Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore EOS6D_Thai_manual

EOS6D_Thai_manual

Published by wichai.kum, 2020-05-15 05:01:46

Description: EOS6D_Thai_manual

Search

Read the Text Version

คำเตือนเกี่ยวกับการถายภาพดวยระบบ Live View คุณภาพของภาพ เมื่อใชความไวแสงสูง สัญญาณรบกวน(จุดแสง แถบแสง ฯลฯ) อาจสังเกตเห็น ในภาพ เม่ือถายภาพในบริเวณที่มีอุณหภูมิสูง อาจทำใหเกิดสัญญาณรบกวนและสีสันท่ีผิดปกติ หากใชระบบ Live View ถายภาพเปนเวลานาน ๆ อุณหภูมิภายในตัวกลองจะสะสม และเพิ่มสูงขึ้น ทำใหคุณภาพของภาพลดทอนลง ใหหยุดใชระบบ Live View เมื่อ ไมไดใชงาน เมื่อถายภาพดวยการเปดรับแสงนาน ในขณะท่ีอุณหภูมิภายในตัวกลองสูงขึ้น เปน ผลใหคุณภาพของภาพตำ่ ลง ใหหยุดถายภาพดวย Live View และรอสัก 2-3 นาที กอนที่จะเริ่มถายภาพอีกคร้ัง เกี่ยวกับสัญลักษณ < > และ < > เมื่ออุณหภูมิภายในตัวกลองสูงข้ึน จากการใชระบบ Live View ถายภาพมาเปนเวลา นาน หรือถายภาพในอุณหภูมิสูงมาก สัญลักษณ < > สีขาว และ < > สีแดง จะปรากฏข้ึน สัญลักษณ < > สีขาวจะบงบอกวาคุณภาพของภาพนิ่งจะลดทอนลง ผูใชควร หยุดใชระบบ Live View และพักการใชกลอง จนกวาอุณหภูมิภายในตัวกลองจะลดต่ำลง สัญลักษณ < > สีแดง เปนสัญญาณวา อีกไมนานระบบ Live View จะยุติการทำงาน โดยอัตโนมัติ ซ่ึงถาระบบหยุดทำงานแลว ผูใชจะไมสามารถถายภาพไดตอไปจนกวา อุณหภูมิภายในตัวกลองลดลง ใหปดสวิตซกลอง และพักการทำงานไวสักครูใหญ ถาใชระบบ Live View และปรากฏวามีสัญลักษณเตือน < > และ < >ปรากฏข้ึน เม่ือไมไดถายภาพ ใหปดสวิตซกลองไวเสมอ ถาอุณหภูมิภายในตัวกลองสูงข้ึน คุณภาพของภาพที่ถายดวยความไวแสงสูงหรือเปดรับ แสงนานอาจจะลดทอนลง แมสัญลักษณ < > สีขาว จะยังไมปรากฏขึ้น เก่ียวกับผลของภาพที่ถาย หากถายภาพในขณะท่ีขยายภาพ (Magnify view) ความเขมสวางของภาพอาจไมเปนที่ นาพอใจ ใหกลับไปดูภาพในอัตราขยายปกติกอนที่จะถายภาพจริง และในระบบขยาย ภาพ ตัวเลขแสดงความไวชัตเตอรและชองรับแสงจะเปนสีสม และถึงแมจะถายภาพใน ขณะท่ีขยายภาพ ก็จะไดภาพในขนาดที่เปนปกติ ถา [ 3: Auto Lighting Optimizer] (น.125) ไมไดตั้งเปน [Disable] ภาพอาจดูสวางกวาปกติ แมจะมีการปรับชดเชยแสง หรือชดเชยแสงแฟลชใหภาพ สลัวลง แลวก็ตาม

คำเตือนเก่ียวกับการถายภาพดวยระบบ Live View เก่ียวกับภาพท่ีแสดงในระบบ Live View ในสภาพแสงนอยมาก หรือสวางจามาก ภาพที่แสดงอาจไมสะทอนใหเห็นความเขมสวาง ของภาพท่ีถายไดจริง หากมีการเปล่ียนแปลงแหลงกำเนิดแสงในระหวางแสดงภาพ ภาพอาจมีการกระพริบ เม่ือ เหตุการณน้ีเกิดข้ึน ใหหยุดการทำงานของระบบ Live View แลวจึงเริ่มใชระบบน้ีอีกครั้ง กับแหลงกำเนิดแสงใหม หากผูใชเล็งกลองไปทางอื่นอยางฉับพลัน อาจทำใหการแสดงผลความเขมสวางของภาพ ผิดปกติชั่วครู ใหรอจนกระทั่งความเขมสวางของภาพไมเปลี่ยนแปลงไปอีกแลว จึงถาย ภาพ หากมีแหลงกำเนิดแสงที่สวางจามากรวมอยูในภาพ เชน ดวงอาทิตย พื้นที่สวางจะดู ดำเขมหรือเปนสีดำในจอ LCD อยางไรก็ตาม ในภาพถายจริง สวนสวางของภาพจะมี ความเขมสวางท่ีถูกตอง ในสภาพแสงนอย หากปรับตั้ง [ 2: LCD brightness] ใหสวาง อาจมีสัญญาณ รบกวนปรากฏเปนเม็ดสีตางๆ ขึ้นในภาพจากระบบ Live View อยางไรก็ตาม สัญญาณ รบกวนเหลานี้จะไมปรากฏในภาพที่ถาย เม่ือขยายดูภาพ ความคมชัดท่ีปรากฏข้ึนจะชัดกวาความเปนจริง เกี่ยวกับ Custom Function ในขณะใชระบบ Live View ฟงกช่ันหลายอยางจะไมทำงานหรือไมสามารถปรับตั้งได (น.303) เกี่ยวกับเลนสและแฟลช สามารถใชฟงกชั่น focus preset ซ่ึงมีอยูในเลนส(ซูเปอร)เทเล เฉพาะรุนที่ออกแบบให มีระบบ focus preset ท่ีผลิตมาต้ังแตชวงคร่ึงหลังของป 2011 เมื่อใชแฟลชภายนอก ไมสามารถล็อคคาแสงแฟลช(FE Lock) และ Modeling flash

  กลองรุนน้ีถูกออกแบบใหถายภาพยนตรได เมื่อปรับสวิตซของระบบ Live View / Movie ไปที่ < > โดยไฟลภาพยนตรที่ถายจะเปน ไฟลท่ีมีสกุล .MOV สำหรับการดท่ีสามารถบันทึกไฟลภาพยนตรได ดูหนา 3 ในแถบ [ 3] ถาผูตั้ง [Wi-Fi] เปน [Enable] จะถายภาพยนตรไม ได ดังนั้นกอนจะถายภาพยนตร ใหตั้ง [Wi-Fi] เปน [Disable]

ารถา ยภาพยนตร Auto Exposure Shooting (ถายภาพยนตรดวยระบบเปดรับแสงอัตโนมัติ) เม่ือใชระบบบันทึกภาพอื่นๆ นอกเหนือจาก <M> ระบบถายภาพยนตรดวยระบบเปดรับ แสงอัตโนมัติจะทำงานโดยอัตโนมัติ เพ่ือเปดรับแสงที่พอเหมาะ เลือกระบบบันทึกภาพ หมุนวงแหวนเลือกระบบบันทึกภาพ ไปท่ีระบบที่ไมใช <M> ปรับสวิตซ Live View /Movie ไปท่ี < > จะมีเสียงเกิดข้ึนจากกระจกสะทอนภาพที่ยก ตัวข้ึนไป จากน้ันจะมีภาพปรากฏบนจอภาพ LCD โฟกัสไปยังวัตถุ กอนถายภาพยนตร เลือกใชระบบออโตโฟกัส หรือแมนนวลโฟกัส (น.192-200) เมื่อแตะปุมชัตเตอรเบาๆ กลองจะหาโฟกัส ดวยระบบออโตโฟกัสที่เลือกไวขณะน้ัน กำลังบันทึกภาพยนตร ถายภาพยนตร กดปุม < > เพื่อเริ่มถายภาพยนตร เม่ือถายภาพยนตรไปแลว สัญลักษณ “ ” จะปรากฏขึ้นที่มุมขวาดานบนของจอ LCD กดปุม < > ซ้ำอีกครั้งเมื่อตองการหยุด ไมโครโฟน

ารถายภาพยนตร คำเตือนสำหรับการถายภาพยนตรจะปรากฏอยูในหนา 233 และ 234 หากจำเปน ใหอานคำเตือนในการถายภาพแบบ Live View ประกอบ ในหนา 201 และ 202 เม่ือใชระบบบันทึกภาพพ้ืนฐาน ผลของภาพยนตรจะไมแตกตางจากเมื่อถายดวยระบบ และสัญลักษณของฉากการถายภาพที่กลองตรวจพบจะปรากฏอยูที่มุม ซายดานบน (น.207) เม่ือใชระบบบันทึกภาพ <Tv> , <Av> หรือ <B> การปรับตั้งตางๆ จะเหมือนกันกับ เมื่อใชระบบบันทึกภาพ <P> ฟงกชั่นของเมนูท่ีสามารถปรับตั้งไดของระบบบันทึกภาพพื้นฐานและระบบบันทึกภาพ สรางสรรคจะมีความแตกตางกัน (น.353) เม่ือใชระบบบันทึกภาพสรางสรรค ผูใชสามารถปรับต้ังระบบปรับความเขมสวาง อัตโนมัติ(Auto Lighting Optimizer) ซ่ึงภายในเมนูของฟงกช่ันน้ี สามารถปรับตั้ง [ Disable in M or B modes] ได แตอยางไรก็ตาม ในระหวางถาย ภาพยนตร หากต้ังระบบบันทึกภาพเปน <B> กลองจะถายภาพยนตรดวยระบบ อัตโนมัติแทนท่ีจะถายดวยชัตเตอร B และสามารถต้ังระบบปรับความเขมสวางอัตโนมัติ ไดดวยเชนกัน เมื่อใชระบบบันทึกภาพพื้นฐาน ผูใชสามารถกดปุม (น.153) เพื่อล็อคคาแสง (AE Lock) และการแสดงผลคาแสงจะตั้งไดโดย [ Metering timer] และหลัง จากล็อคคาแสงในขณะถายภาพยนตรแลว ผูใชสามารถยกเลิกไดโดยกดปุม กลองจะล็อคคาแสงไวตลอดเวลาจนกวาผูใชจะกดปุม ) เม่ือใชระบบบันทึกภาพสรางสรรค ผูใชสามารถชดเชยแสงไดโดยเลื่อนสวิตซ ไปทางซาย และหมุนวงแหวน เมื่อแตะชัตเตอรเบาๆ ลงครึ่งหนึ่ง กลองจะแสดงความไวชัตเตอร และความไวแสงท่ีดาน ลางของจอภาพ คาที่แสดงนี้จะเปนคาที่ใชในการถายภาพน่ิง (น.210) จะไมแสดงคาท่ี ใชในการถายภาพยนตร และโปรดทราบวา คาที่ใชในการถายภาพยนตรกับการถายภาพ นิ่งอาจมีความแตกตางกัน เมื่อผูใชถายภาพยนตรโดยตั้งเปนระบบเปดรับแสงอัตโนมัติ คาของความไวชัตเตอรและ ชองรับแสงจะไมถูกบันทึกไวกับขอมูลของภาพ (Exif)

ารถายภาพยนตร ความไวแสง เม่ือใชระบบบันทึกภาพพื้นฐาน กลองจะปรับต้ังความไวแสงใหโดยอัตโนมัติ ในชวง ISO 100 - 12800 ความไวแสง เม่ือใชระบบบันทึกภาพสรางสรรค กลองจะปรับต้ังความไวแสงใหโดยอัตโนมัติ ในชวง ISO 100 - 12800 ใน [ 3: ISO speed settings] ถาตั้ง [Maximum] ภายใน [ISO speed range] เปน [25600/H] (น.109) ความไวแสงสูงสุดของความไวแสง อัตโนมัติจะถูกขยายเปน H (เทียบเทากับ ISO 25600) และโปรดระวังวา เม่ือต้ัง [25600] ความไวแสงสูงสุดจะไมถูกขยายใหสูงขึ้นไปดวย และยังคงสูงสุดท่ี ISO 12800 ถา [ 4: Highlight tone priority] ไดตั้งเปน [Enable] (น.130) ความไวแสง จะมีชวงระหวาง ISO 200 - 12800 ภายในเมนู [ 3: ISO speed settings] จะไมสามารถปรับต้ัง [Auto ISO range] หรือ [Min. shutter spd.] ได (น.110, 111) เม่ือถายภาพยนตร ภายใน [ISO speed range] ถา [Minimum] ไดถูกตั้งเปน [L(50)] และ [Maximum] ไดถูกต้ังเปน [H1(51200)] หรือ [H2(102400)] เมื่อผูใชเปล่ียน จากการถายภาพนิ่งมาเปนถายภาพยนตร ความไวแสงต่ำสุดที่ปรับตั้งไดเอง(Manual ISO) จะเปน ISO 100 และสูงสุดจะเทากับ H(25600) จะไมสามารถขยายความไวแสง เปน ISO 50 และ ISO 51200/102400 ได การใชรวมกับแฟลช EX-series Speedlite (อุปกรณเสริมพิเศษ) รุนท่ีมีไฟ LED เม่ือถายภาพยนตรดวยระบบเปดรับแสงอัตโนมัติ (ระบบนอกเหนือจาก <M>) กลองรุนนี้ถูกออกแบบใหมีฟงกชั่นเปดแสงไฟ LED จากแฟลชภายนอกโดยอัตโนมัติ เม่ือแสงนอย สำหรับรายละเอียดเพิ่มเติม อานไดจากคูมือการใชของแฟลช EX-series Speedlite

ารถายภาพยนตร สัญลักษณภาพ เมื่อถายภาพยนตรดวยระบบบันทึกภาพพื้นฐาน กลองจะแสดงสัญลักษณท่ีเปนตัวแทน ของลักษณะภาพที่กำลังจะถายที่กลองตรวจพบใหผูใชทราบ และกลองจะปรับภาพให เขากับลักษณะภาพที่ไดตรวจพบน้ัน สำหรับฉากบางประเภทหรือสภาพการถายภาพ บางอยาง สัญลักษณภาพท่ีปรากฏข้ึนอาจไมตรงกับความเปนจริง วัตถุ ไมใชภาพบุคคล สีของ ภาพบุคคล*1 ธรรมชาติและ ระยะใกล *2 ฉากหลัง ฉากหลัง สวาง บรรยากาศภายนอก สีเทา สีน้ำเงิน ยอนแสง ออน ปมีทระอกงอฟบาสีเขม ยอนแสง พระอาทิตยตก สีสม สีน้ำเงิน แหลงกำเนิดแสง เปนจุด เขม สีเขม *1 : แสดงก็ตอเม่ือวิธีหาโฟกัสแบบ AF ไดถูกต้ังเปน [ Live mode] ซึ่งถาตั้งเปน แบบอื่น สัญลักษณ “Non-Portrait” จะปรากฏขึ้น แมจะตรวจพบใบหนาบุคคลก็ตาม *2 : ปรากฏขึ้นเม่ือนำเอาเลนสที่สามารถสงขอมูลของระยะทาง แตเม่ือนำเอาทอตอเลนส หรือเลนสโคลสอัพมาติดต้ัง สัญลักษณที่ปรากฏขึ้นอาจจะไมตรงกับลักษณะภาพท่ี จะถายได *3 : สัญลักษณรูปแบบของภาพที่กลองตรวจสอบไดจะปรากฏข้ึน

ารถายภาพยนตร การถายภาพยนตรดวยระบบแมนนวล ผูใชสามารถปรับชัตเตอร ชองรับแสง และความไวแสงสำหรับถายภาพยนตรได การ ถายภาพยนตรดวยการปรับตั้งเองนั้น เหมาะสำหรับผูใชที่มีประสบการณเทานั้น หมุนวงแหวนเลือกระบบบันทึกภาพ > ไปที่ <M> ปรับสวิตซ Live View /Movie ไปที่ < ปรับต้ังความไวแสง กดปุม หนาจอแสดงการปรับความไวแสงจะปรากฏท่ี จอ LCD หมุนวงแหวน < > เพ่ือตั้งความไวแสง สำหรับรายละเอียดเก่ียวกับความไวแสง ดูหนาถัดไป ปรับความไวชัตเตอร และชองรับแสง แตะชัตเตอรเบาๆ ลงคร่ึงหน่ึง เพื่อตรวจสอบ คาแสง เม่ือตองการปรับความไวชัตเตอร หมุนวงแหวน < > เพื่อต้ังความไวชัตเตอร ซึ่งข้ึนอยูกับ ความไวชัตเตอร frame rate < > ชองรับแสง 1/4000 วิ. - 1/30 วิ. 1/4000 วิ. - 1/60 วิ. หมุนวงแหวน < > เพื่อปรับชองรับแสง ถาไมสามารถปรับตั้งได ปรับสวิตซ < ไปทางซาย แลวหมุนวงแหวน < > > หรือ < > โฟกัสและถายภาพยนตร ทำตามข้ันตอนท่ี 3 และ 4 “Auto Exposure Shooting” ในหนา 204

ารถายภาพยนตร ความไวแสงเม่ือถายภาพยนตรดวยระบบแมนนวล เม่ือตั้งความไวแสงเปน [Auto] (A), ความไวแสงจะถูกต้ังโดยอัตโนมัติ โดยอยูในชวง ISO 100 - 12800 และภายใน [ 3: ISO speed settings] ถาตั้ง [Maximum] ภายใน [ISO speed range] เปน [25600/H] ความไวแสงสูงสุดของความไวแสง อัตโนมัติจะถูกขยายใหสูงข้ึน และความไวแสงอัตโนมัติจะถูกปรับต้ังในชวงระหวาง ISO 100 H ผูใชสามารถปรับตั้งความไวแสงไดเอง ในชวง ISO 100 - 12800 ในระดับข้ันละ 1/3 สต็อป ภายใน [ 3: ISO speed settings] ถาต้ัง [Maximum] ใน [ISO speed range] เปน [25600/H] ความไวแสงสูงสุดในระบบปรับความไวแสง เอง(Manual ISO) จะเพ่ิมไปท่ี H(25600) ดังน้ัน ตองระมัดระวังในกรณีที่ปรับต้ัง [Maximum] เปน [25600] เพราะความไวแสงสูงสุดจะไมขยายข้ึนไป และยังคงเทา กับ ISO 12800 เมื่อต้ัง [ 4 : Highlight tone priority] เปน [Enable] (น.130) ผูใชสามารถ ตั้งความไวชัตเตอรไดในชวง ISO 200 - 12800 (ข้ึนอยูกับ [ISO speed range] ที่ ปรับตั้งไว) ภายใน [ 3: ISO speed settings] จะไมสามาถปรับต้ัง [Auto ISO range] และ [Min. shutter spd.] (น.110,111) ไดเม่ือถายภาพยนตร เมื่อถายภาพยนตรดวยความไวแสง ISO 16000/20000/25600 สัญญาณรบกวนอาจ จะปรากฏมากเกินไป ความไวแสงเหลานี้ เปนความไวแสงที่ถูกขยาย (Expand ISO) H ภายใน [ISO speed range] ถา [Minimum] ไดถูกต้ังเปน [L(50)] และ [Maximum] ไดถูกตั้งเปน [H1(51200)] หรือ [H2(102400)] เม่ือผูใชเปล่ียน จากการถายภาพนิ่งมาเปนถายภาพยนตร ความไวแสงตำ่ สุดที่ปรับตั้งไดเอง(Manual ISO) จะเปน ISO 100 และสูงสุดจะเทากับ H(25600) จะไมสามารถขยายความไวแสง เปน ISO 50 และ ISO 51200/102400 ได ไมแนะนำใหปรับเปลี่ยนความไวชัตเตอรและชองรับแสงในระหวางการถายภาพยนตร เพราะการเปล่ียนแปลงของคาแสงจะถูกบันทึกลงในภาพยนตรดวย เมื่อถายภาพยนตรที่มีวัตถุกำลังเคล่ือนท่ี แนะนำใหใชความไวชัตเตอรระหวาง 1/30 - 1/125 วินาที เพราะย่ิงใชความไวชัตเตอรสูงมากเทาไหร วัตถุท่ีกำลังเคลื่อนที่ก็จะย่ิง ดูไมราบลื่นมากข้ึนเทาน้ัน ถาปรับเปลี่ยนความไวชัตเตอรในระหวางถายภาพยนตร โดยใชแหลงกำเนิดแสง ฟลูออเรสเซนตหรือไฟ LED ภาพอาจมีการกระพริบ ถาตั้งความไวแสงอัตโนมัติ(ISO Auto) สามารถใชปุม < >ในการล็อคคาความไวแสง เม่ือกดปุม < > และจัดองคประกอบภาพใหม ผูใชสามารถตรวจสองบความเปล่ียน แปลงของระดับแสงจากสเกลแสดงระดับแสง (น.22, 210) เพื่อปรียบเทียบกับการกดปุม < > ครั้งแรก สามารถดู Histogram ไดโดยกดปุม < >

ารถายภาพยนตร การแสดงขอมูล > การแสดงขอมูลจะเปล่ียนแปลงไป แตละคร้ังที่กดปุม < จำนวนภาพท่ีสามารถถายได ปริมาณภาพถายตอเนื่องสูงสุด ระบบ AF เวลาที่สามารถถายภาพยนตรตอไปได*/ เวลาที่ผานไป ระบบถายภาพยนตร ตรวจสอบระดับพลังงาน เปดรับแสงอัตโนมัติ จุดโฟกัส AF (FlexiZone - Single) (ระบบบันทึกภาพ พ้ืนฐาน) กำลังถายภาพยนตร เปดรับแสงอัตโนมัติ สมดุลสีขาว (ระบบบันทึกภาพ Picture Style สรางสรรค) ปรับความเขมสวาง ปรับตั้งเอง อัตโนมัติ ระบบขับเคล่ือน วิดีโอ snapshot คุณภาพในการบันทึก ขนาดของภาพยนตร ระบบบันทึกภาพ อัตโนมัติ รูปแบบของการบีบอัดขอมูล แมนนวล ระดบั การบนั ทึก : แมนนวล อัตราเร็วของเฟรม ตัวกรองเสียง ล็อคคาแสง ความไวแสง ความไวชัตเตอร เนนรายละเอียดในสวนสวาง มาตรแสดงระดับ ฟลเตอรตัดเสียงลม ชองรับแสง ฟงกชั่น Wi-Fi สถานะของ GPS ตัวแสดงระดับแสง * สำหรับใชกับภาพยนตรที่เปนคลิปเด่ียว สามารถแสดงเสนระดับอีเลคทรอนิคสโดยกดปุม (น.60) ถาต้ังระบบออโตโฟกัสเปน [ Live mode] หรือเมื่อตอกลองเขากับจอโทรทัศน ดวยสาย HDMI (น.261) กลองจะไมแสดงเสนระดับอีเล็กทรอนิกส เม่ือเริ่มถายภาพยนตรแลว ตัวเลขแสดงเวลาที่ถายภาพยนตรได จะเปลี่ยนไปเปนเวลา ของภาพยนตรที่กำลังถาย

ารถายภาพยนตร หมายเหตุเกี่ยวกับการถายภาพยนตร กลองรุนนี้ไมสามารถโฟกัสในแบบตอเนื่องไดเหมือนกับกลองถายวิดีโอ ไมแนะนำใหใชระบบออโตโฟกัสในการถายภาพยนตร เพราะโฟกัสอาจจะหลุดไปช่ัว ขณะ หรือคาแสงอาจเปล่ียนแปลงไปเปนปริมาณมาก ในขณะถายภาพยนตร หามเล็งกลองไปท่ีดวงอาทิตย เพราะความรอนจากดวงอาทิตย อาจทำลายชิ้นสวนภายในตัวกลองได ถาตั้งสมดุลสีขาวเปน < > และความไวแสง หรือชองรับแสงถูกปรับเปลี่ยนใน ขณะบันทึกภาพยนตร สมดุลสีขาวอาจเกิดความเปลี่ยนแปลงได เมื่อถายภาพยนตรในพื้นที่ซ่ึงมีแสงฟลูออเรสเซนต หรือไฟ LED ภาพยนตรท่ีถายอาจ มีการกระพริบ หากใชเลนสซูม ไมแนะนำใหซูมเลนสในระหวางถายภาพยนตร เพราะการซูมเลนสอาจ ทำใหคาแสงเกิดความเปล่ียนแปลง แมวาการซูมเลนสจะทำใหขนาดชองรับแสงกวางสุด เปล่ียนไปหรือไมก็ตาม และในภาพยนตรจะปรากฏความเปล่ียนแปลงของคาแสง นี้ไปดวย ไมสามารถขยายดูภาพไดในระหวางท่ีกำลังถายภาพยนตร คำเตือนเกี่ยวกับการถายภาพยนตร แสดงในหนา 233 และ 234 หากจำเปน อานคำเตือนเก่ียวกับการถายภาพดวย Live View ในหนา 201 และ 202 การปรับตั้งเก่ียวกับการถายภาพยนตรจะอยูในแถบ และ (น.223) เมื่อมีการถายภาพยนตร ไฟลภาพยนตรจะถูกบันทึกไวเสมอ ถาขนาดไฟลเกินกวา 4GB กลองจะบันทึกเปนไฟลใหม การเห็นภาพในชองเล็งภาพจะครอบคลุมขนาดของภาพยนตร 100% (เมื่อตั้งขนาดการ ถายภาพยนตรเปน [ ] ) ผูใชสามารถโฟกัสภาพโดยการกดปุม <AF-ON> เมื่อตองการโฟกัสในระหวางถายภาพยนตร ใหกดปุม <AF-ON> ผูใชไมสามารถ จะโฟกัสโดยใชน้ิวแตะชัตเตอรได กลองจะบันทึกเสียงในแบบ monoraul ดวยไมโครโฟนภายในตัวกลอง (น.204) สามารถใชไมโครโฟนภายนอกได โดยนำมาตอเขากับชองเสียบแบบสเตอริโอ มินิแจ็ค(3.5 มม.) ที่ชองเสียบของตัวกลอง (น.20) ผูใชก็สามารถจะบันทึกเสียงในแบบ สเตอริโอได

ารถายภาพยนตร หมายเหตุเก่ียวกับการถายภาพยนตร เมื่อระบบขับเคล่ือนถูกต้ังเปน < > หรือ < > ผูใชสามารถจะใชรีโมทคอนโทรล RC-6(อุปกรณเสริมพิเศษ น.167) สำหรับเร่ิมตนและหยุดถายภาพยนตร โดยตองปรับ สวิตซของตัวรีโมทเปน <2> (หนวงเวลา 2 วินาที) แลวกดปุมสงสัญญาณ ถาปรับสวิตซ ของรีโมทเปน < > กลองจะถายภาพน่ิงเมื่อกดปุมสงสัญญาณ เม่ือใชแบตเตอรี LP-E6 ที่ประจุไฟเต็ม ระยะเวลาที่สามารถถายภาพยนตรไดจะเปน ดังน้ี : ประมาณ 1 ช่ัวโมง 35 นาที ท่ีอุณหภูมิหอง(23 ํC / 73 ํF) และประมาณ 1 ชั่วโมง 25 นาที ที่อุณหภูมิตำ่ (0 ํC / 32 ํF) เมื่อใชเลนส(ซูเปอร)เทเลโฟโต ซ่ึงมีระบบ power focus ซึ่งวางจำหนายในชวงครึ่ง หลังของป 2011 ผูใชจะสามารถใชระบบ power focus ได ในขณะถายภาพยนตร Final Image Simulation (การจำลองภาพท่ีเหมือนผลจริง) การจำลองภาพที่เหมือนผลจริง เปนฟงกชั่นที่ออกแบบมาเพื่อใหผูใชไดเห็นผลของ Picture Style, สมดุลสีขาว ฯลฯ ของภาพ ในระหวางท่ีทำการถายภาพยนตร โดยจะสะทอนผลของการต้ังฟงกชั่นตางๆ ตามรายการตอไปนี้ : การจำลองภาพท่ีเหมือนผลจริงของระบบถายภาพยนตร Picture Style * คาตัวแปรตางๆ ที่ปรับตั้ง ไดแก sharpness, contrast, color saturation และ color tone จะสะทอนผลการปรับต้ังใหเห็นในภาพ White balance (สมดุลสีขาว) White balance correction (ปรับแกสมดุลสีขาว) คาแสง ชวงความชัด Auto lighting optimizer (ปรับความเขมสวางและความเปรียบตางอัตโนมัติ) Peripheral illumination correction (ปรับความสลัวบริเวณขอบภาพ) Chromatic aberration correction (ปรับแกความคลาดสีของเลนส) Hilight tone priority (เนนรายละเอียดในสวนสวาง)

ถายภาพนิ่ง ารถายภาพยนตร ผูใชสามารถถายภาพนิ่งไดตลอดเวลาแมในขณะ ถายภาพยนตร โดยกดปุมชัตเตอรลงไปจนสุด การถายภาพน่ิงในระหวางถายภาพยนตร ถาถายภาพนิ่งในระหวางการถายภาพยนตร ภาพยนตรจะบันทึกภาพนิ่งในจังหวะ ประมาณ 1 วินาที ภาพน่ิงท่ีถายจะถูกบันทึกลงในการด และการถายภาพยนตรจะกลับมาทำงานตอไป เองโดยอัตโนมัติเม่ือจอภาพกลับมาแสดงภาพแบบ Live View อีกครั้งหน่ึง ภาพนิ่งและภาพยนตร จะถูกบันทึกแยกเปนไฟลตางหากจากกันในการด ฟงกช่ันตางๆ ที่ปรับตั้งและทำงานไดในระบบถายภาพน่ิงน้ันไดแสดงไวดานลาง สวน ฟงกช่ันอ่ืนๆ จะเหมือนกับฟงกชั่นสำหรับการถายภาพยนตร - ฟงกช่ัน การปรับต้ัง คณุ ภาพ ปรบั ตงั้ ไดจ ากเมนู [ 1: Image quality] ในการบันทึก เมอื่ ตงั้ ความละเอยี ดในการบนั ทกึ ภาพเปน [1920x1080] หรอื [1280x720] อัตราสว นของดา นจะเปน 16:9 และเม่อื ต้งั ขนาดเปน [640x480] อัตราสวนของดานจะเปน 4:3 ความไวแสง * เมอ่ื ตง้ั ความไวแสงอตั โนมตั ิ ความไวแสงจะอยใู นชว ง ISO 100 - 12800 เมอื่ ถา ยภาพยนตรด ว ยระบบเปด รบั แสงเอง(แมนนวล) ดู “การปรบั ความไว แสงเอง ในระหวา งถา ยภาพยนตร) (น.209) การปรับต้ังคา เมอื่ ตง้ั เปน ระบบเปด รบั แสงอตั โนมตั ิ กลอ งจะตง้ั ความไวชตั เตอร การเปดรับแสง และชองรบั แสงใหโ ดยอตั โนมตั ิ เมอ่ื ตง้ั เปน ระบบเปด รบั แสงแบบปรบั ตงั้ เอง ผใู ชต อ งปรบั ตงั้ ความไว ชตั เตอรแ ละชอ งรบั แสงเอง * หากมีการปรับตั้ง Highlight tone priority จะปรับต้ังความไวแสงไดตั้งแต ISO 200 เปนตนไป

ารถายภาพยนตร ไมสามารถใชระบบถายภาพครอมอัตโนมัติ(AEB) ได แมจะนำแฟลชภายนอกมาติดตั้ง แฟลชจะไมทำงาน สามารถถายภาพนิ่งในระบบขับเคลื่อนแบบตอเนื่องไดในระหวางการถายภาพยนตร อยางไรก็ดี กลองจะไมแสดงภาพท่ีถายแลว สำหรับจำนวนภาพน่ิง ก็ขึ้นอยูกับระดับ คุณภาพของภาพนิ่งท่ีปรับต้ังเอาไวสำหรับการถายภาพแบบตอเน่ือง คุณสมบัติของ การดท่ีใชในการบันทึก ฯลฯ และการถายภาพยนตรอาจหยุดลงโดยอัตโนมัติ หากตองการถายภาพนิ่งดวยระบบขับเคล่ือนแบบตอเนื่องในระหวางการถายภาพยนตร แนะนำใหใชการดท่ีมีความเร็วสูง แนะนำใหตั้งระดับคุณภาพของภาพนิ่งใหไฟลมีขนาด เล็กลงสำหรับถายภาพนิ่ง และไมควรถายภาพนิ่งในขณะถายภาพยนตรบอยจนเกินไป ผูใชสามารถถายภาพนิ่งไดในทุกๆ ระบบขับเคล่ือน สามารถตั้งระบบหนวงเวลาถายภาพไดกอนถายภาพยนตร แตถาใชในระหวางการถาย ภาพยนตร กลองจะปรับไปเปนระบบขับเคล่ือนแบบครั้งละภาพ(ปกติ) โดยอัตโนมัติ

ารปรับต้งั ฟง กชน่ั ของการถายภาพยนตร (การปรับต้ังควบคุมแบบเร็ว) เมื่อใชระบบบันทึกภาพสรางสรรค ผูใชสามารถปรับต้ังฟงกช่ันตางๆ ไดดังตอไปนี้ : รูปแบบการโฟกัส, ระบบขับเคล่ือน, คุณภาพในการบันทึก, ขนาดภาพยนตร, ระดับการบันทึกเสียง (เมื่อตั้ง [Sound recording: Manual] ), สมดุลสีขาว, Picture Style, ปรับความเขมสวางอัตโนมัติ, และ Video snapshot เมื่อใชระบบบันทึกภาพพ้ืนฐาน เฉพาะฟงกชั่นที่เปนตัวเขมท่ีสามารถปรับตั้งได กดปุม < > ฟงกชั่นที่เลือกไดจะปรากฏข้ึน เลือกฟงกช่ันและปรับต้ัง ใช เพื่อเลือกฟงกช่ัน ตัวเลือกและคาการปรับต้ังของฟงกชั่นตางๆ จะแสดงไวทางดานลางของจอ ปรับต้ังดวยการกดปุม เมื่อตองการปรับตั้งคุณภาพของไฟลแบบ RAW หรือต้ังคาตัวแปรของ Picture Style ใหกดปุม ออกจากการปรับต้ัง กดปุม เพ่ือออกจากการปรับต้ัง และกลับไปสูการถายภาพยนตร การปรับต้ัง เม่ือกดปุม หรือ ขณะท่ีกลองกำลังแสดงภาพที่จอ LCD หนาจอจะ แสดงรายการปรับตั้ง ซ่ึงผูใชสามารถหมุนวงแหวน < > หรือ < > เพื่อปรับต้ัง ฟงกช่ันท่ีตองการ เมื่อตั้งระบบโฟกัสเปน Quick mode ผูใชสามารถกดปุม < > เพื่อปรับตั้งระบบ เลือกพ้ืนท่ีโฟกัสอัตโนมัติ และเลือกจุดโฟกัสได วิธีปรับต้ังจะเหมือนกับกรณีถายภาพ โดยมองผานชองเล็งภาพตามปกติ และในขณะกำลังถายภาพยนตรดวยระบบ แมนนวล(น.208) สามารถกดปุม เพื่อปรับต้ังความไวแสง

ารปรบั ตง้ั ขนาดของภาพยนตร ดวย [ 2: Movie rec. size] ผูใชสามารถ ปรับตั้งขนาดของภาพยนตร, ความเร็วของเฟรมตอ วินาที (frame rate) และกรรมวิธีการบีบอัดไฟล โดย ความเร็วของเฟรมจะถูกปรับเปลี่ยนโดยอัตโนมัติโดย ข้ึนอยูกับการปรับต้ังใน [ 3: Video system] ขนาดภาพยนตร ความละเอียดในการบันทึกระดับ Full High-Definition (Full HD) อัตราสวนของดานจะเทากับ 16:9 ความละเอียดในการบันทึกระดับ High-Definition(HD) อัตราสวนของดานจะเทากับ 16:9 ความละเอียดในการบันทึกระดับ Standard-definition อัตราสวนของดานจะเทากับ 4:3 ความเร็วของเฟรม (frame rate) (fps : เฟรมตอวินาที) สำหรับพื้นที่ซ่ึงใชระบบสัญญาณแบบ NTSC (อเมริกาเหนือ, ญี่ปุน, เกาหลี, เมกซิโก ฯลฯ) สำหรับพ้ืนท่ีซึ่งใชระบบสัญญาณแบบ PAL (ยุโรป, รัสเซีย, จีน, ออสเตรเลีย ฯลฯ) สำหรับการถายทำภาพยนตร การบีบอัด (compression method) บีบอัดเฟรมภาพยนตรหลายๆ เฟรมในเวลาเดียวกัน เปนรูป แบบที่มีประสิทธิภาพในการบันทึก เพราะไฟลจะมีขนาด เล็กกวาแบบ ALL-I และชวยใหถายภาพยนตรไดนานกวา บี บ อั ด เ ฟ ร ม ภ า พ ย น ต ร ที ล ะ เ ฟ ร ม ใ น ข ณ ะ กำ ลั ง บั น ทึ ก ภาพยนตร แมวาขนาดไฟลจะมีขนาดใหญกวา IPB แตจะมี คุณภาพของภาพยนตรที่เหมาะสำหรับการนำไปตัดตอ

ารปรับตั้งขนาดของภาพยนตร ระยะเวลารวมทสี่ ามารถถายภาพยนตรไ ด และขนาดไฟลตอ นาที ความละเอียดของ ระยะเวลารวมในการถายภาพยนตร ขนาดไฟล ภาพยนตร การด 4GB การด 8GB การด 16GB 235 MB/นาที 16 นาที 32 นาที 1 ชั่วโมง 4 นาที 5 นาที 11 นาที 22 นาที 685 MB/นาที 18 นาที 37 นาที 1 ชั่วโมง 14 นาที 205 MB/นาที 6 นาที 12 นาที 25 นาที 610 MB/นาที 48 นาที 78 MB/นาที 1 ช่ัวโมง 37 นาที 3 ช่ัวโมง 14 นาที เม่ือภาพยนตรมีขนาดเกิน 4GB แมจะถายภาพยนตรจนมีขนาดถึง 4GB แลว ก็ยังสามารถถายภาพตอไปไดโดยไม สะดุด ประมาณ 30 วินาทีกอนท่ีไฟลจะมีขนาดถึง 4GB ระยะเวลาในการถายภาพยนตร หรือ รหัสของเวลาที่ปรากฏเม่ือถายภาพยนตรจะกระพริบ ถาผูใชยังคงถายภาพตอไป จนไฟลมีขนาดเกิน 4GB กลองจะสรางไฟลใหมขึ้นมาโดยอัตโนมัติ ระยะเวลาในการ ถายภาพยนตร หรือรหัสของเวลาที่ปรากฏเมื่อถายภาพยนตรจะหยุดกระพริบ เมื่อเลนดูภาพยนตรท่ีถายไว จะตองเลือกดูภาพยนตรจากไฟลท่ีถูกแยกจากกัน เพราะ ไฟลภาพยนตรนั้นไมสามารถจะเลนตอกันโดยอัตโนมัติ หลังจากท่ีเลนภาพยนตรจบ ใหเลือกเลนไฟลลำดับตอไป ขีดจำกัดของเวลาในการถายภาพยนตร ระยะเวลาในการถายภาพยนตรตอ 1 คลิป คือ 29 นาที 59 วินาที ถาถายภาพยนตร ไปจนครบ 29 นาที 59 วินาที แลว ระบบถายภาพยนตรจะหยุดลงโดยอัตโนมัติ และ สามารถจะเร่ิมถายภาพยนตรตอไปได โดยกดปุม < > (กลองจะบันทึกภาพยนตร ในไฟลใหม) ถาอุณหภูมิภายในตัวกลองเพ่ิมข้ึน การถายภาพยนตรอาจจะส้ินสุดลงกอนท่ีจะถึง ระยะเวลามากท่ีสุด ซ่ึงแสดงไวในหนาท่ีแลว (น.233) เกี่ยวกับ Full HD 1080 Full HD 1080 ระบุถึงความเขากันไดกับระบบ High-Definition ที่มีพิกเซลทางแนวต้ัง 1080 พิกเซล(scanning lines)

ารปรับตั้งระบบบันทึกเสียง ผูใชสามารถถายภาพยนตร พรอมกับบันทึกเสียงใน ระบบ monoraul ดวยไมโครโฟนภายในตัวกลอง และ ผูใชสามารถปรับระดับเสียง โดยปรับต้ังดวย [ 2: Sound recording] การบนั ทกึ เสยี ง / ระดบั การบนั ทกึ เสยี ง ระดับความดังของเสียงจะถูกปรับตั้งใหพอเหมาะโดยอัตโนมัติ ระบบ ควบคุมระดับเสียงจะทำงานอยางตอบสนองกับระดับเสียงในการถาย ทำภาพยนตรโดยอัตโนมัติ สำหรับนักถายภาพท่ีมีประสบการณแลว ผูใชสามารถปรับระดับเสียงได 64 ระดับ เลือก [Rec. level] โดยดูท่ีขีดแสดงระดับในขณะหมุนวง แหวน < > เพ่ือปรับระดับเสียง โดยในขณะมองไปท่ีตัวแสดงระดับ สูงสุด (3 วินาที) สามารถปรับระดับเสียงใหมีระดับสูงไดถึง 12 “-12db” ซึ่งระดับเสียงจะปรากฏทางดานขวาของระดับเสียงสูงสุด ถาระดับเสียง น้ีเกิน “0” เสียงอาจมีความผิดเพี้ยนไป เสียงจะไมถูกบันทึก Wind Filter/Attenuator (ฟลเตอรตัดเสียงลม/ตัวกรองเสียง) ฟลเตอรตัดเสียงลม เมื่อตั้งเปน [Enable] จะตัดเสียงลมเม่ือถายภาพยนตรนอกสถานที่ และมีลมแรง ฟงกช่ันนี้จะทำงานเฉพาะเม่ือใชไมโครโฟนในตัว และ โปรดทราบวา [Enable] จะขจัดเสียงที่มีลักษณะทุมตำ่ ดังน้ันควร จะตั้งเปน [Disable] เม่ือปราศจากลม ซึ่งจะทำใหเสียงถูกบันทึกอยาง เปนธรรมชาติมากกวาตั้งเปน [Enable] แมวา [Sound recording] จะต้ังเปน [Auto] หรือ [Manual] ไว ตัวกรองเสียง กอนท่ีจะถายภาพยนตร แตถามีเสียงที่ดังมาก ความบิดเบือนของเสียง ท่ีบันทึก ก็อาจเกิดขึ้นได หากเปนเชนน้ี ใหต้ังฟงกช่ันนี้เปน [Enable]

ารปรับต้ังระบบบันทึกเสียง การใชไ มโครโฟน ไมโครโฟนภายในตัวกลองจะบันทึกเสียงในระบบ monaural ผูใชสามารถบันทึกเสียง ในระบบสเตอริโอไดโดยนำเอาไมโครโฟนแบบสเตอริโอมาติดต้ัง(ไมโครโฟนท่ีมี จำหนายทั่วไป) ไมโครโฟนที่จะติดตั้งได เปนรุนท่ีใชหัวเสียบขนาด 3.5 มม.(mini-jack) โดยเสียบเขากับชองเสียบไมโครโฟนภายนอก (น.20) เม่ือติดตั้งไมโครโฟนภายนอก แลว กลองจะเปล่ียนไปใชไมโครโฟนภายนอกในการบันทึกเสียงโดยอัตโนมัติ เม่ือใชระบบบันทึกภาพพ้ืนฐาน ตัวเลือกการปรับต้ังใน [Sound recording] จะเปน [On/Off] ถาตั้งเปน [On] กลองจะปรับระดับเสียงใหโดยอัตโนมัติ (เหมือนกันกับ [Auto] ) และ Wind Filter (ฟลเตอรตัดเสียงลม) ก็จะทำงานดวย ไมสามารถปรับสมดุลของเสียงทางซาย(L) และขวา(R) ได เสียงจะถูกบันทึกดวยความถ่ี 48 kHz ในระดับ 16-bit ท้ังดานซายและขวา

ารตง้ั รหสั ของเวลา รหัสของเวลาก็คือการอางอิงของเวลา ซึ่งสัมพันธกับ ภาพยนตรและเสียง ในขณะถายภาพยนตรโดย อัตโนมัติ ซ่ึงรหัสเวลาจะถูกบันทึกตลอดเวลา ในรูป แบบดังน้ี : ชั่วโมง, นาที, วินาที และเฟรม โดยรหัส ของเวลาจะเปนสวนสำคัญในขณะตัดตอภาพยนตร ปรับตั้งรหัสของเวลา ดวย [ 2: Time code] Count up (นับเพ่ิม) รหัสของเวลาจะนับเพ่ิม เมื่อมีการถายภาพยนตร รหัสของเวลาจะนับเพิ่ม ไมวาจะถายภาพยนตรหรือไมก็ตาม Start Time Setting (ปรับต้ังเวลาเร่ิมตน) ผูใชสามารถปรับต้ังเวลาเร่ิมตนของรหัสของเวลา(Time Code) ได ผูใชสามารถปรับตั้ง ช่ัวโมง นาที วินาที และเฟรมได เวลาท่ีปรับตั้งดวย [Manual input setting] และ [Set to camera time] ไดต้ังกลับเปน 00:00:00:00 ผูใชสามารถปรับต้ัง ชั่วโมง นาที วินาที ใหตรงกับนาฬิกา ในตัวกลอง สวน “Frames” จะถูกต้ังเปน 00 Movie Record Count (แสดงการนับเวลาในการถายภาพยนตร) สามารถเลือกขอมูลท่ีจะนำไปแสดงรวมอยูกับภาพยนตร แสดงระยะเวลาที่แสดงผานไปของการถายภาพยนตร ตั้งแตเริ่มถาย ภาพยนตร จนถึงจบ แสดงรหัสของเวลา ในขณะที่ถายภาพยนตร

ารตั้งรหัสของเวลา การถายภาพนิ่งในขณะถายภาพยนตร อาจทำใหเวลาจริง กับรหัสของเวลาไม สอดคลองกัน ถาตั้งเปน [Free run] และผูใชปรับเปลี่ยนเวลา โซน หรือ daylight saving time (น.36) จะมีผลกระทบตอรหัสของเวลาดวย รหัสของเวลาจะไมถูกบันทึกรวมกับ Video snapshot โดยไมเก่ียวของกับ [Movie rec. count] รหัสของเวลาจะถูกบันทึกรวมอยูกับ ภาพยนตรตลอดเวลา Movie Playback Count (แสดงการนับเวลาในการเลนภาพยนตร) สามารถปรับเลือกรูปแบบการแสดงผลในจอขณะเลนดูภาพยนตรท่ีถายมาแลว แสดงระยะเวลาที่ผานไปของภาพยนตร ท่ีเลน ต้ังแตเริ่มเลนดูภาพยนตร จนถึงจบ แสดงรหัสของเวลา ในขณะท่ีเลนดูภาพยนตร เม่ือมีการตั้ง [Time code] : ในขณะที่ถายภาพยนตร ในขณะที่เลนดูภาพยนตร หากผูใชเปลี่ยนการปรับตั้ง [Movie play count] ใน [ 2: Time code] หรือใน [ 3 : Movie play count] คาอื่นๆ จะเปล่ียนแปลงไป โดยอัตโนมัติ จะไมแสดง “Frames” ในระหวางการถายภาพยนตรและเลนดูภาพยนตร

ารตั้งรหัสของเวลา (ลดเฟรม) ถาปรับตั้ง frame rate เปน (29.97 fps) หรือ (59.94 fps) การนับจำนวนเฟรม ในรหัสของเวลา อาจเกิดความไมสอดคลองกันระหวางเวลาจริงกับรหัสของเวลา และ ความไมสอดคลองน้ีจะถูกปรับแกโดยอัตโนมัติ เรียกฟงกช่ันนี้วา “Drop frame” (ลดเฟรม) ความไมสอดคลองกันของเวลาจะถูกปรับแกโดยอัตโนมัติ โดยการขาม รหัสของเวลา จะไมมีการแกไขความไมสอดคลองของเวลา หากตั้ง frame rate เปน (23.976 fps) หรือเม่ือตั้ง [Video system] เปน [PAL] (และตั้ง ) ฟงกชั่น Drop frame จะไมทำงาน และ [Drop frame] จะไม ปรากฏข้ึน

ารปรบั ตง้ั ฟง กช น่ั ของเมนสู ำหรบั ถา ยภาพยนตร ในที่น้ีจะอธิบายเกี่ยวกับฟงกช่ันที่ใชสำหรับการถาย ภาพยนตรโดยเฉพาะ เมื่อปรับสวิตซ < > เพ่ือใช ระบบ Live View/ถายภาพยนตร การปรับต้ังฟงกชั่น จะปรับในแถบเมนู และ ดังน้ี (ระบบออโตโฟกัส) ระบบออโตโฟกัสจะเหมือนกับท่ีอธิบายไวในหนา 192-198 ผูใชสามารถจะเลือก [FlexiZoneAF (Single)] , [ Live mode] หรือ [Quick mode] แตจะไมสามารถโฟกัสติดตามวัตถุที่กำลังเคลื่อนท่ีอยางตอเน่ืองได และถึงแมจะตั้งเปน [Quick mode] กลองจะเปลี่ยนไปใชระบบ [FlexiZoneAF (Single)] โดยอัตโนมัติเม่ือใชระบบถายภาพยนตร (การถายภาพดวยระบบเก็บเสียง) ฟงกช่ันนี้จะถูกใชเมื่อถายภาพน่ิง สำหรับรายละเอียด ดูจากหนา 190 (ระยะเวลาในการแสดงคาการเปดรับแสง) ผูใชสามารถปรับตั้งเวลาในการแสดงคาการเปดรับแสงได (เปนระยะเวลาในการล็อค คาแสงดวย)

ารปรับต้ังฟงกช่ันของเมนูสำหรับถายภาพยนตร (การแสดงเสนตาราง) เมื่อเลือก [3x3 ] หรือ [6x4 ] ผูใชสามารถส่ังใหแสดงเสนกริดได เพ่ือความ สะดวกในการจัดภาพทั้งแนวตั้งและแนวนอน และถาต้ังเปน [3x3+diag ] กลองจะแสดงเสนตารางพรอมกับมีเสนทะแยงเพ่ือชวยในการจัดวางภาพใหเกิด ความสมดุลไดงายขึ้น (ขนาดของภาพยนตร) ผูใชสามารถปรับต้ังขนาดของภาพยนตรได (ขนาดภาพยนตร, frame rate และอัตรา การบีบอัด) สำหรับรายละเอียด ดูจากหนา 216 (ระบบบันทึกเสียง) ผูใชสามารถปรับต้ังระบบบันทึกเสียงได สำหรับรายละเอียด ดูจากหนา 218 (รหัสของเวลา) ผูใชสามารถปรับตั้งรหัสของเวลา สำหรับรายละเอียด ดูจากหนา 220 ผูใชสามารถถายภาพ Video snapshot ได สำหรับรายละเอียด ดูจากหนา 225

ารถา ยภาพยนตรแ บบวดิ โี อ Snapshots ผูใชสามารถสรางสรรคภาพยนตรสั้นๆ ไดดวยวิธีงายๆ โดยใชฟงกช่ัน วิดีโอ snapshot วิดีโอ snapshot หมายถึงคลิปภาพยนตรส้ันๆ ที่มีความยาว 2 วินาที, 4 วินาที หรือ 8 วินาที และออกแบบใหสามารถจัดเก็บรวบรวมคลิปภาพยนตรสั้นๆ ในแบบอัลบั้ม และ สามารถบันทึกลงในการดเปนไฟลเดียว โดยการเปลี่ยนฉากหรือเปลี่ยนมุมกลองของแตละ คลิป จึงสามารถสรางสรรคภาพยนตรส้ันท่ีดึงดูดความสนใจ นอกจากน้ี สามารถสราง อัลบั้มท่ีเลนไดพรอมเสียงเพลงประกอบดวย (น.230, 254) แนวคิดในการสรางอัลบ้ัมวิดีโอ snapshot อัลบ้ัมวิดีโอ snapshot ปรับต้ังระยะเวลาสำหรับการถายวิดีโอ snapshot เลือก [Video snapshot] ในแถบ [ 2] เลือก [Video snapshot] จากนนั้ กด เลือก [Enable] เลอื ก [Enable] จากนน้ั กด

ารถายภาพยนตรแบบวิดีโอ Snapshots เลือก [Album settings] เลอื ก [Album settings] จากนั้นกด หากผูใชตองการถายภาพตอจากเดิมในอัลบ้ัม ที่มีอยูแลว ไปที่ “เพ่ิมเขาไปในอัลบ้ัมที่มีอยู แลว” (น.229) เลือก [Create a new album] เลอื ก [Create a new album] จากน้ันกด เลือกความยาวของ Snapshot กดปมุ และกดปมุ เพอื่ เลอื ก ความยาวของ Snapshot จากนั้นกด ระยะเวลาที่ถายภาพ เลือก [OK] เลอื ก [OK] จากนนั้ กดปมุ กดปมุ เพอ่ื ออกจากเมนู และกลบั สู การถายภาพยนตร และจะมีแถบสีนำ้ เงินปรากฏ ขน้ึ เพอื่ บอกความยาวของภาพยนตรท ถ่ี า ยในแบบ Snapshot ไปท่ี “การสรา งอลั บม้ั วดิ โี อ Snapshot” หนา 227

ารถายภาพยนตรแบบวิดีโอ Snapshots การสรางอัลบ้ัมวิดีโอ snapshot ถายวิดีโอ snapshot อันแรก กดปุม < > จากนั้นถายภาพยนตร แ ถ บ สี น้ำ เ งิ น จ ะ แ ส ด ง ร ะ ย ะ เ ว ล า ท่ี ถ า ย ซึ่ ง จะคอยๆ ลดลงเปนลำดับ หลังจากครบเวลา แลว การถายภาพยนตรจะหยุดลงโดยอัตโนมัติ หลังจากท่ีจอ LCD ดับลงและไฟแสดงสถานะ ของการดหยุดกระพริบ จอภาพสำหรับยืนยัน การบันทึกจะปรากฏข้ึน (น.228) บันทึกวิดีโอ snapshot กดปุม เพื่อเลือก [ Save as album] จากนั้นกด คลิปภาพยนตรส้ันจะถูกบันทึกเปนวิดีโอ snapshot และเปนวิดีโอแรกสุดของอัลบั้ม ถายวิดีโอ snapshot อ่ืนๆ ตอไป ทำซำ้ ขั้นตอนที่ 7 เพ่ือถายวิดีโอลำดับตอๆ ไป กดปุม เพ่ือเลือก [ Add to album] จากน้ันกด หากตองการสรางอัลบั้มวิดีโอ snapshot อื่นๆ เลอื ก [ Save as a new album] จากนน้ั เลอื ก [OK] ออกจากการถายวิดีโอ snapshot ปรับตั้ง [Video snapshot] เปน [Disable] เพื่อกลับสูการถายภาพยนตรแบบปกติ ใหต รวจสอบใหแ นใ จวา เลอื ก [Disable] แลว กดปุม เพ่ือออกจากเมนูปรับ ต้ัง และกลับสูการถายภาพยนตรแบบปกติ

ารถายภาพยนตรแบบวิดีโอ Snapshots ตัวเลือกในข้ันตอนท่ี 8 และ 9 ฟงกชั่นตัวเลือก คำอธบิ าย คลิปภาพยนตรท่ีถายจะถูกบันทึกเปนวิดีโอ snapshot อัน (ขั้นตอนท่ี 8) แรกในอัลบ้ัมของวิดีโอ snapshot วิดีโอ snapshot ท่ีเพ่ิงบันทึกจะถูกเพิ่มลงไปในอัลบั้มที่ (ขั้นตอนที่ 9) สรางไวกอนหนาน้ีทันที สรางอัลบั้มวิดีโอ snapshot ใหม และบันทึกภาพยนตรส้ัน เปนวิดีโอ snapshot อันแรก อัลบ้ัมใหมท่ีถูกสรางข้ึน (ขั้นตอนที่ 9) จะเปนอัลบั้มใหมท่ีแยกตางหากจากอัลบ้ัมที่มีอยูกอน ก ล อ ง จ ะ เ ล น ภ า พ ค ลิ ป ภ า พ ย น ต ร ท่ี เ พิ่ ง ถ า ย เ ป น วิ ดี โ อ (ข้ันตอนท่ี 8 และ 9) snapshot ดูจากตารางดานลาง (ขั้นตอนท่ี 8) หากตองการลบวิดีโอ snapshot ที่เพ่ิงถายและไมตองการ เก็บไวในอัลบ้ัม เลือก [OK] (ขั้นตอนท่ี 9) การทำงานของ [Playback video snapshot] ฟงกชั่นตัวเลือก คำอธิบายในการเลนดูภาพ ดวยการกดปุม สามารถเลนภาพ หรือหยุดภาพวิดีโอ snapshot ที่เพ่ิงถายไปแลวได แสดงภาพแรกสุดของวิดีโอ snapshot คลิปแรก แตละคร้ังที่กดปุม วิดีโอ snapshot ท่ีแสดงอยูจะเลื่อนถอยหลัง ประมาณ 2-3 วินาที แตละคร้ังท่ีกดปุม วิดีโอ snapshot ที่แสดงอยูจะเลื่อนถอยหลัง ไปคร้ังละเฟรม และถากดปุม คางไว จะเปนการยอนกลับ แตละคร้ังที่กดปุม วิดีโอ snapshot จะเล่ือนเดินหนาทีละเฟรม ถากดปุม คางไว จะเลนภาพตอไปอยางรวดเร็ว แตละครั้งท่ีกดปุม วิดีโอ snapshot ท่ีแสดงอยูจะเล่ือนเดิน หนาประมาณ 2-3 วินาที แสดงภาพทายสุดของวิดีโอ snapshot คลิปสุดทาย ตำแหนงของภาพยนตรที่กำลังเลน ชวงเวลา (นาที:วินาที) ปรับระดับความดังของลำโพง (น.253) โดยหมุนวงแหวน การแสดงผลจะกลับสูหนาจอกอนหนา * โดยใช [Skip backward/Skip forward] ระยะเวลาในการเล่ือนเดินหนา/ถอยหลัง จะเทา กับระยะเวลาท่ีเลือกในแถบ [Video snapshots] ประมาณ 2 วินาที, 4 วินาที หรือ 8 วินาที)

ารถายภาพยนตรแบบวิดีโอ Snapshots เพิ่มเขาไปในอัลบ้ัมท่ีมีอยูแลว เลือก [Add to existing album] ทำตามขนั้ ตอนท่ี 4 ในหนา 226 แลว เลอื ก [Add to existing album] จากน้ันกด เลือกอัลบั้มท่ีมีอยูแลว หมนุ วงแหวน เพอ่ื เลอื กอลั บมั้ ทม่ี อี ยแู ลว จากนั้นกด หลังจากขอความยืนยันปรากฏข้ึน เลือก [OK] ท่ีขอความบนจอภาพ จากนั้นกด การปรบั ตงั้ คา ของวดิ โี อ Snapshot จะถกู เปลย่ี น เพ่ือใหเขากันกับการปรับต้ังคาของอัลบั้มเดิม กดปมุ เพอื่ ออกจากเมนู และกลบั สู การถายภาพยนตรตอไป ถายวิดีโอ Snapshot ดู “การสรา งอลั บม้ั วดิ โี อ Snapshot” (น.227) ผูใชไมสามารถเลือกอัลบ้ัมที่ถายดวยกลองตัวอ่ืนได

ารถายภาพยนตรแบบวิดีโอ Snapshots คำเตือนสำหรับการถายวิดีโอ Snapshots วิดีโอ snapshot ที่จะเพิ่มลงในอัลบ้ัมเดียวกัน ตองเปนวิดีโอท่ีถายดวยระยะเวลาเทา กัน (เชน 2 วินาที, 4 วินาที หรือ 8 วินาที ในแตละคลิป) โปรดทราบวา หากมีการทำสิ่งตางๆ ดังตอไปน้ีในระหวางการถายวิดีโอ snapshot กลองจะสรางอัลบ้ัมใหมเพื่อเก็บวิดีโอชิ้นนั้น • มีการเปลี่ยน [Movie rec. size] (น.216) • มีการเปล่ียนการปรับตั้งใน [Sound rec.] จาก [Auto/Manual] เปน [Disable] หรือเปลี่ยนจาก [Disable] เปน [Auto/Manual] (น.218) • มีการปรับปรุง firmware ไมสามารถถายภาพนิ่งไดในขณะถายวิดีโอ snapshot ระยะเวลาของวิดีโอ snapshot ท่ีปรับตั้งไวน้ันเปนเวลาโดยประมาณ โดยขึ้นอยูกับ อัตราเร็วของเฟรม ดังน้ันระยะเวลาของวิดีโอที่ปรากฏใหเห็นขณะเลนดูภาพจึงอาจไม ตรงกับความเปนจริง การเลนภาพยนตรในอัลบ้ัม ผูใชสามารถจะเลนดูภาพยนตรจากอัลบ้ัมวิดีโอ snapshot ท่ีเสร็จสมบูรณแลว ไดเชนเดียวกับ การเลนดูภาพยนตรที่ถายตามปกติ อานรายละเอียดในหนา 253 เลนดูภาพยนตร กดปุม เพ่ือเลนดูภาพ เลือกอัลบ้ัม หมนุ วงแหวน เพอื่ เลอื กอลั บมั้ ในระบบเลนภาพเดี่ยว สัญลักษณ จะปรากฏขึ้นที่มุมบนดานซายของจอภาพ ซึ่ง บงบอกวา ไฟลน้ันเปนวิดีโอ Snapshot เลนอัลบั้ม กดปุม ท่ีแผงควบคุมการเลนภาพยนตร เลือก (play) จากนั้นกดปุม

ารถายภาพยนตรแบบวิดีโอ Snapshots เพลงประกอบภาพยนตร เสียงเพลงที่ถูกบันทึกลงในการด จะตองใชเพื่อความบันเทิงเปนการสวนตัวเทานั้น การ นำเพลงไปใชงานในเชิงอื่นๆ เชนในเชิงพาณิชยถือเปนการละเมิดลิขสิทธ์ิ ผูใชสามารถเลนเพลงประกอบ เม่ือเลนอัลบั้ม, ภาพยนตรปกติ และสไลดโชวจากตัวกลอง (น. 254, 257) เม่ือตองการเลนเพลงประกอบภาพยนตร จะตองทำการสำเนาเพลงจาก แผน CD-ROM EOS Digital Solution Disk (ใหพรอมกับกลอง) ลงในการด สำหรับวิธี การสำเนา ใหอานจากคูมือการใชซอฟทแวรที่อยูในแผน CD-ROM การตัดตออัลบ้ัม หลังจากถายภาพแลว ผูใชสามารถจัดเรียงไดใหม, ลบ หรือเลนวิดีโอ Snapshot ภายในอัลบ้ัม ที่จอของการเลนดูภาพ เลือก (ตัดตอ) หนาจอของการตัดตอจะปรากฏข้ึน เลือกฟงกช่ันของการตัดตอ กดปุม เพื่อเลือกควบคุมการตัดตอ จากนั้นกดปุม ฟงกชั่น คำนิยามของฟงกช่ัน กดปุม เพ่ือเลือกวิดีโอ Snapshot ท่ีตองการเคล่ือนยาย เล่ือน Snapshot จากน้ันกดปุม กดปุม เพื่อยาย Snapshot ที่เลือก ลบ Snapshot ไปยังตำแหนงที่ตองการ จากนั้นกด เลน Snapshot กดปุม สัญเลพักื่อษเลณือก[วิดีโ]อ Snapshot ท่ีตองการลบ จากน้ัน กดปุม จะปรากฏข้ึนที่ Snapshot ท่ีเลือก ถาไมตองการลบ ใหกดปุม ไป อีกครั้ง สัญลักษณ [ ] จะหาย กดปุม เพ่ือเลือกวิดีโอ Snapshot ที่ตองการเลน จากน้ัน กดปุม

ารถายภาพยนตรแบบวิดีโอ Snapshots บันทึกอัลบ้ัมที่ตัดตอแลว กดปุม เพื่อกลับสูหนาจอตัดตอ ท่ีดานลางของจอภาพ กดปุม เพื่อเลือก (บันทึก) จากน้ันกดปุม หนาจอสำหรับการบันทึกจะปรากฏขึ้น หากตองการบันทึกเปนภาพยนตรใหม เลือก [New file] เพื่อบันทึก และถาตองการ บันทึกทับไฟลภาพยนตรเดิม เลือก [Overwrite] และกด หากการดในตัวกลองมีพ้ืนท่ีวางไมมากพอ จะไมมีตัวเลือก [New file] ปรากฏข้ึนใน ตัวเลือก ถาหากแบตเตอรีมีระดับพลังงานตำ่ จะไมสามารถแกไขอัลบ้ัมได ใหเปล่ียนไปใช แบตเตอรีที่มีพลังงานเต็ม ซอฟทแวรท่ีใหมาพรอมกับกลองท่ีใชจัดการอัลบ้ัมได EOS Video Snapshots Task : สามารถตัดตออัลบ้ัมได สามารถเพิ่มเติม ฟงกชั่นจาก ImageBrowser EX ซึ่งจะดาวนโหลดจากอินเตอรเนตโดยอัตโนมัติโดย ใชฟงกช่ันอัพเดตอัตโนมัติ

คำเตือนเก่ียวกับการถายภาพยนตร สัญลักษณเตือนอุณหภูมิภายในตัวกลอง สีขาว และ สีแดง หลังจากผูใชไดใชกลองถายภาพยนตรเปนระยะเวลานาน หรือใชกลองในท่ีซ่ึงมี อถณหภูมิสูง อุณหภูมิภายในตัวกลองจะเร่ิมสูงขึ้น และจะมีสัญลักษณ สีขาว หรือ สีแดง ปรากฏข้ึน เปนสีขาวหรือสีแดงบนจอภาพ สัญลักษณ ซึ่งเปนสีขาว จะบงบอกถึงการที่ภาพน่ิงอาจมีคุณภาพลดทอน ลง ซ่ึงขอแนะนำใหหยุดใชกลองในการถายภาพนิ่งช่ัวคราว จนกวาอุณหภูมิภายใน ตัวกลองจะลดต่ำลง แตจะไมมีผลกระทบตอคุณภาพของภาพยนตร ผูใชสามารถ ถายภาพยนตรไดอยางตอเนื่องตอไป เม่ือสัญลักษณ ซึ่งเปนสีแดงปรากฏข้ึน เปนการบงบอกวากลองใกลจะตัด พลังงานโดยระบบอัตโนมัติ และเม่ือกลองตัดพลังงานไปแลว ผูใชจะไมสามารถถาย ภาพไดอีกจนกวาอุณหภูมิภายในตัวกลองจะลดตำ่ ลง ใหปดพลังงาน และพักการ ใชกลองสักครูหน่ึง การถายภาพยนตรในเวลาติดตอกันเปนเวลานาน จะทำใหสัญลักษณ และ ปรากฏไดเร็วขึ้น ดังน้ันเมื่อไมไดใชกลองเปนเวลานาน ใหปดสวิตซ ของกลองเสมอ การบันทึก และคุณภาพของภาพยนตร หากเลนสท่ีใชมีระบบชวยลดภาพสั่น(IS) และปรับสวิตซไปท่ี ระบบชวยลด ภาพส่ันของเลนสจะทำงานอยูตลอดเวลาแมผูใชจะไมไดใชนิ้วแตะชัตเตอรก็ตาม การ ใชพลังงานของระบบชวยลดภาพสั่นจะทำใหระยะเวลาท่ีจะถายภาพยนตรไดลดลง หรือ ทำใหจำนวนภาพน่ิงท่ีถายไดตอแบตเตอรี่กอนหน่ึงลดลงดวย ถาถายภาพดวยขาตั้ง กลอง หรือคิดวาไมจำเปนตองใชระบบชวยลดภาพสั่น ควรจะปรับสวิตซของระบบน้ีไป ท่ี ไมโครโฟนในตัวกลองจะบันทึกเสียงในการปรับควบคุมกลองไปดวยในขณะบันทึกเสียง การใชไมโครโฟนภายนอกซ่ึงเปนอุปกรณท่ีมีจำหนายทั่วไป สามารถชวยปองกันหรือลด เสียงจากการปรับต้ังควบคุมกลองได หามใชอุปกรณอยางอื่นๆ นอกจากไมโครโฟนภายนอก มาเสียบเขากับชองเสียบ ไมโครโฟนภายนอก(Microphone IN) หากความเขมสวางของภาพเกิดความเปล่ียนแปลงในระหวางการถายภาพยนตร บาง ชวงบางตอนของภาพยนตรอาจจะหยุดนิ่งในขณะนำมาเลน เพ่ือหลีกเล่ียงกรณีน้ี ให ถายภาพยนตรดวยระบบปรับต้ังเอง(manual) หากมีแหลงกำเนิดแสงท่ีมีความสวางมากรวมอยูในภาพ พื้นท่ีสวางจาจะปรากฏเปนสี เขมบนจอ LCD และพื้นท่ีสวางนี้จะถูกบันทึกเปนภาพในลักษณะที่ใกลเคียงกับที่เห็น ที่จอภาพ LCD ในสภาพแสงนอย สัญญาณรบกวนและสีสันท่ีผิดปกติอาจปรากฏขึ้น และภาพยนตรที่ บันทึกไวก็จะปรากฏสัญญาณรบกวนและสีสันที่ผิดปกติแบบที่เห็นในจอภาพ

คำเตือนเก่ียวกับการถายภาพยนตร การถบาใันชทกาึกรดแทลี่มะีคควุาณมภเรา็วพในขกอางรบภันาทพึกยตนำ่ ๆตรจะมีสัญลักษณแสดงระดับ หาระดับปรากฏขึ้นทางดานขวาของจอภาพ ในขณะถายภาพยนตร ซ่ึงจะแสดงใหทราบวา มีขอมูลในปริมาณเทาใดที่ยังไมไดบันทึกลงใน การด(ตกคางอยูในหนวยความจำสำรองในตัวกลอง) ยิ่งใชการดที่บันทึก ไดชา ขีดแสดงระดับก็จะย่ิงสูงข้ึนเร็วมาก และถาขีดแสดงระดับขึ้นจนเต็ม การถายภาพยนตรจะหยุดลงโดยอัตโนมัติ ถาการดมีความเร็ว ในการบันทึกสูง ในชวงแรกๆ ขีดแสดงระดับจะยังไมปรากฏบน สเกลแสดงระดับ จอ LCD หรือถาขีดแสดงระดับปรากฏขึ้น ก็จะไมสูงขึ้นอยางรวดเร็วนัก เมื่อนำการดมา ใชคราวแรก ใหทดลองถายภาพยนตรดูเสียกอนวาการดแผนน้ันมีความเร็วในการบันทึก ท่ีเพียงพอ การถายภาพน่ิงระหวางการถายภาพยนตร เกี่ยวกับคุณภาพของภาพน่ิง ดู “คุณภาพของภาพ” หนา 201 การตอเช่ือมกับโทรทัศน หากผูใชตอกลองเขากับโทรทัศน (น.261, 264) และถายภาพยนตร โทรทัศนจะไมเลน เสียงในระหวางกำลังถาย อยางไรก็ตาม กลองจะบันทึกเสียงไดตามปกติ เลนส ฟงกช่ัน focus preset(ตั้งระยะโฟกัสลวงหนา) จะทำงานรวมกับการถายภาพยนตรได ก่็ตอเมื่อใชเลนส(ซูเปอร)เทเล ท่ีติดต้ังระบบ focus preset ซ่ึงเปนเลนสที่วางจำหนาย ในชวงครึ่งหลังของป 2011

   ในบทน้ี จะอธิบายการเลนดูภาพ การลบภาพและ ภาพยนตรท่ีถายแลว วิธีเลนดูภาพจากจอโทรทัศน และฟงกชั่นในการเลนดูภาพตางๆ เกี่ยวกับการเลนภาพท่ีถายและบันทึกจากกลองตัวอ่ืน กลองรุนนี้อาจไมสามารถเลนดูภาพท่ีถายจากกลองรุนอ่ืนๆ หรือเปนภาพ ที่ถูกปรับแตงดวยคอมพิวเตอร หรือไฟลภาพที่มีการเปล่ียนชื่อไปแลว

ลน ดภู าพทถ่ี า ยแลว ดูภาพแบบครั้งละภาพ เลนดูภาพ กดปุม < > ภาพถายหลังสุด หรือภาพถายที่ดูหลังสุด จะปรากฏขึ้นบนจอภาพ เลือกภาพ เมื่อตองการเลนดูภาพโดยเริ่มที่ภาพสุดทาย หมุนวงแหวน < > ทวนเข็มนาฬิกา ถาตอง การดูภาพแรกสุด ใหหมุนวงแหวนตามเข็ม นาฬิกา แตละคร้ังท่ีกดปุม < > รูปแบบของการ แสดงภาพจะเปล่ียนไป ไมมีการแสดงขอมูล แสดงภาพและขอมูลพ้ืนฐาน แสดง histohran แสดงขอมูลการถายภาพ

ลนดูภาพท่ีถายแลว ออกจากการเลนดูภาพ กดปุม < > เพ่ือออกจากการเลนดูภาพ กลองจะกลับไปพรอมสำหรับถายภาพอีกครั้ง Grid display (การแสดงเสนตาราง) ในระบบแสดงภาพแบบภาพเด่ียวผูใชสามารถส่ังให กลองแสดงเสนตารางซอนอยูบนภาพได เมื่อตั้ง [ 3: Playback grid] สามารถจะเลือก [3x3 ] , [6x4 ] หรือ [3x3+diag ] ฟงกชั่นน้ีออกแบบมาสำหรับใชตรวจสอบความเอียง และตรวจสอบองคประกอบภาพ จะไมมีการแสดงเสนตารางเมื่อเลนดูภาพยนตร

ารแสดงขอ มลู การถา ยภาพ ตัวอยางการแสดงขอมูลการถายภาพของภาพนิ่ง ปรับออโตโฟกัสอยางละเอียด ปองกันภาพถูกลบ ระดับการชดเชยแสง การจัดอันดับภาพ เลขลำดับโฟลเดอร / ลำดับไฟล ระดับการชดเชยแสงแฟลช Histogram ชองรับแสง (Brightness/RGB) ความไวชัตเตอร การปรบั ตงั้ Picture Style ระบบวัดแสง ความไวแสง ระบบบันทึกภาพ เพิ่มรายละเอียดใน สวนสวาง สมดุลสีขาว ระบบสี คณุ ภาพ วันท่ีและเวลาที่บันทึก ในการบันทึกภาพ ลำดับภาพ / ปรับแกสมดุลสีขาว จำนวนภาพทั้งหมด อุณหภูมิสี เม่ือต้ัง < > ขนาดไฟล การสง สญั ญาณของ Eye-Fi * เมื่อถายภาพเปนไฟล RAW+JPEG กลองจะแสดงขนาดของไฟล RAW * ในขณะท่ีถายภาพดวยแฟลช โดยไมมีการชดเชยแสงแฟลช สัญลักษณ < > จะปรากฏข้ึน * <HDR> และการปรับขยายชวงความกวางของแสง จะแสดงรวมกับภาพที่ถายดวยระบบ HDR * สัญลักษณ < > จะปรากฏขึ้นเมื่อเปนภาพท่ีไดจากการถายภาพซอน * เม่ือถายภาพน่ิงในระหวางถายภาพยนตร จะมีสัญลักษณ < > ปรากฏขึ้น * สำหรับไฟลแบบ JPEG ที่ไดจากการประมวลผลไฟลแบบ RAW ในตัวกลอง หรือจากการเปลี่ยน ขนาด จะมีสัญลักษณ < > ปรากฏข้ึน

ารแสดงขอมูลการถายภาพ ตัวอยางการแสดงขอมูลการถายภาพในระบบพื้นฐาน ระบบบันทึกภาพ สภาพแสงและ ผลของสภาพแสง สภาพแสงหรือฉาก * สำหรับภาพที่ถายดวยระบบบันทึกภาพพ้ืนฐาน การแสดงขอมูลการถายภาพอาจมีความแตก ตางกัน โดยข้ึนอยูกับระบบบันทึกภาพที่ใช * ภาพท่ีถายดวยระบบ จะแสดง [Background blur] ตัวอยางการแสดงขอมูลการถายภาพของภาพยนตร เวลาในการบันทึก, เวลาในการเลนดูภาพ, รหัสของเวลา เลนดภู าพ ความไวชัตเตอร ชองรับแสง ระบบถายภาพยนตร ความละเอียดในการ ขนาดไฟลภาพยนตร บันทึกภาพยนตร การบีบอัด ความเร็วของเฟรม (frame rate) * ถาถายภาพดวยการเปดรับแสงแบบปรับต้ังเอง กลองจะแสดงคาของความไวชัตเตอร, ชองรับแสง และความไวแสง (ท่ีผูใชปรับต้ังเอง) * สัญลักษณ จะปรากฏข้ึนสำหรับวิดีโอ snapshot

ารแสดงขอมูลการถายภาพ เกี่ยวกับการเตือนพื้นท่ีสวางในภาพ เม่ือเมนู [ 3: Highlight alert] ไดถูกเลือกเปน [Enable] บริเวณท่ีเปนสวน สวางของภาพจะกระพริบ ถาพบวามีพื้นที่สวนสวางซ่ึงไมมีรายละเอียดมากเกินไป ใหถายภาพใหมโดยตั้งระดับการชดเชยแสงไปทางคาลบ แลวถายภาพใหม เพ่ือให ภาพมีรายละเอียดมากข้ึน เกี่ยวกับการแสดงจุดโฟกัส ในเมนู [ 3: AF point disp.] เมื่อตั้งเปน [Enable] กลองจะแสดงจุดโฟกัสท่ี ใชจับภาพเปนกรอบสีแดง ในภาพที่เลนดูดวย และถาโฟกัสดวยระบบเลือกจุดโฟกัสโดย อัตโนมัติ จุดโฟกัสท่ีแสดงรวมกับภาพอาจจะปรากฏพรอมกันหลายๆ จุด และเปนสีแดง เก่ียวกับ Histogram histogram ที่แสดงผลความเขมสวาง(brightness) จะแสดงการกระจายตัวของความเขม สวางในภาพรวมและความตอเน่ืองของการไลระดับ สวน histogram ท่ีแสดงผลแมสี RGB จะใชสำหรับตรวจสอบความอิ่มตัวและการไลระดับของโทนสี ซึ่งผูใชสามารถสับเปลี่ยน การแสดงผล histogram สองแบบนี้ดวยการเลือกจากเมนู [ 3: Histogram disp ] ตัวอยาง Histogram [Brightness] Display histogram แบบน้ีจะมีลักษณะเปนกราฟท่ีแสดงการกระจาย ของระดับความเขมสวางของภาพ ซึ่งโทนเขมท่ีสุดจะอยูทาง ภาพที่เขมมืด ซายสุด และโทนที่สวางที่สุดจะอยูทางขวาสุด โดยแกนต้ังจะ เปนตัวแสดงจำนวนพิกเซลของแตละโทน หากจำนวนพิกเซล มีปริมาณมากๆ ทางดานซายของกราฟ ก็หมายถึงภาพนั้นจะ มืดเกินไป และในทำนองกลับกัน หากจำนวนพิกเซลมีปริมาณ ภาพท่ีความเขมสวางปกติ มากๆ ทางดานขวาของกราฟ ก็หมายถึงภาพน้ันจะสวางเกินไป และในกรณีท่ีจำนวนพิกเซลทางดานขวาของกราฟมีมากๆ ภาพนั้นก็อาจจะสูญเสียรายละเอียดในสวนสวาง histogram ภาพท่ีสวาง แบบ [Brightness] จึงมีประโยชนในการตรวจสอบความเขมสวางของภาพวาจะเอน เอียงไปทางใด และยังใชตรวจสอบภาพการกระจายของโทนดวย

ารแสดงขอมูลการถายภาพ [RGB] Display คลายกับ [Brightness] แต [RGB] จะเปนกราฟท่ีแสดงการกระจายของระดับความ เขมสวางของแตละแมสี RGB(Red, Green, Blue) ซึ่งเปนแมสีหลักที่ประกอบรวม กันเปนภาพ ซึ่งแกนนอนของกราฟจะเปนเคร่ืองบอกแสดงความเขมสวาง โดยโทนเขม สุดจะอยูทางซาย และออนท่ีสุดจะอยูทางขวา โดยแกนตั้งจะเปนตัวแสดงจำนวน พิกเซลของแตละโทน หากจำนวนพิกเซลทางดานซายมีจำนวนมากๆ สีน้ันจะดูคลำ้ และไมสดใส และถาจำนวนพิกเซลทางดานขวามีจำนวนมากๆ สีนั้นจะดูสวางและอ่ิม ตัวมากข้ึน กรณีที่จำนวนพิกเซลทางดานซายของสีใดสีหน่ึงมีมากเกินไป ภาพจะขาดสีน้ัน และถาจำนวนพิกเซลทางดานขวาของสีใดสีหน่ึงมีมากเกินไป สีนั้นก็จะอิ่มตัวมาก จนขาดรายละเอียด RGB histogram จึงใชตรวจสอบความอ่ิมตัวและการไลระดับโทนเขมออนของ สีตางๆ และสมดุลสีขาวซ่ึงมีผลตอความผิดเพี้ยนของสี

น หาภาพทตี่ อ งการดว ยความรวดเรว็ แสดงภาพหลายภาพพรอ มกนั บนหนา จอ, ภาพดชั น(ี Index Display) คนหาภาพที่ตองการไดอยางรวดเร็ว ดวยการแสดงภาพไดพรอมๆ กัน ต้ังแต 4 หรือ 9 ภาพบนหนาจอเดียว กดปุม < > ในขณะท่ีเลนดูภาพ กดปุม < > สัญลักษณ < > จะปรากฏข้ึนท่ีดาน ลางบริเวณมุมขวาของจอภาพ เขาสูการแสดงภาพดัชนี หมุนวงแหวน < > ทวนเข็มนาฬิกา ภาพ 4 ภาพจะปรากฏพรอมกับบนหนาจอ และ ภาพที่อยูในตำแหนงปจจุบันจะอยูในกรอบสีสม ถาหมุนวงแหวน < > ทวนเข็มนาฬิกาตอ ไปอีก กลองจะแสดงภาพพรอมกัน 9 ภาพ การ หมุนวงแหวน < > ทวนเข็มนาฬิกา จะเปน การสลับรูปแบบการแสดงภาพจาก 9 ภาพ - 4 ภาพ และแสดงภาพเดียว เลือกภาพที่ตองการ หมุนวงแหวน < > เพื่อเลือกดูภาพลำดับ ถัดไป หรือจะใช หรือ ในการ เลือกดูภาพก็ได กดปุม < > เพ่ือใหสัญลักษณ < > หายไป จากนั้นหมุนวงแหวน < > เพ่ือ เลื่อนไปยังหนาถัดไป กดปุม < > ในขณะที่กลองแสดงภาพดัชนี เพื่อเลนดูภาพในตำแหนงปจจุบันแบบภาพเดียว

นหาภาพที่ตองการดวยความรวดเร็ว เลือกดูภาพแบบกาวกระโดด (Jump Display) ขณะเลนดูภาพแบบภาพเดียว ผูใชสามารถจะกาวกระโดดขามลำดับภาพไดเพ่ือความ รวดเร็ว ดวยการหมุนวงแหวน < > เลอื ก [Image jump w/ ] ในแถบ [ 2] เลือก [Image jump w/ ] จากนั้นกด เลือกดูภาพแบบกาวกระโดด หมุนวงแหวน < > เพื่อเลือกวิธีกระโดด ขามภาพ จากน้ันกด 1 image (ครั้งละภาพ) 10 images (ขามครั้งละ 10 ภาพ) 100 images (ขามครั้งละ 100 ภาพ) เลื่อนตามลำดับวันที่ เลื่อนไปตามลำดับโฟลเดอร แสดงเฉพาะภาพยนตร แสดงเฉพาะภาพนิ่ง แสดงตามการต้ังอันดับ (น.247) หมุนวงแหวน < > เพื่อต้ังอันดับ คนหาภาพแบบกา วกระโดด กดปมุ < > เพอื่ เลน ดภู าพ ในขณะที่กลองแสดงภาพๆ เดียว หมุนวงแหวน < > รปู แบบของ การกาวกระโดด ตำแหนงของภาพ ท่ีแสดงอยูในขณะน้ี เม่ือตองการคนหาภาพถายโดยไลตามลำดับวันท่ีถายภาพ เลือก [Date] เม่ือตองการคนหาภาพถายโดยไลตามลำดับโฟลเดอร เลือก [Folder] ถาในการดแผนเดียวกัน มีท้ัง [Movies] และ [Stills] เลือกอันใดอันหนึ่งเพ่ือเลน ดูภาพนิ่งหรือภาพยนตร หากไมมีภาพใดๆ ถูกตั้งอันดับไว และเม่ือเลือก [Rating] เมื่อหมุนวงแหวน < > กลองจะไมเล่ือนไปยังภาพใดๆ

ยายดภู าพ ผูใชสามารถขยายดูภาพจากจอ LCD ไดตั้งแตขนาด 1.5 เทาจนถึง 10 เทา ตำแหนงของพ้ืนที่ ขยายดูภาพ บริเวณท่ีถูกขยาย สามารถขยายภาพไดในขณะเลนดูภาพจาก จอ LCD(ขณะเลนดูแบบภาพเดียว) หรือใน ขณะท่ีดูภาพท่ีแสดงหลังจากเพิ่งถายเสร็จ หรือในขณะท่ีกลองพรอมท่ีจะถายภาพ กดปุม < > ภาพจะถูกขยายใหใหญขึ้น กลองจะแสดง พ้ืนท่ีบริเวณที่ถูกขยายและสัญลักษณ < > ท่ีมุมขวาดานลางเหมือนจอภาพ หากตองการขยายภาพใหใหญขึ้นอีก หมุนวง แหวน < > ตามเข็มนาฬิกา ภาพจะถูก ขยายใหใหญข้ึนเรื่อยๆ จนถึง 10 เทา หากตองการลดการขยายภาพลง หมุนวง แหวน < > ทวนเข็มนาฬิกา เม่ือหมุนไป เรื่อยๆ กลองจะแสดงภาพในขนาดดัชนี (น.242) เล่ือนดูสวนตางๆ ของภาพ ใช < > เพ่ือเล่ือนดูสวนตางๆ ของภาพท่ี ถูกขยาย หากตองการออกจากการขยายดูภาพ กดปุม < > หรือปุม < > กลองจะแสดงภาพ แบบภาพเดี่ยวในขนาดปกติ ผูใชสามารถหมุนวงแหวน < > เพ่ือดูภาพอื่นๆ โดยคงอัตราขยายอยู ไมสามารถขยายดูภาพได เมื่อกลองกำลังแสดงภาพท่ีเพ่ิงถายเสร็จ ไมสามารถขยายดูภาพยนตรได

ยายดูภาพ การปรับตั้งเก่ียวกับการขยายภาพ ในแถบเมนู [ 3] เม่ือเลือก [Magnificatn (apx.)] ผูใชสามารถจะตั้งอัตราขยายเร่ิมตน และจุดเริ่มตนใน การขยายภาพ สำหรับการขยายดูภาพได 1x (no magnification) (ไมมีการขยายภาพ) ภาพจะไมถูกขยายข้ึน และระบบขยายดูภาพจะเริ่มตนจากระบบแสดงภาพแบบภาพ เดียว 2x, 4x, 8x, 10x (magnify from center) (ขยายจากก่ึงกลาง) การขยายจะเริ่มตนขึ้นจากกึ่งกลางภาพ โดยใชระดับการขยายภาพท่ีปรับต้ังไว Actual size (from selected point) (ขนาดปกติ จากจุดท่ีเลือก) กลองจะแสดงภาพท่ีมีความละเอียด(พิกเซล) เทากับที่บันทึกไวจริง(ประมาณ 100%) มุมมองของการขยายภาพจะเร่ิมตนที่จุดโฟกัสที่ใชถายภาพ ถาถายภาพดวยระบบ แมนนวลโฟกัส กลองจะใชจุดก่ึงกลางภาพเปนจุดเร่ิมตนขยายภาพ Same as last magnification (from center) (เหมือนกับภาพลาสุด จากกึ่งกลาง) อัตราขยายภาพ จะเทากับอัตราขยายเดิมกอนที่จะออกจากระบบเลนดูภาพในครั้งลา สุดท่ีดูภาพดวย < > และ < > กลองจะใชจุดก่ึงกลางภาพเปนจุดเร่ิมตน ขยาย ภาพ สำหรับภาพท่ีถายดวยระบบโฟกัสแบบ [FlexiZone AF ] หรือ [ Live mode] (น.192) จุดเร่ิมตนของการขยายภาพจะเร่ิมจากจุดก่ึงกลางภาพเหมือนการต้ังเปน [1x]

หมนุ ภาพ ผูใชสามารถหมุนภาพที่แสดงอยู ใหมีทิศทางตามท่ีตองการ เลือก [Rotate image] ในแถบ [ 1] เลือก [Rotate image] จากน้ันกด < > เลือกภาพที่ตองการ หมุนวงแหวน < > เพ่ือเลือกภาพ ท่ีตองการหมุน ผูใชสามารถเลือกภาพไดจากภาพดัชนี (น.242) หมุนภาพ แตละคร้ังท่ีกดปุม < > ภาพจะถูกหมุนตาม เข็มนาฬิกา ดังนี้: 90 ํ - 270 ํ - 0 ํ เมื่อตองการหมุนภาพอื่นๆ ใหยอนกลับไปที่ 2 และ 3 เมื่อตองการออกจากการปรับหมุน และกลับสู เมนู กดปุม < > ถาไดปรับต้ัง [ 1: Auto rotate] ไปท่ี [ ] (น.270) กอนท่ีจะถายภาพ แนวตั้ง ก็ไมจำเปนตองหมุนภาพเอง ตามท่ีอธิบายไวขางตน เมื่อภาพถูกหมุนแลว แตยังมีทิศทางไมถูกตองเมื่อนำไปเลนดู ใหปรับต้ังเมนู [ 1: Auto rotate] เปน [ ไมสามารถหมุนภาพยนตรได ]

ารตง้ั อนั ดบั (Rating) ผูใชสามารถตั้งอันดับ(Ratings) ภาพน่ิงและภาพยนตร โดยสามารถต้ังได 5 อันดับ / / / / ฟงกชั่นน้ีเรียกวา การต้ังอันดับ (Rating) เลือก [Rating] 2] เลือก [Rating] จาก ในแถบรายการ [ นั้นกดปุม < > เลือกภาพ หรือภาพยนตร ในขณะเลนดูภาพ หมุนวงแหวน < > เพื่อ เลือกภาพหรือภาพยนตรท่ีตองการตั้ งอั น ดั บ ถาผูใชกดปุม < > และหมุนวงแหวน < > ทวนเข็มนาฬิกา ผูใชสามารถเลือก ภาพหรือภาพยนตรไดจากการแสดงภาพพรอม กัน 3 ภาพ และหากตองการกลับไปแสดงภาพ แบบภาพเดี่ยว ใหหมุนวงแหวน < > ตาม เข็มนาฬิกา ต้ังอันดับภาพ หรือภาพยนตร กดปุม เพื่อเลือกอันดับ จำนวนของภาพและภาพยนตรที่ถูกต้ังอันดับ จะถูกนับรวม และแสดงไวสำหรับแตละอันดับ ห า ก ต อ ง ก า ร ตั้ ง อั น ดั บ ภ า พ ห รื อ ภ า พ ย น ต ร เพิ่มเติม ใหทำซ้ำข้ันตอนท่ี 2 และ 3 เมื่อตองการกลับสูเมนู กดปุม

ารต้ังอันดับ จำนวนสูงสุดของภาพและภาพยนตรในแตละอันดับจะถูกแสดงไดไมเกิน 999 ภาพ ถาหากจำนวนภาพเกินกวา 999 ภาพ กลองจะใชสัญลักษณ [###] แทน ใน อันดับน้ัน ขอไดเปรียบของการตั้งอันดับ เมื่อต้ัง [ 2: Image jump w/ ] ผูใชสามารถจะเลือกดูไดเฉพาะภาพที่ได ตั้งอันดับไว เมื่อต้ัง [ 2: Slide show] ผูใชสามารถจะเลือกดูไดเฉพาะภาพและภาพยนตร ที่ไดต้ังอันดับไว โดยใชซอฟทแวร Digital Photo Professional (น.392) ผูใชสามารถจะเลือกดูได เฉพาะภาพและภาพยนตรที่ไดต้ังอันดับไว เม่ือใช Windows Vista และ Windows 7 ผูใชสามารถตรวจสอบอันดับของแตละ ไฟลภาพในสวนหนึ่งของขอมูลไฟล หรือในซอฟทแวรสำหรับดูภาพ(เฉพาะภาพน่ิง)

ารควบคมุ อยา งรวดเรว็ ในขณะเลน ดภู าพ ในขณะเลนดูภาพ ผูใชสามารถกดปุม < > เพ่ือปรับต้ังระบบและฟงกช่ันตางๆ ดังน้ี : [ : ปองกันภาพถูกลบ , : หมุนภาพ , : ตั้งอันดับภาพ , : ประมวลผลไฟล ภาพแบบ RAW(เฉพาะไฟลแบบ RAW) , : เปล่ียนขนาดภาพ(เฉพาะไฟลภาพ JPEG), : เตือนพื้นท่ีสวาง , : แสดงจุด AF , : กระโดดขาม / ] สำหรับภาพยนตร เฉพาะฟงกช่ันท่ีเปนตัวเขมที่สามารถปรับตั้งได * ไมสามารถเลือกได ถาตั้ง [Wi-Fi] ใน [ 3] เปน [Disable] กดปุม < > ในขณะเลนดูภาพ กดปุม < > จอภาพจะแสดงจอปรับควบคุมแบบเร็ว เลือกฟงกชั่นและปรับต้ัง กดปุม เพ่ือเลือกฟงกชั่น ฟงกชั่นท่ีกำลังปรับตั้งจะแสดงอยูทางดานลาง ของจอภาพ หมุนวงแหวน หรือ < > เพ่ือเลือกฟงกชั่น สำหรับการประมวลผลไฟลภาพแบบ RAW และการปรับเปล่ียนขนาดภาพ หรือ Wi-Fi กดปุม < > และปรับต้ังฟงกชั่นน้ัน สำหรับ รายละเอียด ดูหนา 272 เรื่องการประมวล ผลไฟลแบบ RAW และหนา 277 เรื่องการ เปลี่ยนขนาดภาพ เมื่อตองการยกเลิก ใหกดปุม ออ<กMจEาNกUก>ารปรับต้ัง ในขณะเลนดูภาพ กดปุม < > หนาจอปรับควบคุมแบบเร็วจะดับไป

ารควบคุมอยางรวดเร็วในขณะเลนดูภาพ เมื่อตองการหมุนภาพ ใหปรับตั้ง [ 1: Auto rotate] เปน ถา [ 1: Auto rotate] ไดต้ังเปน [On ] หรือ [Off] การปรับตั้ง [ Rotate image] จะถูกบันทึกไวในภาพดวย แตกลองจะไมหมุนภาพในขณะเลนดูภาพ เมื่อกดปุม < > ในขณะเลนดูภาพแบบดัชนี กลองจะเปล่ียนไปแสดงภาพแบบ ภาพเดียว และจอปรับควบคุมแบบเร็วจะปรากฏข้ึน ใหกดปุม < > อีกครั้งเพ่ือ กลับสูการแสดงภาพแบบดัชนี เมื่อเลนดูภาพที่ถายดวยกลองตัวอ่ืนๆ ฟงกช่ันการใชงานจะถูกจำกัด


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook