Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Chapter1

Chapter1

Published by kobchai.m.150, 2017-07-11 23:28:22

Description: Chapter1

Search

Read the Text Version

การจัดการและแนวความคิดทางการจัดการ (Management & Management Thought) MG 112 Management

การบรหิ าร VS การจัดการ(Administration VS Management) การบรหิ าร (Administration) เป็นกระบวนการทเี่กย่ี วขอ้ งกบั การกาหนดนโยบายและแผนงาน ตลอดจนการกากบั ดูแลเพอ่ื ให้แนใ่ จว่า ความสาเรจ็ทเ่ีกดิ ขน้ึ สอดคลอ้ งกบั นโยบายและแผนทวี่ างไว้ MG 112 Management

การจดั การ (Management) เป็นกระบวนการของการนาเอานโยบายและแผนงานไปปฏบิ ตั ิใหบ้ รรลุตามเป้าหมายทก่ี าหนดในขน้ั ของการบรหิ าร MG 112 Management

ผูบ้ ริหาร Top Managerผูจ้ ัดการ Middle Managerหัวหนา้ คนงาน First Line Manager ลาดับช้ันของการจัดการ MG 112 Management

ความหมายของการจัดการ Mary Parker Follett“การจดั การเป็นเทคนคิ การทางานใหส้ าเรจ็ โดยอาศยั ผูอ้ นื่ ” Ernest Dale“การจดั การ คอื กระบวนการการจดั องค์การและการใช้ทรพั ยากรต่างๆ เพอ่ื ใหบ้ รรลุวตั ถุประสงค์ทกี่ าหนดขน้ึ ไว้ลว่ งหนา้ ” MG 112 Management

สมพงษ์ เกษมสิน “การจดั การเป็นการใชศ้ าสตร์และศลิ ปะนาเอาทรพั ยากรการบรหิ าร มาประกอบตามกระบวนการบรหิ ารเพอื่ ให้บรรลุวตั ถุประสงค์อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ” MG 112 Management

การจดั การ ทรพั ยากร การ การจดั เป้ าหมายทางการบริหาร วางแผน องคก์ าร ของ- คน การ การจดั องคก์ าร- เงิน ควบคมุ คนเขา้ ทางาน- วสั ดุ- วิธีการ การสง่ั- เครือ่ งจกั ร การ กระบวนการทางการจัดการ MG 112 Management

ทรัพยากรทางการจัดการ(Management Resources)•คน (Man)•เงนิ (Money)•วสั ดุ (Materials)•วธิ กี ารบรหิ าร(Management or Method)•เครอื่ งจกั ร (Machine)•ตลาด (Market) MG 112 Management

Management Resources MG 112 Management

การจัดการเป็ นศาสตร์ (Science)หรอื ศิลป์ (Art) ? Science Artการจดั การเป็นทง้ั ศลิ ป์ (Art) และศาสตร์ (Science) MG 112 Management

แนวความคิด ทางการจัดการ(Management Thought) MG 112 Management

ยุคท่ี 1 ยุคก่อนการจัดการแบบวิทยาศาสตร์ (Pre-scientific Management Period) MG 112 Management

ยุคนเ้ีป็นยุคก่อนปี ค.ศ. 1880การจดั การในยุคนต้ี ้องอาศยั อานาจหรอื การบงั คบัเป็นปจั จยั ทางการบรหิ ารทส่ี าคญั ทสี่ ุดวธิ กี ารใชอ้ านาจกไ็ด้แก่ การใชแ้ ส้ โซ่ตรวน การจาคุก ฯลฯมนุษยใ์ นยุคนย้ี อมทางานกเ็พราะกลวั การลงโทษถูกบงั คบั ด้วยความจาใจความสมั พนั ธ์ภายในหน่วยงานมลี กั ษณะเป็นนายกบั บ่าวกษตั รยิ ก์ บั ทาส ฯลฯ MG 112 Management

นายกบั บ่าวกษตั รยิ ก์ บั ทาส MG 112 Management

ยุคท่ี 2 ยุคการจัดการแบบวิทยาศาสตร์ (Scientific Management)บุคคลทมี่ ชี อ่ื เสยี งในการบรหิ ารงานยุคน้ี มอี ยู่ดว้ ยกนั 3 คน• Robert Owen,• Frederick W.Taylor• Henri Fayol MG 112 Management

Robert OwenOwen ใหค้ วามเหน็ ว่าการปรบั ปรุงสภาพของพนกั งานหรอื คนงานใหด้ ขี น้ึ จะส่งผลไปสู่การเพม่ิการผลติ และผลกาไร ในขณะทผี่ ูบ้ รหิ ารคนอน่ื ๆมุง่ ทจ่ี ะใช้เงนิ ลงทุนไปในการปรบั ปรุงเทคนคิ การผลติ มากกว่า MG 112 Management

Frederick Winslow Taylor(The Father of ScientificManagement) MG 112 Management

The Midvale Steel Companyในเมอื ง Bethlehem มลรฐั เพนซลิ วาเนยีTaylor คดั ค้านการบรหิ ารงานแบบเก่าทใ่ีช้ “อานาจ” (Power)Taylor ไมพ่ อใจในการบรหิ ารงานทข่ี าดประสทิ ธภิ าพ MG 112 Management

Taylor ได้เสนอวธิ แี สวงหาหลกั เกณฑ์ทด่ี ไีว้ ดงั น้ี1. ศกึ ษาว่างานแต่ละขนั้ ตอนนน้ั ต้องใชเ้ วลา (Time) อยา่ งนอ้ ยทส่ี ุดเท่าไร จงึ จะสามารถทาใหส้ าเรจ็ ลงได้2. ศกึ ษาเกย่ี วกบั การเคลอื่ นไหว (Motion) ในการทางาน แต่ละขนั้ เพอื่ ปรบั ปรุงวธิ กี ารทางาน เพอื่ หาทางทางานให้ สาเรจ็ โดยใชพ้ ลงั งานใหป้ ระหยดั ทส่ี ุดเท่าทจ่ี ะทาได้3. แบง่ งานออกตามขนั้ ตอน เพอื่ ใหค้ นงานได้ทางานในขนั้ ตอนที่ เขาสามารถทาได้ดที สี่ ุดมากทส่ี ุด ฯลฯ MG 112 Management

การจดั การจงึ ควรต้องเนน้ ทกี่ ารปรบั ปรุงระบบการผลติทผี่ ูบ้ รหิ ารควรจะต้องปฏบิ ตั ดิ งั น้ี1.วางวธิ กี ารทางานของแต่ละคนด้วยหลกั เกณฑ์ทท่ี ดลอง แลว้ ว่า เป็นวธิ ที ดี่ ที ส่ี ุด (One best way)2.มรี ะบบการคดั เลอื กบุคคลและจดั บรรจุบุคคลเขา้ วทิ ยาศาสตร์สมยั ใหม่ MG 112 Management

3.ใหค้ วามร่วมมอื กบั คนงานเสมอและคานงึ ถงึ ว่าการทางาน ทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพ4. ผูบ้ รหิ ารจะต้องรบั ผดิ ชอบงานด้านการวางแผนงาน MG 112 Management

A Piece Rate System หลกั การของการกาหนดค่าจา้ งตามวธิ กี ารนไ้ีด้แบ่งอตั ราค่าจา้ งเป็น 2 แบบคอื 1. อตั ราหนง่ึ ใชส้ าหรบั ผลผลติ ทยี่ งั ไมถ่ งึ มาตรฐาน 2. อกี อตั ราหนง่ึ จะใชก้ บั ระดบั ผลผลติ ทเ่ีท่ากบั หรอื สูงกว่ามาตรฐาน MG 112 Management

ตวั อย่างเช่น มาตรฐานกาหนดใหค้ นงานต้องผลติ สนิ ค้าได้วนั ละ100 หน่วย (การกาหนดมาตรฐานต้องศกึ ษามาจาก Timeand Motion Study) อตั ราค่าจา้ งหนว่ ยละ 1.20บาท สาหรบั ระดบั การผลติ ตง้ั แต่ 0-99 หน่วย แต่ในกรณที ี่คนงานผลติ ได้ตงั้ แต่ 100 หนว่ ย หรอื มากกว่า อตั ราค่าจา้ งต่อหนว่ ยจะเท่ากบั 1.35 บาท ดงั นนั้ ถา้ คนงานผลติ สนิ ค้าได้ 99หนว่ ย เขาจะได้ผลตอบแทน 118.80 บาท (99x1.20)และในกรณที ค่ี นงานอกี คนหนงึ่ ผลติ สนิ ค้าได้ 100 หนว่ ย เขาจะได้ผลตอบแทน 135 บาท (100x1.35) MG 112 Management

ค.ศ. 1903 Taylor ได้เขยี นหนงั สอื เรอื่ ง“Shop Management”ปี ค.ศ. 1910 ได้เขยี นหนงั สอื ซงึ่ ได้รบั ความนยิ มสูงสุดของเขาคอื“The Principles of ScientificManagement” MG 112 Management

ตัวอย่างการศึกษาถึงหลักการบริหารตามหลักวิทยาศาสตร์ของ Taylor 1. การขนแร่เหล็ก 2. การทดลองตักวัตถุ MG 112 Management

การขนแร่เหล็ก การทดลองของ Taylor เป็นเรอ่ื งของการขนแร่เหลก็ ทอ่ี อกจากเตาหลอมไปยงั รถบรรทุกท่ีบรษิ ทั Bethlehem Steel MG 112 Management

การทดลองตักวัตถุ การทดลองนน้ี าชอ่ื เสยี งมาใหแ้ ก่Taylor อย่างมาก เมอ่ื Taylor เขา้ มาทางานที่บรษิ ทั Bethlehem Steel MG 112 Management

ผูส้ นับสนนุ แนวความคิดของ Taylor บุคคลสาคญั ทส่ี นบั สนุนแนวความคดิ ของ Taylorกค็ อื Hary L. Ganttและสองสามภี รรยา Frank BunkerGilbreth and Lillian MollerGilbreth MG 112 Management

Henry L. Ganttควรมกี ารกาหนดผลประโยชนต์ อบแทนพเิศษในรูปของโบนสัสาหรบั คนงานทส่ี ามารถทางานได้ตามทมี่ อบหมายในแต่ละวนั MG 112 Management

Frank Bunker Gilbreth Lillian Moller Gilbreth จดั ทาภาพยนตร์แสดงการเคลอื่ นไหวของคนงานเพอื่ ชใ้ีหแ้ สดงถงึ การเคลอ่ื นไหวทส่ี ูญเปลา่ และไมม่ ผี ลทางการผลติ และเคลอื่ นไหวทจ่ี าเป็นในการทางาน ทง้ั นโ้ีดยเรยี กความเคลอื่ นไหวพน้ื ฐานนว้ี ่า Therblig MG 112 Management

Henri J. Fayolความแตกต่างระหว่างการศกึ ษาของ Fayol และTaylorอยูท่ วี่ ่า Fayol มุง่ สนใจที่ ผูบ้ รหิ ารหรอื ผูจ้ ดั การระดบั สูงขององค์การ ในขณะที่ Taylor มุง่ ศกึ ษาโดยเนน้ ความสนใจทผ่ี ูบ้ รหิ ารระดบั ต่าหรอื คนงาน MG 112 Management

Fayol ได้แบง่ งานด้านอุตสาหกรรมเป็น 6 กลุม่ ด้วยกนั คอื 1. Technical (Production) 2. Commercial (Buying, Selling, and Exchange) 3. Financial (Serch for and Optimum use of persons) 4. Security (Protection of property and persons) 5. Accounting (including statistics) 6. Managerial (planning organizing commanding coordinating and controlling) MG 112 Management

Fayol ใหค้ วามสนใจในกลุม่ ที่ 6 เกย่ี วกบั เรอ่ื งการจดั การทง้ั น้ีเนอื่ งจากได้มผี ูก้ ลา่ วถงึ 5 กลุม่ แรกกนั มากแลว้ และเขากไ็ด้เนน้ ถงึ คุณภาพของผูจ้ ดั การทด่ี ตี ้องมคี ุณสมบตั ดิ งั น้ี 1. ร่างกายทแี่ ขง็ แรง (มสี ุขภาพอนามยั ด)ี 2. มสี ตปิ ญั ญา (มคี วามสามารถเขา้ ใจ เรยี นรู้ รเิรมิ่ ตดั สนิ ใจและปรบั ตวั ) 3. มจี รยิ ธรรม (มคี วามซอ่ื สตั ย์ รบั ผดิ ชอบ รู้จกั กาลเทศะ จงรกั ภกั ด)ี 4. มกี ารศกึ ษา (มคี วามรู้) 5. มคี วามสามารถและเทคนคิ วธิ กี ารในการจดั การ 6. มปี ระสบการณ์ MG 112 Management

Fayol ได้รบั การยกยอ่ งว่าเป็นผูบ้ ุกเบกิ แนวความคดิเกย่ี วกบั การจดั การเชงิ บรหิ าร(Administrative Management) MG 112 Management

1. หน้าที่ของนักบริหาร (Management Functions) มดี งั น้ี 1.1 การวางแผน (Planning) 1.2 การจัดองค์การ (Organizing) 1.3 การสั่งการ (Directing) 1.4 การประสานงาน (Coordination) 1.5 การควบคมุ (Controlling) MG 112 Management

2.หลักการบริหาร (Management Principle) Fayol ได้วางหลกั การบรหิ ารงานเพอ่ื เป็นแนวทางใน การปฏบิ ตั งิ านของผูบ้ รหิ ารทใ่ีชไ้ ด้ทว่ั ไป 14 ขอ้ ดงั ต่อไปน้ี 1. Division of Work 2. Authority MG 112 Management

3. Discipline4. Unity of Command5. Unity of Direction6. Subordination of Individual Interest to the General Interest MG 112 Management

7. Remuneration of Personnel8. Centralization9. Scalar Chain10. Order11. Equity12. Stability of Tenture of Personnel MG 112 Management

13.Initiative14.Esprit de Corps MG 112 Management

ยุคท่ี 3 แนวความคิดของมนษุ ย์สัมพนั ธ์ (Human Relations) MG 112 Management

George Elton MayoMayo เป็นนกั จติ วทิ ยาชาวออสเตรเลยี เรม่ิ งานวชิ าชพีในการสอนจรยิ ธรรม ปรชั ญา และตรรกวทิ ยา ที่มหาวทิ ยาลยั ควนี ส์แลนด์ MG 112 Management

“Hawthorne Experiment” โดยแบง่ การศกึ ษาทดลองออกเป็น 3 ประเภทใหญๆ่ คอื1. Room studies ทาการทดลองระหว่างปี ค.ศ. 1924 - 19272. Interviewing studies ทาการทดลองระหว่างปี ค.ศ. 1928 - 19313. Observational studies ทาการทดลอง ระหว่างปี ค.ศ. 1931 - 1932 MG 112 Management

1.การศึกษาทดลองภายในห้อง (Room studies)1.1 การปรบั สภาพความชน้ื ของอุณหภูมใินหอ้ งใหม้ สี ภาพต่างๆกนั1.2 จดั ใหท้ างานและหยุดเป็นระยะๆ1.3 เปลย่ี นแปลงการทางานไม่ให้ทาซ้าๆซากๆในงานอย่างเดยี วกนั นานๆ1.4 เพมิ่ ค่าจา้ งแรงงานเพอื่ เป็นเครอ่ื งจูงใจ1.5 เปลย่ี นแปลงวธิ กี ารควบคุมงาน MG 112 Management

2. การศึกษาโดยการสัมภาษณ์ (Interviewing studies)การทดลองนไ้ีด้สมั ภาษณ์คนงานในโรงงานรวม 2,000 คนจากทุกๆ แผนกของบรษิ ทั ได้จดั โครงการทปี่ รกึ ษาพนกั งานเจา้ หนา้ ที่(Employee Counseling Program) MG 112 Management

3. การศึกษาโดยการสังเกต(Observational studies)1. คนงานมใิช่วตั ถุหรอื สง่ิ ของทจี่ ะซ้อื หามาด้วยเงนิ2. ประสทิ ธภิ าพของการทางานมไิด้ขน้ึ อยูก่ บั สภาพแวดลอ้ มทด่ี แี ต่เพยี งอยา่ งเดยี ว3. การแบ่งงานกนั ทาตามลกั ษณะเฉพาะอยา่ ง(Specialization)4. พนกั งานในระดบั สูง การจูงใจทางด้านจติ ใจ (MentalMotivation) MG 112 Management

สรปุ ทง้ั Organization Without Manกบั Man Without Organizationต่างกม็ ขี อ้ บกพร่องด้วยกนั ทงั้ คู่ MG 112 Management

Mary Parker Follett กลา่ วว่าในการจดั การหรอื การบรหิ ารงาน จาเป็นต้องมกี ารประสานงาน 4 ชนดิ ดงั ต่อไปน้ี1. การประสานงานโดยการตดิ ต่อโดยตรงกบั ตวั บุคคลท่ีรบั ผดิ ชอบงานนน้ั ๆ2. การประสานงานในระยะเรมิ่ แรกหรอื ในขนั้ วางแผนกจิ กรรมต่างๆ3. การประสานงานทเ่ีป็นการเสรมิ สร้างความสมั พนั ธ์ซงึ่ กนั และกนัในกจิ กรรมทุกอย่างทก่ี ระทา4. การประสานงานทกี่ ระทาเป็นกระบวนการต่อเนอื่ ง MG 112 Management

Chester Irving Barnard เป็นบุคคลแรกทเ่ีขยี นเกยี่ วกบั ความสมั พนั ธ์ระหว่างวตั ถุประสงค์ของตวั บุคคล และวตั ถุ-ประสงค์ขององค์การ MG 112 Management

Abraham Harold Maslow อธบิ ายได้ว่าเมอื่ ความต้องการนนั้ ได้รบั การตอบสนองแลว้ ความต้องการของมนุษยก์ จ็ ะเลอ่ื นขน้ึ ไปอกี เป็นขน้ั ๆ MG 112 Management

MG 112 Management


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook