมสระอะ อา อิ อี อึ อ ื อุ อู มตี วั สะกด ๒. แนวทางการจัดกิจกรรม ๒.๑ การสอนอา่ นคำทปี่ ระสมสระและมตี วั สะกดควรเรมิ่ จากการประสมสระกอ่ น จากนนั้ จงึ สอนให้อ่านสะกดคำ คำที่มีพยญั ชนะต้นทเ่ี ปน็ อกั ษรกลางจนครบทุกตวั ตวั อยา่ งกจิ กรรม คำช้แี จง ใหน้ กั เรยี นอา่ นคำทปี่ ระสมสระและมตี วั สะกดควรเรม่ิ จากการประสมสระกอ่ น จากนั้นจึงสอนให้อา่ นสะกดคำ คำที่มีพยัญชนะตน้ ท่เี ปน็ อักษรกลางจนครบทกุ ตัว อา่ นจากซ้ายไปขวา ก จ ด ต บ ป อ ง น ม ย ว ก ด บ อะ องั อัน อัม อัย - อกั อัด อบั อา อาง อาน อาม อาย อาว อาก อาด อาบ อา่ นจาก อ ิ องิ อิน อิม - อิว อิก อิด อบิ ขา้ งบน อี องี อีน อีม - - อกี อีด อีบ ลงมา อึ อึง อึน อึม - - อึก อดึ อึบ ขา้ งล่าง อื องื อนื อมื - - - อดื อบื อุ องุ อนุ อมุ อุย - อุก อุด อุบ อู องู อูน อมู - - อกู อดู อบู ตวั อยา่ งการอ่าน การอ่านเพอื่ จำสระอ่านจากซา้ ยไปขวา อะ อัง อัน อมั อัย อัก อดั อับ 40 หนงั สือคมู่ ือแนวทางการจดั การเรียนการสอนแบบเรยี นเรว็ ใหม่ เล่ม ๑ ตอนตน้

ตัวอยา่ งการอ่านสะกดคำ อะ อา่ นสะกดคำว่า ออ - อะ - อะ อัง อ่านสะกดคำว่า ออ - อะ - งอ - อัง อัน อ่านสะกดคำว่า ออ - อะ - นอ - อนั อัม อ่านสะกดคำวา่ ออ - อะ - มอ - อัม อยั อ่านสะกดคำวา่ ออ - อะ - ยอ - อยั อกั อา่ นสะกดคำวา่ ออ - อะ - กอ - อกั อดั อ่านสะกดคำวา่ ออ - อะ - ดอ - อัด อบั อ่านสะกดคำวา่ ออ - อะ - บอ - อบั การอา่ นเพือ่ จำตวั สะกด - อ่านจากขา้ งบนลงมาขา้ งล่าง อัง อาง อิง อีง องึ อืง องุ อูง - อา่ นจากขา้ งล่างขึ้นไปขา้ งบน องู อุง องื องึ อีง อิง อาง อัง ตวั อยา่ งการอา่ นสะกดคำ องั อา่ นสะกดคำวา่ ออ - อะ - งอ - อัง อาง อา่ นสะกดคำวา่ ออ - อา - อา - งอ - อาง อิง อ่านสะกดคำวา่ ออ - อิ - อิ - งอ - อิง อึง อ่านสะกดคำว่า ออ - อึ - อึ - งอ - อึง อืง อ่านสะกดคำว่า ออ - อื - ออื - งอ - อืง อุง อ่านสะกดคำว่า ออ - อุ - อุ - งอ - องุ อูง อา่ นสะกดคำวา่ ออ - อู - อู - งอ - อูง ๒.๒ การฝึกอ่านและเขียนคำ ท้ังการอ่านเป็นคำ อ่านจากเร่ือง การเขียนคำ การวาดภาพระบายสี ฯลฯ จะช่วยพัฒนาความสามารถในการอ่านและการเขียนให้มี ประสิทธิภาพยิ่งข้ึน โดยแบบฝึกท่ีให้อ่านเป็นคำน้ัน ถ้านักเรียนยังอ่านไม่คล่องอาจให้อ่าน สะกดคำกอ่ น เมอ่ื คลอ่ งแลว้ ตอ้ งใหฝ้ กึ อา่ นเปน็ คำเพอ่ื ไมใ่ ห้เคยชินว่าต้องสะกดคำทกุ คร้ัง หนงั สอื คู่มือแนวทางการจัดการเรียนการสอนแบบเรยี นเรว็ ใหม่ เลม่ ๑ ตอนต้น 41

ตัวอย่างกจิ กรรมที่ ๑ คำช้ีแจง ใหน้ กั เรียนอา่ นคำต่อไปน้ี ๑. อา่ นพรอ้ มกันท้ังชน้ั เรยี น ๒. อา่ นตามแถวท่นี ั่ง แถวละคำ ๓. อา่ นทลี ะคน การฝึกอา่ นคำ ๑ พยางค์ ดัง บงั กัน จกั ตัก ปกั ตัด ปดั กบั จบั กาง บาง จาน บาน จาม ตาม กาย ดาย ตาย กาว ดาว จาก ตาก ปาก กาบ อิง กิน ดิน บิน จิก ตดิ ปดิ ดบิ จีน ตีน ปกี อีก ดีด กบี ปบี ดึง บึง ดกึ ตึก จืด ดุม จุก จุด บบุ จูง ปนู ตมู จูบ การฝึกอ่านคำ ๒ พยางค์ ตามหา กากชา ยาจืด สะอาด อานม้า ปากกา ตากยา กนิ ยา หากิน ดินด ี กระจาด กระจับ ตัดจกุ จบี ผา้ มะดนั ผ้าดิบ ดูดาว ดึกดกึ ดกั กับ กระดกู กระดาน จับป ู กระปุก ปิดตู้ ดบี ุก กระบงุ บางที ถอื จาน ปิดฝา ตดิ ตาม มะตูม ตากผา้ กีบมา้ 42 หนงั สือคู่มอื แนวทางการจดั การเรียนการสอนแบบเรยี นเรว็ ใหม่ เลม่ ๑ ตอนต้น

ตวั อย่างกิจกรรมท่ี ๒ คำชี้แจง ให้นักเรียนฝึกเขยี นคำ ๑ พยางค ์ ข้อ คำ ตวั อย่าง ๑. ดงั ........ด..งั.. ....... ........ด..งั.. ....... ........ด..งั.. ....... ๒. กัน ๓. บึง ............................... ............................... ............................... ๔. ตัก ............................... ............................... ............................... ๕. จาน ............................... ............................... ............................... ๖. ดนิ ............................... ............................... ............................... ๗. ปกี ............................... ............................... ............................... ๘. จดื ............................... ............................... ............................... ๙. บบุ ............................... ............................... ............................... ๑๐. ปนู ............................... ............................... ............................... อดื ............................... ............................... ............................... ............................... ............................... ............................... หนังสือคูม่ ือแนวทางการจดั การเรียนการสอนแบบเรียนเร็วใหม่ เล่ม ๑ ตอนต้น 43

ตัวอยา่ งกจิ กรรมที่ ๓ คำชแ้ี จง ใหน้ ักเรยี นฝึกเขียนคำ ๒ พยางค์ ขอ้ คำ ตัวอย่าง ๑. ปากกา ....ป...า..ก..ก...า.. ... ....ป...า..ก..ก...า.. ... .....ป..า..ก..ก..า.. .... ๒. จืดจาง ๓. ตัดจุก ............................... ............................... ............................... ๔. ดูดาว ............................... ............................... ............................... ๕. ดินด ี ............................... ............................... ............................... ๖. กินป ู ............................... ............................... ............................... ๗. ปดิ บัง ............................... ............................... ............................... ๘. ตดิ ตาม ............................... ............................... ............................... ๙. ดีบุก ............................... ............................... ............................... ๑๐. อดื อาด ............................... ............................... ............................... โบกปูน ............................... ............................... ............................... ............................... ............................... ............................... 44 หนงั สือคู่มือแนวทางการจดั การเรยี นการสอนแบบเรียนเรว็ ใหม่ เลม่ ๑ ตอนตน้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook