Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore FLIPBOOK TAX ACCOUNTING PROJECT

FLIPBOOK TAX ACCOUNTING PROJECT

Published by FTA PROJECT, 2022-02-03 02:47:15

Description: FLIPBOOK เล่มนี้รวบรวมเนื้อหาความรู้เกี่ยวกับภาษีมูลค่าเพิ่มที่ครอบคลุมตั้งแต่ ผู้มีหน้าที่เสียภาษีมูลค่าเพิ่ม การยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม ฐานภาษีมูลค่าเพิ่ม การจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม ความรับผิดชอบในการเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม อัตราภาษีมูลค่าเพิ่ม การจัดทำใบกำกับภาษี การคำนวณภาษีมูลค่าเพิ่ม การบันทึกบัญชีเกี่ยวกับภาษีมูลค่าเพิ่ม การจัดทำรายงานภาษีมูลค่าเพิ่ม การจัดเก็บเอกสารในระบบภาษีมูลค่าเพิ่ม การยื่นแบบแสดงรายการและการนำส่งภาษีมูลค่าเพิ่ม การขอคืนภาษีมูลค่าเพิ่ม เบี้ยปรับ เงินเพิ่ม และบทกำหนดโทษเกี่ยวกับภาษีมูลค่าเพิ่ม

Search

Read the Text Version

FLIPBOOK TAX ACCOUNTING. รายวิชา : โครงงาน รหสั วชิ า : 30201-8501 จัดทาโดย : นางสาวปภาณนิ เครือแกว้ นางสาวนาตาลี สัญแดน

บทที่ 1 ภาษมี ลู ค่าเพ่มิ (Valued Added Tax) ภาษีมูลค่าเพิ่มภาษีมูลค่าเพ่ิมตามประมวลรัษฎากรเป็น ภาษีทางอ้อม (Indirect Tax) ประเภทหนึ่งจัดเก็บจากฐาน การบริโภคเป็นภาษีท่ีรัฐบาลเรียกเก็บจากมูลค่าส่วนที่เพิ่มขึ้น ใน แต่ละขั้นตอนการผลิตการขายสินค้าการให้บริการจัดเก็บ เ ป็ น ร า ย เ ดื อ น ภ า ษี จ า ก ก า ร ข า ย สิ น ค้ า ห รื อ ก า ร ใ ห้ บ ริ ก า ร การนาเข้าสินค้าโดยผู้ประกอบการเป็นผู้มีหน้าที่เก็บจากลูกค้า แล้วนาภาษีมูลค่าเพิ่มเพิ่มไปชาระให้แก่รัฐบาลโดยส่วนท่ีเก็บ เพิ่มนั้นเรียกว่า“มูลค่าเพิ่มภาษีมูลค่าเพิ่ม”จึงเป็นภาษีที่ ผู้ประกอบการจดทะเบียนจะทาการเรียกเก็บจากผู้ซื้อสินค้า หรือรับบริการต่าง ๆ ท่ีเป็นคนสุดท้ายรวมถึงการเก็บภาษีทุก ข้ันตอนของการผลติ หรอื การขายสนิ ค้าหรือการใหบ้ รกิ าร

1. ผู้มหี นา้ ที่เสียภาษมี ูลค่าเพม่ิ (Taxable Person) ประมวลรัษฎากรกาหนดให้ผูม้ ีหนา้ ทเี่ สียภาษมี ูลค่าเพิ่ม ได้แก่ 1. ผปู้ ระกอบการท่ขี ายสนิ ค้าหรือใหบ้ ริการในราชอาณาจักร 2. ผนู้ าเข้า 3. ผ้ทู ี่กฎหมายกาหนดให้มีหนา้ ที่เสียภาษีมลู คา่ เพ่มิ เปน็ กรณพี เิ ศษ

1. ผู้ประกอบการทขี่ ายสนิ คา้ หรอื ใหบ้ ริการในราชอาณาจกั ร ผู้ประกอบการ หมายถึง บุคคลธรรมดา นิติบุคคล คณะ บุคคลส่วนราชการหรือองค์การของรัฐบาลที่ประกอบกิจการขาย สินค้าหรือบริการในทางธุรกิจหรือวิชาชีพเป็นปกติ ธุระใน ราชอ าณาจั กรไม่ ว่ากา รกระ ทาดั ง กล่าว จะได้ รับ ป ร ะโยช น์ ห รื อ ค่าตอบแทนหรือไม่และไมว่ า่ จะจดทะเบยี นภาษีมลู ค่าเพิ่มหรอื ไม่

2. ผู้นาเข้าสินค้า ได้แก่ ผู้นาเข้าสินค้าเข้ามาใน ราชอาณาจักรซึ่งอาจเป็นผู้ประกอบการหรือบุคคลอื่นท่ีนาเข้า สินค้า ดังน้ันผู้นาเข้าสินค้าจากต่างประเทศแม้จะไม่ใช่ ผู้ประกอบการมีหน้าที่ต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่มซึ่งต่างจากการ ขายสินค้าหรือการให้บริการในราชอาณาจักร ซึ่งจะเสีย ภาษีมูลค่าเพ่ิมต่อเม่ือเป็นผู้ประกอบการที่ขายสินค้าหรือ ให้บริการในทางธุรกิจหรือวิชาชีพ เท่าน้ันการนาสินค้าเข้ามา ในราชอาณาจักรรวมถึงการนาสินค้าท่ีต้องเสียอากรขาเข้าหรือ ท่ี ไ ด้ รั บ ย ก เ ว้ น อ า ก ร ข า เ ข้ า ต า ม ก ฎ ห ม า ย ว่ า ด้ ว ย ศุ ล ก า ก ร ออกจากเขตปลอดอากรโดยมใิ ชเ่ พือ่ สง่ ออกด้วย

3. ผู้ทีก่ ฎหมายกาหนดให้มีหนา้ ทเี่ สยี ภาษีมลู ค่าเพ่ิมเป็นกรณี พิเศษ ได้แก่ ตัวแทนของผู้ประกอบการท่ีอยู่นอก ราชอาณาจักรและขายสินค้าหรือให้บริการราชอาณาจักร เป็นปกติหรือในกรณีที่ผู้รับโอนสินค้าจากการนาเข้าที่ได้รับ การยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่มตามกฎหมายพิกัดอัตราศุลกากร ห รื อ ผู้ ไ ด้ รั บ โ อ น ก ร ร ม สิ ท ธ์ิ ใ น สิ น ค้ า ห รื อ บ ริ ก า ร ผู้ ที่ เ สี ย ภ า ษี มู ล ค่ า เ พ่ิ ม ใ น อั ต ร า ร้ อ ย ล ะ 0ห รื อ ผู้ ป ร ะ ก อ บ ก า ร ท่ี ไ ด้ ใ ห้ บ ริ ก า ร จ า ก ต่ า ง ป ร ะ เ ท ศ แ ล ะ มี ก า ร ใ ช้ บ ริ ก า ร ใ น ราชอาณาจักร (กรณีน้ีผู้จ่ายในประเทศมีหน้าที่หักและ นาสง่ ภาษีมลู คา่ เพมิ่ ตามแบบ ภ.พ. 36)

2. การยกเวน้ ภาษมี ูลคา่ เพิม่ การประกอบกิจการต่าง ๆ ต่อไปนไ้ี ดร้ ับยกเวน้ ภาษีมลู ค่าเพม่ิ (1) การขายสินค้าหรือการให้บริการของผู้ประกอบการที่มี รายรับไมเ่ กนิ 1,800,000 บาทตอ่ ปี (2) การขายพืชผลทางการเกษตรภายในราชอาณาจักร เช่น ข้าว ข้าวโพด ปอ มันสาปะหลัง ผกั และผลไม้ เปน็ ต้น (3) การขายสัตว์ทั้งท่ีมีชีวิตหรือไม่ชีวิตภายในราชอาณาจักร เชน่ โค กระบอื ไกห่ รอื เน้อื สตั ว์ ก้งุ ปลา เป็นต้น (4) การขายปยุ๋ (5) การขายปลาป่น อาหารสัตว์ (6) การขายยาหรือเคมีภัณฑ์ท่ีใช้สาหรับพืชหรือสัตว์ เพื่อ บารงุ รกั ษาป้องกัน ทาลายหรอื กาจดั ศัตรูหรอื โรคของพชื และสัตว์ (7) การขายหนงั สอื พิมพ์ นติ ยสาร หรอื ตาราเรยี น (8) การนาเข้าสินค้าตาม 2. ถึง 7. (9) การให้บริการการศึกษาของสถานศึกษาของทางราชการ สถานศึกษาตามกฎหมายว่าด้วยสถาบันอุดมศึกษาเอกชน หรือ โรงเรยี นเอกชนตามกฎหมายวา่ ด้วยโรงเรยี นเอกชน

(10) การให้บริการขนส่งในราชอาณาจักรไม่ว่าจะเป็น ทาง บก ทางน้าหรือทางอากาศ อย่างไรก็ดี หากเป็นการให้บริการ ขนส่งโดยอากาศยาน และการใหบ้ รกิ ารขนสง่ น้ามันเชื้อเพลิงทาง ทอ่ ผู้ประกอบการมีสทิ ธิเลอื กเขา้ สรู่ ะบบภาษีมลู ค่าเพิ่มได้ (11) การใหบ้ รกิ ารขนส่งระหวา่ งประเทศทางบกและทางเรือ ซึ่งมใิ ชเ่ รือเดนิ ทะเล (12) การให้บริการรักษาพยาบาลของสถานพยาบาลทาง ราชการและเอกชน (13) การใหบ้ ริการห้องสมดุ พิพิธภัณฑ์ สวนสตั ว์ (14) การให้บริการจัดแขง่ ขนั กฬี าสมัครเล่น (15) การให้บริการประกอบโรคศิลปะ การสอบบัญชี การว่า ความ (16) การให้บรกิ ารของนักแสดงสาธารณะ (17) การให้บริการท่ีเป็นงานทางศิลปะและวัฒนธรรม ใน สาขาและลักษณะการประกอบกิจการท่ีอธิบดีกาหนดโดยอนุมัติ รัฐมนตรี

(18) การให้บริการวิจัย หรือการให้บริการทางวิชาการ ซ่ึงต้องมีลักษณะการประกอบกิจการตามท่ีกรมสรรพากร กาหนด คือ ต้องเป็นการวิจัยหรือบริการทางวิชาการสาขา วทิ ยาศาสตรแ์ ละสาขาสังคมศาสตร์ แต่ต้องมิใช่เป็นการกระทา ในทางธุรกิจ ท้ังน้ี ผู้ประกอบการต้องเป็นบุคคลธรรมดาหรือ เปน็ คณะบุคคลทมี่ ใิ ชน่ ติ บิ ุคคล หรือมลู นธิ ิ (19) การให้บริการตามสญั ญาจ้างแรงงาน (20) การให้บรกิ ารเช่าอสังหารมิ ทรัพย์ (21) การให้บริการของราชการส่วนท้องถิ่น ท้ังนี้ไม่รวมถึง บรกิ ารทเ่ี ป็นการพาณิชย์ของราชการส่วนท้องถ่ิน หรือเป็นการ หารายได้ หรือผลประโยชน์ไม่ว่าจะเป็นกิจการสาธารณูปโภค หรือไม่กต็ าม (22) การขายสินค้าหรือการให้บริการของกระทรวง ทบวง กรม ซึ่งสง่ รายรับทง้ั สนิ้ ใหแ้ ก่รัฐโดยไม่หักรายจ่าย (23) การขายสนิ ค้าหรือการให้บริการเพ่ือประโยชน์แก่การ ศาสนา หรือการสาธารณกุศลภายในประเทศ ซึ่งไม่นาผลกาไร ไปจ่ายในทางอ่ืน

(24) การบริจาคสินค้าใ ห้แก่สถานพยาบาล และ สถานศึกษาของทางราชการ หรือให้แก่องค์การหรือสถานสา ธารณกุศล หรือสถานพยาบาลและสถานศึกษาอื่นตามท่ี รัฐมนตรปี ระกาศกาหนด (25) การขายบุหรี่ซิกาแรต ที่ผลิตโดยโรงงานยาสูบ กระทรวงการคลัง ซึ่งผู้ขายเป็นบุคคลอื่นที่มิใช่โรงงานยาสูบ กระทรวงการคลงั (26) การขายสลากกินแบ่งของรัฐบาล สลากออมสินของ รัฐบาล และสลากบารุงสภา-กาชาดไทย (27) การขายแสตมป์ไปรษณีย์ แสตมป์อากร หรือแสตมป์ อื่นของรัฐบาล องค์การของรัฐบาล หรือองค์การบริหาร ราชการส่วนท้องถน่ิ เฉพาะที่ยังไม่ได้ใช้ในราคาที่ไม่เกินมูลค่าท่ี ตราไว้ (28) การให้บรกิ ารสขี ้าว

3. การจดทะเบียนภาษมี ูลค่าเพ่ิม ผู้ประกอบการท่ีต้องจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม ได้แก่ ผู้ประกอบการดงั ต่อไปนี้ 1.ผู้ ป ร ะ ก อ บ ก า ร ท่ี มี ร า ย รั บ จ า ก ก า ร ข า ย สิ น ค้ า ห รื อ ให้บรกิ ารเกนิ กวา่ 1,800,000 บาทต่อปี 2. ผู้ประกอบการท่ีประกอบการอยู่นอกราชอาณาจักร แต่ ได้ดาเนินการขายสินค้าหรือให้บริการในราชอาณาจักรเป็น ปกตธิ ุระ 3. ผ้ปู ระกอบการบางประเภทที่ได้รับยกเว้นภาษีมูลค่าเพ่ิม แ ต่ มี ค ว า ม ป ร ะ ส ง ค์ จ ะ ข อ จ ด ท ะ เ บี ย น เ พื่ อ เ ข้ า สู่ ร ะ บ บ ภาษมี ูลคา่ เพ่มิ

กาหนดเวลาจดทะเบียนภาษมี ูลคา่ เพ่มิ (1) กรณีจะเริ่มประกอบการถ้าประสงค์จะเป็น ผู้ประกอบการจดทะเบียนให้แจ้งขอจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพ่ิม ไดท้ ันทกี อ่ นวันเร่มิ ประกอบการ (2) กรณีผู้ประกอบการมีรายรับจากการประกอบ กิจการไม่เกิน 1,800,000 บาทต่อปีซึ่งได้รับการยกเว้น ภาษีมูลค่าเพิ่ม แต่ต่อมาภายหลังมีรายรับเกิดขึ้นเกินกว่า 1,800,000 บาท ต่อปี ให้ยื่นคาขอจดทะเบียนภายใน 30 วัน นับแต่วนั ทีม่ ีรายรับเกนิ 1,800,000 บาทเพิม่ ได้ (3) กรณีผู้ประกอบการได้รับยกเว้นภาษีมูลค่าเพ่ิม และมีสิทธิเลือกเข้าสู่ระบบภาษีมูลค่ามีความประสงค์จะขอ จ ด ท ะ เ บี ย น ภ า ษี มู ล ค่ า เ พิ่ ม ใ ห้ ย่ื น ค า ข อ จ ด ท ะ เ บี ย น ภาษีมูลคา่ เพิม่ ได้ทันที

ขนั้ ตอนการจดทะเบียนภาษีมูลคา่ เพ่มิ (1) กรอกแบบ ภ.พ. 01 โดยกรอกข้อความให้ถูกต้อง ครบถ้วนตรงกนั จานวน 3 ฉบบั (2) ย่ืนแบบ ภ.พ.01 ณ สานักงานสรรพากรพื้นที่ หรือสานักงานสรรพากรพ้ืนที่สาขาในเขตท้องที่ท่ีสถาน ประกอบการตัง้ อยู่ถ้าผู้ประกอบการมีสถานประกอบการหลาย แห่งให้ยืนค่าขอจดทะเบียน ณ สถานที่ท่ีกาหนดซึ่งสถาน ประกอบการอนั เปน็ สานกั งานใหญ่ต้ังอย่เู พยี งแหง่ เดียวเท่านน้ั เมื่อย่ืนแบบ ภ.พ. 01 แล้วจะได้รับจานวน 1 ฉบับและจะ ได้รับใบทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มมูลค่าเพ่ิมไว้ ณ ที่เปิดเผยใน สถานประกอบการเป็นรายสถานประกอบการคือแบบ ภ.พ. 20 ทกี รมสรรพากรออกให้แก่ผู้ประกอบการจดทะเบียนซ่ึงต้อง แสดงใบทะเบียนภาษีมูลค่าเพ่ิมไว้ ณ ท่ีเปิดเผยในสถาน ประกอบการเปน็ รายสถานประกอบการ

ผู้ท่ีไม่มีหน้าท่ีจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มแต่มี หน้าที่ เสียภาษีมูลคา่ เพมิ่ ผู้ที่ไม่มีหน้าท่ีจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม แต่ต้องมีหน้าที่ เสยี ภาษมี ลู ค่าเพิ่ม ได้แก่ (1) ผู้ประกอบการทอ่ี ยนู่ อกราชอาณาจักรและเข้ามา ประกอบกิจการขายสินค้าหรือให้ หรือให้บริการใน ราชอาณาจักรเปน็ คร้ังคราว (2) ผู้ประกอบการที่ให้บริการในต่างประเทศและมี การใชบ้ รกิ ารในราชอาณาจกั ร

4. ความรับผิดในการเสยี ภาษมี ูลค่าเพ่ิม ความรับผิดในการเสียภาษีมูลค่าเพ่ิม (Tax Point) หมายถึง การกาหนดจุดท่ีเกิดภาษีมูลค่าเพ่ิมว่าเกิดขึ้นเม่ือใดเพื่อให้เกิด ความชัดเจนในการเสียภาษีผู้ประกอบการท่ีขายสินค้าหรือ ให้บริการในระบบภาษีมูลค่าเพิ่มมีหน้าที่ออกใบกากับภาษีให้กับ ผู้ ซ้ื อ สิ น ค้ า ห รื อ ผู้ รั บ บ ริ ก า ร เ ม่ื อ ค ว า ม รั บ ผิ ด ใ น ก า ร เ สี ย ภาษีมลู คา่ เพม่ิ เกดิ ขึ้น Tax Point จดุ ท่ีเกดิ ความรบั ผิดในภาษมี ูลคา่ เพม่ิ จุดที่เกดิ ความรับผิด ผปู้ ระกอบการในระบบภาษีมูลค่าเพมิ่ มีหนา้ ที่ออกใบกากบั ให้กับผซู้ อื้ สินค้า (WHEN) หรือผรู้ บั บรกิ าร จดุ ท่ีเกดิ ความรบั ผดิ ในการเสียภาษีภาษีมูลคา่ เพม่ิ

กฎหมายกาหนดความรบั ผิดในการเสียภาษีมูลค่าเพ่ิมกรณี ตา่ ง ๆ ไวด้ ังน้ี 1.การขายสินค้า ความรับผิดของผู้ขายเกิดขึ้นเม่ือ มีการ ส่งมอบสินค้า เว้นแต่ มีการกระทาต่อไปน้ีเกิดขึ้นก่อนการส่ง มอบ ก) โอนกรรมสิทธ์ิสินคา้ หรอื ข) ไดร้ ับชาระราคาสินค้า หรอื ค) ไดม้ ีการออกใบกากับภาษี ตวั อยา่ งความรับผดิ ในการเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม กรณขี ายสินค้า



2. การขายสินค้าตามสัญญาให้เช่าซ้ือ หรือสัญญาซ้ือ ขายผ่อนชาระทกี่ รรมสิทธใิ์ นสินค้ายังไม่โอนไปยังผู้ซ้ือเมื่อได้ส่ง มอบสินค้าให้แก่ผซู้ ้อื แล้วความรบั ผดิ ของผขู้ ายจะเกิดข้ึนเม่ือถึง กาหนดชาระราคาตามงวดที่ถึงกาหนดชาระราคาในแต่ละงวด ไม่ว่างวดน้ัน ๆ จะได้รับชาระราคาแล้วหรือไม่เว้นแต่มีการ กระทาต่อไปนี้เกดิ ขน้ึ ก่อน (ก) ไดร้ ับชาระราคาก่อนหรอื (ข) ได้ออกใบกากับภาษีกอ่ น ตวั อยา่ งความรบั ผดิ ในการเสยี ภาษมี ูลค่าเพ่มิ กรณีขายสินค้าตามสญั ญาใหเ้ ชา่ ซ้อื



3.การขายสนิ ค้าโดยการตั้งตวั แทนเพ่อื การขายสนิ คา้ ซึ่งมีการทาสัญญาการตั้งตัวแทนและเป็นไปตามหลักเกณฑ์ท่ี อธิบดีกาหนดความรับผิดเกิดข้ึนเมื่อตัวแทนได้ส่งมอบสินค้า ให้แก่ผู้ซื้อเวน้ แตม่ กี ารกระทาต่อไปนเ้ี กิดขน้ึ ก่อน (ก) ตัวแทนไดโ้ อนกรรมสทิ ธ์ใิ นสินคา้ ใหผ้ ซู้ ้ือหรอื (ข) ตัวแทนได้รับชาระราคาสินค้าหรือ (ความรับผิด เกิดขึ้นเม่ือครบกาหนดชาระค่างวดเว้นแต่มีการชาระราคา ก่อน) (ค) ตวั แทนไดอ้ อกใบกากบั ภาษหี รือ (ง) ตวั แทนหรือบคุ คลอนื่ มกี ารนา่ สนิ ค้าไปใช้

4. การขายสนิ ค้าโดยการสง่ ออก ความรบั ผิดในการเสยี ภาษีมลู ค่าเพิ่มเกิดขึ้นเมือ่ ชาระอากรขาออกวางหลักประกนั อากรขาออกหรอื จดั ใหม้ ผี ้คู ้าประกันอากรขาออกเว้น แต่ใน กรณที ไี่ ม่ต้องเสยี อากรขาออกหรือไดร้ ับยกเว้นอากรขาออกก็ ใหถ้ ือวา่ ความรับผดิ เกิดขนึ้ ในวันทม่ี กี ารออกใบขนสนิ คา้ ขาออก ตามกฎหมายวา่ ด้วยศุลกากร

5. การขายสินค้าท่ีไม่มีรูปร่าง เช่นลิขสิทธิ์สิทธิบัตร เครื่องหมายการค้าสัมปทานกู๊ดวิลล์หรือสินค้าท่ีมีลักษณะ ทานองเดียวกนั ความรบั ผดิ ในการเสยี ภาษมี ูลค่าเพ่ิมเกิดขึ้นเม่ือ ได้รับชาระราคาสนิ คา้ เวน้ แต่การกระทาตอ่ ไปน้ีเกิดขึน้ กอ่ น (ก) โอนกรรมสิทธใิ์ นสนิ คา้ ก่อนหรือ (ข) ออกใบกากับภาษกี อ่ น

6. การขายกระแสไฟฟ้าน้าประปาหรือสินค้าที่มีลักษณะ ทานองเดียวกัน ความรับผิดในการเสียภาษีมูลค่าเพ่ิมเกิดข้ึน เมื่อได้รับชาระราคาสินค้าเว้นแต่มีการออกใบกากับภาษีก่อน ได้รบั ชาระราคาสินคา้ 7. การขายสินค้าโดยการชาระราคาด้วยการใช้บัตร เครดิต ความรับผิดในการเสียภาษีมูลค่าเพ่ิมเกิดข้ึนเม่ือมีการ ส่งมอบสินคา้ เวน้ แต่การกระทาต่อไปนเี้ กิดขึ้นก่อน (ก) การโอนกรรมสทิ ธิใ์ นสินค้าหรือ (ข) การออกหลักฐานบัตรเครดติ หรอื (ค) ออกใบกากับภาษี

8. การขายสินคา้ ดว้ ยเครอื่ งอตั โนมัติ โดยการชาระราคา โดยวิธีการหยอดเหรียญบัตรหรือที่มีลักษณะทานองเดียวกัน ความรับผิดในการเสียภาษีมูลค่าเพิ่มเกิดขึ้นเมื่อได้นาเหรียญ บัตรหรือสิ่งอื่นที่มลี ักษณะเดยี วกันออกจากเคร่ืองอัตโนมตั ิ 9. การขายสินคา้ ตามสัญญาจะขายสินค้า ความรับผิดใน การเสียภาษมี ลู ค่าเพม่ิ เกดิ ขึ้นเม่ือมีการสง่ มอบสินค้าเว้นแต่การ กระทาต่อไปนีเ้ กดิ ขึ้นกอ่ น (ก) โอนกรรมสทิ ธิส์ ินคา้ หรือ (ข) รับชาระราคาสนิ ค้าหรอื (ค) ออกใบกากับภาษี

10. การใหบ้ ริการ ความรับผิดในการเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม ของผู้ให้บริการเกิดขึ้นเมื่อได้รับชาระค่าบริการเว้นแต่มีการ กระทาตอ่ ไปนเี้ กดิ ขึ้นก่อน (ก) เมอื่ มีการออกใบกากับภาษกี อ่ น หรือ (ข) ไดใ้ ช้บริการไมว่ ่าโดยตนเองหรอื บุคคลอนื่ กอ่ น 11. การให้บริการโดยการชาระราคาด้วยการใช้บัตร เครดิต ความรับผิดในการเสียภาษีมูลค่าเพิ่มเกิดข้ึนเม่ือมีการ ออกหลักฐานการใช้บัตรเครดิตเว้นแต่มีการออกใบกากับภาษี กอ่ นการออกหลักฐานการใชบ้ ัตรเครดิต

12. การให้บริการตามสัญญาท่ีกาหนดค่าตอบแทนตามส่วน ของบริการท่ีทา ความรับผิดในการเสียภาษีมูลค่าเพ่ิมเกิดขึ้น เมื่อได้รับชาระราคาค่าบริการตามสว่ นของงานทส่ี นิ้ สุดลงเว้นแต่ มีการกระทาตอ่ ไปน้ีเกิดขนึ้ กอ่ น (ก) มีการออกใบกากับภาษีก่อนได้รับชาระราคา ค่าบรกิ าร หรือ (ข) ได้ใช้บรกิ ารไม่วา่ โดยตนเองหรอื บคุ คลอืน่ 13. การนาเข้าสินค้า ความรับผิดในการเสียภาษีมูลค่าเพ่ิม เกิดขึ้นเมื่อชาระอากรขาเข้าหรือเม่ือมีการวางค้าประกันขาเข้า เวน้ แต่เป็นกรณีไม่ต้องเสียอากรขาเข้าหรือได้รับยกเว้นอากรขา เข้าความรับผิดในการเสียภาษีมูลค่าเพิ่มจะเกิดข้ึนในวันที่มีการ ออกใบขนสนิ ค้าขาเขา้ ตามกฎหมายวา่ ดว้ ยศลุ กากร

14. กรณอี ืน่ ๆ ความรบั ผิดในการเสียภาษมี ลู คา่ เพมิ่ ในกรณอี ่นื ๆ มี ดังนี้ (ก) ผปู้ ระกอบการนาสินคา้ ไปใชโ้ ดยตนเองหรือบุคคลอื่นโดยมิใช่ เพื่อการประกอบกิจการโดยตรงตามหลักเกณฑ์ท่ีกฎหมายกาหนดความ รับผดิ ในการเสียภาษีมูลค่าเพม่ิ เกดิ ขึน้ เม่ือนาสินคา้ ไปใชห้ รือส่งมอบสินค้า ให้บคุ คลอืน่ เพอ่ื ใช้ (ข) ผู้ประกอบการมีสินค้าขาดจากรายงานสินค้าและวัตถุดิบ ความรับผิดในการเสียภาษีมูลค่าเพิ่มเกิดข้ึนเม่ือมีการตรวจพบว่าสินค้า ขาดจากรายงาน (ค) ผู้ประกอบการมีสินค้าคงเหลือและหรือทรัพย์สินท่ีมีไว้ใช้ใน การประกอบกิจการ ณ วันเลิกประกอบกิจการความรับผิดในการเสีย ภาษมี ลู ค่าเพิ่มเกดิ ขึน้ เมอ่ื เลิกประกอบกิจการหรอื แจง้ เลิกประกอบกิจการ เว้นแต่กรณีผู้ประกอบการได้รับอนุญาตให้ออกใบกากับภาษีใบลดหนี้ใบ เพิ่มหนี้เป็นการช่ัวคราวจนกว่าจะหยุดประกอบกิจการให้ความรับผิด เป็นไปตามข้อ 1-4 (ง) ผปู้ ระกอบการทมี่ สี ินคา้ คงเหลือและหรอื ทรัพย์สนิ ท่ีมีไว้ใช้ใน การประกอบกิจการ ณ วันที่ได้รับแจ้งคาส่ังถอนทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม ความรับผิดในการเสียภาษีมูลค่าเพิ่มเกิดขึ้นเม่ือวันท่ีได้รับแจ้งการเพิก ถอนทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มหรือได้รับแจ้งการเพิกถอนทะเบียน ภาษีมูลค่าเพิ่มแล้วแต่กรณีเว้นแต่กรณีที่ผู้ประกอบการได้รับอนุญาตให้ ออกใบกากบั ภาษใี บลดหน้ีใบเพิ่มหน้ีตอ่ ไปเป็นการชัว่ คราวจนกว่าจะหยุด ประกอบกจิ การใหค้ วามรบั ผดิ เปน็ ไปตามข้อ 1-4

5. ฐานภาษมี ลู ค่าเพม่ิ ฐานภาษีมูลค่าเพ่ิม (Tax Base) หมายถึง เงินทรัพย์สิน ค่าตอบแทนค่าบริการหรือประโยชน์อ่ืน ๆ ท่ีอาจคิดคานวณได้ เป็นเงินอันเป็นมูลค่าของสินค้าหรือบริการเพื่อนามาคานวณ ภาษีมูลค่าเพ่ิมกฎหมายได้กาหนดฐานภาษีในกรณีต่าง ๆ ไว้ ดงั น้ี 1. ฐานภาษีสาหรับการขายสินค้าหรือการให้บริการ ได้แก่ มูลค่าท้ังหมดที่ผู้ประกอบการได้รับหรือจึงได้รับจากการ ขายสินค้าหรือการให้บริการรวมทั้งภาษีสรรพสามิต (ถ้ามี) แต่ ไมร่ วมถงึ

(1) ส่วนลดการค้า (Trade discount) โดย ผู้ประกอบการต้องแสดงการหักส่วนลดออกจากราคาสินค้า หรือราคาค่าบริการในใบกากับภาษีเว้นแต่เป็นการขายสินค้า หรือให้บริการของผู้ประกอบการจดทะเบียนที่มี สิทธิ ออกใบกากับภาษีอย่างย่อจะไม่แสดงส่วนลดในใบกากับภาษี อย่างย่อก็ได้ ตวั อยา่ งฐานภาษมี ูลคา่ เพ่มิ การคานวณส่วนลดการคา้

(2) ค่าชดเชยหรือเงินอุดหนุนตามที่อธิบดีกาหนด โดยอนมุ ตั ริ ัฐมนตรี (3) ภาษีขายผู้ประกอบการจะทะเบียนไม่ต้องนา ภาษขี ายมารวมเป็นฐานภาษี (4) ค่าตอบแทนท่ีมีลักษณะและเง่ือนไขที่กาหนด ตามประกาศอธิบดกี รมสรรพากรเก่ียวกับภาษีมูลค่าเพิ่มฉบับที่ 40 ไดแ้ ก่ 1) มูลค่าของสินค้าที่แถมพร้อมกับการขาย สินค้าหรือการให้บริการ (มูลค่าของสินค้าที่แถมต้องไม่เกิน มลู ค่าของสินค้าที่ขายหรอื มลู ค่าของการใหบ้ รกิ าร) 2) มลู คา่ ของสนิ คา้ ที่แจกหรือให้เป็นรางวัลกับ ผู้ซื้อสินค้าหรือผู้รับบริการในแต่ละวัน (มูลค่าของสินค้าที่แจก หรือให้เป็นรางวัลต้องไม่เกินมูลค่าของสินค้าที่ขายหรือมูลค่า ของการใหบ้ ริการ) 3) มูลค่าของการให้บริการเน่ืองจากการเป็น นายหนา้ ตัวแทนให้แกผ่ ู้ประกอบการในต่างประเทศท้ังนี้เฉพาะ ผู้ประกอบการในต่างประเทศทั้งน้ีเฉพาะผู้ประกอบการใน ต่างประเทศขายสินค้าหรือบริการให้กับผู้ซื้อสินค้าหรือ ผู้รบั บรกิ ารในตา่ งประเทศด้วยกนั

4) มลู ค่าของสินคา้ แจกหรือให้เป็นของขวัญเนอื่ ง ในพิธีหรือโอกาสแห่งขนบธรรมเนียมประเพณีเช่นเทศกาลปี ใหมเ่ ทศกาลสงกรานต์การเปิดแนะนาสินค้าใหม่เฉพาะสินค้าที่ เป็นปฏิทนิ สมดุ บนั ทกึ ประจาวัน (Diary) หรือสินค้าที่มีลักษณะ ทานองเดียวกันของขวัญหรือของชาร่วยที่มีช่ือผู้ประกอบการ ชอื่ การคา้ หรือเครื่องหมายการค้าของผู้ประกอบการปรากฏอยู่ โดยของขวัญหรือของชาร่วยต้องเป็นสิ่งของท่ีพ่ึงให้แก่กันตาม ประเพณีทางธุรกิจท่ัวไปและต้องมีราคาหรือมูลค่าไม่เกิน สมควร 5) มูลค่าของสินค้าตัวอย่างที่แจกเนื่องจากจัด กจิ กรรมส่งเสรมิ การขาย 6) มูลค่าของอาหารและเคร่ืองดื่มที่นายจ้าง จัดหาให้กับพนักงานหรือลูกจ้างอาหารและเคร่ืองด่ืมต้องมี ราคาในระหว่างเวลาปฏิบัติงานตามระเบียบเก่ียวกับสวัสดิการ ของพนักงาน หรือลูกจ้างโดยมูลค่าของอาหารและเครื่องด่ืม ตอ้ งราคาไมม่ ากเกนิ สมควร 7) มูลค่าของเครื่องแบบที่ผู้ประกอบการ จดทะเบียนซึ่งเป็นนายจ้างได้มอบให้ 2 ชุดต่อปีและเสื้อนอก จานวนคนละไม่เกนิ 1 ตัวตอ่ ปี

8) มูลค่าของค่าตอบแทนท่ีพึงได้รับจากการ มอบสินค้าให้ผู้ซื้อสินค้าทดลองใช้งานก่อนซ้ือโดยสินค้า ดังกล่าวไมใ่ ช่ของใชส้ ิ้นเปลอื ง และต้องเป็นสินค้าท่ีมีไว้สาหรับ ใ ห้ ท ด ล อ ง ใ ช้ เ ป็ น ก า ร ช่ั ว ค ร า ว เ พ่ื อ ท ด ส อ บ คุ ณ ภ า พ ห รื อ ประสิทธิภาพของสินค้าเท่านั้น และผู้ซื้อสินค้าต้องส่งมอบ สินค้าดงั กลา่ วคืนให้แกผ่ ู้ประกอบการเมอ่ื ทดลองใชเ้ สร็จ 9)มูลค่าของทองรูปพรรณท่ีขายเป็นจานวน เงนิ เท่ากับราคาทองรูปพรรณทีส่ มาคมค้าทองคาประกาศรับซื้อ ในวันทีข่ ายทองรปู พรรณท้ังนี้เฉพาะผู้ประกอบการจดทะเบียน หลักเกณฑ์วิธีการที่อธิบดีกาหนดที่ขายทองคารูปพรรณซ่ึงมี ใบอนญุ าตคา้ ของเกา่ และใช้เคร่ืองบันทึกการเก็บเงินออกใบรับ ตามหลกั เกณฑ์วธิ ีการทอ่ี ธิบดกี าหนด

2. ฐานภาษีสาหรับการส่งออกสินค้า ได้แก่ มูลค่าสินค้า ส่งออกโดยให้ใช้ราคา F.O.B. (Free on Board) ของสินค้า (ราคาสินค้า ณ ด่านศุลกากรส่งออกโดยไม่รวมค่าประกันภัย และจากด่านศุลกากรส่งไปต่างประเทศ) บวกด้วยภาษี สรรพสามิตภาษแี ละค่าธรรมเนยี มอน่ื แตไ่ ม่รวมอากรขาออก

3. ฐานภาษีการให้บริการขนส่งระหว่างประเทศ ฐาน ภาษีเป็นดังนี้ (1) กรณีรับขนคนโดยสารฐานภาษี ได้แก่ มูลค่า ของ ค่าโดยสารค่าธรรมเนียมและประโยชน์อ่ืนใดที่เรียก เก็บในราชอาณาจักรก่อนหักรายจ่ายใด ๆ เน่ืองในการรับขน คนโดยสาร (2) กรณีรับขนสินค้าฐานภาษี ได้แก่ มูลค่าของค่า ระวางคา่ ธรรมเนียมและประโยชน์อน่ื ใดท่ีเรียกเก็บไม่ว่าในหรือ นอกราชอาณาจักรก่อนหักรายจ่ายใด ๆ เนื่องในการรับขน สินคา้ นั้นออกนอกราชอาณาจักร 4. ฐานภาษีสาหรับการนาเข้าสินค้า ได้แก่ มูลค่าของ สินค้านาเข้าโดยให้ใช้ราคา C.I.F. (Cost Insurance and Freight) ของสินค้า (ราคาสินค้าบวกด้วยค่าประกันภัยและค่า ขนส่งถึงด่านศุลกากรท่ีนาสินค้านั้นเข้ามาในราชอาณาจักร ) บวกอากรขาเข้าภาษีสรรพสามิตค่าธรรมเนียมพิเศษตาม ก ฎ ห ม า ย ว่ า ด้ ว ย ก า ร ส่ ง เ ส ริ ม ก า ร ล ง ทุ น แ ล ะ ภ า ษี แ ล ะ คา่ ธรรมเนยี มอน่ื ตามที่กาหนดโดยพระราชกฤษฎกี า

5. ฐานภาษีสาหรับการขายยาสูบและผลิตภัณฑ์น้ามัน ตามที่กฎหมายกาหนด ได้แก่ มูลค่าสินค้าที่ได้มาจากการหัก จานวนภาษีมูลค่าเพ่ิมออกจากจานวนเต็มของราคาขายปลีก ของสินค้าโดยให้คานวณจานวนภาษีมูลค่าเพ่ิมตามอัตรา ภาษีมูลค่าเพิ่มตามอัตราภาษีมูลค่าเพิ่มท่ีรวมอยู่ในจานวนเต็ม ของราคาขายปลกี

6. ฐานภาษีสาหรับกรณอี ืน่ ๆ ได้แก่ (ก) การขายสินค้าหรือให้บริการโดยไม่มีค่าตอบแทนหรือมี ค่าตอบแทนกวา่ ราคาตลาดโดยไม่มเี หตอุ นั สมควรมูลค่า ฐานภาษใี ห้ ถือตามราคาตลาดของสินค้าหรือการให้บริการในวันที่ความรับผิด เกดิ ข้นึ (ข) ผู้ประกอบการนาสินค้าไปใช้หรือนาบริการไปใช้เอง หรือให้บุคคลอื่นใช้โดยมิใช่เพื่อการประกอบกิจการโดยตรงมูลค่า ของฐานภาษีให้ถือตามราคาตลาดของสินค้าหรือบริการในวันที่ ความรับผดิ เกดิ ขนึ้ (ค) สินค้าขาดจากรายงานสินค้าและวัตถุดิบ มูลค่าของ ฐานภาษใี ห้ถอื ตามราคาตลาดของสินค้าในวันท่คี วามรับผิดเกิดขึ้น (ง) การขายสินค้าที่ได้เสียภาษีมูลค่าเพ่ิมในอัตราร้อยละ 0 และภายหลงั ไดม้ ีการโอนกรรมสิทธ์ิในสินค้าอันทาให้ผู้รับโอนสินค้า มีหน้าท่ีต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่มมูลค่าของฐานภาษีให้ถือราคาตลาด ตามสภาพหรอื ปรมิ าณของสนิ คา้ ท่ีเปน็ อย่ใู นวันทคี่ วามรบั ผิดเกดิ ขึน้ (จ) ผู้ประกอบการสินค้าคงเหลือและมีทรัพย์สินที่ ผู้ประกอบการมไี วใ้ นการประกอบกิจการ ณ วนั เลิกประกอบกิจการ มูลค่าของฐานภาษใี หถ้ ือตามราคาตลาดในวนั เลกิ ประกอบกจิ การ

6. อัตราภาษีมูลค่าเพม่ิ อัตราภาษีมูลคา่ เพิม่ ปัจจุบนั มี 2 อัตราดงั น้ี 1. ร้อยละ 7 สาหรับกิจการขายสินค้า การให้บริการ และ การนาเขา้ (อตั ราภาษปี กติตามประมวลรัษฎากรคืออัตราร้อยละ 10 แต่มีพระราชกฤษฎีกาประกาศลดอัตราภาษีมูลค่าเพ่ิมลงเป็น การชวั่ คราวเหลอื อัตราร้อยละ 7) 2. ร้อยละ 0 สาหรบั การประกอบกจิ การประเภทต่าง ๆ ดงั นี้ (ก) การสง่ ออกสนิ คา้ ออกนอกราชอาณาจักร (ข) การให้บรกิ ารท่กี ระทาในราชอาณาจกั รและไดม้ ีการใช้ บรกิ ารน้ันในตา่ งประเทศ (สง่ ออกบริการ) (ค) การนาสินค้าในราชอาณาจกั รเข้าไปในเขต อุตสาหกรรมส่งออกซ่งึ ต้องผ่านพธิ กี ารทางดา้ นศลุ กากรตาม กฎหมายว่าด้วยศุลกากร (ง) การขายสนิ คา้ ของสินคา้ ทณั ฑ์บนประเภทรา้ นคา้ ปลอดอากร ตามกฎหมายว่าดว้ ยศุลกากรทขี่ ายให้แก่ผเู้ ดินทาง ออกไปนอกราชอาณาจักร

(จ) การขายสินค้าหรือการให้บริการระหว่างคลังสินค้า ทณั ฑบ์ นกบั คลังสนิ ค้าทณั ฑบ์ นและระหว่างคลังสินค้าทัณฑ์บน กับผปู้ ระกอบการท่อี ยใู่ นเขตอตุ สาหกรรมสง่ ออก (ฉ) การขายสินค้าหรอื การให้บริการกับกระทรวงทบวง กรมราชการส่วนท้องถน่ิ หรอื รฐั วสิ าหกจิ ตามโครงการเงินกู้หรือ เงินช่วยเหลือจากต่างประเทศ (ช) การขายสินค้าหรือการให้บริการกับองค์การ สหประชาชาติทบวงการสาคัญพิเศษของสหประชาชาติสถาน เอกอคั รราชทูต สถานทตู สถานกงสุลใหญ่ สถานกงสลุ (ซ) การให้บริการขนส่งระหว่างประเทศโดยอากาศ ยานหรือเรือเดินทะเลโดยผปู้ ระกอบการทีเ่ ป็นนิตบิ ุคคล หมายเหตุ การขายสินค้าโดยการส่งออกผู้ประกอบการที่จะ ได้รับสิทธิเสียภาษีมูลค่าเพ่ิมอัตราร้อยละ 0 น้ันผู้ประกอบการ ดังกล่าวต้องมีชื่อในใบขนสินค้าขาออกในฐานะผู้ส่งออกหาก ผู้ ป ร ะ ก อ บ ก า ร มิ ไ ด้ มี ชื่ อ ใ น ใ บ ข น สิ น ค้ า ข า อ อ ก ก็ ต้ อ ง เ สี ย ภาษีมูลค่าเพ่ิมในอัตราร้อยละ 7 ของยอดขายส่งออก

7. การจัดทาใบกากับภาษี ใบกากับภาษี (Tax Invoice) คือเอกสารหลักฐานที่ ผปู้ ระกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มจะต้องจัดทาและออก ให้แก่ผู้ซ้ือสินค้าหรือผู้รับบริการในทุกคร้ังท่ีความรับผิดใน ภาษีมูลคา่ เพิม่ เกดิ ขนึ้ พรอ้ มทจี่ ะส่งมอบใบกากับภาษีให้แก่ผู้ซ้ือ สนิ คา้ หรือผรู้ ับบริการเวน้ แตก่ รณีทีข่ ายสินค้าชนิดและประเภท เดียวกันให้แก่ผู้ซ้ือรายหน่ึงรายใดเป็นจานวนหลายครั้งในหน่ึง วนั ทาการสามารถจดั ทาใบกากบั ภาษีรวมเพียงคร้ังเดียวในหนึ่ง วนั ได้โดยต้องจดั ทาใบกากบั ภาษีอยา่ งน้อย 2 ฉบับดงั นี้ ฉบบั ที่ 1 ตน้ ฉบบั ผู้ประกอบการต้องส่งมอบให้กับ ผซู้ ื้อสนิ ค้าหรอื ผู้รับบริการ ฉบับท่ี 2 สาเนา ผู้ประกอบการต้องเก็บรักษาไว้ เพ่ือเป็นหลักฐานประกอบการลงรายงานภาษีขายเป็นเวลาไม่ น้อยกวา่ 5 ปนี บั แต่วนั ทท่ี ารายงาน

ประเภทกากบั ภาษีใบกากบั ภาษี ใบกากบั ภาษแี บ่งออกเปน็ 2 ประเภทใหญ่ดังนี้ 1. ใบกากับภาษี (1) ใบกากับภาษีแบบเตม็ รูป (2) ใบกากับภาษีอย่างยอ่ 2. เอกสารอนื่ ทถ่ี อื เป็นใบกากบั ภาษี (1) ใบเพมิ่ หนี้ (2) ใบลดหน้ี (3) ใบเสร็จรับเงินที่ส่วนราชการออกให้ในการขาย ทอดตลาด (4) ใบเสร็จรับเงินของกรมสรรพากรกรมศุลกากรหรือ กรมสรรพสามติ เฉพาะส่วนทีเ่ ป็นภาษมี ูลค่าเพ่ิม

1. ใบกากบั ภาษี (1) ใบกากับภาษีแบบเต็มรูป เป็นใบกากับภาษีที่มี รายการและข้อความครบถ้วนสามารถนาภาษีซ้ือไปขอคืนหรือใช้ เครดติ ในเดือนถดั ไปได้ ใบกากับภาษีแบบเต็มรูปตามมาตรา 86/4 ต้องมีรายการ ดังตอ่ ไป 1. คาว่า“ ใบกากับภาษี” ที่เด่นชัดพร้อมระบุ สานกั งานใหญห่ รอื สาขา 2. ชื่อที่อยู่และเลขประจาตัวผู้เสียภาษีอากรของ ผูข้ ายสินค้าหรอื ผู้ให้บริการ 3. ชื่อท่ีอยู่ของผู้ซ้ือสินค้าหรือผู้รับบริการเลข ประจาตัวผู้เสียภาษีของผู้ซื้อหรือผู้รับบริการเฉพาะกรณีเป็น ผูป้ ระกอบการจดทะเบยี น 4. หมายเลขล าดับ ของใบกากับ ภาษีแล ะ หมายเลขลาดับของเลม่ (ถา้ ม)ี 5. ช่ือชนิดประเภทปริมาณและมูลค่าของสินค้า หรอื บริการ 6. มูลค่าของสินค้าหรือบริการท่ียังไม่รวม ภาษีมูลค่าเพิ่มและจานวนภาษีมูลค่าเพ่ิมคานวณจากมูลค่าของ สินค้าหรือบริการโดยให้แยกออกจากมูลค่าของสินค้าหรือบริการ ใหช้ ัดแจง้ 7. วนั เดอื น ปี ที่ออกใบกากบั ภาษี



วธิ ีจัดทาใบกากับภาษแี บบเตม็ รปู วิธีที่ 1 จัดทาหรือส่ังพิมพ์มาจากโรงพิมพ์คาว่า “ใบกากับภาษี” และรายการเกยี่ วกับชื่อที่อยเู่ ลขประจาตัวของ ผู้ออกใบกากับภาษีจะต้องตีพิมพ์มาจากโรงพิมพ์ส่วนรายการ อ่ืน ๆ จะเขียนด้วยหมึกพิมพ์ดีดหรือนาไปพิมพ์โดยใส่ไปใน เครือ่ งพิมพ์ผา่ นระบบคอมพิวเตอร์หรอื จดั ทาโดยวธิ ีอื่นใด วิธีท่ี 2 จัดทาขึ้นเองโดยผู้ประกอบการด้วยระบบ คอมพิวเตอร์รายการจะต้องพิมพ์จากคอมพิวเตอร์ท้ังฉบับโดย ใชก้ ระดาษเปล่าท้ังฉบับ วธิ ที ี่ 3 จดั ทาใบกากบั ภาษี รวมกับเอกสารทางการ ค้าอื่นท่ีเรียกว่าเอกสารออกเป็นชุดและใบกากับภาษีมิใช่ เอกสารฉบบั แรก

(2) ใบกากับภาษีแบบอย่างย่อ ผู้ประกอบการ จดทะเบียนที่มีสิทธิออกใบกากับภาษีอย่างย่อ ได้แก่ ประกอบการทีข่ ายปลกี หรอื ให้บริการรายย่อยแก่บุคคลจานวน มาก เช่น กิจการ แผงลอย ขายของชา ขายน้ามัน ขายยา หา้ งสรรพสินค้า จาหน่ายอาหาร และโรงแรม ใบกากับภาษีอย่างย่อท่ีผู้ประกอบการจดทะเบียน ภาษีมูลค่าเพ่ิมได้รับจากการซื้อสินค้าหรือบริการเป็นภาษีซื้อ ต้องห้าม ไม่สามารถนาซื้อมาคืนหรือเครดิตได้ให้นาไปรวมกับ มูลคา่ สนิ คา้ หรือบริการ

รายการตามใบกากับภาษอี ย่างยอ่ ใบกากับภาษีอย่างย่อต้องมีรายการตามที่กฎหมาย กาหนดอย่างนอ้ ยดังตอ่ ไปน้ี 1. คาว่า“ ใบกากับภาษีอย่างยอ่ 2. ช่ือหรือยี่ห้อและเลขประจาตัวผู้เสียภาษีอากรของ ผปู้ ระกอบการจดทะเบยี นที่ออกใบกากบั ภาษี 3. หมายเลขลาดับของใบกากับภาษีและหมายเลข ลาดับของเลม่ (ถา้ ม)ี 4. ช่ือชนิดประเภทปริมาณและมูลค่าของสินค้าหรือ บรกิ าร 5. วนั เดือนปีที่ออกใบกากบั ภาษี 6. ราคาค่าสนิ ค้าหรอื ราคาคา่ บริการโดยต้องมขี ้อความ ระบชุ ัดเจนว่าไดร้ วมภาษมี ลู ค่าเพิ่มไว้แล้ว 7. ข้อความอืน่ ท่ีอธิบดีกาหนด





2. เอกสารอ่ืนทถี่ ือเปน็ ใบกากบั ภาษี เอกสารอ่นื ท่ถี อื เปน็ ใบกากับภาษี ได้แก่ (1) ใบเพมิ่ หนี้ (2) ใบลดหน้ี (3) ใบเสรจ็ รบั เงินทส่ี ่วนราชการออกใหใ้ นการขาย ทอดตลาดเปน็ ภาษีมลู ค่าเพ่ิม (4) ใบเสรจ็ รับเงนิ ของกรมสรรพากรกรมศลุ กากรหรอื กรมสรรพสามิตเฉพาะสว่ น

(1) ใบเพิ่มหนี้ (Debit Note) ถือเป็นใบกากับภาษี ประเภทหนึ่งในทางกฎหมายใบเพิ่มหนี้ดังกล่าวจะถือเป็น ใบกากับภาษีได้ก็ต่อเมื่อใบเพิ่มหนี้มีรายการอย่างน้อยตามท่ี กาหนดดังตอ่ ไปน้ี (1) คาว่า“ ใบเพิม่ หน้ี (2) ช่อื ท่อี ย่แู ละเลขประจาตัวผู้เสียภาษอี ากรของ ผปู้ ระกอบการทจี่ ดทะเบียนออกใบเพ่มิ หนใี้ นกรณีทีต่ ัวแทน ได้รบั มอบใหเ้ ปน็ ผอู้ อกใบเพิม่ หนใ้ี นนามของผู้ประกอบการจด ทะเบยี นทีอ่ ย่นู อกราชอาณาจกั รหรือกรณอี ื่นต้องระบชุ ือ่ ท่ีอยู่ และเลขประจาตวั ผู้เสียภาษีอากรของตัวแทนน้นั ด้วย (3) ช่อื ทอี่ ยู่ของผูซ้ อื้ สนิ คา้ หรอื ผ้รู ับบริการ (4) วันเดือนปที ีอ่ อกใบเพม่ิ หน้ี (5) หมายเลขกากบั ของใบกากบั ภาษีเดิมรวมทง้ั หมายเลขลาดบั ของเล่มมี) มูลคา่ ของสินคา้ หรือบริการทแ่ี สดง ไวใ้ นใบกากับภาษดี งั กล่าวมลู ค่าทีถ่ ูกตอ้ งของสนิ คา้ หรือบรกิ าร ผลต่างของจานวนมลู คา่ ท้งั สองและจานวนภาษีทีเ่ รยี กเก็บเพมิ่ สาหรับส่วนตา่ งนั้น (6) คาอธิบายถึงสาเหตุในการออกใบเพม่ิ หน้ี

สาเหตกุ ารออกใบเพ่ิมหน้ี ก) มีการเพ่ิมราคาสนิ ค้าทขี่ ายเนอื่ งจากสนิ ค้าเกนิ กวา่ จานวนทตี่ กลงกนั หรือคานวณราคาสนิ ค้าผิดพลาดตา่ กวา่ ทเ่ี ปน็ จริงหรือเนอ่ื งจากเหตุอน่ื ตามท่อี ธิบดกี รมสรรพากรกาหนด ข) มกี ารเพิม่ ราคาค่าบริการเนื่องจากใหบ้ รกิ ารเกินกวา่ จานวนที่ตกลงกนั หรอื คานวณสินค้าผิดพลาดต่ากว่าทเี่ ป็นจรงิ หรือเนอื่ งจากเหตุอ่ืนตามท่อี ธิบดกี รมสรรพากรกาหนด ผ้ปู ระกอบการ ภาษมี ลู คา่ เพมิ่ ตามใบเพ่ิมหนี้ ผู้ออกใบเพิ่มหน้ี (ผูข้ าย) ให้นามาเพม่ิ ยอดภาษีขายใน เดือนภาษีทอ่ี อกใบเพิม่ หน้ี ผ้ทู ี่ได้รบั ใบเพม่ิ หน้ี(ผูซ้ ื้อ) ใหน้ ามาเพมิ่ ยอดภาษซี ื้อใน เดอื นท่ีไดร้ ับใบเพิ่มหนผ้ี ูท้ ่ไี ด้รับ ใบเพิ่มหนี้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook