Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore FLIPBOOK TAX ACCOUNTING PROJECT

FLIPBOOK TAX ACCOUNTING PROJECT

Published by FTA PROJECT, 2022-02-03 02:47:15

Description: FLIPBOOK เล่มนี้รวบรวมเนื้อหาความรู้เกี่ยวกับภาษีมูลค่าเพิ่มที่ครอบคลุมตั้งแต่ ผู้มีหน้าที่เสียภาษีมูลค่าเพิ่ม การยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม ฐานภาษีมูลค่าเพิ่ม การจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม ความรับผิดชอบในการเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม อัตราภาษีมูลค่าเพิ่ม การจัดทำใบกำกับภาษี การคำนวณภาษีมูลค่าเพิ่ม การบันทึกบัญชีเกี่ยวกับภาษีมูลค่าเพิ่ม การจัดทำรายงานภาษีมูลค่าเพิ่ม การจัดเก็บเอกสารในระบบภาษีมูลค่าเพิ่ม การยื่นแบบแสดงรายการและการนำส่งภาษีมูลค่าเพิ่ม การขอคืนภาษีมูลค่าเพิ่ม เบี้ยปรับ เงินเพิ่ม และบทกำหนดโทษเกี่ยวกับภาษีมูลค่าเพิ่ม

Search

Read the Text Version

(12) ภาษีซ้ือส่วนที่เฉลี่ยเป็นของกิจการประเภทท่ีไม่ ตอ้ งเสียภาษมี ลู คา่ เพ่ิม (13) ภาษีซ้ือตามใบกากับภาษีตามมาตรา 86/4 ซึ่งมี ก า ร แ ก้ ไ ข เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ร า ย ก า ร ภาษีซื้อต้องห้ามประเภทน้ีไม่ให้นามาหักออกจากภาษี ขายในการคานวณภาษีมูลค่าเพ่ิม แต่หักเป็นค่าใช้จ่ายหรือถือ เป็นมูลค่าของทรัพย์สินได้โดยให้นาไปรวมคานวณเป็นมูลค่า ทรัพย์สินท่ีซ้อื หรอื รวมเปน็ คา่ ใชจ้ า่ ยของกิจการ

การบันทกึ บัญชภี าษีซอื้ ต้องหา้ ม แตห่ ักเป็นค่าใช้จา่ ยหรอื ถอื เป็นมลู คา่ ของทรัพย์สินได้ เดบิต ค่าใชจ้ ่าย/สินทรัพย์ xxx (รวมภาษมี ูลค่าเพิม่ ) เครดิต เงนิ สด/เจ้าหน้ี xxx ตวั อย่างการบันทึกบญั ชซี อ้ื ต้องห้าม แตห่ กั เปน็ คา่ ใช้จา่ ยหรือถอื เปน็ มลู ค่าของทรพั ยส์ ินได้

นอกจากน้ันยังมีภาษีซ้ือต้องห้ามอีกประเภทหน่ึงที่ ห้ามขอคืนและห้ามที่ถือเป็นรายจ่ายในการคานวณกาไรสุทธิ เพอื่ เสียภาษีเงนิ ไดน้ ติ บิ ุคคลอีกด้วยให้บันทึกภาษีซื้อดังกล่าวไว้ ในบัญชีภาษีซ้ือต้องห้ามโดยกิจการต้องนาภาษีซ้ือต้องห้าม ดังกล่าวไปบวกกลับในการคานวณกาไรสุทธิเพ่ือเสียภาษี (ต้องห้ามท้ังภาษีมูลค่าเพ่ิมและภาษีเงินได้นิติบุคคล) ได้แก่ 1. ภาษีซ้อื ทไ่ี มม่ หี ลักฐานใบกากับภาษี 2. ภาษีซ้ือที่มีใบกากับภาษี แต่ไม่อาจแสดงได้ว่ามีการ ชาระภาษีซอ้ื 3. ภาษีซื้อท่ีใบกากับภาษีมีข้อความไม่ถูกต้องหรือไม่ สมบูรณ์ในสว่ นที่เปน็ สาระสาคญั 4. ภาษีซื้อที่ไม่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการประกอบ กจิ การของประกอบการไมเ่ ขา้ ลักษณะเป็นรายจ่ายเพ่ือหากาไร หรอื เพื่อกจิ การโดยเฉพาะ 5. ภาษีซ้ือตามใบกากับภาษีซ่ึงออกโดยผู้ไม่มีสิทธิออก ใบกากบั ภาษี

การบนั ทึกบญั ชภี าษซี อ้ื ตอ้ งห้าม เดบติ คา่ ใช้จ่าย/สนิ ทรัพย์ xxx ภาษซี อ้ื ต้องหา้ ม xxx เครดิต เงินสด/ธนาคาร/เจ้าหน้ี xxx ตัวอยา่ งการบันทกึ บญั ชภี าษีซื้อตอ้ งหา้ ม

สาหรับภาษีซื้อที่ผู้ประกอบการจดทะเบียนมีสิทธินาไป หักจากภาษีขาย แต่ผู้ประกอบการไม่ได้นาไปย่ืนแบบ ภ.พ. 30 มิได้ใช้สิทธินั้นภาษีซื้อดังกล่าวถือเป็นรายจ่ายต้องห้ามในการ คานวณกาไรสุทธิเพื่อเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลให้บันทึกไว้ใน บัญชีภาษีซื้อต้องห้ามหรือภาษีซื้อไม่ขอคืนในวันส้ินงวดบัญชี กจิ การตอ้ งนาภาษซี ้อื ไม่ขอคนื ไปบวกกลับกับกาไรสุทธิเพื่อเสีย ภาษเี น่อื งจากภาษีซอื้ เปน็ รายจ่ายต้องหา้ มตามมาตรา 65 ตรี

9. การบันทกึ บญั ชภี าษีซื้อขา้ มเดอื น ตามปกติภาษีซื้อเกิดขึ้นในเดือนใดให้ถือเป็นภาษีซ้ือ ของเดือนนั้นโดยไม่คานึงว่าสินค้าท่ีซื้อมานั้นจะขายหรือ นาไปใช้ในการผลิตในเดือนใดก็ตาม แต่กฎหมายอนุญาตให้ใช้ ภาษีซ้ือข้ามเดือนได้โดยให้กระทาได้ภายในกาหนดระยะเวลา ไม่เกิน 6 เดือนนบั แตเ่ ดือนถดั จากเดอื นที่ออกใบกากบั ภาษีน้ัน โดยผู้ประกอบการจดทะเบียนไม่ต้องแสดงหลักฐานพิสูจน์ต่อ เจ้าพนักงานสรรพากรว่าได้รับใบกากับภาษีในเดือนใด แต่ให้ ระบุข้อความว่า“ ถอื เป็นภาษีซ้ือในเดือนภาษี ... ” ในใบกากับ ภาษฉี บับน้ันดว้ ย

การบันทกึ บญั ชภี าษซี ื้อขา้ มเดอื น เมื่อซ้อื สินค้าหรอื สนิ ทรพั ย์สินยงั ไมไ่ ดร้ บั ใบกากบั ภาษีหรือ ได้รับใบกากบั ภาษแี ต่ยังไม่ประสงค์ใชใ้ บกากบั ภาษี เดบิต ซ้อื สินคา้ /ทรัพยส์ นิ xxx ภาษซี อ้ื ใชเ้ ดอื นถดั ไป xxx เครดิต เงนิ สด/เจา้ หน้ี xxx เมอื่ มีความประสงคจ์ ะใชภ้ าษีซือ้ ตามใบกากบั ภาษี (ใช้ได้ภายใน 6 เดอื นนับแตไ่ ด้รับใบกากับภาษี) เดบิต ภาษซี ้ือ xxx เครดิต ภาษีซ้ือใชเ้ ดอื นถดั ไป xxx ใหบ้ ันทึกยอดในรายงานภาษซี ้ือ

10. การบนั ทึกบญั ชเี ก่ียวกบั การเฉลี่ยภาษีซือ้ ก า ร เ ฉ ลี่ ย ภ า ษี ซื้ อ ห ม า ย ถึ ง ก า ร น า ภ า ษี ซ้ื อ ท่ี ผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพ่ิมท่ีประกอบกิจการทั้ง เสียภาษีมูลค่าเพิ่ม (VAT) และไม่เสียภาษีมูลค่าเพ่ิม (NON- VAT) และไดน้ าสินคา้ หรือบรกิ ารไปใชใ้ นกิจการทงั้ สองประเภท ผู้ประกอบการจะต้องเฉลี่ยภาษีซื้อที่จะนามาหักออกจากภาษี ขายในการคานวณภาษมี ูลค่าเพ่ิม กรมสรรพากรได้กาหนดหลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไข การเฉลย่ี ภาษซี ้อื ไว้ดังน้ี 1. กรณีสามารถแยกไดอ้ ย่างชัดแจง้ ว่าภาษีซื้อท่ีเกิดจาก สนิ ค้าหรอื บริการดังกลา่ วเป็นภาษซี อื้ ของกิจการประเภทท่ีต้อง เสียภาษมี ูลค่าเพมิ่ ก็ใหถ้ อื เปน็ ภาษีซื้อของกิจการประเภทที่ต้อง เสยี ภาษีมลู คา่ เพม่ิ นน้ั ๆ 2. กรณีไม่สามารถแยกได้อย่างชัดแจ้งว่าภาษีซื้อที่เกิด จากสินค้าหรือบริการดังกล่าวเป็นภาษีซ้ือของกิจการประเภท ใดให้เฉลย่ี ภาษีซอื้ ตามส่วนของรายได้ของแต่ละกจิ การดังนี้

(1) กรณีผู้ประกอบการจดทะเบียนเร่ิมประกอบ กิจการหรือได้ประกอบกิจการมาแล้วแต่ยังไม่มีรายได้ให้ ผู้ประกอบการจดทะเบียนเฉล่ียภาษีซื้อตามส่วนของประมาณ การรายได้และใหน้ าภาษซี ื้อทเ่ี ฉลยี่ ได้ของกิจการประเภทที่ต้อง เสียภาษีมลู คา่ เพมิ่ มาหักออกจากภาษีขาย แต่ภาษีดังกล่าวต้อง มจี านวนไมเ่ กินก่งึ หนงึ่ ของภาษซี อื้ ท่นี ามาเฉลยี่ (2) สาหรบั ในปีถดั จากปีท่ีเริ่มประกอบกิจการและ ยังไม่มรี ายไดถ้ งึ สนิ้ ปีของท่ีเริ่มมีรายได้ให้เฉลี่ยภาษีซ้ือตามส่วน ของประมาณการรายได้ตามเกณฑ์ที่กาหนดไว้ข้างต้นเมื่อสิ้นท่ี เรม่ิ มีรายได้ให้คานวณภาษีซ้ือที่หักได้จริงตามส่วนของรายได้ที่ เกิดข้ึนของกิจการประเภทที่ต้องเสียภาษีมูลค่าเพ่ิมและให้ ปรบั ปรงุ ภาษซี อื้ ทีไ่ ดน้ ามาหักออกจากภาษีขาย ปีที่เริ่มมีรายได้ หมายถึง ปีแรกที่มีรายได้เกิดข้ึนจริง ไมน่ ้อยกว่า 6 เดือนภาษี รายได้ของปีท่ีผ่านมา หมายถึง รายได้ของปีก่อนปี ปัจจบุ นั 1 ปี ประกาศอธิบดีกรมสรรพากรเก่ียวกับภาษีมูลค่าเพ่ิม ฉบับท่ี 29 ได้ให้แนวปฏิบัติเกี่ยวกับการเฉลี่ยภาษีซื้อเพ่ิมเติม ดงั น้ี

1. ถ้ารายได้ของปีที่ผ่านมาของกิจการประเภทท่ีต้อง เสียภาษีมูลค่าเพิ่มจานวนไม่น้อยกว่า 90% ของรายได้ของ กิจการทั้งหมดให้กิจการมีสิทธิเลือกนาภาษีซื้อท้ังจานวนไปหัก ออกจากภาษีขายท้ังน้ีห้ามนาภาษีซื้อดังกล่าวไปรวมคานวณ เป็นมลู ค่าต้นทุนของทรพั ยส์ นิ หรอื รายจ่ายของกิจการ 2. ถ้ารายได้ของปีที่ผ่านมาของกิจการประเภทที่ไม่ ต้องเสียภาษีมูลค่าเพ่ิมมีจานวนไม่น้อยกว่า 90% ของรายได้ ของกิจการทง้ั หมดใหก้ ิจการมสี ทิ ธเิ ลอื กไม่นาภาษีซื้อท้ังจานวน ไปหักออกจากภาษีขาย แต่ให้นาไปรวมคานวณเป็นมูลค่า ต้นทุนทรัพย์สินหรือรายจ่ายของกิจการเมื่อได้เลือกปฏิบัติวิธี หน่ึงวิธีใดแล้วให้ถือปฏิบัติต่อไปเว้นแต่จะได้รับอนุมัติจาก อธบิ ดีกรมสรรพากรใหเ้ ปลี่ยนแปลงได้

3.การจัดทารายงานและการจัดเก็บเอกสารในระบบ ภาษีมูลคา่ เพิ่ม ผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพ่ิมต้องจัดทา รายงานที่เกี่ยวข้องกับภาษีมูลค่าเพ่ิมโดยจัดทาเป็นรายสถาน ประกอบการซงึ่ มรี ายงานดังนี้ 1. รายงานภาษขี าย (Output Tax Report) 2. รายงานภาษีซ้ือ (Input Tax Report) 3. รายงานสินค้าและวัตถุดิบ (Goods and Raw material report) เฉพาะผู้ประกอบการจดทะเบียนท่ีขาย สินคา้ 4. รายงานการจ่ายอะไหล่โดยไม่คิดมูลค่า (เฉพาะ ผูป้ ระกอบการท่รี บั ประกันสินคา้ )

1. รายงานภาษีขาย เป็นรายงานแสดงมูลค่าสินค้า หรือบริการและภาษีมูลค่าเพ่ิมท่ีผู้ประกอบการจดทะเบียนได้ ออกใบกากับภาษีจากการขายสินค้าหรือให้บริการนั้น ๆ ท้ังน้ี รายงานภาษีขายต้องมีรายการและข้อความตามแบบท่ีอธิบดี กรมสรรพากรกาหนด รายงานภาษขี ายที่จัดทาตง้ั แต่วนั ที่ 1 มกราคม 2558 เป็นต้นไปให้เพ่ิมเลขประจาตัวผู้เสียภาษีของผู้ซ้ือสถาน ประกอบการของผู้ซ้ือว่าเป็นสานักงานใหญ่หรือสาขาถ้าเป็น สาขาใหร้ ะบลุ าดบั ทข่ี องสาขาด้วย

หมายเหตุ 1. ช่อง“ วัน/เดือน/ปี” ให้กรอกวันเดือนปีของ ใบกากับภาษียกเว้น (1) การขายสินค้าหรือการให้บริการบางกรณีให้ กรอกวนั เดอื นปีของใบสาคัญ (2) การส่งออกสินค้าให้กรอกวันที่ชาระอากรขา ออกหรือวันที่กรมศุลกากรออกใบขนสินค้าขาออก ฯลฯ แล้วแต่กรณี 2. ช่อง“ เล่มที่/เลขที่” ให้กรอกเลขที่ของใบกากับ ภาษีและเลม่ ท่ีถา้ มียกเวน้ (1) ใบกากับภาษีที่ออกโดยเคร่ืองบันทึกการเก็บ เงินให้กรอกเลขท่ีและเลขรหัสเคร่ืองบันทึกการเก็บเงินที่ กรมสรรพากรกาหนดโดยเพ่มิ ชอ่ งอกี หนงึ่ ชอ่ งกไ็ ด้ (2) การขายสินคา้ หรือใหบ้ ริการบางกรณุ าใหก้ รอก เลม่ ท่ีเลขทใ่ี บสาคญั (3) การส่งออกสินค้าให้กรอกเลขที่ใบขนส่งสินค้า ขาออก ฯลฯ

3.ก ร ณี ไ ม่ ส า ม า ร ถ ก ร อ ก ชื่ อ ผู้ ซ้ื อ สิ น ค้ า ห รื อ ผรู้ ับบริการ (1) การขายสินค้าหรือการให้บริการบางกรณีให้ กรอกรายการตามเหตุการณ์ท่ีเกิดขึ้นเช่นสินค้าขาดจาก รายงานหรือส่งออกสนิ ค้า ฯลฯ (2) การลงรายการโดยใช้หลักฐานรายงานสรุปการ ขายประจาวันให้กรอก“ รายงานสรุปการขายประจาวัน ” (3) การขายน้ามันเชื้อเพลิงผ่านมิเตอร์หัวจ่ายให้ กรอก“ รายงานแสดงรายละเอียดการขายน้ามนั ” (4) กรณีอื่น ๆ เช่นใบกากับภาษีอย่างย่อให้กรอก “ ขายสินค้าหรอื ให้บรกิ าร ” 4. ช่อง“ เลขประจาตัวผู้เสียภาษีอากรของผู้ซื้อ สินคา้ /ผู้รับบรกิ าร ” ให้กรอกโดยระบุเลขประจาตัวผู้เสียภาษี อากรของผู้ซ้ือสินค้าหรือรับบริการซึ่งเป็นผู้ประกอบการจด ทะเบียนตามที่ปรากฏในใบกากับภาษีตามมาตรา 86/4 แห่ง ประมวลรัษฎากรใบเพ่ิมหน้ีหรือใบลดหนี้ตามมาตรา 88/9 และมาตรา 86/10 แห่งประมวลรัษฎากรท่ีออกให้ผู้ซ้ือสินค้า หรือผู้รับบรกิ ารนนั้ แล้วแต่กรณี

5. ชอ่ ง“ สถานประกอบการ ” (1) ให้กรอกโดยระบุสถานประกอบการของผู้ซ้ือ สินค้าหรือรับบริการซ่ึงเป็นผู้ประกอบการจดทะเบียนตามท่ี ปรากฏในใบกากับภาษีตามมาตรา 86/4 แห่งประมวล รัษฎากรใบเพ่ิมหน้ีหรือใบลดหน้ีตามมาตรา 86/9 และมาตรา 86/10 แหง่ ประมวลรษั ฎากรทีอ่ อกให้ซ้อื สินค้าหรือผู้รับบริการ นัน้ แล้วแต่กรณี (2) ช่องสถานประกอบการท่ีเป็นสานักงานใหญ่จะ ใส่เคร่ืองหมายหรือเลข 0 จานวนเท่าใดในช่องดังกล่าวเพื่อ แสดงว่าเป็นช่องของสานักงานใหญ่ก็ได้เช่นใส่เคร่ืองหมาย \"\" หรือเครื่องหมาย “ ” หรือใส่เลย “ 0” “00000“ ในชอ่ งสานกั งานใหญ่ก็ได้ (3) ช่องสถานประกอบการที่เป็นสาขาจะใส่เลขที่ สาขาโดยจะมีเลข 0 จานวนเท่าใดนาหน้าหรือไม่มีเลข 0 นาหนา้ ก็ได้เช่น“ 1” “ 01” หรือ “ 00001

* (4) ช่องรายการข้อความสถานประกอบการจะ ระบุรายการเฉพาะรายการสถานประกอบการโดยไม่แยกเป็น ชอ่ งรายการสานกั งานใหญ่และสาขาก็ได้โดยรายการท่ีแสดงว่า เป็นสานักงานใหญ่จะต้องใช้เลข 0 จานวนหน้าหลักแทน (00000) และรายการของสาขาที่จะต้องใช้เลขจานวนห้าหลัก ตรงตามท่ีปรากฏในใบทะเบียนภาษีมูลค่าเพ่ิม (ภ.พ. 20) ซ่ึง ระบุว่าเป็นสาขาที่ ... แทนเช่นกรณีสาขาที่ 1 ให้ระบุเลขห้า หลกั เป็น“ 00001” ดงั น้ี ใบกำกับภำษี ผู้ซอ้ื เลขประจำตัวผู้เสีย มูลค่ำสินค้ำ จำนวนเงิน หรือบริกำร ภำษมี ูลค่ำเพ่มิ วัน เลขท่ี สนิ ค้ำ/ ภำษอี ำกรของผู้ซอื้ สถำนประกอบกำร เดือน ปี เลม่ ที่ ผู้รับบริกำร สินค้ำ/ผู้รับบริกำร 00000 สำนักงำนใหญ่ 00001 สำขำ 1

2. รายงานภาษซี ื้อ เปน็ รายงานแสดงมูลค่าสินค้าหรือ บริการและภาษีมูลค่าเพิ่มที่ประกอบการจดทะเบียนได้ซ้ือ สินค้าหรือบริการจากผู้ประกอบการจดทะเบียนอื่นทั้งนี้ รายงานภาษีซ้ือต้องมีรายการและข้อความตามแบบท่ีอธิบดี กรมสรรพากร

หมายเหตุ 1.“ ช่องลาดับท”ี่ ใหก้ รอกลาดบั ท่ีของใบกากับภาษีที่ ผปู้ ระกอบการได้จัดเรียงลาดับขน้ึ ใหม่ 2.“ ช่องวนั เดอื นปี ” ใหก้ รอกวนั เดือนปขี องใบกากับ ภาษี 3.“ช่องเล่มท่ีเลขที่ ” ให้กรอกเลขที่ของใบกากับภาษี และเลม่ ทถ่ี ้ามี 4. ใบกากับภาษี หมายความรวมถึงใบเพิ่มหนี้ใบลด หนี้ใบเสร็จรับเงินท่ีส่วนราชการออกให้ในการขายทอดตลาด หรือขายโดยวิธีอนุตามมาตรา 83/5 และใบเสร็จรับเงินของ กรมสรรพากรของกรมศุลกากรหรอื กรมสรรพสามิตเฉพาะส่วน ทเี่ ป็นภาษมี ลู ค่าเพ่มิ 5. ช่อง “ เลขประจาตัวผู้เสียภาษีอากรของผู้ขาย สินค้าผู้ให้บริการ ” ให้กรอกโดยระบุเลขประจาตัวผู้เสียภาษี อากรของผู้ขายสินค้าหรือผู้รับบริการตามท่ีปรากฏในใบกากับ ภาษีตามมาตรา 86/4 แห่งประมวลรัษฎากรใบเพ่ิมหน้ีหรือใบ ลดหนี้ตามมาตรา 86/9 และมาตรา 86/10 แห่งประมวล รษั ฎากรที่ออกโดยผ้ขู ายสนิ คา้ หรอื ผู้รบั บริการแล้วแตก่ รณี

6. ช่อง“ สถานประกอบการ (1) ให้กรอกโดยระบุสถานประกอบการของผู้ขาย สิ น ค้ า ห รื อ ผู้ ใ ห้ บ ริ ก า ร ที่ เ ป็ น ผู้ ป ร ะ ก อ บ ก า ร จ ด ท ะ เ บี ย น ภาษีมูลค่าเพิ่มตามท่ีปรากฏในใบกากับภาษีตามมาตรา 86/4 แห่งประมวลรัษฎากรใบเพิ่มหน้ีหรือใบลดหน้ีตามมาตรา 86/9 และมาตรา 86/10 แห่งประมวลรัษฎากรที่ออกโดย ผู้ขายสินคา้ หรือผ้ใู ห้บรกิ ารนั้นแลว้ แต่กรณี (2) ชอ่ งสถานประกอบการท่ีเป็นสานักงานใหญ่จะ ใส่เครื่องหมายหรือเลข 0 จานวนเท่าใดในช่องดังกล่าวเพื่อ แสดงว่าเป็นช่องของสานักงานใหญ่ก็ได้เช่นใส่เครื่องหมาย “” หรือเคร่ืองหมาย “ X” หรือใส่เลข “ 0” “ 00000” ในช่องสานักงานใหญ่ก็ได้ (3) ช่องสถานประกอบการที่เป็นสาขาจะใส่เลขท่ี สาขาโดยจะมีเลข 0 จานวนเท่าใดนาหน้าหรือไม่มีเลข 0 น้าหนา้ กไ็ ดเ้ ช่น “ 1”“ 0” หรอื “ 00001” ก็ได้

* (4) ช่องรายการข้อความสถานประกอบการจะระบุ รายการเฉพาะรายการสถานประกอบการโดยไม่แยกเป็นช่อง รายการสานกั งานใหญ่และสาขาก็ได้โดยรายการท่ีแสดงว่าเป็น สานักงานใหญ่จะต้องใช้เลข 0 จานวนห้าหลักแทน (00000) และรายการของสาขาจะต้องใช้เลขจานวนห้าหลักตรงตามที่ ปรากฏในใบทะเบียนภาษีมูลค่าเพ่ิม (ภ.พ. 20) ซ่ึงระบุว่าเป็น สาขาท่ี ... แทนเช่นกรณีสาขาท่ี 1 ให้ระบุเลขห้าหลักเป็น “ 00001” ดังน้ี ใบกำกบั ภำษี ผู้ขำย เลขประจำตัวผู้เสยี วัน เลขที่ สินค้ำ/ผู้ เดือน ปี เลม่ ท่ี ให้บริกำร ภำษอี ำกรของ สถำนประกอบกำร มูลค่ำสนิ ค้ำ จำนวนเงิน ผู้ขำยสนิ ค้ำ/ผู้ หรือบริกำร ภำษมี ูลค่ำเพ่มิ ให้บริกำร 00000 สำนักงำนใหญ่ 00001 สำขำ 1

3. รายงานสินค้าและวัตถุดิบ เป็นรายงานที่ กาหนดให้เฉพาะผู้ประกอบการจดทะเบียนท่ีขายสินค้าจัดทา ข้ึนเพ่ือแสดงปริมาณสินค้าวัตถุดิบที่ผู้ประกอบการจดทะเบียน มีอยู่ได้มาและจาหน่ายไปเนื่องจากการขายสินค้าหรือการผลิต ผู้ประกอบการจดทะเบียนท่ีได้จัดทาบัญชีตามกฎหมายว่าด้วย การบญั ชสี ามารถใชบ้ ัญชีคุมสินค้าแตล่ ะชนิดเป็นรายงานสินค้า และวัตถดุ ิบไดส้ าหรับผู้ประกอบการท่ีเป็นตัวแทนผู้รับฝากขาย ต้องทารายงานสินค้ารับฝากแยกต่างหากจากรายงานสินค้า และวตั ถดุ ิบของตนตามปกติ รายการท่ีต้องนามาบันทึกในรายงานสินค้าและ วัตถุดบิ ได้แก่ (1) รายการต่าง ๆ ท่ีเก่ียวกับสินค้าที่ต้องนาไปลง ในรายงานภาษีขาย (2) รายการต่าง ๆ ท่ีเก่ียวกับสินค้าที่ต้องนาไปลง ในรายงานภาษีซอ้ื



4.รายงานการจ่ายอะไหล่โดยไมค่ ดิ มูลค่า ผ้ปู ระกอบ การจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพ่ิมที่ขายสินค้าโดยมีการรับประกัน สินค้าที่ขายหรือบริการซ่อมสินค้าท่ีขายกรณีมีการชารุด บกพร่องหรือเพือ่ เหตอุ ่นื อนั มลี ักษณะทานองเดียวกนั ตอ้ งจัดทา รายงานจ่ายอะไหล่โดยไม่คิดมูลค่าเพื่อใช้ประกันสินค้าท่ีขาย หรอื บริการซอ่ มสินค้าท่ขี ายแยกต่างหากจากรายงานสินค้าและ วัตถุดิบเพ่ิมเพ่ิมข้ึนมาอีกหนึ่งรายงานรายงานน้ีเป็นส่วนหนึ่ง ของรายงานสินค้าและวัตถุดิบ



การลงรายการในรายงานภาษีขายภาษีซ้ือรายงานสินค้า และวัตถดุ ิบ การลงรายการในรายงานภาษีขายรายงานภาษีซ้ือรายงาน สนิ คา้ และวตั ถดุ บิ ให้ลงให้แล้วเสร็จภายใน 3 วันนับ แต่วันที่ระบุใน ใบกากับภาษีโดยให้เขียนด้วยหมึกดีดพิมพ์หรือตีพิมพ์และจะลง รายการเป็นภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษก็ได้หากผู้ประกอบการใช้ คอมพิวเตอร์จัดทารายงานรายการในรายงานดังกล่าวต้องเป็นไป ตามมาตรฐานซอฟแวรข์ องกรมสรรพากร การจัดเก็บเอกสารและรายงานท่ีเกี่ยวกับภาษีมูลค่าเพิ่ม ผู้ประกอบการจดทะเบียนต้องจัดเก็บและรักษารายงาน เกย่ี วกับภาษีมูลค่าเพ่ิมไว้ ณ สถานประกอบการท่ีจัดทารายงานน้ัน หรอื สถานท่อี นื่ ตามที่อธิบดีกาหนดไม่น้อยกว่า 5 ปีนับ แต่วันที่ต้อง จัดทารายงานในกรณีที่อธิบดีเห็นสมควรกาหนดให้ผู้ประกอบการ จดทะเบียนเก็บรักษารายงานเกิน 5 ปีได้ แต่ต้องไม่เกิน 7 ปีกรณีที่ ประสงค์จะเก็บเอกสารดังกล่าวในสถานท่ีอื่นหลังจากเก็บที่สถาน ประกอบการนั้นครบ 1 ปีแล้ว จึงมีสิทธิขออนุญาตต่ออธิบดีขอ เปลี่ยนสถานที่เก็บได้เมื่อผู้ประกอบการเลิกประกอบกิจการให้ จัดเกบ็ รักษาเอกสารดงั กลา่ วตอ่ ไปไม่นอ้ ยกว่า 2 ปี

4. ก า ร ยื่นแบ บแส ด งร าย ก าร แ ละก า ร นาส่ ง ภาษีมลู คา่ เพ่มิ ผู้ประกอบการจดทะเบียนมีหน้าท่ียื่นแบบแสดงรายการ ภาษีมูลค่าเพิ่มเป็นรายเดือนภาษีพร้อมกับชาระภาษี (ถ้ามี) โดยใชแ้ บบแสดงรายการดงั นี้ แบบแสดงรายการภาษีมลู คา่ เพมิ่ และระยะเวลาในการ ย่ืนแบบ 1. แบบ ภ.พ. 30 สาหรับผู้ประกอบการจดทะเบียนที่ เสียภาษีมูลค่าเพ่ิมรวมถึงผู้ประกอบการจดทะเบียนที่เป็นผู้ ส่งออกท่ีเสียภาษีมูลค่าเพิ่มในอัตราร้อยละ 0 โดยคานวณ ภาษีมูลค่าเพ่ิมจากยอดภาษีขายหักด้วยภาษีซ้ือใน แต่เดือน ภาษใี ช้สาหรับการย่ืนแบบแสดงรายการปกตเิ ป็นรายเดือนภาษี โดยใช้ยื่นแบบแสดงรายการภายในวันท่ี 15 ของเดือนภาษี ถัดไปไม่ว่าจะการขายสินค้าหรือการให้บริการเกิดขึ้นในเดือน ภาษีน้ันหรือไม่ก็ตามโดยย่ืน ณ สานักงานสรรพากรพื้นท่ีสาขา ในท้องท่ีท่ีผู้มีหน้าท่ีนาส่งภาษีมีภูมิลาเนาหรือสานักงานต้ังอยู่ 2. แบบ ภ.พ. 36 สาหรับการนาส่งภาษีมูลค่าเพิ่มใน กรณตี อ่ ไปนี้

1. กรณีจ่ายเงินค่าซ้ือสินค้าหรือบริการท่ีอยู่นอก ราชอาณาจักรที่ประกอบกิจการขายสินค้าหรือบริการใน ราชอาณาจักรเป็นครั้งคราวและผู้ประกอบการที่ให้บริการใน ต่างประเทศและการใช้บริการน้ันในราชอาณาจักรให้ย่ืน ณ สานักงานสรรพากรพ้ืนท่ีสาขาในท้องที่ท่ีผู้หน้าท่ีนาส่งภาษีมี ภมู ลิ าเนาหรอื สานักงานต้ังอยู่ภายใน 7 วันนับ แต่วันสิ้นเดือน ของเดือนท่ีเงินได้ให้แก่ผปู้ ระกอบการในต่างประเทศ 2. กรณีมีเงินได้จากการขายทอดตลาดทรัพย์สิน ของผู้ประกอบการจดทะเบียนให้ย่ืนสานักงานสรรพากรพื้นท่ี สาขาในท้องท่ีท่ีผู้มีหน้าท่ีนาส่งภาษีมีภูมิลาเนาหรือสานักงาน ต้งั ภายใน 7 วนั นบั แต่วันสน้ิ เดอื นของเดือนทมี่ ีการจ่ายเงิน 3. กรณีได้รับโอนสินค้าสิทธิในบริการ (ซ้ือสินค้า / บริการ) จากองค์การสหประชาชาติทบวงการชานัญพิเศษของ สหประชาชาติสถานเอกอัครราชทูตสถานทูตสถานกงสุลใหญ่ สถานกงสุลให้นาส่งเงินภาษีภายใน 7 วันนับ แต่วันสิ้นเดือน ของเดือนครบกาหนด 30 วันท่ีความรับผิดในการเสีย ภาษีมลู ค่าเพ่ิมเกดิ ข้ึน

กรณีผู้ประกอบการจดทะเบียนมีสถานประกอบการ หลายแห่งให้แยกย่ืนและชาระเป็นรายสถานประกอบการเว้น แต่ผู้ประกอบการจดทะเบียนจะยื่นคาร้องแบบ ภ.พ. 02 ต่อ อธิบดีกรมสรรพากรขออนุมัติยื่นแบบแสดงรายการภาษีและ ชาระภาษีรวมกัน ณ สานักงานสรรพากรพ้ืนท่ีแห่งใดแห่งหน่ึง หรือ ณ สถานที่ที่อธิบดีกาหนดก็ได้เมื่อได้รับอนุมัติจากอธิบดี กรมสรรพากรแล้วให้ถือปฏิบัติต้ังแต่เดือนภาษีท่ีอธิบดี กรมสรรพากรกาหนดเป็นต้นไป สาหรับการนาเข้าสินค้าให้ผู้นาเข้าย่ืนใบขนสินค้าต่อ เจา้ พนักงานศุลกากร ณ ด่านศุลกากรและชาระภาษีมูลค่าเพ่ิม พร้อมกับการชาระอากรขาเขา้



5. การขอคืนภาษมี ูลคา่ เพิม่ ผู้ ประกอบการจดทะเบียนจะมีสิทธิได้รับคืนภาษีมูลค่าเพิ่มหาก ภาษีที่เกิดจากการซื้อสินค้าหรือบริการต่าง ๆ รวมสินค้าที่นามาใช้ ในกจิ การของตนสูงกว่าภาษีทเี่ กดิ จากการขายสินคา้ หรอื บริการหรือ เกดิ จากกรณอี ่ืนดงั ตอ่ ไปน้ี 1. ผู้ประกอบการจดทะเบียนที่เสียภาษีมูลค่าเพ่ิมซึ่ง คานวณจากภาษีขายหกั ด้วยภาษซี ้ือและเครดิตภาษีที่เหลืออยู่ในแต่ ละเดือนภาษเี นอ่ื งจากภาษซี ื้อมากกว่าภาษีขาย 2. ผู้ประกอบการจดทะเบียนที่เสียภาษีมูลค่าเพิ่มไว้เกิน หรือผดิ หรือซา้ 3. ผู้ประกอบการท่ีมีหน้าที่เสียภาษีซึ่งได้นาชาระภาษีไว้ เกินหรือผดิ หรอื 4. ผู้มีหน้าที่นาส่งภาษีซึ่งได้นาส่งภาษีไว้เกินหรือผิดหรือ 5. ผู้ไม่มีหน้าท่ีต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม แต่ได้ชาระภาษีไว้ 6. ผู้นาเข้าที่มีข้อโต้แย้งตามกฎหมายว่าด้วยศุลกากรหรือ เป็นคดีในศาลต่อมามีคาวินิจฉัยข้อโต้แย้งอากรขาเข้าเป็นหนังสือ หรือคาพิพากษาของศาลซ่ึงคดีถึงที่สุดว่ามีภาษีชาระไว้เกิน 7. ผู้นาเข้าท่ีมิได้เป็นผู้ประกอบการจดทะเบียนได้ชาระ ภาษีมลู คา่ เพ่ิมแล้วและต่อมาได้ส่งสินค้ากลับออกไปมีสิทธิได้รับคืน อากรขาเข้าตามกฎหมายว่าด้วยศุลกากรที่กาหนดไว้สาหรับขอคืน อากรขาเข้า

การขอคืนภาษมี ูลคา่ เพ่ิมได้ 2 วธิ ีดงั น้ี 1. ขอคืนเป็นเงินสด ผู้ประกอบการจดทะเบียนย่ืน แบบแสดงรายการคานวณแลว้ มีภาษซี อื้ มากกว่าภาษีขายและมี เครดิตภาษเี หลอื อยจู่ ะขอคนื เปน็ เงนิ สดหรือขอโอนเข้าธนาคาร ก็ได้โดยจะต้องลงลายมือช่ือในช่องขอคืนภาษีเป็นเงินสดหรือ โอนเข้าธนาคารพร้อมกับการยื่นแบบแสดงรายการภาษีของ เดือนภาษีในแบบ ภ.พ. 30 ซึ่งมีรายการคาร้องขอคืนภาษี รวมอยู่แล้ว 2. ขอคืนเปน็ เครดติ นาไปหักออกจากภาษีมูลค่าเพิ่ม จะต้องชาระในเดือนถัดไป ผู้ประกอบการมีสิทธินาภาษีซ้ือที่ มากกว่าภาษีขายเครดิตภาษี) ไปชาระภาษีมูลค่าเพ่ิมในเดือน ถัดจากเดือนภาษีท่ีคานวณภาษีน้ันและหากในเดือนภาษีที่นา เครดิตไปชาระยังมีเครดิตภาษีคงเหลืออยู่อีกก็ให้นาไปชาระ ภาษีมูลค่าเพิ่มในเดือนถัดไปได้เช่นนี้ถัดไปจนกว่าเครดิตท่ี เหลืออยนู่ ั้นจะหมดไป

แบบคาร้องทใ่ี ชใ้ นการขอคืนภาษมี ูลค่าเพ่ิม 1. แบบแสดงรายการภาษีมูลค่าเพ่ิม (แบบภ.พ. 30) ซ่ึงเป็นแบบท่ีมีรายการร้องขอคืนภาษีรวมอยู่แล้วใช้ในกรณีที่ ผปู้ ระกอบการจดทะเบียนยื่นแบบแสดงรายการภาษีมูลค่าเพ่ิม ภ.พ. 30 ประจาเดือนภาษีและมีเครดิตภาษีเหลืออยู่ในเดือน ภาษีนั้นหรือผู้ประกอบการจดทะเบียนยื่นแบบแสดงรายการ ภาษมี ลู คา่ เพ่ิม ภ.พ. 30 ไว้ไม่ถูกต้องและต้องย่ืนแบบ ภ.พ. 30 เพ่ิมเติม ได้แก่ แสดงรายการยอดขายและภาษีขายไว้เกินหรือ แสดงรายการยอดซื้อและภาษีซ้ือไว้ขาดหรือแสดงรายการ ยอดขายและภาษีขายไว้และแสดงรายการยอดซื้อและภาษีซ้ือ ไว้ขาดด้วยซ่ึงเมื่อคานวณแล้วยังมีเครดิตภาษีเหลืออยู่หรือ แสดงรายการยอดซ้ือและภาษีซ้ือไว้เกินและแสดงรายการ ยอดขายและภาษีขายไว้เกินด้วยซ่ึงเมื่อคานวณแล้วยังมีเครดิต ภาษีเหลืออยู่ 2. ย่ืนแบบคารอ้ งขอคืนเงินภาษีอากร (แบบค. 10) ใช้ในกรณีท่ีผู้ประกอบการจดทะเบียนย่ืนแบบแสดงรายการ ภาษีมูลค่าเพ่ิมประจาเดือนภาษีโดยมีเครดิตภาษีเหลืออยู่และ ขอยกยอดไปใช้ในเดือนภาษีถัดไป แต่มิได้นาเครดิตดังกล่าวไป ใช้หรือผู้ประกอบการจดทะเบียนยื่นแบบแสดงรายการ ภาษีมูลค่าเพ่ิมที่มิได้ลงลายมือช่ือยื่นแบบแสดงรายการและใน ช่องการขอคืนภาษีหรือมิได้ลงลายมือชื่อยื่นแบบแสดงรายการ ภาษมี ลู ค่าเพ่ิม

เอกสารท่ีต้องยื่นประกอบคาร้องขอคืนภาษีตาม แบบค. 10 โดยใช้สาเนาดังน้ี (1) หนงั สอื รับรองการจดทะเบียนเปน็ นติ ิบุคคลกรณี ผขู้ อคืนเปน็ นติ ิบุคคล (2) ใบกากบั ภาษีซ้ือซง่ึ เปน็ ประเดน็ ท่ีขอคนื (3) หลกั ฐานอน่ื ทเ่ี กยี่ วข้องกับประเดน็ ทข่ี อคนื (4) กรณีผู้ประกอบการจดทะเบียนมอบอานาจให้ ผู้อ่ืนลงนามในคาร้องให้แนบหนังสือมอบอานาจพร้อมบัตร ประจาตัวผู้มอบและผู้รับมอบอานาจโดยเอกสารดังกล่าว ข้างต้นให้ผู้มีอานาจผกู พันลงนามรบั รองสาเนาทกุ ฉบบั กาหนดเวลาการยื่นคาร้องขอคืนภาษีมูลค่าเพิ่ม กรณีผูป้ ระกอบการจดทะเบียนขายสินคา้ หรอื ใหบ้ ริการมีภาษีที่ จะได้รับคืนให้ยื่นคาร้องภายในปีนับ แต่วันพ้นกาหนดเวลายื่น แบบแสดงรายการภาษสี าหรับเดือนภาษีน้ันหรือนับ แต่วันที่ได้ ชาระภาษี

6.เบีย้ ปรบั เงนิ เพมิ่ และบทกาหนดโทษภาษมี ูลคา่ เพมิ่ หากผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มปฏิบัติหรือละ เว้นการปฏิบัติอันเป็นการฝ่าฝืนบทบัญญัติต่างๆเก่ียวกับ ภาษีมูลค่าเพ่ิมตามที่ระบุไว้ในกฎหมายอาจต้องรับผิดเสียเบี้ย ปรับและหรือเงินเพิ่มและอาจถูกลงโทษด้วยตามลักษณะท่ี เกิดข้ึนดังต่อไปน้ี 1. เบ้ียปรับ ผู้ประกอบการต้องเสียเบี้ยปรับกรณีที่มิได้ ปฏิบัติให้ถูกต้องตามกฎหมาย เช่น ประกอบกิจการโดยมิได้จด ทะเบียนภาษีมูลค่าเพ่ิมมิได้ย่ืนแบบแสดงรายการภาษีหรือมิได้ ยื่นแบบนาส่งภาษีภายในกาหนดเวลา มิได้จัดทาใบกากับภาษี เป็นต้น หากการปฏิบัติเหล่าน้ันเป็นเหตุให้เสียภาษีมูลค่าเพ่ิมไม่ ถูกต้อง คลาดเคล่ือนจากความเป็นจริง หรือไม่ได้เสียไว้เลย ผู้ประกอบการมีหน้าที่ต้องเสียเบี้ยปรับซ่ึงมีลักษณะเป็นการคิด เทา่ ตวั หรือเปน็ รอ้ ยละของจานวนภาษแี ลว้ แตก่ รณีดังนี้

(1) ประกอบกิจการโดยมิได้จดทะเบียนภาษี มูลค่าเพ่ิมหรือประกอบกิจการเมื่อถูกสั่งเพิกถอนใบทะเบียน ภาษีมูลค่าเพิ่มให้เสียเบ้ียปรับ 2 เท่าของเงินภาษีที่ต้องเสียใน เดอื นภาษี (ภาษีขาย-ภาษีซื้อ) ตลอดระยะเวลาท่ีไม่ปฏิบัติตาม หรือ 1,000 บาทต่อเดือนภาษีแล้วแต่อย่างใดจะมากกว่า (2) มิได้ยื่นแบบแสดงรายการภาษีหรือแบบนาส่ง ภาษีภายในกาหนดเวลาให้เสียเบี้ยปรับ 2 เท่าของเงินภาษีที่ ตอ้ งเสยี หรือนาสง่ ในเดอื นภาษี (3) ย่ืนแบบแสดงรายการภาษีไว้ไม่ถูกต้องหรือมี ข้อผิดพลาดอันเป็นเหตุให้จานวนภาษีที่ต้องเสียหรือนาส่งใน เดือนภาษีคลาดเคลื่อนไปให้เสียเบี้ยปรับ 1 เท่าของจานวน ภาษีทีเ่ สียคลาดเคลือ่ นหรือนาสง่ คลาดเคลือ่ น (4) ยื่นแบบแสดงรายการภาษีไว้ไม่ถูกต้องหรือมี ข้อผิดพลาดอันเป็นเหตุให้จานวนภาษีขายหรือจานวนภาษีชื่อ ในเดือนภาษีแสดงไว้คลาดเคลื่อนไปไม่ว่าจะได้ย่ืนแบบแสดง รายการภาษีภายในกาหนดเวลาหรือย่ืนแบบแสดงรายการภาษี เม่ือพ้นกาหนดเวลาให้เสียเบี้ยปรับ 1 เท่าของจานวนภาษีขาย แสดงขาดไปหรือจานวนภาษีซอ้ื ทแี่ สดงไว้เกนิ ไป

(5) มิได้จดั ใบกากบั ภาษีและสง่ มอบให้แก่ผู้ซื้อและ ผูร้ ับบริการให้เสียเบ้ียปรับ 2 เท่าของจานวนภาษีตามใบกากับ ภาษี (6) ออกใบกากับภาษีใบเพ่ิมหนี้หรือใบลดหนี้โดย ไม่มีสิทธิที่จะออกกฎหมายให้เสียเบี้ยปรับ 2 เท่าของจานวน ภาษีตามใบกากับภาษใี บเพ่มิ หน้ีหรอื ใบลดหนี้นน้ั (7) นาใบกากับภาษีปลอมไม่ว่าท้ังหมดหรือ บางส่วนมาใช้ในการคานวณภาษีให้เสียเบี้ยปรับ 2 เท่าของ จานวนภาษตี ามใบกากบั ภาษนี น้ั (8) มิไดเ้ กบ็ สาเนาใบกากับภาษีในกรณีภาษีขายไว้ ตามทก่ี ฎหมายกาหนดให้เสียเบ้ียปรับอีกร้อยละ 2 ของจานวน ภาษตี ามใบกากบั ภาษี (9) มิได้เก็บใบกากับภาษีในกรณีภาษีซ้ือที่ใช้ เครดิตภาษีในการคานวณภาษีไว้ตามที่กฎหมายกาหนดให้เสีย เบี้ยปรับอีกร้อยละ 2 ของจานวนภาษีที่นามาเครดิตนั้น (10) มิได้ทารายงานตามท่ีกฎหมายกาหนดหรือ รายงานอื่นตามที่อธิบดีกรมสรรพากรกาหนดหรือมีสินค้าขาด จากรายงานสนิ คา้ และวัตถุดิบให้เสียเบ้ียปรับอีก 2 เท่าของเงิน ภาษีซ่ึงคานวณจากฐานภาษีท่ีมิได้ทารายงานหรือมิได้ลง รายการในรายงานให้ถูกตอ้ ง

2. การลดเบ้ียปรับ ให้เจ้าพนักงานประเมินมีอานาจ ส่ังลดเบี้ยปรับได้ในกรณีที่ผู้มีหน้าที่เสียภาษีย่ืนแบบแสดง รายการเองโดยมิไดร้ ับคาเตือนใหเ้ สยี เบ้ียปรับ (1) ถ้าชาระภายใน 15 วันนับแต่วันพ้นกาหนด เวลาชาระภาษีมูลค่าเพ่ิมให้เสียภาษีมูลค่าเพ่ิมร้อยละ 2 ของ เบย้ี ปรบั (2) ถ้าชาระภายหลัง 15 วัน แต่ไม่เกิน 30 วันนับ แตว่ นั พ้นกาหนดเวลาชาระภาษีมลู ค่าเพ่ิมให้เสียภาษีมูลค่าเพ่ิม รอ้ ยละ 5 ของเบี้ยปรบั (3) ถ้าชาระภายหลัง 30 วัน แต่ไม่เกิน 60 วันนับ แตว่ นั พน้ กาหนดเวลาชาระภาษีมูลค่าเพิ่มให้เสียภาษีมูลค่าเพ่ิม ร้อยละ 10 ของเบย้ี ปรบั (4) ถ้าชาระภายหลัง 60 วันนับแต่วันพ้นกาหนด เวลาชาระภาษีมูลค่าเพ่ิมให้เสียภาษีมูลค่าเพิ่มร้อยละ 20 ของ เบย้ี ปรบั ค่าเบีย้ ปรบั อัตรา ชาระเกนิ 1 – 15 วนั 2% ชาระเกนิ 16 – 30 วัน 5% ชาระเกนิ 31 – 60 วัน 10 % ชาระเกนิ 60 วนั ขึ้นไป 20 %

3. เงินเพิ่ม เกิดขึ้นเมื่อผู้ประกอบการไม่ชาระภาษี หรือนาสง่ ภาษีให้ครบถ้วนภายในกาหนดเวลาให้เสียเงินเพิ่มอีก รอ้ ยละ 1.5 ตอ่ เดือนหรอื เศษของเดือนของเงินภาษีที่ต้องชาระ หรอื นาสง่ โดยไม่รวมเบย้ี ปรับ 4. บทกาหนดโทษ นอกจากโทษทางแพ่งคือเบ้ียปรับ และเงินเพ่ิมดังกล่าวแล้วหากปรากฏว่าผู้เสียภาษีฝ่าฝืนหรือไม่ ปฏิบัติตามบทบัญญัติต่าง ๆ ที่กฎหมายระบุไว้ก็อาจต้องรับ โทษทางอาญาอีกสถานหน่ึงตาม แต่ประเด็นความผิดซ่ึงมีท้ัง โทษสถานเบาซึ่งต้องระวางโทษปรับเพียงสถานเดียวเช่นกรณี ละเลยการยื่นแบบแสดงรายการไม่แจ้งย้ายสถานประกอบการ เป็นต้นและคดีความผิดท่ีมีโทษรุนแรงคือต้องระวางโทษจาคุก ต้ังแต่ 3 เดือนถึง 7 ปี ได้แก่ การออกใบกากับภาษีปลอมการ นาใบกากับภาษีปลอมไปใช้โดยเจตนาทุจริตเป็นต้นซ่ึงอาจจะ ตอ้ งมีการฟ้องรอ้ งดาเนนิ คดตี ามกฎหมายตอ่ ไป

แบบทดสอบความร้เู กี่ยวกบั ภาษมี ูลคา่ เพ่มิ

FLIPBOOK TAX ACCOUNTING. THANKS FOR WACHING


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook