Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Knowledge Leader

Knowledge Leader

Published by KM-INNOVATION, 2019-05-03 05:05:55

Description: Knowledge Leader คุณเอนก เอกนิคม

Search

Read the Text Version

KLENAODWELREDGE คณุเอนกเอกนิคม อดตีผอู้าํนวยการอาวุโส ฝ่ายเทคนคิและความปลอดภัย อาชีวอนามยัและสิง่แวดลอ้ม กลุม่ธุรกจิโรงกลัน่และการคา้นามัน บริษทับางจากคอร์ปอเรชัน่จํากัด(มหาชน)

Knowledge Leader คณุ เอนก เอกนิคม



เราเป็น“นกั โตค้ ล่นื ”ดว้ ยปั ญหาทเี่ ราตอ้ งเผชญิ อยทู่ กุ วนั ทจี่ ะตอ้ งจัดการแกไ้ ขให้ได้ กเ็ หมอื นกบั คล่นื ทโี่ ถมเขา้ หาเรา อยา่ งตอ่ เน่อื งถ้าเราสามารถแกป้ ั ญหาได้ เรากเ็ หมอื นกบั นกั โตค้ ล่นื ทจี่ ะสามารถยนื อยบู่ นยอดคล่นื ไดอ้ ยา่ งตอ่ เน่อื งตลอดเวลา

สารบญั ทาํ ความร้จู กั คณุ เอนก เอกนคิ ม ...................................................................1 ปรัชญาและแนวคิดในการบรหิ ารงาน...........................................................3 หลักการบรหิ ารการเปลีย่ นแปลง .................................................................7 การบรหิ ารการส่ือสารและการทบทวนหลงั ทํางาน ...................................... 12 หลักการบรหิ ารจดั การในภาวะวิกฤติ......................................................... 18 หลกั การแกป้ ั ญหาและบริหารความขดั แยง้ ................................................ 22 หลักการบรหิ ารคน .................................................................................. 25 คุณลกั ษณะสาํ คัญทชี่ ่วยสนบั สนนุ การปฏิบัตหิ นา้ ทีข่ องผอู้ าํ นวยการอาวุโส ฝ่ ายเทคนคิ และความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสงิ่ แวดลอ้ ม ..................... 31 QCC (QUALITY CONTROL CIRCLE) .................................................... 35 ปั จจยั ความสาํ เรจ็ ในเสน้ ทางอาชีพ ........................................................... 42 โอกาสในการพฒั นาองคก์ รเม่อื มองยอ้ นกลบั ไป ........................................ 45 โรงกลนั่ บางจากในวันนแี้ ตกตา่ งจากวันแรกทเี่ ขา้ มาทํางานอยา่ งไร.............. 48 โรงกลนั่ บางจากแตกตา่ งจากโรงกลนั่ อ่นื อยา่ งไร ........................................ 52 เคลด็ ลบั ในการดูแลสขุ ภาพจติ ใจ และสุขภาพร่างกายให้แขง็ แรง................. 57 เป้ าหมายหลงั เกษยี ณ .............................................................................. 63 สงิ่ ทอี่ ยากฝากถงึ นอ้ งๆ ............................................................................ 68 ประวตั ขิ องคณุ เอนก เอกนคิ ม................................................................... 72 รายการอ้างองิ ......................................................................................... 75 คณะผูจ้ ดั ทํา............................................................................................ 77

บรษิ ทั บางจาก คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) 1 ทําความร้จู กั คณุ เอนก เอกนคิ ม คุณเอนก เอกนิคม จบการศึกษาระดับปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร์ บัณฑิต ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ จากสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา้ พระ นครเหนือ หลังจากนั้น 10 กว่าปี ก็ไปศึกษาต่อปริญญาโท บริหารธุรกิจ มหาบัณฑิต คณะพาณชิ ยศาสตรแ์ ละการบัญชี มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ หลังจากจบการศึกษาระดับปริญญาตรีก็ได้เขา้ ทํางานที่บริษัท ไทยฮี โน่ อุตสาหกรรมอยูพ่ ักหน่ึง หลังจากนัน้ ก็มาสมัครงานทีโ่ รงกลัน่ นามันบางจาก ซ่ึงตอนนั้นเป็ นโรงกลั่นที่ทหารดูแลอยู่ ตอนช่วงนั้นเกิดวิกฤตพลังงาน ทาง รัฐบาลก็ยึดโรงกลั่นมาจากซัมมิท ช่วงนั้นทํางานกับ ปตท. หลังจากนั้นอีกสัก ประมาณ 2 ปี ก็ไดแ้ ปรรูปจาก ปตท. มาเป็นบรษิ ทั บางจากในปี 2528 ช่ ว ง ที่ เ ริ่ ม ทํ า ง า น กั บ บ า ง จ า ก ช่ ว ง แ ร ก เ ป็ น พ นั ก ง า น Process Engineer ในส่วนของเทคนิคการกลนั่ ช่วงนัน้ เป็นช่วงทีก่ าํ ลงั ปรับปรุงหลายๆ อยา่ ง โดยเฉพาะวิธีการทํางาน Process Engineer สมัยนัน้ ก็มี 2 คนด้วยกัน โดยคุณเอนก ดูแลในเร่อื งของการประหยดั พลงั งาน ดูวา่ จะทําอยา่ งไรให้มกี าร ใช้พลังงานนอ้ ยลง เพราะตอนนั้นเราใช้พลังงานค่อนขา้ งสูง ก็มีการปรับปรุง กันมาเร่ือยๆ หลังจากที่เป็น Process Engineer ได้สัก 2 ปี ก็ได้ยา้ ยมาเป็น Operation Engineer ในสว่ นการกลนั่ ซ่ึงตอนนนั้ อยู่ Day Time จากตาํ แหนง่ ของ Unit Supervisor จนกระทัง่ เป็น Shift Superintendent อยูห่ นว่ ยกลัน่ ที่ 3 ก็เข้ากะมาตลอด หลังจากนั้นเป็ น Senior Supervisor อยู่ทางด้าน Operation และยา้ ยมาเป็นผูจ้ ัดการส่วนทางดา้ นขนถ่ายนา มันอีกซักประมาณ 2-3 ปี ซ่ึงดูแลในเร่ืองของการนํานามันเขา้ ออกจากคลงั และมีบางส่วนที่เราได้ ส่งให้กับทางปตท. โดยดูแลตั้งแต่รับนามันดิบเขา้ มาผสมจนเขา้ กลั่นและรับ Product ออกไปขาย ทํางานอยู่ในส่วนขนถ่ายนามันได้ประมาณ 2-3 ปี จากนัน้ ยา้ ยมาเป็นผูจ้ ัดการส่วนทางด้านความปลอดภัยดูแลทางด้าน Safety Knowledge Leader : เอนก เอกนิคม

2 บรษิ ทั บางจาก คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) ช่วงนั้นมีหลายๆ อย่างให้ดูแล เช่นระบบ ISO 14001 ซ่ึงบางจากได้เป็ นเจ้า แรกในเอเชีย จากนั้นก็ทําเร่ืองของ มอก.18001 ดูแลในเร่ืองของระบบ ISO มาตลอด หลังจากนัน้ กลับมาเป็นผูจ้ ัดการอาวุโสส่วนการกลัน่ อีกครัง้ หน่ึง ซ่ึง ทําในตําแหน่งนั้นอยูห่ ลายปี ก็ได้รับการเล่ือนตําแหนง่ เป็ นผู้อํานวยการด้าน ปฏิบัติการ หลังจากนั้นย้ายมาเป็ นผู้อํานวยการทางด้านเทคนิคและมาเป็ น ผูอ้ ํานวยการอาวุโสจนถึงปั จจุบัน โดยดูแลงานด้านเทคนิคสิ่งแวดล้อมความ ปลอดภัย ดูแลทั้งหมดทัง้ ทางด้าน Safety สิ่งแวดล้อม Lab เทคนิคและดูแล ในสว่ นของ Technical Training ดว้ ย Knowledge Leader : เอนก เอกนิคม

บริษัท บางจาก คอรปอเรชั่น จํากดั (มหาชน) 3 ปรชั ญาและแนวคดิ ในการบรหิ ารงาน ปรชั ญาและแนวคดิ ใน การบรหิ ารงาน Knowledge Leader : เอนก เอกนิคม

4 บริษัท บางจาก คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) ถ้าพูดถึงเร่ืองปรัชญาและแนวคิดในการบริหารของคุณเอนก จะยึดหลัก สําคญั 3 อยา่ งดว้ ยกนั 1. ยดึ มนั่ ตอ่ วฒั นธรรมขององคก์ ร อันดับแรกคือ เร่ืองของสิ่งแวดล้อมและสังคม ถือเป็ นเร่ืองที่จําเป็ นมาก แมว้ ่าเราจะตัง้ บริษัทข้ึนมาเพ่ือแสวงหากําไรก็ตาม แต่ว่าสิ่งแวดล้อมที่อยู่ รอบขา้ งและชมุ ชนหากเขาเดือดร้อนเราเองกค็ งอยไู่ มไ่ ด้ Knowledge Leader : เอนก เอกนิคม

บริษัท บางจาก คอรปอเรชัน่ จํากดั (มหาชน) 5 2. ยดึ มนั่ ต่อวัฒนธรรมของพนกั งาน ขอ้ ทีส่ อง คอื เร่อื งของวัฒนธรรมของพนกั งานคอื “เป็ นคนดี มคี วามรู้ และเป็นประโยชนต์ อ่ ผอู้ ่นื ” ในปั จจุบันเราจะเห็นว่ามีคนเกง่ มากมายที่ขี้โกง เกง่ แต่ก็ไมท่ ําอะไรให้เป็น ประโยชน์ มนั ก็ไมส่ ามารถทจี่ ะพาองคก์ รให้อยรู่ อดได้ ดังนนั้ จึงตอ้ งเป็นคน ดี มีความรแู้ ละเป็นประโยชนต์ อ่ ผูอ้ ่ืนดว้ ย 3. ยดึ มนั่ ต่อคา่ นยิ มของตนเอง สําหรับขอ้ ที่ 3 เหมือนวา่ เราเป็น“นักโตค้ ล่นื ”ดว้ ยปั ญหาทีเ่ ราต้องเผชิญอยู่ ทุกวัน ที่จะต้องจัดการแก้ไขให้ได้ก็เหมือนกับคล่ืนที่โถมเขา้ หาเราอย่าง Knowledge Leader : เอนก เอกนิคม

6 บรษิ ทั บางจาก คอรปอเรชัน่ จํากดั (มหาชน) ต่อเน่ืองถ้าเราสามารถแกป้ ั ญหาได้เราก็เหมือนกับนักโต้คล่ืนที่จะสามารถ ยืนอยบู่ นยอดคล่นื ไดอ้ ยา่ งตอ่ เน่อื งตลอดเวลา “สิ่งแวดลŒอมทอ่ี ยูร‹ อบขาŒ งและชุมชน ถŒาพวกเขาเดือดรŒอนเราก็คงอยู‹ไม‹ไดŒ” Knowledge Leader : เอนก เอกนคิ ม

บริษทั บางจาก คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) 7 หลักการบริหารการเปลยี่ นแปลง หลกั การบริหาร การเปลยี่ นแปลง Knowledge Leader : เอนก เอกนิคม

8 บรษิ ัท บางจาก คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) เร่ืองของการบริหารการเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวกับ“คน” อาจจะแบ่ง ออกเป็น 2 อยา่ ง ดงั นี้ 1. กรณที ีพ่ นักงาน “ไมเ่ หน็ ด้วย” กับการเปลยี่ นแปลง กต็ อ้ งมีการบังคบั ซ่งึ ก็จะไมเ่ กิดความยัง่ ยนื 2. กรณที ีพ่ นักงาน “เหน็ ด้วย” กับการเปลีย่ นแปลง การทีเ่ ราจะทําให้พนกั งานเห็นดว้ ยกับการเปลยี่ นแปลง ก็ตอ้ งวิเคราะห์วา่ มี ปั จจัยอะไรบา้ งทีพ่ นักงานไมย่ อมเปลี่ยนแปลง ซ่ึงคนส่วนมากมักจะไมค่ อ่ ยยอม ออกจาก Comfort Zone เพราะว่าชินกับสภาพการทํางานเดิมมานาน ถ้าหาก เกิดการเปลี่ยนแปลงก็จะเกิดการ “ต่อต้าน” เราก็ไปวิเคราะห์ว่าสิ่งที่พนักงาน กังวลทีจ่ ะเกิดการเปลยี่ นแปลงนนั้ มีอะไรบา้ งแล้วเขา้ ไปแกป้ ั ญหา เช่น พนักงาน ไม่มีความรู้ทางด้านเทคโนโลยีหรือกลัวทางด้านไอที เราก็จะเข้าไปเสริมให้ พนักงานได้เรียนรแู้ ละดูวา่ ยังมีปั ญหาอ่ืนๆ อีกหรือไม่ ประเด็นสาํ คัญ ก็คือ ต้อง ทําให้เกดิ การเปลีย่ นแปลงอยา่ งต่อเน่อื ง ตอ้ งคอยกระตนุ้ พนักงานและวิเคราะห์ วา่ ตอ้ งทําอยา่ งไรพนักงานถงึ จะคนุ้ เคยกับการเปลยี่ นแปลงและไมต่ ่อต้าน Knowledge Leader : เอนก เอกนคิ ม

บริษทั บางจาก คอรปอเรชั่น จํากดั (มหาชน) 9 และอีกปั จจัยหน่ึงก็คือ เราต้องเป็ นผู้นําการเปลี่ยนแปลง (Change Leader) ตอ้ งเป็นตน้ แบบ (Role Model) ให้กบั พนกั งาน ถ้าเราไมเ่ ปลีย่ นแปลง พนักงานก็ไม่รู้จะเปลี่ยนแปลงอย่างไร เราจึงต้องเป็ นตัวอย่างที่ดีเป็ น Role Model ให้กบั พนกั งานเพ่อื ให้พนักงานไดเ้ ปลยี่ นแปลงได้ การเปลีย่ นแปลงอกี อยา่ งหน่ึงก็คอื “การเปลีย่ นแปลงทเี่ กิดข้ึนกระบวนการ กลั่น” ปั จจุบันบริษัทบางจากเองได้นําระบบการบริหาร (Process Safety Management หรือทเี่ รียกวา่ PMS มาใช้ ก า ร จั ด ก า ร ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย ก ร ะ บ ว น ก า ร ผ ลิ ต (Process Safety Management : PSM) หมายความว่า การจัดการให้เกิดความปลอดภัย การ ป้ องกันการเกิดอุบัติการณแ์ ละการบาดเจ็บ ทีเ่ กี่ยวเน่ืองกบั กระบวนการผลติ ทมี่ ี การใช้สารเคมีอันตรายร้ายแรง โดยใช้มาตรการทางการจัดการและพ้ืนฐาน ทางด้านวิศวกรรมในการชี้บ่ง ประเมิน และควบคุมอันตรายจากกระบวนการ ผลิต และให้หมายความรวมถึงการจัดเก็บ การออกแบบ การใช้ การผลิต การ บํารุงรักษา การตรวจสอบ การทดสอบและการขนส่งหรือเคล่ือนย้ายสารเคมี อนั ตรายรา้ ยแรง Knowledge Leader : เอนก เอกนิคม

10 บรษิ ัท บางจาก คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) Process Safety Management : PSM ประกอบดว้ ย 14 Elements แผนการบรหิ ารงานความปลอดภยั ในกระบวนการ (Process Safety Management Program: PSM) 1 ใน 14 Element ของ PSM ก็คือ MOC หรือ Management of Change (การบริหารความเปลี่ยนแปลง) ซ่ึงมีขอ้ กําหนดให้ทีมงานต้องมีการ บันทึกเอกสารในขนั้ ตอนการบริหารความเปลยี่ นแปลง โดยมจี ดุ ประสงคเ์ พ่อื ให้ มัน่ ใจวา่ ระบบความปลอดภยั ในปฏบิ ตั ิการจะถูกบรรจุเขา้ ไปในการเปลีย่ นแปลง ซ่ึงมีผลกระทบต่อกระบวนการ ซ่ึงกระบวนการบริหารการเปลี่ยนแปลงจะเป็น แนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาขอ้ มูลความปลอดภัยของกระบวนการ การ วิเคราะห์อันตรายในกระบวนการ ขั้นตอนปฏิบัติการและการฝึ กอบรม ทั้งนี้ เพ่ือให้มั่นใจว่าทุกองค์ประกอบของแผนงานฯ มีความทันต่อสภาวการณ์ ปั จจุบนั Knowledge Leader : เอนก เอกนิคม

บรษิ ทั บางจาก คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) 11 ทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลงในกระบวนการกลั่น จะต้องนําเขา้ ระบบ MOC ซ่ึงพนกั งานมักอ้างวา่ เปลยี่ นแค่ procedure นดิ เดียวบรรทดั เดยี วหรอื แค่ ต่อ Line นิดหนอ่ ย หรืออาจมเี หตุฉุกเฉินทําไมตอ้ งเขา้ ระบบ MOC ดว้ ย นัน่ ถือ ว่าเป็นขอ้ อ้าง ทุกอยา่ งที่เกิดการเปลี่ยนแปลงในกระบวนการ (Process) ของ การกลั่นจะต้องเข้าระบบ Review ของ MOC : Management of Change เพ่ือให้มั่นใจว่าการแก้ไขในกระบวนการผลิตนัน้ จะไม่ส่งผลกระทบทางด้าน ความปลอดภัย รวมทงั้ ยังทาํ ให้หนว่ ยกลัน่ เดนิ ไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธภิ าพสงู สดุ Knowledge Leader : เอนก เอกนิคม

12 บรษิ ทั บางจาก คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) การบริหารการส่อื สารและการทบทวนหลงั ทาํ งาน Knowledge Leader : เอนก เอกนคิ ม การบรหิ ารการส่อื สาร และ การทบทวนหลงั ทาํ งาน

บรษิ ทั บางจาก คอรปอเรชัน่ จํากดั (มหาชน) 13 จดุ ประสงคห์ ลักของการส่อื สาร ก็คือ ตอ้ งรู้วา่ สงิ่ ทเี่ ราจะส่อื สารออกไป นัน้ ทําให้ทกุ คนเขา้ ใจอยา่ งทเี่ ราต้องการหรือไม่ ซ่ึงวธิ ีการส่อื สารจะต่างกันตาม กลุ่มผรู้ ับสาร โดยการส่ือสารในสายงานธุรกิจโรงกลนั่ ของเราแบง่ กลุม่ ผูร้ ับสาร ออกไดเ้ ป็น 3 กลมุ่ ดว้ ยกนั กลมุ่ แรก : จะเป็นกล่มุ พนกั งานระดับปฏบิ ัติการทวั่ ไปหรอื พนักงาน โอเปอเรเตอร์ (Operator) ทีท่ าํ งานเขา้ กะ กลุม่ ที่ 2 : จะเป็นกลุ่ม Supervisor ถงึ Manager ข้ึนไป กลุ่มที่ 3 : กลมุ่ บุคคลภายนอกและผเู้ ยยี่ มชมโรงกลนั่ (Visitor) กล่มุ แรก : กล่มุ ของพนกั งานระดบั ปฏบิ ตั ิการหรอื Operator กลุม่ ของพนกั งานระดบั ปฏิบัติการหรือ Operator กจ็ ะใช้วิธกี ารส่อื สาร ด้วยการเขียนคําสัง่ หรือ Order ซ่ึงการเขียน Order ก็จะมีความสําคัญเน่ืองจาก พนักงานที่อยูใ่ นกะเขาไมส่ ามารถทีจ่ ะถามเราได้ในเวลาปกติไดด้ ังนัน้ การเขียน Order จึงต้องชัดเจนซ่ึงอาจจะต้องสอบถามพนักงานในกะเองด้วยว่าสิ่งที่เขียน ใน Order นัน้ พนักงานเขา้ ใจตรงกบั สงิ่ ทีต่ อ้ งการส่อื สารหรอื ไม่ ยกตัวอยา่ งเช่น สมมุติว่ามีงานที่ต้องทําการดัดแปลงท่อสักเส้นหน่ึงก็ จะมีการเขียน Order ลงไปให้ชัดเจนครบถ้วนว่าให้มีการ Free Oil, Free Gas ในช่วงตอนกะดึกเพ่ือให้ทีม Maintenance ใส่ Blind ในช่วงเช้าถ้าหากเขียน Knowledge Leader : เอนก เอกนคิ ม

14 บรษิ ัท บางจาก คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) Order ไมช่ ดั เจนทําให้พนักงาน Free Oil, Free Gas ไมค่ รบตามทตี่ อ้ งการ ช่วง เช้าอาจจะทําให้ทีม Maintenance ที่มาใส่ Blind ตรวจพบแกส๊ ซ่ึงมันก็จะเป็น อนั ตรายมากเพราะการทํา Hot Work จะตอ้ งมกี าร Free Oil, Free Gas จะตอ้ ง ไม่มีสารไฮโดรคาร์บอนในระบบเหลืออยูเ่ ลย ดังนั้นเร่ืองของการเขียน Order ตอ้ งชดั เจนเพ่ือให้คนทาํ งานสามารถทาํ งานไดถ้ ูกตอ้ งทันที กล่มุ ที่ 2 : กล่มุ Supervisor ถงึ Manager ข้นึ ไป - สําหรับในกลุ่มนี้จะมีการประชุมหลายคณะด้วยกัน ทุกวันก็จะมีการ ประชุมที่เรียกว่า OTM หรือ Operation Team Meeting จะมีทุกวันเวลา 5 โมงเช้า พนักงานที่เข้าประชุมจะเป็ นระดับ Supervisor จนถึงผู้จัดการและมี Vice President ด้าน Operation เป็นประธานในการประชุม ซ่ึงจะคุยในเร่ือง ของเหตุการณท์ ี่เกิดข้ึนเม่ือวานว่ามีอะไรบ้างที่กระทบทางด้านความปลอดภัย และสิ่งแวดล้อม และการผลิตเป็นไปตามแผนการผลิตที่ทาง Supply ต้องการ หรือไม่ และวันนี้จะแกไ้ ขปั ญหาอยา่ งไรหากไมเ่ ป็นไปตามที่ต้องการ เสร็จแล้ว พรุ่งนี้จะวางแผนการทํางานอยา่ งไรเพ่อื ให้ไดต้ ามเป้ าหมายทีบ่ ริษัทต้องการ ซ่ึง ก็จะมีประชุมในระดับนกี้ นั ทุกวัน - กลุ่มของระดับ Manager ข้ึนไปจนถึงระดับ Vice President กลุ่มนี้ ก็จะส่ือสารด้วยการประชุมประจําเดือนหรือ Monthly Meeting โดยประชุมใน เร่ืองของประสิทธิภาพในการผลิตหรือที่เราเรียกกันว่า YELP ซ่ึงจะประชุมใน เร่ืองของ Y : Production Yield ได้ผลิตภัณฑ์เท่าไหร่จากนามันดิบที่ป้ อนเข้า ไปหมายถึง นามันที่เรากลั่นเข้าไปมันได้ผลิตภัณฑ์ออกมาครบหรือได้ เปอร์เซน็ ตส์ ูงสดุ ตามทตี่ อ้ งการหรือไม่ Knowledge Leader : เอนก เอกนคิ ม

บรษิ ัท บางจาก คอรปอเรชัน่ จํากดั (มหาชน) 15 E : Energy Consumption ใช้พลังงานในการผลิต Product เท่าไหร่ ใช้พลงั งานไดป้ ระสิทธิภาพตามทเี่ รากาํ หนดใน KPIs หรือไม่ L : Oil Loss ปริมาณนามันสูญหายจากทุกขั้นตอน ตั้งแต่การขนส่ง จนกระทงั่ การเผาออก Flare รวมแล้วเทา่ ไหร่ P : Product Quality Giveaway ปริมาณผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพสูง เกินสเปคมีมากนอ้ ยเทา่ ไหร่ - กลุ่ม Manager ไปจนถึงระดับ รองกรรมการผูจ้ ัดการใหญ่ เป็นการ ประชุม RFBU Manager Meeting การประชมุ นจี้ ะติดตามผลงานตาม KPIs ที่ กําหนดไวว้ า่ ไดต้ ามเป้ าหมายทีก่ าํ หนดไวห้ รือไม่ จะมกี ารแกไ้ ขอยา่ งไร แผนงาน ที่ผ่านมาจะต้องมีการแก้ไขอะไรอีกหรือไม่ ในการส่ือสารคนที่เขา้ ไปนําเสนอ จะต้องมีเทคนิคมีวิธีการพูดส่ือสารให้สมาชิกที่อยูใ่ นทีมในกลุ่มเขา้ ใจ ดูว่าเรา จะต้องให้เขาช่วยแก้ปั ญหาอย่างไรและปั ญหาที่เกิดข้ึนจะให้ผู้บริหารช่วย สนับสนุนอยา่ งไร ดังนัน้ คนทีเ่ ขา้ ไป Present ก็จะต้องใช้วิธที ีม่ ีประสทิ ธผิ ลและ ใช้เวลาไมม่ ากเกินไป Knowledge Leader : เอนก เอกนิคม

16 บรษิ ทั บางจาก คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) กล่มุ ที่ 3 : กล่มุ บุคคลภายนอกและผูเ้ ยีย่ มชมโรงกลัน่ (Visitor) ส่วนในกลุ่มสุดท้าย จะเป็ นกลุ่มของประชาชนทั่วไปหรือไมก่ ็เป็ นคน ที่มาเยี่ยมเยียนบริษัท ก็อาจจะใช้วิธีการคล้ายๆ Ted Talk พูดบรรยายให้ผูฟ้ ั ง เขา้ ใจและไดร้ ับขอ้ มูลตามวัตถุประสงคท์ ีม่ าเยีย่ มชมโดยใช้ระยะเวลาสนั้ ๆ เหมือนกับ Steve Jobs ที่เวลาออกผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ ก็จะออกมาพูด ว่ามีผลิตภัณฑ์อะไรใหมๆ่ เกิดข้ึนบ้าง ทุกครัง้ เวลาที่ Steve Jobs ออกมาพูด ทุกคนก็จะรอคอยว่ามีอะไรแปลกๆ ใหมๆ่ เกิดข้ึนหรือไม่ นี่ก็เป็นตัวอยา่ งของ Ted Talk ทใี่ ช้ในการส่ือสารให้กบั บคุ คลทวั่ ไปทราบ Knowledge Leader : เอนก เอกนคิ ม

บรษิ ทั บางจาก คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) 17 “การสอื่ สาร ตŒองรูŒว‹าสิ่งทเ่ี ราจะสอื่ สาร ออกไปน้ัน ทาํ ใหทŒ กุ คนเขŒาใจอย‹างทเี่ รา ตอŒ งการหรอื ไม‹” Knowledge Leader : เอนก เอกนคิ ม

18 บรษิ ทั บางจาก คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) หลกั การบรหิ ารจดั การในภาวะวิกฤติ หลกั การบรหิ ารจดั การในภาวะวกิ ฤติ Knowledge Leader : เอนก เอกนิคม (Crisis Management)

บริษัท บางจาก คอรปอเรชัน่ จํากดั (มหาชน) 19 หลักการบริหารจัดการในภาวะวิกฤต (Crisis Management) ที่อาจ เกิดข้ึนไมว่ า่ จะเป็นกรณขี องการเกิดเหตุเพลงิ ไหม้ สารเคมีรัว่ ไหลหรือนา มันหก รวั่ ไหล ซ่ึงเหตกุ ารณเ์ หล่านีจ้ ะแบง่ ออกเป็น 3 ระดับดว้ ยกนั ระดับแรก เรียกว่า LEVEL 1 เม่ือเกิดเหตุการณ์ข้ึนทางเจ้าของพ้ืนที่ กับทางหนว่ ยดบั เพลิงเขา้ ไประงบั เหตุแลว้ กส็ ามารถจัดการได้ หากจัดการไม่ได้ก็จะปรับเป็ นระดับที่ 2 หรือ LEVEL 2 เป็ นการใช้ ท รั พ ย า ก ร ที่ มี ทั้ ง ห ม ด ใ น โ ร ง ก ลั่ น ทุ ก ส่ ว น ง า น ไ ม่ ว่ า จ ะ เ ป็ น ท า ง ด้ า น Maintenance ทางด้านหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเข้ามาช่วยกันระงับเหตุ รวมทั้ง ทางดา้ นประชาสัมพนั ธห์ รือทางจดั ซ้ือกเ็ ขา้ มาช่วยกัน ส่วนระดับ 3 หรือ LEVEL 3 ก็คือ ถ้าเราใช้ ทรัพยากรในโรงกลั่น ทั้งหมดแล้วไม่สามารถที่จะจัดการหรือระงับเหตุได้ และอาจจะส่งผลกระทบ ทางด้านชุมชนก็จะประกาศเป็ น LEVEL 3 ซ่ึงจะต้องใช้แผน BCM หรือแผน บริหารความต่อเน่ืองทางธุรกิจ หรือ Business Continuity Management เขา้ มาช่วยดว้ ย เพ่ือให้ยังสามารถดาํ เนินธุรกจิ ไดอ้ ยา่ งตอ่ เน่อื ง BCM หรือ Business Continuity Management คือ องค์รวมของ กระบวนการบริหารซ่ึงชี้บ่งภัยคุกคามต่อองค์กร และผลกระทบของภัยคุกคาม นนั้ ตอ่ การดําเนนิ ธรุ กจิ และให้แนวทางในการสรา้ งขีดความสามารถให้องคก์ รมี ความยืดหยุ่น เพ่ือการตอบสนองและปกป้ องผลประโยชน์ของผู้มีส่วนได้ส่วน เสีย ช่ือเสียง ภาพลกั ษณ์ และกิจกรรมทสี่ รา้ งมลู คา่ ทีม่ ีประสทิ ธิผล Knowledge Leader : เอนก เอกนิคม

20 บริษัท บางจาก คอรปอเรชัน่ จํากดั (มหาชน) ยกตัวอย่าง กรณีเกิดเหตุเพลิงไหม้ สมมติว่าผู้รับเหมาเข้ามาทํางาน Hot Work ในกะ แล้วก็เกิดเหตุติดไฟข้ึน ทางเจ้าของพ้ืนที่จะต้องเข้าไประงับ เหตุพร้อมกับแจ้งให้หน่วยดับเพลิงทราบ ซ่ึงก็จะใช้ Dry Chemical หรือ ทรัพยากรที่มีอยู่ในการระงับเหตุ แล้วทางหน่วยดับเพลิงก็จะเขา้ มาสนับสนุน การระงับเหตุนี้ด้วย ซ่ึงในระดับนี้ก็จะเป็ น LEVEL 1 แต่ถ้าหากทางหน่วย ดับเพลิงกับเจ้าของพ้ืนที่เข้าไปจัดการระงับเหตุแล้วเกิดไฟไหม้ลุกลามข้ึนมา ทาง Shift Supervisor ที่อยู่ในพ้ืนที่ก็จะประกาศยกระดับให้เป็ น LEVEL 2 Knowledge Leader : เอนก เอกนคิ ม

บรษิ ัท บางจาก คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) 21 ด้วยการกดสัญญาณไซเรน (Siren) เพ่ือให้ทุกหนว่ ยงานทราบและเขา้ มาระงับ เหตุ นอกจากคนที่ปฏิบัติงานในโรงกลั่นแล้วทุกคนก็จะมารวมพลกันและ ป ร ะ ก า ศ จั ด ตั้ ง ที ม ร ะ งั บ เ ห ตุ ข้ึ น ที่ Command Center โ ด ย มี ท า ง ด้ า น ผูอ้ ํานวยการปฏิบัติการเป็นประธาน แล้วใช้ทรัพยากรทัง้ หมดเขา้ ระงับเหตุตาม แผนที่วางไว้ จากนั้นก็รายงานผลให้ผู้บริหารทราบถ้าหาก LEVEL 2 จัดการ ไม่ได้ก็จะต้องประกาศเป็ น LEVEL 3 ซ่ึงจะต้องแจ้งหน่วยดับเพลิงหน่วยงาน ราชการ กระทรวง ให้ทราบและให้เขา้ มาร่วมดําเนินการและก็จะนําแผน BCM ทีม่ อี ยู่ มาใช้ในพ้ืนทเี่ พ่อื ทีจ่ ะให้สามารถดาํ เนินธรุ กจิ ไดอ้ ยา่ งตอ่ เน่อื ง “เราตอŒ งมีการเตรียมแผน BCM ไวดŒ Œวย เพ่อื ใหŒธุรกจิ สามารถดําเนินไปไดŒ อยา‹ งต‹อเนื่องแมเŒ กดิ ภาวะวกิ ฤติ” Knowledge Leader : เอนก เอกนคิ ม

22 บรษิ ัท บางจาก คอรปอเรชั่น จํากดั (มหาชน) หลักการแกป้ ั ญหาและบริหารความขัดแยง้ Knowledge Lหeadลer :กั เอนกก าเอกรนิคแม กป้ ั ญหาและบรหิ ารความขดั แยง้

บรษิ ัท บางจาก คอรปอเรชั่น จํากดั (มหาชน) 23 หลกั การแกป้ ั ญหาและบรหิ ารความขัดแยง้ กจ็ ะถือหลกั การทวี่ า่ “ถ้าเกดิ ควนั ไฟทไี่ หนเรากต็ ้องรบี ไปแกไ้ ข อยา่ ให้มนั ลกุ ลามเป็นเพลงิ ขน้ึ มา” ก็คือ ถ้าเกิดมีพนักงานมีปั ญหาข้ึนมา เราก็จะมีช่ องทางหลายๆ ช่องทางทีใ่ ห้พนกั งานร้องเรียนได้ ไมว่ ่าจะเป็นการร้องเรียนผา่ นระบบ Intranet หรือทางดา้ น e-mail ส่งให้ PS และกล่องรับความคิดเห็น ซ่ึงพนักงานสามารถ รอ้ งเรยี นไดห้ ลายช่องทาง ซ่ึงเม่ือทราบปั ญหาแล้ว ก็ต้องเขา้ ไปตรวจสอบและหาแนวทางในการ แกไ้ ขปั ญหา อยา่ ให้เกิดปั ญหาลกุ ลามข้นึ เป็นเพลงิ ไหมไ้ ด้ สําหรับประเดน็ ทีม่ กั จะทําให้เกิดปั ญหาความขัดแยง้ ก็จะเป็นเร่ืองของ การมีระเบียบใหมๆ่ กฎเกณฑ์ หรือนโยบายการแต่งตัง้ หรือการโยกยา้ ย หรือ ทรพั ยากรมีไมเ่ พียงพอ Knowledge Leader : เอนก เอกนคิ ม

24 บรษิ ทั บางจาก คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) เม่ือรับทราบปั ญหาแล้วก็ตอ้ งเขา้ ไปแกไ้ ข วิธีการแกไ้ ขปั ญหาก็คอื เม่ือ ทราบปั ญหาที่เกิดข้ึนจากพนักงานระดับล่างแล้ว ก็ต้องเขา้ ไปสอบถามและเขา้ ไปแกไ้ ข เม่ือทราบปั ญหาทพี่ นกั งานเรยี กร้องมาก็จะเขา้ ไปพูดคยุ กับพนกั งานวา่ ปั ญหานัน้ คอื อะไรและดวู า่ เราจะช่วยพนักงานไดอ้ ยา่ งไรบา้ ง หลกั การใหญๆ่ ใน การแก้ปั ญหาและบริหารความขัดแย้ง ก็คือใช้วิธีการ“ประนีประนอม”มากกว่า วา่ อนั ไหนพอจะช่วยไดก้ ช็ ่วยเทา่ ทีช่ ่วยไดเ้ พ่อื ไมใ่ ห้ปั ญหาเกิดการลุกลามข้นึ Knowledge Leader : เอนก เอกนิคม

บรษิ ทั บางจาก คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) 25 หลกั การบรหิ ารคน หลกั การบริหารคน Knowledge Leader : เอนก เอกนิคม

26 บริษทั บางจาก คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) หลักการบรหิ ารคน จะถือวา่ พนักงานก็เหมือนกับ “ลกู นอ้ ง” ทเี่ ป็นทงั้ “ลูก” และเป็ นทั้ง “น้อง” เราด้วยก็ต้องคอยดูแล ซ่ึงจะครอบคลุม 4 เร่ือง สําคัญดงั นี้ Knowledge Leader : เอนก เอกนิคม

บริษัท บางจาก คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) 27 1. การสรรหาและคัดเลอื กคนทีม่ าทาํ งาน เรมิ่ ตัง้ แตก่ ารสัมภาษณพ์ นกั งานเพ่อื ให้ไดต้ ามวตั ถปุ ระสงคท์ ีต่ อ้ งการ 2. การจัดสรรทรพั ยากรให้พนักงานพร้อมในการทํางาน เม่ือได้พนักงานมาแล้ว ก็ต้องจัดสรรทรัพยากรเพ่ือให้พนักงาน สามารถทํางานได้ในเบ้ืองต้น รวมทัง้ การอบรม การชี้แนะเสนอแนะวิธีปฏิบัติที่ จะอยูร่ ว่ มกบั วฒั นธรรมขององคก์ รได้ 3. การพัฒนาคน ในเร่ืองของการพัฒนาบุคลากร อย่างแรกต้องดูในเร่ืองของความ เร่งด่วนที่ต้องรับพนักงานเข้ามา แม้ว่าทุกคนอยากจะให้พนักงานสามารถ ทํางานไดเ้ ร็ว แต่ก็ต้องพิจารณาว่ามงี านเร่งด่วนเขา้ มาหรือไม่ อาจจะตอ้ งใช้ on the job training ในการพัฒนาพนักงานในระยะสัน้ เพ่ือให้รุ่นพีค่ อยประกบรุน่ นอ้ งให้สามารถทํางานทเี่ ร่งดว่ นตามทบี่ รษิ ัทตอ้ งการไดก้ อ่ น สําหรับแผนการพัฒนาบุคลากรในระยะยาวก็จะใช้ Career Ladders ซ่ึงตอนนี้ก็เริ่ม Implement ไปแล้ว และก็สามารถพัฒนาพนักงานทุกระดับ ตั้งแต่ Engineer ในส่วนของ Maintenance นั้น ไม่ว่าจะเป็ น Mechanical Engineer, Electrical Engineer, Instrumentation Engineer รวมทัง้ วิศวกร โยธา พนักงานที่อยูใ่ นกลุ่มนี้ก็จะได้รับการพัฒนาตาม Level ที่พนักงานอยู่ ว่า หากจะทํางานระดับนี้จะต้องมี Competency ระดับไหน นอกจากนั้นก็จะมีใน เร่ืองของการพัฒนา Career Ladder ให้กับกล่มุ ของ Chemical Engineer ดว้ ย ซ่ึงพนักงานส่วนใหญข่ องบางจากจะจบมาทางด้าน Chemical Engineer ไมว่ ่า Knowledge Leader : เอนก เอกนิคม

28 บริษัท บางจาก คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) ความรู้ที่พนักงานเรียนมาจะตรงกับงานที่บริษัทให้ทําหรือไม่ก็ตาม บริษัท จะต้องพัฒนา Competency ของพนักงานให้สอดคล้องกับงานที่รับผิดชอบ เพ่อื ทีพ่ นักงานจะสามารถทาํ งานไดอ้ ยา่ งเหมาะสมตลอดเวลา รวมทัง้ พนกั งานในห้อง LAB, Environment และ Safety ในพนักงาน ระดับ Engineer ข้ึนไปก็มี Career Ladders ให้ รวมทั้งพนักงาน Operator ห้อง LAB เองก็ได้เริ่มใช้ Career Ladders เข้ามาช่วยพัฒนา ซ่ึงก็จะช่วยให้ พนักงานสามารถพัฒนาและเรียนรตู้ ามระบบไดเ้ อง 4. การดแู ลพนักงานทัง้ ทางร่างกายและจิตใจ ในเร่ืองของแรงงานสัมพันธ์ ถือว่ามีความสําคัญเพราะเป็ นนายก สโมสรก็ได้อาศัยกีฬาเขา้ มาช่วยในส่วนนี้ เพ่ือส่งเสริมให้พนักงานที่นอกจาก ทํางานมาหนักแล้ว ได้มีเวลาออกกําลังและพัฒนาในเร่ืองสุขภาพของพนักงาน ซ่ึงปั จจุบนั ในเร่ืองสขุ ภาพของพนกั งาน พบวา่ มีพนกั งานเป็นโรคทเี่ กยี่ วกบั ความ ดัน เบาหวาน โรคอ้วน กันมากข้ึน บริษัทจึงรณรงค์และมี KPIs ให้พนักงาน ออกกําลังกาย ตาม KPIs ที่กําหนด ทั้งนี้ถ้าพนักงานมีสุขภาพแข็งแรงไมข่ าด ไมล่ า ไมป่ ่ วย กจ็ ะทําให้งานของบริษทั สามารถดาํ เนินการไดอ้ ยา่ งราบร่ืน Knowledge Leader : เอนก เอกนิคม

บริษัท บางจาก คอรปอเรชัน่ จํากดั (มหาชน) 29 เราก็จะดูแลพนักงานตั้งแต่รับเข้ามา พัฒนาพนักงานจนกระทั่ง พนักงานเกษียณออกไป แล้วก็มีการจัดตั้งชมรมเกษียณเพ่ือดูแลพนักงาน Knowledge Leader : เอนก เอกนิคม

30 บรษิ ทั บางจาก คอรปอเรชั่น จํากดั (มหาชน) เกษียณอย่างต่อเน่ือง เพ่ือให้สอดคล้องกับนโยบายของบริษัทเราที่ดูแล พนักงานอยา่ งดีตลอดอายกุ ารทาํ งาน พนกั งานก็เหมอื นกบั \"ลูกนอŒ ง\" ทีเ่ ปšนทั้ง \"ลูก\" เปนš ทงั้ “นอŒ ง” ตŒองดแู ลตง้ั แต‹รับเขŒามา พัฒนาพนักงานจนกระทั่ง พนักงานเกษยี ณ Knowledge Leader : เอนก เอกนคิ ม

บรษิ ทั บางจาก คอรปอเรชั่น จํากดั (มหาชน) 31 คุณลักษณะสาํ คัญที่ช่วยสนบั สนุนการปฏบิ ัตหิ นา้ ทีข่ องผูอ้ าํ นวยการอาวุโส ฝ่ าย เทคนคิ และความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสงิ่ แวดล้อม คณุ ลกั ษณะสาํ คญั ทชี่ ่วยสนบั สนนุ การปฏบิ ตั หิ นา้ ทขี่ องผอู้ าํ นวยการอาวโุ ส ฝ่ ายเทคนคิ และความปลอดภKnยั owlอedาgeชLวีeaอdeนr :าเอมนกยั เอกแนลคิ มะสงิ่ แวดล้อม

32 บริษัท บางจาก คอรปอเรชั่น จํากดั (มหาชน) ทักษะความเชีย่ วชาญของผูท้ ี่จะมาดํารงตําแหนง่ “ผอู้ ํานวยการอาวุโส ฝ่ ายเทคนิคและความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิง่ แวดล้อม” จะต้องมีความรู้ ทางด้านโรงกลัน่ เป็นอยา่ งดี เพ่ือจะไดส้ ามารถวิเคราะห์ปั ญหาทีเ่ กิดข้ึนไมว่ า่ จะ เป็ นในเร่ืองของความปลอดภัยสิ่งแวดล้อม Technical และ LAB แม้กระทั่ง ทางดา้ นการฝึ กอบรมเองก็ตาม ต้องมีองค์ความรู้ทางด้าน Operation ตั้งแต่การนํานามันดิบเข้ามา ผ่านกระบวนการกลั่นเป็ น Product ผสมแล้วนําออกไปขาย ทั้งนี้เพราะว่า ผลกระทบที่เกิดข้ึนไมว่ ่าจะเป็นในเร่ืองของประสิทธิภาพในการทํางาน การใช้ พลังงานในเร่ืองของ Yield และ Loss ที่ส่วนเทคนิคดูอยู่ หากไม่มีความรู้ใน ดา้ นโรงกลัน่ เลยก็จะไมส่ ามารถทีจ่ ะปรับปรุงหรือแกไ้ ขปั ญหาได้ หรือไมก่ ็จะทาํ อย่างไรให้รายได้ของบริษัทดีข้ึน ถ้ารู้ลึกทางด้านโรงกลั่นก็จะสามารถช่วย ผจู้ ัดการทดี่ ูแลในสว่ นเทคนคิ ได้ Knowledge Leader : เอนก เอกนิคม

บริษัท บางจาก คอรปอเรชั่น จํากดั (มหาชน) 33 โดยเฉพาะในส่วนของความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม สามารถเกิดได้ ทกุ จุดไมว่ า่ จะอยใู่ นดา้ นของโลจสิ ติกส์ของโรงกลนั่ ถ้าหากมีความร้ทู างดา้ นโรง กลั่นก็จะสามารถวิเคราะห์ช่วยทางด้าน Operation แก้ไขปั ญหาได้ เพราะ บางครัง้ คนทีจ่ ะทาํ งานเป็นจุดๆ ก็ไมส่ ามารถทจี่ ะมองภาพรวมได้ ในส่วนของห้ อง LAB เองก็มีหน้าที่ Test ตัวอย่าง หากมีทักษะ ทางด้านโรงกลัน่ ก็จะสามารถวิเคราะห์ปั ญหาได้วา่ ปั ญหาที่เกิดข้ึนนนั้ เกิดเพราะ อะไร และสามารถวิเคราะห์ปั ญหาได้ว่าจะต้องมีการทดสอบตรงไหนเพิ่มเติม หรอื ไม่ ในส่วนของการฝึ กอบรมก็จะได้ทราบจุดอ่อนว่าอยูต่ รงไหน เพ่ือจะได้ เอามาเสริมทางด้าน Competency ให้เข้มแข็งข้ึน เหล่านี้คือทักษะพ้ืนฐานที่ ตอ้ งร้ทู างดา้ นโรงกลนั่ ในขณะเดียวกันก็ต้องมีทักษะครอบคลุมในแต่ละ Element ในส่วน ของ Safety ที่นํา PSM เข้ามา หรือในส่วนของสิ่งแวดล้อมที่นําในเร่ืองของ Carbon Footprint และ Minor Footprint เข้ามา ก็ต้องมีความรู้ทางด้านนี้ ด้วย เพ่ือจะได้ผลักดันไปได้ถูกทิศทาง จะได้ไม่หลงทางและเป็ นไปตาม Knowledge Leader : เอนก เอกนคิ ม

34 บรษิ ทั บางจาก คอรปอเรชัน่ จํากดั (มหาชน) เป้ าหมายทีบ่ ริษทั ตัง้ ไว้ เหล่านีค้ ือความเชยี่ วชาญเฉพาะอยา่ งทีจ่ ะตอ้ งมีเพ่อื ทจี่ ะ ไดท้ ํางานไปสเู่ ป้ าหมายทีบ่ ริษทั กาํ หนดไว้ Knowledge Leader : เอนก เอกนิคม

บรษิ ัท บางจาก คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) 35 QCC (QUALITY CONTROL CIRCLE) QCC (QUALITY CONTROL CIRCLE) Knowledge Leader : เอนก เอกนิคม

36 บรษิ ัท บางจาก คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) QCC ย่ อ ม า จ า ก คํ า ว่ า Quality Control Circle ห ม า ย ถึ ง ก า ร พัฒนาการทํางานโดยอาศัย “กลุ่มควบคมุ คณุ ภาพ” โดยการจัดตัง้ กลุ่มคนที่อยู่ ภายในแผนกเดียวกนั หรือสายงานเดียวกนั ตัง้ แต่ 2 ถึง 15 คน รวมตัวกันอยา่ ง อิสระเพ่ือปรับปรุงงานของตัวเองที่ทําในพ้ืนที่ โดยไมส่ ่งผลกระทบต่อนโยบาย ของบริษทั กิจกรรมนีไ้ ดเ้ ริม่ มาตัง้ แต่สมัยที่ทําอยูท่ ีบ่ ริษัทเกา่ แล้วเริ่มนําคูม่ ือของ ญี่ป่ ุนมาแปล แล้วก็เริม่ นํามาใช้กับบริษัทหลังจากที่เขา้ มาอยูท่ ี่โรงกลัน่ บางจาก ก็เห็นวา่ พนกั งานมีความกระตือรือรน้ ทีจ่ ะปรบั ปรุงแลว้ กพ็ ฒั นางานของตัวเอง ก็ เลยคดิ วา่ นา่ จะนาํ กิจกรรม QCC นีเ้ ขา้ มาช่วยพฒั นาพนกั งาน โดยได้เริ่มทํากันในกะเล็กๆ ก่อน ซ่ึงก็เป็นไปได้ด้วยดี จึงขยายวงไป ในส่วนของ Operation แล้วก็ขยายวงข้ึนไปเร่ือยๆ จนกระทั่งสามารถที่จะ พฒั นาและทําไดก้ นั ทงั้ โรงกลนั่ จนถงึ ปั จจุบนั กิจกรรม QCC ที่เราเริ่มทํากันภายในโรงกลั่นบางจาก พบว่าประสบ ความสําเร็จและดําเนินไปได้ด้วยดี หลังจากนั้นจึงได้เริ่มส่งกลุ่มของ QCC ที่ ไดร้ ับการคัดเลอื กไปประกวดยังหนว่ ยงานภายนอกเป็นครงั้ แรก Knowledge Leader : เอนก เอกนคิ ม

บริษัท บางจาก คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) 37 เคร่อื งมอื ของ QCC มีทัง้ หมด 7 อยา่ งดว้ ยกันดังนี้ แต่ส่วนใหญท่ ี่เนน้ ใช้ก็ได้แก่ Fishbone Diagram (ผังก้างปลา) และ Histogram (กราฟแทง่ ) การที่เราใช้กราฟหรือเคร่ืองมือนําเสนองา่ ยๆ ในตอนเริ่มต้นของการ นําเคร่อื งมอื ใหมใ่ ด ๆ มาใช้ในองคก์ ร แมว้ า่ พนกั งานบางคนจะมพี ้นื ฐานความรู้ เพียงระดับ ปวช. ก็สามารถที่จะนําเคร่ืองมือนี้มาใช้งานได้ ยกตัวอย่างเช่น ผัง ก้างปลา (Fishbone Diagram) จะใช้ในการวเิ คราะห์ปั ญหา โดยใช้หลักการที่ เรียกว่า 4M ก็คือ Man, Machine, Material และ Method เพ่ือนําไปสู่การ คน้ หาปั ญหาทีแ่ ทจ้ ริงและแกป้ ั ญหาได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ Knowledge Leader : เอนก เอกนิคม

38 บรษิ ัท บางจาก คอรปอเรชัน่ จํากดั (มหาชน) Man Machine Material Method หลกั การ 4M กบั ผงั กา้ งปลา Man (คน) จดั สรรให้บคุ ลากรสามารถใช้ทักษะการทํางานไดม้ ากทสี่ ุด โดยมีการจัดสรรรายได้ที่เหมาะสมและสอดคล้องกับต้นทุน รวมถึงการรักษา บุคลากรคณุ ภาพให้เป็นทรพั ยากรองคก์ รให้นานทสี่ ดุ Machine (เคร่ืองจักร) การจัดการ จัดหาวัสดุและเคร่ืองมือต่างๆ ที่ เป็ นส่วนประกอบในการปฏิบัติงาน รวมถึงการจัดการอาคารและสถานที่ ปฏิบตั ิงานให้เอ้อื ตอ่ การทํางานทเี่ พมิ่ ผลผลติ ได้ Material (วัตถุดิบ) ต้องบริหารจัดการการใช้วัตถุดิบให้สูญเสีย หรือ กลายเป็นวัสดุเหลือใช้นอ้ ยที่สุด ครอบคลุมถึงการวางแผนจัดซ้ือวัตถุดิบเขา้ สู่ โรงงานให้ทันและเพียงพอกบั กระบวนการผลติ ดว้ ย Method (วิธีการ) ค้นหาวิธีการใช้ร่างกายที่เหมาะสมกับงาน และ ออกแบบเคร่ืองมือและอุปกรณช์ ่วยที่มีประสิทธิภาพ เพ่ือเพิ่มผลผลิตในงานได้ Knowledge Leader : เอนก เอกนคิ ม

บริษทั บางจาก คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) 39 อาศัยหลักการเคล่ือนไหวโดยวิธีประหยัด (Motion Economy) ทําให้การ ปฏิบัตงิ านสะดวกและเหน่อื ยนอ้ ยทสี่ ดุ กลุ่ม QCC ก็จะใช้ หลักการ 4M และผังก้างปลาในการวิเคราะห์ ประเด็นของปั ญหา ว่ามันเกิดปั ญหาอะไรข้ึน หลังจากนั้นก็นําไปแก้ไขโดย วางแผนว่าปั ญหาที่วิเคราะห์ได้มีแนวทางในการแก้ปั ญหาได้อย่างไรบ้าง จากนั้นก็ใช้ตัว Histogram ซ่ึงเป็ นกราฟแท่งในการวัดผลงานว่าเป็ นไปตาม เป้ าหมายและวัตถุประสงค์ที่ตัง้ ไว้หรือไม่ ซ่ึงกลุ่ม QCC กลุ่มนี้ ได้รับรางวัลมา จากหนว่ ยงานภายนอกด้วย ก็เป็นตัวจุดประกายให้กับส่วนงานอ่ืนนําไปใช้และ ปฏิบัติ หลังจากนัน้ กลุ่ม QCC ไดเ้ ริม่ ขยายวงกวา้ งข้ึนเร่ือยๆ และมีการประกวด กันทกุ ปี และหลังจากนั้นด้วยบริษัท มีวิสัยทัศน์ (Vision) ใหม่ว่า Evolving Greenovation ซ่ึงสนับสนุนให้พนักงานสร้างนวัตกรรมใหม่ๆ ซ่ึงมันก็ สอดคล้องกับกิจกรรม QCC ก็เลยส่งเสริมให้พนักงานแต่ละส่วนงานเข้ามามี ส่วนร่วม มีการจัดประกวดกันทุกปี และส่งพนักงานไปร่วมประกวดงาน QCC ของกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม ซ่ึงพนักงานของเราหลายกลุ่มได้รับการคัดเลือก ให้ไปแสดงผลงานในหลายๆ ประเทศด้วยกัน ไม่ว่าจะเป็ น เกาหลีใต้ อินโดนีเซีย หรือ ญี่ป่ ุน ซ่ึงทําให้พนักงานมีความภาคภูมิใจและรู้สึกมีคุณค่า Knowledge Leader : เอนก เอกนคิ ม

40 บริษทั บางจาก คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) เพราะไดแ้ สดงผลงานให้หัวหนา้ ทราบ รางวัลที่ได้รับนัน้ อาจจะเป็นเร่ืองรองแต่ การที่เขารู้สึกว่าตนเองมีคุณคา่ และหัวหนา้ เห็น นัน้ จะทําให้พนักงานภาคภูมิใจ แล้วกพ็ ยายามทจี่ ะทาํ กจิ กรรม QCC ไดอ้ ยา่ งตอ่ เน่อื ง Knowledge Leader : เอนก เอกนิคม

บรษิ ัท บางจาก คอรปอเรชั่น จํากัด (มหาชน) 41 นอกจากรางวัลท่พี นกั งานไดŒรบั จากการทํา กิจกรรม QCC แลŒว พนกั งานยังรŒสู กึ ภาคภมู ิใจ รสŒู ึกมีคณุ คา‹ และยงั ไดŒแสดงผลงาน ของตนเองใหเŒ ปนš ที่ประจกั ษอีกดŒวย Knowledge Leader : เอนก เอกนิคม

42 บรษิ ทั บางจาก คอรปอเรชัน่ จํากดั (มหาชน) ปั จจัยความสําเร็จในเส้นทางอาชพี Knowledge Leader : เอนก เอกนคิ ม ปั จจัยความสาํ เรจ็ ในเส้นทางอาชพี

บรษิ ัท บางจาก คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) 43 สําหรับความรู้ที่จะใช้ในการทํางาน ทางบริษัทเองก็พยายามที่จะ ส่งเสริมให้พนักงานได้เกิดการเรียนรู้ เราทํางานเกี่ยวกับโรงกลัน่ ซ่ึงจะมีความรู้ ให้ศกึ ษาเยอะแยะมากมายก็ตอ้ งพยายามสนใจทจี่ ะเรียนรมู้ ัน อย‹าแกปŒ ญ˜ หาทีเ่ กดิ ขึน้ ไปวันๆ ดูว่าความรู้เร่ืองนั้นจะนํามาพัฒนาธุรกิจของบริษัทไปได้อย่างไร เพ่ือที่จะนําพาบริษัทไปสู่เป้ าหมายทีต่ ัง้ ไว้ บริษัทเองก็พยายามให้ความรู้ โดยมี การจัดอบรมในหลายรูปแบบในแต่ละชั้นแต่ละกระบอกแต่ละ Level ของ พนักงาน เพราะฉะนั้นสิ่งที่อยากให้ตั้งใจมากๆ ก็คือ การเข้าไปเรียนรู้แล้ว สามารถที่จะนําความรู้นั้นมาใช้ให้เกิดประโยชนแ์ ละสามารถที่จะพัฒนาธุรกิจ ของบริษัทได้ ความรู้ที่ค้นคว้าได้ไมว่ ่าจะเป็ นเร่ืองของ KM หรือ Knowledge Management (การจัดการความรู้) และในระบบ Career Ladders เอง และ ระบบที่ค้นคว้าได้อย่างลึกไปถึงระดับงานวิจัยล้วนมีประโยชน์ทั้งสิ้น หากได้ นํามาประยุกตใ์ ช้ในการทํางานอยา่ งแทจ้ รงิ เพราะฉะนั้นอยากจะบอกพวกเราว่าเทคโนโลยีใหม่ๆ ของโรงกลั่นมี มากมาย อยากจะให้พวกเราเขา้ ไปคน้ ควา้ หาความรู้และพัฒนาตนเอง แล้วกท็ าํ จากทเี่ ราไดเ้ รียนรใู้ ห้มนั สาํ เร็จ สิง่ เหลา่ นนั้ จะเป็นสมบัตทิ ีต่ ิดตวั เราไปตลอด คน อ่นื ไมส่ ามารถทจี่ ะแยง่ ไปได้ จะเกิดทกั ษะเกิดความเชีย่ วชาญข้นึ ทักษะนมี้ ันกจ็ ะ ติดตัวเราไปเวลามีปั ญหาอะไรเขา้ มาเราก็จะสามารถแกไ้ ขปั ญหานัน้ ได้ ทําให้ ปั ญหานัน้ ไมต่ ิดขดั และจะไมเ่ กดิ ปั ญหาข้ึนมาซา อีก Knowledge Leader : เอนก เอกนคิ ม

44 บรษิ ัท บางจาก คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) ถŒาเรามัวแตแ‹ กŒปญ˜ หาซ่ึงหนาŒ ไปวันๆ เราไมม‹ อี งคความรูทŒ ี่จะไปช‹วยในการ ป‡องกนั ไมใ‹ หŒป˜ญหาน้ันเกดิ ขน้ึ เราก็เหมือนกับไม‹ไดŒใชŒองคความรอŒู ะไร Knowledge Leader : เอนก เอกนคิ ม

บริษทั บางจาก คอรปอเรชัน่ จํากัด (มหาชน) 45 โอกาสในการพัฒนาองคก์ รเม่อื มองยอ้ นกลับไป โอกาสKใnowนledกgeาLeรadeพr : เฒัอนก นเอกนาิคอม งคก์ ร เม่อื มองยอ้ นกลบั ไป


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook