Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore EOS6D_Thai_manual

EOS6D_Thai_manual

Published by wichai.kum, 2020-05-15 05:01:46

Description: EOS6D_Thai_manual

Search

Read the Text Version

ารปรบั ตงั้ ควบคมุ MENU โดยใชเ มนู ผใู ชส ามารถปรบั ฟง กช น่ั ตา งๆ เชน คณุ ภาพของภาพ ตงั้ วนั ทแี่ ละเวลา ฯลฯ โดยสามารถดกู ารปรบั ตงั้ ไดจ ากจอ LCD โดยใชป มุ และปมุ ทด่ี า นหลงั ของกลอ ง ปมุ ปุม จอภาพ LCD เมนขู องระบบบนั ทกึ ภาพพนื้ ฐาน * บางเมนแู ละบางแถบรายการ จะไมแ สดงใหเ หน็ เมอ่ื ใชร ะบบบนั ทกึ ภาพพนื้ ฐาน เมนูของระบบบันทึกภาพสรางสรรค Set-up FCuunsctotimons เลนดูภาพ(Playback) My Menu ถา ยภาพดว ย Live View ถา ยภาพ แถบ รายการ รายการของเมนู ตัวเลือกในการ ปรบั ตง้ั

ารปรบั ตง้ั ควบคมุ เมนู (Menu) วิธีปรับตั้งเมนู แสดงรายการตา งๆ ในเมนู กดปมุ เพอ่ื แสดงรายการตา งๆ เล่ือนแถบเพ่ือเลือกรายการ กดปมุ เพอ่ื เลอื กแถบรายการของเมนู ตวั อยา งเชน แถบ [ 4] จะหมายถงึ หนา จอ ทแ่ี สดงเมอื่ แถบเมนจู ดุ ท่ี 4 จากซา ย ไดถูกเลือก เลือกรายการท่ีตองการ กดปมุ เพอื่ เลอื กรายการ จากนั้นกดปุม เลอื กคาทต่ี องการปรบั ตัง้ กดปมุ หรอื เพอื่ เลอื กคา การ ปรบั ตง้ั ทตี่ อ งการ (การปรบั ตง้ั บางรายการอาจตอ ง ใชท งั้ ปมุ และ ในการเลอื ก รายการ) รายการท่ีเลือกในปจจุบันจะเปนสีน้ำเงิน ยนื ยนั การปรบั ตงั้ กดปมุ เพอ่ื ยนื ยนั ออกจากการปรับตงั้ กดปมุ เพอ่ื ออกจากการปรบั ตงั้ และ กลับสูการถายภาพตามปกติ ในขัน้ ตอนที่ 2 ผใู ชส ามารถใชวงแหวน เพือ่ เลอื กแถบรายการของเมนู และในขัน้ ตอนท่ี 4 ผใู ชส ามารถใชว งแหวน เพอื่ ปรบั ตง้ั หรอื เลอื กรายการเฉพาะได การอธบิ ายเกยี่ วกบั ฟง กช นั่ ของเมนตู า งๆ ในทนี่ ้ี ตง้ั อยบู นสมมตฐิ านวา ผใู ชไ ดก ดปมุ เพอื่ แสดงรายการของเมนบู นจอภาพแลว หากตอ งการยกเลกิ กลางคนั ใหก ดปมุ รายละเอยี ดของฟง กช น่ั ของเมนตู า งๆ ไดแ สดงรายการรวมไวท หี่ นา 346

อ นเรม่ิ ตน ใชก ลอ ง การฟอรแมทการด ถาการดที่นำมาใชเปนการดแผนใหมท่ีไมเคยใชมากอน หรือเคยใชกับกลองตัวอ่ืน หรือใชเก็บ ขอมูลสวนตัว ควรฟอรแมทดวยฟงกชั่นฟอรแมทของกลองเสียกอนท่ีจะนำมาใชเก็บขอมูลภาพ การฟอรแ มทการด จะลบขอ มลู ทกุ ๆ อยา งที่เก็บอยใู นการด ซึง่ แมแ ตไฟล ภาพทถ่ี กู ปอ งกนั การลบภาพไวก จ็ ะถกู ลบไปดว ย ควรตรวจสอบใหด วี า ไมม ี ไฟลห รอื ขอ มลู ทสี่ ำคญั ทต่ี อ งการเกบ็ ไว หากไมแ นใ จ ใหถ า ยโอนขอ มลู ทอ่ี ยู ในการด ไปเกบ็ ไวใ นคอมพวิ เตอรเ สยี กอ น เลือก [Format card] ภายในรายการของแถบ [ 1] เลือก [Format และการปรบั ตง้ั ทเ่ี ลอื ก card] แลว กดปมุ ไดจะมีรายละเอียดดังอธิบายดานลางนี้ ใหเลือก รายการหนงึ่ จากนน้ั กดปมุ ฟอรแมทการด เลือก [OK] จากนนั้ กดปมุ การดจะถูกฟอรแมท เมอื่ ฟอรแ มทเสรจ็ แลว หนา จอจะกลบั มาแสดงเมนู รายการอีกครั้ง เม่ือตองการฟอรแมทแบบ low-level ใหกดปมุ < > เพอื่ เลอื ก [Low level format] โดยเลอื ก < > จากนนั้ เลอื ก [OK]

อ นเริ่มตนใชกลอง ฟอรแมทการดในกรณีตอไปน้ี เมื่อนำการดแผนใหมมาใช เมื่อนำการดท่ีเคยถูกฟอรแมทจากกลองตัวอื่น หรือคอมพิวเตอร มาใช การดท่ีเต็มจากการบรรจุภาพหรือขอมูล เมื่อกลองเตือนความผิดพลาดเก่ียวกับการด (น.370) เกี่ยวกับการฟอรแ มทแบบ low-level เมอ่ื พบวา ความเรว็ ในการบนั ทกึ หรอื การอา นของการด แบบ SD ลดลงมาก หรอื เมอ่ื ตอ งการลบ ขอ มลู ทง้ั หมดทงิ้ จากการด ใหเ ลอื กฟอรแ มทแบบ low-level การฟอรแ มทแบบ low-level จะลบลา งขอ มลู ในทกุ ๆ สว นของการด SD ไปจนหมด การฟอรแ มท แบบนจ้ี งึ ใชเ วลานานกวา การฟอรแ มทแบบปกตเิ ลก็ นอ ย ผใู ชส ามารถสง่ั หยดุ การฟอรแ มทแบบ low-level กลางคนั ได โดยเลอื ก [Cancel] และแมจะสั่งยก เลกิ กลอ งจะทำการฟอรแ มทแบบปกตติ อ ไปจนเสรจ็ และสามารถนำการด ไปใชง านไดต ามปกติ การด ทม่ี คี วามจุ 128 GB หรอื ต่ำกวา น้ี จะถกู ฟอรแ มทในรปู แบบ FAT สว นการด ทม่ี คี วาม จุมากกวา 128 GB จะถูกฟอรแมทในแบบ exFAT ซึ่งถาผูใชฟอรแมทการด ท่ีมีความ จุมากกวา 128 GB ในกลองรุนนี้แลวนำไปใชกับกลองรุนอื่น กลองน้ันอาจจะแสดงรหัส ความผิดพลาดของการด และไมสามารถใชการดนี้ได และระบบปฏิบัติการบาง ระบบของคอมพิวเตอรหรือเคร่ืองอานการดก็อาจจะไมรูจักการดท่ีถูกฟอรแมทในแบบ exFAT เมอ่ื มกี ารฟอรแ มทการด หรอื เมอื่ ลบภาพออกจากการด เฉพาะขอ มลู ในการจดั การไฟล เทา นน้ั ทเี่ ปลยี่ นแปลงไป ขอ มลู จรงิ ๆ จะไมถ กู ลบไปจนหมด เมอ่ื นำการด ไปขายตอ หรอื ใหผ อู ่ืนใช ควรระวงั เร่ืองนี้ และเม่ือเลกิ ใชก ารด (ตองการทงิ้ ) ควรบิดใหห ักหรืองอ เพ่ือ ไมใหขอมูลสวนตัวร่ัวไหล กอนใชการดแบบ Eye-Fi แผนใหม จะตองติดตั้งซอฟทแวรของการดลงใน คอมพิวเตอรใหเรียบรอยเสียกอน จากนั้นจึงใชกลองฟอรแมทการด ความจุของการดท่ีแสดงไวที่หนาจอในขณะทำการฟอรแมท อาจจะตำ่ กวาความจุที่ระบุไว บนแผน การด กลอ งรุน นรี้ องรบั เทคโนโลยี exFAT ซ่ึงเปน ลขิ สิทธิ์ของ Microsoft

อ นเร่ิมตนใชกลอง ปรบั ตง้ั ระยะเวลาในการตดั พลงั งาน / การตดั พลงั งานอตั โนมตั ิ ผใู ชส ามารถปรบั ตงั้ ระยะเวลาในการตดั พลงั งานของกลอ งโดยอตั โนมตั ิ หลงั จากไมไ ด ใชก ลอ งและเปด สวติ ซท งิ้ ไวช ว งเวลาหนงึ่ แตถ า ไมต อ งการใหก ลอ งตดั พลงั งานเอง ให เลอื ก [Disable] ซง่ึ หลงั จากทกี่ ลอ งตดั พลงั งานแลว ผใู ชส ามารถปรบั ใหก ลอ งเรม่ิ ใชง าน ใหมไ ด เมอื่ แตะปมุ ชตั เตอร หรอื ปมุ อน่ื ๆ เลือก [Auto power off] ในแถบ [ 2] เลือก [Auto power off] จากน้ันกด เลือกเวลาที่ตองการ เลอื กเวลาทต่ี อ งการ จากนนั้ กดปมุ แมจ ะปรบั ตง้ั เปน [Disable] จอ LCD จะดบั เองโดยอตั โนมตั เิ มอ่ื ไมไ ดใ ชก ลอ งตดิ ตอกนั เปนเวลา 30 นาที เพ่ือประหยัดพลังงาน (แตพลงั งานของกลองจะยงั ไมถ กู ตดั ) ตั้งเวลาในการแสดงภาพ ผใู ชส ามารถปรบั ตงั้ ระยะเวลาในการแสดงภาพซงึ่ จะแสดงบนจอ LCD ทนั ทหี ลงั จากถา ยภาพ เสรจ็ หากตอ งการใหก ลอ งแสดงภาพไวต ลอดเวลา ใหต ง้ั เปน [Hold] และหากไมต องการให กลอ งแสดงภาพ เลอื กเปน [Off] เลือก [Image review] ในแถบ [ 1] เลอื ก [Image review] จากนนั้ กด เลือกเวลาท่ีตองการ เลอื กเวลาทต่ี อ งการ จากนน้ั กดปมุ ถา ตง้ั เปน [Hold] กลอ งจะแสดงภาพไปจนกวา จะครบเวลาทกี่ ลอ งจะตดั พลงั งาน

อ นเร่ิมตนใชกลอง การปด/เปด จอภาพ LCD สามารถปรับตั้งใหจอ LCD แสดงคาที่ปรับต้ังสำหรับการถายภาพ(น.48) ปรากฏคางอยู แม จะใชน ว้ิ แตะชตั เตอรเ บาๆ ลงครง่ึ หนงึ่ ในแถบรายการ [ 2] เลอื ก [LCD off/on btn] จาก นน้ั กดปมุ ตวั เลอื กจะมรี ายการตามทปี่ รากฏอยู ทางดา นลา ง เลอื กรายการใดรายการหนง่ึ จากนน้ั กดปมุ จอภาพจะยังคงแสดงผลอยูแมผูใชจะแตะชัตเตอรเบาๆ ลงคร่ึงหน่ึง หากตอ งการปด การแสดงผล ใหก ดปมุ เม่ือแตะชัตเตอรเบาๆ ลงคร่ึงหน่ึง การแสดงผลจะดับลง เม่ือยกนิ้ว ออกจากปมุ ชตั เตอร จอภาพจะกลบั มาแสดงผลตอ ไป ตงั้ คา ฟง กชน่ั และระบบการทำงาน ใหก ลับสคู า เรมิ่ ตน สามารถปรับตั้งใหคาการปรับตั้งเกี่ยวกับการถายภาพ และคาในเมนูตางๆ ที่ถูกต้ังคาหรือ เปลยี่ นแปลงไป ใหก ลบั สคู า เรมิ่ ตน ได เลอื ก [Clear all camera settings] ในแถบ [ 4] เลือก [Clear all camera settings] จากนนั้ กดปมุ เลือก [OK] เลือก [OK] จากนน้ั กดปมุ การปรบั ตงั้ [Clear all camera settings] จะทำ ใหฟงกช่ันและคาตางๆ ในตัวกลอง เปนไปตาม รายการตอไปน้ี

อ นเริ่มตนใชกลอง ปรับตั้งเกี่ยวกับการถายภาพ ระบบออโตโฟกัส One-Shor AF ระบบขับเคลื่อน (ถา ยครงั้ ละภาพ) ระบบเลือกจุดโฟกัส เลือกจุดโฟกัส (อัตโนมัติ) ชดเชยแสง / ถายภาพครอม ยกเลิก ระบบวัดแสง ระบบวัดแสง เฉลยี่ หลายสว น ชดเชยแสงแฟลช 0 (ศนู ย) ความไวแสง ชวงความไวแสง อัตโนมตั ิ (Auto) ถายภาพซอน ไมท ำงาน ตำ่ สุด : 100 ระบบ HDR ยกเลกิ ระบบ HDR สูงสุด : 25600 ชวงความไวแสง ต่ำสุด : 100 ลอ็ คกระจกสะทอ นภาพ ไมท ำงาน อัตโนมัติ สูงสุด : 12800 Custom Functions ไมเปล่ียนแปลง ความไวแสงอัตโนมัติ สำหรับชัตเตอรตำ่ สุด อัตโนมัติ (Auto) ฟง กช น่ั ของแฟลช ไมเปลี่ยนแปลง

อนเริ่มใชกลอง ปรับต้ังเก่ียวกับการบันทึกภาพ การปรับควบคุมกลอง คุณภาพของไฟล อตั โนมตั ิ ตัดพลังงานอัตโนมัติ 1 นาที Picture Style มาตรฐาน สัญญาณเสียงเตือน ทำงาน Auto Lighting Optimizer ทำงาน / ล่ันชัตเตอร ใชงานได ปรับแก ดวยขอมูลท่ีเก็บ โดยไมมีการด ลดความสลัว ไวใ นตวั แสดงภาพท่ีถายเสร็จ 2 วินาที ของขอบภาพ ทำงาน / เตือนพ้ืนท่ีสวาง ไมท ำงาน ดวยขอมูลที่เก็บ แสดงจุดโฟกัส ไมท ำงาน ปรับแกความคลาดสี ไวใ นตวั แสดงเสน กริดขณะดภู าพ ปด Histogram แสดงความเขม สวา ง สมดุลสีขาว (อัตโนมัติ) อัตราขยาย ประมาณ 2x สมดลุ สขี าวแบบปรบั ตง้ั เอง ยกเลิก การควบคมุ เหนอื HDMI ไมท ำงาน กระโดดขาม 10 ภาพ ปรับแกสมดุลสีขาว ยกเลิก หมุนภาพอัตโนมัติ แสดงผลตลอดเวลา ถายครอมสมดุลสีขาว ยกเลิก ความสวางของจอ ไมเปล่ียนแปลง sRGB ปมุ ปด /เปด จอ LCD ไมเปลี่ยนแปลง ระบบสี ไมท ำงาน ไมเปลี่ยนแปลง ลดสัญญาณรบกวน วันที่ / เวลา / โซน ทำงาน เมื่อเปดรับแสงนาน มาตรฐาน ภาษา เลือกไดทุกรายการ ลดสัญญาณรบกวน ระบบวิดีโอ เม่ือใชความไวแสงสูง ไมท ำงาน คำแนะนำคุณสมบัติ ตอ เนอ่ื ง Hilight tone priority ทำงาน ทางเลือกในการ ลบ แสดงผลของปมุ INFO. เลขลำดับของไฟล ทำความสะอาดอัตโนมัติ Custom shooting ไมเปล่ียนแปลง ขอมูลระบบกำจัดฝุน ขอมูลลิขสิทธิ์ภาพ ไมเปลี่ยนแปลง การสง สัญญาณ Eye-Fi ไมท ำงาน การตั้งคา ใน My Menu ไมเปล่ียนแปลง ไมแ สดง การแสดงผลจาก My Menu ไมท ำงาน ไมท ำงาน GPS Wi-Fi สำหรบั การใช Wi-Fi และ GPS ใหอ า นรายละเอยี ดการใชจ ากคมู อื ของอปุ กรณน นั้ ๆ

อ นเร่ิมใชกลอง การปรบั ตงั้ ของระบบ Live View การปรับตั้งของระบบถายภาพยนตร ถายภาพดวย ทำงาน ระบบ AF Live mode Live View ระบบ AF FlexiZone - Single บันทึกแบบเก็บเสียง Mode 1 ไมท ำงาน การแสดงเสนกริด 3:2 ชวงเวลาวัดแสง 16 วินาที อัตราสวนของดาน แสดงเสนกริด ไมท ำงาน การจำลองคาแสง ทำงาน ขนาดภาพยนตร 1920x1080/IPB บันทึกแบบเก็บเสียง Mode 1 บันทึกเสียง อตั โนมตั ิ รหัสของเวลา (Time Code) ชวงเวลาวัดแสง 16 วินาที นับการบันทึกภาพยนตร ไมเปลี่ยนแปลง การต้ังเวลาเริ่มตน ไมเปล่ียนแปลง นับการบันทึก ไมเปลี่ยนแปลง ภาพยนตร ไมเปล่ียนแปลง นับการเลนดู ไมเปลี่ยนแปลง ภาพยนตร ไมทำงาน ลดเฟรมภาพยนตร Video snapshot

ารแสดงเสน ระดบั อเี ลก็ ทรอนกิ ส กลอ งรนุ นอี้ อกแบบใหส ามารถแสดงระดบั แบบอเิ ลก็ ทรอนกิ สท จี่ อภาพ LCD และในชอ งเลง็ ภาพ หรอื ทจ่ี อ LCD เพอื่ ชว ยใหผ ใู ชถ อื กลอ งถา ยภาพไดต รง และโปรดทราบวา เสน ระดบั จะตรวจสอบ ไดเ ฉพาะความเอยี งทางแนวนอน ไมส ามารถตรวจสอบการ กม /เงย กลอ งได การแสดงเสนระดับอิเล็กทรอนิกสท่ีจอ LCD การแสดงผลท่ี กดปมุ แตล ะครงั้ ทก่ี ดปมุ จอภาพจะเปล่ียนไป เลือกใหแสดงเสนระดับอีเล็กทรอนิกส หากเสนระดับอีเล็กทรอนิกสไมปรากฏข้ึน ใหป รบั ตง้ั [ 3: button display options] เพ่ือใหสามารถแสดงเสนระดับอีเล็กทรอนิกสได (น.332) ตรวจสอบความเอียงของกลอ ง เสนที่แสดงทางแนวนอนและแนวต้ัง จะแสดงมุมที่ ละเอยี ดถงึ 1 องศา เมื่อเสนสีแดงเปล่ียนเปนสีเขียว หมายความวา กลองถูกต้ังไดร ะดับพอด(ี ไมเ อยี ง) แลว ความเอยี งทางแนวนอน การตรวจสอบมมุ กม เงยของกลอ งอาจมคี วามผดิ พลาดได +/- 1 องศา เมอื่ กลอ งถกู ตงั้ เอยี งมากๆ ความผดิ พลาดในการตรวจวดั จะมมี ากขน้ึ สามารถแสดงเสนระดับแบบอีเล็กทรอนิกสได ในขณะใชระบบ Live View และถาย ภาพยนตร (น.182, 210) และโปรดทราบวา จะไมส ามารถแสดงเสน ระดบั อเิ ลก็ ทรอนกิ ส ในขณะถา ยภาพยนตรไ ด (การแสดงเสน ระดบั จะหายไปทนั ทเี มอ่ื เรม่ิ ถา ยภาพยนตร)

ารแสดงเสนระดับอีเล็กทรอนิกส การแสดงเสนระดับอีเล็กทรอนิกสในชองเล็งภาพ การแสดงเสน ระดบั แบบอเิ ลก็ ทรอนกิ สใ นชอ งเลง็ ภาพและทจ่ี อ LCD โดยใชส เกลแสดงคา แสง เปนตัวบอกแสดง และโปรดทราบวา เสนระดับจะตรวจสอบไดเฉพาะความเอียงทางแนวนอน ไมส ามารถตรวจสอบการ กม /เงย กลอ งได เลือก Custom Functions III ในแถบรายการ เลือก [C.Fn III : Operation/Others] จากนนั้ กดปมุ เลือก C.Fn III - 5 [Custom Controls] กดปมุ เพอื่ เลอื ก [5: Custom Controls] จากนน้ั กดปมุ เลอื ก เลอื ก [ : DOF preview button ] จากนั้นกดปุม เลอื ก เลอื ก [ : VF electronic level ] จากน้ันกดปุม กดปมุ เพอื่ ออกจากการปรบั ตง้ั ในเมนู

ารแสดงเสนระดับอีเล็กทรอนิกส เอยี งไปทางขวา 4 ํ เอยี งไปทางซา ย 4 ํ แสดงเสนระดับอีเล็กทรอนิกส กดปุมตรวจสอบชวงความชัด กลองจะแสดงเสนระดับอีเล็กทรอนิกสในชองเล็ง ภาพและทจ่ี อ LCD โดยใชส เกลแสดงระดบั คา แสง โดยจะแสดงความเอยี งไดใ นชว ง +/- 9 องศา ในระดบั ข้ันละ 1 องศา แตะชตั เตอรเ บาๆ ลงครงึ่ หนง่ึ เมอื่ ตอ งการแสดง ระดับแสงตามปกติ แมจ ะปรบั ไมใ หก ลอ งเอยี งแลว แตอ าจเกดิ ความผดิ พลาดไดใ นชว ง +/- 1 ํ ถา ตงั้ กลอ งเอยี งมาก ความคลาดเคลอ่ื นของระดบั ความเอยี งอาจมมี ากยง่ิ ขน้ึ ถา ปมุ ตรวจสอบชว งความชดั ไดถ กู กำหนดหนา ทเี่ ปน [VF electronic level] ระบบตรวจ สอบชว งความชดั จะไมท ำงาน

า แนะนำเกยี่ วกบั คณุ สมบตั แิ ละการชว ยเหลอื ในขณะท่กี ำลังปรบั ตั้งฟงกช่ันบางฟงกชัน่ รายละเอยี ดของฟงกช น่ั น้ันๆ จะปรากฏขึ้น คำแนะนำคณุ สมบตั ิ คำแนะนำคณุ สมบตั ิ เปน การแสดงคำนยิ ามทเี่ ขา ใจไดง า ยของระบบบนั ทกึ ภาพ, ฟง กช น่ั หรอื ตวั เลอื ก คำแนะนำนจ้ี ะปรากฏขนึ้ เมอื่ เปลยี่ นระบบบนั ทกึ ภาพ หรอื เปลย่ี นฟง กช นั่ ในการถา ยภาพ, ถา ยภาพดว ยระบบ Live View, ถา ยภาพยนตร, หรอื ใชก ารปรบั ควบคมุ อยา งรวดเรว็ ในขณะเลน ดูภาพ เม่ือผูใ ชเ ลือกฟง กชนั่ หรือตัวเลือกจากหนาจอควบคุมอยางรวดเร็ว คำแนะนำคณุ สมบัติ จะปรากฏขนึ้ บนจอภาพ และเมอ่ื ดำเนนิ การตอ ไป คำแนะนำคณุ สมบตั กิ จ็ ะหายไป ตัวอยาง: ระบบบันทึกภาพ ตวั อยาง: การควบคมุ อยางรวดเรว็ การปรบั ตง้ั คา สำหรบั ถา ยภาพ ถา ยภาพดว ย Live View เลน ดภู าพ ยกเลกิ การแสดงคำแนะนำคณุ สมบตั ิ เลือก [Feature guide] ในแถบ [ 3] เลอื ก [Feature guide] จาก นนั้ กดปมุ เลอื ก [Disable] จากนนั้ กดปมุ

า แนะนำเก่ียวกับคุณสมบัติและการชวยเหลือ การชวยเหลือ เมื่อ [ Help] ปรากฏขนึ้ ทางดา นลา งของจอภาพทกี่ ำลงั แสดงเมนู ผใู ชส ามารถดคู ำแนะ นำเกย่ี วกบั คณุ สมบตั ขิ องฟง กช นั่ ได และสามารถดคู ำแนะนำเกย่ี วกบั คณุ สมบตั ไิ ดโ ดยกดปมุ และหากคำแนะนำมมี ากกวา 1 หนา ขน้ึ ไป กจ็ ะมแี ถบเลอ่ื นปรากฏทางดา นขวา สำหรบั เลอ่ื นดหู นา ถดั ไป สำหรบั วธิ เี ลอ่ื น ใหก ดปมุ คา งไว แลว หมนุ วงแหวน < > ตวั อยา ง แถบเล่ือน ตวั อยา ง ตวั อยา ง

    ในบทน้ี จะอธิบายเก่ียวกับการถายภาพดวยระบบถายภาพขั้นพื้นฐาน (Basic Zone) ซึ่งอยูบนวงแหวนเลือกระบบบันทึกภาพ เพ่ือผลของภาพท่ีดีที่สุด เมื่อใชระบบบันทึกภาพพ้ืนฐาน ส่ิงท่ีผูใชตองทำก็เพียงแตเล็งไปยังสิ่งที่ตอง การถาย และกลองจะทำการปรับคาตางๆ ใหโดยอัตโนมัติ (น.83, 342) และเพื่อปองกันภาพเสียจากการปรับตั้งที่ผิดพลาดของผูใช ผูใชจะไม สามารถเปลี่ยนคาการเปดรับแสงและฟงกชั่นหลักๆ ได

ะบบถายภาพอัตโนมัติแบบอัจฉริยะ < > เปนระบบบันทึกภาพแบบอัตโนมัติท้ังหมด กลองจะวิเคราะหลักษณะของภาพ ที่ถายและตั้งคาการบันทึกภาพที่เหมาะสมท่ีสุดใหโดยอัตโนมัติ รวมทั้งการวิเคราะหดวย วาวัตถุน้ันหยุดนิ่งหรือกำลังเคล่ือนท่ี พรอมกับการปรับระบบโฟกัสใหเหมาะสมดวย (น.69) หมุนวงแหวนเลือกระบบไปท่ี < > กดปุมคลายล็อคท่ีกึ่งกลางวงแหวนคางไว แลว หมุนวงแหวนไปยังตำแหนงในภาพ กรอบของพื้นที่ออโตโฟกัส เล็งจุดโฟกัสจุดใดจุดหนึ่งไปท่ีวัตถุ จุดโฟกัสทุกๆ จุดมีหนาท่ีคนหาความชัด ซึ่งจุด ที่มีวัตถุอยูใกลกวาจุดอื่นๆ จะเปนจุดที่จับภาพ วัตถุได การใชจุดโฟกัสท่ีกึ่งกลางของเฟรมจะชวยให โฟกัสไดงายขึ้น โฟกัสไปยังวัตถุ แตะปุมชัตเตอรเบาๆ ลงครึ่งหนึ่ง เลนสจะหมุน เพื่อปรับภาพใหชัด จุดท่ีอยูภายในกรอบส่ีเหล่ียมของจุดท่ีหาโฟกัส ไดจะกระพริบเปนสัญญาณไฟสีแดง พรอมกับ เสียงสัญญาณเตือน “บ๊ีบ” ไฟยืนยันความชัด < > ที่มุมลางดานขวาของชองเล็งภาพจะสวาง ข้ึนดวย ไฟยืนยันความชัด

ะบบถา ยภาพอตั โนมตั แิ บบอจั ฉรยิ ะ ถายภาพ กดปุมชัตเตอรลงจนสุดเพ่ือถายภาพ ภาพที่ถายแลวจะแสดงบนจอ LCD เปนเวลา นานประมาณ 2 วินาที ระบบบันทึกภาพ < >จะชวยใหภาพมีสีสันสวยงาม ทั้งในการถายภาพกลางแจง ในรม และในยามพระอาทิตยตกดิน ซึ่งหากผูใชไมพอใจกับสีของภาพ ใหเปล่ียนไปใชระบบ บันทึกภาพสรางสรรค และเลือก Picture Style อื่นท่ีไมใช < > (น.112) ปญ หาทผี่ ใู ชม กั จะเกดิ ขอ สงสยั กนั บอ ยๆ ไฟสัญญาณยืนยันความชัด < > กระพริบ และกลองโฟกัสไมได เล็งจุดโฟกัสไปยังบริเวณท่ีมีความแตกตางของแสงและเงามากๆ และแตะปุม ชัตเตอรเบาๆ (น.44) และถาอยูใกลกับวัตถุมากเกินไป ใหถอยออกหางมากข้ึน บางครั้งจุดโฟกัสหลายจุดติดสวางพรอมๆ กัน หมายความวา จุดโฟกัสทุกจุดท่ีติดสวางน้ันสามารถจับความชัดไดพรอมกัน โดย จุดโฟกัสเหลานี้ครอบคลุมวัตถุท่ีอยูในระยะเดียวกัน ผูใชจึงถายภาพไดทันที เสียง “บี๊บ” ดังข้ึนเบาๆ และเปนจังหวะถ่ีๆ และไฟสัญญาณยืนยันความชัด < > ก็ไมติดสวางขึ้น แสดงวากลองกำลังจับภาพวัตถุที่กำลังเคลื่อนท่ีดวยระบบโฟกัสแบบตอเนื่อง (ไฟ สัญญาณยืนยันความชัด < > ไมติดขึ้น) ผูใชสามารถกดชัตเตอรเพ่ือถายภาพได ทันทีเมื่อพอใจ และไดภาพวัตถุท่ีกำลังเคลื่อนที่อยางชัดเจน โปรดทราบวา ระบบล็อคโฟกัส (น.69) จะไมทำงานในกรณีน้ี เม่ือแตะปุมชัตเตอรเบาๆ แตกลองก็ไมโฟกัสให เมื่อสวิตซท่ีกระบอกเลนสถูกปรับไวที่ <MF> (แมนนวลโฟกัส) กลองจะไมหาความ ชัดใหโดยอัตโนมัติ ใหตรวจสอบสวิตซของเลนส และปรับมาที่ <AF> (ออโตโฟกัส)

ะบบถา ยภาพอตั โนมตั แิ บบอจั ฉรยิ ะ ตัวเลขแสดงคาความไวชัตเตอรกระพริบ ในสภาพแสงนอยเกินไป ภาพท่ีถายอาจจะเบลอเนื่องจากความสั่นไหวของกลอง แนะ นำใหใ ชข าตง้ั กลอ ง หรอื ใชแ ฟลช EX Speedlite ของ Canon (น.170) (อปุ กรณเ สรมิ พเิ ศษ) เม่ือใชแฟลช พ้ืนที่ของภาพทางดานลางดูมืดอยางผิดปกติ วัตถุที่ถายภาพน้ันอยูใกลกับกลองมากจนเกินไป จนกระบอกเลนสท่ียื่นออกไปจากตัว กลอ งบดบงั แสงของแฟลชทฉ่ี ายออกไป ใหถ อดฮดู ของเลนสอ อกเสยี กอ นทจี่ ะใชแ ฟลชถา ย ภาพใกลๆ เมื่อใชระบบบันทึกภาพพื้นฐาน ยกเวน และใชแฟลช EX-series ของแคนนอน (จำหนายแยกตางหาก) ในสภาพแสงนอยหรือยอนแสง เพื่อชวยใหตัวแบบมีความสวางข้ึน และปองกันภาพส่ัน หรือชวยลดเงาท่ีจะเกิดขึ้นในฉากหลัง

ทคนคิ การถา ยภาพดว ยระบบอตั โนมตั แิ บบอจั ฉรยิ ะ การจัดองคประกอบภาพใหม ในฉากของสถานท่ีบางแหง การจัดใหจุดเดนอยูทางดานซายหรือขวาของภาพจะทำใหภาพ เกิดความสมดุล และมีองคประกอบภาพที่สวยงามมากขึ้น เมื่อใชระบบ < > ซ่ึงกลองจะปรับต้ังคาใหท้ังหมดโดยอัตโนมัติน้ัน เมื่อแตะชัตเตอร เบาๆ ใหกลองจับความชัดและยังคงแตะคางไว โฟกัสจะล็อค ผูใชสามารถเบนกลองไปทาง ซายหรือขวาเพ่ือจัดใหตัวแบบอยูคอนไปทางดานใดดานหน่ึงของเฟรม จากนั้นจึงกดชัตเตอร จนสุดเพ่ือถายภาพ เทคนิคน้ีเรียกวา “การล็อคโฟกัส”(Focus Lock) การล็อคโฟกัสยังทำงาน รวมกับระบบบันทึกภาพพื้นฐานทุกๆ ระบบ (ยกเวนระบบ Sports) การถายภาพสิ่งที่กำลังเคล่ือนท่ี เมื่อใชระบบถายภาพอัตโนมัติสมบูรณแบบ < > เมื่อวัตถุมีการเคล่ือนที่(ระยะระหวาง กลองกับวัตถุเปล่ียนแปลงไป) ในขณะที่โฟกัสหรือโฟกัสไดแลว ระบบ AI Servo AF ซึ่ง เปนระบบที่สามารถจับความชัดอยางตอเน่ืองไปยังวัตถุที่เคล่ือนท่ีจะเริ่มทำงานโดย อัตโนมัติ และชวยจับภาพใหชัดตราบเทาที่ผูใชยังคงเล็งภาพวัตถุใหอยูภายในเฟรมและ ใชน้ิวแตะชัตเตอรคางไวตลอดเวลา และเมื่อถึงจังหวะท่ีตองการถายภาพ ก็เพียงกดปุม ชัตเตอรลงจนสุด

ทคนิคการภาพดวยระบบอัตโนมัติแบบอัจฉริยะ การถายภาพดวยระบบ Live View ผูใชสามารถเล็งภาพโดยดูภาพที่กำลังจะถายจากจอภาพ LCD เรียกวา “การถายภาพ ดวยระบบ Live View” สำหรับรายละเอียด ดูจากหนา 179 ปรับต้ังสวิตซระบบ Live View/ถาย ภาพยนตร ไปที่ < > แสดงภาพแบบ Live View ที่จอภาพ LCD กดปุม < > กลองจะแสดงภาพแบบ Live View ที่จอ LCD โฟกัสไปยังวัตถุ เล็งจุดโฟกัสกึ่งกลาง ไปยังวัตถุเปาหมาย แตะปุมชัตเตอรเบาๆ ลงครึ่งหน่ึงเพื่อโฟกัส เมื่อโฟกัสไดแลว กรอบแสดงจุดโฟกัส จะเปล่ียนเปนสีเขียว และมีสัญญาณเสียง ดังขึ้น ถายภาพ ใชน้ิวกดชัตเตอรลงจนสุด กลองจะถายภาพน้ั น และภาพท่ีถายแลวจะ ปรากฏข้ึนบนจอภาพ LCD หลังจากส้ินสุดระยะเวลาแสดงภาพ กลอง จะกลับไปแสดงภาพในแบบ Live View อีกครั้ง โดยอัตโนมัติ กดปุม < > เมื่อตองการยุติการถายภาพ ดวยระบบ Live View

า ยภาพดว ยระบบอตั โนมัตแิ บบสรางสรรค เมื่อใชระบบบันทึกภาพ ผูใชสามารถปรับเปลี่ยนชวงความชัดและระบบขับเคลื่อน ไดอยางงายดาย ผูใชยังสามารถเลือกลักษณะสภาพแสงที่ตองการส่ือไปในภาพถาย โดยคา เริ่มตนตางๆ ของระบบน้ีจะเหมือนกันกับระบบบันทึกภาพ * CA เปนตัวยอของ Creative Auto (ระบบอัตโนมัติแบบสรางสรรค) หมุนวงแหวนเลือกระบบไปที่ กดปุม กลองจะแสดงหนาจอควบคุมแบบรวดเร็ว เลือกฟงกช่ันท่ีตองการ กดปุม เพ่ือเลือกฟงกช่ัน ฟงกช่ันที่เลือก และคำแนะนำคุณสมบัติ (น.63) จะปรากฏบนจอ LCD สำ ห รั บ วิ ธี ป รั บต้ั งและรายละเอียดของ ฟงกช่ัน ดูหนา 72-73 ถายภาพ กดชัตเตอรจนสุดเพื่อถายภาพ

า ยภาพดวยระบบอัตโนมัติแบบสรางสรรค ความไวชัตเตอร จำนวนภาพท่ีถายได ชองรับแสง ความไวแสง ตรวจสอบระดับพลังงาน คุณภาพในการบันทึก เมื่อกดปุม < > ผูใชสามารถปรับต้ังไดดังตอไปนี้ : (1) Ambience-based shots (เลือกสภาพแสง) : ผูใชสามารถจะเลือกปรับต้ังสภาพแสงที่ตองการถายทอดในภาพไดตามที่ตองการ โดย หมุนวงแหวน หรือ เพ่ือเลือกสภาพแสงตามที่ตองการ หรือเลือกได จากรายการดวยการกดปุม สำหรับรายละเอียด ดูหนา 84 (2) Blurring/Sharpening the background (ปรับฉากหลังใหเบลอ/ชัด มากขึ้น) : ยิ่งปรับใหขีดดัชนีเลื่อนไปทางดานซาย ฉากหลังของภาพก็จะย่ิงเบลอมากขึ้น และหาก ยิ่งเลื่อนไปทางดานขวา ฉากหลังก็จะยิ่งชัดมากข้ึน หากตองการถายภาพท่ีมีฉากหลัง เบลอ อาน “ระบบถายภาพบุคคล” หนา 75 โดยผูใชสามารถปรับตั้งขีดดัชนีดวยปุม หรือจะใชวงแหวน หรือ ในการเลื่อนขีดดัชนีก็ได โดยขึ้นอยูกับเลนสที่ใชและสภาพในการถายภาพ อาจทำใหฉากหลังเบลอไดไมมาก

ายภาพดวยระบบอัตโนมัติแบบสรางสรรค (3) Drive mode (ระบบขับเคล่ือน) : กดปุม เพื่อเลือกระบบขับเคลื่อนท่ี หรือ หรือเลือกได ตองการ และผูใชยังสามารถเลือกไดโดยหมุนวงแหวน จากรายการดวยการกดปุม ถายภาพครั้งละ 1 ภาพ เม่ือกดชัตเตอรลงจนสุดและไมยกน้ิวออกจากปุม(กดคางไว) กลองจะถายภาพอยางตอเน่ือง ซึ่งทำความเร็วในการถายภาพตอ เน่ืองไดสูงสุด 4.5 ภาพตอวินาที ถายภาพคร้ังละภาพ โดยมีความดังของชัตเตอรเบากวา ถายภาพตอเน่ือง (ความเร็วสูงสุด 3.0 เฟรมตอวินาที) โดยมีความ ดังของชัตเตอรเบากวา กลองจะถายภาพ(ลั่นชัตเตอร) หลังจากกดชัตเตอรลงจนสุดแลว 10 วินาที หรือ 2 วินาที และสามารถใชรีโมทคอนโทรลได เม่ือใชระบบหนวงเวลาถายภาพ ใหอานบันทึก ที่หนา 100

ะบบบันทึกภาพรูปแบบพิเศษ เมื่อเลือกใชระบบบันทึกภาพแบบหน่ึงที่เหมาะสมกับลักษณะของภาพท่ีจะถาย กลองจะปรับ คาตางๆ ซึ่งเหมาะสมท่ีสุดใหโดยอัตโนมัติ หมุนวงแหวนเลือกระบบไปท่ี <SCN> กดปุม กลองจะแสดงหนาจอควบคุมแบบรวดเร็ว เลือกระบบบันทึกภาพที่ตองการ กดปุม เพื่อเลือกระบบบันทึกภาพ ท่ีตองการ หรือใชวงแหวน หรือ เพ่ือ เลือกระบบบันทึกภาพที่ตองการก็ได ผูใชสามารถเลือกระบบบันทึกภาพไดจากราย การโดยเลือกไดในสวนของการถายภาพ เม่ือ เลือกไดแลว กดปุม ระบบบันทึกภาพที่เลือกไดใน <SCN> mode ระบบบันทึกภาพ หนา ระบบบันทึกภาพ หนา น.75 น.79 น.76 น.80 น.77 น.81 น.78

Ãะบบถายภาพบุคคล ระบบถา ยภาพบคุ คล เปน ระบบทอี่ อกแบบมาเพอื่ ใหฉ ากหลงั ของภาพนมุ เบลอมากขนึ้ นอกจากนี้ยังชวยปรับโทนสีผิวและผมใหแลดูนุมนวลข้ึน กลเมด็ เคลด็ ลบั ย่ิงตัวแบบอยูไ กลจากฉากหลัง ฉากหลงั กจ็ ะย่ิงมคี วามนมุ เบลอมากข้นึ ถา จดั ใหต ำแหนง ของตวั แบบอยไู มไ กลจากฉากหลงั มากนกั ฉากหลงั ในภาพกจ็ ะมคี วามชดั และเหน็ รายละเอยี ดจนแยง ความนา สนใจไปจากจดุ เดน ควรจะจดั ใหว ตั ถอุ ยหู า งไกลจากฉากหลงั มากๆ ฉาก หลงั กจ็ ะยง่ิ ดนู มุ เบลอ และตวั แบบดโู ดดเดน นอกจากนี้ ควรจะถา ยภาพบคุ คลกบั ฉากหลงั ทม่ี สี พี นื้ เรยี บๆ ทเ่ี ปน สเี ดยี วกนั หรอื บรเิ วณทม่ี สี เี ขม เมื่อใชเลนสซูม ใหซูมไปท่ีชวงเทเลโฟโต ถา มเี ลนสซ มู ใหซ มู ไปทชี่ ว งความยาวโฟกสั ปลายสดุ ของเลนสเ พอื่ ใหภ าพบคุ คลดแู นน พอดกี บั ขนาด เฟรม โดยมฉี ากหลงั พอประมาณ(ดงั ภาพตวั อยา งดา นบน) และถา เหน็ วา ตวั แบบยงั มขี นาดเลก็ จนเกนิ ไป กอ็ าจจะตอ งเขา ใกลม ากขน้ึ เพอ่ื ใหไ ดข นาดทพี่ องาม โฟกสั ทใ่ี บหนา ตรวจสอบจดุ โฟกสั ทท่ี าบกบั บรเิ วณใบหนา ของแบบ วา เปลยี่ นเปน สแี ดงหรอื ไม สำหรบั การถา ยภาพใบหนา บคุ คลในระยะใกลๆ ใหโ ฟกสั ทด่ี วงตา ระบบขบั เคลอ่ื นทเี่ ปน คา มาตรฐานทตี่ ง้ั ไวก ค็ อื (ถา ยภาพตอ เนอื่ ง) ถา กดชตั เตอรจ นสดุ และคา งไว กลอ งจะถา ยภาพดว ยระบบถา ยภาพตอ เนอ่ื ง เพอ่ื เลอื กภาพทตี่ วั แบบมที า ทางและ อารมณท แ่ี สดงออกทางใบหนา ทสี่ มบรู ณท สี่ ดุ (ประมาณ 4.5 เฟรมตอ วนิ าท)ี

Ãะบบถายภาพทิวทัศน ควรใชร ะบบถา ยภาพทวิ ทศั น( Landscape) เมอื่ ตอ งการถา ยภาพในทกี่ วา ง โดยตอ ง การใหทุกสวนของภาพ ตั้งแตระยะใกลจนถึงไกลมีความคมชัดท้ังหมด สีเขียวและสีนำ้ เงินที่ ปรากฏในภาพจะสดขนึ้ และปรบั ความคมชดั ของภาพใหแ ลดคู มกรบิ กลเมด็ เคลด็ ลบั เมอ่ื ใชเลนสซ ูม ใหซูมไปท่ีชว งมมุ กวา ง เมอื่ ใชเ ลนสซ มู ควรจะซมู ทช่ี ว งมมุ กวา ง เพราะชว งมมุ กวา งจะชว ยใหค วามชดั ลกึ เพม่ิ มาก ขน้ึ ชว ยใหว ตั ถทุ อี่ ยใู นระยะใกลจ นถงึ ระยะไกลมคี วามชดั มากกวา การใชเ ลนสใ นชว งอน่ื ๆ และเลนสชวงมุมกวางยังชวยทำใหภาพทิวทัศนดูมีความกวางมากข้ึนดวย เมื่อถายภาพทิวทัศนรวมกับแสงไฟตอนกลางคืน เม่ือถายภาพในสภาพแสงนอ ย ควรจะใชข าต้ังกลองเสมอเพอ่ื ปอ งกนั ภาพส่นั

Ãะบบถา ยภาพระยะใกล เมอ่ื ตอ งการถา ยภาพสงิ่ ของเลก็ ๆ เชน ดอกไมข นาดเลก็ ๆ หรอื สง่ิ ของเลก็ ๆ ในระยะใกล ใหเ ลอื ก ใชร ะบบบนั ทกึ ภาพระยะใกล < > และเมอื่ ตอ งการใหจ ดุ เดน มขี นาดใหญช ดั เจนในเฟรม ใหเปลี่ยนไปใชเลนสมาโคร(เปนอุปกรณเสริมพิเศษ) กลเมด็ เคลด็ ลบั เลือกฉากหลังท่ีเปนสีเรียบๆ ฉากหลงั ทเ่ี ปน สเี รยี บๆ จะชว ยใหส งิ่ ของเลก็ ๆ อยา งเชน ดอกไม ดโู ดดเดน ขนึ้ ขยับกลองเขาใกลวัตถุมากที่สุดเทาท่ีจะทำได ตรวจสอบระยะโฟกสั ใกลท ส่ี ดุ ของเลนสท ใี่ ช ซง่ึ เลนสบ างรนุ จะแสดงระยะโฟกสั ใกลส ดุ ของมนั ไวบ นกระบอกเลนสด ว ย เชน < 0.25m/0.8ft > (สำหรบั ตวั อยา งนี้ ไดแ สดง ระยะโฟกัสใกลสุดที่ 0.25 เมตร/0.8 ฟุต) ระยะโฟกัสใกลสุดของเลนสก็คือระยะที่วัด จากระนาบความชดั ซงึ่ แสดงอยบู นตวั กลอ ง ไปถงึ วตั ถุ และถา เคลอ่ื นกลอ งเขา ไปใกลว ตั ถมุ ากเกนิ ไป สญั ญาณยนื ยนั ความชดั < > จะกระพรบิ เตอื น เมื่อใชเลนสซูม ใหซูมไปท่ีชวงเทเลโฟโตมากท่ีสุด การซูมไปท่ีชวงเทเลโฟโตมากที่สุดจะชวยใหวัตถุขนาดเล็กๆ มีขนาดใหญท่ีสุดเทาที่ จะเปนไปได

Ãะบบถา ยภาพวตั ถทุ ก่ี ำลงั เคลอ่ื นที่ เมอื่ ตอ งถา ยภาพสง่ิ ทก่ี ำลงั เคลอ่ื นทหี่ รอื กำลงั เคลอ่ื นไหว เชน เดก็ ทกี่ ำลงั วง่ิ หรอื พาหนะทกี่ ำลงั เคลอื่ นท่ี ใชร ะบบ (Sports) กลเมด็ เคลด็ ลบั ใชเ ลนสเ ทเลโฟโต แนะนำใหใชเลนสเ ทเลโฟโต เพ่ือใหสามารถถา ยภาพไดขนาดชัดเจนจากระยะไกล ใชจุดโฟกัสจุดก่ึงกลางในการโฟกัสภาพ เมอ่ื แตะชตั เตอรเ บาๆ ลงครงึ่ หนง่ึ กลอ งจะโฟกสั และเลอื กจดุ โฟกสั AF ไวต ายตวั ในขณะทรี่ ะบบออโตโ ฟกสั กำลงั ทำงานอยนู น้ั เสยี ง “บบี๊ ” จะดงั ขนึ้ เปน จงั หวะสนั้ ๆ และ เบา หากกลอ งไมส ามารถโฟกสั ได สญั ญาณยนื ยนั ความชดั < > จะกระพรบิ คา เรม่ิ ตน ของระบบขบั เคลอ่ื นในระบบนจ้ี ะเปน (ถา ยภาพตอ เนอื่ ง) เมอื่ ตอ งการถา ยภาพ ใหก ดชตั เตอรล งจนสดุ และถา กดปมุ ชตั เตอรค า งอยู กลอ งจะถา ย ภาพตอ เนอ่ื ง(ซงึ่ มคี วามเรว็ สงู สดุ 4.5 เฟรมตอ วนิ าท)ี และกลอ งจะทำงานตดิ ตามการ เคลื่อนท่ีของวัตถุตลอดเวลาดวยระบบออโตโฟกัส ในสภาพแสงนอย และโอกาสท่ีกลองจะส่ัน(ภาพสั่นไหว) มีแนวโนมท่ีจะเกิดขึ้นไดงาย ตัวเลขแสดง ความไวชัตเตอรซึ่งปรากฏท่ีมุมลางดานซายของชองเล็งภาพจะกระพริบเตือน ใหพยายามถือกลอง ใหม นั่ คง แลว จงึ ถา ยภาพ

Ãะบบถา ยภาพบคุ คลในเวลากลางคนื (ใชข าตงั้ กลอ ง) เมื่อตองการถายภาพบุคคลรวมกับแสงสีที่สวางไสวและสวยงามของฉากหลังในบรรยากาศ กลางคนื โดยใชร ะบบบนั ทกึ ภาพ (ถา ยภาพบคุ คลในเวลากลางคนื ) โดยจะตอ งใช แฟลชรว มกบั ระบบบนั ทกึ ภาพนี้ และควรใชข าตง้ั กลอ ง กลเมด็ เคลด็ ลบั ใชเลนสชวงมุมกวาง และขาต้ังกลอง เมอ่ื ใชเ ลนสซ มู ควรเลอื กใชช ว งมมุ กวา งเพอื่ ใหเ กบ็ บรรยากาศกวา งๆ ของแสงสใี นฉาก หลงั ได และควรใชขาตั้งกลอ งเพือ่ ปอ งกนั ไมใหภ าพสน่ั ควรถายภาพดวยระบบบันทึกภาพแบบอ่ืนๆ ดวย ภาพสนั่ มกั จะเกดิ ขนึ้ เพราะการเปด รบั แสงเปน เวลานานเมอื่ ถา ยภาพรว มกบั แสงสกี ลาง คนื แนะนำใหใ ชร ะบบ หรอื ถา ยซ้ำอกี ครง้ั แนะนำใหต วั แบบยนื ใหน ง่ิ อยเู ปน เวลานานกวา ปกติ แมแ ฟลชจะยงิ แสงออกไปแลว ถาใชระบบหนวงเวลาถายภาพ(Self Timer) ไฟสัญญาณเตือนของระบบหนวงเวลาถายภาพ จะสอ งสวา งสนั้ ๆ ภายหลงั จากทไี่ ดถ า ยภาพอยา งสมบรู ณแ ลว เมอื่ ถา ยภาพบรรยากาศกลางคนื หรอื ถา ยภาพแบบอนื่ ๆ ทมี่ แี หลง กำเนดิ แสงหลายๆ จดุ ปรากฏ อยรู ว มกนั บนจอภาพ ระบบโฟกสั อตั โนมตั ขิ องกลอ งอาจจะทำงานไมไ ดผ ล ในกรณนี ี้ แนะนำให ปรบั [AF method] เปน [Quick mode] และถา กลอ งยงั ไมส ามารถโฟกสั แบบอตั โนมตั ิ ได ใหป รบั ระบบโฟกสั เปน [MF] และใชม อื หมนุ ปรบั ภาพใหช ดั เอง

Ãะบบใชม อื ถอื กลอ งถา ยภาพทวิ ทศั นใ นเวลากลางคนื ตามปกติ เมอ่ื ถา ยภาพกลางคนื จำเปน จะตอ งใชข าตงั้ กลอ งเพอ่ื ใหก ลอ งตง้ั อยา งนงิ่ สนทิ อยา ง ไรกต็ าม เมอื่ เลอื กระบบ (ใชม อื ถอื กลอ งถา ยภาพทวิ ทศั นใ นเวลากลางคนื ) ระบบนี้ จะถา ยภาพตอ เนอื่ งจำนวน 4 ภาพตอ เนอื่ งกนั สำหรบั การถา ยภาพ 1 ภาพ และภาพทแี่ ลดสู วา ง ข้ึนจะชวยลดผลของความเบลออันเน่ืองมาจากความส่ันของกลอง กลเมด็ เคลด็ ลบั ถือกลองใหน่ิงที่สุด ขณะถายภาพ ถือกลองใหม่ันคงและนิ่งที่สุด ถาภาพทั้ง 4 ภาพท่ีถายน้ันมีความเหลื่อมกัน มากเกินไปอันเน่ืองมาจากความสั่นของกลอง ฯลฯ ก็อาจปรากฏความเหลื่อมน้ันขึ้นหลัง จากนำมาประมวลผลรวมกันในข้ันตอนสุดทาย เม่ือตองการถายภาพคน ใหเปดแฟลช ดวยการใชแฟลช ผูใชสามารถถายภาพไดท้ังตัวแบบและเก็บแสงสีของฉากหลัง โดย สามารถใชมือถือกลองถายภาพได เพ่ือใหภาพสวยงาม ควรจะใชแฟลชถายในภาพแรก และควรบอกใหต วั แบบยนื อยนู งิ่ มากทส่ี ดุ จนกวา จะถา ยภาพทงั้ 4 ภาพจนครบ อา นคำเตอื นทหี่ นา 82

Ãะบบถา ยภาพยอ นแสง เม่ือถายภาพในบริเวณที่มีท้ังความสวางและเงามืดอยูรวมกัน เม่ือใชระบบถายภาพยอนแสง (HDR Backlight Control) กลอ งจะถา ยภาพสามภาพอยา งตอ เนอ่ื งกนั โดยแตล ะภาพ จะมคี า แสงทแ่ี ตกตา งกนั เพอื่ ลดการสญู เสยี รายละเอยี ดทงั้ ในสว นของเงามดื และสว นสวา งหลงั จากที่นำภาพท้ังสามมาประมวลผลรวมกัน กลเมด็ เคลด็ ลบั ถือกลองใหนิ่งท่ีสุด ขณะถายภาพ ถือกลองใหมั่นคงและนิ่งที่สุด ถาภาพทั้ง 3 ภาพท่ีถายตอเน่ืองกันน้ันมี ความเหลอ่ื มกนั มากเกนิ ไปอนั เนอื่ งมาจากความสนั่ ของกลอ ง ฯลฯ กอ็ าจปรากฏความ เหลื่อมน้ันขึ้นหลังจากนำมาประมวลผลรวมกันในข้ันตอนสุดทาย แมจ ะตดิ ตงั้ แฟลชเขา กบั ตวั กลอ ง แฟลชจะไมท ำงาน โปรดอานคำเตือนในหนา 82 HDR ยอมาจาก High Dynamic Range

คำเตือนสำหรับ (ใชมือถือกลองถายภาพทิวทัศนในเวลากลางคืน) เมอ่ื ถา ยภาพบรรยากาศกลางคนื หรอื ถา ยภาพแบบอน่ื ๆ ทมี่ แี หลง กำเนดิ แสงหลายๆ จดุ ปรากฏ อยรู ว มกนั บนจอภาพ ในกรณนี ้ี แนะนำใหป รบั ระบบโฟกสั เปน [Quick mode] แลว ถา ยภาพ และหากยังโฟกัสไมได แนะนำใหต้ังเปนระบบโฟกัสเปนแบบ [MF] และใชมือหมุนปรับภาพ ใหช ดั เอง เมื่อถายภาพดวยแฟลช และวัตถุอยูใกลกับกลองมากเกินไป วัตถุที่ถายอาจจะแลดูสวางจา มาก(overexpose) ถา ใชแ ฟลชถา ยภาพในบรเิ วณทมี่ แี สงนอ ยมากๆ ในเวลากลางคนื หรอื ถา ยภาพคนโดยทตี่ วั แบบ และฉากหลงั อยใู กลก นั มากจนไดร บั ผลจากแสงแฟลชไปพรอ มกนั ภาพทไ่ี ดอ าจจะมกี ารเหลอ่ื ม กนั จนเหน็ ไดช ดั ทำใหภ าพทไี่ ดแ ลดเู บลอ(ไมค มชดั ) เกย่ี วกบั การครอบคลมุ ของการยงิ แสงแฟลช : • เมอื่ ใชแ ฟลชทมี่ รี ะบบกระจายแสงตามความยาวโฟกสั ของเลนสโ ดยอตั โนมตั ิ ซมู ของแฟลช จะถกู ปรบั ไวท ม่ี มุ กวา งทส่ี ดุ โดยไมค ำนงึ วา เลนสจ ะซมู ไวท คี่ วามยาวโฟกสั ชว งใด • เมอ่ื ใชแ ฟลชทอี่ อกแบบใหผ ใู ชส ามารถปรบั การกระจายแสงของหวั แฟลชเอง ใหป รบั หวั แฟลชไปทต่ี ำแหนง มมุ กวา ง (ตำแหนง ปกตขิ องแฟลชประเภทน)้ี คำเตือนสำหรับ (ถายภาพยอนแสง) โปรดทราบวา การไลร ะดบั แสงสขี องภาพอาจไมน มุ นวลมากนกั ภาพอาจมคี วามผดิ ปกติ หรอื มี สญั ญาณรบกวนปรากฏใหเ หน็ ระบบถา ยภาพยอ นแสง (HDR Backlight) อาจทำงานไมไ ดผ ลดนี กั เมอ่ื ถา ยภาพในสภาพทยี่ อ น แสงมาก หรอื ถา ยภาพบรเิ วณทมี่ คี วามเปรยี บตา งสงู มาก คำเตือนสำหรับ (Handheld Night Scene) และ (HDR Backlight Control) ภาพทไี่ ดจ ะมพี นื้ ทเี่ ลก็ กวา เมอื่ เทยี บกบั การถา ยภาพดว ยระบบบนั ทกึ ภาพแบบอนื่ จะไมส ามารถเลอื กคณุ ภาพแบบ RAW หรอื RAW + JPEG ได และเมอ่ื ถา ยภาพดว ยระบบบนั ทกึ ภาพแบบอืน่ ๆ ถาตัง้ เปน RAW ภาพจะถกู บันทกึ เปน และถาตัง้ เปน RAW + JPEG ภาพ จะถกู บนั ทกึ เปน JPEG โดยมรี ะดบั คณุ ภาพตามทไี่ ดป รบั ตงั้ ไว เม่ือถายภาพวัตถุท่ีกำลังเคลื่อนท่ี อาจมีเงาที่เกิดจากการเคล่ือนท่ีผานไปของวัตถุปรากฏข้ึนใน ภาพได การจัดตำแหนงของภาพซอนอาจจะผิดปกติหรือผิดพลาด โดยเฉพาะเมื่อถายภาพลวดลายที่มี ความซ้ำซอ นกนั เชน ลายผา , ลายแถบ ฯลฯ วตั ถทุ แี่ บนราบ หรอื มโี ทนสเี ดยี ว หรอื การวางตำแหนง ทผี่ ดิ พลาดเนอ่ื งจากกลอ งสน่ั มากๆ เมอื่ เทยี บกนั กบั การถา ยภาพแบบปกตอิ น่ื ๆ กลอ งจะใชเ วลานานขน้ึ ในการบนั ทกึ ภาพลงในการด และในขณะทกี่ ระบวนการดำเนนิ อยู สญั ลกั ษณ “buSY” จะปรากฏขน้ึ และผใู ชจ ะไมส ามารถ ถา ยภาพไดจ นกวา กระบวนการจะดำเนนิ การจนเสรจ็ สน้ิ ถา วงแหวนเลอื กระบบบนั ทกึ ภาพถกู ปรบั ไปที่ หรอื จะไมส ามารถสง่ั พมิ พภ าพ จากกลอ งโดยตรงได ใหเ ลอื กระบบบนั ทกึ ภาพแบบอนื่ ถา ตอ งการสง่ั พมิ พภ าพจากกลอ งโดยตรง

¡ารปรบั ควบคมุ อยา งรวดเรว็ ตวั อยา ง : ระบบบนั ทกึ ภาพบคุ คล เมอ่ื ใชร ะบบบนั ทกึ ภาพพนื้ ฐาน(Basic zone) และจอภาพ แสดงฟง กช นั่ ทส่ี ามารถปรบั ตง้ั ได ผใู ชส ามารถกดปมุ เพอื่ แสดงจอควบคมุ อยา งรวดเรว็ ตารางดา นลา ง จะแสดงฟงกชั่นท่ีสามารถปรับต้ังไดเม่ือใชระบบบันทึก ภาพแบบตา งๆ ภายในระบบบนั ทกึ ภาพพน้ื ฐาน หมุนวงแหวนเลือกระบบบันทึกภาพเพ่ือเลือกระบบบันทึกภาพพ้ืนฐาน กดปุม จอควบคุมอยางรวดเร็วจะปรากฏข้ึน ปรับตั้งฟงกชั่น กดปุม เพ่ือเลือกฟงกชั่นที่ตองการ (ไมจำเปนตองทำตามขั้นตอนนี้ เม่ือใชระบบบันทึกภาพ ) ฟงกช่ันที่เลือก และคำแนะนำคุณสมบัติ (น.63) จะปรากฏข้ึน สามารถจะเลือกฟงกชั่นตางๆ ไดโดยหมุนวงแหวน หรือ ฟงกชั่นท่ีสามารถปรับต้ังไดเม่ือใชระบบบันทึกภาพพื้นฐาน คาเริ่มตน เลือกไดโดยผูใช ไมสามารถเลือกได ฟงกช่ัน ระบบ ถายครั้งละภาพ ขับเคลื่อน (น.98) ถายตอเนื่อง ถายครั้งละภาพแบบเก็บเสียง ถายตอเนื่องแบบเก็บเสียง หนวงเวลาถายภาพ (น.100) การเลือกปรับเปล่ียนจากสภาพแสง (น.84) การเลือกปรับเปลี่ยนจากแสงหรือฉาก (น.87) ปรับใหฉากหลัง เบลอ/ชัด มากข้ึน (น.72) * ถาผูใชเปล่ียนระบบบันทึกภาพ หรือปรับสวิตซพลังงานไปท่ี <OFF> ฟงกช่ันท่ีปรับคาไวจะกลับไปเปน คาเริ่มตน (ยกเวนระบบหนวงเวลาถายภาพ)

¡ารเลือกปรับเปล่ียนจากสภาพแสง ยกเวนเม่ือใช < > และ ผูใชสามารถจะเลือกปรับเปล่ียนลักษณะของภาพได มากมายหลายแบบ ผลที่เกิดข้ึน ไมม กี ารปรบั ตงั้ หมุนวงแหวนเลือกระบบบันทึกภาพ หรือ ถาเลือกระบบ ใหเลือกระบบบันทึก ภาพแบบใดแบบหน่ึงดังตอไปน้ี : , , , , หรือ ปรับสวิตซ Live View/Movie ไปท่ี แสดงภาพดวยระบบ Live View กดปุม < > เพื่อใหกลองแสดงภาพใน แบบ Live View ท่ีจอ LCD ผูใชสามารถตรวจสอบผลที่เกิดจากการปรับ สภาพแสงไดจากภาพท่ีปรากฏบนจอภาพ ที่จอควบคุมแบบรวดเร็ว เลือกสภาพ แสงท่ีตองการ กดปุม กดปุม เพื่อเลือก [ Standard setting] เพ่ือให [Ambience-based shots] ปรากฏข้ึนบน จอภาพ

ารเลือกปรับเปล่ียนจากสภาพแสง กดปุม เพ่ือเลือกสภาพแสงลักษณะ ที่ตองการ จอ LCD จะแสดงผลของสภาพแสงท่ีเลือก เพื่อ ใหผูใชตรวจสอบผลของลักษณะท่ีเลือกได ปรับต้ังผลพิเศษของสภาพแสง กดปุม เพ่ือเลือกแถบของผลพิเศษ เพ่ือให [Effect] ปรากฏขึ้นท่ีดานลาง ของจอภาพ กดปุม เพ่ือเลือกผลพิเศษในรูปแบบ ท่ีตองการ ถายภาพ กดชัตเตอรจนสุดเพ่ือถายภาพ หากตองการกลับไปถายภาพดวยการมองภาพ จากชองเล็งภาพตามปกติ ใหกดปุม < > เพ่ือออกจากการถายภาพแบบ Live View จาก น้ันกดชัตเตอรลงจนสุดเพ่ือถายภาพ หากผูใชเปล่ียนระบบบันทึกภาพ หรือปรับ สวิตซพลังงานของกลองไปท่ี <OFF> การปรับตั้งที่ทำไวจะกลับไปเปน [ Standard setting] ภาพที่แสดงดวยระบบ Live View ท่ีมีการปรับแตงลักษณะของภาพ อาจมีความแตก ตางจากภาพท่ีถายไดจริงบาง ผลท่ีเกิดขึ้นจากการปรับลักษณะของภาพจะลดนอยลงเม่ือถายภาพดวยแฟลช เม่ือถายภาพกลางแจงในบริเวณที่มีแสงสวางจา ภาพท่ีเห็นจากจอภาพเม่ือใชระบบ Live View อาจมีความสวางแตกตางจากภาพท่ีถายไดจริง ควรจะปรับต้ัง [ 2: LCD brightness] เปน 4 เพ่ือลดผลกระทบจากแสงภายนอก แลวจึงมอง ภาพจากจอ LCD หากไมตองการใหกลองแสดงภาพแบบ Live View ในระหวางท่ีกำลังปรับตั้งฟงกช่ัน หลัง จากผานข้ันตอนท่ี 1 ใหกดปุม เมื่อกดปุม แลว จอภาพสำหรับควบคุม แบบรวดเร็วจะปรากฏข้ึน ซ่ึงผูใชสามารถปรับตั้ง [Ambience-based shots] และ [Effect] จากนั้นจึงถายภาพดวยการเล็งภาพจากชองเล็งภาพ

ารเลือกปรับเปลี่ยนจากสภาพแสง ลกั ษณะของสภาพแสง Standard setting (มาตรฐาน) ลักษณะนี้เหมาะสำหรับใชรวมกันกับระบบบันทึกภาพแทบทุกแบบ และควรทราบวา ระบบ ก็จะออกแบบใหมีลักษณะภาพท่ีเหมาะกับภาพถายบุคคล ระบบ ก็จะมีลักษณะภาพท่ีเหมาะสำหรับภาพทิวทัศน ลักษณะภาพที่ออกแบบมาสำหรับระบบ บันทึกภาพแบบตางๆ ก็จะมีรูปแบบแตกตางกันตามความเหมาะสมของภาพแบบน้ันๆ Vivid (สดใส) ภาพจะดูคมกริบและมีสีสันฉูดฉาด และทำใหภาพดูนาสนใจมากกวาแบบมาตรฐาน [ Standard setting] Soft (นุมนวล) การปรับต้ังแบบน้ีทำใหภาพดูนุมนวลขึ้น เหมาะสำหรับถายภาพบุคคล สัตวเลี้ยง ดอกไม ฯลฯ Warm (อบอุน) ภาพจะดูนุมนวลและอบอุนมากข้ึน เหมาะสำหรับถายภาพบุคคล สัตวเล้ียง ฯลฯ ที่ตอง การใหภาพดูอบอุน Intense (หนักแนน) ความสวางของภาพโดยรวมจะดูสลัวลง แตจุดเดนจะถูกเนนใหเห็นไดชัดข้ึน ทำใหคนหรือส่ิงอื่นท่ีตองการเนนหนักดูโดดเดนออกมา Cool (เยือกเย็น) ความสวางของภาพโดยรวมจะดูสลัวลง สีของภาพจะอมดวยวรรณะสีเย็น วัตถุที่อยูภายในรมเงาจะแลดูสงบ และนาสนใจ Brighter (สวางข้ึน) ภาพจะแลดูสวางขึ้น Darker (มืดลง) ภาพจะแลดูเขมขึ้น Monochrome (ขาวดำ) ภาพจะเปนสีเอกรงค และสามารถเลือกโทนสีท่ีตองการได เชน ขาวดำ ซีเปย หรือสีนำ้ เงิน สัญลักษณ จะปรากฏขึ้นที่มุมลางดานซายภายในชองเล็งภาพเมื่อต้ังเปน [Monochrome] (น.313)

¡ารเลือกปรับเปลี่ยนจากแสงหรือฉาก เมื่อถายภาพดวยระบบบันทึกภาพ , , และ ซึ่งอยูในระบบ บันทึกภาพพื้นฐาน ผูใชสามารถปรับเปล่ียนชนิดของแหลงกำเนิดแสง รวมกับการถายภาพดวย ระบบเหลานี้ได ซ่ึงตามปกติ คามาตรฐาน [ Default setting] ไดถูกออกแบบใหใชได เหมาะสมอยูแลว แตหากไดเลือกชนิดของแหลงกำเนิดแสงอยางเจาะจง สีสันของภาพก็จะยิ่ง ดูเหมือนกับท่ีตาเห็นมากข้ึน สำหรับการถายภาพดวย Live View ถาตองการปรับตั้งทั้ง [Light/scene-based shots] และ [Ambience-based shots] (น.84) ผูใชควรจะปรับ [Light/scene-based shots] กอน เพื่อชวยใหงายในการสังเกตเห็นผลการปรับต้ังจากจอภาพ LCD แหลงกำเนิดแสง หรือบรรยากาศ ปรับตั้งระบบบันทึกภาพเปน เลือกระบบบันทึกภาพระบบใดระบบหนึ่ง : , , หรือ ปรับสวิตซ Live View/Movie ไปที่ แสดงภาพดวยระบบ Live View กดปุม < > เพื่อใหกลองแสดงภาพใน แบบ Live View ท่ีจอ LCD ผูใชสามารถตรวจสอบผลท่ีเกิดจากการปรับ สภาพแสงไดจากภาพที่ปรากฏบนจอภาพ

ารเลือกปรับเปลี่ยนจากแสงหรือฉาก ท่ีจอควบคุมแบบรวดเร็ว เลือกสภาพ แสงที่ตองการ กดปุม กดปุม เพื่อเลือก [ Default setting] , [Light/scene-based shots] ปรากฏข้ึน บนจอภาพ กดปุม เพ่ือเลือกสภาพแสงหรือฉาก ในลักษณะที่ตองการ จอ LCD จะแสดงผลของสภาพแสงและฉากที่ เลือก เพ่ือใหผูใชตรวจสอบผลของลักษณะท่ี เลือกได ถายภาพ กดชัตเตอรจนสุดเพื่อถายภาพ หากตองการกลับไปถายภาพดวยการมองภาพ จากชองเล็งภาพตามปกติ ใหกดปุม < > เพื่อออกจากการถายภาพแบบ Live View จาก นั้นกดชัตเตอรลงจนสุดเพื่อถายภาพ หากผูใชเปลี่ยนระบบบันทึกภาพ หรือปรับ สวิตซพลังงานของกลองไปท่ี <OFF> การปรับต้ังท่ีทำไวจะกลับไปเปน [ Default setting] ถาใชแฟลชถายภาพ [ Default setting] จะถูกนำมาใชแทนตัวเลือกท่ีเลือกไว (อยางไรก็ตาม สภาพแสงหรือลักษณะภาพท่ีปรับตั้งไวแลว จะปรากฏอยูในการแสดง ขอมูลการถายภาพ) หากตองการปรับต้ังท้ังระบบน้ีรวมกันกับ [Ambience-based shots] ใหปรับต้ัง [Light/scene-based shots] ที่ใหภาพท่ีเหมาะสมที่สุด และในกรณีที่ตั้งเปน [Sunset] สีของภาพจะดูอุนข้ึนมากจนการปรับต้ังแหลงกำเนิดแสงมีผลตอภาพนอย มากๆ หากตองการไมใหกลองแสดงภาพแบบ Live View ในระหวางที่กำลังปรับต้ังฟงกชั่น หลัง จากผานข้ันตอนที่ 1 ใหกดปุม เม่ือกดปุม แลว จอภาพสำหรับควบคุม แบบรวดเร็วจะปรากฏข้ึน ซึ่งผูใชสามารถปรับต้ัง [Light/scene-based shots] จากนั้น จึงถายภาพดวยการเล็งภาพจากชองเล็งภาพ

ารเลือกปรับเปลี่ยนจากแสงหรือฉาก การปรบั ตง้ั สภาพแสงหรอื ลกั ษณะของภาพ Default setting (ตั้งคาเร่ิมตน) คามาตรฐานของกลอง Daylight (แสงแดด) เมื่อถายภาพวัตถุดวยแสงแดด ใหภาพที่มีทองฟาเปนสวนประกอบมีสีฟาสดใสอยางเปน ธรรมชาติ พรอมกับสีเขียวในภาพท่ีสดมากข้ึน และใหสีของดอกไมที่มีสีออนๆ ไดดี Shade (แสงในรม) สำหรับถายภาพวัตถุที่อยูในรมเงาในที่กลางแจง เพ่ือชวยแกสีผิวของคนซึ่งมักจะอม สีนำ้ เงินในสภาพแสงแบบน้ี และเหมาะสำหรับการถายภาพดอกไมที่มีสีออนดวย Cloudy (เมฆครื้ม) สำหรับถายภาพวัตถุในขณะที่ทองฟาเต็มไปดวยเมฆหมอก เพ่ือชวยปรับแกไมใหสีผิวของ คนและทิวทัศนดูทึมเทาและชวยใหสีของภาพอุนข้ึนดวย และเหมาะสำหรับการถาย ภาพดอกไมที่มีสีออนเชนกัน Tungsten light (ไฟทังสเตน) ใชสำหรับถายภาพวัตถุดวยแสงจากหลอดไฟทังสเตน เพ่ือแกไมใหภาพอมสีสมแดง ซึ่ง เกิดจากสีของแสงไฟชนิดน้ี Fluorescent light (ไฟฟลูออเรสเซนต) ใชสำหรับถายภาพวัตถุดวยแสงจากหลอดฟลูออเรสเซนต และสามารถใชไดกับหลอดไฟ ฟลูออเรสเซนตทุกชนิด Sunset (อาทิตยตก) เหมาะสำหรับใชถายภาพเพื่อแสดงบรรยากาศท่ีนาประทับใจขณะพระอาทิตยตก



    กลองรุนน้ีออกแบบใหมีจุดโฟกัส 11 จุดในชอง เล็งภาพ โดยการเลือกจุดโฟกัสที่เหมาะสมที่ สุด ผูใชสามารถจะจัดองคประกอบภาพไดใน ขณะกลองกำลังโฟกัส ผูใชสามารถเลือกรูปแบบการทำงานของระบบออโตโฟกัสและระบบ ขับเคลื่อนที่เหมาะสำหรับการถายภาพในลักษณะตางๆ ไดอยางเจาะจง สัญลักษณ ซ่ึงปรากฎท่ีมุมขวาดานบนของหนา หมายถึง ฟงกชั่น นั้นจะใชงานไดก็ตอเม่ือเลือกระบบบันทึกภาพ < P/Tv/Av/M/B > เมื่อใชระบบบันทึกภาพพื้นฐาน กลองจะเลือกรูปแบบการทำงานของ ระบบออโตโฟกัสและเลือกจุดโฟกัสใหโดยอัตโนมัติ <AF> หมายถึง ออโตโฟกัส <MF> หมายถึงแมนนวลโฟกัส

ลือกการทำงานของระบบออโตโฟกัส ผู ใ ช ส า ม า ร ถ เ ป ลี่ ย น รู ป แ บ บ ก า ร ทำ ง า น ข อ ง ร ะ บ บ อ อ โ ต โ ฟ กั ส เ พื่ อ ใ ห เ ห ม า ะ ส ม กั บ สถานการณในการถายภาพแบบตางๆ เมื่อถายภาพดวยระบบบันทึกภาพพ้ืนฐาน กลอง จะตั้งระบบโฟกัสที่เหมาะสมใหโดยอัตโนมัติ โดยขึ้นอยูกับระบบบันทึกภาพที่ใช ท่ีกระบอกเลนส ปรับสวิตซไปที่ <AF> หมุนวงแหวนเพ่ือเลือกระบบบันทึก ภาพสรางสรรค กดปุม <AF> ( ) เลือกรูปแบบของระบบ AF ที่ตองการ ดูที่จอภาพ LCD และหมุนวงแหวน < > หรือ ใชระบบ One-Shot AF ถายภาพส่ิงที่อยูน่ิง ระบบนี้เหมาะสำหรับใชถายภาพสิ่งที่อยูน่ิงๆ เม่ือแตะชัตเตอรเบาๆ กลองจะหา ความชัดเพียงคร้ังเดียวและหยุด เมื่อโฟกัสไดแลว กลองจะแสดงจุดโฟกัสที่จับภาพได และสัญญาณไฟยืนยัน < > ในชองเล็งภาพก็จะปรากฎข้ึนดวย เม่ือใชระบบวัดแสงแบบเฉล่ีย(Evaluative) คาการเปดรับแสง จะเปนคาที่อานไดใน เวลาเดียวกับท่ีโฟกัสได เม่ือโฟกัสไดแลว และแตะชัตเตอรเบาๆ คางไว โฟกัสจะถูกล็อค ผูใชสามารถจัดองค ประกอบภาพใหมเพื่อถายภาพท่ีตองการ

AF: ลือกการทำงานของระบบออโตโฟกัส หากระบบออโตโฟกัสไมสามารถทำงานได สัญญาณยืนยันความชัดในชองเล็งภาพ < > จะกระพริบ หากเปนเชนนี้ จะถายภาพไมได(กดชัตเตอรไมได) เมื่อเกิดกรณีนี้ ใหลองจัดองคประกอบภาพใหม แลวลองโฟกัสอีกคร้ัง หรือดู “เม่ือระบบออโตโฟกัส ทำงานไมไดผล” (น.96) ถาเมนู [ 1: Beep] ไดถูกเลือกไวท่ี [Disable] สัญญาณเสียงเตือนจะไมดังขึ้น เมื่อกลองจับโฟกัสได หลังจากท่ีโฟกัสดวยระบบ One-Shot AF ไดแลว เมื่อแตะชัตเตอรเบาๆ คางไว โฟกัส จะถูกล็อค เรียกวา “การล็อคโฟกัส” ผูใชสามารถจัดองคประกอบภาพใหมเพ่ือถายภาพ ที่ตองการ สะดวกสำหรับการโฟกัสไปยังวัตถุซึ่งพื้นที่โฟกัสไมไดครอบคลุมอยู ใชระบบ AI Servo AF เมื่อถายภาพส่ิงที่กำลังเคลื่อนท่ี ระบบออโตโฟกัสแบบนี้เหมาะสำหรับใชถายภาพวัตถุที่กำลังเคล่ือนท่ี ซึ่งทำให ระยะโฟกัสเปล่ียนแปลงไปตลอดเวลา เม่ือเลือกระบบนี้ แลวใชนิ้วแตะปุม ชัตเตอรคางไว วัตถุในภาพจะถูกจับภาพใหคมชัดอยูตลอดเวลา คาการเปดรับแสง จะเปนคาในขณะท่ีถายภาพ เมื่อระบบเลือกพื้นท่ีโฟกัสอัตโนมัติไดถูกต้ังเปนแบบเลือกจุดโฟกัสอัตโนมัติ (น.94) กลองจะเลือกจุดโฟกัสจุดกึ่งกลางเปนอันดับแรก และในขณะที่ออโตโฟกัสกำลัง ทำงาน หากวัตถุมีการเคลื่อนท่ีออกจากจุดโฟกัสที่เลือกไว ระบบจะติดตามจับวัตถุน้ัน ใหชัดอยูตลอดเวลาตราบเทาท่ียังอยูภายในกรอบพ้ืนท่ีโฟกัสอัตโนมัติ เมื่อเลือกใชระบบ AI Servo AF สัญญาณเสียงยืนยันภาพชัดจะไมดังข้ึนแมวาจะจับภาพได ชัดแลวก็ตาม และไฟสัญญาณยืนยันความชัด < > ก็จะไมติดสวางข้ึนในชองเล็งภาพดวย ใชระบบ AI Focus AF เม่ือตองการสลับการทำงานของ ระบบออโตโฟกัสโดยอัตโนมัติ ใชระบบ AI Focus AF เม่ือตองการใหกลองปรับเปลี่ยนจาก One-Shot AF ไปเปน AI Servo AF โดยอัตโนมัติ เม่ือวัตถุท่ีหยุดนิ่งเริ่มเคลื่อนที่ หลงั จากจบั ภาพวตั ถทุ หี่ ยดุ นงิ่ ไดแ ลว ดว ยระบบ One-Shot AF ถา วตั ถนุ น้ั เรม่ิ เคลอื่ นที่ กลอ ง จะจบั การเคลอ่ื นทไ่ี ด และเปลย่ี นรปู แบบการโฟกสั ไปเปน AI Servo AF โดยอตั โนมตั ิ เมื่อระบบโฟกัสแบบ AI Focus AF จับภาพไดในแบบ Servo สัญญาณเสียงเตือน จะดังข้ึนแตเบากวาปกติ แตไฟสัญญาณยืนยันความชัด < > ก็จะไมติดสวางข้ึน ในชองเล็งภาพ และโปรดทราบวา โฟกัสจะไมมีการล็อคในกรณีนี้

เลอื กจดุ โฟกสั อัตโนมตั ิ ผูใชสามารถจะเลือกจุดโฟกัสซ่ึงมีรูปแบบเหมาะสมกับสถานการณแบบตางๆ ไดจากจุด โฟกัสท่ีมีทั้งหมด 11 จุด และเม่ือใชระบบบันทึกภาพพื้นฐาน กลองจะเลือกจุดโฟกัสให โดยอัตโนมัติ โดยผูใชจะเลือกจุดโฟกัสเองไมได กดปุม ( ) จุดโฟกัสท่ีถูกเลือกจะแสดงอยูในชองเล็งภาพ และที่จอ LCD ถาจุดโฟกัสสวางข้ึนทุกๆ จุด หมายถึงการเลือก ใชระบบเลือกจุดโฟกัสแบบอัตโนมัติ เลือกจุดโฟกัสจุดใดจุดหน่ึงที่ตองการ สามารถใชวงแหวน หรือ ในการหมุนเลือกจุดโฟกัสท่ีตองการ การเลือกจุดโฟกัสดวยปุมควบคุมแบบหลายทิศทาง สามารถใชปุม ในการเลือกจุดโฟกัส ถาจุดโฟกัสสวางข้ึนทุกๆ จุด หมายถึงการเลือก ใชระบบเลือกจุดโฟกัสแบบอัตโนมัติ เม่ือกดปุม จะเปนการสลับการเลือก ระหวางการเลือกจุดโฟกัสจุดก่ึงกลางและการ เลือกจุดโฟกัสแบบอัตโนมัติ

ลอื กจดุ โฟกสั อตั โนมตั ิ เลือกดวยการหมุนวงแหวน หมุนวงแหวน เพื่อเลือกจุดโฟกัสท่ีอยู ทางดานซายหรือขวาของตำแหนงเดิม และ หมุนวงแหวน เพื่อเลือกจุดโฟกัสท่ีอยู ทางดานบนหรือลางของตำแหนงเดิม ถาจุดโฟกัสสวางข้ึนทุกๆ จุด หมายถึงการเลือก ใชระบบเลือกจุดโฟกัสแบบอัตโนมัติ เมื่อผูใชกดปุม < > จอภาพ LCD จะแสดงสิ่งเหลานี้ การเลือกจุดโฟกัสแบบอัตโนมัติ : AF การเลือกดวยการปรับเลือกเอง : SEL [ ] (Center) / SEL AF (Off center) เมื่อใชแฟลชภายนอกซ่ึงเปนของระบบ EOS หากไมสามารถโฟกัสไดแมวาแฟลชจะยิง แสงชวยหาโฟกัสออกไป ใหเปลี่ยนมาเลือกจุดโฟกัสกึ่งกลาง การทำงานของ AF และชองรับแสงกวางสุดของเลนส ชองรับแสงกวางสุดของเลนส f/3.2 - f/5.6 จุดโฟกัสกึ่งกลางจะโฟกัสในแบบ Cross-type(กากบาท) สามารถตรวจจับเสนแนวตั้ง และแนวนอนไดในเวลาเดียวกัน สวนจุดโฟกัสอ่ืนๆ จะมีท้ังแบบท่ีสามารถตรวจจับเสน แนวตั้งหรือแนวนอนอยางใดอยางหน่ึง ชองรับแสงกวางสุดของเลนส f/1.0 - f/2.8 นอกจากจุดโฟกัสกึ่งกลางจะโฟกัสในแบบ Cross-type (สามารถตรวจจับเสนแนวต้ังและ แนวนอนไดในเวลาเดียวกัน)แลว จุดโฟกัสก่ึงกลางยังมีคุณสมบัติในการโฟกัสเสนแนว ต้ังไดดวยความละเอียดในระดับสูงมาก* สวนจุดโฟกัสจุดอ่ืนๆ จะสามารถตรวจจับเสน แนวตั้งและแนวนอนไดในเวลาเดียวกันดวย * ยกเวนเม่ือใชเลนส EF28-80mm f/2.8-4L USM และ EF50mm f/2.5 Compact Macro หากใช Extender(อุปกรณเสริมพิเศษ) รวมกับเลนส และทำใหขนาดชองรับแสงแคบกวา f/5.6 กลองจะไมสามารถโฟกัสในแบบ AF ได (ยกเวนใน [FlexizZone AF (Single)] และ [ Live mode] ในขณะถายภาพดวยระบบ Live View) สำหรับรายละเอียด ให อานจากคูมือของ Extender

มอ่ื ระบบออโตโ ฟกสั ทำงานไมไ ดผ ล ระบบออโตโฟกัสอาจไมสามารถจับภาพไดในบางสถานการณ เชน สถานการณบางอยาง ดังตอไปน้ี (ไฟสัญญาณยืนยันความชัด < > กระพริบ) วัตถุท่ียากตอการโฟกัสอัตโนมัติ วัตถุท่ีมีความเปรียบตางตำ่ มาก (ตัวอยางเชน : ทองฟาสีฟาเรียบ, ผนังหรือกำแพงท่ีทาสีเรียบสีเดียว ฯลฯ) วัตถุซึ่งอยูในท่ีแสงนอย เล็งวัตถุในสภาพยอนแสงมาก หรือวัตถุที่มีพ้ืนผิวสะทอนแสง (ตัวอยางเชน: รถยนตที่มีพ้ืนผิวสะทอนแสงมาก ฯลฯ) เม่ือจุดโฟกัสจุดเดียวกันทาบครอมวัตถุที่อยูใกลและไกล (ตัวอยางเชน : เมื่อเล็งภาพสัตวท่ีอยูในกรง ฯลฯ) พ้ืนผิวที่มีลวดลายซ้ำซอน (ตัวอยางเชน : พื้นผิวของมูล่ี คียบอรดคอมพิวเตอร เปนตน) เม่ือระบบออโตโฟกัสทำงานไมไดผล ใหทำอยางใดอยางหนึ่งดังตอไปน้ี (1) ใชระบบ One-Shot AF โฟกัสไปที่วัตถุที่อยูในระยะหางออกไปใกลเคียงกัน ล็อค โฟกัส แลวจัดองคประกอบภาพใหม (น.69) (2) ปรับสวิตซท่ีกระบอกเลนสไปที่ <MF> แลวใชมือหมุนปรับภาพใหชัด (น.97) ในสถานการณที่ระบบออโตโฟกัสอาจจะใชไมไดเมื่อต้ังเปน [FlexiZone AF Single] / [ Live mode] ในขณะถายภาพดวยระบบ Live View ดูหนา 196

MF: แมนนวลโฟกัส ม่ือระบบออโตโ ฟกสั ทำงานไมไ ด ผ ล วงแหวนโฟกัส ปรับสวิตซที่กระบอกเลนสไปท่ี <MF> สัญลักษณ <M FOCUS> จะปรากฏท่ีจอ LCD โฟกัสไปท่ีวัตถุ ปรับภาพใหชัดโดยการหมุนวงแหวนโฟกัส ของกระบอกเลนส จนวัตถุดูคมชัดในชอง เล็งภาพ เมื่อแตะชัตเตอรเบาๆ และหมุนปรับภาพใหชัดดวยการหมุนวงแหวน จุดโฟกัสบริเวณน้ัน จะกระพริบเปนสีแดงในจังหวะส้ันๆ และสัญญาณยืนยันความชัด < > จะปรากฏ ขึ้นในชองเล็งภาพ

ลือกระบบขับเคล่ือน มีระบบขับเคล่ือนทั้งแบบถายคร้ังละภาพ และถายภาพตอเน่ือง กดปุม <DRIVE> ( ) เลือกระบบขับเคลื่อน ดูท่ีจอ LCD แลวหมุนวงแหวน หรือ ถายภาพแบบครั้งละภาพ เม่ือผูใชกดชัตเตอรลงจนสุด กลองจะถายภาพ 1 ภาพ ถายภาพตอเนื่อง (สูงสุด 4.5 ภาพตอวินาที) เมื่อกดชัตเตอรจนสุด และกดคางอยู กลองจะถายภาพอยางตอเนื่องจนกวาจะยก น้ิวออก ถายภาพแบบเก็บเสียง เสียงท่ีเกิดข้ึนจากการถายภาพจะเงียบกวา < > ถายภาพตอเนื่องแบบเก็บเสียง(สูงสุด ประมาณ 3 ภาพตอวินาที) เสียงท่ีเกิดข้ึนจากการถายภาพจะเงียบกวา < > หนวงเวลาถายภาพ 10 วินาที / ถายภาพดวยรีโมท หนวงเวลาถายภาพ 2 วินาที / ถายภาพดวยรีโมท สำหรับการถายภาพดวยระบบหนวงเวลา ดูวิธีปรับตั้งในหนา 100 และสำหรับการ ถายภาพดวยรีโมท ดูรายละเอียดหนา 167

ลอื กระบบขบั เคลอื่ น เม่ือเลือก < > หรือ < > การหนวงเวลาของชัตเตอร(time lag) หลังจากที่ กดชัตเตอรจนสุดแลว จะนานกวาปกติ เม่ือพลังงานของแบตเตอรีอยูในระดับต่ำ ความเร็วในการถายภาพตอเน่ืองอาจจะลดลง เล็กนอย เมื่อใชระบบ AI Servo AF ความเร็วในการถายภาพตอเน่ืองอาจจะลดลงเล็กนอย ข้ึน อยูกับวัตถุและเลนสท่ีใช : จะถายภาพตอเนื่องดวยความเร็วในการถายภาพตอเนื่องสูงสุดประมาณ 4.5 ภาพ ตอวินาที ก็ตอเม่ือถายภาพในสภาวะน้ี * : ท่ีระดับความไวชัตเตอร 1/500 วินาที หรือ สูงกวา และเม่ือเปดชองรับแสงขนาดกวางท่ีสุด(ข้ึนอยูกับเลนสท่ีใช) ความเร็วในการถายภาพตอเนื่องอาจจะลดตำ่ ลง โดยข้ึนอยูกับความไวชัตเตอร ชองรับ แสง สภาพของวัตถุ ความเขมสวาง ชนิดของเลนส การใชแฟลช ฯลฯ * เม่ือต้ังระบบโฟกัสเปนแบบ One-Shot AF และปดการทำงานของระบบ Image Stabilizer เม่ือ ใชเลนสตอไปนี้ : EF300mm f/4L IS USM, EF28-135mm f/3.5-5.6 IS USM, EF75-300mm f/4-5.6 IS USM, EF100-400mm f/4.5-5.6L IS USM

ารใชร ะบบหนว งเวลาถา ยภาพ ใชระบบหนวงเวลาถายภาพ เมื่อผูใชตองการรวมอยูในภาพดวย กดปุม <DRIVE> ( ) เลือก self-timer (หนวงเวลาถายภาพ) ดูที่จอ LCD แลวหมุนวงแหวน หรือ เพื่อเลือกระยะหนวงของเวลา หนวงเวลา 10 วินาที หนวงเวลา 2 วินาที ถายภาพ มองท่ีชองเล็งภาพ โฟกัสไปท่ีวัตถุ แลวกดชัตเตอรลงจนสุด ผูใชสามารถตรวจสอบการทำงานของระบบหนวง เวลาถายภาพไดจากไฟแสดงการทำงานของระบบ, สัญญาณเสียง และการนับถอยหลังซ่ึงแสดงท่ีจอ LCD(เปนวินาที) กอนชัตเตอรจะลั่น 2 วินาที สัญญาณไฟจะติด คาง และเสียงเตือนจะดังถ่ีข้ึน เมื่อถายภาพโดยไมมองผานชองเล็งภาพหลังจากกดชัตเตอรแลว ควรใชฝาครอบชองเล็ง ภาพปดชองเล็งภาพ (น.166 เพราะแสงอาจลอดเขาสูตัวกลองทางชองเล็งภาพ ทำใหภาพ เสีย(สวางจา) ระบบ < > ชวยใหผูใชถายภาพเม่ือต้ังกลองไวบนขาตั้งกลอง โดยไมตองใชน้ิว กดปุมชัตเตอร เพื่อปองกันภาพส่ัน เม่ือถายภาพน่ิงหรือเมื่อถายภาพดวยชัตเตอร B หลังจากถายภาพดวยระบบหนวงเวลาถายภาพแลว ควรตรวจสอบความชัดและความ เขมสวางของภาพ (น.236) เม่ือใชระบบหนวงเวลาถายภาพเพ่ือถายภาพเฉพาะตนเอง ใหใชระบบล็อคโฟกัส (น.69) เพื่อโฟกัสไปยังสิ่งที่อยูในระยะใกลเคียงกับตำแหนงที่จะไปยืนอยู หากตองการยกเลิกระบบหนวงเวลาถายภาพหลังจากท่ีเร่ิมทำงานไปแลว ใหกดปุม <DRIVE>


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook