ฉบับ ๒ คู่มือโสดาบัน 1 31 เพราะความจางคลายดบั ไป โดยไมเ่ หลอื แห่งอวิชชานน้ั นั่นเทียว, จงึ มีความดบั แหง่ สังขาร; เพราะมคี วามดบั แหง่ สงั ขาร จงึ มคี วามดบั แหง่ วญิ ญาณ; เพราะมคี วามดบั แหง่ วญิ ญาณ จงึ มีความดบั แหง่ นามรูป; เพราะมคี วามดบั แหง่ นามรปู จงึ มคี วามดบั แหง่ สฬายตนะ; เพราะมคี วามดบั แหง่ สฬายตนะ จงึ มีความดบั แห่งผัสสะ; เพราะมีความดบั แหง่ ผสั สะ จงึ มคี วามดบั แหง่ เวทนา; เพราะมีความดับแหง่ เวทนา จึงมีความดบั แห่งตณั หา; เพราะมคี วามดบั แห่งตัณหา จงึ มคี วามดบั แหง่ อปุ าทาน; เพราะมคี วามดบั แหง่ อปุ าทาน จงึ มคี วามดับแห่งภพ; เพราะมคี วามดับแหง่ ภพ จงึ มีความดบั แห่งชาติ; เพราะมีความดบั แห่งชาตนิ ัน่ แล ชรามรณะ โสกะปรเิ ทวะทกุ ขะโทมนสั อุปายาสท้งั หลาย จึงดับสน้ิ : ความดับลงแห่งกองทกุ ข์ทัง้ สนิ้ นี้ ย่อมมีดว้ ยอาการอย่างน้ี. คหบดี ! อรยิ ญายธรรมนแ้ี ล เป็นส่ิงทีอ่ ริยสาวก เหน็ แลว้ ดว้ ยดี แทงตลอดแลว้ ด้วยดี ด้วยปัญญา. นิทาน. สํ. ๑๖/๘๓/๑๕๓.
1 32 พุทธวจน ๓๒ ฝนุ่ ปลายเลบ็ (พอรอู้ รยิ สจั ทกุ ขเ์ หลอื นอ้ ย ขนาดฝนุ่ ตดิ ปลายเลบ็ เทยี บกบั ปฐพ)ี ภกิ ษุท้งั หลาย ! เธอทง้ั หลายจะส�ำ คญั ความขอ้ น้ี ว่าอยา่ งไร : ฝุ่นนิดหนง่ึ ท่ีเราช้อนขึ้นด้วยปลายเล็บนี้ กบั มหาปฐพีน้ี ข้างไหนจะมากกวา่ กนั ? “ขา้ แตพ่ ระองคผ์ เู้ จรญิ ! มหาปฐพนี น่ั แหละ เปน็ ดนิ ทม่ี ากกวา่ . ฝนุ่ นดิ หนง่ึ เทา่ ทท่ี รงชอ้ นขน้ึ ดว้ ยปลายพระนขาน้ี เปน็ ของมปี ระมาณนอ้ ย. ฝุ่นนั้น เมื่อนำ�ไปเทียบกับมหาปฐพี ย่อมไม่ถึงซึ่งการคำ�นวณได้ เปรียบเทียบได้ ไม่เข้าถึงแม้ซึ่งกะละภาค”. ภิกษทุ ัง้ หลาย ! อปุ มานฉ้ี นั ใด อปุ ไมยกฉ็ นั นน้ั : ส�ำ หรบั อรยิ สาวกผถู้ งึ พรอ้ มดว้ ย (สมั มา) ทฏิ ฐิ รพู้ รอ้ มเฉพาะ แล้ว, ความทกุ ข์ของทา่ น ส่วนที่ส้ินไปแล้ว หมดไปแลว้ ยอ่ มมมี ากกวา่ ; ความทกุ ขท์ ย่ี งั เหลอื อยู่ มปี ระมาณนอ้ ย : เมื่อนำ�เข้าไปเทียบกับกองทุกข์ที่สิ้นไปแล้ว หมดไปแล้ว
ฉบับ ๒ คู่มือโสดาบัน 1 33 ในกาลก่อน ย่อมไม่ถึงซึ่งการคำ�นวณได้เปรียบเทียบได้ ไมเ่ ขา้ ถงึ แมซ้ ่ึงกะละภาค นนั่ คือความทุกข์ของโสดาบนั ผู้สัตตักขัตตุปรมะ1 ผู้เห็นชัดตามเป็นจริง ว่า “ทุกข์ เปน็ อยา่ งน,้ี เหตใุ หเ้ กดิ ทกุ ข์ เปน็ อยา่ งน,้ี ความดบั ไมเ่ หลอื แหง่ ทกุ ข์ เปน็ อยา่ งน,้ี ทางด�ำ เนนิ ใหถ้ งึ ซง่ึ ความดบั ไมเ่ หลอื แห่งทกุ ข์ เป็นอยา่ งน”้ี ดงั นี.้ ภกิ ษุทง้ั หลาย ! เพราะเหตุน้ันในเรอื่ งน้ี เธอพึงประกอบโยคกรรมอันเป็นเครื่องกระทำ� ใหร้ วู้ า่ “ทกุ ข ์ เปน็ อยา่ งน,้ี เหตเุ กดิ ขน้ึ แหง่ ทกุ ข ์ เปน็ อยา่ งน,้ี ความดับไม่เหลือแห่งทกุ ข์ เป็นอยา่ งน,้ี ทางดำ�เนนิ ใหถ้ ึง ซึง่ ความดับไม่เหลอื แห่งทกุ ข์ เปน็ อยา่ งน”้ี ดงั น.้ี มหาวาร. สํ. ๑๙/๕๗๒/๑๗๔๗. 1. คือ พระโสดาบนั ท่ตี อ้ งมีก�ำ เนิดอกี ไม่เกิน ๗ ชาติ อันเป็นพระอริยบคุ คล ช้นั ตน้ ที่สุดของจ�ำ พวกโสดาบนั . แม้กระน้ัน ก็ตรสั วา่ ทุกขห์ มดไปมากกวา่ ท่ียังเหลือ.
1 34 พุทธวจน [สตู รอื่นอุปมาเปรยี บดว้ ย เมด็ กรวดเท่าเม็ดถั่วเขยี ว ๗ เมด็ กบั ขุนเขาหิมาลัย (๑๙/๕๖๙/๑๗๔๕-๑๗๔๖). อีกสตู รหน่ึงเปรียบ น้ำ�ตดิ ปลายใบหญ้าคากบั น�ำ้ ในสระกว้าง ๕๐ โยชน์ (๑๙/๕๗๒/๑๗๔๘). อกี สูตรหนง่ึ เปรยี บ น�้ำ ๒–๓ หยดกบั น�ำ้ ในแมน่ ้ำ� ๕ สายรวมกนั (๑๙/๕๗๓/๑๗๔๙-๑๗๕๐). อีกสูตรหนง่ึ เปรียบ เมด็ กระเบา ๗ เม็ดกบั มหาปฐพี (๑๙/๕๗๔/๑๗๕๑-๑๗๕๒). อกี สตู รหนึ่งเปรยี บ น�ำ้ ๒–๓ หยดกบั น้�ำ ท้ังมหาสมุทร (๑๙/๕๗๕/๑๗๕๓-๑๗๕๔). อกี สูตรหน่งึ เปรียบ เมด็ ผกั กาด ๒–๓ เม็ดกับขนุ เขาหมิ าลยั (๑๙/๕๗๖/๑๗๕๕-๑๗๕๖)] และยงั มสี ตู รอกี กลมุ่ หนง่ึ คอื สตู รท่ี ๑–๑๐ อภสิ มยวรรค อภสิ มยสงั ยตุ ต์ นทิ าน. ส.ํ ๑๖/๑๖๘/๓๓๑ ตรสั แกภ่ กิ ษทุ ง้ั หลายทเ่ี ชตวนั ประกอบดว้ ย อปุ มาหลายอยา่ งในแตล่ ะสตู ร และมเี นอ้ื หาขอ้ ความทอ่ี ธบิ าย เรม่ิ ตง้ั แต่ ดกู อ่ นภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! อปุ มานฉ้ี นั ใด อปุ ไมยกฉ็ นั นน้ั ... ไปจนจบประโยค วา่ ...ผเู้ ป็นสตั ตักขตั ตุปรมะ เหมอื นกันทกุ ตวั อกั ษร มีทตี่ ่างกนั ตรง ขอ้ ความตอ่ ทา้ ยจากประโยคน้ี (ในทแ่ี สดงไวท้ ง้ั ๑๐ สตู ร) จะตอ่ ทา้ ยค�ำ สตั ตักขัตตุปรมะ วา่ “ภิกษุทัง้ หลาย ! การรู้พรอ้ มเฉพาะซง่ึ ธรรม เปน็ ไปเพือ่ ประโยชน์อันใหญ่หลวงอยา่ งน้ี การได้เฉพาะซ่ึงธรรมจกั ษุ เปน็ ไปเพื่อประโยชน์อันใหญ่หลวงอยา่ งน้ี”.
ฉบับ ๒ คู่มือโสดาบัน 1 35 ๓๓ สามญั ญผลในพทุ ธศาสนา เทยี บกนั ไมไ่ ด้ กบั ในลทั ธอิ น่ื ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! เปรยี บเหมอื นบรุ ษุ พงึ โยนกรวดหนิ มปี ระมาณเทา่ เมด็ ถว่ั เขยี วเจด็ เมด็ เขา้ ไปทเ่ี ทอื กเขาหลวง ชอ่ื สิเนรุ. ภิกษุท้ังหลาย ! พวกเธอทง้ั หลายจะพงึ สำ�คญั ความขอ้ น้ี วา่ อยา่ งไร : กรวดหนิ มปี ระมาณเทา่ เมด็ ถว่ั เขยี ว เจ็ดเม็ด ที่บุรุษโยนเข้าไป (ที่เทือกเขาหลวงชื่อสิเนรุ) เป็นสิ่งท่ีมากกว่า หรือว่าเทือกเขาหลวงช่ือสิเนรุ เป็นสิ่งที่มากกว่า ? “ขา้ แต่พระองค์ผ้เู จรญิ ! เทอื กเขาหลวงช่อื สิเนรนุ น้ั แหละ เปน็ สง่ิ ทมี่ ากกว่า. กรวดหนิ มีประมาณเทา่ เมด็ ถั่วเขยี วเจ็ดเมด็ ทบ่ี รุ ุษ โยนเข้าไป (ทีเ่ ทือกเขาหลวงชอ่ื สิเนร)ุ มปี ระมาณน้อย. กรวดหินนี้ เมอื่ น�ำ เข้าไป เทียบกับเทอื กเขาหลวงชอื่ สิเนรุ ย่อมไม่เขา้ ถึงสว่ นหน่ึง ในรอ้ ย ส่วนหนึ่งในพัน ส่วนหน่งึ ในแสน”.
1 36 พุทธวจน ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! อปุ มานฉ้ี นั ใด อปุ ไมยกฉ็ นั นน้ั : การบรรลุคุณวิเศษ แห่งสมณพราหมณ์ และ ปริพาชกผู้เป็นเดียรถีย์เหล่าอื่น เมื่อนำ�เข้าไปเทียบกับ การบรรลุคุณวิเศษ ของอริยสาวก ซึ่งเป็นบุคคล ผู้ถึงพร้อมด้วย (สัมมา) ทิฏฐิ ย่อมไม่เข้าถึง ส่วนหนึ่ง ในรอ้ ย ส่วนหนึง่ ในพัน สว่ นหน่ึงในแสน. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! บคุ คลผถู้ งึ พรอ้ มดว้ ย (สมั มา).ทฏิ ฐิ เป็นผู้มีการบรรลุอันใหญ่หลวงอย่างน้ี เป็นผู้มีความรู้ยิ่ง อนั ใหญห่ ลวงอย่างน,ี้ ดงั น้ี แล. นทิ าน. สํ. ๑๖/๑๖๘-๑๖๙/๓๓๑-๓๓๒.
ฉบับ ๒ คู่มือโสดาบัน 1 37 ๓๔ ลกั ษณะแหง่ ผเู้ จรญิ อนิ ทรยี ข์ น้ั อรยิ ะ อานนท์ ! ผ้มู ีอินทรีย์อันอบรมแล้วในข้นั อริยะ เปน็ อยา่ งไรเลา่ ? อานนท์ ! ในกรณนี ้ี ความพอใจ, ความไม่พอใจ, ความพอใจและไม่พอใจ เกิดข้ึนแก่ภิกษุเพราะเห็นรูปด้วยตา...ฟังเสียงด้วยหู... ดมกลิ่นด้วยจมูก...ลิ้มรสด้วยลิ้น...ถูกต้องสัมผัสด้วย ผิวกาย...รู้แจ้งธรรมารมณด์ ว้ ยใจ. ภกิ ษุน้นั :- ถา้ เธอหวงั วา่ จะเป็นผู้อยู่อย่างมีความรู้สึกว่า ไม่ปฏิกูล ในสิ่งที่เป็นปฏิกูล ดังนี้ เธอก็อยู่อย่างผู้มี ความรู้สึกว่าไม่ปฏิกูลในสิ่งที่เป็นปฏิกูลนั้นได้. ถา้ เธอหวงั ว่า จะเป็นผู้อยู่อย่างมีความรู้สึกว่า ปฏิกูล ในสิ่งที่ไม่เป็นปฏิกูล ดังนี้ เธอก็อยู่อย่างผู้มี ความรสู้ กึ วา่ ปฏกิ ลู ในสิง่ ทไ่ี มเ่ ปน็ ปฏกิ ลู นน้ั ได.้
1 38 พุทธวจน ถ้าเธอหวังวา่ จะเป็นผู้อยู่อย่างมีความรู้สึกว่า ไม่ปฏิกูล ท้ังในสิ่งท่ีเป็นปฏิกูลและไม่เป็นปฏิกูล ดังนี้ เธอก็อยู่อย่างผู้มีความรู้สึกว่าไม่ปฏิกูลท้ังในส่ิงที่เป็น ปฏิกลู และไมเ่ ป็นปฏิกลู นัน้ ได.้ ถ้าเธอหวังว่า จะเป็นผู้อยู่อย่างมีความรู้สึกว่า ปฏิกูล ทั้งในสิ่งที่ไม่เป็นปฏิกูลและสิ่งที่เป็นปฏิกูล ดังนี้ เธอก็อยู่อย่างผู้มีความรู้สึกว่าปฏิกูลท้ังในส่ิงท่ีไม่เป็น ปฏกิ ลู และสง่ิ ทเ่ี ปน็ ปฏกิ ลู นน้ั ได.้ และถ้าเธอหวังว่า จะเป็นผู้อยู่อย่างเว้นขาดจาก ความรู้สึกว่าปฏิกูลและไม่ปฏิกูลทั้งสองอย่างเสียแล้ว อยอู่ ยา่ งผอู้ เุ บกขา มสี ตสิ มั ปชญั ญะ ดงั น ้ี เธอก็อย่อู ย่าง ผ้อู ุเบกขามีสติสัมปชัญญะในส่งิ เป็นปฏิกูลและไม่เป็น ปฏกิ ลู ท้งั สองอยา่ งนัน้ ได้. อานนท์ ! อยา่ งน้ีแล ชือ่ ว่า ผ้มู อี ินทรียอ์ ันเจรญิ แลว้ ในขั้นอริยะ. อปุ ร.ิ ม. ๑๔/๕๔๕-๕๔๖/๘๖๓-๘๖๔
ฉบับ ๒ คู่มือโสดาบัน 1 39 ๓๕ พระโสดาบนั กบั พระอรหนั ตต์ า่ งกนั ในการเหน็ ธรรม ภกิ ษุทง้ั หลาย ! อุปาทานขันธ์ (ความยึดมั่นใน ธรรมชาติ) ทัง้ หลายเหล่านี้ มอี ยหู่ ้าอย่าง. ห้าอย่าง อยา่ งไรเลา่ ? ห้าอยา่ ง คือ :- รปู ูปาทานขนั ธ์ (ความยึดมนั่ ในรปู กาย) เวทนูปาทานขันธ์ [ความยดึ มั่นในเวทนา (สขุ ,ทกุ ข์,อเุ บกขา)] สัญญปู าทานขันธ์ [ความยดึ มน่ั ในสัญญา (ความจำ�ได้หมายร)ู้ ] สงั ขารปู าทานขันธ์ [ความยดึ มน่ั ในสังขาร (ความคดิ ปรงุ แตง่ )] วญิ ญาณูปาทานขนั ธ์ [ความยดึ มั่นในวิญญาณ (ผูร้ แู้ จ้งซึ่งอารมณ์)]
1 40 พุทธวจน ภกิ ษุทง้ั หลาย ! เมอ่ื ใด อรยิ สาวก รชู้ ดั แจง้ ตาม เปน็ จรงิ ซง่ึ ความเกดิ ขน้ึ (สมทุ ยั ) ซง่ึ ความตง้ั อยไู่ มไ่ ด้ (อตั ถงั คมะ) ซง่ึ รสอรอ่ ย (อสั สาทะ) ซง่ึ โทษอนั ต�ำ่ ทราม (อาทนี วะ) และซง่ึ อบุ ายเปน็ เครอ่ื งสลดั ออก (นสิ สรณะ) แหง่ อุปาทานขันธ์ทง้ั หา้ เหล่าน;้ี ภิกษทุ งั้ หลาย ! อริยสาวกนี้ เราเรียกว่า เป็น โสดาบัน มีอันไม่ตกต่ำ�เป็นธรรมดา เป็นผู้เที่ยงแท้ ต่อพระนิพพาน มีการตรัสรู้พร้อมในเบื้องหน้า. ขนธฺ . อ.ํ ๑๗/๑๙๖/๒๙๖. ภกิ ษทุ ั้งหลาย ! อุปาทานขันธ์เหลา่ น้ี มีอยูห่ ้าอย่าง. ห้าอย่างอย่างไรเล่า ? หา้ อย่าง คือ :- รูปปู าทานขนั ธ์ เวทนปู าทานขนั ธ์ สญั ญปู าทานขนั ธ์ สงั ขารปู าทานขนั ธ์ วญิ ญาณูปาทานขนั ธ์
ฉบับ ๒ คู่มือโสดาบัน 1 41 ภิกษทุ ัง้ หลาย ! เมื่อใด ภิกษุ รู้ชัดแจ้งตาม เป็นจริง ซึ่งความเกิดขึ้น ซึ่งความตั้งอยู่ไม่ได้ ซึ่งรสอร่อย ซึ่งโทษอันต่ำ�ทราม และซึ่งอุบายเป็น เครอ่ื งสลดั ออก แหง่ อปุ าทานขนั ธท์ ง้ั หา้ เหลา่ น ้ี ดงั นแ้ี ลว้ เปน็ ผหู้ ลดุ พน้ แลว้ เพราะไม่มคี วามยดึ ม่ัน. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ภกิ ษนุ ้ี เราเรยี กวา่ เปน็ พระอรหนั ต์ ผูม้ ีอาสวะสิ้นแลว้ อยู่จบพรหมจรรย์แล้ว ทำ�กิจที่ควรท�ำ ส�ำ เรจ็ แลว้ มภี าระอนั ปลงลงแลว้ มปี ระโยชนต์ นอนั ตาม ถงึ แลว้ มสี งั โยชนใ์ นภพสน้ิ ไปรอบแลว้ เปน็ ผหู้ ลดุ พน้ แลว้ เพราะรูโ้ ดยชอบ ดังน้ี แล. ขนฺธ. สํ. ๑๗/๑๙๖/๒๙๗.
1 42 พุทธวจน
ฉบับ ๒ คู่มือโสดาบัน 1 43 ๓๖ พระโสดาบนั กบั พระอรหนั ตต์ า่ งกนั ในการเหน็ ธรรม (อกี นยั หนง่ึ ) ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! อนิ ทรีย์หกเหลา่ นี้ มีอย่.ู หกเหล่าไหนเลา่ ? หกเหลา่ คอื :- จกั ขุนทรยี ์ โสตินทรยี ์ ฆานนิ ทรีย์ ชิวหินทรยี ์ กายินทรีย์ มนนิ ทรีย์. ภกิ ษุทั้งหลาย ! เมื่อใด อริยสาวก รู้ชัดแจ้ง ตามเป็นจริง ซึ่งความเกิดข้ึน, ซึ่งความต้ังอยู่ไม่ได้, ซ่ึงรสอร่อย, ซ่ึงโทษอันตำ่�ทราม และซ่ึงอุบายเป็น เครอ่ื งสลดั ออก แห่งอินทรยี ์หกเหลา่ นี;้ ภิกษทุ ้ังหลาย ! อริยสาวกนี้ เราเรียกว่า เป็น โสดาบัน มีอันไม่ตกต่ำ�เป็นธรรมดา เป็นผู้เที่ยงแท้ ต่อพระนพิ พาน จกั ตรัสรู้พรอ้ มในเบื้องหนา้ . มหาวาร. สํ. ๑๙/๒๗๑-๒๗๒/๙๐๒-๙๐๓.
1 44 พุทธวจน ภกิ ษทุ ั้งหลาย ! อินทรยี ์หกเหล่านี้ มีอยู่. หกเหลา่ ไหนเล่า ? หกเหลา่ คอื :- จกั ขนุ ทรยี ์ โสตินทรยี ์ ฆานินทรีย์ ชิวหินทรีย ์ กายนิ ทรีย ์ มนนิ ทรีย์. ภกิ ษุท้ังหลาย ! เมื่อใด ภิกษุ รู้ชัดแจ้งตาม เป็นจริง ซึ่งความเกิดขึ้น, ซึ่งความตั้งอยู่ไม่ได้, ซึ่งรสอร่อย, ซึ่งโทษอันต่ำ�ทราม และซึ่งอุบายเป็น เคร่ืองสลัดออก แห่งอินทรีย์หกเหล่านี้ ดังนี้ และ เป็นผู้หลดุ พ้นแลว้ เพราะไมม่ คี วามยึดม่ัน. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ภกิ ษนุ ้ี เราเรยี กวา่ เปน็ พระอรหนั ต์ ผมู้ อี าสวะสิน้ แล้ว อยจู่ บพรหมจรรยแ์ ล้ว ท�ำ กจิ ทค่ี วรท�ำ ส�ำ เรจ็ แลว้ มภี าระอนั ปลงลงแลว้ มปี ระโยชนต์ นอนั ตามถึง แล้ว มีสังโยชนใ์ นภพส้นิ ไปรอบแลว้ เปน็ ผหู้ ลุดพ้นแลว้ เพราะรโู้ ดยชอบ ดงั นี้ แล. มหาวาร. สํ. ๑๙/๒๗๒/๙๐๔-๙๐๕. (สตู รข้างบนนี้ทรงแสดงอินทรีย์โดยอายตนะภายในหก; ยังมีสูตรอื่น (๑๙/๒๗๕/๙๑๔-๙๑๘) ทรงแสดงอนิ ทรยี โ์ ดยเวทนาหา้ คอื สขุ นิ ทรยี ์ ทกุ ขนิ ทรยี ์ โสมนสั สนิ ทรยี ์ โทมนสั สนิ ทรยี ์ อเุ ปกขนิ ทรยี ,์ ดงั นก้ี ม็ )ี .
ฉบับ ๒ คู่มือโสดาบัน 1 45 ๓๗ ความลดหลน่ั แหง่ พระอรยิ บคุ คล ผปู้ ฏบิ ตั อิ ยา่ งเดยี วกนั ภิกษทุ ั้งหลาย ! สิกขาบทร้อยห้าสิบสิกขาบทนี้ ยอ่ มมาสอู่ ุทเทส ทกุ กงึ่ แห่งเดอื นตามล�ำ ดับ อันกลุ บุตร ผปู้ รารถนาประโยชนพ์ ากนั ศกึ ษาอยใู่ นสกิ ขาบทเหลา่ นน้ั . ภกิ ษทุ ัง้ หลาย ! สิกขาสามอย่างเหล่านี้ มีอยู่ อนั เป็นทปี่ ระชมุ ลงของสิกขาบทท้งั ปวงนน้ั . สิกขาสามอยา่ งนน้ั เปน็ อย่างไรเล่า ? คอื อธสิ ลี สกิ ขา อธจิ ติ ตสกิ ขา อธปิ ญั ญาสกิ ขา. ภกิ ษุทั้งหลาย ! เหล่านี้แล สิกขาสามอย่าง อันเปน็ ท่ีประชุมลงแห่งสกิ ขาบททั้งปวงนั้น. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ภกิ ษใุ นกรณนี ้ี เปน็ ผทู้ �ำ ใหบ้ รบิ รู ณ์ ในศลี ทำ�ใหบ้ ริบรู ณใ์ นสมาธิ ทำ�ให้บรบิ ูรณ์ในปญั ญา. เธอยังล่วงสิกขาบทเล็กน้อยบ้าง และต้องออกจากอาบัติ เลก็ นอ้ ยเหล่าน้นั บา้ ง. ข้อนน้ั เพราะเหตไุ รเล่า ?
1 46 พุทธวจน ข้อนนั้ เพราะเหตวุ า่ ไมม่ ผี รู้ ใู้ ดๆ กลา่ วความอาภพั ตอ่ การ บรรลโุ ลกตุ ตรธรรม จกั เกดิ ขน้ึ เพราะเหตสุ กั วา่ การลว่ งสกิ ขาบทเลก็ นอ้ ย และการตอ้ งออกจากอาบตั เิ ลก็ นอ้ ยเหลา่ น.้ี สว่ นสกิ ขาบท เหล่าใดที่เป็นเบื้องต้นแห่งพรหมจรรย์ ที่เหมาะสม แก่พรหมจรรย์, เธอเป็นผู้มีศีลยั่งยืน มีศีลมั่นคงใน สกิ ขาบทเหลา่ นน้ั สมาทานศกึ ษาอยใู่ นสกิ ขาบททง้ั หลาย. ภกิ ษุน้นั ได้กระท�ำ ใหแ้ จ้งซง่ึ เจโตวิมตุ ติ ปัญญาวมิ ตุ ติ อนั หาอาสวะมิได้ เพราะความส้นิ ไปแหง่ อาสวะทั้งหลาย ด้วยปญั ญาอนั ยิ่งเองในทิฏฐธรรมนี้ เขา้ ถงึ แล้วแลอยู่. หรือว่า (บางพวก) ยังไม่ได้ทำ�ให้เกิดมี ยังไม่ได้ แทงตลอด ซ่ึงอนาสววิมุตติ, แต่เพราะความส้ินไปรอบแห่ง โอรมั ภาคยิ สงั โยชนเ์ บอ้ื งต�ำ่ หา้ จงึ เปน็ อนั ตราปรนิ พิ พายี ผู้ปรินิพพานในระหว่างอายุยังไม่ทันถึงกึ่ง. หรือว่า (บางพวก) ยังไม่ได้ทำ�ให้เกิดมี ยังไม่ได้ แทงตลอด ซึ่งอนาสววิมุตติ, แต่เพราะความส้ินไปรอบแห่ง โอรมั ภาคยิ สงั โยชนเ์ บอ้ื งต�ำ่ หา้ จงึ เปน็ อปุ หจั จปรนิ พิ พายี ผู้ปรินิพพานเม่ืออายุพน้ กึง่ แลว้ จวนถงึ ทีส่ ุด.
ฉบับ ๒ คู่มือโสดาบัน 1 47 หรือว่า (บางพวก) ยังไม่ได้ทำ�ให้เกิดมี ยังไม่ได้ แทงตลอดอซึ่งอนาสววิมุตติ, แต่เพราะความสิ้นไปรอบแห่ง โอรมั ภาคยิ สงั โยชนเ์ บอ้ื งต�ำ่ หา้ จงึ เปน็ อสงั ขารปรนิ พิ พายี ผ้ปู รนิ ิพพานด้วยไมต่ ้องใช้ความเพยี รเรี่ยวแรง. หรือว่า (บางพวก) ยังไม่ได้ทำ�ให้เกิดมี ยังไม่ได้ แทงตลอด ซึ่งอนาสววิมุตติ, แต่เพราะความสิ้นไปรอบแห่ง โอรมั ภาคยิ สงั โยชนเ์ บอ้ื งต�ำ่ หา้ จงึ เปน็ สสงั ขารปรนิ พิ พายี ผู้ปรินิพพานด้วยตอ้ งใชค้ วามเพยี รเรีย่ วแรง. หรือว่า (บางพวก) ยังไม่ได้ทำ�ให้เกิดมี ยังไม่ได้ แทงตลอด ซึ่งอนาสววิมุตติ, แต่เพราะความส้ินไปรอบแห่ง โอรมั ภาคยิ สงั โยชนเ์ บอ้ื งต�ำ่ หา้ จงึ เปน็ อทุ ธงั โสโตอกนฏิ ฐคามี ผมู้ ีกระแสในเบอื้ งบนไปถึงอกนิฏฐภพ. หรือว่า (บางพวก) ยังไม่ได้ทำ�ให้เกิดมี ยังไม่ได้ แทงตลอด ซ่ึงอนาสววิมุตติ, แต่เพราะความสิ้นไปรอบแห่ง สังโยชน์สาม และเพราะความที่ ราคะ โทสะ โมหะ กเ็ บาบางนอ้ ยลง เปน็ สกทาคาม ี ยงั จะมาสเู่ ทวโลกนอ้ี กี ครัง้ เดียวเทา่ น้นั แลว้ ยอ่ มกระทำ�ทีส่ ุดแหง่ ทกุ ขไ์ ด.้
1 48 พุทธวจน หรือว่า (บางพวก) ยังไม่ได้ทำ�ให้เกิดมี ยังไม่ได้ แทงตลอด ซ่ึงอนาสววิมุตติ, แต่เพราะความสิ้นไปรอบแห่ง สงั โยชน์สาม เป็นผู้ เอกพีชี คอื จักเกิดในภพแห่งมนษุ ย์ อกี หนเดยี วเทา่ นน้ั แลว้ ยอ่ มกระท�ำ ทส่ี ดุ แหง่ ทกุ ขไ์ ด.้ หรือว่า (บางพวก) ยังไม่ได้ทำ�ให้เกิดมี ยังไม่ได้ แทงตลอด ซึ่งอนาสววิมุตติ, แต่เพราะความสิ้นไปรอบแห่ง สังโยชน์สาม เป็นผู้ โกลังโกละ จักต้องท่องเท่ียวไปสู่ สกลุ อกี สองหรอื สามครง้ั แลว้ ยอ่ มกระท�ำ ทส่ี ดุ แหง่ ทกุ ขไ์ ด.้ หรือว่า (บางพวก) ยังไม่ได้ทำ�ให้เกิดมี ยังไม่ได้ แทงตลอด ซึ่งอนาสววิมุตติ, แต่เพราะความส้ินไปรอบแห่ง สงั โยชนส์ าม เปน็ ผ ู้ สตั ตกั ขตั ตปุ รมะ ยงั ตอ้ งทอ่ งเทย่ี วไป ในภพแห่งเทวดาและมนุษย์อีกเจ็ดคร้ัง เป็นอย่างมาก แลว้ ยอ่ มกระทำ�ท่สี ดุ แห่งทกุ ข์ได้. ภิกษุทัง้ หลาย ! ผู้กระทำ�ได้เพียงบางส่วนย่อม ท�ำ ใหส้ �ำ เรจ็ ไดบ้ างสว่ น, ผทู้ �ำ ใหบ้ รบิ รู ณก์ ย็ อ่ มท�ำ ใหส้ �ำ เรจ็ ได้บริบูรณ์; ดังนั้น เราจึงกล่าวว่า สิกขาบททั้งหลาย ย่อมไม่เปน็ หมันเลย, ดังนี้ แล. ตกิ . อ.ํ ๒๐/๓๐๑-๓๐๓/๕๒๘.
ฉบับ ๒ คู่มือโสดาบัน 1 49 หมายเหตผุ รู้ วบรวม : ๑. ถ้าพิจารณาจนจบเรื่องจะเห็นประเด็นแง่มุมของผลท่ีได้ไม่เท่ากัน เกดิ เนอ่ื งจากความบกพร่องในสกิ ขาบทเล็กน้อย (อภสิ มาจาร) ของ เธอซ่งึ ไมม่ ผี ู้รูใ้ ดๆ มาบอกเธอถงึ ความอาภัพต่อโลกุตตรธรรมเพราะ การกระท�ำ น้นั พวกทีก่ ำ�ลัง (พละ) ยงั ไมแ่ ก่กลา้ จงึ ไมส่ ามารถท�ำ ให้ เกดิ มหี รอื แทงตลอดซึ่งอนาสววิมุตตไิ ด้ จึงมีความลดหลน่ั กนั ออกไป ในระดบั ความเป็นอริยบคุ คล พระองคจ์ ึงสรปุ ปดิ ท้ายว่า สกิ ขาบท ทง้ั หลายท่ีทรงบัญญตั ินั้น มิได้เปล่าประโยชนเ์ ลย. ๒. แสดงถึงความบริบูรณ์ของสิกขาบทอันเพียงพอต่อความเป็น อริยบคุ คลท่ีทรงหมายถึง กค็ ือ ปาฏโิ มกข์ (คือสกิ ขาบททบ่ี ัญญตั เิ พื่อ เป็นเบ้อื งตน้ แห่งพรหมจรรย์).
1 50 พุทธวจน ๓๘ คนตกน�ำ้ ๗ จ�ำ พวก (ระดบั ตา่ งๆ แห่งบุคคลผถู้ อนตวั ขนึ้ จากทกุ ข)์ ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! บุคคลเปรียบด้วยบุคคลตกนำ�้ เจด็ จำ�พวก เหล่าน้ี มีอยูห่ าไดอ้ ยู่ในโลก. เจ็ดจำ�พวกเหล่าไหนเล่า ? ภิกษทุ ้งั หลาย ! ในกรณนี ี้ : (๑) บคุ คลบางคน จมน้�ำ คราวเดียวแล้วกจ็ มเลย; (๒) บคุ คลบางคน ผดุ ข้ึนครงั้ หนึง่ แลว้ จงึ จมเลย; (๓) บุคคลบางคน ผดุ ขน้ึ แล้ว ลอยตัวอยู;่ (๔) บคุ คลบางคน ผุดขน้ึ แล้ว เหลยี วดูรอบๆ อย่;ู (๕) บุคคลบางคน ผุดขน้ึ แล้ว วา่ ยเขา้ หาฝ่งั ; (๖) บุคคลบางคน ผดุ ขน้ึ แลว้ เดนิ เขา้ มาถงึ ทต่ี น้ื แลว้ ; (๗) บคุ คลบางคน ผดุ ขน้ึ แลว้ ถงึ ฝง่ั ขา้ มขน้ึ บกแลว้ เป็นพราหมณ์ยืนอยู่.
ฉบับ ๒ คู่มือโสดาบัน 1 51 ภิกษทุ ้งั หลาย ! (๑) บคุ คล จมนำ�้ คราวเดียว แลว้ กจ็ มเลย เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษทุ ัง้ หลาย ! บคุ คลบางคนในกรณนี ้ี ประกอบ ด้วยอกุศลธรรมฝ่ายเดียว โดยส่วนเดียว. อย่างนี้แล เรียกว่า จมคราวเดยี วแล้วก็จมเลย. ภิกษทุ ้งั หลาย ! (๒) บคุ คล ผุดขน้ึ ครั้งหน่งึ แลว้ จงึ จมเลย เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษทุ ้ังหลาย ! บุคคลบางคนในกรณีน้ี ผุดข้ึน คอื มศี รทั ธาดใี นกศุ ลธรรมทง้ั หลาย มหี ริ ดิ -ี มโี อตตปั ปะดี -มีวิริยะดี-มีปัญญาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย. แต่ว่า ศรทั ธาเปน็ ตน้ ของเขา ไมต่ ง้ั อยนู่ าน ไมเ่ จรญิ เสอ่ื มสน้ิ ไป. อยา่ งนีแ้ ล เรยี กวา่ ผดุ ขน้ึ ครง้ั หนง่ึ แลว้ จึงจมเลย. ภิกษทุ ้งั หลาย ! (๓) บคุ คลผดุ ขน้ึ แลว้ ลอยตวั อยู่ เป็นอย่างไรเลา่ ? ภกิ ษุท้งั หลาย ! บุคคลบางคนในกรณีน้ ี ผุดข้นึ คอื มศี รทั ธาดใี นกศุ ลธรรมทง้ั หลาย มหี ริ ดิ -ี มโี อตตปั ปะดี
1 52 พุทธวจน มีวิริยะดี-มีปัญญาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย และศรัทธา เป็นต้นของเขา ไม่เสื่อม ไม่เจริญ แต่ทรงตัวอยู่. อย่างนีแ้ ล เรียกวา่ ผุดขน้ึ แล้วลอยตัวอยู่. ภกิ ษุทง้ั หลาย ! (๔) บคุ คล ผดุ ขน้ึ แลว้ เหลยี วดู รอบๆ อยู ่ เปน็ อย่างไรเล่า ? ภิกษุทง้ั หลาย ! บุคคลบางคนในกรณนี ้ี ผุดขน้ึ คอื มศี รทั ธาดใี นกศุ ลธรรมทง้ั หลาย มหี ริ ดิ -ี มโี อตตปั ปะดี -มีวิริยะดี-มีปัญญาดีในกุศลธรรมท้ังหลาย. บุคคล นน้ั เพราะความสนิ้ ไปแหง่ สงั โยชน์สาม เป็น โสดาบนั มคี วามไมต่ กต�ำ่ เปน็ ธรรมดา เปน็ ผเู้ ทย่ี งแทต้ อ่ พระนพิ พาน มกี ารตรสั รพู้ รอ้ มในเบอ้ื งหนา้ . อยา่ งนแ้ี ล เรยี กวา่ ผดุ ขน้ึ แลว้ เหลียวดรู อบๆ อยู.่ ภิกษทุ งั้ หลาย ! (๕) บคุ คล ผดุ ขน้ึ แลว้ วา่ ยเขา้ หาฝั่ง เป็นอย่างไรเล่า ? ภกิ ษทุ ้งั หลาย ! บุคคลบางคนในกรณีน้ ี ผุดข้นึ คอื มศี รทั ธาดใี นกศุ ลธรรมทง้ั หลาย มหี ริ ดิ -ี มโี อตตปั ปะดี
ฉบับ ๒ คู่มือโสดาบัน 1 53 -มีวิริยะดี-มีปัญญาดีในกุศลธรรมท้ังหลาย. บุคคลน้ัน เพราะความสน้ิ ไปแหง่ สงั โยชนส์ าม และเพราะความเบาบาง แห่งราคะ โทสะ โมหะ เปน็ สกทาคามี มาสโู่ ลกนีอ้ กี เพียงคร้ังเดียว แล้วทำ�ที่สุดแห่งทุกข์ได้. อย่างน้ีแล เรยี กว่า ผุดขนึ้ แล้ว วา่ ยเข้าหาฝง่ั . ภิกษุท้ังหลาย ! (๖) บคุ คล ผดุ ข้ึนแลว้ เดินเข้า มาถึงทีต่ ืน้ แล้ว เปน็ อย่างไรเล่า ? ภกิ ษทุ งั้ หลาย ! บคุ คลบางคนในกรณีน้ี ผดุ ข้ึน คอื มศี รทั ธาดใี นกศุ ลธรรมทง้ั หลาย มหี ริ ดิ -ี มโี อตตปั ปะดี -มีวิริยะดี-มีปัญญาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย. บุคคลน้ัน เพราะความส้ินไปแห่งโอรัมภาคิยสังโยชน์ห้า เป็น โอปปาติกะ (อนาคามี) มีการปรินิพพานในภพนั้น ไม่เวียนกลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา. อย่างนี้แล เรียกว่า ผุดขน้ึ แล้ว เดนิ เขา้ มาถงึ ที่ตนื้ แล้ว. ภิกษุทง้ั หลาย ! (๗) บคุ คล ผดุ ขนึ้ แล้ว ถงึ ฝั่ง ข้ามขึ้นบกแล้ว เปน็ พราหมณ์ยนื อยู่ เป็นอย่างไรเล่า ?
1 54 พุทธวจน ภิกษทุ ัง้ หลาย ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ ผุดขึ้น คอื มศี รทั ธาดใี นกศุ ลธรรมทง้ั หลาย มหี ริ ดิ -ี มโี อตตปั ปะดี -มีวิริยะดี-มีปัญญาดีในกุศลธรรมทั้งหลาย. บุคคลน้ัน ได้กระทำ�ให้แจ้งซึ่งเจโตวิมุตติ ปัญญาวิมุตติ อันหา อาสวะมไิ ด้ (พระอรหนั ต)์ เพราะความสน้ิ ไปแหง่ อาสวะ ทง้ั หลาย ดว้ ยปญั ญาอนั ยง่ิ เองในทฏิ ฐธรรมน้ี เขา้ ถงึ แลว้ อย.ู่ อย่างนี้แล เรียกว่า ผุดขึ้นแล้ว ถึงฝั่งข้ามขึ้นบกแล้ว เปน็ พราหมณย์ ืนอยู่. ภกิ ษทุ ้งั หลาย ! เหล่านี้แล บุคคลเปรียบด้วย บุคคลตกน้ำ�เจ็ดจ�ำ พวก ซง่ึ มอี ย่ ู หาไดอ้ ยู่ ในโลก. สตตฺ ก. อํ. ๒๓/๑๐-๑๒/๑๕.
ฉบับ ๒ คู่มือโสดาบัน 1 55 ๓๙ คนมกี เิ ลสตกนรกทง้ั หมดทกุ คน จรงิ หรอื ? (บุคคลที่มีเชอ้ื เหลอื ๙ จ�ำ พวก) เช้าวนั หนึ่ง ทา่ นพระสารีบตุ รครองจีวร ถอื บาตร เข้าไป บิณฑบาตในนครสาวัตถี ท่านเห็นว่าเวลายังเช้าเกินไปสำ�หรับการ บณิ ฑบาต จึงแวะเขา้ ไปในอารามของพวกปรพิ าชกลัทธอิ ่ืนได้ทกั ทาย ปราศรยั กนั ตามธรรมเนียมแลว้ นัง่ ลง ณ สว่ นขา้ งหน่ึง. ก็ในเวลา น้นั แล พวกปริพาชกทง้ั หลายนน้ั ก�ำ ลงั ยกขอ้ ความข้ึนกล่าวโตเ้ ถียง กันอยู่ ถึงเรอื่ งบคุ คลใด ใครกต็ าม ทยี่ งั มเี ชอ้ื เหลอื ถา้ ตายแล้ว ยอ่ มไมพ่ น้ เสยี จากนรก จากก�ำ เนดิ เดรจั ฉาน จากวสิ ยั แหง่ เปรต จาก อบาย ทุคติ วนิ ิบาต ไปได้เลยสกั คนเดยี ว ดังน.ี้ ทา่ นพระสารีบตุ ร ไม่แสดงว่าเห็นด้วย และไมค่ ดั คา้ น ข้อความของปรพิ าชกเหลา่ นัน้ , ลกุ จากทนี่ ง่ั ไป โดยคดิ วา่ ทลู ถวายพระผมู้ พี ระภาคเจ้าแล้วจักไดท้ ราบ ความข้อน.้ี คร้ันกลบั จากบณิ ฑบาต ภายหลังอาหารแลว้ จงึ เขา้ ไปเฝา้ พระผมู้ พี ระภาคเจา้ กราบทลู ถงึ เรอ่ื งราวทเ่ี กดิ ขน้ึ ในตอนเชา้ ทกุ ประการ. พระผมู้ พี ระภาคเจ้าจึงตรสั วา่ :-
1 56 พุทธวจน สารีบตุ ร ! พวกปรพิ าชกลทั ธอิ น่ื ยงั ออ่ นความรู้ ไมฉ่ ลาด จกั รไู้ ดอ้ ยา่ งไรกนั ว่า ใครมเี ช้อื เหลอื ใครไมม่ ี เชื้อเหลือ. สารบี ุตร ! บคุ คลทม่ี เี ชอ้ื (กเิ ลส) เหลอื ๙ จ�ำ พวก ดังท่ีจะกล่าวต่อไปนี้ แม้ตายไป ก็พ้นแล้วจากนรก พ้นแล้วจากกำ�เนิดเดรัจฉาน พ้นแล้วจากวิสัยแห่งเปรต พ้นแลว้ จากอบาย ทุคติ วินบิ าต. บคุ คลเกา้ จ�ำ พวกเหล่าน้ัน เปน็ อยา่ งไรเลา่ ? เกา้ จ�ำ พวก คอื :- (๑) สารบี ตุ ร ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ เป็นผู้ ท�ำ ไดเ้ ตม็ ทใ่ี นสว่ นศลี ท�ำ ไดเ้ ตม็ ทใ่ี นสว่ นสมาธิ แตท่ �ำ ได้ พอประมาณในสว่ นปญั ญา. เพราะทำ�สงั โยชน์ ๕ อย่าง ในเบอ้ื งตน้ ใหส้ น้ิ ไป, บคุ คลนน้ั เปน็ อนาคามผี จู้ ะปรนิ พิ พาน ในระหวา่ งอายยุ งั ไม่ทนั ถงึ กง่ึ . สารีบุตร ! นี้เป็นบุคคลผู้มีเชื้อเหลือพวกที่ ๑ ทเ่ี มอ่ื ตาย กพ็ น้ แลว้ จากนรก จากก�ำ เนดิ เดรจั ฉาน จากวสิ ยั แหง่ เปรต จากอบาย ทคุ ติ วนิ บิ าต.
ฉบับ ๒ คู่มือโสดาบัน 1 57 (๒) สารบี ุตร ! บคุ คลบางคนในกรณีน้ี เปน็ ผู้ ท�ำ ไดเ้ ตม็ ทใ่ี นสว่ นศลี ท�ำ ไดเ้ ตม็ ทใ่ี นสว่ นสมาธิ แตท่ �ำ ได้ พอประมาณในสว่ นปญั ญา. เพราะท�ำ สงั โยชน์ ๕ อยา่ งใน เบอ้ื งตน้ ใหส้ น้ิ ไป, บคุ คลนน้ั เปน็ อนาคามผี จู้ ะปรนิ พิ พาน เมอ่ื อายพุ น้ กง่ึ แลว้ จวนถงึ ทส่ี ดุ . สารบี ตุ ร ! นเี้ ป็นบคุ คลผมู้ ีเชอื้ เหลอื พวกที่ ๒ ทเ่ี มอ่ื ตาย กพ็ น้ แลว้ จากนรก จากก�ำ เนดิ เดรจั ฉาน จากวสิ ยั แหง่ เปรต จากอบาย ทคุ ติ วนิ บิ าต. (๓) สารีบุตร ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ เป็นผู้ ท�ำ ไดเ้ ตม็ ทใ่ี นสว่ นศลี ท�ำ ไดเ้ ตม็ ทใ่ี นสว่ นสมาธิ แตท่ �ำ ได้ พอประมาณในสว่ นปญั ญา. เพราะท�ำ สงั โยชน์ ๕ อยา่ งใน เบอ้ื งตน้ ใหส้ น้ิ ไป, บคุ คลนน้ั เปน็ อนาคามผี จู้ ะปรนิ พิ พาน โดยไมต่ อ้ งใชค้ วามเพยี รเรย่ี วแรง. สารบี ตุ ร ! นี้เป็นบุคคลผู้มีเชื้อเหลือพวกที่ ๓ ทเ่ี มอ่ื ตาย กพ็ น้ แลว้ จากนรก จากก�ำ เนดิ เดรจั ฉาน จากวสิ ยั แหง่ เปรต จากอบาย ทคุ ติ วนิ บิ าต.
1 58 พุทธวจน (๔) สารบี ุตร ! บุคคลบางคนในกรณีนี้ เป็นผู้ ท�ำ ไดเ้ ตม็ ทใ่ี นสว่ นศลี ท�ำ ไดเ้ ตม็ ทใ่ี นสว่ นสมาธิ แตท่ �ำ ได้ พอประมาณในสว่ นปญั ญา. เพราะท�ำ สงั โยชน์ ๕ อยา่ งใน เบอ้ื งตน้ ใหส้ น้ิ ไป, บคุ คลนน้ั เปน็ อนาคามผี จู้ ะปรนิ พิ พาน โดยตอ้ งใชค้ วามเพยี รเรย่ี วแรง. สารบี ตุ ร ! นี้เป็นบุคคลผู้มีเชื้อเหลือพวกที่ ๔ ทเ่ี มอ่ื ตาย กพ็ น้ แลว้ จากนรก จากก�ำ เนดิ เดรจั ฉาน จากวสิ ยั แหง่ เปรต จากอบาย ทคุ ติ วนิ บิ าต. (๕) สารบี ุตร ! บคุ คลบางคนในกรณนี ้ี เปน็ ผู้ ท�ำ ไดเ้ ตม็ ทใ่ี นสว่ นศลี ท�ำ ไดเ้ ตม็ ทใ่ี นสว่ นสมาธิ แตท่ �ำ ได้ พอประมาณในสว่ นปญั ญา. เพราะท�ำ สงั โยชน์ ๕ อยา่ ง ในเบอื้ งต้นใหส้ ้นิ ไป, บุคคลนัน้ เป็น อนาคามผี ู้มีกระแส ในเบื้องบนไปถึงอกนิฏฐภพ. สารีบุตร ! นี้เป็นบุคคลผู้มีเชื้อเหลือพวกที่ ๕ ทเ่ี มอ่ื ตาย กพ็ น้ แลว้ จากนรก จากก�ำ เนดิ เดรจั ฉาน จากวสิ ยั แหง่ เปรต จากอบาย ทคุ ติ วนิ บิ าต.
ฉบับ ๒ คู่มือโสดาบัน 1 59 (๖) สารบี ตุ ร ! บคุ คลบางคนในกรณนี ้ี เป็นผู้ ท�ำ ไดเ้ ตม็ ทใ่ี นสว่ นศลี แตท่ �ำ ไดพ้ อประมาณในสว่ นสมาธิ ท�ำ ไดพ้ อประมาณในสว่ นปญั ญา. เพราะท�ำ สงั โยชน์ ๓ อยา่ ง ให้สน้ิ ไป, และเพราะมีราคะ โทสะ โมหะ เบาบางนอ้ ยลง, เป็น สกทาคามี ยังจะมาส่เู ทวโลกนี้อีกครั้งเดยี วเทา่ น้นั แล้วกระทำ�ท่สี ุดแห่งทุกขไ์ ด.้ สารีบุตร ! นี้เป็นบุคคลผู้มีเชื้อเหลือพวกที่ ๖ ทเ่ี มอ่ื ตาย กพ็ น้ แลว้ จากนรก จากก�ำ เนดิ เดรจั ฉาน จากวสิ ยั แห่งเปรต จากอบาย ทุคติ วนิ บิ าต. (๗) สารบี ตุ ร ! บุคคลบางคนในกรณนี ้ี เปน็ ผู้ ท�ำ ไดเ้ ตม็ ทใ่ี นสว่ นศลี แตท่ �ำ ไดพ้ อประมาณในสว่ นสมาธิ ทำ�ไดพ้ อประมาณในส่วนปญั ญา. เพราะท�ำ สงั โยชน์ ๓ อยา่ งใหส้ น้ิ ไป, บุคคลนน้ั เป็น โสดาบนั ผมู้ พี ชื หนเดยี ว คอื จกั เกดิ ในภพแหง่ มนษุ ยอ์ กี หนเดยี วเทา่ นน้ั แลว้ กระท�ำ ท่สี ดุ แหง่ ทุกข์ได.้ สารบี ุตร ! นี้เป็นบุคคลผู้มีเชื้อเหลือพวกที่ ๗ ทเ่ี มอ่ื ตาย กพ็ น้ แลว้ จากนรก จากก�ำ เนดิ เดรจั ฉาน จากวสิ ยั แหง่ เปรต จากอบาย ทุคติ วนิ บิ าต.
1 60 พุทธวจน (๘) สารีบตุ ร ! บุคคลบางคนในกรณีน้ี เป็นผู้ ท�ำ ไดเ้ ตม็ ทใ่ี นสว่ นศลี แตท่ �ำ ไดพ้ อประมาณในสว่ นสมาธิ ท�ำ ไดพ้ อประมาณในสว่ นปญั ญา. เพราะท�ำ สงั โยชน์ ๓ อยา่ ง ให้สน้ิ ไป, บคุ คลผนู้ น้ั เปน็ โสดาบนั ผตู้ อ้ งทอ่ งเทย่ี วไปสสู่ กลุ อกี ๒ หรอื ๓ ครง้ั แลว้ กระท�ำ ทส่ี ดุ แหง่ ทกุ ขไ์ ด.้ สารบี ตุ ร ! นี้เป็นบุคคลผู้มีเชื้อเหลือพวกที่ ๘ ทเ่ี มอ่ื ตาย กพ็ น้ แลว้ จากนรก จากก�ำ เนดิ เดรจั ฉาน จากวสิ ยั แหง่ เปรต จากอบาย ทคุ ติ วนิ บิ าต. (๙) สารีบตุ ร ! บุคคลบางคนในกรณนี ี้ เป็นผู้ ท�ำ ไดเ้ ตม็ ทใ่ี นสว่ นศลี แตท่ �ำ ไดพ้ อประมาณในสว่ นสมาธิ ท�ำ ไดพ้ อประมาณในสว่ นปญั ญา. เพราะท�ำ สงั โยชน์ ๓ อยา่ ง ใหส้ น้ิ ไป, บคุ คลนน้ั เปน็ โสดาบนั ผตู้ อ้ งเทย่ี วไปในเทวดา และมนุษยอ์ ีก ๗ ครัง้ เปน็ อย่างมาก แล้วกระท�ำ ท่สี ุด แหง่ ทกุ ข์ได้. สารีบตุ ร ! นี้เป็นบุคคลผู้มีเชื้อเหลือพวกที่ ๙ ทเ่ี มอ่ื ตาย กพ็ น้ แลว้ จากนรก จากก�ำ เนดิ เดรจั ฉาน จากวสิ ยั แหง่ เปรต จากอบาย ทคุ ติ วนิ บิ าต.
ฉบับ ๒ คู่มือโสดาบัน 1 61 สารีบุตร ! ปริพาชกลัทธิอื่น ยังอ่อนความรู้ ไม่ฉลาด จักรูไ้ ด้อย่างไรกนั วา่ ใครมเี ชอ้ื เหลือ ใครไมม่ ี เชื้อเหลือ. สารีบุตร ! บุคคลเหล่าน้ีแล ท่ีมีเชื้อเหลือ ๙ จ�ำ พวก เม่ือตายไป กพ็ ้นแลว้ จากนรก จากกำ�เนดิ เดรจั ฉาน จากวสิ ัยแห่งเปรต จากอบาย ทุคติ วนิ ิบาต. สารีบุตร ! ธรรมปริยายข้อน้ี ยังไม่เคยแสดง ให้ปรากฏ แกห่ ม่ภู ิกษุ ภกิ ษุณี อบุ าสก อบุ าสิกาทั้งหลาย มาแต่กาลก่อน. ขอ้ นน้ั เพราะเหตุไรเลา่ ? เพราะเราเหน็ วา่ ถา้ เขาเหลา่ นน้ั ไดฟ้ งั ธรรมปรยิ าย ข้อนี้แลว้ จกั พากันเกดิ ความประมาท; อน่ึงเล่า ธรรมปริยายเช่นนี้ เป็นธรรมปริยาย ที่เรากลา่ ว ต่อเม่ือถกู ถามเจาะจงเทา่ น้ัน; ดังนี้ แล. นวก. อํ. ๒๓/๓๙๑-๓๙๖/๒๑๖.
1 62 พุทธวจน ๔๐ ผลแปดประการอนั เปน็ ภาพรวม ของความเปน็ พระโสดาบนั ภิกษทุ ัง้ หลาย ! ถกู แลว้ ! เมือ่ เป็นอยา่ งนี้กเ็ ปน็ อนั ว่า พวกเธอท้งั หลายก็กลา่ วอย่างนัน้ , แมเ้ ราตถาคตกก็ ลา่ วอย่างนน้ั , ว่า “เมื่อสิ่งนี้ไม่มี, สิ่งนี้ย่อมไม่มี; เพราะสิ่งนี้ดับ, สิ่งนี้ย่อมดับ;1 1. คำ�บาลีของประโยคนม้ี ีว่า “อิมสมฺ ึ อสติ อิทํ น โหต;ิ อิมสสฺ นโิ รธา อิทํ นิรุชฌฺ ต”ิ เป็นการอธิบายล�ำ ดับเหตุในการดบั ไปแห่งระบบสมมุติ (คอื ระบบธรรมชาตทิ ม่ี ีการเกดิ , แก,่ ตาย ทกุ สิง่ ทัง้ รูปและนาม).
ฉบับ ๒ คู่มือโสดาบัน 1 63 กล่าวคอื เพราะมคี วามดบั แหง่ อวชิ ชา จงึ มคี วามดบั แหง่ สงั ขาร; เพราะมคี วามดบั แหง่ สงั ขาร จงึ มคี วามดบั แหง่ วญิ ญาณ; เพราะมคี วามดบั แหง่ วญิ ญาณ จึงมีความดับแห่งนามรูป; เพราะมคี วามดบั แหง่ นามรปู จงึ มคี วามดบั แหง่ สฬายตนะ; เพราะมคี วามดบั แหง่ สฬายตนะ จงึ มคี วามดบั แหง่ ผสั สะ; เพราะมคี วามดบั แหง่ ผสั สะ จงึ มคี วามดบั แหง่ เวทนา; เพราะมคี วามดบั แหง่ เวทนา จงึ มคี วามดบั แหง่ ตณั หา; เพราะมคี วามดบั แหง่ ตณั หา จงึ มคี วามดบั แหง่ อปุ าทาน; เพราะมคี วามดบั แหง่ อปุ าทาน จงึ มคี วามดบั แหง่ ภพ; เพราะมคี วามดบั แหง่ ภพ จงึ มคี วามดบั แหง่ ชาต;ิ เพราะมีความดับแห่งชาตินั่นแล ชรามรณะ โสกะปริเทวะทุกขะโทมนัสอุปายาสทั้งหลาย จึงดบั สน้ิ : ความดบั ลงแหง่ กองทกุ ขท์ ง้ั สน้ิ น้ี ยอ่ มมดี ว้ ยอาการอยา่ งน”้ี . (๑) ภกิ ษุทัง้ หลาย ! จะเปน็ ไปไดไ้ หมวา่ พวกเธอ เมอ่ื รอู้ ยอู่ ยา่ งน้ี เหน็ อยอู่ ยา่ งน้ี จงึ พงึ แลน่ ไปสู่ ทฏิ ฐอิ นั ปรารภ ทส่ี ดุ ในเบอ้ื งตน้ (ความเหน็ ทน่ี กึ ถงึ ขนั ธใ์ นอดตี ) วา่ “ในกาลยดื ยาว นานฝา่ ยอดตี เราไดม้ แี ลว้ หรอื หนอ; เราไมไ่ ดม้ แี ลว้ หรอื หนอ;
1 64 พุทธวจน เราได้เป็นอะไรแล้วหนอ; เราได้เป็นอย่างไรแล้วหนอ; เราเปน็ อะไรแล้ว จงึ ไดเ้ ป็นอะไรอกี แลว้ หนอ”; ดงั น้ี ? “ข้อนัน้ หามไิ ด้ พระเจา้ ข้า !”. (๒) ภิกษทุ ง้ั หลาย ! หรอื วา่ จะเปน็ ไปไดไ้ หมวา่ พวกเธอ เม่ือรู้อยู่อยา่ งนี้ เห็นอยอู่ ย่างนี้ จะพงึ แลน่ ไปสู่ ทฏิ ฐิอนั ปรารภทส่ี ดุ ในเบือ้ งปลาย (ความเห็นทีน่ กึ ถึงขนั ธ์ ในอนาคต) ว่า “ในกาลยืดยาวนานฝ่ายอนาคต เราจกั มี หรอื หนอ; เราจกั ไมม่ หี รือหนอ; เราจักเป็นอะไรหนอ; เราจักเปน็ อยา่ งไรหนอ; เราเป็นอะไรแล้ว จกั เป็นอะไร ต่อไปหนอ”; ดงั น้ี ? “ข้อนัน้ หามิได้ พระเจา้ ขา้ !”. (๓) ภกิ ษุทัง้ หลาย ! หรอื วา่ จะเปน็ ไปไดไ้ หมวา่ พวกเธอ เมอ่ื รอู้ ยอู่ ยา่ งน้ี เหน็ อยอู่ ยา่ งน้ี จะพงึ เปน็ ผมู้ คี วาม สงสยั เกย่ี วกบั ตน ปรารภกาลอนั เปน็ ปจั จบุ นั ในกาลนว้ี า่ “เรามอี ยหู่ รอื หนอ; เราไมม่ อี ยหู่ รอื หนอ; เราเปน็ อะไรหนอ; เราเปน็ อยา่ งไรหนอ; สตั วน์ ม้ี าจากทไ่ี หน แลว้ จกั เปน็ ผไู้ ป สทู่ ไ่ี หนอกี หนอ”; ดงั น้ี ? “ขอ้ นั้น หามไิ ด้ พระเจ้าข้า !”. (๔) ภกิ ษทุ ้งั หลาย ! หรอื วา่ จะเปน็ ไปไดไ้ หมวา่ พวกเธอ เมอ่ื รอู้ ยอู่ ยา่ งน้ี เหน็ อยอู่ ยา่ งน้ี แลว้ จะพงึ กลา่ ววา่
ฉบับ ๒ คู่มือโสดาบัน 1 65 “พระศาสดาเปน็ ครูของพวกเรา ดงั นน้ั พวกเราต้อง กลา่ วอยา่ งทท่ี า่ นกลา่ ว เพราะความเคารพในพระศาสดา นน่ั เทยี ว” ดงั น้ี ? “ข้อนัน้ หามิได้ พระเจ้าข้า !”. (๕) ภิกษุทั้งหลาย ! หรอื วา่ จะเปน็ ไปไดไ้ หมวา่ พวกเธอ เมอ่ื รอู้ ยอู่ ยา่ งน้ี เหน็ อยอู่ ยา่ งน้ี แลว้ จะพงึ กลา่ ววา่ “พระสมณะ (พระพุทธองค์) กล่าวแล้วอย่างน;้ี แต่ สมณะทั้งหลายและพวกเราจะกล่าวอยา่ งอนื่ ” ดังน้ี ? “ข้อนนั้ หามไิ ด้ พระเจ้าขา้ !”. (๖) ภกิ ษุทัง้ หลาย ! หรอื วา่ จะเปน็ ไปไดไ้ หมวา่ พวกเธอ เมื่อรูอ้ ยอู่ ย่างน้ี เหน็ อยอู่ ยา่ งนี้ จะพงึ ประกาศ การนบั ถอื ศาสดาอ่ืน ? “ข้อนนั้ หามิได้ พระเจา้ ข้า !”. (๗) ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! หรอื วา่ จะเปน็ ไปไดไ้ หมวา่ พวกเธอ เม่อื รอู้ ยูอ่ ยา่ งนเี้ หน็ อยู่อยา่ งน้ี จะพึงเวียนกลบั ไปสู่การประพฤติซ่ึงวัตตโกตูหลมงคลท้ังหลายตาม แบบของสมณพราหมณ์ทั้งหลายเหล่าอื่นเป็นอันมาก โดยความเป็นสาระ ? “ขอ้ น้นั หามิได้ พระเจา้ ข้า !”.
1 66 พุทธวจน (๘) ภกิ ษุทั้งหลาย ! พวกเธอ จะกล่าวแตส่ ิง่ ที่ พวกเธอรเู้ อง เหน็ เอง รู้สกึ เองแลว้ เทา่ น้ัน มใิ ชห่ รือ ? “อย่างน้นั พระเจ้าขา้ !”. ภกิ ษุทง้ั หลาย ! ถูกแลว้ . ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! พวกเธอท้งั หลาย เปน็ ผทู้ เี่ ราน�ำ ไปแลว้ ดว้ ยธรรมน้ี อนั เปน็ ธรรมทบ่ี คุ คลจะพงึ เหน็ ไดด้ ว้ ยตนเอง (สนทฺ ฏิ โิ ก), เป็นธรรมใหผ้ ลไม่จำ�กดั กาล (อกาลิโก), เป็นธรรมที่ควรเรยี กกนั มาดู (เอหปิ สฺสิโก), ควรน้อมเขา้ มาใสต่ ัว (โอปนยิโก), อันวิญญชู นจะพึงรไู้ ด้เฉพาะตน (ปจจฺ ตตฺ ํ เวทติ พโฺ พวญิ ญฺ หู )ิ . ภิกษุทั้งหลาย ! คำ�นี้เรากล่าวแล้ว หมายถึง ค�ำ ท่เี ราได้เคยกล่าวไวแ้ ล้วว่า “ภิกษทุ ั้งหลาย ! ธรรมน้ี เป็นธรรมที่บุคคลจะพึงเห็นได้ด้วยตนเอง เป็นธรรม ให้ผลไม่จำ�กัดกาล เป็นธรรมท่ีควรเรียกกันมาดู ควรนอ้ มเขา้ มาใสต่ น อนั วญิ ญชู นจะพงึ รไู้ ดเ้ ฉพาะตน” ดงั นี้. ม.ู ม. ๑๒/๔๘๓-๔๘๕/๔๕๐-๔๕๑.
ฉบับ ๒ คู่มือโสดาบัน 1 67 ๔๑ ระวงั ตายคาประตนู พิ พาน ! สนุ ักขตั ตะ ! ขอ้ นเ้ี ปน็ ฐานะทม่ี ไี ด้ คอื จะมภี กิ ษุ บางรูปในกรณีน้ี มีความเข้าใจของตน มคี วามหมาย อนั สรุปได้อย่างน้ี เปน็ ต้นวา่ “ตณั หาน้ัน สมณะกลา่ วกนั ว่า เปน็ ลกู ศร, โทษอนั มพี ษิ ของอวชิ ชา ยอ่ มงอกงาม เพราะฉนั ทราคะและ พยาบาท, ลกู ศร คอื ตณั หานน้ั เราละไดแ้ ลว้ , โทษอนั มพี ษิ ของอวชิ ชา เรากน็ �ำ ออกไปหมดแลว้ เราเปน็ ผนู้ อ้ มไปแลว้ ในนพิ พานโดยชอบ” ดังนี้. แต่เธอนั้นย่อมตามประกอบซึ่งธรรมทั้งหลาย อันไม่เป็นท่สี บายแก่ผ้นู ้อมไปแล้วในนิพพานโดยชอบ; คอื ตามประกอบซง่ึ ธรรมอนั ไมเ่ ปน็ ทส่ี บาย ในการเหน็ รปู ดว้ ยตา ฟังเสยี งด้วยหู ดมกลิ่นด้วยจมกู ล้มิ รสด้วยลน้ิ ถูกต้องโผฏฐัพพะด้วยกาย รู้สึกธรรมารมณ์ด้วยใจ อันล้วนไม่เป็นที่สบาย. เม่ือเธอตามประกอบซึ่งธรรม อันไม่เป็นที่สบายเหล่านี้ อยู่, ราคะย่อมเสียบแทงจิต ของเธอ. เธอมจี ติ อนั ราคะเสยี บแทงแลว้ ยอ่ มถงึ ความตาย หรือความทุกขเ์ จยี นตาย.
1 68 พุทธวจน สนุ กั ขัตตะ ! เปรียบเหมือนบุรุษถูกยิงด้วย ลูกศรอนั อาบไว้ด้วยยาพิษอยา่ งแรงกลา้ . มิตรอ�ำ มาตย์ ญาตสิ าโลหติ ของเขา จดั หาหมอผา่ ตดั มารกั ษา หมอไดใ้ ช้ ศสั ตราช�ำ แหละปากแผลของเขา แลว้ ใชเ้ ครอ่ื งตรวจคน้ หา ลูกศร พบแลว้ ถอนลูกศรออก ก�ำ จดั โทษอนั เป็นพษิ ทย่ี งั มเี ชอ้ื เหลอื ตดิ อยู่ จนรวู้ า่ ไมม่ เี ชอ้ื เหลอื ตดิ อยแู่ ลว้ กลา่ วแกเ่ ขา อย่างนี้ว่า “บรุ ษุ ผเู้ จรญิ ! ลกู ศรถกู ถอนออกแลว้ , โทษอนั เปน็ พษิ เรานำ�ออกจนไมม่ เี ชือ้ เหลืออยูแ่ ลว้ , ทา่ นไมม่ อี ันตรายอีกแลว้ . และ ทา่ นจะบรโิ ภคอาหารไดต้ ามสบาย แตอ่ ยา่ ไปกนิ อาหารชนดิ ทไ่ี มส่ บาย แกแ่ ผลอันจะทำ�ให้แผลอักเสบ และจงลา้ งแผลตามเวลา ทายาท่ี ปากแผลตามเวลา, เมอ่ื ทา่ นลา้ งแผลตามเวลา ทายาทป่ี ากแผลตามเวลา อย่าให้หนองและเลอื ดเกรอะกรังปากแผล, และทา่ นอย่าเท่ียวตากลม ตากแดด, เมอ่ื เทย่ี วตากลมตากแดด, กอ็ ยา่ ใหฝ้ นุ่ ละอองและของโสโครก เข้าไปในปากแผล. บุรุษผู้เจริญ ! ท่านจงเป็นผู้ระวังรักษาแผล มเี รอ่ื งแผลเปน็ เรอ่ื งส�ำ คญั เถอะนะ” ดงั น.้ี บรุ ษุ นน้ั มคี วามคดิ วา่ “หมอถอนลกู ศรใหเ้ ราเสรจ็ แลว้ โทษอนั เป็นพษิ หมอก็น�ำ ออกจนไมม่ เี ชื้อเหลืออยู่แล้ว เราหมดอนั ตราย” เขาจงึ บรโิ ภคโภชนะทแ่ี สลง, เมอ่ื บรโิ ภค โภชนะทแี่ สลง แผลกก็ �ำ เริบ, และเขาไม่ชะแผลตามเวลา ไม่ทายาท่ีปากแผลตามเวลา, เม่อื เขาไมช่ ะแผลตามเวลา
ฉบับ ๒ คู่มือโสดาบัน 1 69 ไมท่ ายาท่ปี ากแผลตามเวลา หนองและเลอื ดกเ็ กรอะกรัง ปากแผล, และเขาเทย่ี วตากลมตากแดด ปลอ่ ยใหฝ้ นุ่ ละออง ของโสโครกเข้าไปในปากแผล, และเขาไมร่ ะวงั รักษาแผล ไมม่ เี รอ่ื งแผลเปน็ เรอ่ื งส�ำ คญั . เขาน�ำ โทษพษิ อนั ไมส่ ะอาด ออกไปด้วยการกระท�ำ อนั ไม่ถกู ตอ้ งเหล่าน้ี แผลจงึ มเี ชอื้ เหลืออยู่, แผลกบ็ วมขนึ้ เพราะเหตทุ ัง้ สองน้ัน. บุรษุ นนั้ มแี ผลบวมแล้ว กถ็ ึงซึ่งความตายบา้ ง หรอื ความทุกข์ เจียนตายบ้าง น้ีฉนั ใด; สนุ ักขัตตะ ! ขอ้ นี้กฉ็ นั น้นั เหมอื นกนั คือ ขอ้ ท่ี ภกิ ษบุ างรปู ส�ำ คญั ตนวา่ นอ้ มไปแลว้ ในนพิ พานโดยชอบ... แต่ตามประกอบในธรรมไม่เป็นท่ีสบายแก่การน้อมไป ในนิพพานโดยชอบ... ราคะก็เสียบแทงจิตของเธอ. เธอมีจิตอันราคะเสียบแทงแล้ว ย่อมถึงความตาย หรือความทุกข์เจียนตาย. สุนักขัตตะ ! ในอริยวินัยนี้ ความตายหมายถึงการบอกคนื สิกขา เวียนไปสู่เพศต�่ำ ; ความทกุ ขเ์ จยี นตายหมายถงึ การตอ้ งอาบตั ิ อนั เศรา้ หมอง อย่างใดอย่างหนง่ึ แล. อุปร.ิ ม. ๑๔/๖๖-๖๙/๗๖.
1 70 พุทธวจน (ภกิ ษใุ นกรณนี ้ี มกี ารศกึ ษาดี ตง้ั ความปรารถนาดี แตม่ คี วามเขา้ ใจผดิ เกย่ี วกบั ตนเองและธรรมะ; คอื เขา้ ใจไปวา่ ลกู ศร คอื ตณั หาเปน็ สง่ิ ทล่ี ะได้ โดยไมต่ อ้ งถอน อวชิ ชาเปน็ สง่ิ ทเ่ี หวย่ี งทง้ิ ไปไดโ้ ดยไมต่ อ้ งก�ำ จดั ตดั ราก; และเขา้ ใจตวั เองวา่ น้อมไปแลว้ สนู่ ิพพานโดยชอบดงั นี้ แต่แล้วก็มา กระทำ�ผิดในสิ่งทีไ่ ม่เปน็ ที่สบายแก่การน้อมไปในนพิ พานนัน้ ทง้ั ทาง ตา หู จมูก ลิน้ กาย ใจ จนราคะเกดิ ขึ้นเสยี บแทงถงึ แก่ความตาย ในอริยวินยั , จึงเรียกว่า เขาล้มลงตายตรงหน้าประตแู หง่ พระนพิ พาน นน่ั เอง).
ฉบับ ๒ คู่มือโสดาบัน 1 71 ๔๒ ธรรมเปน็ เครอ่ื งอยขู่ องพระอรยิ เจา้ ภกิ ษุทั้งหลาย ! การอยู่แบบพระอริยเจ้า ซึ่ง พระอรยิ เจา้ ทง้ั หลาย ไดอ้ ยมู่ าแลว้ กด็ ี ก�ำ ลงั อยใู่ นบดั นก้ี ด็ ี จักอยู่ตอ่ ไปก็ดี มเี คร่อื งอยสู่ ิบประการเหล่าน้.ี สบิ ประการ อะไรบ้างเลา่ ? สบิ ประการ คอื :- ภกิ ษทุ ัง้ หลาย ! ภกิ ษใุ นกรณนี ้ี เปน็ ผู้ละองคห์ ้าได้ขาด, เปน็ ผปู้ ระกอบพรอ้ มดว้ ยองคห์ ก, เป็นผู้มีอารักขาอย่างเดยี ว, เป็นผู้มีพนกั พงิ ส่ดี ้าน, เปน็ ผถู้ อนความเหน็ วา่ จรงิ ดง่ิ ไปคนละทางขน้ึ เสยี แลว้ , เปน็ ผลู้ ะการแสวงหาสิ้นเชิงแลว้ , เปน็ ผมู้ คี วามดำ�รอิ นั ไม่ข่นุ มัว, เป็นผมู้ กี ายสงั ขารอันสงบรำ�งบั แลว้ , เป็นผู้มจี ิตหลุดพน้ ดว้ ยดี, เปน็ ผู้มปี ัญญาในความหลดุ พ้นด้วยด.ี
1 72 พุทธวจน (๑) ภกิ ษุเป็นผู้ละองค์ห้าได้ขาด เป็นอย่างไรเล่า ? ภกิ ษใุ นกรณนี ้ี เปน็ ผลู้ ะกามฉนั ทะ, ละพยาบาท, ละถนี มทิ ธะ, ละอทุ ธจั จกกุ กจุ จะ และละวจิ กิ จิ ฉาไดแ้ ลว้ . ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ภกิ ษอุ ยา่ งน้ี ชอ่ื วา่ เปน็ ผลู้ ะองคห์ า้ ไดข้ าด. (๒) ภกิ ษเุ ปน็ ผู้ประกอบพรอ้ มด้วยองคห์ ก เปน็ อยา่ งไรเลา่ ? ภกิ ษใุ นกรณนี ้ี ไดเ้ หน็ รปู ดว้ ยตา, ไดฟ้ งั เสยี งดว้ ยห,ู ไดด้ มกลน่ิ ดว้ ยจมกู , ไดล้ ม้ิ รสดว้ ยลน้ิ , ไดส้ มั ผสั โผฏฐพั พะ ดว้ ยกาย และไดร้ ธู้ รรมารมณด์ ว้ ยใจแลว้ กเ็ ปน็ ผไู้ มด่ ใี จ ไม่ เสยี ใจ มอี เุ บกขา มสี ติ มสี มั ปชญั ญะอยไู่ ด.้ ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ภกิ ษอุ ยา่ งน้ี ชอ่ื วา่ เปน็ ผปู้ ระกอบพร้อมด้วยองคห์ ก. (๓) ภิกษุเปน็ ผ้มู ีอารกั ขาอยา่ งเดยี ว เปน็ อยา่ งไรเล่า ? ภิกษุในกรณีนี้ ประกอบการรักษาจิตด้วยสติ. ภิกษุท้ังหลาย ! ภกิ ษอุ ยา่ งน้ี ช่อื ว่ามีอารกั ขาอยา่ งเดยี ว.
ฉบับ ๒ คู่มือโสดาบัน 1 73 (๔) ภกิ ษเุ ป็นผู้มพี นกั พงิ ส่ดี า้ น เปน็ อย่างไรเลา่ ? ภกิ ษุในกรณีนี้ พิจารณาแล้วเสพของสิ่งหนึ่ง, พจิ ารณาแล้วอดกลนั้ ของส่ิงหนึ่ง, พิจารณาแลว้ เว้นขาด ของสิ่งหนึ่ง, พิจารณาแล้วบรรเทาของสิ่งหนึ่ง. ภิกษุ ทั้งหลาย ! ภกิ ษุอย่างน้ี ชอ่ื วา่ เป็นผมู้ ีพนกั พิงส่ดี ้าน.1 (๕) ภิกษุเป็นผู้ถอนความเห็นว่าจริงด่ิงไป คนละทางข้นึ เสยี แลว้ เป็นอย่างไรเล่า ? ภิกษใุ นกรณนี ้ี เปน็ ผู้ถอน สละ คาย ปลอ่ ย ละ ทิ้งเสียแล้ว ซึ่งความเห็นว่าจริงดิ่งไปคนละทางมากอย่าง ของเหล่าสมณพราหมณ์มากผู้ด้วยกัน ที่มีความเห็นว่า “โลกเที่ยง บ้าง, โลกไม่เที่ยง บ้าง, โลกมีที่สุด บ้าง, โลกไม่มีที่สุด บ้าง, ชีวะก็อันนั้น สรีระก็อันนั้น บ้าง, ชีวะก็อันอื่น สรีระก็อันอื่น บ้าง, ตถาคตภายหลังแต่ การตาย ย่อมมีอีก บ้าง, ตถาคตภายหลังแต่การตาย ยอ่ มไมม่ อี กี บ้าง, ตถาคตภายหลงั แตก่ ารตาย ยอ่ มมอี ีก 1. การพจิ ารณาแลว้ เสพ อดกลน้ั งดเวน้ บรรเทา หาดรู ายละเอยี ดทต่ี รสั ไวไ้ ด้ ในหนงั สืออรยิ สัจจากพระโอษฐ์ภาคตน้ หน้า ๖๓๐-๖๓๓.
1 74 พุทธวจน กม็ ี ไมม่ อี กี กม็ ี บา้ ง, ตถาคตภายหลงั แตก่ ารตาย ยอ่ มมอี กี ก็หามไิ ด้ ไมม่ อี ีกก็หามิได้ บา้ ง. ภกิ ษทุ ้งั หลาย ! ภิกษุ อย่างนี้ ชื่อว่าเป็นผู้ถอนความเห็นว่าจริงดิ่งไปคนละทาง ขนึ้ เสียแล้ว. (๖) ภิกษุเป็นผลู้ ะการแสวงหาสนิ้ เชิงแล้ว เปน็ อย่างไรเล่า ? ภิกษุในกรณีนี้ เป็นผู้ละการแสวงหากามแล้ว, เปน็ ผลู้ ะการแสวงหาภพแลว้ , และการแสวงหาพรหมจรรย์ ของเธอน้ันก็ระงบั ไปแล้ว. ภิกษทุ ้ังหลาย ! ภกิ ษุอย่างน้ี ช่อื วา่ เป็นผ้ลู ะการแสวงหาสนิ้ เชงิ แล้ว. (๗) ภิกษุเปน็ ผู้มคี วามดำ�ริไมข่ ่นุ มัว เป็นอยา่ งไรเล่า ? ภิกษุในกรณีนี้ เป็นผ้ลู ะความด�ำ รใิ นทางกาม เสยี แลว้ , เปน็ ผลู้ ะความด�ำ รใิ นทางพยาบาทเสยี แลว้ , และเปน็ ผลู้ ะความด�ำ รใิ นทางเบยี ดเบยี นเสยี แลว้ . ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ภกิ ษุอยา่ งน้ี ชื่อวา่ เป็นผมู้ ีความดำ�ริไมข่ ่นุ มวั . (๘) ภกิ ษเุ ปน็ ผมู้ กี ายสงั ขารอนั สงบร�ำ งบั แลว้ เปน็ อยา่ งไรเลา่ ?
ฉบับ ๒ คู่มือโสดาบัน 1 75 ภกิ ษุในกรณีนี้เพราะละสุขเสียได้ เพราะละทกุ ข์ เสยี ได้ และเพราะความดบั หายไปแหง่ โสมนสั และโทมนัส ในกาลกอ่ นจึงบรรลฌุ านที่ ๔ อันไมม่ ีทุกขแ์ ละสขุ มีแต่ ความทส่ี ตเิ ปน็ ธรรมชาตทิ บ่ี รสิ ทุ ธเ์ิ พราะอเุ บกขา แลว้ แลอย.ู่ ภิกษุทั้งหลาย ! ภิกษุอย่างนี้ ชื่อว่าเป็นผู้มีกายสังขาร อนั สงบร�ำ งบั แล้ว. (๙) ภกิ ษเุ ป็นผมู้ ีจิตหลุดพน้ ด้วยดี เปน็ อย่างไรเล่า ? ภกิ ษใุ นกรณนี ้ี เปน็ ผมู้ จี ติ หลดุ พน้ แลว้ จากราคะ จากโทสะ จากโมหะ. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ภกิ ษอุ ยา่ งน้ี ชอ่ื วา่ เปน็ ผู้มจี ิตหลดุ พน้ ด้วยดี. (๑๐) ภกิ ษเุ ปน็ ผมู้ ปี ญั ญาในความหลดุ พน้ ดว้ ยดี เปน็ อยา่ งไรเลา่ ? ภกิ ษใุ นกรณนี ้ี ยอ่ มรชู้ ดั วา่ “เราละ ราคะ โทสะ โมหะ เสยี แลว้ ถอนขน้ึ ไดก้ ระทง่ั ราก ท�ำ ใหเ้ หมอื นตาลยอดเนา่ ไมใ่ หม้ ี ไม่ให้เกิดได้อีกต่อไป” ดงั น้.ี ภกิ ษุทงั้ หลาย ! ภิกษอุ ยา่ งนี้ ชอ่ื วา่ เป็นผมู้ ีปัญญาในความหลดุ พ้นดว้ ยด.ี
1 76 พุทธวจน ภกิ ษุท้ังหลาย ! ในกาลยดื ยาวฝา่ ย อดตี พระ- อรยิ เจา้ เหลา่ ใดเหลา่ หนง่ึ ไดเ้ ปน็ อยแู่ ลว้ อยา่ งพระอรยิ เจา้ ; พระอรยิ เจา้ ทง้ั หมดเหลา่ นน้ั กไ็ ดเ้ ปน็ อยแู่ ลว้ ในการอยอู่ ยา่ ง พระอรยิ เจ้าสบิ ประการน้ีเหมือนกัน. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ในกาลยดื ยาวฝา่ ย อนาคต พระ- อริยเจ้าเหล่าใดเหล่าหนึ่ง จักเป็นอยู่อย่างพระอริยเจ้า; พระอริยเจ้าทั้งหมดเหล่านั้น ก็จักเป็นอยู่ในการอยู่อย่าง พระอริยเจ้าสิบประการนี้เหมือนกัน. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ในกาล บดั น้ี พระอรยิ เจา้ เหลา่ ใด เหลา่ หนง่ึ ก�ำ ลงั เปน็ อยอู่ ยา่ งพระอรยิ เจา้ ; พระอรยิ เจา้ ทง้ั หมด เหลา่ นน้ั กก็ �ำ ลงั เปน็ อยใู่ นการอยอู่ ยา่ งพระอรยิ เจา้ สบิ ประการ นเ้ี หมอื นกนั . ภิกษุทั้งหลาย ! การอยู่แบบพระอริยเจ้า ซึ่ง พระอริยเจ้าทั้งหลายไดอ้ ยู่มาแล้วกด็ ี กำ�ลงั อยใู่ นบัดนี้ก็ดี จกั อยูต่ ่อไปกด็ ี มีเคร่อื งอยู่สิบประการเหล่านีแ้ ล. ทสก. อ.ํ ๒๔/๓๑-๓๔/๒๐.
ฉบับ ๒ คู่มือโสดาบัน 1 77 ๔๓ ผสู้ ามารถละอาสวะทง้ั หลาย ในสว่ นทล่ี ะไดด้ ว้ ยการเหน็ ภิกษทุ ั้งหลาย ! อริยสาวกผู้มีการสดับ ได้เห็น พระอริยเจ้า ฉลาดในธรรมของพระอริยเจ้า ได้รับ การแนะนำ�ในธรรมของพระอริยเจ้า ได้เห็นสัปบุรุษ ฉลาดในธรรมของสัปบุรุษ ได้รับการแนะนำ�ในธรรม ของสัปบุรุษ, ย่อมรู้ชัด ซึ่งธรรมท้ังหลายท่ีควรกระทำ� ไว้ในใจ และไมค่ วรกระท�ำ ไวใ้ นใจ. อริยสาวกนั้น รู้ชัดอยู่ซึ่งธรรมทั้งหลายที่ควร กระทำ�ไว้ในใจและไม่ควรกระทำ�ไว้ในใจ, ท่านย่อม ไม่กระท�ำ ไวใ้ นใจซง่ึ ธรรมทง้ั หลายทไ่ี มค่ วรกระท�ำ ไวใ้ นใจ, จะกระทำ�ไว้ในใจแต่ธรรมท้ังหลายท่ีควรกระทำ�ไว้ในใจ เทา่ นั้น. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ธรรมท้งั หลายอันไม่ควรกระทำ�ไว้ ในใจ ทอ่ี รยิ สาวกทา่ นไมก่ ระท�ำ ไวใ้ นใจนน้ั เปน็ อยา่ งไรเลา่ ?
1 78 พุทธวจน ภกิ ษุทั้งหลาย ! เมื่อบุคคลกระทำ�ไว้ในใจซึ่ง ธรรมเหลา่ ใด อย,ู่ กามาสวะ ภวาสวะ หรอื อวชิ ชาสวะ กต็ าม ทย่ี งั ไมเ่ กดิ ยอ่ มเกดิ ขน้ึ หรอื ทเ่ี กดิ ขน้ึ แลว้ ยอ่ มเจรญิ ย่งิ ข้ึน; ธรรมเหลา่ นแ้ี ล เปน็ ธรรมทไ่ี มค่ วรกระท�ำ ไวใ้ นใจ ซง่ึ อรยิ สาวก ท่านไมก่ ระท�ำ ไว้ในใจ. ภกิ ษทุ ั้งหลาย ! ธรรมทั้งหลาย อันเป็นธรรม ที่ควรกระทำ�ไว้ในใจ ที่อริยสาวกท่านกระทำ�ไว้ในใจนั้น เป็นอยา่ งไรเล่า ? ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! กามาสวะ ภวาสวะ หรอื อวชิ ชาสวะ ก็ตาม ที่ยังไม่เกิดย่อมไม่เกิดขึ้น หรือที่เกิดขึ้นแล้ว ยอ่ มละไป แกบ่ คุ คลผกู้ ระท�ำ ซง่ึ ธรรมเหลา่ ใดไวใ้ นใจ อย;ู่ ธรรมเหลา่ นแ้ี ล เปน็ ธรรมทค่ี วรกระท�ำ ไวใ้ นใจ ซง่ึ อรยิ สาวก ท่านกระทำ�ไว้ในใจ. เพราะอริยสาวกนน้ั ไม่กระทำ�ไว้ในใจ ซึ่งธรรมทั้งหลายที่ไม่ควร กระท�ำ ไวใ้ นใจ แตม่ ากระทำ�ไว้ในใจ ซึ่งธรรมทั้งหลายที่ควร กระทำ�ไว้ในใจเท่านั้น,
ฉบับ ๒ คู่มือโสดาบัน 1 79 อาสวะทั้งหลายที่ยงั ไมเ่ กิด จึงไมเ่ กดิ ขนึ้ และ อาสวะทง้ั หลายที่เกิดข้ึนแล้ว ยอ่ มละไป. อรยิ สาวกนน้ั ย่อม กระทำ�ไว้ในใจโดยแยบคาย ว่า “ทุกข์เป็นอย่างนี้, เหตุให้เกิดทุกข์เป็นอย่างนี้, ความดบั ไมเ่ หลอื แหง่ ทกุ ขเ์ ปน็ อยา่ งน,้ี ทางด�ำ เนนิ ใหถ้ งึ ซึ่งความดบั ไมเ่ หลอื แห่งทุกข์เปน็ อยา่ งน้ี” ดงั น้ี. เมื่ออริยสาวกนี้ กระทำ�ไว้ในใจโดยแยบคายอยู่ อย่างนี้, สังโยชน์สาม คือ สักกายทิฏฐิ วิจิกิจฉา สีลัพพตปรามาส ยอ่ มละไป. ภกิ ษทุ ้งั หลาย ! นีเ้ รากล่าวว่า อาสวะท้งั หลายจะพึงละเสียด้วยการเห็น. ม.ู ม. ๑๒/๑๒-๑๖/๑๒.
1 80 พุทธวจน
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288