ฉบับ ๒ คู่มือโสดาบัน 8 1 (หมวด ๒) ๑. ญาณ คอื ความรู้ว่า เพราะมีภพเปน็ ปจั จัย จึงมีชาติ; ๒. ญาณ คอื ความรู้ว่า เมอื่ ภพไม่มี ชาติย่อมไมม่ ;ี ๓. ญาณ คือ ความรวู้ ่า แม้ในกาลยดื ยาวนานฝา่ ยอดตี เพราะมภี พเปน็ ปจั จัย จงึ มีชาต;ิ ๔. ญาณ คือ ความรวู้ า่ แม้ในกาลยดื ยาวนานฝา่ ยอดีต เม่ือภพไม่มี ชาตยิ อ่ มไม่ม;ี ๕. ญาณ คอื ความรวู้ า่ แมใ้ นกาลยดื ยาวนานฝา่ ยอนาคต เพราะมีภพเปน็ ปัจจัย จงึ มีชาต;ิ ๖. ญาณ คอื ความร้วู า่ แมใ้ นกาลยดื ยาวนานฝา่ ยอนาคต เมื่อภพไมม่ ี ชาติย่อมไม่มี; ๗. ญาณ คือ ความรูว้ า่ แม้ ธัมมฏั ฐติ ญิ าณ ในกรณีน้ี กม็ คี วามสน้ิ ไป เสอ่ื มไป จางไป ดบั ไป เปน็ ธรรมดา;
8 2 พุทธวจน (หมวด ๓) ๑. ญาณ คือ ความรู้วา่ เพราะมีอุปาทานเปน็ ปจั จยั จงึ มภี พ; ๒. ญาณ คือ ความร้วู า่ เมื่ออุปาทานไม่มี ภพยอ่ มไม่มี; ๓. ญาณ คือ ความรวู้ า่ แมใ้ นกาลยดื ยาวนานฝ่ายอดตี เพราะมอี ปุ าทานเป็นปจั จัย จึงมภี พ; ๔. ญาณ คือ ความร้วู า่ แมใ้ นกาลยืดยาวนานฝ่ายอดตี เมื่ออุปาทานไมม่ ี ภพยอ่ มไมม่ ี; ๕. ญาณ คือความรวู้ า่ แมใ้ นกาลยดื ยาวนานฝา่ ยอนาคต เพราะมอี ุปาทานเป็นปัจจยั จงึ มีภพ; ๖. ญาณ คือความรู้ว่าแม้ในกาลยดื ยาวนานฝา่ ยอนาคต เมื่ออปุ าทานไมม่ ี ภพย่อมไม่มี; ๗. ญาณ คือ ความรู้วา่ แม้ ธมั มฏั ฐติ ญิ าณ ในกรณีนี้ กม็ คี วามสน้ิ ไป เสอ่ื มไป จางไป ดบั ไป เปน็ ธรรมดา;
ฉบับ ๒ คู่มือโสดาบัน 8 3 (หมวด ๔) ๑. ญาณ คือ ความรวู้ า่ เพราะมตี ัณหาเป็นปัจจัย จึงมี อปุ าทาน; ๒. ญาณ คือ ความรวู้ า่ เมอ่ื ตณั หาไมม่ ี อปุ าทานยอ่ มไมม่ ;ี ๓. ญาณ คอื ความรูว้ ่า แม้ในกาลยดื ยาวนานฝ่ายอดตี เพราะมีตณั หาเป็นปจั จัย จึงมอี ุปทาน; ๔. ญาณ คือ ความรู้วา่ แม้ในกาลยดื ยาวนานฝ่ายอดีต เม่ือตณั หาไม่มี อปุ าทานย่อมไมม่ ี; ๕. ญาณ คอื ความรู้ว่าแมใ้ นกาลยดื ยาวนานฝา่ ยอนาคต เพราะมตี ณั หาเปน็ ปจั จยั จงึ มีอุปาทาน; ๖. ญาณ คอื ความรู้ว่า แมใ้ นกาลยดื ยาวนานฝา่ ยอนาคต เม่ือตัณหาไม่มี อุปาทานยอ่ มไม่ม;ี ๗. ญาณ คือ ความรูว้ ่า แม้ ธมั มัฏฐิตญิ าณ ในกรณนี ้ี กม็ คี วามสน้ิ ไป เสอ่ื มไป จางไป ดบั ไป เปน็ ธรรมดา;
8 4 พุทธวจน (หมวด ๕) ๑. ญาณ คือ ความรวู้ า่ เพราะมเี วทนาเปน็ ปัจจยั จึงมี ตณั หา; ๒. ญาณ คอื ความรูว้ า่ เมอื่ เวทนาไมม่ ี ตัณหายอ่ มไม่มี; ๓. ญาณ คือ ความรวู้ า่ แมใ้ นกาลยืดยาวนานฝ่ายอดตี เพราะมเี วทนาเป็นปัจจยั จงึ มีตัณหา; ๔. ญาณ คือ ความรวู้ า่ แม้ในกาลยดื ยาวนานฝา่ ยอดีต เมอ่ื เวทนาไม่มี ตณั หาย่อมไม่ม;ี ๕. ญาณ คือความร้วู ่าแมใ้ นกาลยดื ยาวนานฝา่ ยอนาคต เพราะมีเวทนาเป็นปัจจัย จึงมตี ัณหา; ๖. ญาณ คือความรูว้ ่าแมใ้ นกาลยดื ยาวนานฝ่ายอนาคต เมอ่ื เวทนาไมม่ ี ตัณหาย่อมไมม่ ;ี ๗. ญาณ คือ ความรู้ว่า แม้ ธมั มัฏฐติ ญิ าณ ในกรณีนี ้ กม็ คี วามสน้ิ ไป เสอ่ื มไป จางไป ดบั ไป เปน็ ธรรมดา;
ฉบับ ๒ คู่มือโสดาบัน 8 5 (หมวด ๖) ๑. ญาณ คอื ความรวู้ ่า เพราะมีผสั สะเป็นปัจจัย จึงมี เวทนา; ๒. ญาณ คอื ความรูว้ ่า เมื่อผัสสะไม่มี เวทนายอ่ มไม่มี; ๓. ญาณ คอื ความรูว้ า่ แม้ในกาลยืดยาวนานฝ่ายอดตี เพราะมผี ัสสะเปน็ ปัจจยั จึงมเี วทนา; ๔. ญาณ คอื ความรู้วา่ แม้ในกาลยืดยาวนานฝา่ ยอดตี เมอื่ ผสั สะไม่มี เวทนาย่อมไม่ม;ี ๕. ญาณ คอื ความรวู้ ่าแมใ้ นกาลยดื ยาวนานฝา่ ยอนาคต เพราะมผี สั สะเป็นปจั จยั จงึ มีเวทนา; ๖. ญาณ คอื ความรู้วา่ แม้ในกาลยดื ยาวนานฝ่ายอนาคต เม่อื ผัสสะไมม่ ี เวทนาย่อมไมม่ ี; ๗. ญาณ คอื ความรู้ว่า แม้ ธัมมัฏฐิติญาณ ในกรณีน ี้ กม็ คี วามสน้ิ ไป เสอ่ื มไป จางไป ดบั ไป เปน็ ธรรมดา;
8 6 พุทธวจน (หมวด ๗) ๑. ญาณ คือ ความรวู้ ่า เพราะมีสฬายตนะเปน็ ปัจจยั จงึ มีผัสสะ; ๒. ญาณ คอื ความรู้ว่า เมอ่ื สฬายตนะไมม่ ี ผสั สะยอ่ มไมม่ ;ี ๓. ญาณ คอื ความร้วู ่า แมใ้ นกาลยดื ยาวนานฝ่ายอดีต เพราะมีสฬายตนะเปน็ ปัจจัย จึงมีผัสสะ; ๔. ญาณ คือ ความรู้ว่า แม้ในกาลยืดยาวนานฝา่ ยอดตี เมื่อสฬายตนะไมม่ ี ผัสสะยอ่ มไม่มี; ๕. ญาณ คือความรวู้ ่าแมใ้ นกาลยดื ยาวนานฝา่ ยอนาคต เพราะมสี ฬายตนะเปน็ ปจั จยั จงึ มผี ัสสะ; ๖. ญาณ คือความรู้วา่ แม้ในกาลยดื ยาวนานฝ่ายอนาคต เม่อื สฬายตนะไม่มี ผสั สะย่อมไม่ม;ี ๗. ญาณ คือ ความรวู้ า่ แม้ ธมั มัฏฐิติญาณ ในกรณีน้ี กม็ คี วามสน้ิ ไป เสอ่ื มไป จางไป ดบั ไป เปน็ ธรรมดา;
ฉบับ ๒ คู่มือโสดาบัน 8 7 (หมวด ๘) ๑. ญาณ คอื ความรูว้ ่า เพราะมีนามรูปเปน็ ปจั จยั จงึ มสี ฬายตนะ; ๒. ญาณ คือ ความรู้ว่า เมื่อนามรูปไม่มี สฬายตนะ ยอ่ มไม่มี; ๓. ญาณ คือ ความรู้วา่ แม้ในกาลยดื ยาวนานฝ่ายอดตี เพราะมีนามรูปเป็นปัจจัย จงึ มสี ฬายตนะ; ๔. ญาณ คือ ความรู้ว่า แม้ในกาลยืดยาวนานฝา่ ยอดีต เม่ือนามรูปไม่มี สฬายตนะย่อมไม่มี; ๕. ญาณ คือความรู้ว่าแมใ้ นกาลยดื ยาวนานฝา่ ยอนาคต เพราะมนี ามรปู เป็นปัจจยั จงึ มีสฬายตนะ; ๖. ญาณ คือความร้วู ่าแม้ในกาลยดื ยาวนานฝ่ายอนาคต เม่ือนามรปู ไมม่ ี สฬายตนะยอ่ มไม่มี; ๗. ญาณ คือ ความรู้ว่า แม้ ธมั มัฏฐติ ญิ าณ ในกรณีน้ี กม็ คี วามสน้ิ ไป เสอ่ื มไป จางไป ดบั ไป เปน็ ธรรมดา;
8 8 พุทธวจน (หมวด ๙) ๑. ญาณ คอื ความรูว้ ่า เพราะมวี ิญญาณเป็นปัจจยั จงึ มีนามรูป; ๒. ญาณ คอื ความรวู้ า่ เมอ่ื วญิ ญาณไมม่ ี นามรปู ยอ่ มไมม่ ;ี ๓. ญาณ คอื ความรวู้ า่ แม้ในกาลยดื ยาวนานฝา่ ยอดีต เพราะมีวญิ ญาณเป็นปจั จยั จึงมนี ามรปู ; ๔. ญาณ คอื ความร้วู ่า แมใ้ นกาลยืดยาวนานฝ่ายอดตี เมอื่ วิญญาณไม่มี นามรปู ย่อมไมม่ ;ี ๕. ญาณ คอื ความรวู้ า่ แมใ้ นกาลยดื ยาวนานฝา่ ยอนาคต เพราะมวี ญิ ญาณเป็นปจั จยั จงึ มนี ามรปู ; ๖. ญาณ คอื ความรวู้ ่าแม้ในกาลยดื ยาวนานฝ่ายอนาคต เมอ่ื วญิ ญาณไม่มี นามรูปย่อมไมม่ ี; ๗. ญาณ คอื ความรู้ว่า แม้ ธมั มัฏฐติ ญิ าณ ในกรณนี ี้ กม็ คี วามสน้ิ ไป เสอ่ื มไป จางไป ดบั ไป เปน็ ธรรมดา;
ฉบับ ๒ คู่มือโสดาบัน 8 9 (หมวด ๑๐) ๑. ญาณ คอื ความรู้วา่ เพราะมสี ังขารเปน็ ปัจจยั จึงมวี ญิ ญาณ; ๒. ญาณ คือ ความรูว้ ่า เมอ่ื สังขารทั้งหลายไมม่ ี วญิ ญาณ ยอ่ มไม่มี; ๓. ญาณ คอื ความร้วู ่า แมใ้ นกาลยืดยาวนานฝา่ ยอดตี เพราะมสี งั ขารเป็นปจั จัย จึงมีวิญญาณ; ๔. ญาณ คอื ความร้วู า่ แม้ในกาลยืดยาวนานฝ่ายอดีต เมื่อสงั ขารท้ังหลายไมม่ ี วิญญาณยอ่ มไมม่ ;ี ๕. ญาณ คือความรวู้ ่าแมใ้ นกาลยดื ยาวนานฝา่ ยอนาคต เพราะมสี ังขารเป็นปัจจัย จึงมีวญิ ญาณ; ๖. ญาณ คือความรูว้ า่ แมใ้ นกาลยดื ยาวนานฝา่ ยอนาคต เมอ่ื สังขารทั้งหลายไม่มี วญิ ญาณยอ่ มไมม่ ี; ๗. ญาณ คือ ความรู้วา่ แม้ ธัมมฏั ฐิตญิ าณ ในกรณนี ี้ กม็ คี วามสน้ิ ไป เสอ่ื มไป จางไป ดบั ไป เปน็ ธรรมดา;
9 0 พุทธวจน (หมวดท่ี ๑๑) ๑. ญาณ คอื ความรวู้ ่า เพราะมีอวชิ ชาเปน็ ปัจจยั จงึ มีสังขารท้ังหลาย; ๒. ญาณ คือ ความรู้ว่า เมอ่ื อวิชชาไม่มี สังขารทง้ั หลาย ย่อมไม่ม;ี ๓. ญาณ คือ ความรวู้ า่ แม้ในกาลยดื ยาวนานฝา่ ยอดตี เพราะมอี วิชชาเป็นปจั จัย จึงมสี งั ขารท้ังหลาย; ๔. ญาณ คือ ความรวู้ ่า แมใ้ นกาลยดื ยาวนานฝา่ ยอดตี เมอื่ อวชิ ชาไมม่ ี สงั ขารทง้ั หลายย่อมไมม่ ;ี ๕. ญาณ คือความร้วู ่าแมใ้ นกาลยดื ยาวนานฝา่ ยอนาคต เพราะมอี วชิ ชาเปน็ ปจั จัย จงึ มสี ังขารทงั้ หลาย; ๖. ญาณ คอื ความรวู้ า่ แมใ้ นกาลยดื ยาวนานฝ่ายอนาคต เมอ่ื อวชิ ชาไมม่ ี สงั ขารทัง้ หลายยอ่ มไม่ม;ี ๗. ญาณ คือ ความร้วู ่า แม้ ธัมมัฏฐิตญิ าณ ในกรณนี ้ี กม็ คี วามสน้ิ ไป เสอ่ื มไป จางไป ดบั ไป เปน็ ธรรมดา. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! เหลา่ น้ี เรยี กวา่ ญาณวตั ถุ ๗๗ อยา่ ง ดงั น้ี แล. นิทาน. ส.ํ ๑๖/๗๑-๗๒/๑๒๖-๑๒๗.
ฉบับ ๒ คู่มือโสดาบัน 9 1 ๑๘ ผู้มีธัมมญาณและอัน๎วยญาณ (พระโสดาบนั ) ภกิ ษุทง้ั หลาย ! ก็ ชรามรณะ เปน็ อยา่ งไรเลา่ ? ความแก่ ความคร่ำ�คร่า ความมีฟันหลุด ความ มีผมหงอก ความมีหนังเห่ียว ความสิ้นไปๆ แห่งอายุ ความแกร่ อบแหง่ อนิ ทรยี ท์ ง้ั หลาย ในสตั วนกิ ายนน้ั ๆ ของ สัตว์ทั้งหลายเหล่านั้นๆ : นี้เรียกว่า ชรา. การจุติ ความเคล่ือน การแตกสลาย การหายไป การวายชีพ การตาย การทำ�กาละ การแตกแห่งขันธ์ทั้งหลาย การ ทอดทง้ิ ร่าง การขาดแหง่ อินทรยี ์ คอื ชีวิต จากสตั วนกิ าย นั้นๆ ของสัตว์ทั้งหลายเหล่านัน้ ๆ : นเ้ี รยี กวา่ มรณะ. ชรานีด้ ้วย มรณะนด้ี ้วย ยอ่ มมอี ยู่ ดังน้ี; ภกิ ษทุ งั้ หลาย ! นี้เรยี กว่า ชรามรณะ. ความกอ่ ขน้ึ พรอ้ มแหง่ ชรามรณะ ยอ่ มมี เพราะ ความกอ่ ขน้ึ พรอ้ มแหง่ ชาต;ิ ความดบั ไมเ่ หลอื แหง่ ชรามรณะ
9 2 พุทธวจน ยอ่ มมี เพราะความดบั ไมเ่ หลอื แหง่ ชาต;ิ มรรคอนั ประกอบดว้ ย องคแ์ ปดอนั ประเสรฐิ นน่ั เอง เปน็ ปฏปิ ทาใหถ้ งึ ซง่ึ ความดบั ไมเ่ หลอื แหง่ ชรามรณะ, ไดแ้ กส่ ง่ิ เหลา่ น้ี คอื ความเหน็ ชอบ ความดำ�ริชอบ การพูดจาชอบ การทำ�การงานชอบ การเลย้ี งชวี ติ ชอบ ความพากเพยี รชอบ ความระลกึ ชอบ ความตงั้ ใจมนั่ ชอบ. ภิกษทุ ง้ั หลาย ! อริยสาวก ย่อมมารูท้ ่ัวถึง ซึ่ง ชรามรณะ วา่ เปน็ อยา่ งนๆ้ี , มารทู้ ว่ั ถงึ ซง่ึ เหตใุ หเ้ กดิ ขน้ึ แหง่ ชรามรณะ วา่ เป็นอยา่ งนี้ๆ, มารู้ทวั่ ถงึ ซ่ึงความดบั ไม่เหลอื แห่งชรามรณะ ว่าเป็นอย่างนีๆ้ , มารู้ทว่ั ถึง ซ่ึง ขอ้ ปฏบิ ตั เิ ครอ่ื งท�ำ สตั วใ์ หล้ ถุ งึ ความดบั ไมเ่ หลอื แหง่ ชรามรณะ วา่ เปน็ อยา่ งนๆ้ี , ในกาลใด; ในกาลนน้ั ความรนู้ ข้ี องอรยิ สาวก นน้ั ชอ่ื วา่ ธมั มญาณ (ญาณในธรรม). ดว้ ยธรรมนอ้ี นั อรยิ สาวก นน้ั เหน็ แล้ว ร้แู ล้วบรรลุแลว้ หยั่งลงแลว้ และเปน็ ธรรม อนั ใช้ไดไ้ ม่จำ�กัดกาล, อริยสาวกน้นั ย่อม นำ�ความรู้นั้น ไปสู่นัยยะอันเปน็ อดตี และอนาคต (ต่อไปอีก) วา่ “สมณะ หรอื พราหมณเ์ หลา่ ใดเหลา่ หนง่ึ ในกาลยดื ยาวนานฝา่ ยอดตี
ฉบับ ๒ คู่มือโสดาบัน 9 3 ไดร้ อู้ ยา่ งยง่ิ แลว้ ซง่ึ ชรามรณะ, ได้รอู้ ย่างยิง่ แลว้ ซึง่ เหตุ ให้เกดิ ข้นึ แหง่ ชรามรณะ, ไดร้ ู้อยา่ งย่ิงแล้ว ซึ่งความดับ ไม่เหลอื แหง่ ชรามรณะ, ได้รอู้ ยา่ งยง่ิ แล้ว ซึง่ ข้อปฎิบัติ เครื่องทำ�สัตว์ให้ลุถึงความดับไม่เหลือแห่งชรามรณะ; สมณะหรอื พราหมณเ์ หลา่ นนั้ ทกุ ทา่ น ก็ได้รู้อย่างย่งิ แลว้ เหมอื นอยา่ งทเ่ี ราเองไดร้ อู้ ยา่ งยง่ิ แลว้ ในบดั น.้ี ถงึ แมส้ มณะ หรอื พราหมณ์เหล่าใดเหลา่ หน่ึง ในกาลยดื ยาวนานฝ่าย อนาคต จกั ร้อู ย่างย่ิง ซึง่ ชรามรณะ, จกั รู้อยา่ งย่ิง ซงึ่ เหตุ ใหเ้ กดิ ขน้ึ แหง่ ชรามรณะ, จกั รอู้ ยา่ งยง่ิ ซง่ึ ความดบั ไมเ่ หลอื แห่งชรามรณะ, จักรูอ้ ยา่ งยง่ิ ซึง่ ขอ้ ปฏิบตั ิเครื่องทำ�สตั ว์ ให้ลุถงึ ความดบั ไมเ่ หลือแหง่ ชรามรณะ, กต็ าม; สมณะ หรอื พราหมณเ์ หลา่ นน้ั ทกุ ทา่ น กจ็ กั รอู้ ยา่ งยง่ิ เหมอื นอยา่ ง ท่ีเราเองได้รู้อย่างย่ิงแล้วในบัดน้ี” ดังน้ี. ความรู้น้ีของ อรยิ สาวกนน้ั ชอ่ื วา่ อนั ว๎ ยญาณ (ญาณในการรูต้ าม). ภิกษทุ ้ังหลาย ! ญาณท้งั สอง คือ ธัมมญาณและ อนั ว๎ ยญาณเหลา่ นข้ี องอริยสาวก เปน็ ธรรมชาตบิ ริสุทธ์ิ ผ่องใส ในกาลใด;
9 4 พุทธวจน ภิกษทุ ง้ั หลาย ! ในกาลนน้ั เราเรยี กอริยสาวกนนั้ ว่า :- “ผสู้ มบรู ณแ์ ล้วดว้ ยทิฏฐ”ิ ดงั นีบ้ า้ ง; “ผสู้ มบรู ณ์แลว้ ด้วยทสั สนะ” ดงั นบี้ ้าง; “ผูม้ าถงึ พระสัทธรรมนแ้ี ลว้ ” ดงั น้บี า้ ง; “ผไู้ ด้เหน็ อยซู่ ่ึงพระสัทธรรมน”ี้ ดงั นบ้ี า้ ง; “ผู้ประกอบแล้วด้วยญาณอนั เปน็ เสขะ” ดงั นบ้ี ้าง; “ผู้ประกอบแล้วดว้ ยวิชชาอนั เป็นเสขะ” ดังนี้บา้ ง; “ผู้ถงึ ซึ่งกระแสแห่งธรรมแล้ว” ดงั นบ้ี ้าง; “ผปู้ ระเสรฐิ มปี ญั ญาเครอ่ื งช�ำ แรกกเิ ลส” ดงั นบี้ ้าง; “ยนื อยูจ่ รดประตแู หง่ อมตะ” ดังนี้บ้าง, ดังน้ี แล. นทิ าน. สํ. ๑๖/๖๘-๗๑/๑๒๐-๑๒๕.
ฉบับ ๒ คู่มือโสดาบัน 9 5 ๑๙ ผสู้ น้ิ ความสงสยั (พระโสดาบนั ) ในกรณขี องความเหน็ ทเ่ี ปน็ ไปในลกั ษณะยดึ ถอื ตวั ตน ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! เมอ่ื อะไรมอี ยหู่ นอ เพราะเขา้ ไป ยดึ ถอื ซ่งึ อะไร เพราะปักใจเขา้ ไปสูอ่ ะไร ทิฏฐจิ ึงเกิดขึน้ จนถึงกับว่า “ลมก็ไม่พัด แม่น้ำ�ก็ไม่ไหล สตรีมีครรภ์ ก็ไม่คลอด พระจันทร์และพระอาทิตย์ก็ไม่ขึ้นไม่ตก แต่ละอย่างๆ เป็นของตั้งอยู่อย่างมั่นคงดุจการตั้งอยู่ ของเสาระเนยี ด” ดังนี้ ? ภิกษทุ งั้ หลายเหล่านนั้ กราบทลู วิงวอนวา่ “ขา้ แตพ่ ระองค์ ผเู้ จรญิ ! ธรรมทง้ั หลายของพวกขา้ พระองค์ มพี ระผมู้ พี ระภาคเปน็ มลู มพี ระผมู้ พี ระภาคเปน็ ผนู้ �ำ มพี ระผมู้ พี ระภาคเปน็ ทพ่ี ง่ึ . ขา้ แตพ่ ระองค์ ผเู้ จรญิ ! เปน็ การชอบแลว้ หนอ ขอใหอ้ รรถแหง่ ภาษติ นน้ั จงแจม่ แจง้ กะพระผมู้ พี ระภาคเจา้ เองเถดิ . ภกิ ษทุ ง้ั หลายไดฟ้ งั จากพระผมู้ พี ระภาคแลว้ จักทรงจำ�ไว้” ดงั นี.้ พระผมู้ ีพระภาคเจา้ จงึ ตรัสเตอื นใหภ้ กิ ษุทั้งหลาย เหล่านัน้ ตัง้ ใจฟังด้วยดแี ลว้ ไดต้ รสั ข้อความดังต่อไปน้ี :-
9 6 พุทธวจน ภิกษทุ ั้งหลาย ! เม่อื รูปนน่ั แล มีอยู่, เพราะ เขา้ ไปยดึ ถอื ซง่ึ รปู เพราะปกั ใจเขา้ ไปสรู่ ปู ทฏิ ฐจิ งึ เกดิ ขน้ึ อย่างนี้ว่า “ลมก็ไม่พัด แม่น้ำ�ก็ไม่ไหล สตรีมีครรภ์ก็ ไม่คลอด พระจันทร์และพระอาทิตย์ก็ไม่ขึ้นไม่ตก แต่ ละอย่างๆ เป็นของตั้งอยู่อย่างมั่นคงดุจการตั้งอยู่ของ เสาระเนียด” ดังนี้. (ในกรณแี ห่งเวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ กม็ ีถอ้ ยค�ำ ที่ตรัสอย่าง เดียวกันทกุ ตวั อกั ษรกบั ในกรณแี ห่งรปู น้ี ตา่ งกันแต่เพยี งช่ือแหง่ ขันธ์ แต่ละขนั ธ์ เทา่ น้ัน). ภิกษุทง้ั หลาย ! พวกเธอจะสำ�คัญความข้อนี้ว่า อยา่ งไร : รูป เท่ียงหรอื ไม่เท่ยี ง ? “ไม่เทย่ี ง พระเจา้ ข้า !”. ก็ส่งิ ใดไมเ่ ทย่ี ง สิ่งน้นั เป็นทกุ ขห์ รอื เปน็ สขุ เลา่ ? “เป็นทุกข์ พระเจา้ ข้า !”. แม้สิ่งใดไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวน เป็นธรรมดา แต่ถ้าไม่ยึดมั่นถือมั่นซึ่งสิ่งนั้นแล้ว ทิฏฐิ อยา่ งนี้ จะเกิดขนึ้ ได้ไหม วา่ “ลมก็ไมพ่ ดั แม่น�ำ้ ก็ไม่ไหล สตรมี คี รรภก์ ไ็ มค่ ลอด พระจนั ทรแ์ ละพระอาทติ ยก์ ไ็ มข่ น้ึ
ฉบับ ๒ คู่มือโสดาบัน 9 7 ไมต่ ก แตล่ ะอยา่ งๆ เปน็ ของตง้ั อยอู่ ยา่ งมน่ั คงดจุ การตง้ั อยู่ ของเสาระเนียด” ดังนี้ ? “ข้อนั้นหามไิ ด้พระเจ้าข้า !”. (ในกรณแี ห่งเวทนา สญั ญา สังขาร วญิ ญาณ กม็ ีถอ้ ยค�ำ ทีต่ รสั ถามและ ภิกษุเหล่านั้นทูลตอบอย่างเดียวกันทุกตัวอักษรกับในกรณีแห่งรูปนี้ ต่างกนั แตเ่ พยี งชอ่ื แหง่ ขันธ์แต่ละขันธ์ เท่านั้น). ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! แม้สิ่งใดท่ีบุคคล ไดเ้ หน็ แล้ว ฟงั แลว้ รสู้ กึ แล้ว รู้แจ้งแลว้ บรรลุแลว้ แสวงหาแลว้ ครนุ่ คดิ อยดู่ ว้ ยใจแลว้ ; เหลา่ นเ้ี ปน็ ของเทย่ี งหรอื ไมเ่ ทย่ี ง ? “ไม่เที่ยง พระเจา้ ขา้ !”. กส็ งิ่ ใดไมเ่ ทีย่ ง สง่ิ นน้ั เปน็ ทุกขห์ รือเปน็ สขุ เลา่ ? “เป็นทกุ ข์ พระเจ้าขา้ !”. แม้สิ่งใดไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวน เป็นธรรมดา แต่ถ้าไม่ยึดมั่นถือมั่นซึ่งสิ่งนั้นแล้ว ทิฏฐิ อยา่ งนี้ จะเกดิ ข้ึนไดไ้ หม วา่ “ลมกไ็ มพ่ ดั แมน่ ำ�้ กไ็ ม่ไหล สตรมี คี รรภก์ ไ็ มค่ ลอด พระจนั ทรแ์ ละพระอาทติ ยก์ ไ็ มข่ น้ึ ไมต่ ก แตล่ ะอยา่ งๆ เปน็ ของตง้ั อยอู่ ยา่ งมน่ั คงดจุ การตง้ั อยู่ ของเสาระเนียด” ดังน้ี ? “ขอ้ นน้ั หามิไดพ้ ระเจ้าข้า !”.
9 8 พุทธวจน ภกิ ษุทง้ั หลาย ! ในกาลใดแล ความสงสยั (กงั ขา) ในฐานะทงั้ หลาย ๖ ประการเหลา่ น1ี้ เปน็ สิง่ ทอ่ี รยิ สาวก ละขาดแลว้ ; ในกาลนน้ั กเ็ ปน็ อนั วา่ ความสงสยั แมใ้ นทกุ ข,์ แมใ้ นเหตุใหเ้ กดิ ทุกข,์ แมใ้ นความดบั ไมเ่ หลือแห่งทุกข,์ แม้ในข้อปฏิบัติเครื่องทำ�สัตว์ให้ถึงซ่ึงความดับไม่เหลือ แหง่ ทุกข ์ กเ็ ปน็ สง่ิ ท่ีอริยสาวกละขาดแลว้ . ภิกษทุ ง้ั หลาย ! อรยิ สาวกนี้ เราเรียกวา่ เปน็ อริยสาวกผู้เป็นโสดาบัน มีอันไม่ตกต่ำ�เป็นธรรมดา เปน็ ผเู้ ทย่ี งแท้ (ตอ่ นพิ พาน) มกี ารตรสั รพู้ รอ้ มในเบอ้ื งหนา้ , ดังนี้ แล. ขนธฺ . สํ. ๑๗/๒๔๘-๒๕๐/๔๑๗-๔๑๘. 1. ฐานะหกประการ คือ ขันธ์หา้ ประการ และอาการทไี่ ดเ้ ห็นแล้วเป็นตน้ ดังท่ีกลา่ วแลว้ ข้างบนเจด็ อย่าง รวมเปน็ หนึ่งประการ; รวมเปน็ หกประการ.
ฉบับ ๒ คู่มือโสดาบัน 9 9 ๒๐ ผสู้ น้ิ ความสงสยั (พระโสดาบนั ) ในกรณขี องความเหน็ ทเ่ี ปน็ ไปในลกั ษณะขาดสญู ภกิ ษทุ ้ังหลาย ! เมอ่ื อะไรมอี ยหู่ นอ เพราะเขา้ ไป ยึดถือซ่ึงอะไร เพราะปักใจเข้าไปสู่อะไร ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น อยา่ งนว้ี า่ “ไมม่ ที านอนั บคุ คลบรจิ าคแลว้ , ไมม่ ยี ญั ญะ อันบุคคลประกอบแล้ว, ไม่มีโหตระอนั บคุ คลบูชาแล้ว, ไมม่ ผี ลวบิ ากแหง่ กรรม อนั บคุ คลกระท�ำ ดแี ลว้ กระท�ำ ชว่ั แลว้ , ไม่มีโลกน,ี้ ไม่มีโลกอื่น, ไมม่ ีมารดา, ไมม่ บี ดิ า, ไมม่ สี ตั วท์ ง้ั หลายอนั เปน็ โอปปาตกิ ะ, ไมม่ สี มณะและพราหมณ์ ผู้ไปแล้วถูกต้อง ผู้ปฏิบัติแล้วถูกต้อง ผ้ทู �ำ ให้แจ้งซึ่ง โลกน้ีและโลกอ่ืน ด้วยปญั ญาอันย่ิงเอง แล้วประกาศอยู่ ในโลก; คนเรานี้ เป็นแต่การประชุมของมหาภูตทั้งสี่, เมอ่ื ใดท�ำ กาละ เมอ่ื นน้ั ดนิ ยอ่ มเขา้ ไปสหู่ มแู่ หง่ ดนิ น�ำ้ ยอ่ ม เขา้ ไปสหู่ มแู่ หง่ น�ำ้ ไฟยอ่ มเขา้ ไปสหู่ มแู่ หง่ ไฟ ลมยอ่ มเขา้ ไป
1 00 พุทธวจน สหู่ มแู่ หง่ ลม อนิ ทรยี ท์ ง้ั หลายยอ่ มหายไปในอากาศ; บรุ ษุ ทง้ั หลายมเี ตยี งวางศพเปน็ ทค่ี รบหา้ จะพาเขาผตู้ ายแลว้ ไป; รอ่ งรอยทง้ั หลาย ปรากฏอยเู่ พยี งแคป่ า่ ชา้ เปน็ เพยี งกระดกู ทั้งหลาย มีสีเพียงดังสีแห่งนกพิราบ, การบูชาเซ่นสรวง มขี เ้ี ถา้ เปน็ ทส่ี ดุ , สง่ิ ทเ่ี รยี กวา่ ทานนน้ั เปน็ บทบญั ญตั ขิ อง คนเขลา, ค�ำ ของพวกทก่ี ลา่ ววา่ อะไรๆ มอี ยนู่ น้ั เปน็ ค�ำ เปลา่ (จากความหมาย) เปน็ ค�ำ เทจ็ เปน็ ค�ำ เพอ้ เจอ้ ; ทง้ั คนพาล และบณั ฑติ ครน้ั กายแตกท�ำ ลายแลว้ ยอ่ มขาดสญู พนิ าศไป มไิ ดม้ อี ยู่ ภายหลังแตก่ ารตาย” ดังนี้ ? ภกิ ษทุ ้งั หลายเหลา่ น้นั กราบทูลวิงวอนวา่ “ขา้ แต่พระองค์ ผเู้ จรญิ ! ธรรมทง้ั หลาย ของพวกขา้ พระองค์ มพี ระผมู้ พี ระภาคเปน็ มลู มพี ระผมู้ พี ระภาคเปน็ ผนู้ �ำ มพี ระผมู้ พี ระภาคเปน็ ทพ่ี ง่ึ . ขา้ แตพ่ ระองค์ ผเู้ จรญิ ! เปน็ การชอบแลว้ หนอ ขอใหอ้ รรถแหง่ ภาษติ นน้ั จงแจม่ แจง้ กะ พระผมู้ พี ระภาคเจา้ เองเถดิ ภกิ ษทุ ง้ั หลายไดฟ้ งั จากพระผมู้ พี ระภาคแลว้ จกั ทรงจ�ำ ไว”้ ดงั น.้ี พระผมู้ พี ระภาคเจา้ จงึ ตรสั เตอื นใหภ้ กิ ษทุ ง้ั หลาย เหลา่ นน้ั ตง้ั ใจฟงั ดว้ ยดแี ลว้ ไดต้ รสั ขอ้ ความดงั ตอ่ ไปน้ี :- ภกิ ษทุ ัง้ หลาย ! เม่อื รปู นน่ั แล มอี ย่,ู เพราะ เขา้ ไปยดึ ถอื ซง่ึ รปู เพราะปกั ใจเขา้ ไปสรู่ ปู ทฏิ ฐจิ งึ เกดิ ขน้ึ อยา่ งน้ีว่า “ไม่มที านอนั บุคคลบริจาคแล้ว, ไม่มยี ญั ญะ
ฉบับ ๒ คู่มือโสดาบัน 1 01 อันบุคคลประกอบแล้ว, ไม่มีโหตระอันบุคคลบูชาแล้ว, ไมม่ ีผลวบิ ากแหง่ กรรม อันบคุ คลกระท�ำ ดแี ลว้ กระทำ� ชวั่ แลว้ , ไม่มโี ลกน้,ี ไม่มีโลกอ่ืน, ไม่มมี ารดา, ไม่มบี ดิ า, ไมม่ สี ตั วท์ ง้ั หลายอนั เปน็ โอปปาตกิ ะ, ไมม่ สี มณะและพราหมณ์ ผไู้ ปแลว้ ถกู ตอ้ ง ผทู้ �ำ ใหแ้ จง้ ซง่ึ โลกนแ้ี ละโลกอน่ื ดว้ ยปญั ญา อนั ยิง่ เอง แลว้ ประกาศอยใู่ นโลก; คนเราน้ี เป็นแต่การ ประชุมของมหาภูตท้ังสี,่ เมื่อใดท�ำ กาละ เม่ือนนั้ ดินยอ่ ม เขา้ ไปสหู่ มแู่ ห่งดนิ น้ำ�ย่อมเขา้ ไปสหู่ มูแ่ ห่งนำ้� ไฟย่อม เข้าไปสู่หมู่แห่งไฟ ลมยอ่ มเขา้ ไปส่หู มู่แหง่ ลม อินทรีย์ ทง้ั หลายยอ่ มหายไปในอากาศ; บรุ ษุ ทง้ั หลายมเี ตยี งวางศพ เปน็ ทคี่ รบห้า จะพาเขาผู้ตายแลว้ ไป; ร่องรอยทั้งหลาย ปรากฏอยเู่ พยี งแคป่ า่ ชา้ เปน็ เพยี งกระดกู ทง้ั หลาย มสี เี พยี ง ดังสีแห่งนกพิราบ, การบูชาเซ่นสรวง มีขี้เถ้าเป็นที่สุด, สิง่ ทเ่ี รยี กวา่ ทานน้ัน เปน็ บทบัญญตั ขิ องคนเขลา, ค�ำ ของ พวกทก่ี ลา่ ววา่ อะไรๆ มอี ยนู่ น้ั เปน็ ค�ำ เปลา่ (จากความหมาย) เป็นค�ำ เท็จ เป็นค�ำ เพอ้ เจ้อ; ท้ังคนพาลและบัณฑติ ครั้น กายแตกทำ�ลายแลว้ ยอ่ มขาดสูญ พนิ าศไป มไิ ดม้ อี ยู่ ภายหลังแต่การตาย” ดงั น้ี.
1 02 พุทธวจน ภกิ ษทุ ัง้ หลาย ! พวกเธอจะสำ�คัญความข้อนี้ ว่าอยา่ งไร : รปู เที่ยงหรอื ไม่เท่ียง ? “ไมเ่ ที่ยง พระเจา้ ขา้ !”. กส็ ง่ิ ใดไมเ่ ทย่ี ง สงิ่ นน้ั เปน็ ทกุ ขห์ รอื เปน็ สขุ เลา่ ? “เป็นทุกข์ พระเจ้าขา้ !”. แม้สิ่งใดไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวน เปน็ ธรรมดา แต่ถา้ ไม่ยึดม่ันถอื ม่ันซง่ึ สงิ่ น้นั แล้ว ทิฏฐิ อยา่ งนจ้ี ะเกดิ ขน้ึ ไดไ้ หมวา่ “ไมม่ ที านอนั บคุ คลบรจิ าคแลว้ , ไมม่ ยี ญั ญะอนั บคุ คลประกอบแลว้ , ไมม่ โี หตระอนั บคุ คล บชู าแลว้ , ไมม่ ผี ลวบิ ากแหง่ กรรม อนั บคุ คลกระท�ำ ดแี ล้ว กระทำ�ชั่วแลว้ , ...ฯลฯ...ฯลฯ... ค�ำ ของพวกทีก่ ล่าวว่า อะไรๆ มอี ยนู่ น้ั เปน็ ค�ำ เปลา่ (จากความหมาย) เปน็ ค�ำ เทจ็ เป็นคำ�เพ้อเจ้อ; ทั้งคนพาลและบัณฑิต ครั้นกายแตก ทำ�ลายแล้ว ย่อมขาดสูญพินาศไป มิได้มีอยู่ภายหลัง แตก่ ารตาย” ดงั น้ี ? “ขอ้ นน้ั หามไิ ด้ พระเจา้ ข้า !”. (ในกรณแี หง่ เวทนา สัญญา สงั ขาร วิญญาณ กม็ ถี ้อยคำ�ท่ตี รสั อย่าง เดียวกนั ทกุ ตัวอักษรกบั ในกรณีแหง่ รปู น้ี ตา่ งกนั แต่เพยี งชอื่ แห่งขนั ธ์ แต่ละขันธ์ เทา่ นนั้ ).
ฉบับ ๒ คู่มือโสดาบัน 1 03 ภกิ ษุทงั้ หลาย ! แม้สิ่งใดท่ีบุคคลได้เห็นแล้ว ฟงั แล้ว รู้สึกแลว้ รแู้ จง้ แลว้ บรรลุแลว้ แสวงหาแล้ว ครนุ่ คดิ อยดู่ ว้ ยใจแลว้ ; เหลา่ นเ้ี ปน็ ของเทย่ี งหรอื ไมเ่ ทย่ี ง ? “ไมเ่ ท่ยี ง พระเจา้ ข้า!”. กส็ งิ่ ใดไม่เท่ยี ง สงิ่ นน้ั เป็นทุกข์หรือเปน็ สุขเล่า ? “เปน็ ทกุ ข์ พระเจา้ ข้า !”. แม้สิ่งใดไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวน เป็นธรรมดา แต่ถ้าไม่ยึดมัน่ ถอื ม่ันซึง่ ส่งิ น้นั แลว้ ทฏิ ฐิ อยา่ งนจ้ี ะเกดิ ขน้ึ ไดไ้ หมวา่ “ไมม่ ที านอนั บคุ คลบรจิ าคแลว้ , ไมม่ ยี ญั ญะอนั บคุ คลประกอบแลว้ , ไมม่ โี หตระอนั บคุ คล บชู าแลว้ , ไมม่ ผี ลวบิ ากแหง่ กรรม อนั บคุ คลกระท�ำ ดแี ล้ว กระทำ�ชัว่ แลว้ , ...ฯลฯ...ฯลฯ... คำ�ของพวกทก่ี ลา่ วว่า อะไรๆ มอี ยนู่ น้ั เปน็ ค�ำ เปลา่ (จากความหมาย) เปน็ ค�ำ เทจ็ เป็นคำ�เพ้อเจ้อ; ทั้งคนพาลและบัณฑิต ครั้นกายแตก ทำ�ลายแล้ว ย่อมขาดสูญพินาศไป มิได้มีอยู่ภายหลัง แต่การตาย” ดงั นี้ ? “ขอ้ นน้ั หามไิ ด้ พระเจา้ ข้า !”.
1 04 พุทธวจน ภิกษุทั้งหลาย ! ในกาลใดแล ความสงสัย (กงั ขา) ในฐานะท้ังหลาย ๖ ประการเหล่านี้ เปน็ ส่งิ ที่ อรยิ สาวกละขาดแลว้ ; ในกาลนน้ั กเ็ ปน็ อนั วา่ ความสงสยั แมใ้ นทกุ ข,์ แมใ้ นเหตใุ หเ้ กดิ ขน้ึ แหง่ ทกุ ข,์ แมใ้ นความดบั ไม่เหลือแห่งทุกข์, แม้ในข้อปฏิบัติเครื่องทำ�สัตว์ให้ลุ ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์, ก็เป็นสิ่งที่อริยสาวกนั้น ละขาดแล้ว. ภกิ ษทุ ้งั หลาย ! อริยสาวกน้ี เราเรียกว่าเป็น อริยสาวกผู้เป็นโสดาบัน มีอันไม่ตกต่ำ�เป็นธรรมดา เปน็ ผเู้ ทย่ี งแท้ (ตอ่ นพิ พาน) มกี ารตรสั รพู้ รอ้ มในเบอ้ื งหนา้ , ดังนี้ แล. ขนธฺ . สํ. ๑๗/๒๕๔-๒๕๖/๔๒๕-๔๒๖.
ฉบับ ๒ คู่มือโสดาบัน 1 05 ๒๑ ผลแหง่ ความเปน็ โสดาบนั ภิกษทุ ัง้ หลาย ! อานิสงส์แห่งการทำ�ให้แจ้ง ซ่งึ โสดาปัตติผล ๖ อยา่ ง เหลา่ น้ี มีอยู่. หกอย่างเหลา่ ไหนเลา่ ? หกอยา่ ง คือ : - เปน็ บุคคลผ ู้ เทย่ี งแท้ตอ่ พระสัทธรรม; เปน็ บคุ คลผ ู้ มธี รรมอนั ไมร่ เู้ สอ่ื ม; ทกุ ขด์ บั ไปทกุ ขน้ั ตอนแหง่ การกระทำ� ทก่ี ระทำ�แลว้ ; เป็นบุคคลผู้ ประกอบด้วยอสาธารณญาณ (ท่ีไม่ท่วั ไปแกพ่ วกอนื่ ); เป็นบุคคลผ ู้ เห็นธรรมทเี่ ป็นเหตุ และ เหน็ ธรรมทง้ั หลาย ทเ่ี กดิ มาแตเ่ หต.ุ ภกิ ษุทัง้ หลาย ! เหล่านแ้ี ล อานสิ งส์ ๖ ประการ แห่งการท�ำ ให้แจง้ ซึง่ โสดาปัตตผิ ล. ฉกกฺ . อ.ํ ๒๒/๔๙๐/๓๖๘.
1 06 พุทธวจน ๒๒ ความเปน็ โสดาบนั ประเสรฐิ กวา่ เปน็ พระเจา้ จกั รพรรดิ ภกิ ษทุ ั้งหลาย ! แม้พระเจา้ จักรพรรดิ ได้ครอง ความเปน็ ใหญย่ ง่ิ แหง่ ทวปี ทง้ั ส่ี เบอ้ื งหนา้ จากการตายเพราะ การแตกทำ�ลายแห่งกาย อาจได้เข้าถึงสุคติโลกสวรรค์ เปน็ สหายอยรู่ ว่ มกบั เหลา่ เทวดาชน้ั ดาวดงึ ส์ ถกู แวดลอ้ ม อยดู่ ว้ ยหมนู่ างอปั ษรในสวนนนั ทวนั ทา้ วเธอเปน็ ผเู้ อบิ อม่ิ เพยี บพรอ้ มด้วยกามคุณทงั้ ห้า อนั เป็นของทพิ ย์ อยา่ งนี้ กต็ าม, แตก่ ระนน้ั ทา้ วเธอกย็ งั รอดพน้ ไปไมไ่ ด้ จากนรก จากกำ�เนิดเดรัจฉาน จากวิสัยแห่งเปรต และจากอบาย ทุคติ วนิ บิ าต. ภิกษทุ ัง้ หลาย ! ส่วนอริยสาวกในธรรมวินัยนี้ แม้เป็นผู้ยังอัตตภาพให้พอเป็นไปด้วยคำ�ข้าวที่ได้มาจาก บิณฑบาตด้วยปลแี ขง้ ของตนเอง พนั กายด้วยการน่งุ ห่ม ผ้าปอนๆ ไม่มีชาย, หากแตว่ า่ เปน็ ผู้ประกอบพร้อมแลว้
ฉบับ ๒ คู่มือโสดาบัน 1 07 ดว้ ยธรรม ๔ ประการ เธอกย็ งั สามารถ รอดพ้นเสยี ได้ จากนรก จากกำ�เนิดเดรัจฉาน จากวิสัยแห่งเปรต และจากอบาย ทุคต ิ วินบิ าต. ภกิ ษทุ ้ังหลาย ! ธรรม ๔ ประการนน้ั เปน็ ไฉน ? ๔ ประการ คอื :- อริยสาวกในธรรมวนิ ยั นี้ เป็นผปู้ ระกอบพรอ้ ม แล้วด้วยความเลอื่ มใสอนั หย่ังลงม่ัน ไม่หวั่นไหว ...ในองค์พระพทุ ธเจ้า ...ในองค์พระธรรม ...ในองค์พระสงฆ์ ...เป็นผู้ประกอบพรอ้ มแล้วดว้ ยศลี ทั้งหลาย ชนิดเป็นทีพ่ อใจของเหลา่ อรยิ เจา้ ฯลฯ ดงั น้ี. ภิกษุทง้ั หลาย ! ระหวา่ งการไดท้ วปี ทง้ั ส่ี กบั การ ไดธ้ รรม ๔ ประการนน้ี น้ั การไดท้ วปี ทง้ั สม่ี คี า่ ไมถ่ งึ เสย้ี ว ทส่ี ิบหก ของการได้ธรรม ๔ ประการน้ี เลย. มหาวาร. ส.ํ ๑๙/๔๒๘-๔๒๙/๑๔๑๑-๑๔๑๓.
1 08 พุทธวจน ๒๓ ความเปน็ พระโสดาบนั ไมอ่ าจแปรปรวน ภกิ ษทุ ัง้ หลาย ! แม้มหาภูตรูปสี่ กล่าวคือ ธาตุ ดนิ น�ำ้ ไฟ ลม กย็ งั มคี วามแปรปรวนเปน็ อยา่ งอน่ื ไปได.้ แต่เหล่าอริยสาวกในธรรมวินัยนี้ ผู้ประกอบพร้อมแล้ว ด้วยความเลื่อมใสอันหยั่งลงมั่น ไม่หวั่นไหว ในองค์ พระพุทธเจ้า...ในองค์พระธรรม...ในองค์พระสงฆ์... ยอ่ มไมม่ คี วามแปรปรวนเปน็ อยา่ งอน่ื เลย. ขอ้ ทว่ี า่ ผปู้ ระกอบ พร้อมแล้ว ด้วยความเลื่อมใสอันหยั่งลงมั่นไม่หวั่นไหว ในองคพ์ ระพทุ ธเจา้ เปน็ ตน้ น้ัน ยังจะมีการปรวนแปรไป เป็นเสียอย่างอ่ืน จนเข้าถึงนรกก็ดี กำ�เนิดเดรัจฉานก็ดี วสิ ยั แหง่ เปรตก็ดี ดังนี้นน้ั ไมใ่ ชเ่ ปน็ ฐานะท่จี ะมไี ดเ้ ลย. ภิกษุทงั้ หลาย ! แมม้ หาภตู รูปส่ี กล่าวคือ ธาตุ ดิน น้ำ� ไฟ ลม ก็ยังมีความแปรปรวนเป็นอื่นไปได้, แต่เหล่าอริยสาวกในธรรมวินัยนี้ ผู้ประกอบพร้อมแล้ว ดว้ ยศลี ทง้ั หลาย ชนดิ เปน็ ทพ่ี อใจของเหลา่ อรยิ เจา้ ยอ่ มไมม่ ี
ฉบับ ๒ คู่มือโสดาบัน 1 09 ความแปรปรวนเปน็ อยา่ งอน่ื ไดเ้ ลย. ขอ้ ทว่ี า่ ผปู้ ระกอบพรอ้ ม แลว้ ดว้ ยศลี ทง้ั หลายชนดิ เปน็ ทพ่ี อใจของเหลา่ อรยิ เจา้ นน้ั ยงั จะมกี ารปรวนแปรไปเปน็ เสยี อยา่ งอน่ื จนเขา้ ถงึ นรกกด็ ี กำ�เนิดเดรัจฉานก็ดี วิสัยแห่งเปรตก็ดี ดังนี้น้ัน ไม่ใช่ เปน็ ฐานะทจ่ี ะมีไดเ้ ลย. มหาวาร. สํ. ๑๙/๔๕๗-๔๕๘/๑๔๙๕-๖.
1 10 พุทธวจน ๒๔ สง่ิ ทผ่ี ถู้ งึ พรอ้ มดว้ ยทฏิ ฐิ (พระโสดาบนั ) ท�ำ ไมไ่ ดโ้ ดยธรรมชาติ ภกิ ษทุ ั้งหลาย ! ฐานะที่ไม่อาจเป็นไปได้ (โดยธรรมชาติ) ๖ ประการเหลา่ น้ี มอี ย.ู่ หกประการ เหล่าไหนเล่า ? หกประการ คือ :- ผถู้ งึ พร้อมด้วยทฏิ ฐิ ไม่อาจเข้าถึงสงั ขารไรๆ โดยความเปน็ ของเทย่ี ง; ผู้ถึงพรอ้ มดว้ ยทิฏฐิ ไม่อาจเข้าถึงสงั ขารไรๆ โดยความเปน็ ของสขุ ; ผูถ้ ึงพรอ้ มดว้ ยทฏิ ฐ ิ ไมอ่ าจเขา้ ถงึ ธรรมะไรๆ โดยความเปน็ ตวั ตน;
ฉบับ ๒ คู่มือโสดาบัน 1 11 ผู้ถึงพรอ้ มด้วยทิฏฐ ิ ไม่อาจกระทำ�อนันตริยกรรม; ผถู้ ึงพรอ้ มด้วยทิฏฐ ิ ไมอ่ าจหวังการถึงความบรสิ ทุ ธ ิ์ โดยโกตหุ ลมงคล; ผู้ถงึ พรอ้ มด้วยทฏิ ฐ ิ ไมอ่ าจแสวงหาทกั ขเิ ณยยบคุ คล ภายนอกจากศาสนาน.ี้ ภิกษทุ ั้งหลาย ! เหล่านี้แล ฐานะทไี่ มอ่ าจเป็นไปได้ ๖ ประการ. ฉกกฺ . อ.ํ ๒๒/๔๘๙/๓๖๔.
1 12 พุทธวจน ๒๕ ฐานะทเ่ี ปน็ ไปไมไ่ ด้ ส�ำ หรบั ผถู้ งึ พรอ้ มดว้ ยทฏิ ฐิ (พระโสดาบนั ) นยั ทหี่ นงึ่ ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ฐานะทไ่ี มอ่ าจเปน็ ไปได้ ๖ ประการ เหล่านี้ มีอย่.ู หกประการ เหลา่ ไหนเล่า ? หกประการ คอื : - ผถู้ งึ พรอ้ มดว้ ยทฏิ ฐ ิ ไมอ่ าจอยอู่ ยา่ งไมม่ คี วามเคารพ ย�ำ เกรง ในพระศาสดา; ผถู้ งึ พร้อมด้วยทิฏฐิ ไมอ่ าจอยอู่ ยา่ งไมม่ คี วามเคารพ ย�ำ เกรง ในพระธรรม; ผู้ถึงพร้อมดว้ ยทิฏฐิ ไมอ่ าจอยอู่ ยา่ งไมม่ คี วามเคารพ ยำ�เกรง ในพระสงฆ;์
ฉบับ ๒ คู่มือโสดาบัน 1 13 ผู้ถึงพร้อมดว้ ยทิฏฐิ ไมอ่ าจอยอู่ ยา่ งไมม่ คี วามเคารพ ย�ำ เกรง ในสิกขา; ผู้ถึงพร้อมด้วยทิฏฐิ ไม่อาจมาสอู่ นาคมนียวัตถุ (วตั ถทุ ไ่ี ม่ควรเขา้ หา); ผู้ถึงพร้อมดว้ ยทิฏฐ ิ ไมอ่ าจยงั ภพท่ีแปดให้เกดิ ขนึ้ . ภิกษทุ งั้ หลาย ! เหล่านี้แล ฐานะที่ไม่อาจเป็นไปได้ ๖ ประการ. ฉกกฺ . อ.ํ ๒๒/๔๘๙/๓๖๓. (คำ�ว่า “วัตถุที่ไม่ควรเข้าหา” หมายถึงวัตถุสิ่งของ ก็ได้, การกระทำ� ที่มีผล กไ็ ด้, ทิฏฐิ ก็ได.้ คำ�วา่ “ภพท่ีแปด” หมายความวา่ ไม่อาจจะมี แก่พระโสดาบัน, พระโสดาบันจะมีภพหรือชาติ ต่อไปได้อย่างมาก อีกเพียงเจ็ดชาติเท่านั้น).
1 14 พุทธวจน ๒๖ ฐานะทเ่ี ปน็ ไปไมไ่ ด้ ส�ำ หรบั ผถู้ งึ พรอ้ มดว้ ยทฏิ ฐิ (พระโสดาบนั ) นัยที่สอง ภกิ ษุทง้ั หลาย ! ฐานะทไ่ี มอ่ าจเปน็ ไปได้ ๖ ประการ เหลา่ น้ี มอี ย.ู่ หกประการ เหล่าไหนเลา่ ? หกประการ คือ : - เปน็ ไปไมไ่ ด้ ที่ผถู้ ึงพรอ้ มดว้ ยทิฏฐิ จะพึง ปลงชีวิตมารดา; เป็นไปไม่ได้ ทผี่ ้ถู งึ พรอ้ มด้วยทฏิ ฐิ จะพึง ปลงชวี ติ บิดา; เปน็ ไปไมไ่ ด้ ท่ผี ูถ้ งึ พร้อมดว้ ยทิฏฐิ จะพึง ปลงชีวิตพระอรหนั ต;์
ฉบับ ๒ คู่มือโสดาบัน 1 15 เป็นไปไมไ่ ด ้ ทผ่ี ้ถู ึงพร้อมด้วยทิฏฐิ จะพึง คิดประทุษร้ายตถาคต แมเ้ พียงท�ำ โลหติ ให้หอ้ ; เปน็ ไปไม่ได ้ ทีผ่ ู้ถงึ พร้อมดว้ ยทฏิ ฐิ จะพงึ ทำ�ใหส้ งฆใ์ ห้แตกกัน; เปน็ ไปไม่ได ้ ท่ีผู้ถึงพรอ้ มด้วยทิฏฐ ิ จะพึง ถอื ศาสดาอน่ื (นอกจากพระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ ). ภกิ ษทุ ้งั หลาย ! เหล่านี้แล ฐานะที่ไม่อาจเป็นไปได้ ๖ ประการ. ฉกกฺ . อํ. ๒๒/๔๘๙-๔๙๐/๓๖๕.
1 16 พุทธวจน ๒๗ ฐานะทเ่ี ปน็ ไปไมไ่ ด้ ส�ำ หรบั ผถู้ งึ พรอ้ มดว้ ยทฏิ ฐิ (พระโสดาบนั ) นยั ท่ีสาม ภิกษุทั้งหลาย ! ฐานะทไ่ี มอ่ าจเปน็ ไปได้ ๖ ประการเหลา่ น้ี มอี ย.ู่ หกประการ เหลา่ ไหนเลา่ ? หกประการ คือ : - ผถู้ งึ พร้อมดว้ ยทฏิ ฐ ิ ไมอ่ าจมาสู่ทิฏฐิ ว่า “สขุ และทกุ ข์ ตนท�ำ เอง”; ผถู้ งึ พร้อมดว้ ยทิฏฐ ิ ไมอ่ าจมาสู่ทฏิ ฐ ิ ว่า “สุขและทกุ ข์ ผูอ้ นื่ ทำ�ให”้ ; ผู้ถึงพร้อมดว้ ยทิฏฐิ ไมอ่ าจมาสทู่ ิฏฐิ ว่า “สขุ และทุกข ์ ตนทำ�เองก็มี ผ้อู ่ืนท�ำ ให้ก็มี”;
ฉบับ ๒ คู่มือโสดาบัน 1 17 ผ้ถู ึงพร้อมดว้ ยทิฏฐ ิ ไมอ่ าจมาสทู่ ฏิ ฐิ วา่ “สขุ และทกุ ข์ ไมต่ อ้ งท�ำ เอง เกดิ ขน้ึ ไดต้ ามล�ำ พงั ”; ผถู้ ึงพรอ้ มด้วยทิฏฐิ ไม่อาจมาสู่ทฏิ ฐิ ว่า “สุขและทกุ ข์ ไม่ต้องใครอื่นท�ำ ให้ เกิดขึ้นไดต้ ามลำ�พงั ”; ผ้ถู งึ พรอ้ มดว้ ยทฏิ ฐ ิ ไมอ่ าจมาสู่ทฏิ ฐิ ว่า “สขุ และทุกข์ ไมต่ อ้ งท�ำ เองและไมต่ อ้ งใครอน่ื ท�ำ ให้ เกิดขึน้ ได้ตามลำ�พงั ”. ข้อนั้น เพราะเหตุไรเล่า ? ภิกษุทั้งหลาย ! ข้อน้นั เพราะเหตุวา่ เหตุ (แหง่ สขุ และทกุ ข)์ อนั ผถู้ งึ พรอ้ มดว้ ยทฏิ ฐิ เหน็ แลว้ โดยแทจ้ รงิ และธรรมทง้ั หลาย กเ็ ปน็ สง่ิ ทเ่ี กดิ มาแตเ่ หตดุ ว้ ย. ภกิ ษทุ ้ังหลาย ! เหล่านี้แล ฐานะที่ไมอ่ าจเป็นไปได้ ๖ ประการ. ฉกกฺ . อํ. ๒๒/๔๙๐/๓๖๖.
ธรรมะแวดลอม หมวดธรรม ที่ชวยสรางความเขาใจ แตไมไดระบุถึงความเปนโสดาบันโดยตรง
1 20 พุทธวจน ๒๘ อรยิ มรรคมอี งคแ์ ปด ภกิ ษทุ ัง้ หลาย ! ก็ อรยิ สจั คอื หนทางเปน็ เครอ่ื ง ใหถ้ ึงซึง่ ความดบั ไมเ่ หลอื แห่งทุกข์ เป็นอยา่ งไรเลา่ ? คอื หนทางอนั ประกอบดว้ ยองคแ์ ปดอนั ประเสรฐิ นน่ั เอง. องคแ์ ปด คอื :- ความเหน็ ชอบ ความดำ�รชิ อบ วาจาชอบ การงานชอบ อาชวี ะชอบ ความเพยี รชอบ ความระลกึ ชอบ ความตง้ั ใจมน่ั ชอบ. ภิกษทุ ัง้ หลาย ! ความเหน็ ชอบ เปน็ อยา่ งไร ? ภกิ ษุทั้งหลาย ! ความรใู้ นทุกข์ ความรใู้ นเหตุ ใหเ้ กดิ ทกุ ข์ ความรใู้ นความดบั ไมเ่ หลอื แหง่ ทกุ ข์ ความรู้ ในหนทางเป็นเคร่ืองให้ถึงซ่ึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์ อนั ใด. นี้เราเรยี กวา่ ความเห็นชอบ.
ฉบับ ๒ คู่มือโสดาบัน 1 21 ภิกษทุ ้ังหลาย ! ความด�ำ รชิ อบ เป็นอยา่ งไร ? ภกิ ษุทัง้ หลาย ! ความดำ�ริในการออกจากกาม ความด�ำ รใิ นการไมพ่ ยาบาท ความด�ำ รใิ นการไมเ่ บยี ดเบยี น. นีเ้ ราเรียกวา่ ความด�ำ ริชอบ. ภกิ ษทุ ั้งหลาย ! วาจาชอบ เป็นอยา่ งไร ? ภกิ ษุท้งั หลาย ! การเวน้ จากการพดู เทจ็ การเวน้ จากการพดู ยใุ หแ้ ตกกนั การเวน้ จากการพดู หยาบ การเวน้ จากการพูดเพอ้ เจ้อ. นี้เราเรยี กว่า วาจาชอบ. ภิกษุท้ังหลาย ! การงานชอบ เป็นอย่างไร ? ภกิ ษุทั้งหลาย ! การเวน้ จากการฆา่ สตั ว์ การเวน้ จากการถือเอาสิ่งของที่เจ้าของไม่ได้ให้ การเว้นจากการ ประพฤตผิ ดิ ในกามทง้ั หลาย. นเ้ี ราเรยี กวา่ การงานชอบ. ภกิ ษุท้งั หลาย ! อาชวี ะชอบ เป็นอยา่ งไร ? ภิกษุทง้ั หลาย ! อริยสาวกในกรณีนี้ ละการหา เลยี้ งชีพท่ีผดิ เสีย ส�ำ เร็จความเปน็ อยู่ด้วยการหาเล้ียงชพี ทถี่ กู ตอ้ ง. น้ีเราเรยี กวา่ อาชวี ะชอบ.
1 22 พุทธวจน ภกิ ษุท้ังหลาย ! ความเพยี รชอบ เปน็ อยา่ งไร ? ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ภกิ ษใุ นกรณีนี้ ย่อมปลกู ความ พอใจ ยอ่ มพยายาม ยอ่ มปรารภความเพยี ร ยอ่ มประคองจติ ยอ่ มตง้ั จติ ไว้ เพอ่ื ความไมบ่ งั เกดิ ขน้ึ แหง่ อกศุ ลธรรมทง้ั หลาย อันเป็นบาป ที่ยังไม่ได้บังเกิด; ย่อมปลูกความพอใจ ย่อมพยายาม ย่อมปรารภความเพียร ย่อมประคองจิต ย่อมตั้งจิตไว้ เพ่ือการละเสียซ่ึงอกุศลธรรมทั้งหลาย อันเป็นบาป ท่ีบังเกิดข้ึนแล้ว; ย่อมปลูกความพอใจ ย่อมพยายาม ย่อมปรารภความเพียร ย่อมประคองจิต ย่อมตั้งจิตไว้ เพื่อการบังเกิดขึ้นแห่งกุศลธรรมทั้งหลาย ที่ยังไม่ได้บังเกิด; ย่อมปลูกความพอใจ ย่อมพยายาม ย่อมปรารภความเพียร ย่อมประคองจิต ย่อมต้ังจิตไว้ เพื่อความย่ังยืน ความไม่เลอะเลือนความงอกงามย่ิงขึ้น ความไพบลู ย์ ความเจรญิ ความเตม็ รอบแห่งกุศลธรรม ทง้ั หลาย ทบ่ี งั เกดิ ขน้ึ แลว้ . นเ้ี ราเรยี กวา่ ความเพยี รชอบ.
ฉบับ ๒ คู่มือโสดาบัน 1 23 ภิกษทุ ้งั หลาย ! ความระลกึ ชอบ เปน็ อยา่ งไร ? ภิกษุท้งั หลาย ! ภิกษุในกรณีนี้ เป็นผู้มีปกติ พจิ ารณาเหน็ กายในกายอยู่, มีความเพยี รเครื่องเผากเิ ลส มคี วามรู้สกึ ตัวทั่วพรอ้ ม มสี ติ นำ�ความพอใจและความ ไม่พอใจในโลกออกเสียได้; เป็นผู้มีปกติพิจารณาเห็น เวทนาในเวทนาทง้ั หลายอย,ู่ มคี วามเพยี รเครอ่ื งเผากเิ ลส มีความรสู้ กึ ตวั ทวั่ พรอ้ ม มีสติ น�ำ ความพอใจและความ ไม่พอใจในโลกออกเสียได้; เป็นผู้มีปกติพิจารณาเห็น จติ ในจติ อย,ู่ มคี วามเพยี รเครอ่ื งเผากเิ ลส มคี วามรสู้ กึ ตวั ท่วั พร้อม มีสติ นำ�ความพอใจและความไม่พอใจในโลก ออกเสยี ได;้ เปน็ ผมู้ ปี กตพิ จิ ารณาเหน็ ธรรมในธรรมทง้ั หลาย อย,ู่ มคี วามเพยี รเครอ่ื งเผากเิ ลส มคี วามรสู้ กึ ตวั ทั่วพร้อม มสี ติ น�ำ ความพอใจและความไมพ่ อใจในโลกออกเสยี ได.้ น้ีเราเรยี กวา่ ความระลึกชอบ.
1 24 พุทธวจน ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ความตง้ั ใจมน่ั ชอบเปน็ อยา่ งไร ? ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ภกิ ษใุ นกรณนี ี้ สงดั แลว้ จากกาม ท้ังหลาย สงดั แลว้ จากอกุศลธรรมทง้ั หลาย เขา้ ถึงฌาน ทีห่ น่ึง อนั มวี ติ กวิจาร มีปตี แิ ละสขุ อนั เกดิ แตว่ เิ วกแลว้ แลอยู่. เพราะวิตกวจิ ารรำ�งับลง, เธอเขา้ ถึงฌานท่สี อง อนั เปน็ เคร่อื งผอ่ งใสแห่งใจในภายใน ใหส้ มาธเิ ป็นธรรม อนั เอกผดุ ขน้ึ ไมม่ วี ติ ก ไมม่ วี จิ าร มแี ตป่ ตี แิ ละสขุ อนั เกดิ แต่ สมาธิ แลว้ แลอย.ู่ เพราะปตี จิ างหายไป, เธอเปน็ ผเู้ พง่ เฉย อยไู่ ด้ มสี ติ มีความรูส้ ึกตัวทั่วพร้อม และไดเ้ สวยสุข ดว้ ยกาย ยอ่ มเขา้ ถงึ ฌานทส่ี าม อนั เปน็ ฌานทพ่ี ระอรยิ เจา้ ทั้งหลาย กล่าวสรรเสรญิ ผู้ได้บรรลุว่า “เป็นผู้เฉยอยู่ได้ มีสติ มีความอยูเ่ ป็นปกตสิ ขุ ” แลว้ แลอยู่. เพราะละสขุ และทุกข์เสียได้ และเพราะความดับหายไปแห่งโสมนัส และโทมนสั ในกาลกอ่ น เธอยอ่ มเขา้ ถงึ ฌานทส่ี ่ี อนั ไมท่ กุ ข์ และไม่สุข มีแตส่ ตอิ ันบรสิ ุทธิ์ เพราะอุเบกขา แลว้ แลอย่.ู น้ีเราเรยี กวา่ ความต้งั ใจมน่ั ชอบ. ภกิ ษุทั้งหลาย ! เหลา่ น้แี ล เรยี กวา่ อรยิ สัจ คือ หนทางเป็นเครื่องให้ถึงซงึ่ ความดับไม่เหลือแห่งทุกข์. มหา. ท.ี ๑๐/๓๔๓-๓๔๕/๒๙๙.
ฉบับ ๒ คู่มือโสดาบัน 1 25 ๒๙ ค�ำ ทใ่ี ชเ้ รยี กแทนความเปน็ พระโสดาบนั ...ภิกษทุ ัง้ หลาย ! อริยสาวก ย่อมมารู้ประจักษ์ ถึงเหตุเกิดและความดับแห่งโลก ตามที่เป็นจริงอย่างนี้ ในกาลใด; ในกาลนั้น เราเรียกอริยสาวกนี้ ว่า :- “ผสู้ มบูรณ์แลว้ ดว้ ยทฏิ ฐ”ิ ดังนี้บ้าง; “ผู้สมบูรณ์แล้วดว้ ยทัสสนะ” ดงั นี้บา้ ง; “ผู้มาถึงพระสทั ธรรมนแ้ี ลว้ ” ดงั นบ้ี ้าง; “ผไู้ ดเ้ ห็นอยซู่ ง่ึ พระสัทธรรมน้”ี ดังนี้บา้ ง; “ผูป้ ระกอบแล้วดว้ ยญาณอนั เป็นเสขะ” ดังนีบ้ า้ ง; “ผปู้ ระกอบแลว้ ดว้ ยวิชชาอนั เปน็ เสขะ” ดังนบ้ี า้ ง; “ผถู้ ึงซึง่ กระแสแห่งธรรมแล้ว” ดงั นบ้ี า้ ง; “ผปู้ ระเสรฐิ มปี ญั ญาเครอ่ื งช�ำ แรกกเิ ลส” ดังนี้บา้ ง; “ยนื อยจู่ รดประตูแห่งอมตะ” ดงั น้บี า้ ง, ดังนี้ แล. นทิ าน. สํ. ๑๖/๙๒/๑๘๗.
1 26 พุทธวจน
ฉบับ ๒ คู่มือโสดาบัน 1 27 ๓๐ สงั โยชนส์ บิ ภกิ ษุท้ังหลาย ! สังโยชน์ ๑๐ ประการเหลา่ น้ี มีอยู่. สิบประการอย่างไรเลา่ ? สิบประการ คือ :- โอรมั ภาคิยสงั โยชน์ ๕ ประการ อทุ ธัมภาคยิ สงั โยชน์ ๕ ประการ. โอรมั ภาคยิ สงั โยชน1์ ๕ ประการ เปน็ อยา่ งไรเลา่ ? ๕ ประการ คือ :- สักกายทฏิ ฐิ วจิ ิกจิ ฉา สลี ัพพตปรามาส กามฉนั ทะ พยาบาท : เหลา่ นี้ คือ โอรัมภาคยิ สังโยชน์ ๕ ประการ. 1. คือ สงั โยชน์เบอ้ื งต่�ำ หมายถงึ เคร่ืองรอ้ ยรัดจิตอย่างหยาบ ๕ ประการ.
1 28 พุทธวจน อทุ ธัมภาคิยสงั โยชน์1 ๕ ประการ เปน็ อยา่ งไรเลา่ ? ๕ ประการ คอื :- รปู ราคะ อรปู ราคะ มานะ อุทธจั จะ อวชิ ชา : เหลา่ น้ี คอื อุทธัมภาคิยสังโยชน์ ๕ ประการ. ภิกษุทั้งหลาย ! เหล่านี้แล สังโยชน์ ๑๐ ประการ. ทสก. อํ. ๒๔/๑๘-๑๙/๑๓. 1. คอื สังโยชน์เบ้ืองสูง หมายถงึ เครื่องรอ้ ยรัดจิตอยา่ งละเอียด ๕ ประการ ทีอ่ รยิ บคุ ลระดับอรหตั ตมรรคจะต้องละวาง.
ฉบับ ๒ คู่มือโสดาบัน 1 29 ๓๑ อรยิ ญายธรรม คอื การรเู้ รอ่ื งปฏจิ จสมปุ บาท คหบดี ! ก็อริยญายธรรม เป็นสิ่งที่อริยสาวกเห็นแล้วด้วยดี แทงตลอดแล้วด้วยดี ด้วยปัญญา เป็นอย่างไรเล่า ? คหบดี ! อริยสาวกในธรรมวินัยนี้ ย่อม พิจารณาเห็นโดยประจักษ์ ดังนี้ว่า ด้วยอาการอย่างนี้ เพราะส่ิงน้ีม,ี สิ่งนี้จงึ มี; เพราะความเกดิ ขึ้นแหง่ สิง่ น้ี, สง่ิ น้ีจึงเกดิ ข้ึน. เพราะสิ่งนไี้ ม่ม,ี สิง่ นจ้ี งึ ไม่ม;ี เพราะความดับไปแหง่ สงิ่ น,้ี สงิ่ นี้จงึ ดบั ไป :
1 30 พุทธวจน ขอ้ น้ี ไดแ้ ก่สงิ่ เหลา่ น้ี คือ :- เพราะมีอวชิ ชาเป็นปจั จยั จงึ มีสังขารทงั้ หลาย; เพราะมีสังขารเป็นปัจจยั จงึ มีวิญญาณ; เพราะมวี ิญญาณเปน็ ปัจจัย จึงมนี ามรูป; เพราะมีนามรปู เป็นปจั จัย จงึ มสี ฬายตนะ; เพราะมีสฬายตนะเป็นปจั จยั จงึ มผี สั สะ; เพราะมีผสั สะเป็นปัจจัย จึงมีเวทนา; เพราะมีเวทนาเป็นปจั จยั จงึ มตี ณั หา; เพราะมตี ัณหาเป็นปจั จยั จงึ มีอุปาทาน; เพราะมีอุปาทานปจั จยั จึงมภี พ; เพราะมีภพเปน็ ปจั จยั จึงมีชาติ; เพราะมชี าติ เปน็ ปัจจัย ชรามรณะ โสกะปรเิ ทวะทกุ ขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จงึ เกดิ ข้นึ ครบถ้วน : ความเกิดขึน้ พร้อมแหง่ กองทกุ ขท์ ้ังสิน้ น้ี ยอ่ มมี ด้วยอาการอยา่ งน้.ี
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288